You are on page 1of 13

วิชา ฟิสิกส์

ม.ปลาย ตอนที่ 19
เรื่อง ไฟฟ้ากระแสตรง 1
่ ม ปิยะวัฒน์ วิรัชวัฒนกุล สถาบันกวดวิชา We
โดย พีฟาร์ By The Brain
ไฟฟ้ากระแสตรง
Part 1
ไฟฟ้ากระแสตรง
กระแสไฟฟ้า คือ การถ่ายเทประจุไฟฟ้าในตัวนาโดย
กระแสไฟฟ้าจะไหลจากจุดที่มีศักย์สูงไปสู่ต่า
E
+ + --
+ - -
+
กระแสไฟฟ้า (I) = ปริมาณประจุที่เคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา
หน่ ว ย แอมแปร์ (A)
I=q
t q = ประจุ ; t = เวลา
n = ความหนาแน่น อิเล็กตรอนต่อปริมาตร
I = nevA e = ประจุอิเล็กตรอน 1 ตัว = 1.6 x 10-19C
v = ความเร็วลอยเลื่อน
A = พื้นที่หน้าตัดของลวดตัวนา
1. ถ้าประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ผ่านตัวนา 900 C ใน 1.5 นาที จะมี
กระแสไฟฟ้าไหลผ่านกีแ่ อมแปร์
1. 5A
2. 10A
3. 15A
4. 20A
2. อิเล็กตรอนอิสระเคลื่อนที่ในโลหะตัวนา โดยใน 2 วินาที
จะเคลื่อนผ่านพื้นที่หน้าตัดแห่งหนึ่ง 4x1010 ตัว จงหา
กระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวนานี้
3. ความเร็วลอยเลื่อนของอิเล็กตรอนมีค่า 4x10-4 m/s ในโลหะตัวนา
ขนาด 2 m3 มีอิเล็กตรอนอยู่ 8x1028 ตัว ถ้าลวดตัวนามีพื้นที่หน้าตัด
2 mm2 และมีความต่างศักย์ระหว่างปลายของลวดตัวนาจะมีกระแสไฟฟ้า
ไหลผ่านเท่าใด
ความต้านทานไฟฟ้า
ปัจจัยที่มีผลต่อความต้านทาน
1. ชนิดวัสดุ
- ตัวนา
- สารกึ่งตัวนา
- ตัวนายิ่งยวด
- ฉนวน
ปัจจัยที่มีผลต่อความต้านทาน
2. อุณหภูมิ
- สาหรับสารตัวนา Rt = R0 (1 +  t)
R0 = ความต้านทานที่ 0๐C
t = อุณหภูมิ (๐C)
 = สัมประสิทธิ์อุณหภูมิของความต้านทาน
ปัจจัยที่มีผลต่อความต้านทาน
3. ขนาดและรูปร่างวัตถุ
 = สภาพความต้านทาน
R= l l = ความยาวลวดตัวนา
A
A = พื้นที่หน้าตัดลวดตัวนา
1. ลวดเส้นหนึ่งยาว 60 m. มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 4 mm. มี
สภาพต้านทาน 10-6  m. จะมีความต้านทานเท่าใด
1. 4.2 
2. 4.8 
3. 5.1 
4. 5.6 
2. ลวดโลหะเส้นหนึ่งมีความต้านทาน R เมื่อหลอมใหม่แล้วขึ้น
รูปให้ยาวเป็น 2 เท่าของเดิม โดยปริมาตรไม่เปลี่ยนแปลง ลวด
เส้นใหม่มีความต้านทานเท่าใด
1. 2R
2. 4R
3. 8R
4. 16R

You might also like