You are on page 1of 34

Light M.

3
วิทยาศาสตร์ ม. 2 เล่ ม 2

หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 แสง

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 7
การสะท้ อนกลับหมดของแสง
เวลา 1 ชั่วโมง

1
Light M.3

รุ ้งกินน้ำเกิดขึ้นเมื่อใด
เพราะเหตุใดเราจึงเห็นรุ ้งกินน้ำเป็ นแถบสี ต่าง ๆ

2
Light M.3

มุมหักเหจะมีขนาดใหญ่กว่ามุมตกกระทบเมื่อใด

รังสี หกั เหมีโอกาสหักเหกลับสู่ ตวั กลางเดิมได้หรื อไม่


และเกิดขึ้นในกรณี ใด

3
Light M.3
2. การหักเหของแสง
การเบนของรังสี หกั เหในรู ปมีลกั ษณะใด
รั งสี ตกกระทบ

แก้ ว

น้ำแข็ง
รั งสี หักเห
ดัชนีหกั เหมาก  น้อย
รังสี หกั เหเบนออกจากเส้นแนวฉาก 4
2. การหักเหของแสง Light M.3

ถ้าเพิ่มขนาดของมุมตกกระทบให้มากขึ้น
รังสี หกั เหจะมีโอกาสเดินทางกลับสู่
ตัวกลางเดิมได้หรื อไม่ เพราะอะไร

แบ่งกลุ่ม ร่ วมกันสื บค้นข้อมูล


จากแหล่งความรู้ต่าง ๆ แล้วมาอภิปราย
และนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรี ยน

ลองตอบคำถามจากแนวคำถามต่อไปนี้

5
2. การหักเหของแสง Light M.3
แนวคำถาม
1. มุมวิกฤตคืออะไร
มุมตกกระทบที่ทำให้มุมหักเหมีค่าเท่ากับ 90°
2. ถ้ามุมตกกระทบโตกว่ามุมวิกฤตจะเกิดเหตุการณ์ใด
แสงจะเดินทางกลับสู่ ตวั กลางเดิมซึ่งเรี ยกว่า การสะท้อนกลับหมดของแสง
3. อธิบายปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกิดจากการสะท้อนกลับหมดของแสง
เช่น รุ ้งกินน้ำที่เกิดการหักเหของแสงเข้าไปในละอองไอน้ำ แล้วไปตกกระทบด้าน
หลังของละอองไอน้ำ และเกิดการสะท้อนกลับหมดมายังผิวด้านหน้าของละออง
ไอน้ำอีก สุ ดท้ายก็จะหักเหจากละอองไอน้ำออกสู่อากาศเป็ นแสงสี ต่าง ๆ

6
2. การหักเหของแสง Light M.3
2.2 การสะท้อนกลับหมดของแสง

เมื่อเพิ่มขนาดมุมตกกระทบที่เดินทางจากตัวกลางที่มีดชั นีหกั เหมากไปน้อยให้มากขึ้นเรื่ อย ๆ


เส้นแนวฉาก
รั งสี ตกกระทบ
การสะท้ อนกลับหมด
43
21
แท่งพลาสติก รั งสี หักเห  > 90°
รั งสี หักเห  = 90°
อากาศ รั งสี หักเห  < 90°
1 = มุมตกกระทบ
รั งสี หักเห  < 90°
2 = มุมตกกระทบ
3 = มุมวิกฤต 4 > มุมวิกฤต
7
2. การหักเหของแสง Light M.3
2.2 การสะท้อนกลับหมดของแสง
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติของแสงที่เกิดจากสมบัติการสะท้อน การหักเห
และการสะท้อนกลับหมดของแสงมีอยูด่ ว้ ยกันหลายปรากฏการณ์ เช่น

พระอา
รุ ้ง กิน ทิตย์
น้ำ ทรงกล

มิราจ
หรื อ
ภาพลว
งตา 8
Light M.3
นักเรียนได้ เรียนรู้ อะไรบ้ าง
เรามาตรวจสอบความเข้ าใจกัน
1. ถ้าแสงเดินทางจากตัวกลางที่มีความหนาแน่นมากไปสู่
ตัวกลางที่มีความหนาแน่นน้อยจะเกิดการสะท้อนกลับ
หมดเพราะอะไร
เพราะรังสี หกั เหจะเบนออกจากเส้นแนวฉากมากจนเกิด
เป็ นการสะท้อนกลับเข้าสู่ตวั กลางเดิม
2. เมื่อเราขับรถยนต์ไปตามถนนที่ร้อนจัด เรามักมองเห็น
เหมือนมีแอ่งน้ำอยูบ่ นพื้นถนนเพราะอะไร
เพราะความร้อนสูงทำให้อากาศบริ เวณพื้นถนนมีความ
หนาแน่นต่างกันมาก จึงเกิดการสะท้อนกลับหมดของ
แสงและเกิดเป็ นภาพลวงตาหรื อมิราจขึ้น 9
Light M.3
สรุ
สรุป
การสะท้อนกลับหมดของแสง
เกิดขึ้นเมื่อ
 แสงเดินทางจากตัวกลางที่มี
ความหนาแน่นมาก  น้อย
 มุมตกกระทบมีค่ามากกว่า
มุมวิกฤต
ทำให้เกิด

