You are on page 1of 50

Light M.

3
วิทยาศาสตร์ ม. 2 เล่ ม 2

หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 แสง

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 11
การผสมแสงสี
เวลา 2 ชั่วโมง

1
Light M.3
นักเรี ยนเคยเที่ยวงานเทศกาล
ในเวลากลางคืนที่ประดับด้วยแสงสี ห
ลากหลายหรื อไม่ และแสงสี
ที่นกั เรี ยนเห็นมีแสงสี อะไรบ้าง

2
Light M.3

ถ้านำแสงสี ท้ งั 3 แสงสี มาผสมกันจะเกิดเป็ นแสงสี ใดได้บา้ ง

3
Light M.3
2. การเห็นสี ของวัตถุ
2.1 การผสมแสงสี
เรามองเห็นสี ของวัตถุได้เพราะอะไร เซลล์ แสงสี
รู ปกรวย

เรี ยก ว่า แสงสี ปฐมภูมิ


4
2. การเห็นสี ของวัตถุ Light M.3
2.1 การผสมแสงสี

แสงสี ปฐมภูมิ
สามารถทำให้เกิดแสงสี ใดได้บา้ ง

นักเรี ยนสามารถเรี ยนรู ้ได้จาก


การปฏิบตั ิกิจกรรมต่อไปนี้

5
2. การเห็นสี ของวัตถุ Light M.3
2.1 การผสมแสงสี

กิจกรรมที่ 8 สั งเกตการผสมแสงสี ปฐมภูมิ

ปัญหา เมื่อเรานำแสงสี ต่าง ๆ จากเครื่ องแสดงการผสมแสงสี


มาผสมกันจะเกิดแสงสี อะไรบ้าง

อุปกรณ์
เครื่ องแสดงการผสมแสงสี 1 ชุด

6
2. การเห็นสี ของวัตถุ Light M.3
2.1 การผสมแสงสี
ขั้นตอน
ให้นกั เรี ยนปฏิบตั ิตามขั้นตอนต่อไปนี้
เครื่ องแสดงการผสมแสงสี
ฉาก

1. ฉายแสงสี แดง สี เขียว และสี น ้ำเงินจากเครื่ องแสดงการผสมแสงสี บนฉากตามลำดับ ครั้งละ


1 แสงสี สังเกตสี ที่ปรากฏบนฉาก 7
2. การเห็นสี ของวัตถุ Light M.3
2.1 การผสมแสงสี

เครื่ องแสดงการผสมแสงสี

ฉาก

2. ทำการผสมแสงสี โดยฉายแสงสี เป็ นคู่บนฉากตามลำดับ ดังนี้


– แสงสี แดงผสมแสงสี เขียว
– แสงสี เขียวผสมแสงสี น ้ำเงิน
– แสงสี แดงผสมแสงสี น ้ำเงิน
สังเกตแสงสี ที่ปรากฏและบันทึกผลในตาราง 8
2. การเห็นสี ของวัตถุ Light M.3
2.1 การผสมแสงสี

เครื่ องแสดงการผสมแสงสี

ฉาก

3. ฉายแสงสี ท้ งั 3 แสงสี พร้อมกันบนฉาก สังเกตแสงสี ที่ปรากฏและบันทึกผลในตาราง


9
2. การเห็นสี ของวัตถุ Light M.3
2.1 การผสมแสงสี

บันทึกผล

แสงสี ทซี่ ้ อนทับ แสงสี ทปี่ รากฏบนฉาก


แดงกับเขียว เหลือง
เขียวกับน้ำเงิน เขียวน้ำเงิน
แดงกับน้ำเงิน ม่วงแดง
แดง เขียว และน้ำเงิน ขาว

10
2. การเห็นสี ของวัตถุ Light M.3
2.1 การผสมแสงสี

สรุ ปผล

1) แสงสี ปฐมภูมิ 2 แสงสี ผสมกันจะได้แสงสี ผสมระหว่างแสงสี ปฐมภูมิน้ นั


ได้แก่
แสงสี แดงผสมกับแสงสี เขียวได้แสงสี เหลือง
แสงสี เขียวผสมกับแสงสี น ้ำเงินได้แสงสี เขียวน้ำเงิน
แสงสี แดงผสมกับแสงสี น ้ำเงินได้แสงสี ม่วงแดง
2) แสงสี ปฐมภูมิ 3 แสงสี ผสมกันได้แสงสี ขาว

