You are on page 1of 14

วิทยาศาสตร์

ชัน
้ ประถมศึกษาปี

หน่วยการ หน่วยการ หน่วยการ


เล่ม 1ที ่ 5
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

หน่วยการ
เรียนรู้ที่ 1 เรียนรู้ที่ 2 เรียนรู้ที่ 3 เรียนรู้ที่ 4

Slide PowerPoint_สื่อ
ประกอบการสอน

บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด : 142 ถนนตะนาว เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200


Aksorn CharoenTat ACT.Co.,Ltd : 142 Tanao Rd. Pranakorn Bangkok 10200 Thailand
โทรศัพท์ : 02 622 2999 โทรสาร : 02 622 1311-8 webmaster@aksorn.com / www.aksorn.com
4
หน่วยการเรียนรู้
ที่
พลังงานเสียง

ตัวชีว
้ ัด
• อธิบายการได้ยินเสียงผ่านตัวกลางจากหลักฐานเชิงประจักษ์
• ระบุตัวแปร ทดลอง และอธิบายลักษณะและการเกิดเสียงสูง เสียงต่ำ
• ออกแบบการทดลองและอธิบายลักษณะและการเกิดเสียงดัง เสียงค่อย
• วัดระดับเสียงโดยใช้เครื่องมือวัดระดับเสียง
• ตระหนักในคุณค่าของความรู้เรื่องระดับเสียง โดยเสนอแนะแนวทางในการหลีกเลี่ยงและลดมลพิษทางเสียง
เสียงรอบตัวเรา การได้ยินเสียง
ผ่านตัการได้
วกลาง ยินเสียงต้องมีองค์
แหล่ง
ประกอบ 3 ตัอย่ าง
วกลาง อวัยวะรับ
แหล่งกำเนิกำเนิ
ดเสียดงที
เสีย่มงนุษย์ ของเสียง เสียง (หู)
คือ วัตถุหรือสิ่งต่าง ๆ ที่
สร้างขึน
้ เช่น
เสียงสามารถ
เดินทางผ่านได้มี 3 ประเภท
ได้แก่
เสียง เสียง ของแ
กีตาร์ โทรทัศน์ ข็ง

เสียง เสียง ของเห


วิท
แหล่ ยุ ดเสียงตาม
งกำเนิ รถยนต์ ลว เช่น หูของ
ธรรมชาติ เช่น มนุษย์
อาก
าศ
สุนัข นก ฟ้ า
เสียงรอบตัวเรา การได้ยินเสียงผ่าน
ตัวการเคลื
กลาง ่ อนที่ของเสียงผ่าน
ตัวกลางมาถึงหูของผู้ฟัง
เสียงต่าง ๆ เดินทางผ่านตัวกลางที่เป็ นของแข็งได้ดีมากกว่า
ตัวกลางที่เป็ นของเหลว และอากาศ
เสียงรอบตัวเรา การได้ยินเสียง
ผ่านตัวกลาง
ขัน
้ ตอนการได้ยินเสียง
ของมนุษย์
2 โมเลกุลของตัวกลางเริ่มสั่น
สะเทือนต่อกัน
จนมาถึงหูของผู้ฟัง
1 เมื่อแหล่งกำเนิดเสียงสั่น
สะเทือน
จะส่งพลังงานผ่านตัวกลาง
ของเสียง แหล่ง
(ในที่นี ้ คือ อากาศ) กำเนิดเสียง
อวัยวะรับ
เสียง (หู)
เสียงรอบตัวเรา การได้ยินเสียง
ผ่านตัวกลาง
ขัน
้ ตอนการได้ยินเสียงของ
มนุษย์ (ต่อ)

3 ใบหูรับและสะท้อนคลื่นเสียง
เข้าไปในรูหู
ทำให้เยื่อแก้วหูสั่น
4 กระดูกค้อน กระดูกทั่ง และ
กระดูกโกลน
สั่นตามเยื่อแก้วหู ทำให้เส้น
ประสาท
5 พลั งงานจากการสั
ภายในคอเคลี ยสั่น่นจะส่งคลื่น
เสียงผ่านเส้นประสาท
เข้าสู่สมอง ทำให้ผู้ฟังได้ยินเสียง
เสียงรอบตัวเรา การได้ยินเสียง
ผ่ส่าวนตั วกลาง
นประกอบภายในหู ของมนุษย์ ที่มี
ผลต่อการได้ยินเสียง
ช่วยในการรับคลื่นเสียง เพื่อให้เสียงเข้าสู่รูหู
ใบหู

1. กระดูกเป็
ค้อนส่
น วนที่คอยรับการสั่นสะเทือน
2. กระดูกมาจากเยื
ทั่ง ่ อแก้วหู เมื่อได้รับเสียงแล้วจะส
3. กระดูกการสั
โกลน่นสะเทือนไปสู่ส่วนนอกสุดของหูชน ั้