รุ ้งกินน้ำ พระอาทิตย์ทรงกลด มิราจหรื อภาพลวงตา

10
Light M.3

วิทยาศาสตร์ ม. 2 เล่ ม 2

หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 แสง

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 8
ประโยชน์ จากการสะท้ อน
และการหักเหของแสง
เวลา 2 ชั่วโมง
11
Light M.3

อุปกรณ์ในชีวติ ประจำวันของ
นักเรี ยนที่มีส่วนประกอบของ
กระจกและเลนส์มีอะไรบ้าง และ
นักเรี ยนใช้ประโยชน์ในเรื่ องใด

12
Light M.3
3. ประโยชน์จากการสะท้อนและการหักเหของแสง
นักเรี ยนเคยใช้อุปกรณ์ใดในรู ปบ้าง และอุปกรณ์เหล่านี้
ใช้ประโยชน์จากการสะท้อนและการหักเหแสงลักษณะใด

13
3. ประโยชน์จากการสะท้อนและการหักเหของแสง Light M.3

อุปกรณ์ชนิดต่าง ๆ ที่ประกอบด้วย
กระจกหรื อเลนส์มีหลักการทำงานอย่างไร

แบ่งกลุ่ม ร่ วมกันสื บค้นข้อมูล


จากแหล่งความรู้ต่าง ๆ แล้วมาอภิปราย
และนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรี ยน

ลองตอบคำถามจากแนวคำถามต่อไปนี้

14
3. ประโยชน์จากการสะท้อนและการหักเหของแสง Light M.3
แนวคำถาม
1. คนสายตาสั้นและคนสายตายาวใช้แว่นที่มีส่วนประกอบของเลนส์เหมือนกันหรื อไม่
ลักษณะใด
ไม่เหมือนกัน คนสายตาสั้นใช้เลนส์เว้า คนสายตายาวใช้เลนส์นูน
2. กล้องจุลทรรศน์มีหลักในการทำงานลักษณะใด
กล้องจุลทรรศน์ประกอบด้วยเลนส์นูน 2 อัน คือ เลนส์ใกล้วตั ถุและเลนส์ใกล้ตา ภาพที่
เห็นจากเลนส์ใกล้วตั ถุจะเป็ นภาพจริ งหัวกลับขนาดใหญ่กว่าวัตถุ และภาพนี้จะทำหน้าที่
เป็ นวัตถุของเลนส์ใกล้ตา ภาพที่เกิดจากเลนส์ใกล้ตาเป็ นภาพเสมือนหัวกลับกับวัตถุจริ ง
มีขนาดใหญ่กว่าภาพที่เกิดจากเลนส์ใกล้วตั ถุ
3. เส้นใยนำแสงใช้หลักการใดในการทำงาน
การสะท้อนกลับหมดของแสง โดยส่ วนแกนและส่ วนหุม้ แกนที่มีค่าดัชนีหกั เหที่ต่างกัน
ทำให้เกิดการสะท้อนกลับหมดได้ 15
3. ประโยชน์จากการสะท้อนและการหักเหของแสง Light M.3
3.1 แว่นตา
ส่ วนประกอบสำคัญที่ทำให้แว่นตาสามารถปรับภาพได้เป็ นปกติ คือ เลนส์
สายตาปกติ
รังสี ของแสง เรตินา
จากวัตถุ
แนวแสงตัดกัน
สายตายาว
แก้ดไกัขด้
แสงตั วย
นเลย
เลนส์นูน การสวม
เรติ นา
แว่นตา
ที่ทำนด้ชัวดย
มองเห็
รังสี ของแสง
รัจากวั
งสี ขตองแสง
ถุ เลนส์
เฉพาะวัตถุทนี่อูยูนไ่ กล
16
จากวัตถุ
3. ประโยชน์จากการสะท้อนและการหักเหของแสง Light M.3
3.1 แว่นตา

