You are on page 1of 66

แบบฝึ กหัด กรด – เบส 5.

น้ าในข้อใดต่อไปนี้มีสมบัติเป็ นเบส ตามทฤษฏีกรด – เบส ของเบริ นสเตด- ลาวรี


(ENT’40)
1. จากปฏิกิริยาผันกลับต่อไปนี้ HCO₃⁻(aq) + OH⁻(aq) ⇄ CO₃²⁻(aq) + H₂O(l) ก. CO₃²⁻(aq) + H₂O(l) ⇄ HCO₃⁻(aq) + OH⁻(aq)
สารคู่ใดจัดเป็ นกรดตามทฤษฏีของเบริ นสเตด(Bronsted) ทั้ง 2 สาร (ENT’20) ข. HClO₄(aq) + OH⁻(aq) ⇄ ClO₄⁻(aq) + H₂O(l)
ก. HCO₃⁻และ CO₃²⁻ ค. NH₄⁺ (aq) + H₂O(l) ⇄ NH₃(aq) + H₃O⁺(aq)
ข. HCO₃⁻ และ H₂O ง. HS⁻(aq) + OH⁻(aq) ⇄ S²⁻(aq) + H₂O(l)
ค. OH⁻ และ H₂O 6. พิจารณาปฏิกิริยาต่อไปนี้ (ENT’25)
ง. OH⁻ และ CO₃²⁻ (1) HPO₄²⁻+ OH⁻ ⇄ PO₄³⁻+ H₂O
2. กรดซัลฟิ วริ กทาปฏิกิริยากับกรดไพโรซัลฟิ วริ ก ดังสมการ (2) HPO₄²⁻+ H₂O ⇄ H₂PO₄⁻+ OH⁻
H₂SO₄ (aq) + H₂S₂O₇(aq) ⇄ H₃SO₄⁺(aq) + HS₂O₇⁻(aq) คาตอบที่ ถูกที่สุด คือ
โมเลกุลและไอออนคู่ใดในปฏิกิริยาทาหน้าที่เป็ นกรด (ENT’ ต.ค. 41) ก. HPO₄²⁻ในสมการ (1) เป็ นเบส แต่ HPO₄²⁻ใน (2) เป็ นกรด
ก. H₂SO₄ และ H₃SO₄⁺ ข. HPO₄²⁻ ในสมการ (1) เป็ นกรด แต่ HPO₄²⁻ ใน (2) เป็ นเบส
ข. H₂SO₄ และ H₂S₂O₇ ค. HPO₄²⁻ในสมการ (1) และ (2) เป็ นเบส
ค. H₂S₂O₇ และ HS₂O₇⁻ ง. HPO₄²⁻ ในสมการ (1) และ (2) เป็ นกรด
ง. H₂S₂O₇ และ H₃SO₄⁺ 7. เมื่อแอมโมเนียละลายน้ าแตกตัวจะได้ตามสมการ (ENT’26)
3. ในปฏิกิริยาต่อไปนี้ ปฏิกิริยาใดที่ HCO₃⁻ไอออน ทาหน้าที่เป็ นกรด (ENT’24) NH₃ + H₂O ⇄ NH₄⁺ + OH⁻
ก. HCO₃⁻(aq) + H₂O(l) ⇄ H₂CO₃(aq) + OH⁻(aq) ข้อความในข้อใด ถูกต้อง
ข. HCO₃⁻(aq) + OH⁻(aq) ⇄ H₂O(l) + CO₃²⁻(aq) ก. NH₃ และ NH₄⁺ เป็ นเบส
ค. HCO₃⁻(aq) + HSO₄⁻(aq) ⇄ H₂CO₃(aq) + SO₄²⁻(aq) ข. NH₃ และ OH⁻ เป็ นเบส
ง. HCO₃⁻(aq) + CH₃COOH(aq) ⇄ H₂O(l) + CO₂(g) + CH₃COO⁻(aq) ค. H₂O และ OH⁻ เป็ นเบส
4. ในสมการต่อไปนี้ H2O ทาหน้าที่อะไรในสมการ (1) และ (2) ตามลาดับ (ENT’24) ง. NH₄⁺ และ OH⁻ เป็ นเบส
HCl(g) + H₂O(l) ⇄ H₃O⁺(aq) + Cl⁻(aq) ……………….(1) 8. โมเลกุลหรื อไอออนที่ไม่สามารถทาหน้าที่เป็ นกรดได้ คือ (ENT’18)
NH₃(g) + H₂O(l) ⇄ NH₄⁺(aq) + OH⁻(aq) ……………….(2) ก. HSO₄⁻
ก. เป็ นกรดทั้ง (1) และ (2) ข. H₂O
ข. เป็ นเบสทั้ง (1) และ (2) ค. CH₄
ค. เป็ นกรดใน (1) และเป็ นเบสใน (2) ง. NH₄⁺
ง. เป็ นเบสใน (1) และเป็ นกรดใน (2)

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 1/66 หน้า 1
9. สารหรื อไอออนใดต่อไปนี้ ไม่สามารถเป็ นได้ท้ งั กรดและเบส (ENT’19) 13. จากปฏิกิริยาต่อไปนี้
ก. H₂O H₂PO₃⁻ (aq) + H₂O (l) ⇄ H₃O⁺ (aq) + HPO₃²⁻(aq)
ข. HC₂O₄⁻ HS⁻ (aq) + H₂O(l) ⇄ H₃O⁺(aq) + S²⁻(aq)
ค. HS⁻ ไอออนในคูใ่ ดเป็ นคู่กรด คูเ่ บส ซึ่งกันและกัน (ENT’28)
ง. NO₃⁻ ก. H₂PO₃⁻(aq) HPO₃²⁻(aq)
10. ข้อใดที่ไอออนแต่ละชนิดในน้ ามีสมบัติเป็ นกรด (ENT’39) ข. H₂PO₃⁻(aq) H₃O⁺(aq)
ก. NH₄⁺ CO₃²⁻ CH₃COO⁻ ค. H₃O⁺(aq) S²⁻(aq)
ข. H₂PO₄⁻ HCO₃⁻ NO₃⁻ ง. H₃O⁺(aq) HS⁻(aq)
ค. NH₄⁺ H₂PO₄⁻ HCO₃⁻
ง. HS⁻ H₂PO₄⁻ CH₃COO⁻ 14. ข้อใดเป็ นคู่เบสของกรดต่อไปนี้ตามลาดับ (ENT’39)
11. จากทฤษฏีเกี่ยวกับกรด – เบส ของอาร์เรเนียสและเบริ นสเตด-ลาวรี สารกลุ่มใดจัดว่าเป็ น HSO₃⁻ H₂PO₄⁻ HCO₃⁻
เบสทุกตัว (ENT’29) ก. SO₃²⁻ HPO₄²⁻ CO₃²⁻
ก. CO₃²⁻ H₂PO₄⁻ Cl⁻ NH₄⁺ ข. H₂SO₃ H₂PO₄⁻ H₂CO₃
ข. Na⁺ Ca(OH)₂ NO₃⁻ NH₃ ค. HSO₃²⁻ HPO₄²⁻ CO₃²⁻
ค. OH⁻ HCO₃⁻ SO₄²⁻ NH₃ ง. SO₃²⁻ HPO₄²⁻ H₂CO₃
ง. KOH H₂PO₄⁻ H₃O⁺ SO₃²⁻
12. ถ้าผสมสารละลาย A และสารละลาย B เข้าด้วยกัน A จะทาหน้าที่เป็ นกรด B จะทาหน้าที่ 15. พิจารณาสมการต่อไปนี้
เป็ นเบส และ B คือข้อใด (ENT’24) (1) HS⁻(aq) + OH⁻(aq) ⇄ A(aq) + B(l)
ก. CH₃COOH HCl Cu²⁺(aq)
ข. Ba(OH)₂
D(s)
NaHCO₃
ค. KCl CH₃COONa (2) HS⁻(aq) + H₃O⁺(aq) ⇄ C(g) + E(l)
ง. NaHCO₃ NH₃ Cu²⁺(aq)
ข้อสรุ ปใด ผิด
D(s) + F(g)
ก. HS⁻ เป็ นได้ท้ งั กรดและเบส
ข. สาร D คือ CuS
ค. สาร B และสาร E ทาหน้าที่ต่างกัน
ง. สาร B และสาร E เป็ นสารต่างชนิดกัน แต่มีสถานะเหมือนกัน

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 2/66 หน้า 2
16. สาร A B C และ D มีรูปร่ างดังกาหนดในตาราง ข้อใดเป็ นไปได้ (ENT’ มี.ค. 44) คำชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ ใช้ในการตอบคาถามข้อ 20 – 21 (ENT’30)
20. 1. HCl + HCN ⇄ H₂CN⁺ + Cl⁻
สาร A B C D 2. HCN + H₂O ⇄ H₃O⁺ + CN⁻
รู ปร่ าง พีระมิดฐาน มุมงอ สามเหลี่ยมแบน ทรงสี่ หน้า 3. HClO₄ + HCl ⇄ H₂Cl⁺ + ClO₄⁻
สามเหลี่ยม ราบ 4. H₂O + NH₃ ⇄ NH₄⁺ + OH⁻
ก. คู่เบสของ H₂S คู่กรดของ H₂O คู่กรดของ PH₃ คู่เบสของ NH₄⁺ ข้อความใด ถูกต้ องทีส่ ุ ด
ข. คู่กรดของ H₂O คู่กรดของ HS⁻ คู่เบสของ HCO₃⁻ คู่เบสของ HSO₄⁻ ก. สารละลายชุดที่ 2 3 จะเปลี่ยนสี กระดาษลิตมัสจากน้ าเงินเป็ นแดง
ค. คู่เบสของ HSO₄⁻ คู่เบสของ H₂O คู่เบสของ HNO₃ คู่กรดของ NH₃ ข. สารละลายชุดที่ 1 2 จะเปลี่ยนสี กระดาษลิตมัสจากแดงเป็ นน้ าเงิน
ง. คู่เบสของ HCO₃⁻ คู่กรดของ HS⁻ คู่กรดของ H₂O คู่เบสของ NH₄⁺ ค. สารละลายชุดที่ 3 4 จะเปลี่ยนสี กระดาษลิตมัสจากน้ าเงินเป็ นแดง
ง. สารละลายชุดที่ 1 4 จะเปลี่ยนสี กระดาษลิตมัสจากแดงเป็ นน้ าเงิน
17. จากปฏิกิริยา HNO₂ + CN⁻ ⇄ HCN + NO₂⁻ ถ้าค่าคงที่สมดุล K = 1 x 10⁶
21. การเรี ยงลาดับความรุ นแรงของกรดจากมากไปน้อย ในข้อใด ถูกต้อง
สามารถสรุ ปได้วา่ (ENT’29)
ก. H₂O > HClO₄ > HCl > HCN
ก. NO₂⁻ เป็ นเบสแก่กว่า CN⁻
ข. HCl > HCN > HClO₄ > H₂O
ข. HCN เป็ นเบสแก่กว่า HNO₂
ค. HClO₄ > HCl > HCN > H₂O
ค. NO₂⁻ เป็ นสารคู่กรดของ HNO₂
ง. HCl > HClO₄ > HCN > H₂O
ง. HCN เป็ นสารคู่กรดของ CN⁻
22. ถ้ากรด H₂Y มีค่าคงที่สมดุลเป็ น Ka₁ = 1.5 x 10⁻⁶ และ Ka₂ = 1.5 x 10⁻¹² ใน
18. ในปฏิกิริยาที่อยูใ่ นภาวะสมดุล HF(aq) + H₂O(l) ⇄ H₃O⁺(aq) + F⁻(aq)
สารละลายกรดนี้มีไอออนอยูม่ ากน้อยกว่ากัน ให้เรี ยงลาดับจากมากไปหาน้อย (ENT’41)
ถ้าทิศทางของสมดุลเกิดจากขวามาซ้าย จะสรุ ปได้วา่ อย่างไร (ENT’24)
ก. HF เป็ นกรดแก่ ก. HY⁻ Y² ⁻ H₃O⁺
ข. F⁻ เป็ นเบสที่แก่กว่าน้ า ข. Y² ⁻ H₃O⁺ HY⁻
ค. ค่าคงที่สมดุลมากกว่า 1 ค. H₃O⁺ HY⁻ Y² ⁻
ง. ค่าคงที่สมดุลเท่ากับ 1 โดยประมาณ ง. H₃O⁺ Y² ⁻ HY⁻
19. ในปฏิกิริยาต่อไปนี้ HX(aq) + Y⁻(aq) ⇄ HY(aq) + X⁻(aq) ถ้าค่า K ของปฏิกิริยา
เท่ากับ 10⁻² ข้อสรุ ปใด ถูกต้ อง (ENT’36)
ก. HX เป็ นกรดที่แก่กว่า H₃O⁺
ข. HY เป็ นกรดที่แก่กว่า HX
ค. Y⁻ เป็ นเบสที่แก่กว่า X⁻
ง. K ของปฏิกิริยาย้อนกลับมีค่า = 0.1
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 3/66 หน้า 3
23. H₃PO₄ สามารถแตกตัวให้โปรตอนได้ 3 ขั้นตอน จากค่า Ka ต่อไปนี้ (ENT’ต.ค. 42) 27. สมดุลของปฏิกิริยาใดแสดงว่าเป็ น Ka ของ HS⁻ ได้ (ENT’29)
H₃PO₄ ⇄ H⁺ + H₂PO₄⁻ ; Ka₁ = 7.5 x 10⁻³ ก. HS⁻ + OH⁻ ⇄ S²⁻ + H₂O
H₂PO₄⁻ ⇄ H⁺ + HPO₄²⁻ ; Ka₂ = 6.3 x 10⁻⁸ ข. HS⁻ + H₂O ⇄ H₂S + OH⁻
HPO₄²⁻ ⇄ H⁺ + PO₄³⁻ ; Ka₃ = 4.0 x 10⁻¹³ ค. HS⁻ + H₂O ⇄ S²⁻ + H₃O⁺
ข้อสรุ ปใด ผิด ง. HS⁻ + H₃O⁺ ⇄ H₂S + H₂O
ก. H₃PO₄ เป็ นกรดแก่กว่า H₂PO₄⁻ และ HPO₄²⁻ ตามลาดับ 28. กรด H₂A H₂B และ H₂C มีค่า Ka เท่ากับ 1.03 x 10⁻¹⁷, 1.3 x 10⁻⁴ และ 2.3 x 10⁻³
ข. สารละลาย H₃PO₄ จะมีปริ มาณ H⁺ (หรื อ H₃O⁺) มากกว่าไอออนชนิดอื่นๆ ตามลาดับ ข้อมูลใดถูกต้อง ในการทานายพลังงานพันธะของ H – A ,H – B ,H – C และ
ค. H₂PO₄⁻ แสดงสมบัติเป็ นได้ท้ งั กรดและเบส Ka ของกรด H₂D เมื่อ D เป็ นธาตุที่หนักกว่า C ซึ่งอยูใ่ นหมู่เดียวกัน (ENT’36)
ง. H₃PO₄ และ H₂PO₄⁻ เป็ นคู่กรด – เบสกันเช่นเดียวกับ H₂PO₄⁻ กับ HPO₄²⁻
พลังงานพันธะ Ka ของ H₂D
ดังนั้น H₃PO₄ และ HPO₄²⁻ นับเป็ นคู่กรด – เบสกันได้
ก. H–A < H–B < H–C 1 x 10⁻⁸
24. ข้อใดที่สารทุกตัวเป็ นกรดอ่อน (ENT’39)
ข. H–A < H–B < H–C 1 x 10⁻¹
ก. HF HNO₂ HCOOH HBr HCN
ค. H–A > H–B > H–C 1 x 10⁻⁸
ข. HCN HI H₂S HF HCOOH
ง. H–A > H–B > H–C 1 x 10⁻¹
ค. HI HF HCN HBr HNO₂
ง. HF HNO₂ HCOOH HCN H₂S 29. ข้อใดเรี ยงลาดับความแรงของกรดได้ถูกต้อง ( PAT-2 ต.ค. 53 )
25. ข้อใด ไม่ ใช่ ปฏิกิริยาระหว่างกรด เบส (PAT-2 ต.ค. 52) ก. HClO > HClO₂ > HClO₃ > HClO₄
ก. NaH + H₂O  NaOH + H₂ ข. HClO₄ > HClO₃ > HClO₂ > HClO
ข. Na + H₂O  NaOH + H₂ ค. H₂O > H₂S > H₂Se > H₂Te
ค. Co²⁺ + H₂O  Co(H₂O)₆²⁺ ง. ถูกทุกข้อ
ง. มีคาตอบมากกว่า 1 ข้อ 30. HA เป็ นกรดอ่อนที่มีค่าคงที่สมดุลการแตกตัวเท่ากับ 1 x 10⁻⁴ สารละลาย
26. S กับ Se เป็ นธาตุหมู่เดียวกันในตารางธาตุ ค่า Ka ของ HSeO₄⁻ เขียนได้วา่ อย่างไร HA 1 mol·dm⁻³ จะแตกตัวได้ร้อยละเท่าใด (ENT’มี.ค. 44)
ก.
[𝐻 + ]2 [𝑆𝑒𝑂₄2− ] ก. ร้อยละ 1
[𝐻₂𝑆𝑒𝑂₄]
ข. ร้อยละ 2
[𝐻 + ][𝑆𝑒𝑂₄²⁻ ]
ข. ค. ร้อยละ 4
[𝐻₂𝑆𝑒𝑂₄]
[𝐻⁺][𝑆𝑒𝑂₄2− ] ง. ร้อยละ 10
ค.
[𝐻𝑆𝑒𝑂₄⁻]
[𝐻 + ]2 [𝑆𝑒𝑂₄2− ]
ง.
[𝐻𝑆𝑒𝑂₄⁻]

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 4/66 หน้า 4
31. จงคานวณร้อยละการแตกตัวของกรดฟอร์มิก (HCOOH) ในสารละลาย HCOOH เข้มข้น คำชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ ใช้ประกอบการตอบคาถามข้อ 35 – 36 กาหนดสารละลายของกรด
0.20 mol·dm⁻³ (กาหนดค่าคงที่การแตกตัวของกรด = 1.8 x 10⁻⁴ ) (ENT’มี.ค. 47) ให้ 4 ชนิด แต่ละชนิด ความเข้มข้นเท่ากัน คือ 0.1 mol/dm³
กรด ค่า Ka ที่ 25 C
HClO₂ 1.1 x 10⁻²
HF 6.8 x 10⁻⁴
CH₃COOH 1.8 x 10⁻⁵
H₂CO₃ 4.4 x 10⁻⁷
32. เมื่อนากรด HCN ซึ่งมีค่า Ka เท่ากับ 4.9 x 10⁻¹⁰ มา 5.4 กรัม เติมน้ ากลัน่ จนได้
สารละลายปริ มาณ 2 ลิตร อยากทราบว่ากรดนี้แตกตัวได้กี่เปอร์เซ็นต์ (ENT’28) 35. pH ของสารละลายกรดในข้อใดมีค่ามากที่สุด
ก. แตกตัว 0.005 เปอร์เซ็นต์ ก HClO₂ ข H₂CO₃
ข. แตกตัว 0.007 เปอร์เซ็นต์ ค HF ง CH₃COOH
ค. แตกตัว 0.050 เปอร์เซ็นต์ 36. ถ้าผ่านแก๊ส HCl ลงในสารละลาย CH₃COOH 0.1 mol/dm³ นี้ จนความเข้มข้นของ
ง. แตกตัว 0.070 เปอร์เซ็นต์ กรด HCl เป็ น 0.3 mol/dm³ อยากทราบว่า จะมี [H₃O⁺] เข้มข้นกี่ mol/dm³
33. กรดอ่อน HX มีค่าคงที่การแตกตัวเท่ากับ 2.5 x 10⁻⁶ สารละลายกรด HX จะต้องมี ก. 0.10 mol/dm³
ความเข้มข้นกี่โมลต่อลูกบาศก์เซนติเมตร จึงจะทาให้ความเข้มข้นของ H₃O⁺ เท่ากับ ข. 0.20 mol/dm³
2 x 10⁻³ mol·dm⁻³ (ENT’ต.ค. 44) ค. 0.30 mol/dm³
ก. 0.8 mol·dm⁻³ ง. 0.40 mol/dm³
ข. 1.6 mol·dm⁻³ 37. ถ้าค่าคงที่สมดุลของเบสเข้มข้น 0.1 mol/dm³ ที่ 25C เป็ นดังแสดงในตาราง ลาดับ
ค. 2.0 x 10⁻³ mol·dm⁻³ สารละลายเบส ค่าคงที่สมดุล
ง. 3.6 x 10⁻³ mol·dm⁻³ A 1.79 x 10⁻⁵
34. ละลายกรดฟอร์มิก (HCOOH) จานวนหนึ่งในน้ า 5 ลิตร พบว่ามี H₃O⁺ เข้มข้นเท่ากับ B 9.00 x 10⁻⁷
5.0 x 10⁻⁴ mol·dm⁻³ ถ้าค่าคงที่สมดุลของกรดนี้เท่ากับ 2.0 x 10⁻⁴ สารละลายนี้มีกรด C 7.00 x 10⁻⁷
ฟอร์มิกละลายอยูก่ ี่กรัม (ENT’ต.ค. 42) D 1.50 x 10⁻⁵
ความแรงของเบสจากมากไปน้อยคือข้อใด (ENT’26)
ก. A D B C
ข. A C B D
ค. D B C A
ง. D C B A

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 5/66 หน้า 5
38. ตารางแสดงค่าคงที่การแตกตัวของกรด 40. ค่าคงที่สมดุลของกรดต่างๆ เป็ นดังนี้ (ENT’27)

สารละลาย Ka กรด Ka
HSO₄⁻ 1.2 x 10⁻² H₂SO₃ 1.2 x 10⁻²
HNO₂ 4.5 x 10⁻⁴ HNO₂ 5.1 x 10⁻⁴
CH₃OOH 1.8 x 10⁻⁵ HCN 4.8 x 10⁻¹⁰
NH₄⁺ 6.0 x 10⁻¹⁴ H₂S 1.1 x 10⁻⁷
ข้อใด ถูกต้ องทีส่ ุ ด
ข้อใดเรี ยงลาดับความแรงได้ถูกต้อง (PAT-2 ต.ค. 53)
ก. เรี ยงลาดับความเป็ นกรดดังนี้ H₂SO₃ < HNO₂ < H₂S < HCN
ข. เรี ยงลาดับความเป็ นเบสดังนี้ CN⁻ < HS⁻ < NO₂⁻ < HSO₃⁻
ก. SO₄²⁻ > NO₂⁻ > CH₃OO⁻ > NH₃
ค. สารละลายทั้ง 4 ชนิด เป็ นสารละลายอิเล็กโทรไลต์แก่ ไม่นาไฟฟ้ า
ข. NH₃ > CH₃OO⁻ > NO₂⁻ > SO₄²⁻
ง. ถ้าสารละลายทั้ง 4 ชนิด มีความเข้มข้นเท่ากันสารละลาย H₂SO₃ นาไฟฟ้ าได้ดี
ค. H₂SO₄ > NO₂⁻ > CH₃OO⁻ > NH₅²⁺
ที่สุด
ง. NH₅²⁺ > CH₃OO⁻ > NO₂⁻ > H₂SO₄
41. กรด A B C D เป็ นกรดมอนอโปรติก