11
2. การเห็นสี ของวัตถุ Light M.3
2.1 การผสมแสงสี

ค้ นหาคำตอบ
1. แสงสี ปฐมภูมิประกอบด้วยแสงสี อะไรบ้าง
แสงสี น้ำเงิน แสงสี เขียว และแสงสี แดง
2. แสงสี ที่ปรากฏบนฉากเมื่อผสมแสงสี แต่ละคู่แล้วมีแสงสี ใดบ้าง
แสงสี แดงผสมกับแสงสี เขียวได้แสงสี เหลือง
แสงสี เขียวผสมกับแสงสี น ้ำเงินได้แสงสี เขียวน้ำเงิน
และแสงสี แดงผสมกับแสงสี น้ำเงินได้แสงสี ม่วงแดง
3. ผลสรุ ปของการปฏิบตั ิกิจกรรมนี้คืออะไร
แสงสี ที่นำมาผสมกันจะได้แสงสี ใหม่ และแสงสี ขาวเกิดจากการผสมระหว่าง
แสงสี ปฐมภูมิท้ งั 3 แสงสี และแสงสี ทุติยภูมิผสมกับแสงสี ปฐมภูมิ
12
2. การเห็นสี ของวัตถุ Light M.3
2.1 การผสมแสงสี

แสงสีนปฐมภู
แสงสี เขียวน้ำเงิ มิ ทุตยิ ภูมิ
= แสงสี

13
2. การเห็นสี ของวัตถุ Light M.3
2.1 การผสมแสงสี

แสงสี ม่วงแดง = แสงสี ทุตยิ ภูมิ

14
2. การเห็นสี ของวัตถุ Light M.3
2.1 การผสมแสงสี

แสงสี เหลือง = แสงสี ทุตยิ ภูมิ

15
2. การเห็นสี ของวัตถุ Light M.3
2.1 การผสมแสงสี

แสงสี ปฐมภูมทิ ้งั 3 แสงสี รวมกันได้ แสงขาว

16
2. การเห็นสี ของวัตถุ Light M.3
2.1 การผสมแสงสี
แสงสี เติมเต็ม
คืออะไร

แสงสี เหลือง แสงสี


แสงสี น้ำเงิน แสงสี แดง แสงสี แสงสี เขียวน้ำเงิน
เติมเต็ม เติมเต็ม
แสงสี เขียว

แสงสี เติมเต็ม
แสงสี ม่วงแดง
17
Light M.3
เกมแสงเปลีย่ นสี
วัตถุที่เห็นจะเปลี่ยนเป็ นสี อะไร เมื่อส่ องแสงสี ต่าง ๆ ไปบนวัตถุ

18
Light M.3
เกมแสงเปลีย่ นสี
วัตถุที่เห็นจะเปลี่ยนเป็ นสี อะไร เมื่อส่ องแสงสี ต่าง ๆ ไปบนวัตถุ

19
Light M.3
เกมแสงเปลีย่ นสี
วัตถุที่เห็นจะเปลี่ยนเป็ นสี อะไร เมื่อส่ องแสงสี ต่าง ๆ ไปบนวัตถุ

20
Light M.3
นักเรียนได้ เรียนรู้ อะไรบ้ าง
เรามาตรวจสอบความเข้ าใจกัน
1. เราสามารถมองเห็นวัตถุเป็ นแสงสี ต่าง ๆ ได้เพราะอะไร
เพราะเซลล์รูปกรวยสี น ้ำเงิน สี เขียว และสี แดงถูกกระตุน้
ด้วยแสงที่หกั เหเข้าสู่ นยั น์ตาปริ มาณต่างกัน ทำให้เซลล์
ประสาทตาส่ งสัญญาณไปยังสมองเพื่อแปลผลเป็ นแสงสี
ที่ต่างกัน
2. เราเรี ยกแสงสี น ้ำเงิน แสงสี เขียว และแสงสี แดงว่าเป็ น
แสงสี ปฐมภูมิเพราะอะไร
เพราะแสงสี ท้ งั 3 แสงสี เป็ นแสงสี พ้ืนฐาน และเมื่อแสงสี
ทั้ง 3 แสงสี มาผสมกันจะเกิดเป็ นแสงสี ต่าง ๆ ขึ้น
21
Light M.3
สรุป
การผสมแสงสี
แบ่งเป็ น