สายตาปกติ

รังสี ของแสง เรตินา


จากวัตถุ
แนวแสงตัดกัน
สายตาสั้น
แสงตัแก้ดไกัขด้
นก่วอยน
เลนส์เว้า เรติ
การสวมนา
แว่นตา
ที่ทำนด้ชัวดย
มองเห็
รังสี ของแสง
รังสีตขถุองแสง
จากวั เลนส์
เฉพาะวั ตถุทเี่อว้ยูาใ่ กล้
17
จากวัตถุ
3. ประโยชน์จากการสะท้อนและการหักเหของแสง Light M.3
3.2 ทัศนอุปกรณ์
ทัศนอุปกรณ์แต่ละชนิดช่วยให้มองเห็นวัตถุได้ในลักษณะใด

แว่นขยาย วัตถุ ภาพเสมือน

กล้องถ่ายรู ป วัตถุ ภาพจริ ง 18


3. ประโยชน์จากการสะท้อนและการหักเหของแสง Light M.3
3.2 ทัศนอุปกรณ์

ภาพเสมือน

เลนส์ใกล้ตา

ภาพจริ ง
กล้องจุลทรรศน์ (วัตถุของเลนส์ใกล้ตา)

เลนส์ใกล้วตั ถุ

วัตถุ
19
3. ประโยชน์จากการสะท้อนและการหักเหของแสง Light M.3
3.2 ทัศนอุปกรณ์
ประเภทหักเหแสง

เลนส์ ภาพจริ ง เลนส์ ภาพ


วัตถุ ใกล้วตั ถุ (วัตถุของเลนส์ ใกล้ตา เสมือน
ใกล้ตา)
ประเภทสะท้อนแสง

กล้องโทรทรรศน์
ภาพจริ ง
กระจก (วัตถุของเลนส์ เลนส์ ภาพ
วัตถุ เสมือน
เว้า ใกล้ตา) ใกล้ตา 20
Light M.3
บูรณาการอาเซียน
หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบพระชนมพรรษา
กล้องโทรทรรศน์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดและทันสมัยที่สุดในเอเชียตะวันออก
เฉี ยงใต้อยูท่ ี่ “หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบพระชนมพรรษา” ลักษณะสำคัญของ
หอดูดาวแห่งนี้ คือ
 ติดตั้งระบบอัลตะซิมุท (Altazimuth System) ซึ่งสามารถเล็งและติดตามวัตถุ
ท้องฟ้ าได้อย่างแม่นยำ
 ใช้ระบบทัศนศาสตร์แบบลดความบิดเบี้ยวของภาพ
 กระจกหลัก (Primary Mirror) เส้นผ่านศูนย์กลาง 2.4 เมตร เป็ นกระจกโค้งไฮเพอร์ -
โบลา มีพอร์ตติดตั้งอุปกรณ์แบบนาสมิท (Nasmyth) บังคับแสงดาวที่เข้ากล้องให้
สะท้อนออกข้างกล้อง
 กล้องโทรทรรศน์หมุนได้รอบเพื่อเคลื่อนที่กวาดพิกดั และมีโดมไฟเบอร์กลาสส์
ขนาดใหญ่หมุนตามได้สอดคล้องกัน 21
Light M.3
บูรณาการอาเซียน
หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบพระชนมพรรษา

หอดูดาวแห่งนี้ต้ งั อยูบ่ นอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ ทัศนวิสยั เหมาะแก่การ


สังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ สามารถทำวิจยั ได้มากกว่า 200 คืนต่อปี ทั้งยังโดดเด่นกว่า
ทำเลของหอดูดาวในต่างประเทศ เพราะมีหอดูดาวเพียงไม่กี่แห่งในโลกที่ต้ งั อยูใ่ กล้
เส้นศูนย์สูตร ซึ่งเป็ นจุดสังเกตการณ์ท้ งั ซีกฟ้ าเหนือและซีกฟ้ าใต้ได้ตลอดทั้งปี

22
3. ประโยชน์จากการสะท้อนและการหักเหของแสง Light M.3
3.3 กระจก

กระจกเงาราบ กระจกนูน กระจกเว้า

วัตถุ ภาพเสมือน
ติดคำว่า AMBULANCE หน้ารถพยาบาลกลับด้านเพื่อให้ผทู ้ ี่ขบั รถอยูด่ า้ นหน้าเห็นได้ถูกต้อง
23
3. ประโยชน์จากการสะท้อนและการหักเหของแสง Light M.3
3.3 กระจก