39. จากค่า Ka ของสารละลายที่มีความเข้มข้น 1.0 mol/dm³ การเปรี ยบเทียบความเข้มข้น สารละลาย ปริ มาตร (cm³) ความเข้มข้น (mol/dm³) Ka
ของ H₃O⁺ และ pH ของข้อใด ถูกต้ อง (ENT’38) A 50 1.5 6 x 10⁻¹⁰
B 100 0.1 4 x 10⁻⁵
สารละลาย Ka [H₃O⁺] pH
C 100 0.01 1 x 10⁻⁴
HNO₂ 4.5 x 10⁻⁴ a e
D 150 1.0 4 x 10⁻⁸
HF 6.8 x 10⁻⁴ b x
HOCl 3.5 x 10⁻⁵ c y จากข้อมูลข้างต้น สารละลายใดมี pH ต่าสุด (ENT’34)
HCN 4.9 x 10⁻¹⁰ d z ก. A
ข. B
ก. a = b และ e = x
ค. C
ข. b > c และ y < x
ง. D
ค. c > d และ y < z
ง. b > d และ x > y

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 6/66 หน้า 6
42. จากสารละลายเบสต่อไปนี้ เบสชนิดใดเป็ นเบสอ่อนที่สุด (ENT’39) ง. สารละลายของ HPO₄²⁻ มี [H₃O⁺] < [OH⁻]
45. ข้อความที่เกี่ยวข้องกับกรด เบส ต่อไปนี้ ข้ อใดผิด (ENTA 51)
เบส ความเข้มข้น (mol/dm³) % การแตกตัว
ก. คู่เบสของ HSO₃⁻ คือ SO₃²⁻ และคู่กรดของ HSO₃⁻ คือ H₂SO₃
ก. AOH 0.1 5.0
ข. ความแรงของกรดเรี ยงตามลาดับคือ H₃PO₄ > H₂PO₄⁻ > HPO₄²⁻
ข. BOH 0.5 1.0
ค. คู่กรดของเบส CH₃NH₂ (Kb = 4 x 10⁻⁴) มีความแรงมากกว่า C₆H₅NH₂
ค. COH 1.0 0.5
(Kb = 4 x 10⁻¹⁰)
ง. DOH 5.0 0.1
ง. จากปฏิกิริยา NaHCO₃ + Ba(OH)₂  BaCO₃ + NaOH + H₂O แสดงว่า
43. กาหนดให้ (ENT’38) NaHCO₃ ทาหน้าที่เป็ นกรด
กรด ความเข้มข้น (mol/dm³) Ka₁ Ka₂ 46. กาหนดให้
H₂C₂O₄ 0.10 5.6 x 10⁻² 5.1 x 10⁻⁵ A. (C₂H₅)₂NH + H₂O ⇄ (C₂H₅)₂NH₂⁺ + OH⁻ Kb = 6.9 x 10⁻⁴
B. C₂H₅NH₂ + H₂O ⇄ C₂H₅NH₃⁺ + OH⁻ Kb = 4.5 x 10⁻⁴
H₂SO₃ 0.10 1.3 x 10⁻² 6.8 x 10⁻⁸
C. (CH₃)₂NH + H₂O ⇄ (CH₃)₂NH₂⁺ + OH⁻ Kb = 5.4 x 10⁻⁴
H₂CO₃ 0.10 4.4 x 10⁻⁷ 5.0 x 10⁻¹¹
ถ้าสารละลายทั้งสามมีความเข้มข้นเริ่ มต้นเท่ากัน และเมื่อถึงภาวะสมดุลที่อุณหภูมิ
H₂S 0.10 1.1 x 10⁻⁷ 1.3 x 10⁻¹³
เดียวกัน ข้อใดถูก (ENT’มี.ค. 48)
ข้อความต่อไปนี้ ข้อใด ถูกต้อง
ก. HSO₃⁻ เป็ นคูเ่ บสของ SO₃²⁻ แต่เป็ นคู่กรดของ H₂SO₃ การเปรี ยบเทียบ 1 การเปรี ยบเทียบ 2
ข. ลาดับความแรงในการรับโปรตอนเรี ยงจากมากไปน้อย คือ HCO₃⁻ > HS⁻ > ก. [(C₂H₅)₂NH] < [(CH₃)₂NH] pH B > pH C
HSO₃⁻> HC₂O₄⁻ ข. [C₂H₅NH₂] > [(C₂H₅)₂NH] [H₃O⁺] B > [H₃O⁺] C
ค. ปริ มาณโมเลกุลของกรดในสารละลายเรี ยงจากมากไปน้อย คือ H₂S > H₂CO₃ > ค. [(CH₃)₂NH] < [(C₂H₅)₂NH] [OH⁻] A > [OH⁻] B
H₂SO₃ > H₂C₂O₄ ง. [(C₂H₅)₂NH] > [C₂H₅NH₂] pH B < pH A
ง. ลาดับ pH ของสารเรี ยงจากมากไปน้อย คือ H₂C₂O₄ > H₂SO₃ > H₂CO₃ > H₂S
44. คาชี้แจง กาหนดค่าคงที่สมดุลของ HPO₄²⁻ ดังนี้
1. HPO₄²⁻(aq) + H₂O(l) ⇄ H₃O⁺(aq) + PO₄³⁻(aq); Ka = 4 x 10⁻¹³
2. HPO₄²⁻(aq) + H₂O(l) ⇄ OH⁻(aq) + H₂PO₄⁻(aq);Kb = 1 x 10⁻³
ข้อใด ถูกต้อง ( ENT ต.ค. 47)
ก. คู่กรดของ HPO₄²⁻ในข้อ 1 คือ PO₄³⁻
ข. คู่เบสของ HPO₄²⁻ในข้อ 1 คือ H₂PO₄⁻
ค. สารละลายของ HPO₄²⁻ มี pH อยูร่ ะหว่าง 4  5
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 7/66 หน้า 7
47. คาชี้แจง กาหนดค่าคงที่สมดุลของสารต่างๆ ดังนี้ 49. เมื่อกรดแอซีติกละลายน้ า จะแตกตัวเป็ นไฮโดรเนียมไอออนและแอซีติกไอออน เขียน
1. HCOOH Ka = 1.76 x 10⁻⁴ สมการได้ดงั นี้
2. C₆H₅COOH Ka = 6.46 x 10⁻⁵ CH₃COOH + H₂O ⇄ H₃O⁺ + CH₃COO⁻
3. CH₃NH₂ Kb = 3.70 x 10⁻⁴ ค่า Ka ที่ 25C เท่ากับ 1.8 x 10⁻⁵ ; ค่า Kb ของคู่เบสของกรดแอซีติกมีค่าเท่าใด
4. NH₄OH Kb = 1.77 x 10⁻⁵ ก.
1
x 10⁻⁹
1.8
ข้อความต่อไปนี้ ข้อใด ถูกต้อง (ENT’37) 1
ก. เมื่อทุกสารละลายมีความเข้มข้นเท่ากัน สารละลาย 1 จะมี pH ต่าสุด สารละลาย 4 ข. 1.8 x
10⁻⁹
มี pH สูงสุด ค. 1.8 x 10⁻⁹
ข. C₆H₅COOH เป็ นกรดที่อ่อนกว่า HCOOH และ NH₄OH เป็ นเบสที่แก่กว่า ง. 1.8 x 10⁻⁵
CH₃NH₂ 50. สารละลายกรดชนิดหนึ่งมี pH เท่ากับ 5 ข้อใดที่แสดง [H₃O⁺] เป็ น mol/dm³ ที่ ถูกต้ อง
ค. สารละลาย 4 เปลี่ยนสี กระดาษลิตมัสจากสี น้ าเงินเป็ นแดง ขณะที่สารละลาย 3 ไม่ (ENT’29)
เปลี่ยนสี กระดาษลิตมัสสี น้ าเงิน ก. [H₃O⁺] = log₁₀5
ง. หลังจากผสมสารละลาย 1 กับ 3 ด้วยความเข้มข้นและปริ มาตรเท่ากัน สารละลาย
ข. log [H₃O⁺] = 5
ผสมสามารถเปลี่ยนสี กระดาษลิตมัสจากสี แดงเป็ นน้ าเงิน
1
ค. log = 5
[H₃O⁺]

ง. log [H₃O⁺] = 10
48. กาหนดค่าคงที่สมดุลของการแตกตัวของกรดและเบส ดังนี้
1. HNO₂ Ka = 4.5 x 10⁻⁴
51. สารละลายกรดอ่อน [HA] มีความเข้มข้นเท่ากับ a โมลาร์ และมีคา่ Ka = b ข้อใด
2. C₆H₅COOH Ka = 6.5 x 10⁻⁵
ถูกต้อง(ENT-A 51)
3. NH(CH₃)₂ Kb = 7.4 x 10⁻⁴
ก. สารละลายกรดมีค่า pH เท่ากับ log√(𝑎𝑏)
4. N₂H₄ Kb = 9.8 x 10⁻⁷
−𝑏 +√(𝑏2 +4𝑎𝑏)
สาหรับสารละลายที่มีความเข้มข้นเท่ากัน ข้อใดถูก (ENT’ ต.ค. 46) ข. สารละลายมีความเข้มข้นของ H₃O⁺ เท่ากับ โมลาร์
𝑎
1.0 x 10⁻¹⁴
ก. สารละลาย 4 มี pH ต่าสุด ค. สารละลายมีความเข้มข้นของ OH⁻ เท่ากับ โมลาร์
𝑎
ข. การแตกตัวของสารละลาย 1 มากกว่าสารละลาย 2 ประมาณ 10 เท่า ง. ถ้านาสารละลายปริ มาตร 25.00 cm³ ไทเทรตกับสารละลาย NaOH เข้มข้น
ค. สารละลาย 3 และสารละลาย 4 จะเปลี่ยนสี กระดาษลิตมัสจากสี น้ าเงินเป็ นแดง 0.20 โมลาร์ พบว่าที่จุดยุติจะใช้สารละลาย NaOH ปริ มาตรเท่มกับ 25.0 a cm³
ง. สารละลาย 1 ผสมกับสารละลาย 4 ในปริ มาตรที่เท่ากัน สารละลายที่เกิดจากการ
ผสมจะมี pH < 7

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 8/66 หน้า 8
52. พิจารณาสารละลายที่ 25C ในตารางต่อไปนี้ 55. ถ้าต้องการเปลี่ยน pH ของสารละลาย HCl จาก pH เท่ากับ 3 ไปเป็ น pH เท่ากับ 2 จะต้อง
เติมแก๊สลงไปอีกกี่โมลในสารละลายที่มีปริ มาตร 1 dm³ เท่าเดิม (ENT’32)
[H⁺] mol/dm³ [OH⁻] mol/dm³ ความเป็ นกรด – เบส ก. 1.00 โมล
5.0 x 10⁻⁷ (a) (b) ข. 0.01 โมล
4.0 x 10⁻¹⁰ (c) เบส ค. 0.09 โมล
(d) 5.0 x 10⁻⁹ กรด ง. 0.009 โมล
56. สารละลายของแอมโมเนียเข้มข้น 0.10 mol/dm³ มี pH เท่ากับ 11 แสดงว่า (ENT’20)
a b c และ d ควรเป็ นดังข้อใด (ENT’ มี.ค. 42) ก. pOH เท่ากับ 3
(a) (b) (c) (d) ข. OH⁻ มีความเข้มข้นเท่ากับ 10⁻¹¹ mol/dm³
ก. 2.0 x 10⁻⁷ กรด 2.0 x 10⁻⁴ 2.0 x 10⁻⁶ ค. H⁺ มีความเข้มข้นเท่ากับ 10⁻³ mol/dm³
ข. 2.0 x 10⁻⁸ กรด 2.0 x 10⁻⁵ 2.0 x 10⁻⁶ ง. Ka ของ NH₄⁺ เท่ากับ 1 x 10⁻⁵ mol/dm³
ค. 2.0 x 10⁻⁶ เบส 2.0 x 10⁻⁵ 2.0 x 10⁻⁵ 57. ข้อความต่อไปนี้ ข้อความใด ถูกต้ องทีส่ ุ ด (กาหนด log 2 = 0.301) (ENT’22)
ง. 2.0 x 10⁻⁷ เบส 2.0 x 10⁻⁴ 2.0 x 10⁻⁵ ก. สารละลายที่มีความเข้มข้นของ H₃O⁺ ไอออนน้อยกว่า 1.0 x 10⁻⁸ mol/dm³ จะมี
ค่า pH น้อยกว่า 8
ข. pH ของสารละลายมีค่าเป็ นบวกเสมอ
53. สารละลายชนิดหนึ่งมีความเข้มข้นของไฮดรอกไซด์ไอออน 1.0 x 10⁻⁶ mol/dm³
ค. pH ของสารละลายกรด HCl เข้มข้น 2 mol/dm³ มีค่าเท่ากับ 0.301
สารละลายนี้มี pH เท่ากับเท่าไร (ENT’39)
ง. pH ของสารละลาย NaOH เข้มข้น 2 mol/dm³ มีค่าเท่ากับ 14.301
ก. 6
58. จงคานวณความเข้มข้นของ OH⁻ ไอออนเป็ น mol/dm³ ในสารละลายกรดไฮโดรคลอริ ก
ข. 8
เข้มข้น 0.1 mol/dm³ (ENT’21)
ค. 10
ก. 1.0 x 10⁻¹ mol/dm³
ง. 12
ข. 1.0 x 10⁻⁸ mol/dm³
54. สารละลาย A และ B มีค่า pH เท่ากับ 3 และ 6 ตามลาดับ อัตราส่วนความเข้มข้นของ
ค. 1.0 x 10⁻¹³ mol/dm³
OH⁻ ไอออนในสารละลาย A ต่อความเข้มข้นของ OH⁻ไอออน ในสารละลาย B เป็ น
ง. 1.0 x 10⁻¹⁴ mol/dm³
เท่าใด (ENT’28)
59. จงคานวณหาปริ มาณ OH⁻ ในสารละลายกรดแก่มอนอโปรติกเข้มข้น 0.10 mol/dm³
ก. 1 : 2
ปริ มาตร 25 cm³
ข. log 3 : log 6
ก. 1.0 x 10⁻¹³ mol
ค. 1,000 : 1
ข. 1.0 x 10⁻⁸ mol
ง. 1 : 1,000
ค. 2.5 x 10⁻¹⁵ mol

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 9/66 หน้า 9
ง. 1.0 x 10⁻¹⁴ mol ข. 2.48
60. จงคานวณหาปริ มาณ OH⁻ ในสารละลายกรดแก่มอนอโปรติก เข้มข้น 0.02 mol/dm³ ค. 2.52
ปริ มาตร 20 cm³ (ENT’30) ง. 3.48
ก. 0.5 x 10⁻¹² mol 65. ข้อใดเป็ นการเตรี ยมสารละลาย HCl pH เท่ากับ 3 จานวน 1 dm³ (ENT’28)
ข. 2.5 x 10⁻¹³ mol ก. นาสารละลาย HCl ที่มีค่า pH เท่ากับ 1 มา 10 cm³ เติมน้ าจนได้สารละลาย 1 ลิตร
ค. 1.0 x 10⁻¹⁴ mol ข. นาสารละลาย HCl ที่มีค่า pH เท่ากับ 1 มา 100 cm³ เติมน้ าจนได้สารละลาย 1 ลิตร
ง. 2.0 x 10⁻¹⁵ mol ค. นาสารละลาย HCl ที่มีค่า pH เท่ากับ 2 มา 10 cm³ เติมน้ าจนได้สารละลาย 1 ลิตร
61. ในน้ าปูนใสมี Ca(OH)₂ ละลายอยู่ 5.10 x 10⁻² g/100 cm³ ถ้า Ca(OH)₂ เป็ นเบสแก่ ง. นาสารละลาย HCl ที่มีค่า pH เท่ากับ 2 มา 50 cm³ เติมน้ าจนได้สารละลาย 1 ลิตร
ความเข้มข้นของ OH⁻ ในสารละลายเป็ นเท่าใด (ENT’31)
ก. 0.138
ข. 8.95 x 10⁻²
ค. 1.38 x 10⁻²
ง. 6.89 x 10⁻³
62. ถ้าเติมสารละลายกรดไฮโดรคลอริ ก 1.0 mol/dm³ จานวน 2 cm³ลงในน้ า 200 cm³ 66. ในการเตรี ยมสารละลาย pH = 13 ข้อใด ถูกต้ อง (ENT’39)
สารละลายใหม่ที่ได้จะมี pH เท่าใด (ENT’21) ก. นาสารละลาย KOH เข้มข้น 0.01 mol/dm³ จานวน 10 cm³ แล้วเจือจางด้วยน้ ากลัน่
ก. 1 จนมีปริ มาตร 100 cm³
ข. 2 ข. นาสารละลาย KOH เข้มข้น 0.1 mol/dm³ จานวน 10 cm³ แล้วเจือจางด้วยน้ ากลัน่
ค. 3 จนมีปริ มาตร 100 cm³
ง. 4 ค. ชัง่ NaOH หนัก 4 กรัม ละลายน้ ากลัน่ จนมีปริ มาตร 100 cm³
63. เมื่อนาสารละลายที่มี pH เท่ากับ 5 จานวน 10 cm³ มาผสมกับน้ าให้ได้ 100 cm³ จะได้ ง. ชัง่ NaOH หนัก 0.4 กรัม ละลายน้ ากลัน่ จนมีปริ มาตร 100 cm³
สารละลายที่มีค่า pH เท่าใด 67. ค่า pH จะเป็ นเท่าใด ในสารละลายที่มี HClO₄ 1.0 x 10⁻⁷ mol ในน้ าบริ สุทธิ์ 1 dm³
ก. 10 ก. น้อยกว่า 6.0
ข. 6 ข. ประมาณ 6.7
ค. 4 ค. เท่ากับ 7.0
ง. 1 ง. มากกว่า 7.0
64. สารละลายกรด HCl เข้มข้นร้อยละ 0.10 โดยมวล มีความหนาแน่น 1.10 cm³ มา 68. สารละลายใดมีความเป็ นกรดมากที่สุด (ENT’18)
ผสมกับน้ าให้ได้สารละลาย 100 cm³ จะได้สารละลายที่มี pH เท่าใด(PAT-2 ต.ค. 52) ก. สารละลายกรดไฮโดรคลอริ กเข้มข้น 10⁻⁵ mol/dm³
ก. 1.52 ข. สารละลายที่มีไฮโดรเนียมไอออน 10⁻² mol/dm³

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 10/66 หน้า 10
ค. สารละลาย pH เท่ากับ 3 ก. 2.38 x 10⁻¹¹
ง. สารละลาย pH เท่ากับ 4 ข. 2.38 x 10⁻¹⁰
69. pH ของสารละลาย HNO₃ เข้มข้น 1 x 10⁻⁴ mol/dm³ เท่ากับ pH ของสารละลายในข้อ ค. 2.38 x 10⁻⁹
ใด (ENT’26) ง. 4.20 x 10⁻⁴
ก. สารละลาย CH₃COOH เข้มข้น 1 x 10⁻⁴ mol/dm³ Ka เท่ากับ 1.6 x 10⁻⁸ 73. จงหา pH ของสารละลายซึ่งประกอบด้วย Urea [ (NH)₂CO] 36 เปอร์เซ็นต์ โดย
ข. สารละลาย H₂SO₄ เข้มข้น 1.0 x 10⁻⁴ mol/dm³ H₂SO₄ แตกตัว 100 % น้ าหนัก/ปริ มาตร กาหนดให้ Kb เท่ากับ 1.5 x 10⁻¹⁴ (ENT’37)
ค. สารละลาย HNO₃ เข้มข้น 0.5 x 10⁻⁴ mol/250 cm³ HNO₃ แตกตัว 100 %
ง. สารละลาย HCl เข้มข้น 0.5 x 10⁻⁴ mol/500 cm³ HCl แตกตัว 100 %
70. ถ้า X เป็ นอะตอมของ S Se และ Te ซึ่งเป็ นธาตุในหมูเ่ ดียวกัน เมื่อสารประกอบ H₂X
ละลายน้ าจะแตกตัว ดังนี้
H₂S + H₂O ⇄ H₃O⁺ + HS⁻ ; pKa = 7.04
H₂Se + H₂O ⇄ H₃O⁺ + HSe⁻ ; pKa = 4.0
H₂Te + H₂O ⇄ H₃O⁺ + HTe⁻ ; pKa = 3.0
พิจารณา X = S Se และ Te ตามลาดับ ข้อสรุ ปใด ถูกต้ อง (ENT’ ต.ค. 46) 74. สารละลายกรดอ่อน HA เข้มข้น 0.1 โมลาร์ มี pH = 3 ถ้านาสารละลายกรดอ่อน
ก. ความเป็ นกรดของ H₂X ลดลงในขณะที่พลังงานไอออไนเซชันลาดับที่ 1 ของ X ดังกล่าว 100 มิลิเมตร เติมน้ า 900 มิลิเมตร จะได้สารละลาย pH เท่าใด (PAT-2
ลดลง ต.ค. 52)
ข. ความเป็ นกรดของ H₂X เพิ่มขึ้นในขณะที่พลังงานไอออไนเซชันลาดับที่ 1 ของ X ก. 2.5
ลดลง ข. 3.5
ค. ความเป็ นกรดของ H₂X เพิม่ ขึ้นในขณะที่ความเป็ นโลหะของ X ลดลง ค. 4.0
ง. ความเป็ นกรดของ H₂X ลดลงในขณะที่ความเป็ นโลหะของ X ลดลง ง. 4.5
71. สารละลาย HCN เข้มข้น 2.5 x 10⁻¹ mol/dm³ มี pH เท่าใด (K = 4 x 10⁻⁴ ) (ENT’18) 75. กรด HA มีค่า Ka เท่ากับ 10⁻⁸ ความเข้มข้นร้อยละ 30 โดยมวลต่อปริ มาตร เมื่อนามา
ก. 2 x 10⁻⁵ 20 cm³ ละลายน้ าได้สารละลาย 100 cm³ สารละลายนี้มี pH เท่ากับ 4 จงหามวล
ข. 2.0 โมเลกุลของกรดนี้ (ENT’40)
ค. 4.7
ง. 5.0
72. นักเรี ยนคนหนึ่ง เตรี ยมสารละลายแอมโมเนียข้น 0.01 mol/dm³ จากการทดลองวัดจุด
เยือกแข็งของแอมโมเนียพบว่า แอมโมเนียเปอร์เซ็นต์การแตกตัวเป็ นไอออน 4.2 % จง
คานวณ [H₃O⁺] ของสารละลายเป็ น mol/dm³ (ENT’22)
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 11/66 หน้า 11
76. เมื่อนาสารละลายอิ่มตัวโซเดียมคลอไรด์ จานวน 4 dm³ มาแยกด้วยไฟฟ้ าเกิดแก๊สขึ้นที่ CH₃COOH 1.8 x 10⁻⁵ CH₃COONa
แอโนด 0.448 dm³ ที่ STP จงหาค่า pH ของสารละลายนั้น (ENT’37) HCN 4.8 x 10⁻¹⁰ NaCN
กาหนดให้ 2H₂O + 2e⁻ → 2OH⁻(aq) + H₂(g) 78. สารละลายกรดใดมีความเป็ นกรดน้อยที่สุด
2Cl⁻(aq) → Cl₂(g) + 2e⁻ ก. HClO₂
ข. HF
ค. CH₃COOH
ง. HCN
79. สารละลายกรด HF มีค่า pH ใกล้เคียงค่าใดมากที่สุด
ก. 5.7
77. จากข้อมูลที่กาหนดให้ ข. 4.7
กรด Ka ค. 3.7
HCN 5 x 10⁻¹⁰ ง. 2.7
CH₃COOH 2 x 10⁻⁵ คาชี้แจง ตารางค่าคงที่ของสมดุลของกรดต่อไปนี้ ใช้ประกอบการตอบคาถามข้อ 80 – 81
HNO₂ 5 x 10⁻⁴ ( ENT’25)
ข้อใด ถูก (ENT’ มี.ค. 48)
ก. ที่ความเข้มข้นเท่ากัน สารละลาย HNO₂ จะมี pH มากที่สุด กรด ค่า Ka ที่ 25 C
ข. ที่ความเข้มข้นเท่ากัน สารละลาย NaCN จะมี pH มากกว่าสารละลาย CH₃COONa CH₃COOH 1.8 x 10⁻⁵
ค. สารละลาย HNO₃ 0.05 mol/dm³ ปริ มาตร 10 cm³ มี pH = 6.5 HNO₂ 5.0 x 10⁻⁴
ง. ร้อยละการแตกตัวของ HNO₂ ความเข้มข้น 0.01 mol/dm³ น้อยกว่า CH₃COOH HF 6.8 x 10⁻⁴
ความเข้มข้น 0.1 mol/dm³ H₂CO₃ 4.4 x 10⁻⁷
คาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ ใช้ประกอบการตอบคาถามข้อ 78 -79 (ENT’20) 80. การเรี ยงลาดับกรดที่มีค่า pH จากต่าไปสูงเป็ นดังข้อใด
กาหนดสารละลายของกรดให้ 4 ชนิด แต่ละชนิดมีความเข้มข้นเท่ากัน คือ ก. CH₃COOH HNO₂ HF H₂CO₃
1.0 x 10⁻² mol/dm³และให้ สารละลายของเกลือ 4 ชนิด แต่ละชนิดมีความเข้มข้น ข. H₂CO₃ HF HNO₂ CH₃COOH
เท่ากัน คือ 1.0 x 10⁻² mol/dm³ ค. HF HNO₂ CH₃COOH H₂CO₃
ง. HF CH₃COOH H₂CO₃ HNO₂
กรด ค่า Ka ที่ 25 C เกลือ 81. สารละลาย HNO₂ 0.2 mol/dm³ 20 cm³ จะมีค่า pH แตกต่างจากสารละลาย
HClO₂ 1.1 x 10⁻² NaClO₂ CH₃COOH 0.056 mol/dm³ 10 cm³ อยูเ่ ท่าใด
HF 6.8 x 10⁻⁴ NaF ก. 0.25
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 12/66 หน้า 12
ข. 0.56 1. สารละลาย c มี pH เท่ากับ 0
ค. 1.00 2. สารละลาย a แตกตัวได้ร้อยละ 1
ง. 2.00 3. Ka ของ HA เท่ากับ Kb ของ XOH
82. กรดแตกตัวครั้งเดียว 4 ชนิด ได้แก่ A B C และ D มีความเข้มข้นเท่ากัน 4. Ka ของ HA มีค่าประมาณ 10⁻⁶
แตกตัวให้ H₃O⁺ เข้มข้น 1.5 x 10⁻³ , 6.5 x 10⁻⁴ , 4.0 x 10⁻⁵ และ 5. สารละลาย b แตกตัวได้ประมาณ 3.2 เปอร์เซ็นต์
5.5 x 10⁻⁶ โมลาร์ ตามลาดับ ข้อใดเรี ยงลาดับค่า pKa ถูกต้อง และคู่เบสของ 6. สารละลาย b มี pH เท่ากับ 5
สารใดแรงที่สุด ( PAT- 2 ก.ค. 53 ) ข้อใดถูกต้อง (ENT’ 35)
ก. A > B > C > D และคู่เบสของ A เป็ นเบสที่แรงที่สุด ก. 1 2 และ 3
ข. A > B > C > D และคู่เบสของ D เป็ นเบสที่แรงที่สุด ข. 2 4 และ 5
ค. D > C > B > A และคู่เบสของ A เป็ นเบสที่แรงที่สุด ค. 3 5 และ 6
ง. D > C > B > A และคู่เบสของ D เป็ นเบสที่แรงที่สุด ง. 4 5 และ 6
83. สารละลายกรดอ่อน 2 ชนิด HA และ HB มีค่า Ka = 1 x 10⁻⁵ และ 1 x 10⁻⁸ 85. สารละลายกรดชนิดหนึ่งมีความเข้มข้น 0.01 mol/dm³ pH ของสารละลายเท่ากับ 3
ตามลาดับ ถ้านาสารละลาย HA และ HB ที่มีความเข้มข้นเท่ากันและปริ มาตรเท่ากัน กรดนี้แตกตัวร้อยละเท่าใด (กรดนี้กรดมอนอโปรติก) (ENT’ 40)
มาวัด pH สารละลายทั้งสองมี pH ต่างกันเท่าใด (ENT’ ต.ค. 45) ก. 0.001
ข. 0.1
ค. 1
ง. 10