แสงสี ปฐมภูมิ แสงสี ทุติยภูมิ แสงสี เติมเต็ม


คือ คือ คือ

แสงสี ที่ไม่สามารถ แสงสี ที่เกิดจาก แสงสี ปฐมภูมิและ


นำแสงสี อื่นมาผสม การนำแสงสี ปฐมภูมิ แสงสี ทุติยภูมิที่ผสมกัน
ให้เหมือนเดิมได้ มาผสมกัน แล้วได้แสงขาว

22
Light M.3
วิทยาศาสตร์ ม. 2 เล่ ม 2

หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 แสง

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 12
การมองเห็นสี และการนำความรู้
ไปใช้ ประโยชน์
เวลา 2 ชั่วโมง
23
Light M.3
นักเรี ยนเคยผสมสี ในวิชาศิลปะหรื อไม่
และถ้าต้องการสี เขียว นักเรี ยนจะนำสี ใดมาผสมกัน

24
Light M.3
เรามองเห็นใบไม้เป็ นสี ต่าง ๆ ได้เพราะอะไร

25
2. การเห็นสี ของวัตถุ Light M.3
2.2 การมองเห็นสี ของวัตถุ

สเปกตรัมของแสง
จากแหล่งกำเนิดแสง
เซลล์รูปกรวยถูกกระตุน้
ด้วยแสงสี ที่สะท้อนเข้าสู่
นัยน์ตา ทำให้มองเห็นกุหลาบ
เป็ นสี ต่าง ๆ

ตัวสี ในดอกและใบกุหลาบดูดกลืน
แสงสี บางแสงสี ไว้ และสะท้อนแสงสี
ที่ไม่ได้ดูดกลืนเข้าสู่ นยั น์ตา
26
2. การเห็นสี ของวัตถุ Light M.3
2.2 การมองเห็นสี ของวัตถุ

ถ้าแสงที่ส่องไปยังวัตถุเป็ นแสงสี เดียว


การมองเห็นสี ของวัตถุจะมีลกั ษณะใด

นักเรี ยนสามารถเรี ยนรู ้ได้จาก


การปฏิบตั ิกิจกรรมต่อไปนี้

27
2. การเห็นสี ของวัตถุ Light M.3
2.2 การมองเห็นสี ของวัตถุ

กิจกรรมที่ 9 สั งเกตการฉายแสงสี ต่าง ๆ ลงบนวัตถุทมี่ สี ี


การมองดูสีของวัตถุดว้ ยตาเปล่าและการมองดูสีของวัตถุผา่ นแผ่นกรอง
ปัญหา แสงสี จะมองเห็นสี ของวัตถุเดิมนั้นแตกต่างกันหรื อไม่ ลักษณะใด

อุปกรณ์
ชุดกล่องสังเกตการเปลี่ยนสี ของวัตถุ 1 ชุด

28
2. การเห็นสี ของวัตถุ Light M.3
2.2 การมองเห็นสี ของวัตถุ
ขั้นตอน
ให้นกั เรี ยนปฏิบตั ิตามขั้นตอนต่อไปนี้

1. นำกล่องสังเกตการเปลี่ยนสี ของวัตถุไปยังบริ เวณที่มีแสงแดดจ้า จัดกล่องให้ช่องสอดแผ่น


กรองแสงสี อยูด่ า้ นบน
2. มองผ่านช่องมองไปยังวงกลมสี ต่าง ๆ ในผนังอีกด้านหนึ่งของกล่อง สังเกตวงกลมสี และ
บันทึกตำแหน่งของวงกลมนั้น ๆ ไว้ 29
2. การเห็นสี ของวัตถุ Light M.3
2.2 การมองเห็นสี ของวัตถุ