กระจกเงาราบ กระจกนูน กระจกเว้า

วัตถุ ภาพเสมือน
ใช้เป็ นกระจกมองข้างของยานพาหนะเพื่อให้เห็นภาพรวมด้านหลัง
24
3. ประโยชน์จากการสะท้อนและการหักเหของแสง Light M.3
3.3 กระจก

กระจกเงาราบ กระจกนูน กระจกเว้า

วัตถุ ภาพเสมือน
ใช้เป็ นกระจกตรวจฟันของทันตแพทย์เพื่อให้เห็นลักษณะของฟันได้ชดั เจนขึ้ น 25
3. ประโยชน์จากการสะท้อนและการหักเหของแสง Light M.3
3.4 เส้นใยนำแสง
เส้นใยนำแสงนำมาใช้ประโยชน์มากในการสื่ อสาร
เส้นใยนำแสง

การเดินทางของแสงเลเซอร์ในเส้นใยนำแสง

แสงเลเซอร์ ส่ วนห่อหุม้ แกน แกน


26
Light M.3
นักเรียนได้ เรียนรู้ อะไรบ้ าง
เรามาตรวจสอบความเข้ าใจกัน
1. คนที่สายตาสั้นและสายตายาวต้องเลือกแว่นที่ทำจากเลนส์
ชนิดใด เพราะอะไร
สายตาสั้นควรเลือกแว่นที่ทำจากเลนส์เว้า เพราะเลนส์เว้า
จะทำให้รังสี ของแสงกระจายออกก่อนตกกระทบเลนส์ตา
สายตายาวควรเลือกแว่นที่ทำจากเลนส์นูน เพราะเลนส์นูน
จะทำให้รังสี ของแสงตกกระทบวัตถุที่อยูใ่ กล้ ๆ รวมตัว
ก่อนเข้าสู่นยั น์ตา
2. เส้นใยนำแสงใช้หลักการใดในการส่ งสัญญาณแสง
การสะท้อนกลับหมดของแสงซึ่งเกิดภายในแกน
27
Light M.3
ประโยชน์จากการสะท้อน
สรุป และการหักเหของแสง
เรี ยนรู ้เกี่ยวกับ

แว่นตา ทัศนอุปกรณ์ กระจก เส้นใยนำแสง


ได้แก่ เช่น เช่น หลักการ

 แว่นสายตายาว  แว่นขยายทำจาก  กระจกส่ องหน้า


แสงเลเซอร์เดินทาง
ทำจากเลนส์นูน เลนส์นูน ทำจากกระจก
ด้วยการสะท้อนกลับหมด
 แว่นสายตาสั้น  กล้องถ่ายรู ปทำจาก เงาราบ
ภายในเส้นใยนำแสง
ทำจากเลนส์เว้า เลนส์นูน  กระจกมองข้าง
จนไปถึงเครื่ องรับสัญญาณ
 กล้องจุลทรรศน์ ของรถยนต์
ทำจากเลนส์นูน 2 อัน ทำจากกระจกนูน
 กล้องโทรทรรศน์  กระจกตรวจฟัน
ทำจากเลนส์นูน 2 อัน ของทันตแพทย์
(กระจกเว้ากับเลนส์นูน) ทำจากกระจกเว้า 28
Light M.3

แบบทดสอบหลังเรียน

หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 5


แสง

ตอนที่ 1
แสงและสมบัติของแสง
29
Light M.3
เลือกคำตอบทีถ่ ูกต้ องทีส่ ุ ดเพียงคำตอบเดียว
1. ข้ อสรุปใดผิดเกีย่ วกับภาพทีเ่ กิดจากการสะท้ อนแสงของตัวสะท้ อนแสงผิวราบ
ก ระยะภาพเท่ากับระยะวัตถุ
ข ขนาดของภาพเท่ากับขนาดของวัตถุ
ค ภาพที่เกิดจากการต่อแนวรังสี สะท้อนไปตัดกันหลังตัวสะท้อนแสงเรี ยกว่า
ภาพเสมือน
ง ภาพที่เกิดจากรังสี สะท้อนทุก ๆ ตำแหน่งของวัตถุมาเข้าตาทำให้เห็นภาพของ
วัตถุเป็ นรู ปร่ างเหมือนวัตถุน้ นั

คำอธิบาย: ง ถูกต้อง เพราะภาพที่เกิดจากตัวสะท้อนแสงผิวราบเป็ นภาพที่เกิดจากการต่อแนวรังสี สะท้อนที่ยอ้ น