86. สารละลายเบสชนิดหนึ่ง มีความเข้มข้น 0.05 mol/dm3 และมี pH เท่ากับ 12 เบสนี้แตก


84. กาหนดให้ ตัวได้กี่เปอร์เซ็นต์ (ENT’ 29)
สารละลาย องค์ประกอบ ความเข้มข้น (mol/dm³) ก. 10
a HA 0.01 ข. 15
b HA 0.001 ค. 20
c XOH 0.001 ง. 25
87. สารละลาย AOH เข้มข้น 0.01 mol/dm³ มี pH เท่ากับ 11 สารละลายนี้มีการแตกตัว
สารละลาย a มี pH = 4 สารละลาย a และ c มีร้อยละการแตกตัวเท่ากัน ร้อยละเท่าใด (ENT’ 32)
พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ก. 1

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 13/66 หน้า 13
ข. 2 ก. 3
ค. 5 ข. 4
ง. 10 ค. 5
88. จากการวัดค่าการนาไฟฟ้ าของสารละลายกรด HA เข้มข้น 1.0 mol/dm³ ปริ มาณ ง. 6
5.0 cm³ พบว่า กรดนี้แตกตัวได้ 0.1 % ค่า pH และค่าคงที่สมดุลของกรดนี้เป็ นเท่าใด 92. สารละลายกรด HA ความเข้มข้น 1.0 x 10⁻³mol/dm³ ปริ มาตร 10 cm³ ร้อยละ
ตามลาดับ (ENT’ 30) การแตกตัวของกรดเท่ากับ 10 สารละลายนี้มี pH เท่าใด และมีค่า Ka โดยประมาณ
ก. 1 1.0 x 10 ⁻⁶ เท่าใด (ENT’ ต.ค.43)
ข. 3 1.0 x 10 ⁻⁶ pH Ka (ประมาณ)
ค. 1 2.5 x 10 ⁻⁶ ก. 3 1.0 x 10 ⁻³
ง. 3 2.5 x 10 ⁻⁶ ข. 4 1.0 x 10 ⁻⁵
89. สารละลายเบสอ่อนเข้มข้น 0.05 mol/dm³ ปริ มาตร 250 cm³ แตกตัวร้อยละ 0.01 จะมี ค. 5 1.0 x 10 ⁻⁴
pH และค่าคงที่สมดุลของเบสอ่อนเท่าใด ตามลาดับ (ENT’ 36) ง. 5 1.0 x 10 ⁻⁵
ก. 5 5.0 x 10 ⁻⁹ 93. H₂A เป็ นกรดอ่อนเข้มข้น 0.10 โมลาร์ pH = 4.5 และความเข้มข้นของ A เท่ากับ
ข. 10 2.0 x 10 ⁻⁸ 1.0 x 10 ⁻¹² โมลาร์ ดังนั้น ค่า Ka₁ แตกต่างจากค่า Ka₂ กี่เท่า( PAT- 2 ต.ค. 53 )
ค. 12 5.0 x 10 ⁻⁵ ก. 100,000
ง. 12 2.0 x 10 ⁻⁵ ข. 10,000
จ. ค. 1,000
ง. 100
94. กรดอ่อน HA ปริ มาตร 100 cm³ วัดค่า pH ได้เท่ากับ 4 ค่าคงที่สมดุลของกรดนี้
90. สารละลายเบสอ่อนชนิดหนึ่งเข้มข้น 0.10 mol/dm³ มี pH เท่ากับ 9.0 ค่าคงที่ของ เท่ากับ1.0 x 10 -7 ความเข้มข้นของกรดและร้อยละของการแตกตัวเป็ นไปตามข้อใด
สมดุลของเบสอ่อนนี้มีค่าเท่าใด (ENT’38)กรดอ่อน HA ปริ มาตร 100 cm3 วัดค่า pH ได้เท่ากับ 4 ค่าคงที่สมดุลของกรดนี้เท่ากับ
ก. 10 ⁻⁹ 1.0 x 10⁻⁷ความเข้มข้น ของกรดและร้อยละของการแตกตัวเป็ นไปตามข้อใด (ENT’38)
ข. 10 ⁻¹⁰
ค. 10 ⁻¹⁷ ความเข้มข้น ( mol/dm³ ) ร้อยละการแตกตัว
ง. 10 ⁻¹⁸ ก. 0.1 0.1
91. HA เป็ นกรดอ่อนเข้มข้น 0.1 โมลาร์ pH = 5.0 สาร X เป็ นกรดอ่อนแตกตัวครั้ง ข. 1.0 1.0
เดียวมีค่า Ka เป็ น 10 เท่าของกรด HA สารละลายกรด X เข้มข้น 0.01 โมลาร์ ค. 1.0 0.1
มีค่า pH เท่าใด ( PAT- 2 ก.ค. 53 ) ง. 0.1 1.0
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 14/66 หน้า 14
ค. HCl 0.1 mol/dm³ 50 cm³ + NaCI 0.4 g/100 cm³ 50 cm³
95. สารละลายอิ่มตัวของฟี นอล (C₆H₆O) มีคา่ pH เท่ากับ 5 ความสามารถของการละลาย ง. NH₃ 1 mol/dm³ , Kb = 1.8 x 10⁻⁵
ของฟี นอลเท่ากับเท่าใด (ตอบเป็ น g/100 cm³) ;กาหนดค่า Ka ของฟี นอล= 2.0 x 10⁻¹⁰ ) 99. จากข้อมูลที่กาหนดให้ต่อไปน้
(ENT’ต.ค.41) 1. สารละลายเบสอ่อน XOH เข้มข้น 0.10 mol/dm³ แตกตัวได้ 0.020 %
2. เบสแก่ YOH 0.0029 กรัม ในสารละลาย 5.0 dm³ (มวลโมเลกุลของ YOH = 58)
3. สารละลายเบสอ่อน ZOH เข้มข้น 0.25 mol/dm³ มีค่า Kb = 1.6 x 10⁻⁷
การเปรี ยบเทียบค่า pH ข้อใด ถูกต้อง (ENT’ต.ค.47)
ก. 3 > 1 > 2
ข. 1 > 3 > 2
ค. 2 > 1 > 3
ง. 2 > 3 > 1
96. HA และ HB เป็ นกรดแก่มีมวลโมเลกุล 150 และ 80 ตามลาดับ ถ้าละลาย HA 12 กรัม 100. pH ของสารละลายในข้อใดมีค่าต่าที่สุด (ENT’39)
ในน้ า 100 ลูกบาศก์ เซนติเมตร สารละลายที่ได้จะมี pH เป็ นอย่างไรเมื่อเปรี ยบเทียบกับ ก. HCl เข้มข้น 1 x 10⁻³ mol/dm³
การละลาย HB 4 กรัม ในน้ า 25 ลูกบาศก์ เซนติเมตร(ENT’35) ข. CH₃COOH เข้มข้น 0.18 mol/dm³ , Ka ของ CH₃COOH เท่ากับ 1.8 x 10⁻⁵
ก. สารละลาย HA มี pH สูงกว่า ค. HCOOH เข้มข้น 5 mol/dm³ , Ka ของ HCOOH เท่ากับ 1.8 x 10⁻⁴
ข. สาละลาย HA มี pH ต่ากว่า ง. C₆H₅COOH เข้มข้น 0.65 mol/dm³, Ka ของ C₆H₅COOH เท่ากับ 6.5 x 10⁻⁵
ค. สารละลายทั้งสองมี pH เท่ากัน
ง. ยังสรุ ปไม่ได้ เพราะข้อมูลไม่เพียงพอ
97. AOH และ BOH เป็ นเบสแก่ มีมวลโมเลกุล 90 และ 180 ตามลาดับ ถ้านา AOH 101. ข้อความที่เกี่ยวข้อกับ pH ต่อไปนี้ ข้อใดผิด ( ENT- A 51)
7.2 กรัม มาละลายน้ า 100 cm³ และนา BOH 3.6 กรัมมาละลายน้ า 50 cm³ จง ก. สารละลายที่มี OH⁻ 0.002 โมล ในน้ า 200 cm³ มีpH = 12
เปรี ยบเทียบ pH ของสารละลายทั้งสอง (ENT’มี.ค. 42) ข. สารละลายกรดอ่อน (HA) ที่มีค่า Ka = 1.0 x 10 ⁻⁷ และเข้มข้น
ก. สารละลาย AOH มี pH สูงกว่า BOH 0.001 mole/dm³ จานวน 1000 cm³ มี pH = 6.5
ข. สารละลาย BOH มี pH สูงกว่า AOH ค. สารละลายกรด HCl ที่มี pH = 2.0 จานวน 100 cm³ เมื่อเติมน้ าลงไป
ค. สารละลายทั้งสองมี pH เท่ากัน 900 cm³ จะได้สารละลายที่มี pH = 3
ง. ยังสรุ ปไม่ได้ เพราะข้อมูลไม่เพียงพอ ง. สารละลายกรด HNO₃ 0.63 กรัม ในน้ า 100 cm³ มี pH เท่ากับสารละลาย
98. สารละลายในข้อใดมี pH สูงสุด กรด HCl 2.0 ที่มี ความเข้มข้น 0. 1 mole/dm100 cm³ จานวน 500 cm³
ก. HCl 0.1 mol/dm³ 102. กรดอ่อนชนิดหนึ่งเข้มข้น 1.0 mol/dm³ แตกตัวได้ 10 เปอร์เซ็นต์ กรดเดียวกันนี้ เมื่อ
ข. NaOH 0.4 g/100 cm³ เข้มข้น 0.10 mol/dm³ จะแตกตัวได้กี่เปอร์เซ็นต์(ENT’20)

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 15/66 หน้า 15
ก. มากกว่า 10 % ก. pH ของสารละลายในบีกเกอร์ A มากกว่าบีกเกอร์ B
ข. น้อยกว่า 10 % ข. pH ของสารละลายในบีกเกอร์ A น้อยกว่าบีกเกอร์ B
ค. เท่ากับ 10 % ค. ความเข้มข้นของเบสในบีกเกอร์ A มากกว่าบีกเกอร์ B
ง. เท่ากับ 100 % ง. ความเข้มข้นของเบสในบีกเกอร์ A และ B เท่ากัน
103. สารละลายกรด HA เข้มข้น 0.1 mol.dm⁻³ แตกตัว 17 เปอร์เซ็นต์ ถ้า HA แตกตัว 12 107. ถ้าริ นสารละลาย HA เข้มข้น1.0 mol/dm³ ลงในบีกเกอร์ 2 ใบ M และN ใบละ 40 cm³
เปอร์เซ็นต์ จงหาความเข้มข้นของ HA ในหน่วยโมลต่อลูกบาศก์เดติเมตร(ENT’ต.ค.45) และเติม สารละลายเบสแก่ BOH เข้มข้น 1.0 mol/dm³ จานวน 10 cm³ ลงในบีกเกอร์
ก. 0.07 mol.dm⁻³ M ส่วนในบีกเกอร์ N นาไปเคี่ยวให้มีปริ มาตรลดลงเหลือ 20 cm³ ข้อความใดถูกต้อง
ข. 0.14 mol.dm⁻³ (ENT,30)
ค. 0.21 mol.dm⁻³ ก. ความเข้มข้นของกรดในบีกเกอร์ M และ N เท่ากัน
ง. 0.50 mol.dm⁻³ ข. ความเข้มข้นของกรดในบีกเกอร์ M มากกว่าบีกเกอร์ N
104. ที่อุณหภูมิ 25C กรด H₂B มีค่าคงที่ของกรดสองค่า คือ Ka₁ = 6.7 x 10⁻⁵ และ ค. pHของสารละลายในบีกเกอร์ M มากกว่าบีกเกอร์ N
Ka₂ = 4.8 x 10⁻²⁶ และสารละลายกรด HA 0.1 mol.dm⁻³ มีค่า pH = 3 จากข้อมูลที่ ง. pHของสารละลายในบีกเกอร์ M น้อยกว่าบีกเกอร์ N
กาหนดให้ ข้อใดเป็ นคาตอบที่ ถูกต้องที่สุด (ENT’28) 108. การเติมสารละลาย HCl เข้มข้น 0.50 mol/dm³ ปริ มาตร 100 cm³ ลงในสารละลาย
ก. H₂B มีค่าแรงของกรดมากกว่า HA ต่อไปนี้
ข. H₂B มีความแรงของกรดเท่ากับ HA 1. NH4 Cl 1 mol/dm³ 10 cm³
ค. H₂B มีความแรงของกรดน้อยกว่า HA 2. NaOH 0.1 mol/dm³ 100 cm³
ง. ข้อมูลที่กาหนดให้ไม่เพียงพอที่เปรี ยบเทียบความแรงของกรดทั้งสอง 3. CH₃COOH 1 mol/dm³ 50 cm³
4. น้ า 1,000 cm³
105. ตัวแปรคู่ใดของสารละลายกรด ที่มีความสัมพันธ์เป็ นกราฟเส้นตรง เมื่อ C คือความ แล้วสารละลายในข้อใดที่จะทาให้สารละลายมี pH เพิ่มขึ้น ( ENT, มี.ค. 46)
เข้มข้นของสารละลายกรด ( PAT- 2 ต.ค. 53 ) ก. สารละลาย 1 และ 2
ก. 1
และร้อยละของการแตกตัว ข. สารละลาย 2 และ 3
√𝐶

ข. Ka และร้อยละของการแตกตัว ค. สารละลาย 3 และ 4


ค. 1
และความเข้มข้นของ ง. สารละลาย 2 และ 4
√𝐶
109. ใส่ NaOH 320 มิลลิกรัม ลงในสารละลาย 0.2 mol/dm³ H₂SO₄ 50 cm³
ง. pH และ pKa
สารละลายที่ได้มีสมบัติอย่างไร
106. ถ้านาสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) เข้มข้น 1.0 mol/dm³ ลงในบีกเกอร์ 2 ใบ
ก. เป็ นสารละลายสะเทิน
A และ B ใบละ 40 cm³ แล้วเติมสารละลายกรด ไฮโดรคลอริ กเข้มข้น 1.0 mol/dm3
ข. เป็ นสารละลายกรด
จานวน 10 cm³ ลงในบีกเกอร์ A ส่วนบีกเกอร์ B นาไปเคี่ยวให้สารละลายมีปริ มาตร
ค. เป็ นสารละลายเบส
ลดลงเหลือ 30 cm³ ข้อความใดถูกต้อง ( ENT , 26 )
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 16/66 หน้า 16
ง. นาไปเคี่ยวจนแห้งเหลือผงเกลือโซเดียมซัลเฟต
110. เมื่อนาสารละลาย H₂SO₄ 0.5 mol/dm³ 30 cm³ และสารละลาย NaOH 1.0 mol/dm³
20 cm³ เข้าด้วยกัน หลังจากคนให้เข้ากันอย่างทัง่ ถึงแล้ว จะมีสารใดเหลือคิดเป็ น 114. ผสม NaOH 0.1 mol/dm³ 200 cm³ กับ HCl 0.2 mol/dm³ 300 cm³ pH ของ
ความเข้มข้นกี่ mol/dm³ ( ENT, 26) สารละลายนี้เป็ นเท่าใด( ENT, 33)
ก. H₂SO₄ เหลือ เข้มข้น 0.01 mol/dm³
ข. NaOH เหลือ เข้มข้น 0.01 mol/dm³
ค. H2SO4 เหลือ เข้มข้น 0.05 mol/dm³
ง. NaOH เหลือ เข้มข้น 0.05 mol/dm³
111. เมื่อผสมสารละลาย HCl 0.2 mol/dm³ จานวน 30 cm³ กับสารละลาย NaOH
0.05 mol/dm³ จานวน 20 cm³เข้าด้วยกัน สารละลายที่ได้มี pH เท่าใด (ENT, 24) 115. เมื่อผสมสารละลาย NaOH เข้มข้น 1.0 mol/dm³ จานวน 30.00 cm³ กับสารละลาย
ก. 5 H₂SO₄ เข้มข้น 2.0 mol/dm³ จานวน 10.00 cm³ จะได้สารละลายที่มี H₃O⁺ เข้มข้น
ข. 3 กี่โมลต่อลิตร ( ENT,34)
ค. 2
ง. 1

112. เมื่อนาสารละลาย KOH 0.01 mol/dm³ จานวน 50 cm³ มาผสมกับสารละลาย HCl 116. จงหา pH ของสารละลายที่เกิดจากการผสมสารละลาย 2.00 mol/dm³ NaOH จานวน
0.02 mol/dm³ จานวน 100 cm³ จะได้สารละลายที่มีค่า pH เท่าใด ( ENT, 28) 25.00 cm³ ด้วยสารละลาย 0.30 mol/dm³ HCl จานวน 175.00 cm³
ก. 1 กาหนด log( 1.25) = 0.10 ( ENT,39)
ข. 5
ค. 2
ง. 3
113. ถ้าผสมสารละลาย NH₃ เข้มข้น 0.10 mol/dm³ ปริ มาตร 25 cm³ กับสารละลาย HCl
เข้มข้น 0.15 mol/dm³ ปริ มาตร 100 cm³ ค่า pH ของสารละลายเป็ นเท่าใด

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 17/66 หน้า 17
117. สารละลาย HCl เข้มข้น 0.25 mol.dm⁻³ปริ มาตร 20 cm³ ทาปฏิกิริยากับสารละลาย 121. จะเติมสารละลาย NaOH เข้มข้น 7.7 mol/dm³ ลงไปเท่าใดในสารละลาย HNO₃เข้มข้น
NaOH เข้มข้น 0.200 mol.dm⁻³ ปริ มาตร 30 cm³ เมื่อเกิดปฏิกิริยาอย่างสมบูรณ์ 7.7mol/dm³ จานวน .2 cm³ เพื่อให้สารละลายมี pH = 3 พอดี (ENT’29)
แล้วสารละลายที่ได้จะมี pH อยูใ่ นช่วงใด ( ENT, ต.ค. 46) ก. .0.77 cm³
ก. 3 - 4 ข. .0..2 cm³
ข. 7 ค. .0.27 cm³
ค. 9-10 ง. .0.12 cm³
ง. 11-12 122. เมื่อนาสารละลาย HCl เข้มข้น 7.7mol/dm³ปริ มาตร 02cm³ มาผสมกับสารละลาย
118. นาสารละลายกรดแก่ pH เท่ากับ 3 ปริ มาตร 10 cm³ มาผสมน้ าจนกระทัง่ มีปริ มาตร NaOH เข้มข้น 7mol/dm³ ปริ มาตร x cm³ จะได้สารละลายที่มี pH = 12 จงคานวณค่า
เป็ น 890 cm³ แล้วเติมเบสแก่ที่มี pH เท่ากับ 10 จานวน 10 cm³ ลงไปจะได้ x (ENT’มี.ค. 44)
สารละลายที่มีค่า pH เท่าใด ( ENT,27)
ก. 4 ข. 5 ค. 6 ง. 7
119. สมมติวา่ หลอดหยดอันหนึ่งมีจานวนหยด 20 หยดต่อ 1 cm³ ถ้าหยดสารละลาย HCl
เข้มข้น 0.4 mol/dm³ สองหยดลงในน้ า 200 cm³ ในภาชนะ A แล้วหยด
สารละลาย NaOH เข้มข้น 0.2 mol/dm³ สองหยดลงในภาชนะ A คนให้เข้ากัน 123. เมื่อนาสารละลาย HCl ที่มี pH = 4 ปริ มาตร 400 cm³ ผสมกับสารละลาย HNO₃ ที่
ความเข้มข้น H⁺ ไอออนในภาชนะ A มีค่าเท่าใด ( ENT,21) มี pH = 2 ปริ มาตร 100 cm³ สารละลายผสมที่ได้มีค่า pH เท่าใด
ก. 2 x 10⁻⁵ mol/dm³ (กาหนดให้ log 2 = 0.3010 , log 3 = 0.4771 ) ( ENT-A 50 )
ข. 1 x 10⁻⁴ mol/dm³ ก. 2.3
ค. 2 x 10⁻⁴ mol/dm³ ข. 2.7
ง. 1 x 10⁻³ mol/dm³ ค. 3.0
120. นา Ca(OH)₂ หนัก 1.48 กรัม ผสมกับสารละลาย HCl 0.02 mol/dm³ ปริ มาตร 1 dm³ ง. 3.3
เกิดปฏิกิริยาดังสมการ Ca(OH)₂ + HCl → CaCl₂ + H₂O (สมการที่ยงั ไม่ 124. เมื่อเติมสารละลายจานวนหนึ่งโดยการผสม 500.0 cm³ ของ 2.0 mol/dm³ NaOH กับ
สมดุล)เมื่อปฏิกิริยาสิ้นสุดลง สารละลายมี pH เท่าใด (ENT’40) 500.0 cm³ ของ 2.0 mol/dm³ HCl หลังจากนั้นเติม NaOH 1.0 มิลลิโมล ลงไป
(กาหนดให้ log 2 = 0.3010) สารละลายจะมี pH เปลี่ยนแปลงอย่างไร (ENT’30)
ก. 7.1 ก. pH ของสารละลายจะเพิ่มขึ้นประมาณ 7 หน่วย
ข. 1.7 ข. pH ของสารละลายจะลดลงประมาณ 7 หน่วย
ค. 7..1 ค. pH ของสารละลายจะลดลงประมาณ 0 หน่วย
ง. 71.1 ง. pH ของสารละลายจะเพิ่มขึ้นประมาณ 0 หน่วย
125. พิจารณาสารละลายต่อไปนี้