3. สอดแผ่นกรองแสงสี แดงในช่องด้านบนของกล่อง แล้วมองผ่านช่องมองไปยังวงกลมสี ต่าง ๆ


สังเกตและบันทึกผลลงในตารางบันทึกผลการสังเกต
4. ดำเนินการเช่นเดียวกับข้อ 3 แต่เปลี่ยนแผ่นกรองแสงสี แดงเป็ นแผ่นกรองแสงสี เขียว สี น ้ำเงิน
และสี เหลือง ตามลำดับ 30
2. การเห็นสี ของวัตถุ Light M.3
2.2 การมองเห็นสี ของวัตถุ

บันทึกผล
สี ทสี่ ั งเกตได้ เมือ่ ใช้ แผ่ นกรองแสงสี
สี ของวัตถุ
(ในแสงขาว) แดง เขียว น้ำเงิน เหลือง
แดง เขียว น้ำเงิน เหลือง
ขาว
ดำ เขียว เขียวทึบ เขียว
เขียว
เหลือง ส้ม เขียวเหลือง เขียวหรื อดำ เหลือง
น้ำเงิน ดำ เขียวทึบ น้ำเงิน ม่วงแดง
แดง แดง ดำ ม่วงแดง แดง
ดำ ดำ ดำ ดำ ดำ
31
2. การเห็นสี ของวัตถุ Light M.3
2.2 การมองเห็นสี ของวัตถุ

สรุ ปผล

1) เมื่อมองวัตถุสีขาวในแสงสี ใด ๆ จะเห็นสี ของวัตถุเป็ นสี เดียวกับแสงสี น้ นั ๆ


เพราะวัตถุสีขาวสามารถสะท้อนทุกแสงสี ที่มาตกกระทบวัตถุน้ นั
2) สี ของวัตถุที่สงั เกตเห็นเปลี่ยนไปนั้นขึ้นอยูก่ บั แสงสี ที่ตกกระทบวัตถุ แสงสี
ที่วตั ถุน้ นั ดูดกลืนไว้ และแสงสี ที่วตั ถุน้ นั สะท้อนออกมา
3) เมื่อมองวัตถุสีดำในแสงสี ใด ๆ จะเห็นสี ของวัตถุเป็ นสี ดำเสมอ เพราะวัตถุสีดำ
จะดูดกลืนทุกแสงสี ที่ตกกระทบวัตถุน้ นั
4) วัตถุสีใด ๆ จะไม่ดูดกลืนแสงสี น้ นั แต่จะสะท้อนแสงสี น้ นั ๆ เสมอ

32
2. การเห็นสี ของวัตถุ Light M.3
2.2 การมองเห็นสี ของวัตถุ

ค้ นหาคำตอบ
1. แผ่นกรองแสงสี ท้ งั 4 แผ่นทำหน้าที่อะไร
กรองแสงขาวให้เหลือเพียงแสงสี ที่ตอ้ งการกระทบวงกลมสี ในชุดกล่อง
สังเกตการเปลี่ยนสี ของวัตถุ
2. เมื่อฉายแสงขาวลงบนวงกลมสี ต่าง ๆ จะเห็นเป็ นสี อะไร
สี เดิมของวงกลมเหล่านั้น
3. ผลจากการปฏิบตั ิกิจกรรมสรุ ปได้วา่ อะไร
การมองเห็นสี ของวัตถุเกิดขึ้นเมื่อแสงสี ตกกระทบวัตถุ จากนั้นสี ของวัตถุ
จะดูดกลืนแสงสี น้ นั ไว้และสะท้อนแสงสี ที่เรามองเห็นออกมา โดยวัตถุสีขาว
สะท้อนได้ทุกแสงสี และวัตถุสีดำดูดกลืนได้ทุกแสงสี
33
2. การเห็นสี ของวัตถุ Light M.3
2.2 การมองเห็นสี ของวัตถุ