เป็รูนทางผ่
หู านของคลื่นเสียงเข้าสู่อวัยวะภายในหู
คอเคลีย
นส่วนที่คอยรับการสั่นสะเทือนของคลื่นเสียง
าจากหูชน ั ้ กลาง และส่งไปยังเส้นประสาท เยื่อเป็
แก้นส่
วหูวนของหูที่เกิดการสั่นสะเทือน เมื่อได้รับเ
การรับฟั ง
เสียงรอบตัวเรา ลักษณะ
ของเสียง เสียงสูง
เสียงสูง เสียงต่ำ เป็ นสมบัติประการหนึ เสียงต่ำ
่งของเสียงที่มีความสัมพันธ์กับแหล่ง
กำเนิ
ระดับดเสี
เสียยงงเกิ
เรีดยจากความเร็
กว่า ระดับเสี ยง
วในการสั ่นสะเทือนของแหล่งกำเนิดเสียง
การสั่นสะเทือนของแหล่งกำเนิดเสียงใน 1 วินาที เรียกว่า ความถี่ของเสียง มี
หน่
ระดัวบยเป็
เสียนครั ง้ ต่ออการเกิ
ง หรื วินาทีดเสี
เรียยกงสูเฮิ
ง รเสีตซ์ (Hz)
ยงต่ำ จะแตกต่างกันขึน ้ อยู่กับปั จจัย ดังนี ้
ปั จจัย แหล่งกำเนิด การสั่น ระดับ
1. ขนาดของ มีเสี ยง
ขนาด สะเทื
เร็วอน เสีสูยง
แหล่งกำเนิด มีขเล็นาด
ก ช้า ง
ต่ำ
เสียง ใหญ่ อย
มีความยาวน้ เร็ว สูง
2. ความยาว
ของ แหล่งกำเนิด มีค(มวลน้
วามยาวมากอย) ช้า ต่ำ
เสีย
3. ง
ความตึ งของ มีค(มวลมาก)
วามตึงมาก เร็ว สูง
แหล่งกำเนิด มีความตึงน้อย ช้า ต่ำ
เสียง (หย่อน)
เสียงรอบตัวเรา ลักษณะ
ของเสียง เสียงสูง
ตัวอย่าง เสียงต่ำ
ระดับเสียง
างไม้บรรทัดยื่นออกมาจากขอบโต๊ะ ประมาณวางไม้10 ซม.
บรรทัดยื่นออกมาจากขอบโต๊ะ ประมาณ 20 ซม
ากนัน
้ ใช้มือกดที่ปลายไม้บรรทัดแล้วปล่อย จากนัน้ ใช้มือกดที่ปลายไม้บรรทัดแล้วปล่อย

10 ซม. 20 ซม.

สั่นเร็ว สั่นช้า
เสียงสูง เสียงต่ำ
เสียงรอบตัวเรา ลักษณะ
ของเสียง เสียงดัง
เสียงดัง เสียงค่อย เป็ นสมบัติของเสี เสียยงที
งค่่เอ
รียกว่า ความดังของเสียง ขึน ้ อยู่กับ
ปริมาณพลังงานของเสียงที่เดินทางมาถึงหูเรา
เช่น เสียงเครื่องบิน มีพลังงานของเสียงมากทำให้เกิดเสียงดัง เสียงกระซิบ มี
พลังงานน้อยทำให้เกิดเสียงค่อย ซึ่งเสียงต่าง ๆ ความดังของ
อาจมีความดังไม่เท่ปัากั
จจั ยน
นขึ ที ่มีผ่กลทำให้
้ อยู ับปั จจัย วัตดัถุงเนีกิ้ ด
เสียงเสียงเสียง
เสียงดัง เสียงค่อย ดัง ค่อย
1. ระยะทางจากแหล่ง • อยู่ใกล้แหล่ง
กำเนิดเสียง • กำเนิ ดเสียงง
อยู่ไกลแหล่
2. พลังงานในการสั่น • กำเนิสั่นด้วดยเสียง
สะเทือนของ • พลั สั่นด้ งงานมาก
วย
แหล่งกำเนิดเสียง พลังงานน้อย
ในการวัดความดังของเสียง จะใช้เครื่องมือวัด
ระดับความเข้มของเสียง
เรียกว่า เครื่องวัดระดับเสียง ซึ่งมีหน่วยเป็ น
เสียงรอบตัวเรา ลักษณะ
ของเสียง เสียงดัง
เสียงค่อย
ตัวอย่าง ความดัง
ของเสียง
ออกแรงตีกลองน้อย
แหล่งกำเนิดเสียงสั่นสะเทือนน้อ
เกิดเสียงค่อย
เสียงโทรทัศน์ดังจังเลย
ได้ยินเสียงโทรทัศน์
อยู่ใกล้แหล่งกำเนิดเสียง ไม่ค่อยชัดเลย
ได้ยินเสียงดัง ออกแรงตีกลองมาก
แหล่งกำเนิดเสียงสั่นสะเทือนมา
อยู่ไกลแหล่งกำเนิดเสียง เกิดเสียงดัง
ได้ยินเสียงค่อย
เสียงรอบตัวเราอันตรายจากมลพิษ
ทางเสียง
เสียงต่าง ๆ อาจทำให้เกิดอันตรายกับหูได้ เช่น หากมนุษย์รับฟั งเสียงที่ดังเกิน 85
เดซิเบล ติดต่อกันเป็ นเวลานาน ๆ หรือ
เกินวันละ 8 ชั่วโมง จะทำให้เกิดอันตรายต่อเยื่อแก้วหูได้ ดังนัน
้ เราจึงควรรู้จักวิธี
การป้ องกันหรือหลีกเลี่ยงเสียงที่จะก่อให้
เกิดอันตรายต่อเยื่อแก้วหู ซึ่งการป้ องกันหรือหลีกเลี่ยงมลพิษทางเสียงทำได้หลายวิธี
เช่น ปลูกต้นไม้สูง ๆ หรือ
สร้างกำแพง ใช้มืออุดหูทันที เมื่อ
เพื่อใช้เป็ นแนวกัน ได้ยินเสียงดังมาก ๆ
เสียง สำหรับ อย่างกะทันหัน
บ้านที่ติดถนน

ใส่อุปกรณ์ครอบหู ลดความดังของ
หากทำงานในสถาน เสียงเพลง หาก
ที่ที่มีเสียงดังมาก ๆ เปิ ดเสียงดังมาก

You might also like