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 18/66 หน้า 18
A. CH₃COOH 0.001 mol/dm³ Ka ของ CH₃COOH = 2 x 10⁻⁵ ข. 1 และ 4
B. HNO₃ 0.001 mol/dm³ 55.00 cm³ ผสมกับ KOH 0.001 mol/dm³ 45.0 cm³ ค. 2 และ 3
C. H₂SO₄ 0.001 mol/dm³ 10.00 cm³ ง. 3 และ 4
การเรี ยงลาดับ pH ในข้อใด ถูกต้อง (ENT’37) 128. สารละลายปริ มาตร 500 cm³ ประกอบด้วย แมกนีเซียมโบรไมด์ 0.025 โมล และกรด
ก. A < B < C ไฮโดรโบรมิก 0.50 โมล จะมีความเข้มข้นของแมกนีเซียมไอออน และไฮโดรเนียม
ข. B < A < C ไอออน อย่างละกี่ mol/dm³ ตามลาดับ (ENT’33)
ค. C < A < B ก. 7.7.2 7.7.2 7.72
ง. A < C < B ข. 7.72 7.77 7.77
126. จากข้อมูล (ENT’38) ค. 7.7.2 7.72 7.72
1. NaOH 10.00 cm³ เข้มข้น 1 x 10³ mol/dm³ ผสมกับ HCl 10.00 cm³ ง. 7.72 7..7 7.77
เข้มข้น 1 x 10⁻² mol/dm³ 129. กรดอินทรี ยอ์ ย่างอ่อนชนิดหนึ่งมีสมบัติเป็ นสารอินดิเคเตอร์ในการไทเทรตกรด – เบส
2. HNO₃ 10.00 cm³ เข้มข้น 0.5 mol/dm³ ผสมกับน้ า 90 cm³ และมีสมดุลของกรดกับเบสของมันในสารละลาย ดังสมการ (ENT’23)
3. HCl 10.00 cm³ เข้มข้น 7x 10⁻² mol/dm³ HIn + H₂O ⇄ H₃O⁺ + In⁻
4. H₂SO₄ 10.00 cm³เข้มข้น 1 x 10⁻²mol/dm³ สี แดง สี เหลือง
สารละลายในข้อใดมี pH เท่ากับ . ถ้าขณะไทเทรต สารละลายที่มีอินดิเคเตอร์จะมีสีอะไร เมื่อสภาพของสารละลายเป็ นกรด
ก. 1 และ 2 อย่างแรง
ข. 2 และ 3 ก. แดงเข้ม
ค. 1 และ 3 ข. ส้ม
ง. 3 และ 4 ค. เหลือง
ง. เหลืองเข้ม
127. เมื่อผสมสารละลาย HCl 1.60 mol/dm³ 40.00 cm³ กับสารละลาย 130. จงพิจารณาสมดุลเคมีและข้อมูลที่กาหนดให้ (ENT’23)
NaOH 1.00 mol/dm³ 60.00 cm³ พิจารณาข้อความต่อไปนี้ .CrO₄²⁻ + 2H⁺ ⇄ Cr₂O₇²⁻ + H₂O
1. สารละลายผสมที่ได้มีสมบัติเป็ นกลาง สี เหลือง สี สม้
2. ความเข้มข้นของ Na⁺ ในสารผสมที่ได้เท่ากับ 7..7mol/dm³ ถ้าต้องการทาให้สารละลายซึ่งมีสีเหลืองปนส้มเป็ นสี เหลือง ควรจะต้องทาสารละลายให้
3. ความเข้มข้นของ H⁺ ในสารผสมที่ได้เท่ากับ 7.07mol/dm³ มี pH เท่าใด
4. ความเข้มข้นของ Cl⁻ ในสารผสมที่ได้เท่ากับ 7..0mol/dm³ ก. 77
ข้อสรุ ปใด ผิด (ENT’36) ข. 1
ก. 1 และ 2 ค. 0

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 19/66 หน้า 19
ง. 7 134. ในการไทเทรตระหว่างสารละลายไฮโดรฟลูออริ ก (Ka = 6.4 x 10⁻⁴) กับสารละลาย
131. ถ้าหยดฟี นอล์ฟทาลีนลงในสารละลาย A จะได้สีแดง แต้ถา้ หยดลงในสารละลาย B จะ โซเดียมไฮดรอกไซด์ เข้มข้น 1.0 mol/dm³ อินดิเคเตอร์ ที่เหมาะสมที่สุดสาหรับใช้เป็ น
ไม่มีสี แสดงว่าอย่างไร (ENT’24) ตัวบอกจุดยุติของการไทเทรต คือ (ENT’26)
ก. A เป็ นเบส B เป็ นกรด ก. เมทิลออเรนจ์
ข. pH ของสารละลาย A และสารละลาย B ไม่เท่ากัน ข. เมทิลเรด
ค. A และ B ทาปฏิกิริยาสะเทินได้ ค. โบรโมไทมอลบลู
ง. A เป็ นกรด B เป็ นเบส ง. ฟี นอล์ฟทาลีน
132. โบรโมไทมอลบลูเป็ นอินดิเคเตอร์ ซึ่งเปลี่ยนสี จากเหลืองเป็ นน้ าเงินในสารละลายที่มี คาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ ใช้ประกอบการตอบคาถามข้อ 135 – 136 (ENT’19)
ช่วง pH เปลี่ยนจาก 6.0 เป็ น 7.6 เมื่อเติมโบรโมไทมอลบลูลงไปในสารละลายชนิดหนึ่ง อินดิเคเตอร์ เปลี่ยนสี เมื่อสารละลายมี pH ระหว่าง
ซึ่งมี pH เท่ากับ 6.8 จะปรากฏเป็ นสี อะไร (ENT’20) เมทิลออเรนจ์ 3.1 – 4.4
ก. สี เหลือง โบรโมครี ซอลกรี น 3.8 – 5.4
ข. สี น้ าเงิน เมทิลเรด 3.8 – 6.3
ค. สี เขียว ฟี นอล์ฟทาลีน 8.3 – 10.0
ง. ไม่มีสี
133. อินดิเคเตอร์ตวั ไหนที่เหมาะสมที่สุดสาหรับการไทเทรตระหว่างกรดไนตรัส 135. ในการไทเทรตระหว่างสารละลายกรดแอซีติกและสาระลายโซเดียมไอดรอกไซด์ ควร
(Ka = 5.1 x 10⁻⁴) กับสารละลาย NaOH เข้มข้น 0.10 mol/dm³ (ENT,20) เลือกใช้อินดิเคเตอร์ใด
ก. เมทิลออเรนจ์ซ่ ึงเปลี่ยนสี ในสารละลายที่มี pH ระหว่าง 3.1 – 4.4 ก. เมทิลออนเรนจ์
ข. เมทิลเรดซึ่งเปลี่ยนสี ในสารละลายที่มี pH ระหว่าง 3.1 – 4.4 ข. โบรโมครี ซอลกรี น
ค. โบรโมไทมอลบลูซ่ ึงเปลี่ยนสี ในสารละลายที่มี pH ระหว่าง 6.0 – 7.6 ค. เมทิลเรด
ง. ไทมอลบลูซ่ ึงเปลี่ยนสี ในสารละลายที่มี pH ระหว่าง 8.0 – 9.6 ง. ฟี นอล์ฟทาลีน
คาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ ใช้ประกอบตอบคาถามข้อ 134 136. เมื่อเติมฟี นอล์ฟทาลีนลงในสารละลายชนิดหนึ่ง ซึ่งมี pH เท่ากับ 1.7 ปรากฏว่าเป็ นสี
อะไร
อินดิเคเตอร์ ช่วง pH สี ที่เปลี่ยน ก. ไม่มีสี
เมทิลออเรนจ์ 3.1 – 4.4 แดง – เหลือง ข. สี น้ าเงิน
เมทิลเรด 4.4 – 6.3 แดง – เหลือง ค. สี แดง
โบรโมไทมอลบลู 6.0 – 7.6 เหลือง – น้ าเงิน ง. สี บานเย็น
ฟี นอล์ฟทาลีน 8.3 – 10.0 ไม่มีสี - ชมพู 137. จงพิจารณาเลือกอินดิเคเตอร์ที่เหมาะสมที่สุดในการไทเทรตสารละลาย NaHCO₃
เข้มข้น 0.10 mol/dm³ ด้วยสารละลาย HCl เข้มข้น 0.10 mol/dm³
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 20/66 หน้า 20
(H₂CO₃ มี Ka₁ = 4.4 x 10⁻⁷ ; Ka₂ = 5.0 x 10⁻¹¹) (ENT’41) ก. 8 1 3
ก. ไทมอลบลู (เบส) ซึ่งเปลี่ยนสี ใน ช่วง pH = 8.0 – 9.6 (เหลือง - น้ าเงิน) ข. 4 2 4
ข. ฟี นอลเรด ซึ่งเปลี่ยนสี ใน ช่วง pH = 6.8 – 8.4 (เหลือง - แดง) ค. 8 2 3
ค. ไทมอลบลู (กรด) ซึ่งเปลี่ยนสี ใน ช่วง pH = 1.2 – 2.8 (แดง - เหลือง) ง. 4 1 4
ง. โบรโมครี ซอลกรี น ซึ่งเปลี่ยนสี ใน ช่วง pH = 3.8 – 5.4 (เหลือง - น้ าเงิน) 140. ถ้าการเปลี่ยนสี ของอินดิเคเตอร์ A → E ในช่วง pH ต่าง ๆ เป็ นดังนี้
อินดิเคเตอร์ สี ในกรด ช่วง pH สี ในเบส
138. จากข้อมูลอินดิเคเตอร์และช่วง pH ของการเปลี่ยนสี ดังตาราง A แดง 3.1 – 4.4 (ส้ม) เหลือง
B แดง 4.4 – 6.0 (ส้ม) เหลือง
อินดิเคเตอร์ ช่วง pH สี ที่เปลี่ยน C เหลือง 6.0 – 7.6 (เขียว) น้ าเงิน
1. 3.2 –4.4 แดง – เหลือง D เหลือง 6.7 – 8.3 (ส้ม) แดง
2. 4.2 – 6.3 แดง – เหลือง E เหลือง 8.1 – 10.0 (ชมพู) แดง
3. 6.0 – 8.4 เหลือง – น้ าเงิน ถ้าหยดอินดิเคเตอร์เหล่านี้ลงในสารละลาย 4 ชนิด ผลการทดลองข้อใดไม่ถูกต้อง
4. 6.8 – 8.4 เหลือง - แดง (ENT’33)
สารละลาย อินดิเคเตอร์ (7) อินดิเคเตอร์ (.)
ข้อใดแสดงถึงอินดิเคเตอร์ที่เหมาะสมสาหรับการบอกจุดยุติของการไทเทรต ก. น้ าลาย C เขียว D ส้ม
ก. ไทเทรต NH₄OH ด้วย HCl ใช้อินดิเคเตอร์ 1 ข. CH₃COONa 0.1 mol/dm³ A เหลือง E ชมพู
ข. ไทเทรต HNO₃ ด้วย NaOH ใช้อินดิเคเตอร์ 0 ค. K₂CO₃+ HCl (จานวนโมลเท่ากัน) E ชมพูแก่ A เหลือง
ค. ไทเทรต CH₃COOH ด้วย NaOH ใช้อินดิเคเตอร์ 7 ง. NaCl 1.0 mol/dm³ B ส้ม C เขียว
ง. ไทเทรต NH₄OH ด้วย HCN ใช้อินดิเคเตอร์ .
139. อินดิเคเตอร์ตวั หนึ่งเป็ นกรดอ่อนมีค่า K_ind = 1.0 x 10⁻⁴ เมื่อความเข้มข้นของ HIn 141. ผสมสารละลาย CH₃COOH เข้มข้น 7.. mol/dm³ ปริ มาตร 2cm³ กับสารละลาย
เท่ากับความเข้มข้นของ In⁻ อินดิเคเตอร์ตวั นี้จะเริ่ มเปลี่ยนสี pH ขณะนั้นเป็ นเท่าใด NaOH เข้มข้น 7.. mol/dm³ ปริ มาตร 72 cm³ นาสารละลายที่ได้ไปทดสอบด้วยอินดิ
และอินดิเคเตอร์ น้ ีจะเหมาะสมกับการไทเทรตระหว่างกรดและเบสคู่ใดบ้าง (ENT’33) เคเตอร์
1. HCN + NaOH 1. หยด X หยด สารละลายไม่มีสี 7
2. HCl + NH₃ 2. หยด Y หยด สารละลายมีสีน้ าเงิน 7
3. HBr + KOH 3. หยด Z หยด 7 สารละลายมีสีเหลือง
4. HNO₃ + Ba(OH)₂ 4. pH ของสารละลายเท่ากับ 71
คาตอบที่ถูกต้องคือ ได้ผลตามตาราง
pH กรดและเบส อินดิเคเตอร์ ช่วง pH ที่เปลี่ยนสี สี ที่เปลี่ยน
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 21/66 หน้า 21
X 8.3 – 10.0 ไม่มีสี – แดง ก. สารละลาย A จัดเป็ นสารละลายอิเล็กโทรไลต์แก่ มีความเข้มข้นของ H₃O⁺
Y 3.0 – 4.6 เหลือง – น้ าเงิน เท่ากับ 1.0 x 10⁻⁵ mol/dm³
Z 6.0 – 7.6 เหลือง - น้ าเงิน ข. สารละลาย B จัดเป็ นสารละลายอิเล็กโทรไลต์แก่ มีความเข้มข้นของ H₃O⁺
ข้อใด ถูกต้อง (ENT’ต.ค. 47) เท่ากับ 1.0 x 10⁻⁵ mol/dm³
ก. 1 และ . ค. สารละลาย C จัดเป็ นสารละลายอิเล็กโทรไลต์อ่อน มีความเข้มข้นของ H₃O⁺
ข. 2 และ 1 เท่ากับ 1.0 x 10⁻¹⁰ mol/dm³
ค. 3 และ 0 ง. สารละลาย D จัดเป็ นสารละลายอิเล็กโทรไลต์อ่อน มีความเข้มข้นของ H₃O⁺
ง. 2 และ 4 เท่ากับ 1.0 x 10⁻¹⁰ mol/dm³
143. เมื่อเติมครี ซอลเรด ( cresol red ) ลงในสารละลายเบส NH₃ เข้มข้น 0.20 โมลาร์ จะ
ได้สารละลายมีสีใด
กาหนดให้ ครี ซอลเรด มีช่องการเปลี่ยนสี ระหว่าง สี เหลือง – แดงที่ pH = 7.2 – 8.8
NH₃ มีค่า Kb = 2.0 x 10⁻⁵ ( PAT-2 ก.ค. 52 )
ก. เหลือง
ข. ส้ม
ค. แดง
ง. ไม่มีสี

142. เมื่อนาสารละลาย A B C และ D ที่มีความเข้มข้นท่ากัน มาหยดอินดิเคเตอร์ (HIn)


ที่มีช่องการเปลี่ยนสี ที่ pH = 6.0 – 7.6 โดยเปลี่ยนจากสี เหลืองเป็ นสี น้ าเงิน และ 144. การแปลความหมายของข้อมูลที่ ถูกต้อง คือ
ทดสอบความสามารถในการนาไฟฟ้ า ได้ขอ้ มูลดังตาราง ก. สารละลายมี pH ประมาณ 5.2 – 6.0
ข. สารละลายมี pH ประมาณ 8.5 – 9.5
สารละลาย เมื่อหยดอินดิเคเตอร์ ความสว่างของหลอดไฟ ค. สารละลายมี pH ประมาณ 4.0 – 4..5
A. เหลือง สว่างมาก ง. สารละลายมี pH ประมาณ 2.0 – 3.0
B. น้ าเงิน สว่างมาก 145. เมื่อนาสารละลายกรดชนิดหนึ่งมาไทเทรตด้วยเบส ที่จุดยุติของสารละลายมีไฮโดรเนียม
C. เขียว สว่างเล็กน้อย ไอออนประมาณ 1.0 x 10⁻⁷ mol/dm³ อินดิเคเตอร์ที่ควรเลือกใช้ คือ
D. เหลือง สว่างเล็กน้อย ก. เมทิลออเรนจ์
ข้อใด ถูกต้อง ( ENT-A 52 ) ข. เมทิลเรด
ค. โบรโมไทมอลบลู

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 22/66 หน้า 22
ง. ฟี นอล์ฟทาลีน ก. 7.6 – 8.3 สี แดง
146. ข้อความใด ถูกต้ องทีส่ ุ ด ข. 6.0 – 7.6 สี สม้
ก. ในการไทเทรตสารละลาย NH₃ กับกรด HCl ควรเลือกใช้เมทิลเรดเป็ นอินดิเคเตอร์ ค. 6.7 – 7.6 สี เหลือง
ข. ในการไทเทรตสารละลายกรดแก่กบั เบสอ่อน ควรเลือกใช้เมทิลเรดเป็ นอินดิเคเตอร์ ง. 6.7 – 8.3 สี เหลือง
ค. ในการไทเทรตสารละลาย CH₃COOH กับ NaOH ควรเลือกใช้ฟีนอล์ฟทาลีนเป็ น 149. เมื่อนาน้ าทิ้งจากโรงงานแห่งหนึ่งมากรอง ได้สารละลายใสไม่มีสี แบ่งสารละลายมาเติม
อินดิเคเตอร์ อินดิเคเตอร์ต่าง ๆ ลงไปได้ผลดังนี้ (ENT’33)
ง. ในการไทเทรตสารละลาย NH₃ กับ HCl ควรเลือกใช้ฟีนอล์ฟทาลีนเป็ นอินดิเค อินดิเคเตอร์ ช่วง pH ที่เปลี่ยนสี สี ที่อินดิเคเตอร์ สี ของสารละลายหลังจากเติม
เตอร์ ตามปกติ เปลี่ยนตามปกติ อินดิเคเตอร์ลงไป 3 หยด
147. สารละลาย X ไม่มีสีเมื่อหยดโบรโมไทมอลบลูลงในสารละลายนี้ จะได้สารละลายสี เมทิลเรด 3.8 – 6.3 แดง – เหลือง ส้ม
เหลือง และเมื่อหยดเมทิลออเรนจ์ลงไป ได้สารละลายสี สม้ แดง จงประมาณค่า pH ของ ลิตมัส 5.8 – 8.1 แดง – น้ าเงิน ม่วง
สารละลาย X ให้ใกล้เคียงที่สุด (ENT’30) ฟี นอลเรด 6.6 – 8.3 เหลือง- แดง เหลือง
อินดิเคเตอร์ ช่วง pH ของการเปลี่ยนสี เมทิลออเรนจ์ 3.1 – 4.4 เหลือง- แดง เหลือง
โบรโมไทมอลบลู เหลือง 6.0 – 7.6 น้ าเงิน โบรโมไทมอลบลู 6.0 – 7.1 เหลือง – น้ าเงิน เขียวอมเหลือง
เมทิลออเรนจ์ แดง 3.1 – 4.4 เหลือง pH ที่ถูกต้อง ของสารละลาย ควรอยูใ่ นช่วงใด
ก. 3 – 6 ก. 5.8 – 6.0
ข. 3 – 4 ข. 6.3 – 6.6
ค. 6 – 7 ค. 6.0 – 6.3
ง. ต่ากว่า 3 ง. 6.6 – 7.1
148. เมื่อนาสารละลาย X มาเติมอินดิเคเตอร์ชนิดต่าง ๆ ได้ผลดังนี้ (ENT’27) 150. พิจารณาสี ของสารละลาย X เมื่อเติมอินดิเคเตอร์ชนิดต่าง ๆ ต่อไปนี้
อินดิเคเตอร์ ช่วง pH การเปลี่ยนสี สี ของสารละลาย X ในอินดิเคเตอร์
ฟี นอล์ฟทาลีน 8.3 – 1.04 ไม่มีสี – แดง ไม่มีสี อินดิเคเตอร์ ช่วง pH ที่เปลี่ยนสี สี ที่ปลี่ยน สี ของสารละลาย X
เมทิลเรด 4.4 – 6.0 แดง – เหลือง เหลือง โบรโมฟี นอลบลู 1.7–0.. เหลือง – น้ าเงิน เขียวอมน้ าเงิน
โบรโมไทมอลบลู 6.0 – 7.6 เหลือง – น้ าเงิน เขียว ไทมอลบลูเมทิล
ฟี นอลเรด 6.7 – 8.3 เหลือง – แดง ส้ม ออเรนจ์ 1..–0.0 แดง – เหลือง ส้มเหลือง
เมทิลออเรนจ์ 3.1 – 4.4 แดง – เหลือง ? เมทิลเรด 0..–..1 แดง – เหลือง ส้มแดง

สารละลาย X จะมีค่า pH ประมาณเท่าใด และถ้าหยดเมทิลออเรนจ์ 2 หยด ลงใน สารละลาย X ควรมี pH อยูใ่ นช่วงใด (ENT’มี.ค. 46)
สารละลาย X 10 cm³ จะได้สีอะไร ก. 3.0 – 6.3
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 23/66 หน้า 23
ข. 3.2 – 4.6 7 A เหลือง
ค. 4.2 – 4.4 . B เหลือง
ง. 4.2 – 4.6 1 C น้ าเงิน
151. นาสารละลาย HCl ความเข้มข้น x mol/dm³ ใส่ในหลอดทดลอง 3 หลอด หลอดละ 0 D ส้ม
3 cm³ แต่ละหลอดหยดอินดิเคเตอร์ 2 – 3 หยด ได้ผลดังแสดงในตาราง
สารละลาย X มี pH ประมาณเท่าใด (ENT’ มี.ค. 43)
หลอดที่ อินดิเคเตอร์ สี ที่ปรากฏใน ก. 6
ชนิด ช่วง pH สี ที่เปลี่ยน สารละลาย HCl ข. 7
7 คองโกเรด 3.0 – 5.0 น้ าเงิน – แดง แดง ค. 8
. โบรโมครี ซอล 5.2 – 6.8 เหลือง – ม่วง เหลือง ง. 9
เพอร์เพิล
1 ฟี นอลเรด 6.8 – 8.4 เหลือง – แดง เหลือง

X ควรมีค่าเท่าใด (ENT’ ต.ค. 41)