เมื่อมีแสงสี เพียงแสงสี เดียวกระทบวัตถุ

34
2. การเห็นสี ของวัตถุ Light M.3
2.2 การมองเห็นสี ของวัตถุ

สี ทสี่ ั งเกตเห็นเมือ่ ฉายแสงสี


สี ของวัตถุ
แดง เขียว น้ำเงิน เหลือง
ขาว
เขียว
เหลือง
น้ำเงิน
แดง
ดำ

35
Light M.3
บูรณาการอาเซียน
ภูเขาช็ อกโกแลต
ทุ่งแห่งภูเขาช็อกโกแลตอยูบ่ นเกาะโบฮอล ประเทศฟิ ลิปปิ นส์ โดยในช่วงฤดูใบไม้ร่วง
ใบไม้สีเขียวจะค่อย ๆ เปลี่ยนเป็ นสี น ้ำตาลเหมือนมีคนนำช็อกโกแลตมาราดบนภูเขา ทำให้ภูเขา
ช็อกโกแลตนี้เป็ นสถานที่ท่องเที่ยวที่นำรายได้เข้าสู่ ประเทศมากมาย

36
2. การเห็นสี ของวัตถุ Light M.3
2.3 การนำความรู้เกี่ยวกับการมองเห็นสี ของวัตถุไปใช้ประโยชน์
การถ่ายรู ป
ฟิ ล์มสี ผนั กลับ
(reversal film)

ฟิลม์ เ
นก าทิฟ (
negat
iv e f ilm
)

37
2. การเห็นสี ของวัตถุ Light M.3
2.3 การนำความรู้เกี่ยวกับการมองเห็นสี ของวัตถุไปใช้ประโยชน์

การอัดรู ปจากฟิ ล์มเนกาทิฟ

ฉายแสงในห้องมืด นำกระดาษอัดรู ป
ผ่านฟิ ล์มลงบนกระดาษอัดรู ป ไปแช่ในน้ำยาสร้างภาพ 38
2. การเห็นสี ของวัตถุ Light M.3
2.3 การนำความรู้เกี่ยวกับการมองเห็นสี ของวัตถุไปใช้ประโยชน์
การแสดง

การแสดง การเชิด
ม่านน้ำ หนังตะลุง
ที่บริ เวณ โดยใช้
อนุสาวรี ย ์ แผ่นหนังที่มีสี
ประชาธิปไตย

การแสดง การแสดง
สื่ อผสม คอนเสิ ร์ต
บนพื้นผนัง
39
2. การเห็นสี ของวัตถุ Light M.3
2.3 การนำความรู้เกี่ยวกับการมองเห็นสี ของวัตถุไปใช้ประโยชน์
เรื่องน่ ารู้ ระบบสี
ระบบสี RBG
RED
คือ

ระบบสี ของแสง
เกิดจากคลื่นแสงที่มีความยาวคลื่นต่างกัน
BLUE GREEN
ใช้ประโยชน์ใน
จอคอมพิวเตอร์ จอโทรทัศน์
แท็บเล็ต หรื อกล้องถ่ายรู ป
40
2. การเห็นสี ของวัตถุ Light M.3
2.3 การนำความรู้เกี่ยวกับการมองเห็นสี ของวัตถุไปใช้ประโยชน์

ระบบสี CMYK
CYAN คือ

KEY ระบบสี ของสาร


เกิดจากวัตถุดูดกลืนบางแสงสี
MAGENTA YELLOW แล้วสะท้อนแสงสี ที่เหลือเข้าสู่ นยั น์ตา

ใช้ประโยชน์ใน

การผสมสี ในการพิมพ์
41
Light M.3
นักเรียนได้ เรียนรู้ อะไรบ้ าง
เรามาตรวจสอบความเข้ าใจกัน
1. เมื่อเราอยูใ่ นทุ่งทานตะวัน เรามองเห็นดอกทานตะวันที่อยูใ่ น
แสงแดดเป็ นสี เหลืองเพราะเหตุใด
สี เหลืองจากดอกทานตะวันดูดกลืนแสงสี ต่าง ๆ จากแสงขาว
(แสงแดด) แต่ไม่ดูดกลืนแสงสี เหลือง และสะท้อนแสงสี
เหลืองเข้าสู่ ตาเรา
2. ฟิ ล์มสามารถใช้สีของภาพที่บนั ทึกเหมือนจริ งได้เพราะเหตุใด
เพราะฟิ ลม์ เป็ นวัสดุไวแสงและใช้หลักการที่วา่ สี ใด ๆ ก็ตาม
เกิดขึ้นจากการรวมกันของแม่สี เมื่อฟิ ลม์ ได้รับแสงจะเกิด
ปฏิกิริยาเคมี แล้วนำไปอัดเป็ นรู ปด้วยน้ำยา จะได้รูปที่มีสี
เหมือนจริ งออกมา 42
Light M.3
สรุ
สรุป
การมองเห็นสี ของวัตถุ
เกิดจาก