ไปตัดกันหลังตัวสะท้อน ซึ่งก็คือหลักการของการเกิดภาพเสมือน
30
Light M.3

2. เมือ่ วางวัตถุห่างจากกระจกนูน 20 เซนติเมตร จะเกิดภาพหลังกระจกซึ่งห่ างจาก


กระจก 10 เซนติเมตร ข้ อสั นนิษฐานใดผิด
ก ภาพที่เกิดขึ้นน่าจะมีขนาดเล็กกว่าวัตถุ
ข ภาพที่เกิดขึ้นน่าจะมีระยะภาพน้อยกว่าระยะโฟกัส
ค กระจกนูนน่าจะมีความยาวโฟกัสน้อยกว่า 10 เซนติเมตร
ง ถ้าเลื่อนวัตถุออกจากกระจกนูน ระยะภาพที่ได้น่าจะมากกว่า 10 เซนติเมตร

คำอธิบาย: ค ถูกต้อง เพราะระยะโฟกัสของกระจกนูนมีค่ามากกว่าระยะภาพเสมอ

31
Light M.3

3. เมือ่ ให้ แสงเดินทางจากเพชรไปสู่ อากาศ ข้ อสรุปใดถูกต้ อง


ก ไม่เกิดรังสี หกั เห
ข รังสี หกั เหเบนเข้าหาเส้นแนวฉาก
ค มุมหักเหมีค่ามากกว่ามุมตกกระทบ
ง รังสี ตกกระทบเบนออกจากเส้นแนวฉาก

คำอธิบาย: ค ถูกต้อง เพราะเพชรมีความหนาแน่นมากกว่าอากาศ รังสี หกั เหเบนออกจากแนวฉาก มุมหักเหจึงมี


ค่ามากกว่ามุมตกกระทบ

32
Light M.3
4. เจมส์ ทดลองนำวัตถุมาตั้งไว้ หน้ าเลนส์ ชนิดหนึ่ง ปรากฏว่ าภาพทีเ่ กิดขึน้ เป็ น
ภาพหัวตั้งขนาดใหญ่ กว่ าวัตถุ นักเรียนคิดว่ าการวางวัตถุของเจมส์ ลกั ษณะใด
ทำให้ เกิดลักษณะภาพดังกล่ าว
ก วัตถุอยูห่ น้าเลนส์เว้า ระยะวัตถุเท่ากับระยะโฟกัส
ข วัตถุอยูห่ น้าเลนส์เว้า ระยะวัตถุนอ้ ยกว่าระยะโฟกัส
ค วัตถุอยูห่ น้าเลนส์นูน ระยะวัตถุนอ้ ยกว่าระยะโฟกัส
ง วัตถุอยูห่ น้าเลนส์นูน ระยะวัตถุมากกว่าระยะโฟกัส

คำอธิบาย: ค ถูกต้อง เพราะเมื่อวัตถุอยูห่ น้าเลนส์นูนและระยะวัตถุนอ้ ยกว่าระยะโฟกัส ภาพที่เกิดขึ้นเป็ น


ภาพเสมือนหัวตั้ง ขนาดภาพใหญ่กว่าขนาดวัตถุ
33
Light M.3
5. ขณะทีน่ ักเรียนนั่งอยู่ริมสระน้ำ เมือ่ มองลงไปในสระน้ำ นักเรียนจะมองเห็นฝูงปลา
อยู่ในน้ำตืน้ หรือลึกกว่ าความเป็ นจริง และเพราะเหตุใด
ก อยูต่ ้ืนกว่าความเป็ นจริ ง เพราะการหักเหของแสงมีมุมตกกระทบโตกว่ามุมหักเห
ข อยูต่ ้ืนกว่าความเป็ นจริ ง เพราะการหักเหของแสงมีมุมตกกระทบเล็กกว่ามุมหักเห
ค อยูล่ ึกกว่าความเป็ นจริ ง เพราะแสงจากก้นสระน้ำเกิดการสะท้อนกลับหมด
ง อยูล่ ึกกว่าความเป็ นจริ ง เพราะแสงจากก้นสระน้ำเกิดการหักเหทำให้มุมตกกระทบ
เท่ากับมุมสะท้อน

คำอธิบาย: ข ถูกต้อง เพราะแสงเดินทางจากปลาเข้าสู่ตาเรา จึงทำให้เรามองเห็นปลาได้ ซึ่งแสงเดินทางจากน้ำไปสู่


อากาศ ซึ่งเป็ นการเดินทางจากตัวกลางที่มคี วามหนาแน่นมากไปสู่ตวั กลางที่มคี วามหนาแน่นน้อย ดังนั้นมุมหักเห จึง
ใหญ่กว่ามุมตกกระทบ เราจึงมองเห็นปลาอยูต่ ้นื กว่าความเป็ นจริ ง
34

You might also like