ก. 77⁻³
ข. 77⁻⁴
ค. 77⁻⁵
ง. 77⁻⁶
152. จากข้อมูลอินดิเคเตอร์และช่วง pH ของการเปลี่ยนสี ดังตาราง คาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ ใช้ประกอบการตอบคาถามข้อ 153

อินดิเคเตอร์ ช่วง pH สี ที่เปลี่ยน อินดิเคเตอร์ ช่วง pH เปลี่ยนสี สี ที่เปลี่ยน


A 3.2 – 4.4 แดง – เหลือง A 3.0 – 5.0 น้ าเงิน – แดง
B 4.2 – 6.3 แดง – เหลือง B 3.5 – 4.5 แดง – เหลือง
C 6.0 – 7.6 เหลือง – น้ าเงิน C 4.0 – 5.5 เหลือง – น้ าเงิน
D 6.8 – 8.4 เหลือง - แดง D 4.0 – 6.5 แดง – เหลือง
สารละลาย X เมื่อหยดอินดิเคเตอร์ให้สีดงั นี้ E 7.0 – 8.5 เหลือง - แดง

หลอดที่ อินดิเคเตอร์ สี ของสารละลาย


ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 24/66 หน้า 24
153. เมื่อแบ่งสารละลายตัวอย่างใส่หลอดทดลอง 2 หลอด หลอดละ 1 cm³ แล้วหยดอินดิเค เมื่อนาสารละลาย X มาเติมอินดิเคเตอร์ชนิดต่าง ๆ ให้ผลดังนี้
เตอร์ลงไปหลอดละชนิดจะได้ผลดังนี้
หลอดที่ อินดิเคเตอร์ที่ใช้ สี ของสารละลาย อินดิเคเตอร์ สี ของสารละลาย
7 A แดง เมทิลออเรนจ์ เหลือง
. B เหลือง เมทิลเรด ส้ม
1 C น้ าเงิน ลิตมัส แดง
0 D ส้ม โบรโมไทมอลบลู เหลือง
2 E เหลือง ฟี นอลเรด เหลือง

จากผลการทดลอง pH ของสารละลายตัวอย่าง คือข้อใด (ENT’37) สารละลาย X มี pH อยูใ่ นช่องใด ( ENT– A 50 )


ก. ประมาณ 7 ก. 4.4 – 6.2
ข. อยูร่ ะหว่าง 6.5 – 7.0 ข. 4. 4 – 5.0
ค. ประมาณ 5.5 ค. 5.0 – 6.0
ง. ประมาณ 4.5 ง. 6.8 – 7.4

155. พิจารณาข้อมูลช่อง pH และการเปลี่ยนแปลงของอินดิเคเตอร์……. ทดสอบอินดิเค


154. กาหนดอินดิเคเตอร์ชนิดต่าง ๆ ให้ดงั นี้ เตอร์กบั การละลายดังตารางที่ 1
ตารางที่ 1
อินดิเคเตอร์ การเปลี่ยนสี ช่วง pH อินดิเคเตอร์ ช่วง pH การเปลี่ยนสี
เมทิลออเรนจ์ แดง – เหลือง 3.1 – 4.4 เมทิลออเรนจ์ 3.2 – 4.4 แดง – เหลือง
เมทิลเรด แดง – เหลือง 4.4 – 6.2 เมทิลเรด 4.2 – 6.3 แดง – เหลือง
ลิตมัส แดง – น้ าเงิน 5.0 – 8.0 โบรโมไทมอลบลู 6.0 – 7.6 เหลือง – น้ าเงิน
โบรโมไทมอลบลู เหลือง – น้ าเงิน 6.0 – 7.6 ฟี นอล์ทาลีน 8.3 – 10.0 ไม่มีสี – ชมพู
ฟี นอลเรด เหลือง - แดง 6.8 – 8.4
ตารางที่ 2
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 25/66 หน้า 25
อินดิเคเตอร์ เมทิลออเรนจ์ เมทิลเรด โบรโมไทมอลบลู ฟี นอล์ทาลีน
สารละลาย ถ้าความเข้มและปริ มาณของสารทุกตัวเท่ากัน
A. เหลือง เหลือง น้ าเงิน ไม่มีสี 156. ข้อใดสรุ ปความแรงของกรดของสารละลายแต่ละชนิดได้ถูกต้อง
B. เหลือง ส้ม เหลือง ไม่มีสี ก. X > W > Y > Z
C. เหลือง เหลือง น้ าเงิน ชมพู ข. X < W < Y < Z
D. แดง แดง เหลือง ไม่มีสี ค. X > W ∽ Y > Z
ง. X ∽ W > Y ∽Z
จงเรี ยงลาดับค่า pH ของสารละลายจากมากไปหาน้อย ( ENT– A 49 ) 157. pH ของสารละลายผสมระหว่าง X กับ Z มีค่าประมาณเท่าใด
ก. A > B > D > C ก. 5.0-8.0
ข. C > A > B > D ข. 4.2-8.0
ค. B > D > A > C ค. 5.0-6.0
ง. C > B > D > A ง. 4.2-6.8
158. ถ้าไทเทรต W กับ Y อินดิเคเตอร์ใดน่าจะเหมาะสมที่สุด
ก. Phenol red
ข. Methyl red
ค. Bromothymolblue
ง. Azolimin
159. ถ้าสมมติวา่ methyl red มีสูตรเป็ น HA และเกิดการแตกตัวได้ 10.0 % ที่ pH = 4.0
ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ประกอบการตอบคาถามข้อ 156 - 160 ค่าคงที่การแตกตัวของ methyl red เป็ นเท่าใด
ก. 7.70 x 77⁻⁶
Phenol red Methyl red Bromothymolblue Azolimin ข. 1.10 x 77⁻⁵
สารละลาย ช่วง pH 6.8-8.4 4.2-6.3 6.0-7.6 5.0-8.0 ค. 1.00 x 77⁻⁶
ช่วงสี เหลือง - แดง แดง - เหลือง เหลือง – น้ าเงิน แดง – น้ าเงิน ง. 1.02 x 77⁻⁵
X+Y ส้ม เหลือง เขียว ม่วง 160. สารละลาย W เมื่อนามาเติม Azolimin จะได้สีม่วง แต่ถา้ เติม Methyl red จะได้สี
X+Z เหลือง ส้ม เหลือง ม่วง เหลือง สารละลาย W ควรมีลกั ษณะอย่างไร
ก. กรด
W+Y แดง เหลือง น้ าเงิน น้ าเงิน
ข. เบส
W+Z เหลืองหรื อส้ม ส้มหรื อ เหลือง เขียว ม่วงหรื อน้ าเงิน
ค. กลาง
เหลือง น้ าเงิน
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 26/66 หน้า 26
ง. ข้อสรุ ปที่ได้ยงั ไม่ชดั เจน ข. เป็ นเบส เพราะแอมโมเนียมไอออนทาปฏิกิริยากับน้ า ให้แอมโมเนียมซึ้งเป็ นเบส
161. ปฏิกิริยา NaOH + CH₃COOH ⇆ CH₃COONa + H₂O เป็ นปฏิกิริยาชนิดใด ค. เป็ นกรด เพราะแอมโมเนียมซึ้งเป็ นเบส เมื่อเกิดขึ้นแล้วจะระเหยไปบางส่วน
ก. ปฏิกิริยาออกซิเดชัน - รี ดกั ชัน ง. เป็ นกรด เพราะแอมโมเนียมไอออนให้โปรตอนแก่น้ า
ข. ปฏิกิริยาสะเทิน 165. สารละลายของเกลือในน้ า ข้อใดที่มีฤทธิ์เป็ นด่างทุกชนิด
ค. ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส ก. HCOONa KBr NH₄NO₃
ง. ปฏิกิริยาไออไนเซชัน ข. NH4Cl NaOH NaCl
162. ข้อใดที่สารละลายทุกชนิดเกิดปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส ค. CH₃COONa NH₄Cl CH₃COONH₄
ก. CH₃COONa Ca(OH)₂ NH₄NO₃ ง. KCN CH₃COONa HCOONa
ข. KHSO₄ Na₃PO₄ NaClO₄ 166. เกลือทุกตัวในข้อใดเมื่อละลายน้ าแล้ว สามารถเปลี่ยนสี กระดาษลิตมัสจากสี น้ าเงินเป็ น
ค. Na₂CO₃ Ba(OH)₂ NaClO₄ แดง
ง. K₂S NaCN (NH₄)₃PO₄ ก. NH₄NO₃ NaHSO₄
ข. NH₄Cl HCOONa
ค. NaHS CH₃COONa
ง. KNO₂ NaHCO₃

163. ปฏิกิริยาข้อใด ไม่ใช่ ปฏิกิริยา กรด  เบส 167. กลุ่มเกลือที่ละลายน้ าแล้ว จะให้สารที่มีสมบัติเป็ นเบส คือสารใด
ก. + H2O  + H3O⁺ ก. HCOONa KBr NH₄NO₃
ข. KCN CH₃COONa HCOONa
ข. + H2O  + OH⁻ ค. CH₃COONa NH₄Cl CH₃COONH₄
ง. NH₄Cl NaOH NaCl
168. เกลือในข้อใดละลายน้ าแล้วได้สารละลายที่เป็ นเบสทั้งหมด ( PAT-2 มี.ค. 53 )
ค. 2CH₃COOH + 2Na  2CH₃COOH + H₂
ก. CH₃COONa KBr NH₄NO₃
ง. CH₃COOH + NH₄OH  CH₃COONH₄ ข. NaCl CH₃COONa HCOONa
164. ถ้านาแอมโมเนียมคลอไรด์ซ่ ึงเป็ นของแข็งสี ขาวมาละลายน้ า สารละลายที่ได้มีสมบัติ ค. NH₄Cl CH₃COONa CH₃COONH₄
เป็ นกรดหรื อเบส เพราะเหตุใด ง. NaCN NH₄Cl KNO₂
ก. เป็ นเบส เพราะแอมโมเนียมคลอไรด์แตกตัวให้แอมโมเนียมไอออน 169. เมื่อนาเกลือ 4 ชนิดต่อไปนี้มาละลายน้ า
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 27/66 หน้า 27
1. NH₄NO₃ 2. CH₃COONa 3. Na₂CO₃ 4. K₂SO₄ กรด กลาง เบส
สารละลายของเกลือชนิดใดบ้างที่สามารถเปลี่ยนสี กระดาษลิตมัสจากแดงเป็ นน้ าเงิน ก. 1 และ 4 2 3
ก. 1 และ 2 ข. 1 2 3 และ 4
ข. 1 และ 3 ค. 2 และ 4 1 3
ค. 2 และ 3 ง. 3 1 2 และ 4
ง. 2 และ 4
170. ข้อใด ถูกต้อง 173. ปฏิกิริยาในข้อใดที่เมื่อเกิดปฏิกิริยาสมบูรณ์ จะได้เกลือซึ่งเมื่อเกิดปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส
ก. สารละลายของเกลือ NaCl เป็ นกลาง แต่สารละลายของเกลือ KCN และ HCl แล้วได้สารละลายที่มีฤทธิ์เป็ นกรด( PAT-2 มี.ค. 53 )
เป็ นเบส ก. 0.50 โมลาร์ HCN ปริ มาตร 200 มิลิลิตร + 0.50 โมลาร์ NH₃ ปริ มาตร 200 มิลิลิตร
ข. สารละลายของเกลือ NaCl และ KCN เป็ นกลาง แต่สารละลายของเกลือ NH₄Cl ข. 0.20 โมลาร์ HCl ปริ มาตร 200 มิลิลิตร + 0.10 โมลาร์ NaOH ปริ มาตร 400 มิลิลิตร
เป็ นกรด ค. 0.40 โมลาร์ HNO₃ ปริ มาตร 100 มิลิลิตร + 0.10 โมลาร์ NH₃ ปริ มาตร 400 มิลิลิตร
ค. สารละลายของเกลือ NaCl เป็ นกลาง แต่สารละลายของเกลือ KCN เป็ นกรด และ ง. 0.10 โมลาร์ CH₃COOH ปริ มาตร 200 มิลิลิตร + 0.20โมลาร์ NaOH ปริ มาตร
สารละลายของเกลือ NH₄Cl เป็ นเบส 200 มิลิลิตร
ง. สารละลายของเกลือ NaCl เป็ นกลาง แต่สารละลายของเกลือ KCN เป็ นกรด และ
สารละลายของเกลือ NH₄Cl เป็ นกรด

174. สารละลาย X สามารถเปลี่ยนสี กระดาษลิตมัสจากแดงเป็ นน้ าเงิน เมื่อนสาร X เข้มข้น


171. สารละลายผสมที่มีความเป็ นกรดสูงที่สุดคือข้อใด( PAT-2 มี.ค. 53 ) 0.01 mole/dm³ มา 3 cm³ เติมสารละลาย Ca(OH)₂ เข้มข้น 0.01 mole/dm³ ลง
ก. 0.10 M NaOH + 0.10 M HCl ไป 1 cm³ พบว่า มีตะกอนขาวเกิดขึ้นและกระดาษลิตมัสยังคงเปลี่ยนสี จากแดงเป็ น
ข. 0.10 M KCN + 0.10 M HCl น้ าเงิน ถ้าสารละลาย X อีกส่วนหนึ่งมา 3 cm³ เติม HCl เข้มข้น 0.01 mole/dm³
ค. 0.10 M NaOH + 0.10 M HCN ลงไป 4 cm³ ปรากฏว่า กระดาษลิตมัสเปลี่ยนสี จากน้ าเงินเป็ นแดง จากการทดลอง
ง. 0.10 M KCN + 0.10 M NH₄OH นี้ สาร X ควรเป็ นสารใดมากที่สุด
172. เมื่อนาสารต่อไปนี้มาละลายน้ า ก. CH₃COONa
1. KI 2. Al₂(SO₄)₃ 3. Na₂CO₃ 4. NH₄NO₂ ข. NaHCO₃
กาหนดให้ Kb ของสารละลาย NH₃ = 1.8 x 10⁻⁵ ค. KNO₃
Ka ของ HNO₃ = 4.6 x 10⁻⁴ ง. NH₄Cl
สมบัติต่อไปนี้ของสาร 1 – 4 ข้อใด ถูกต้อง 175. สารละลาย A เปลี่ยนสี จากแดงเป็ นน้ าเงิน ถ้าสารละลาย HCl เข้มข้น 1 mole/dm³
สมบัติของสารละลาย จานวน 1 cm³ ลงในสารละลาย A เข้มข้น 1 mole/dm³ จานวน 3 cm³ จะเกิด
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 28/66 หน้า 28
ฟองแก๊สและสารละลายที่ได้ยงั คงเปลี่ยนสีจากแดงเป็ นน้ าเงิน เมื่อหยดสารละลายอิ่มตัว ค. CH₃COOH NaOH
Ca(OH)₂ 1 cm³ ตามลงไปจะเกิดตะกอนสี ขาว สารละลาย A ควรป็ นสารใด ง. HNO₃ NH₄OH
ก. NaHSO₄ 177. นาเกลือชนิดต่างๆ มาละลายน้ าแล้วนาไปวัด pH ด้วย pH meter การเรี ยงลาดับการ
ข. NaHCO₃ เพิ่มขึ้นของ pH ของสารละลาย ข้อใดถูกต้อง
ค. NH₄Cl ก. NaNO₂ KI NH₄NO₃
ง. NaNO₃ ข. KI NH₄NO₃ Ca(ClO₃)₂
ค. NaHSO₄ Ca(ClO₃)₂ KI
ง. NH₄NO₃ KI Ca(ClO3)2

คาชี้แจง กาหนดค่า Ka ของกรดที่ 25  C


กรด Ka ของกรด
HClO₂ 1.1 x 10⁻²
HF 6.8 x 10⁻²
CH₃COOH 1.8 x 10⁻⁵
HCN 4.8 x 10⁻¹¹

176. พิจารณาสมบัติของอินดิเคเตอร์ตอ่ ไปนี้ 178. สารละลายที่เข้มข้นเท่ากันของเกลือต่อไปนี้ ข้อใดเป็ นเบสมากที่สุด