วัตถุดูดกลืนแสงสี ที่ตกกระทบ
แล้วสะท้อนเฉพาะแสงสี ที่เรามอง
เห็นเข้าสู่ นยั น์ตา

นำมาใช้ประโยชน์ เช่น

การถ่ายรู ป การแสดง

43
Light M.3
แบบทดสอบหลังเรียน
หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 5 แสง
ตอนที่ 2 ความสว่างและการมองเห็นสี ของวัตถุ

44
Light M.3
เลือกคำตอบทีถ่ ูกต้ องทีส่ ุ ดเพียงคำตอบเดียว
1. ขณะทีเ่ ดินเข้ าไปในห้ องทีม่ ดื เช่ น ห้ องนอนหรือในโรงภาพยนตร์ เราจะมองเห็น
สิ่ งของทั้งหมดในห้ องเป็ นสี ดำ เมือ่ รอสั กระยะหนึ่งจึงจะมองเห็นวัตถุเหล่ านั้น
เป็ นสี ต่าง ๆ ได้ ทั้งนีน้ ักเรียนคิดว่ าเป็ นเพราะเหตุใด
ก แสงตกเลยจุดที่รับภาพ
ข เซลล์ประสาทรู ปแท่งเสื่ อม
ค ระบบนัยน์ตาปรับตัวไม่ทนั
ง เซลล์ประสาทรู ปกรวยไม่ทำงาน

คำอธิบาย: ค ถูกต้อง เพราะก่อนเข้าไปในห้องที่มืด แสงสว่างมีมาก ม่านตาจึงหรี่ เพือ่ ปรับปริ มาณแสงที่พอเหมาะให้


เข้าสู่ นยั น์ตา แต่เมื่อเข้าห้องที่มืดทันที แสงสว่างที่เข้าสู่ นยั น์ตาไม่เพียงพอต่อการมองเห็น เราจึงมองเห็นวัตถุทุก
อย่างเป็ นสี ดำ แต่เมื่อนัยน์ตาค่อย ๆ ปรับม่านตาเพื่อรับแสงมากขึ้น เราจึงเริ่ มมองเห็นวัตถุต่าง ๆ ได้
45
Light M.3

2. การแสดงละครเวทีถ้าต้ องการเปลีย่ นสี เสื้อผ้ าของผู้แสดงจากสี ม่วงแดงเป็ นสี น้ำเงิน


ทันที เจ้ าหน้ าทีค่ วรจะฉายสปอตไลต์ แสงสี ใดไปยังผู้แสดง
ก ขาว
ข เขียว
ค น้ำเงิน
ง เหลือง

คำอธิบาย: ค ถูกต้อง เพราะสี ม่วงแดงเป็ นสี ผสมของแสงสี แดงและสี น ้ำเงิน ดังนั้นเมื่อฉายแสงสี น ้ำเงินเสื้ อผ้าจะ
สะท้อนแสงเฉพาะสี น ้ำเงินออกมา ทำให้เรามองเห็นชุดเป็ นสี น ้ำเงิน
46
Light M.3
3. ข้ อความใดกล่ าวถูกต้ องเกีย่ วกับการมองเห็นใบไม้ เป็ นสี เขียว
A ใบไม้ ดูดกลืนเฉพาะแสงสี เขียว
B ใบไม้ ดูดกลืนทุกแสงสี ยกเว้ นสี เขียว
C แสงสี เขียวสะท้ อนบนใบไม้ ได้ ดที สี่ ุ ด
ก B
ข A และ B
ค B และ C
ง A, B และ C