อินดิเคเตอร์ ช่อง pH ที่เปลี่ยนสี สี ที่เปลี่ยน ก. NaClO₃
A 4.2 – 6.3 แดง - เหลือง ข. CH₃COONa
B 6.0 – 7.6 เหลือง - น้ าเงิน ค. NaF
C 9.4 – 10.6 ไม่มีสี - น้ าเงิน ง. NaCN
179. นาสารละลายเกลือโซเดียม 3 ชนิดคือ NaX NaY และ NaZ ซึ่งมีความเข้มข้น
เมื่อนาสารละลายที่ได้จากการทาปฏิกิริยาพอดีระหว่างกรดกับเบสคู่หนึ่ง มาหาค่า pH 0.02 mole/dm³ เท่ากัน มาหาค่า pH เท่ากับ 7 8 และ 9 ตามลาดับ ความเป็ น
พบว่าเมื่อหยดอินดิเคเตอร์ A ได้สารละลายสี เหลือง หยดอินดิเคเตอร์ B ได้ กรดของ HX HY และ HZ จะเป็ นอย่างไร
สารละลายสี น้ าเงิน และ หยดอินดิเคเตอร์ C ได้สารละลายไม่มีสี สารละลายกรด - ก. HX > HY > HZ
เบส ที่ใช้ในข้อใดควรเป็ นไปได้ ข. HY > HZ > HX
ก. HCl NaOH ค. HZ > HX > HY
ข. H₄SO₄ Ba(OH)₂ ง. HZ > HY > HX
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 29/66 หน้า 29
180. เมื่อนา CO₂ N₂O₅ SO₂ หรื อ Na₂O มาละลายน้ า สารละลายที่ได้จะมีคา่ pH ง. กรดแก่ เกลือ เบสอ่อน กรดแก่
ต่างกัน การเรี ยงลาดับ pH ของสารละลายของสารประกอบออกไซด์จากมากไปหาน้อย
ข้อใด ถูกต้อง ( กาหนดให้สารละลายเหล่านี้มีความเข้มข้น 1.0 mole/dm³ ค่า Ka₁ 182. เมื่อนาสารละลาย A B C และ D ความเข้มข้นเท่ากันไปทดสอบการเปลี่ยนสี
ของ H₂CO₃ = 4.4 x 10⁻⁷ ค่า Ka₁ ของ H₂SO₃ = 1.3 x 10⁻² ) กระดาษลิตมัสและความสามารถในการนาไฟฟ้ าได้ขอ้ มูลดังนี้
ก. N₂O₅ SO₂ CO₂ Na₂O
ข. N₂O₅ CO₂ SO₂ Na₂O สาร การเปลี่ยนสี กระดาษลิตมัส การสว่างของหลอดไฟ
ค. Na₂O CO₂ SO₂ N₂O₅ A ไม่เปลียนสี สว่างมาก
ง. Na₂O SO₂ CO₂ N₂O₅ B แดง ⟶ น้ าเงิน สว่างเล็กน้อย
C น้ าเงิน ⟶ แดง สว่างมาก
D ไม่เปลียนสี ไม่สว่างเลย
สารละลาย A B C และ D ในข้อใดเป็ นไปไม่ได้
A. B. C. D.
ก. MgCl₂ H₂SO₄ H₂SO₄ C₆H₁₂O₆
ข. NaCl NaOH C₂H₅OH H₂O
ค. KNO₃ CH₃COOH KOH NH₄CN
ง. Na₂CO₃ NH₄Cl H₂S CH₃OH
181. สาร A B C และ D มีสมบัติดงั นี้ 183. จากข้อมูลดังกล่าว
สาร การเปลี่ยนสี การนาไฟฟ้ า การสว่างของ การทาปฏิกิริยากับ
กระดาษลิตมัส หลอดไฟ ลวด Mg สารละลาย การนาไฟฟ้ า กระดาษลิตมัส ทดสอบกับ NaHCO₃ ทดสอบกับ Mg
A น้ าเงิน ⟶ แดง นา สว่างมาก เกิดแก๊สไม่มีสี A. นา ไม่เปลี่ยนสี ไม่เกิดแก๊ส ไม่เกิดแก๊ส
B ไม่เปลี่ยนสี นา สว่างปานกลาง ไม่เกิดแก๊ส B. นา น้ าเงิน → แดง เกิดแก๊ส เกิดแก๊ส
C แดง ⟶ น้ าเงิน นา สว่างน้อย ไม่เกิดแก๊ส C. นา เกิดตะกอนขาว ไม่เกิดแก๊ส
แดง → น้ าเงิน
D น้ าเงิน ⟶ แดง นา สว่างน้อย เกิดแก๊สไม่มีสี
D. ไม่นา ไม่เปลี่ยนสี ไม่เกิดแก๊ส ไม่เกิดแก๊ส
สาร A B C และ D น่าจะเป็ นสารใด
A. B. C. D. สารละลาย A B C และ D ควรเป็ นสารละลายใด
ก. กรดอ่อน เกลือ เบสแก่ กรดแก่ ก. น้ าเกลือ น้ าส้มสายชู น้ าปูนใส และ น้ าเชื่อม
ข. กรดอ่อน เกลือ เบสแก่ กรดอ่อน ข. น้ าเชื่อม น้ าเกลือ น้ าปูนใส และ น้ าส้มสายชู
ค. กรดแก่ เกลือ เบสอ่อน กรดอ่อน ค. น้ าเชื่อม น้ าส้มสายชู น้ าเกลือ และ น้ าปูนใส
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 30/66 หน้า 30
ง. น้ าเกลือ น้ าปูนใส น้ าส้มสายชู และ น้ าเชื่อม ค. CH₃COOH KNO₃ เอทานอล CH₃COONa
184. การทดสอบสมบัติของสารละลายเข้มข้น 0.1 mol/dm³ ได้ขอ้ มูลดังนี้ ง. HCl น้ าตาลทราย เอทานอล CH₃COONa
186. การทดสอบสารละลายได้ผลดังตาราง
สารละลาย ความสว่างของ ปฏิกิริยากับ ปฏิกิริยา การเปลี่ยนสี ลิตมัส สารละลาย การเปลี่ยนสี ที่สงั เกตได้
หลอดไฟ Mg การเปลี่ยนสี กระดาษลิตมัส การนาไฟฟ้ า กับลวด Mg
A มากที่สุด เกิดแก๊ส H₂ เกิดแก๊ส น้ าเงิน → แดง A น้ าเงิน – แดง นา เกิดฟองแก๊สมาก
B มากที่สุด ไม่เกิด ตะกอนขาว แดง → น้ าเงิน B แดง – น้ าเงิน นา เกิดฟองแก๊สน้อย
C สว่างปานกลาง ไม่เกิด ไม่เกิดแก๊สและตะกอน แดง → น้ าเงิน A+B ไม่เปลี่ยนสี ไม่นา เกิดฟองแก๊สน้อย
D มากที่สุด ไม่เกิด ไม่เกิดแก๊สและตะกอน ไม่เปลี่ยนสี
สารละลาย A B และ A + B ควรเป็ นข้อใด
สาร A B และ D คืออะไรตามลาดับ ก. HNO₃ KOH KNO₃
ข. HCl Ba(OH)₂ BaCl₂
ก. กรดไนตริ ก โซเดียมคลอไรด์ น้ าปูนใส โซเดียมอะซิเตต ค. HI NaOH NaI
ข. กรดไฮโดรคลอริ ก น้ าปูนใส โซเดียมอะซิเตต โซเดียมคลอไรด์ ง. H₂CO₃ Ca(OH)₂ CaCO₃
ค. กรดซัลฟิ วริ ก โซเดียมอะซิเตต น้ าปูนใส โซเดียมคลอไรด์ 187. นาสารละลาย A B C D ที่มีความเข้มข้นเท่ากัน ทดสอบความสามารถในการนา
ง. กรดไฮโดรคลอริ ก น้ าปูนใส โซเดียมอะซิเตต แอลกอฮอล์ ไฟฟ้ าจากความสว่างของหลอดไฟและสมบัติ กรด – เบส ของสารจากสี ของกระดาษ
185. พิจารณาผลการทดลอง ลิตมัส ได้ผลการทดลองดังนี้ (ENT’40)
สารละลาย การเปลี่ยนสี ของกระดาษลิตมัส ความสว่างของหลอดไฟ
สารละลาย การเปลี่ยนสี ของกระดาษ การนาไฟฟ้ า ปฏิกิริยากับ Mg ปฏิกิริยากับ A. น้ าเงิน → แดง สว่าง
ลิตมัส NaHCO₃ B. ไม่เปลี่ยนสี สว่างมาก
A น้ าเงิน → แดง นา เกิดแก๊ส เกิดแก๊ส C. แดง → น้ าเงิน สว่างเล็กน้อย
B ไม่เปลี่ยนสี นา ไม่เกิดแก๊ส ไม่เกิดแก๊ส D. ไม่เปลี่ยนสี ไม่สว่าง
C ไม่เปลี่ยนสี ไม่นา ไม่เกิดแก๊ส ไม่เกิดแก๊ส
D แดง → น้ าเงิน นา ไม่เกิดแก๊ส ไม่เกิดแก๊ส สารละลาย A B C D อาจเป็ นสารละลายใด ตามลาดับ
ก. CH₃COOH NaCl NaOH CH₃COCH₃
สาร A B C และ D น่าจะเป็ นสารใดตามลาดับ ข. HCl KMnO₄ CH₃COONa I₂
ก. HCl เอทานอล น้ าตาลทราย KOH ค. NH₄Cl Na₂SO₄ NH₄OH C₁₂H₂₂O₁₁
ข. CH₃COOH น้ าตาลทราย เอทานอล NaOH ง. H₂SO₄ KNO₃ NH₄Cl NH₂CONH₂
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 31/66 หน้า 31
188. จากการทดลอง เมื่อนาสารละลาย A B C และ D ที่มีความเข้มข้นเท่ากันมาทดสอบ สารละลาย บริ สุทธิ์ สารละลายเมื่อ กระดาษลิตมัส
ด้วยกระดาษลิตมัส และการนาไฟฟ้ า ได้ผลดังตาราง เตรี ยมใหม่ ๆ
A₁ 25 35 เกิดแก๊ส เกิดความร้อน น้ าเงิน→แดง
สารละลาย การเปลี่ยนสี กระดาษลิตมัส การนาไฟฟ้ า
A ไม่เปลี่ยนสี สว่างมาก A₂ 25 22 ไม่เห็นการ ไม่เห็นการ ไม่เห็นการ
เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง
B แดง → น้ าเงิน สว่างมาก
A₃ 25 35 สารละลายมีสี เกิดตะกอน ไม่เห็นการ
C ไม่เปลี่ยนสี ไม่สว่าง จางลง เปลี่ยนแปลง
D น้ าเงิน → แดง สว่างเล็กน้อย A₄ 25 22 ไม่เห็นการ เกิดแก๊ส น้ าเงิน→ แดง
เปลี่ยนแปลง
สารละลาย A B C และ D ข้อใดเป็ นไปได้ (ENT-A 49)
สารทั้ง 4 อาจเป็ นสารใดตามลาดับ
ก. KHSO₄ Ca(OH)₂ C₂H₅OH HI ก. HCl NH₄Cl CuSO₄ KNO₃
ข. CaCl₂ Ba(OH)₂ HCN HCOOH ข. HCl KNO₃ CuSO₄ NH₄Cl
ค. NH₄NO₃ NaOH H₂O HF ค. NH₄Cl CuSO₄ KNO₃ HCl
ง. KBr Sr(OH)₂ CH₃OH HNO₂ ง. NH₄Cl KNO₃ CuSO₄ HCl
189. เกลือ X 1 mol ทาปฏิกิริยาพอดีกบั สารละลายของกรด Z 1 mol ได้สารละลายใส ซึ่งถ้า คาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ ใช้ประกอบการตอบคาถามข้อ 191 – 192
นาไประเหยจนแห้งจะได้เกลือ Y เหลืออยู่ เมื่อนาสารละลายใสของเกลือ Y ไปผสมกับ ผสมสารละลายที่มีสาร A และสาร B จนปฏิกิริยาสมบูรณ์ (ไม่มีสาร A และสาร B
สารละลายใสของ BaCl₂ พบว่าเกิดตะกอนสี ขาว เกลือ X Y และ กรด Z อาจเป็ นสาร เหลืออยู)่ เกิดตะกอนสี ขาวของเกลือ C กรองแยกเกลือ C ออกจากสารละลายของเกลือ D
ในข้อใด (ENT’32) และ (ENT’34) เติมกรด HNO₃ ลงบนตะกอน C จะเกิดแก๊ส X เมื่อเติมสารละลาย AgNO₃ ลงใน
สารละลายของเกลือ D จะเกิดตะกอนขาวของเกลือเงิน Y
X Y Z 191. สาร A B C และ D คือสารในข้อใด (ENT’35)
ก. KCl K₂SO₄ H₂SO₄ สาร A สาร B สาร C สาร D
ข. NaBr NaCl HCl ก. Na₂HPO₄ CaCl₂ CaHPO₄ KCl
ค. Ag₂SO₄ AgNO₃ HNO₃ ข. CaSO₄ KBr K₂SO₄ CaBr₂
ง. Na₂CO₃ Na₂SO₄ H₂SO₄ ค. K₂SO₄ CaCl₂ CaSO₄ KCl
ง. CaCl₂ Na₂CO₃ CaCO₃ NaCl
190. เมื่อนา A₁ A₂ A₃ และ A₄ มาทาการทดลองได้ผลดังตาราง (ENT’32)
192. ถ้าแก๊ส X ที่ได้น้ ีมีสมบัติละลายน้ าได้สารละลายที่มีสมบัติเป็ นกรดอ่อนและตะกอน Y
การทดลอง อุณหภูมิน้ า อุณหภูมิของ Zn NaOH การทดสอบ ละลายได้ในสารละลายแอมโมเนีย แก๊ส X และตะกอน Y คือสารในข้อใด (ENT’35)
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 32/66 หน้า 32
X Y D. ของแข็งสี ขาวในข้อ 3 เป็ นเกลือที่ละลายน้ าได้
ก. P₂O₃ AgCl E. ถ้าหยดโบรโมครี ซอลเพอร์เพิลลงในสารละลายที่มี pH เท่ากับ pH ของสารละลาย
ข. CO AgBr ในข้อ 2 จะได้สีม่วง
ค. CO₂ AgCl คาตอบที่ถูกต้องคือ
ง. SO₂ AgBr ก. A B และ C
ข. B C และ E เท่านั้น
ค. A C และ D
ง. B C D และ D
194. สารละลายผสมข้อใดจัดเป็ นสารละลายบัฟเฟอร์ท้ งั คู่ (ENT’40)
สารละลายชนิดที่ 7 สารละลายชนิดที่ .
ก. HCN กับ KCN HNO₃ กับ KNO₃
ข. NaH₂PO₄ กับ Na₂HPO₄ NH₄Cl กับ NH₃
ค. HI กับ BaI₂ NaH₂PO₄ กับ Na₂HPO₄
ง. HBr กับ KBr NaHCO₃ กับ Na₂CO₃
193. นักเรี ยนคนหนึ่งทาการทดลองและได้ผลการทดลองดังนี้ 195. สารละลาย 5 ชนิด มีองค์ประกอบคูห่ นึ่งละลายอยู่ คือ
1. หยดฟี นอล์ฟทาลีนลงในสารละลาย X มีสีแดงเกิดขึ้น I. CH₃COONa และ CH₃COOCH₃
2. หยดสารละลาย Y จากกระบอกฉีดยาลงในสารละลาย Y II. CH3COONa และ CH₃COOH
3. นาสารละลายในข้อ 2 ไประเหยจนแห้งในถ้วยกระเบื้องได้ของแข็งสี ขาว III. NaOH และ NaCl
4. หยดคองโกเรดลงในสารละลาย Y ได้สีน้ าเงิน IV. NH₃ และ (NH₄)₂SO₄
กาหนด V. NH₃ และ NaCN
อินดิเคเตอร์ สี ที่เปลี่ยน ช่วง pH ของการเปลี่ยนสี สารละลายชนิดใดจะมีการเปลี่ยนแปลงค่า pH น้อยมาก เมื่อเติมกรดหรื อเบสลงไป
โบรโมครี ซอลเพอร์เพิล เหลือง – ม่วง 5.2 – 6.8 ก. I และ II
ฟี นอล์ฟทาลีน ไม่มีสี – แดง 8.3 – 10.0 ข. II และ IV
คองโกเรด น้ าเงิน – แดง 3.0 – 5.0 ค. I และ III
ข้อใดต่อไปนี้สอดคล้องกับข้อมูลข้างบน (ENT’ มี.ค. 44) ง. III และ V
A. สารละลายในข้อ 2 มี pH = 9 196. สารละลายในข้อต่อไปนี้ จัดเป็ นสารละลายบัฟเฟอร์ (ENT’27)
B. สารละลาย Y มี [H₃O⁺] = 10⁻³ mol/dm³ ก. HCl เข้มข้น 0.10 mol/dm³ กับ NaCl 5.85 กรัม
C. ปฏิกิริยาในข้อ 2 เป็ นปฏิกิริยาสะเทิน ข. HCN เข้มข้น 0.50 mol/dm³ กับ NaOH เข้มข้น 0.10 mol/dm³ ปริ มาตรเท่ากัน
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 33/66 หน้า 33
ค. HCl เข้มข้น 0.05 mol/dm³ กับ NH₃ เข้มข้น 0.10 mol/dm³ ปริ มาตรเท่ากัน ง. เติม HCl เข้มข้น 0.05 mol/dm³ จานวน 25 cm³ ลงใน NH3 เข้มข้น 0.02 mol/dm³
ง. CH₃COOH เข้มข้น 0.10 mol/dm³ กับ NaOH เข้มข้น 0.10 mol/dm³ ปริ มาตร จานวน 100 cm³
เท่ากัน 201. สารละลายผสมในข้อใดมีค่า pH เปลี่ยนแปลงน้อยที่สุด เมื่อเติมสารละลาย
197. สารละลายในข้อใดต่อไปนี้ จัดเป็ นสารละลายบัฟเฟอร์ (ENT’27) HCl 0.1 mol/dm³ จานวน 0.5 cm³ (ENT’ มี.ค. 44)
ก. 10 cm³ 1.0 mol/dm³ NH₃ + 10 cm³ 1.0 mol/dm³ NH₄NO₃ ก. สารละลาย HCOOH 0.1 mol/dm3 20 cm³ และ NaOH 0.2 mol/dm³ 10 cm³
ข. 10 cm³ 1.0 mol/dm³ H₂S + 10 cm³ 1.0 mol/dm³ Na₂S ข. สารละลาย HI 0.1 mol/dm³ 10 cm³และ KI 0.2 mol/dm³ 10 cm³
ค. 10 cm³ 1.0 mol/dm³ NaOH + 20 cm³ 1.0 mol/dm³ CH3COOH ค. สารละลาย CH₃COOK 0.1 mol/dm³ 20 cm³ และ HCl 0.1 mol/dm³ 10 cm³
ง. 10 cm³ 1.0 mol/dm³ CH₃COOH + 20 cm³ 1.0 mol/dm³ NaCN ง. สารละลาย NH₄Cl 0.2 mol/dm³ 10 cm³ และ HCl 0.1 mol/dm³ 10 cm³
198. สารละลายผสมในข้อใดไม่เป็ นบัฟเฟอร์ (ENT’37) 202. สาร A และ B คู่ใดเมื่อผสมกันได้สารละลายบัฟเฟอร์ (ENT’ ต.ค. 43)
ก. NH₃ 0.01 mol/dm³ 20 cm³ กับ HNO₃ 0.01 mol/dm³ 10 cm³
ข. NH₃ 0.02 mol/dm³ 20 cm³ กับ HCl 0.04 mol/dm³ 10 cm³ สาร A สาร B
ค. CH₃COOH 0.03 mol/dm³ 20 cm³ กับ KOH 0.02 mol/dm³ 20 cm³ ก. CaCO₃ หนัก 07 g HNO₃ 0.1 mol
ง. HF 0.04 mol/dm³ 20 cm³ กับ NaOH 0.04 mol/dm³ 10 cm³ ข. NH4OH 1 mol/dm³ 100 cm³ HCl 0.1 mol
ค. CH₃COOH 0.1 mol NH₄Cl 0.2 mol
199. ข้อความใด ไม่ถูกต้ อง ( PAT – 2 ต.ค. 52 ) ง. H₃PO₄ mol/dm³ 50 cm³ NaOH 1 mol/dm³ 50 cm³
ก. สารละลายผสม HCl 0.10 โมลาร์ และ KCN 0.30 โมลาร์ เป็ นบัฟเฟอร์ 203. จากข้อมูล
ข. สารละลายผสม HF 0.10 โมลาร์ และ NaF 0.30 โมลาร์ ไม่เป็ นบัฟเฟอร์ สารละลาย ปริ มาตร (cm³) ความเข้มข้น (mol/dm³)
ค. สารละลายผสม NH₃ 0.15 โมลาร์ และ NH₄Br 0.35 โมลาร์ มี pH = 8.88 1. CH₃COOH 50 2
ง. CH₃COONa 2.0 โมลาร์ ผสมกับ CH₃COOH 2.0 โมลาร์ เป็ นบัฟเฟอร์ ที่ 2. NaOH 50 1
ดีกว่า CH₃COONa 1.0 โมลาร์ ผสมกับ CH₃COOH 1.0 โมลาร์ 3. HNO₃ 50 2
200. การเตรี ยมสารละลายในข้อใดได้สารละลายบัฟเฟอร์ (ENT’ ต.ค. 42) 4. NaNO₃ 50 2
ก. เติม NaOH เข้มข้น 0.1 mol/dm³ จานวน 100 cm³ ลงใน HCl เข้มข้น
0.1 mol/dm³ จานวน 150 cm³ สารละลายผสมในข้อใดเมื่อเติม HCl 1 x 77⁻⁵ โมลต่อลูกบาศก์เซนติเมตร ลงไปผสม
ข. เติม NaOH เข้มข้น 0.01 mol/dm³ จานวน 100 cm³ ลงใน CH₃COOH เข้มข้น แล้ว pH ของสารละลายไม่เปลี่ยนแปลง (ENT’35)
0.05 mol/dm³ จานวน 20 cm³ ก. สารละลายผสมจากข้อ 1 และ 2
ค. เติม HCl เข้มข้น 0.2 mol/dm³ จานวน 100 cm³ ลงใน NH₃ เข้มข้น 0.02 mol/dm³ ข. สารละลายผสมจากข้อ 2 และ 3
จานวน 200 cm³ ค. สารละลายผสมจากข้อ 2 และ 4
ง. สารละลานผสมจากข้อ 3 และ 4
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 34/66 หน้า 34
204. เมื่อนาสารละลาย HCl เข้มข้น 0.30 โมลาร์ ผสมกับสารละลายเบส NH₃ เข้มข้น ข. โซเดียมไฮโดรเจนฟอสเฟต เข้มข้น 0.02 mol/dm³ จานวน 6 cm³ ผสมกับกรด
0.20 โมลาร์ ที่ปริ มาตรต่าง ๆ ดังตาราง ไฮโดรคลอริ ก เข้มข้น 0.03 mol/dm³ จานวน 9 cm³
ตาราง ปริ มาตรสารละลาย HCl และ NH₃ ที่ผสมกันทั้ง 4 ครั้ง ค. กรดซัลฟิ วริ ก เข้มข้น 0.04 mol/dm³ จานวน 7 cm³ ผสมกับกรดโซเดียมไฮดร
ปริ มาตรสารละลาย (มิลลิลิตร) อกไซด์ เข้มข้น 0.03 mol/dm3 จานวน 8 cm3
HCl เข้มข้น 0.30 โมลาร์ NH₃ เข้มข้น 0.20 โมลาร์ ง. โซเดียมไฮโดรเจนฟซัลเฟต เข้มข้น 0.06 mol/dm3 จานวน 6 cm3 ผสมกับกรด
1. 200 300 โซเดียมไฮดรอกไซด์ เข้มข้น 0.06 mol/dm3 จานวน 6 cm3
2. 200 100 207. พิจารณาสารละลายต่อไปนี้
3. 200 200 1. ละลาย KCl 1 mol และ HCl 1 mol ในน้ าปริ มาตร 1 dm³
4. 100 200 2. ละลาย NaOH 0.5 mol และ CH₃COOH 1 mol ในน้ าปริ มาตร 1 dm³
3. ผสม HCl เข้มข้น 1.00 mol/dm³ ปริ มาตร 40 cm3 กับ KOH เข้มข้น
หลังจากเกิดปฏิกิริยาสมบูรณ์แล้ว ข้อใดได้สารละลายบัฟเฟอร์( PAT – 2 ต.ค. 52 ) 2.00 mol/dm³ ปริ มาตร 20.05 cm³
ก. ข้อ 1 4. ผสม HCl เข้มข้น 1.00 mol/dm³ ปริ มาตร 50 cm³ กับ CH3COONa เข้มข้น
ข. ข้อ 2 1.00 mol/dm³ ปริ มาตร 25 cm³
ค. ข้อ 3 สารละลายผสมในข้อใดเป็ นกรด แต่ไม่ใช่ สารละลาย บัฟเฟอร์ (ENT’ มี.ค. 45)
ง. ข้อ 4 ก. 1 และ 2 เท่านั้น
205. สารละลายในข้อใดต่อไปนี้ ไม่ ใช่ สารละลายบัฟเฟอร์ (ENT’39) ข. 1 และ 4 เท่านั้น
ก. สารละลาย KNO₂ เข้มข้น 0.05 mol/dm³ จานวน 5 cm³ ผสมกับ HNO₂ เข้มข้น ค. 1 2 และ 4
0.05 mol/dm³ จานวน 10 cm³ ง. 2 3 และ 4
ข. สารละลาย HClO₄ เข้มข้น mol/dm³ จานวน 10 cm³ ผสมกับ NaClO เข้มข้น 208. สารละลายบัฟเฟอร์สามารถควบคุมการเปลี่ยนแปลง ความเป็ นกรด – เบสของ
0.05 mol/dm³ จานวน 5 cm³ สารละลายได้ ปฏิกิริยาข้อใดไม่แสดงว่าเป็ นปฏิกิริยาบัฟเฟอร์
ค. สารละลาย C₅H₅N ( Kb เท่ากับ 1.7 x 77⁻⁹) เข้มข้น 0.05 mol/dm³ จานวน ก. CO₃²⁻ + 2 H₃O⁺ ⇄ CO₂ + 2 H₂O
10 cm³ ผสมกับ C₅H₅NHCl เข้มข้น 0.05 mol/dm³ จานวน 5 cm³ ข. NO₃⁻ + H₃O⁺ ⇄ HNO₃ + H₂O
ง. สารละลาย NH₃ เข้มข้น 0.10 mol/dm³ จานวน 5 cm3 ผสมกับ NH₄Cl เข้มข้น ค. H₂PO₄⁻ + H₃O⁺ ⇄ H₃PO₄ + H₂O
0.05 mol/dm³ จานวน 10 cm³ ง. NH₃ + H₃O⁺ ⇄ NH₄⁺ + H₂O
206. สารละลายผสมในข้อใดจัดเป็ นสารละลายบัฟเฟอร์ (ENT’38) 209. พิจารณาข้อมูลการเปลี่ยนแปลง pH เมื่อเติม HCl และ NaOH ปริ มาณเล็กน้อยลงไป
ก. กรดฟอฟอริ ก เข้มข้น 0.07 mol/dm³ จานวน 5 cm³ ผสมกับไดโซเดียม ในสารละลาย A B และ C
ไฮโดรเจนฟอสเฟต เข้มข้น 0 .06 mol/dm³ จานวน 7 cm³ สารที่นามาทดสอบ pH
1. สารละลาย A ( 100 cm³ ) 7
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 35/66 หน้า 35
2. สารละลาย A ( 100 cm³ ) + 0.001 mole HCl 2 เปลี่ยนสี
3. สารละลาย A ( 100 cm³ ) + 0.001 mole NaOH 12 สี ที่เปลี่ยน แดง — เหลือง แดง — เหลือง เหลือง — น้ าเงิน
4. สารละลาย B ( 100 cm³) 4.76 น้ ากลัน่ เหลือง เหลือง เขียว
5. สารละลาย B ( 100 cm³ ) + 0.001 mole HCl 4.67 บัฟเฟอร์ แดงอมส้ม แดง เหลือง
6. สารละลาย B ( 100 cm³ ) + 0.001 mole NaOH 4.85
7. สารละลาย C ( 100 cm³ ) 9.20 ถ้าหยดสารละลาย HCl เข้มข้น 0.10 mol/dm³ จานวน 2 หยด ( 20 หยด = 1 cm³)
8. สารละลาย C ( 100 cm³ ) + 0.001 mole HCl 9.10 ลงในน้ ากลัน่ 1 dm³ และสารละลายบัฟเฟอร์ 1 dm³ แล้วแบ่งสารละลายที่ได้แต่
9. สารละลาย C ( 100 cm³ ) + 0.001 mole NaOH 9.29 ละชนิดใส่ในหลอดทดลองชนิดละ 3 หลอด นามาทดสอบกับอินดิเคเตอร์ท้ งั 3 ชนิด
จะเห็นสี ของอินดิเคเตอร์เป็ นอย่างไร
สารละลาย A B และ C น่าจะเป็ นสารละลายใด ตามลาดับ
ก. H₂O CH₃COOH/CH₃COONa NaOH น้ ากลัน่ + HCl 2 หยด บัฟเฟอร์ + HCl 2 หยด
ข. KCl H₃PO₄/NaH₂PO₄ NH₃ A B C A B C
ค. H₂O CH₃COOH/CH₃COONa NH₃/NH₄Cl ก. เหลือง ส้ม เหลือง แดงอมส้ม แดง เหลือง
ง. NaCl NH₃/ NH₄Cl CH₃COOH/CH₃COONa ข. เหลือง เหลือง เขียว แดงอมส้ม แดง เหลือง
ค. เหลือง ส้ม เหลือง เหลือง เหลือง เขียว
ง. เหลือง เหลือง เขียว เหลือง เหลือง เขียว
210. เมื่อผสมสารละลาย CH₃COOH 0.03 mol/dm³ กับสารละลาย CH₃COONa 212. ไอออนที่ช่วยรักษาดุลของกรดและเบสในร่ างกายคือไอออนข้อใด
0.03 mol/dm³ อย่างละ 5 cm³ ใส่ในหลอดที่ 1 ส่วนหลอดที่ 6 ใส่น้ ากลัน่ 10 cm³ ก. Cl⁻
เมื่อเติมสารละลาย NaOH 0.1 mol/dm³ จานวน 2 หยดลงในหลอดทดลองทั้งสอง ข. HCO₃⁻
pH ของสารละลายในหลอดทั้งสองเปลี่ยนแปลงอย่างใด ค. NH₄⁺
ก. หลอดที่ 1 ลดลง หลอดที่ 2 ลดลง ง. Fe²⁺
ข. หลอดที่ 1 คงที่ หลอดที่ 2 เพิ่มขึ้น 213. สารละลายบัฟเฟอร์ปริ มาตร 1 dm³ ได้จากการผสมสารละลาย 0.10 mol/dm³
ค. หลอดที่ 1 คงที่ หลอดที่ 2 ลดลง HCOOH กับสารละลาย 0.10 mol/dm³ HCOONa สามารถควบคุม pH ของ
ง. หลอดที่ 1 ลดลง หลอดที่ 2 เพิ่มขึ้น สารละลาย 0.10 mol/dm³ KOH ลงไป 1.0 cm³ เพราะ
211. เมื่อหยดอินดิเคเตอร์ลงในน้ ากลัน่ และในสารละลายบัฟเฟอร์ชนิดหนึ่งได้ผลดังนี้ ก. OH⁻ ไอออนถูกสะเทินด้วย H⁺ ไอออนในสารละลายบัฟเฟอร์
ข. OH⁻ ไอออนไปรวมกับ Na⁺ ไอออน
อินดิเคเตอร์ A. B. C. ค. OH⁻ ไอออนถูกทาให้เจือจาง
pH ที่อินดิเคเตอร์ 3.1 — 4.4 4.2 — 6.3 6.0 — 7.6 ง. KOH ที่เติมลงไปน้อยมาก
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 36/66 หน้า 36
214. กรดเบนโซอิก ( C₆H₅COOH ) มีค่า Ka ต่า ถ้าเติมสารละลายกรดไฮโดรคลอริ กเพียง 4. คู่เบสของสารละลายบัฟเฟอร์ A และ B คือ H₃PO₄ และ H₂PO₄⁻
เล็กน้อยลงในของผสมระหว่างกรดเบนโซอิกและโซเดียมเบนโซเอต ข้อใด ถูกต้อง ตามลาดับ
ก. ปริ มาณของเบนโซเอต ไอออนลดลง และค่า pH เปลี่ยนแปลงมาก ข้อสรุ ปที่ถูกคือข้อใด
ข. ปริ มาณของเบนโซเอต ไอออนเพิม่ ขึ้น และค่า pH คงที่ ก. 1 และ 3 เท่านั้น
ค. ปริ มาณของเบนโซเอต ไอออนพิ่มขึ้น และค่า pH เปลี่ยนแปลงเล็กน้อย ข. 2 และ 4 เท่านั้น
ง. ปริ มาณของเบนโซเอต ไอออนลดลง และค่า pH เปลี่ยนแปลงเล็กน้อย ค. 1 2 และ 3
215. กาหนดปฏิกิริยา ง. 1 2 และ 4
1. HPO₄²⁻ + H₃O⁺ ⇄ H₂PO₄⁻ + H₂O 217. เมื่อผสมสารละลาย CH₃COOH 0.20 mol/dm³ จานวน 10 cm³ และ สารละลาย
2. H₂PO₄⁻ + OH⁻ ⇄ HPO₄²⁻ + H₂O NaOH 0.10 mol/dm³ จานวน 10 cm³ เข้าด้วนกัน สารละลายที่ได้จะเป็ น
3. HPO₄²⁻ + OH⁻ ⇄ PO₄³⁻ + H₂O สารละลายที่มีสมบัติอย่างไร
4. H₂PO₄⁻ + H₃O⁺ ⇄ H₃PO₄ + H₂O ก. สารละลายบัฟเฟอร์ ที่มี pH ต่ากว่า 7
เมื่อเติมสารละลายกรดเจือจางหรื อเบสเจือจาง 2 หยด ลงไปในสารละลายผสมที่มี ข. สารละลายบัฟเฟอร์ ที่มี pH สูงกว่า 7
Na₂HPO₄ และ NaH₂PO₄ ละลายอยูป่ ฏิกิริยาที่เกิดขึ้นที่ทาให้ pH ของสารละลายไม่ ค. สารละลาย ที่มี pH เท่ากับ 7
เปลี่ยนแปลงคือข้อใด ง. สารละลายที่ประกอบด้วยเกลือ CH₃COONa เพียงอย่างเดียว
ก. 1 และ 2 ข. 1 และ 3
ค. 2 และ 4 ง. 3 และ 4
216. กาหนดสารละลายบัฟเฟอร์ A และ B ดังแสดงในตาราง 218. ถ้าต้องการเตรี ยมสารละลายบัฟเฟอร์ ให้มี pH ประมาณ 9 ควรใช้สารผสมคูใ่ ด
ก. NH₄NO₃ + NH₃
สารละลายบัฟเฟอร์ องค์ประกอบ ข. NaOAc + HOAc
A H₃PO₄/ NaH₂PO₄ ค. NaHCO₃ + Na₂CO₃
B NaH₂PO₄ / Na₂HPO₄ ง. NH₄OH + NaOH
219. ถ้าใช้สารละลายต่อไปนี้ ความเข้มข้นและปริ มาณเท่ากัน เมื่อผสมกันคู่ใดได้สารละลาย
1. เมื่อเติม HCl ปริ มาณเล็กน้อยลงใน A H⁺ จาก HCl จะทาปฏิกิริยากับ บัฟเฟอร์ที่มี pH > 7
H₂PO₄⁻ ก. NaOH และ HCOOH
2. เมื่อเติม NaOH ปริ มาณเล็กน้อยลงใน B OH⁻ จาก NaOH จะทาปฏิกิริยากับ ข. NH₃ และ NH₄Cl
H₂PO₄⁻ ค. Mg(OH)₂ และ HNO₃
3. คู่เบสของสารละลายบัฟเฟอร์ A และ B คือ H₂PO₄⁻ และ HPO₄²⁻ ง. CH₃COONa และ CH₃COOH
ตามลาดับ
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 37/66 หน้า 37
220. เมื่อผสมสารละลาย HCl เข้มข้น 0.10 mol/dm³ จานวน 10.0 cm³ เข้ากับ ข. 7.2
สารละลาย NH₄OH เข้มข้น 0.05 mol/dm³ จานวน 40.0 cm³ สารละลายผสม ค. 8.5
ที่ได้จะมีสมบัติอย่างไร( NH4OH มี Kb = 1.8 x 10⁻⁵ , log 1.8 = 0.2553 ) ง. 9.3
ก. สารละลายเบส ที่มี pH > 7 224. ในการเตรี ยมสารละลายบัฟเฟอร์ CH₃COOH 100 cm³ และ CH₃COONa 100 cm³
ข. สารละลายบัฟเฟอร์ ที่มี pH < 7 โดยใช้สารละลาย CH₃COOH และ CH₃COONa ที่มีความแตกต่างกัน ดัง
ค. เปลี่ยนสี เมื่อใช้โบรโมไทมอลบลูทดสอบจากสี น้ าเงินเป็ นสี เหลือง แสดงในตาราง
ง. ไม่เปลี่ยนสี ของกระดาษลิตมัสสีแดง
221. สารละลายคู่กรดเบนโซอิกและโซเดียมเบนโซเอต 10 cm³ มี pH เท่าไร ถ้าความ สารละลายบัฟเฟอร์ [ CH₃COOH ] , mol/dm³ [ CH3COONa ] , mol/dm³
เข้มข้นของกรดเบนโซอิกเป็ น 2 เท่า ของโซเดียมเบนโซเอต เมื่อปริ มาณเท่ากัน A 0.01 0.01
( Ka ของกรดเบนโซอิก = 5.0 x 10⁻⁵ ) B 0.10 0.01
ก. 1 C 0.10 0.10
ข. 4 D 0.10 1.00
ค. 5
ง. 6 กาหนดให้ Ka ของ CH₃COOH = 1.8 x 10⁻⁵
pKa ของ CH₃COOH = 4.77

222. สารละลายบัฟเฟอร์ ที่ประกอบด้วยกรดฟอร์มมิกและโพแทสเซียมฟอร์มเมตมี pH การเปรี ยบเทียบค่า pH ของสารละลายบัฟเฟอร์ที่เตรี ยมได้ ข้อใด ถูกต้อง


เท่ากับ 4 อัตราส่วนระหว่างความเข้มข้นของเกลือ : กรด ควรมีค่าประมาณเท่าใด ก. สารละลายบัฟเฟอร์ที่มี pH สูงสุดคือ B
ก. 0.36 x 10⁻⁴ ข. สารละลายบัฟเฟอร์ที่มี pH ต่าสุดคือ B
ข. 0.55 ค. pH ของสารละลาย C สูงกว่า pH ของสารละลาย D
ค. 1.1 ง. pH ของสารละลาย C เท่ากับ pH ของสารละลาย A
ง. 1.8 225. ถ้าต้องการเตรี ยมสารละลายบัฟเฟอร์ pH = 8 ปริ มาตร 40 cm³ จากเบสอ่อน
223. HCN เป็ นกรดอ่อน มีค่า Ka = 5.0 x 10⁻¹⁰ สารละลายกรด HCN จานวน 0.005 โมล 0.05 mol/dm³ ปริ มาตร 20 cm³ ผสมกับเกลือของเบสนั้น 5.0 กรัม ในสารละลาย
ในน้ า 0.5 ลิตร มีการแตกตัวและเกิดสมดุลของกรดอ่อน ดังสมการ 20 cm³ มวลโมเลกุลของเกลือของเบสที่ใช้จะต้องเป็ นเท่าใด
HCN(aq) + H₂O(l) ⇄ H₃O⁺(l) + CN⁻(aq) [ กาหนดให้ Kb ของเบสอ่อนเท่ากับ 1.0 x 10⁻⁶ ]
ในขณะที่กาลังสมดุลเติมเกลือ KCN ลงไป 0.005 โมล จะได้สารละลายมี pH เท่าใด
(PAT – ก.ค. 53 )
ก. 6.8
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 38/66 หน้า 38
2. [𝐻𝐶𝑂₃− ] เพิ่มขึ้น
[𝐻₂𝐶𝑂₃]

3. [𝐻₂𝑃𝑂₄⁻ ] ลดลง
[𝐻𝑃𝑂₄⁻]

4. [𝐻₂𝑃𝑂₄⁻ ] เพิ่มขึ้น
[𝐻𝑃𝑂₄⁻]

226. นาสารละลายกรดอ่อน HA เข้มข้น 0.10 mol/dm³ ปริ มาตร 25.00 cm³ มาเติม อัตราส่วนที่เปลี่ยนแปลงไป ข้อใดถูกต้อง
สารละลาย KOH เข้มข้น 0.15 mol/dm³ ปริ มาตร10.00 cm³ พบว่าสารละลายที่ได้ ก. 1 และ 3
มี pH = 4.0 ค่า Ka ของกรดอ่อน HA มีค่าเท่าใด (ENT – A 50 ) ข. 1 และ 4
ก. 6.42 x 10⁻⁵ ค. 2 และ 3
ข. 6.53 x 10⁻⁵ ง. 2 และ 4
ค. 6.67 x 10⁻⁵ 229. pH ของสารละลาย HCl เข้มข้น 1.8 x 10⁻⁵ mole/dm³ จะเท่ากับ pH ของ
ง. 6.74 x 10⁻⁵ สารละลายในข้อใด
จ. ก. H₂SO₄ เข้มข้น 1.8 x 10⁻⁵ mole/dm³ H₂SO₄ แตกตัว 100 %
ข. HNO₃ เข้มข้น 0.9 x 10⁻⁵ mole/dm³ HNO3 แตกตัว 100 %
ค. H₂CO₃ เข้มข้น 1.8 x 10⁻⁵ mole/dm³ Ka ของ H₂CO₃ = 4.4 x 10⁻⁷
ง. CH₃COOH เข้มข้น 0.1 mole/dm³ ผสมอยูก่ บั CH₃COOH เข้มข้น 0.1 mole/dm³
227. ไทเทรตสารละลายกรดแอซิติก(CH₃COOH) เข้มข้น 0.20 โมลาร์ ปริ มาตร Ka ของ CH3COOH = 1.8 x 10⁻⁵
15.00 มิลลิลิตร ด้วยสารละลาย NaOH เข้มข้น 0.10 โมลาร์ ปริ มาตร 230. สารละลายใดต่อไปนี้ที่มีpH เท่ากับสารละลายที่มี [H₃O⁺] เข้มข้น 1.8 x 10⁻⁹ mole/dm³
20.00 มิลลิลิตร สารละลายผสมที่ได้ควรเป็ นข้อใด ( PAT-2 มี.ค.53) ก. สารละลายของกรดอ่อน HA เข้มข้น 0.01 mole/dm³ Ka = 1.0 x 10⁻⁶
ก. สารละลายกรด pH = 3.150 ข. สารละลายของเบสอ่อน BX เข้มข้น 1.00 mole/dm³ Kb ของ BOH = 1.0 x 10⁻⁵
ข. สารละลายบัฟเฟอร์ pH = 4.921 ค. สารละลาย KOH เข้มข้น 1.00 x 10⁻⁴ mole/dm³
ค. สารละลายบัฟเฟอร์ pH = 5.046 ง. สารละลายผสมของเบสอ่อน BOH และเกลือของเบสนี้ BX และBOH เข้มข้น
ง. สารละลายเบส pH = 3.150 อย่างละ 1.00 mole/dm³ Kb ของ BOH = 1.0 x 10⁻⁵
228. นักวิง่ มาราธอนตรวจวัด pH ในเลือดก่อนวิง่ ได้เป็ น 7.4 เมื่อวิง่ แข่งเสร็จได้ค่า pH เป็ น 231. จากข้อมูลต่อไปนี้
7.1 ถ้า pH ของเลือดถูกควบคุมด้วยความเข้มข้นของ H₂CO₃/HCO₃⁻ และ อินดิเคเตอร์ ช่อง pH ที่เปลี่ยนสี สี ที่เปลี่ยน สี ของสารละลายตัวอย่าง
H₂PO₄⁻/ HPO₄²⁻ เมทิลออเรนจ์ 3.2 — 4.4 แดง — เหลือง เหลือง
1. [𝐻𝐶𝑂₃− ]
ลดลง คองโกเรด 3.0 — 5.0 น้ าเงิน — แดง แดง
[𝐻₂𝐶𝑂₃]
ฟี นอลเรด 6.8 — 8.4 เหลือง — แดง เหลือง

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 39/66 หน้า 39
พิจารณาสารละลายต่อไปนี้ 234. การปิ เปตต์แบบใช้ตวง(graduated pipette หรื อ measuring pipette) (มีปริ มาตรวัดละเอียด
1. สารละลาย H₂SO₄ เข้มข้น 2.0 x 10⁻⁶ mole/dm³ 0.1 มิลิลิตรอยูข่ า้ งปิ เปต) เพื่อถายสารปริ มาตร 5.0 มิลิลิตร ควรทาตามข้อใด จึงจะ
2. สารละลาย HA 0.1 mole/dm³ ผสมอยูก่ บั NaA 0.1 mole/dm³ เหมาะสมที่สุด (PAT- 2 ต.ค. 53)
Ka ของ HA = 5.0 x 10⁻⁵ ก. ดูดสารเข้าไปในปิ เปต 5 มิลิลิตร แล้วปล่อยออกจนหมดพ่นสารที่เหลือค้างที่
3. สารละลาย ที่มีแก๊ส HCl ที่ 27 C จานวน 0.001 โมล ละลายน้ า 50 dm3 ปลายปิ เปตออกด้วยลูกยาง
สารละลายในข้อใดเปลี่ยนสี อินดิเคเตอร์เช่นเดียวกับสารละลายตัวอย่าง ข. ดูดสารเข้าไปในปิ เปต 10 มิลิลิตร แล้วปล่อยออก 5 มิลิลิตร
( กาหนด log 2 = 0.3 log 5 = 0.7 ) ค. ดูดสารเข้าไปในปิ เปต 5 มิลิลิตร แล้วปล่อยออกจนหมด
ก. 1 เท่านั้น ง. ไม่ควรใช้ปิเปตนี้ 5 มิลิลิตร ควรเปลี่ยนไปใช้ปิเปตขนาน 5 มิลิลิตรแทน
ข. 2 เท่านั้น 235. อุปกรณ์ในข้อใดมีความแม่นยาในการวัดปริ มาณสารน้อยที่สุด(PAT- 2 ต.ค. 53)
ค. 1 และ 2 เท่านั้น ก. บิวเรตขนาน 50 มิลิลิตร
ง. 1 2 และ 3 เท่านั้น ข. ขวดวัดปริ มาตรขนาน 100 มิลิลิตร
232. สารละลายในข้อใดมี pH สูงสุด ค. เครื่ องชัง่ สารแบบทศนิยม 3 ตาแหน่ง
ก. BOH 0.02 mole/dm³ Kb ของ BOH = 5.0 x 10⁻⁷ ง. ปิ เปตแบบกระเปาะ (volumetric pipette) ขนาด 25 มิลิลิตร
ข. NH₃ เข้มข้น 0.1 mole/dm³ 250 cm³ ผสมอยูก่ บั HCl
เข้มข้น 0.1 mole/dm³ 5 cm³ Kb ของ NH₃ = 2.0 x 10⁻⁵
ค. Na₂SO₄ 2 กรัม ในน้ า 100 cm³ Kb ของ SO₄²⁻= 9.8 x 10⁻¹³
ง. NaCN 10 ⁻³ mole/dm³ Kb ของ CN⁻ = 2.5 x 10⁻⁵
233. ถ้าผสมกรดและเกลือที่มีความเข้มข้นและปริ มาตรเท่ากัน กาหนดให้
Ka ของ HF = 6.8 x 10⁻⁴ 236. สารที่เหมาะสมกับการเตรี ยมเตรี ยมเป็ นสารละลายมาตรฐานสาหรับการไทเทรต
Ka ของ C₆H₅COOH = 6.6 x 10⁻⁵ กรด – เบส ควรมีสมบัติดงั นี้ยกเว้น (PAT- 2 ต.ค. 53)
Ka ของ CH₃COOH = 1.8 x 10⁻⁵ ก. ไม่ดูดความชื้น
Ka ของ HNO₂ = 5.1 x 10⁻⁴ ข. มีน้ าหนักโมเลกุลสูง
สารละลายคู่ใดมี pH สูงสุด ค. เป็ นกรด หรื อ เบส
ก. HF NaF ง. เสถียร ไม่สลายตัวง่าย
ข. CH₃COOH CH₃COONa 237. การกระทาในข้อใดก่อให้เกิดความผิดพลาดจากการไทเทรตระหว่างกรด-เบสแก่ ที่มี
ค. C₆H₅COOH C₆H₅COONa ความเข้มข้นชนิดละประมาณ 1 โมลาร์ น้ อยทีส่ ุ ด (PAT- 2 ต.ค. 53)
ง. HNO₂ NaNO₂ ก. ใส่อินดิเคเตอร์ปริ มาณมากๆ เพื่อให้เห็นจุดยุติชดั ๆ
ข. ชะสารละลายที่อาจติดอยูข่ า้ งขวดรู ปกรวยลงไปด้วยน้ ากลัน่

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 40/66 หน้า 40
ค. ใช้ขวดรู ปกรวยขนาด 50 มิลลิลิตร เพื่อไทเทรตสารตัวอย่าง 20 มิลลิลิตร 1. น้ าส้มสายชูแท้ NaOH A.
ง. ปล่อยสารมาตรฐานลงจากบิวเรตอย่างรวดเร็ วในการไทเทรตสารตัวอย่าง 2. น้ าส้มสายชูแท้ NaOH B.
20 มิลลิลิตร 3. NaOH น้ าส้มสายชูแท้ C.
238. เมื่อสารละลายกรดแก่หกรดมือ ควรทาอย่างไรจึงเหมาะสมที่สุด (PAT- 2 ต.ค. 53) 4. NaOH น้ าส้มสายชูแท้ D.
ก. ใช้ผา้ ชุบน้ าเช็ดออก
ข. ล้างด้วยน้ าเปล่าปริ มาณมากๆ ในการหาปริ มาณของกรดแอซีติกได้ ถูกต้อง ควรเป็ นการทดลองใด
ค. สะเทินฤทธิ์ดว้ ยสารละลายเบส แล้วล้างด้วยน้ าเปล่าอีกเล็กน้อย ก. 1 และ 2
ง. ใช้กระดาษทิชชูซบั กรดออกก่อน แล้วจึงล้างด้วยด้วยน้ าเปล่าอีกครั้ง ข. 3 และ 4
239. หากนักเรี ยนทาตะเกียงแอลกอฮอล์ที่มีไฟติดอยูห่ กบนโต๊ะทดลอง นักเรี ยนควรปฏิบตั ฺ ค. 2
อย่างไร (PAT- 2 ต.ค. 53) ง. 4
ก. หาน้ ามาดับไฟบนโต๊ะ 241. ข้อใดเป็ นการทดลองที่เหมาะสมที่สุดในการหาเปอร์เซ็นต์ของกรดแอสคอร์บิกที่มีอยูใ่ น
ข. ช่วยกันเปล่าไฟให้ดบั วิตามินซีที่ขายตามในท้องตลาด
ค. เอาผ้าชุบน้ าคลุมบริ เวณที่ไฟติด ก. นาวิตามินซีมาละลายน้ า ใส่ขวดรู ปกรวย หยดฟี นอล์ฟทาลีน 2 หยด ไข
ง. เปิ ดหน้าต่างให้อากาศถ่ายเทได้ดีข้ ึน สารละลายมาตรฐาน NaOH จากบิวเรตต์ พร้อมเขย่าสารละลาย จนกระทัง่
สารละลายเป็ นสี ชมพู อ่านปริ มาตร NaOH ที่ใช้
ข. ชัง่ วิตามินซีมาละลายน้ า ใส่ขวดรู ปกรวย หยดฟี นอล์ฟทาลีน 2 หยด ไข
สารละลายมาตรฐาน NaOH จากบิวเรตต์ พร้อมเขย่าสารละลาย จนกระทัง่
สารละลายเป็ นสี ชมพู อ่านปริ มาตร NaOH ที่ใช้
ข้อมูลต่อไปนี้ ใช้ประกอบการตอบ คาถาม ค. ชัง่ วิตามินซีมาละลายน้ า ใส่ขวดรู ปกรวย หยดฟี นอล์ฟทาลีน 2 หยด ใส่
สารละลายมาตรฐาน NaOH จากกระบอกฉี ดยา พร้อมเขย่าสารละลาย จนกระทัง่
อินดิเคเตอร์ ช่อง pH ที่เปลี่ยนสี การเปลี่ยนสี สารละลายเป็ นสี ชมพู อ่านปริ มาตร NaOH ที่ใช้
A 6.0 — 7.6 น้ าเงิน — เหลือง ง. ชัง่ วิตามินซีมาละลายน้ า ใส่ขวดรู ปกรวย หยดฟี นอล์ฟทาลีน 2 หยด ใส่
B 8.3 — 10.4 ไม่มีสี — แดง สารละลายมาตรฐาน NaOH จากบิวเรตต์ พร้อมเขย่าสารละลาย จนกระทัง่
C 6.7 — 8.3 เหลือง — แดง สารละลายไม่มีสี อ่านปริ มาตร NaOH ที่ใช้
242. จากข้อมูลต่อไปนี้
240. ในการหาปริ มาณของกรดแอซีติกในน้ าส้มสายชูแท้ โดยการนามาติเตรตกับสารละลาย
NaOH เข้มข้น 0.01 mole/dm³ pH ที่จุดสะเทิน เท่ากับ 8.7 อินดิเคเตอร์ ช่อง pH ที่เปลี่ยนสี การเปลี่ยนสี
การทดลอง สารละลายบรรจุในบิวเรตต์ สารละลายบรรจุในขวดรู ปกรวย อินดิเคเตอร์ A 8.1 — 9.7 เหลือง — น้ าเงิน
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 41/66 หน้า 41
B 4.4 — 6.0 แดง — เหลือง ข้อใดถูกต้อง
ก. ถ้าใช้สีที่สกัดจากดาวเรื องเหลือง หลังจากเกินจุดยุติแล้ว สารละลายจะมีสีเหลือง
ในการไทเทรตสารละลาย NH₃ ที่ไม่ทราบความเข้มข้น 25.0 cm³ ด้วยสารละลาย ข. ถ้าใช้ NaOH เข้มข้น 1.0 mole/dm³ ปริ มาตร 10.0 cm3 ไทเทรตกับ HCl
HCl เข้มข้น 0.10 mole/dm³ ที่จุดยุติใช้สารละลาย HCl 25.0 cm³ การเลือกอินดิเค เข้มข้น 0.10 mole/dm³ ไม่ควรใช้สีที่สกัดจากชบาซ้อนเป็ นอินดิเคเตอร์
เตอร์ที่เหมาะสมที่สุดในการไทเทรตและการเปลี่ยนสี ของอินดิเคเตอร์ที่จุดยุติ ค. ถ้าใช้ NaOH เข้มข้น 0.01 mole/dm³ ปริ มาตร 50.0 cm3 ไทเทรตกับ HCl
ข้อใดถูกต้อง เข้มข้น 1.00 mole/dm³ ควรใช้สีที่สกัดจากดอกกระเจี๊ยบเป็ นอินดิเคเตอร์
( log 5 = 0.7 , log 7 = 0.8 , Ka ของ NH₄⁺ = 5.0 x 10⁻¹⁰ , Kb ของ NH₃ = 5.0 x 10⁻⁵ ) ง. ถ้าใช้ NaOH เข้มข้น 0.01 mole/dm³ ปริ มาตร 20.0 cm3 ไทเทรตกับ HCl
อินดิเคเตอร์ การเปลี่ยนสี เข้มข้น 0.01 mole/dm³ ควรใช้สีที่สกัดจากทองกวาวเป็ นอินดิเคเตอร์
ก. A เหลือง → น้ าเงิน 244. กาหนดตารางแสดงช่วง pH ของอินดิเคเตอร์ 4 ชนิด
ข. A น้ าเงิน → เหลือง อินดิเคเตอร์ ช่อง pH ที่เปลี่ยนสี การเปลี่ยนสี
ค. B แดง → เหลือง เมทิลออเรนจ์ 3.1 — 4.4 แดง — เหลือง
ง. B เหลือง → แดง เมทิลเรด 4.4 — 6.0 แดง — เหลือง
ฟี นอลเรด 6.7 — 8.3 เหลือง — น้ าเงิน
ฟี นอล์ฟทาลีน 8.3 — 10.4 ไม่มีสี — แดง