คำอธิบาย: ก ถูกต้อง เพราะการมองเห็นใบไม้สีเขียว เนื่องจากใบไม้ดูดกลืนแสงสี ทุกแสงสี ไว้ แล้วสะท้อนแสง


สี เขียวออกมาแสงสี เดียว
47
Light M.3
4. ข้ อความใดต่ อไปนีก้ ล่ าวถูกต้ อง
A คนทีต่ าบอดสี น้ำเงินจะมองแสงสี เหลืองไม่ เห็น
B ภาพสี ของวัตถุทปี่ รากฏบนเรตินาจะเป็ นสี เติมเต็มกับสี ของวัตถุเสมอ
C คนทีต่ าบอดสี จะมองเห็นสี ดำเป็ นสี ดำเสมอ
D คนทีต่ าบอดสี ใด ๆ จะมองไม่ เห็นสี น้ัน ๆ หรือมองเห็นสี แตกต่ างไปจากคนทัว่ ไป
E ตาบอดสี มกั จะเกิดกับเพศชายมากกว่ าเพศหญิง
ก A, B และ D ค B, C และ D
ข A, C และ E  ง C, D และ E
คำอธิบาย: ง ถูกต้อง เพราะจากตัวเลือก C วัตถุที่มีสีดำดูดกลืนแสงสี ทุกแสงสี อยูแ่ ล้ว สี ดำจึงไม่มีผลต่อคนที่
ตาบอดสี ตัวเลือก D คนที่ตาบอดสี ใด ๆ เนื่องจากเซลล์รูปกรวยของสี น้ นั ไม่ทำงาน จึงมีผลต่อการรวมแสงสี
ทำให้มองไม่เห็นสี น้ นั ๆ หรื อมองเห็นสี แตกต่างไปจากคนทัว่ ไป และตัวเลือก E ตาบอดสี มกั จะเกิดกับเพศชาย
มากกว่าเพศหญิง เนื่องจากยีนด้อยของตาบอดสี อยูบ่ นโครโมโซมเพศ ซึ่งถ้ายีนด้อยบนโครโมโซม X รวมกับ
โครโมโซม Y จะทำให้เพศชายมีโอกาสเป็ นตาบอดสี ได้มากกว่า 48
Light M.3

5. ใครนำความรู้ เกีย่ วกับการมองเห็นสี ของวัตถุไปใช้ ประโยชน์ ถูกต้ อง


ก แก้วนำฟิ ล์มสี ผนั กลับไปอัดเป็ นรู ปก่อนนำมาฉายด้วยเครื่ องฉาย
ข เจี๊ยบปรับบริ เวณเวทีการแสดงให้สว่างเพื่อฉายภาพยนตร์
ค ต้อมบอกกับเพื่อนว่าบริ เวณที่มืดบนฟิ ล์มเนกาทิฟเมื่ออัดรู ปออกมา
จะเป็ นที่สว่าง
ง หน่อยใช้แสงสี แดงในการฉายไปยังกลุ่มผูแ้ สดงที่สวมชุดสี เขียว
เพื่อทำให้สีเขียวเด่น

คำอธิบาย: ค ถูกต้อง เพราะบริ เวณที่สว่างจะมีแสงมากเมื่อถ่ายรู ป แสงปริ มาณมากเมื่อฉายลงบนฟิ ล์มจะมีสีเข้ม


มาก
49
Light M.3
คำถามเชื่อมโยงสู
มโยงสู่ บทเรียนต่ อไป
ให้นกั เรี ยนอ่านเนื้อหาในหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 6
โลกและทรัพยากรธรรมชาติ
จากหนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน
วิทยาศาสตร์ ม. 2 เล่ม 2
ของบริ ษทั สำนักพิมพ์วฒั นาพานิช จำกัด
เพื่อเรี ยนในชัว่ โมงต่อไป

เครื่ องประดับหลายชนิดทำมาจากพลอยสี ต่าง ๆ พลอยที่เรามองเห็น


หลากหลายสี น้ ีเกิดขึ้นมาได้อย่างไร และมีแร่ ใดเป็ นส่ วนประกอบ

50

You might also like