ในการไทเทรตสารละลาย NaOH เข้มข้น 0.20 mole/dm³ จานวน 50 cm³ ด้วย


สารละลาย HCl เข้มข้น 0.10 mole/dm³ ถ้าใช้อินดิเคเตอร์ชนิดต่างๆ สี ของ
สารละลายจะเปลี่ยนแปลงอย่างไร เมื่อหยดสารละลาย HCl ปริ มาตรต่างกัน
243. ในการไทเทรตสารละลาย NaOH ด้วย HCl สี ของสารละลายเมื่อหยดสารละลาย HCl เข้มข้น 0.10 mole/dm³
50 cm³ 100 cm³ 150 cm³
ชนิดของพืชที่นมาสกัด ช่อง pH ที่เปลี่ยนสี สี ที่เปลี่ยน ก. เหลือง ส้ม แดง
อัญชัน 7— 3 แดง → ม่วง ข. แดง ส้ม เหลือง
ดอกกระเจี๊ยบ 6— 7 แดง → เขียว ค. แดง ส้ม เหลือง
ชบาซ้อน 7— 8 แดง → เขียว ง. ไม่มีสี ชมพูอ่อน แดง
ดาวเรื องเหลือง 9 — 10 ไม่มีสี → เหลือง 245. ในการไทเทรตระหว่างสารละลาย กรดแอซีติก และสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์
กล้อยไม้ 10 — 11 ไม่มีสี → เหลือง เมื่อถึงจุดยุติจะได้ สารละลายซึ่งมี pH เท่ากับเท่าใด
ทองกวาว 11 — 12 เหลืองเขียว → แดง ก. pH เท่ากับ 7
ข. pH มากกว่า 7
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 42/66 หน้า 42
ค. pH น้อยกว่า 7 ก. 4 เท่านั้น
ง. pH น้อยกว่าหรื อเท่ากับ 7 ข. 1 และ 3
246. ที่จุดสะเทินของการไทเทรตระหว่างสารละลายแอมโมเนียมกับกรดเปอร์คลอริ ก ค. 2 และ 4
( HClO₄) ได้สารละลายที่มีสมบัติเป็ น ง. 1 2 และ 3
ก. กลาง 249. ในการไทเทรตกรดอ่อน HA และ HB เข้มข้น 0.100 mole/dm³ เท่ากันด้วย NaOH
ข. กรดอ่อน เข้มข้น 0.100 mole/dm³
ค. กรดแก่
ง. ด่างแก่ กรด Ka pH ที่จุดเริ่ มต้น pH ที่จุดยุติ
247. เมื่อกรดแอซีติกเป็ นกรดอ่อนและกรดไฮโดรคลอริ กเป็ นกรดแก่ ข้อความใดต่อไปนี้ ไม่ HA 1.0 x 10⁻⁵ a X
ถูกต้อง HB 1.0 x 10⁻¹⁰ b y
ก. ค่า pH ของ 0.10 mole/dm³ กรดไฮโดรคลอริ ก มีค่าน้อยกว่าค่า pH ของ
0.10 mole/dm³ กรดแอซีติก การเปรี ยบเทียบ pH ของสารละลายในข้อใด ถูกต้อง ( ENT ต.ค. 45 , มี. ค. 47)
ข. ค่าคงที่ของการแตกตัวของกรดแอซีติกน้อยกว่าค่าคงที่ของการแตกตัวของกรด ก. a < b x< y
ไฮโดรคลอริ ก ข. a < b x> y
ค. ต้องใช้ปริ มาตรของ 0.10 mole/dm³ NaOH ในการสะเทิน 0.10 mole/dm³ ค. a > b x< y
HCl มากกว่า ในการสะเทิน 0.10 mole/dm³ ของ 0.10 mole/dm³ กรดแอซีติก ง. a > b x< y
ง. ค่า pH ของการสะเทิน 0.10 mole/dm³ NaOH กับ 0.10 mole/dm³ HCl มี
ค่าน้อยกว่า ในการสะเทิน 0.10 mole/dm³ของ 0.10 mole/dm³ ของกรดแอซีติก
248. เปรี ยบเทียบกรด 2 ชนิด คือ กรดเอทาโนอิก ( Ka = 1.8 x 10⁻⁵ ) และกรดไฮโดร 250. กราฟในข้อใดแสดงการเปลี่ยนแปลงค่า pH ของสารละลายที่ได้จากการไทเทรต
คลอริ ก ได้ขอ้ สรุ ปดังนี้ สารละลายกรดแอซีติกกับโซเดียมไฮดรอกไซด์ โดยการเติมโซเดียมไฮดรอกไซด์ลงใน
1. สารละลาย 0.1 M HCl มี pH ประมาณ 2 สารละลายกรดแอซีติก
2. สารละลายที่ประกอบด้าย 0.1 โมล กรดเอทาโนอิก และ 0.1 โมล โซเดียมเอทา
โนเอทาโนเอทจัดเป็ นสารละลายบัฟเฟอร์ที่ดี pH
3. สารละลาย 0.1 M HCl มี pH น้อยกว่าสารละลาย 0.1 M กรดเอทาโนอิก
4. สารละลายที่เตรี ยมจากโซเดียมไฮโดรดรอกไซด์ และกรดไฮโดรคลอริ กที่มีจานวน ก. ปริ มาตร NaOH ที่เติม
โมลเท่ากันจะมี pH สูงกว่าสารละลายที่เตรี ยมจากโซเดียมไฮโดรดรอกไซด์ และ
pH
กรดเอทาโนอิกที่มีจานวนโมลเท่ากัน
ข้อสรุ ปใดถูกต้อง ข. ปริ มาตร NaOH ที่เติม
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 43/66 หน้า 43
ก. ปริ มาตร HCl ที่เติม
pH
pH
ค. ปริ มาตร NaOH ที่เติม
ข. ปริ มาตร HCl ที่เติม
pH

ง. ปริ มาตร NaOH ที่เติม pH

ค. ปริ มาตร HCl ที่เติม

pH

ง. ปริ มาตร HCl ที่เติม

252. นาสารละลาย Na₂CO₃ เข้มข้น 0.01 mole/dm³ ปริ มาตร 10 cm³ มาไทเทรตกับ
สารละลาย HCl เข้มข้นเท่ากัน โดยใช้อินดิเคเตอร์ผสม A และ B ซึ่งมีช่วงการเปลี่ยน
251. กาหนดให้
สี ในช่วง pH ดังนี้
เบสอ่อน Kb
B₁ 2.0 x 10⁻⁵
อินดิเคเตอร์ ช่วง pH ที่มีการเปลี่ยนสี
B₂ 2.2 x 10⁻⁷
A 3.8(เหลือง) - 5.4(น้ าเงิน)
B₃ 2.4 x 10⁻⁹
B 8.3(ไม่มีสี) – 10.4(ชมพู)
ถ้านาเบสอ่อนแต่ละชนิดที่มีความเข้มข้นและปริ มาตรเท่ากันมาไทเทรตกับสารละลาย
มาตรฐาน HCl เข้มข้น 0.01 m l/dm³ จะให้กราฟการไทเทรตเท่ากับข้อใด
pH
น้ าเงิน → ม่วง
pH เขียว→ น ้ำเงิน

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 44/66 หน้า 44
ก. ปริ มาตร HCl ที่เติม
pH NH₄OH
ม่วง → น้ าเงิน
pH น ้ำเงิน→ เขียว

ข. ปริ มาตร HCl ที่เติม


ข. ปริ มาตร HCl ที่เติม NH₄OH
pH
pH น้ าเงิน → ไม่มีสี NaHCO₃
เขียว→ น ้ำเงิน
ค. ปริ มาตร HCl ที่เติม
ค. ปริ มาตร HCl ที่เติม
ชมพู → ไม่มีสี
น ้ำเงิน→ เขียว
pH pH NaHCO₃

ง. ปริ มาตร HCl ที่เติม


ง. ปริ มาตร HCl ที่เติม

253. ลักษณะของกราฟที่ได้จากการไทเทรตสารละลาย NH₄OH เข้มข้น 0.10 mole/dm³


ด้วย สารละลาย NaHCO₃ เข้มข้น 0.100 mole/dm³ และ ด้วยสารละลาย NaHCO₃
เข้มข้น 0.100 mole/dm³ ควรมีลกั ษณะอย่างไร
คาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ ใช้ประกอบการตอบคาถามข้อ 254
( Kb ของ NH₄OH = 1.8 x 10⁻⁵ , Ka ของ H₂CO₃ = 5.0 x 10⁻¹¹ )

pH
NH₄OH อินดิเคเตอร์ ช่วง pH การเปลี่ยนสี
A. 3.0 – 5.0 น้ าเงิน – แดง
B. 3.5 – 4.5 แดง – เหลือง
ก. ปริ มาตร HCl ที่เติม C. 4.0 – 5.5 เหลือง – น้ าเงิน
D. 4.0 – 6.5 แดง – เหลือง
E. 7.0 – 8.5 เหลือง – แดง

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 45/66 หน้า 45
254. นาสารละลายกรด 3 ชนิด HX , HY และ HZ ที่มีความเข้มข้นเท่ากันปริ มาตร ก. 1
25 cm³ มาไทเทรตทีละครั้งกับสารละลายมาตรฐาน NaOH 0.1 mole/dm³ จะได้ ข. 2
กราฟไทเทรต ดังรู ป ค. 3
ง. 4
256. ถ้าใช้สมบัติการนาไฟฟ้ าของสารละลายอิเล็กโทรไลต์เพื่อหาจุดสมมูลในการไทเทรต
pH
หาความเข้มข้นของ Ba(OH)₂ ด้วยสารละลายมาตรฐาน H₂SO₄ ปฏิกิริยาเกิดดัง
สมการ Ba(OH)₂(aq) + H₂SO₄(aq) ⟶ BaSO₄(s) + H₂O(l)
กาหนดให้ แกน x แสดงปริ มาตรของสารละลายมาตรฐาน H₂SO₄ ที่ใช้
แกน y แสดงการนาไฟฟ้ าของสารละลาย
และ a แสดงจุดสมมูล
ปริ มาตร NaOH ที่เติม (cm³) ควรได้กราฟของการไทเทรตในลักษณะใด (ENT – มี.ค. 45)
ก. Ka ของกรด HX มีค่าต่าสุด และในการไทเทรตต้องใช้อินดิเคเตอร์ E เท่านั้น
ข. HX เป็ นกรดอ่อนที่อ่อนกว่า HY และ pH ที่จุดสมมูลการไทเทรต HX มีค่าสูงสุด ↑
y
ค. การไทเทรต HZ สามารถใช้อินดิเคเตอร์ท้ งั A B C และ E
ง. การไทเทรตกรด HY อินดิเคเตอร์ที่เหมาะสม คือ D และ E ก. 0 1 2 3 → x

ข. 0 1 2 3 → x
255. การนาไฟฟ้ าของสารละลายที่หยดสารละลาย H₂SO₄ ลงในสารละลาย Ba(OH)₂

เรื่ อย ๆจนมีปริ มาตรมากเกินพอควรมีลกั ษณะกราฟเหมือนรู ปใด (ENT-28) y
การนาไฟฟ้ าของสารละลาย

ค. 0 1 2 3 → x


y

ง. 0 1 2 3 → x
ปริ มาตรของ H₂SO₄
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 46/66 หน้า 46
257. เมื่อต้องการวิเคราะห์ปริ มาณ Ba(OH)₂ ในสารละลาย โดยนามาไทเทรตด้วย

การนาไฟฟ้ า
สารละลาย H₂SO₄ เข้มข้น 0.05 mole/dm³ และวัดค่าการนาไฟฟ้ าระหว่างการ
ไทเทรต กราฟที่ได้ควรมีลกั ษณะเช่นไร ( x คือ จุดสมมูลของการสะเทิน )
ข. ปริ มาตรของ H₂SO₄
ค่าการนาไฟฟ้ า

การนาไฟฟ้ า

ก. ปริ มาตรของสารละลาย H₂SO₄


ค. ปริ มาตรของ H₂SO₄
ค่าการนาไฟฟ้ า

การนาไฟฟ้ า
ข. ปริ มาตรของสารละลาย H₂SO₄
ค่าการนาไฟฟ้ า

ง. ปริ มาตรของ H₂SO₄


ค. ปริ มาตรของสารละลาย H₂SO₄


ค่าการนาไฟฟ้ า

ง. ปริ มาตรของสารละลาย H₂SO₄


259. สารละลาย Na₂CO₃ บรรจุในภาชนะต่อเข้ากับวงจรไฟฟ้ า ดังรู ป เมื่อหยดสารละลาย
258. ในการไทเทรตสารละลาย Ba(OH)₂ ด้วยสารละลาย H₂SO₄ เข้มข้น 0.10 mole/dm³ CaCl₂ 0.1 mole/dm³ จากบิวเรตต์ลงมาในสารละลาย Na₂CO₃ ดังกล่าว ในปริ มาตร
การนาไฟฟ้ าของสารละลายผสมเปลี่ยนแปลงตามกราฟข้อใด ( ENT’มี.ค. 43 ) ต่าง ๆ กัน เสี ยงจากกระดิ่งไฟฟ้ าจะเป็ นอย่างไร (ENT’32)
การนาไฟฟ้ า

กระดิ่งไฟฟ้ า

ก. ปริ มาตรของ H₂SO₄


แท่งแกรไฟต์
แท่งแกรไฟต์
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 47/66 สารละลาย Na₂CO₃
หน้า 47

0.20 mole/dm³ จานวน 20 cm³


ข. สารละลาย HB มีปริ มาณ H⁺ น้อยกว่าในสารละลาย HC
ค. สารละลาย HA มี pH เท่ากับ 3
ง. กรด HD เป็ นกรดอ่อนที่สุด
ขั้นที่ 7 ขั้นที่ . ขั้นที่ 1 261. ในการไทเทรตสารละลาย HCl เข้มข้น 0.2 mole/dm³ กับ NaOH เข้มข้น
ก่อนหยด CaCl₂ เมื่อหยด CaCl₂ 50 cm³ เมื่อหยด CaCl₂ มากเกินพอ 0.1 mol/dm³ ข้อใดผิด
ก. เสี ยงดัง เสี ยงค่อยลง เสี ยงดังมากกว่าขั้นที่7 ก. จุดที่สมมูลอยูท่ ี่ pH เท่ากับ 7
ข. ไม่มีเสี ยง เสี ยงค่อยลง เสี ยงดังกว่าขั้นที่. ข. อินดิเคเตอร์ที่เปลี่ยนสี ในช่วง pH = 5 – 6 ใช้ในการไทเทรตนี้ได้
ค. เสี ยงดัง ไม่มีเสี ยง เสี ยงดังเท่าขั้นที่7 ค. จานวนโมลของ HCl ที่ใช้ เท่ากับ 0.004
ง. เสี ยงดัง เสี ยงค่อยลง ไม่มีเสี ยง ง. เมื่อเติม NaOH ลงไป 40 cm³ จะมี [ OH⁻] เหลืออยู่ 0.004 โมล
262. การแตกตัวของสารละลาย NH₃ เข้มข้น 0.1 mole/dm³
( กาหนดค่า Kb ของ NH₃ = 1.0 x 10⁻⁵ ) ข้อใด ถูกต้ อง (ENT’40)
ก. มี [ NH₄ ⁺] = 0.1 mol/dm³
ข. แตกตัวได้ร้อยละ 10
ค. มีค่า pH = 10
ง. สารละลาย NH₃ ปริ มาตร 20 cm³ จะทาปฏิกิริยาพอดีกบั HCl
เข้มข้น 0.2 mol/dm³ ปริ มาตร 10 cm³

260. กาหนดให้ 263. เมื่อนาสารแต่ละคู่มาผสมกัน สารละลายในข้อใดมี pH สูงสุด (ENT’41)


สารละลาย ความเข้มข้น ปริ มาตร (cm³) ร้อยละการแตกตัว ก. HCl 0.1 M ผสมกับ NH₃ 0.2 M ปริ มาตรเท่ากัน
( mole/dm³ ) ของกรด ข. Ba(OH)₂ 0.05 M ผสมกับ H₂SO₄ 0.05 M ปริ มาตรเท่ากัน
HA 1 x 10⁻³ 20 80 ค. CH₃COOH 0.1 M ผสมกับ KOH 0.2 M ปริ มาตรเท่ากัน
HB 1 x 10⁻² 50 50 ง. HNO₃ 0.05 M จานวน 50 cm³ ผสมกับ KOH 0.10 M จานวน 30 cm³
HC 1 x 10⁻¹ 100 40 264. ในการไทเทรตสารละลายซัลฟิ วริ ก เข้มข้น 0.05 mole/dm³ ปริ มาตร 10.0 cm³ กับ
HA 1 250 30 สารละลายแอมโมเรี ยเข้มข้น 0.12 mole/dm³ จนถึงจุดยุติ ข้อใดให้ผลใกล้เคียงความ
ข้อใดถูก (ENT’ มี.ค. 46) จริ งมากที่สุด (ENT’34)
ก. NaOH 0.004 โมล ทาปฏิกิริยาพอดีกบั สารละลาย HC ปริ มาณ NH₃ ที่ อินดิเคเตอร์ การเปลี่ยนสี ของอินดิเคเตอร์
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 48/66 หน้า 48
อ่านได้ cm³ (ช่วง pH) ก. 0.300 โมลาร์
ก. 4 เมทิลออเรนจ์ แดง + ส้ม (3.1 – 4.3) ข. 0.150 โมลาร์
ข. 4.2 โบรโมไทมอลบลู เหลือง + เขียว (6.0 – 7.6) ค. 0.100 โมลาร์
ค. 8.3 เมทิลเรด แดง + ส้ม (4.4 – 6.0) ง. 0.075 โมลาร์
ง. 8.3 ฟี นอล์ฟทาลีน ไม่มีสี + ชมพู (8.3 – 10.4) 269. เมื่อนาสารละลายกรด H₂SO₄ ทาปฏิกิริยากับสารละลายเบส NaOH โดยเริ่ มต้นใช้
265. ถ้าต้องการสะเทินสารละลาย Ba(OH)₂ เข้มข้น 0.05 M ปริ มาตร 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร สารละลายกรด H₂SO₄ ที่มีปริ มาตรต่าง ๆ กัน นาปริ มาตรของกรด H₂SO₄ และเบส
จะต้องใช้กรดฟอสฟอรัก เข้มข้น 0.25 M กี่ลูกบาศก์เซนติเมตร (ENT’35) NaOH ที่ทาปฏิกิริยากันพอดีกนั มาเขียนกราฟ ได้ดงั นี้
ก. 0.4

ปริ มาตรของกรด H₂SO₄


ข. 4
ค. 8
จ. 12
266. เมื่อสะเทินสารละลาย Ba(OH)₂ เข้มข้น 0.45 mole/dm³ ปริ มาตร 40.0 cm³ อย่าง
สมบูรณ์ ต้องใช้สารละลายกรด H₃PO₄ 20.0 cm³ กรด H₃PO₄ ที่ใช้มีความเข้มข้น
กี่โมลต่อลูกบาศก์เซนติเมตร (ENT’ มี.ค. 46) ปริ มาตรของเบส NaOH
ก. 0.60 ถ้าสารละลายเบส NaOH เข้มข้น 0.1 mole/dm³ สารละลายกรด H₂SO₄ ที่ใช้มี
ข. 0.90 ความเข้มข้นกี่ mole/dm³ ( ENT-A 51)
ค. 1.20 ก. 0.05 mole/dm³ ข. 0.10 mole/dm³
ง. 1.35 ค. 0.20 mole/dm³ ง. 0.40 mole/dm³ จ.
267. ในการเตรี ยม Na₂SO₄ จะต้องใช้ NaOH 0.300 mole/dm³ กี่ลูกบาศก์เซนติเมตรในการ 270. ตัวอย่างน้ าส้มสายชู 2.00 มิลลิตร เมื่อไทเทรตด้วยโซเดียมไฮดรอกไซด์เข้มข้น 0.1 M
ทาปฏิกิริยาพอดีกบั H₂SO₄ 0.170 mole/dm³ ปริ มาตร 0.500 dm³ พบว่าต้องใช้โซเดียมไฮดรอกไซด์ 6.0 มิลลิตร ปริ มาตรของกรดแอซิติกในสารตัวอย่าง
ก. 85 เท่ากับกี่กรัมต่อลิตร (PAT- 2 ต.ค.53 )
ข. 142 ก. 18
ค. 283 ข. 9
ง. 567 ค. 5
268. แบเรี ยมไฮดรอกไซด์ทาปฏิกิริยากับกรดไฮโดรคลอริ กดังสมการ ง. 3
Ba(OH)₂(aq) + 2HCl(aq)  BaCl₂(aq) + 2H₂(aq) 271. กาหนดให้ HA เป็ นกรดแก่
ถ้าสารละลายแบเรี ยมไฮดรอกไซด์ 20 cm³ ทาปฏิกิริยาสะเทินด้วยกรดไฮโดรคลอริ ก
เข้มข้น 0.1 M ปริ มาตร 30 cm³ สารละลายแบเรี ยมไฮดรอกไซด์มีความเข้มข้นกี่โมลาร์ สารละลาย จานวนโมลของกรด ปริ มาตรของสารละลาย(cm³) pKa

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 49/66 หน้า 49
HA 1.0 x 10⁻⁴ 100 – ค. 1.20 mole/dm³
HB 1.0 x 10⁻³ 100 4 ง. 1.40 mole/dm³
HC 1.0 x 10⁻² 100 5 273. ตารางผลการไทเทรตระหว่างสารละลายตัวอย่าง Ba(OH)₂ ปริ มาตร 25.00 มิลลิตร
HD 1.0 x 10⁻¹ 100 6 กับสารละลายมาตรฐาน HCl เข้มข้น 0.10 โมลาร์ มีฟีนอล์ฟทาลีนเป็ นอินดิเคเตอร์

จากข้อมูลในตาราง ข้อใด ถูกต้อง ( ENT-A 51) การไทเทรต ปริ มาตรที่อ่านได้จากบิวเรต (มิลลิตร)


ก. สารละลาย HA มี pH = 5 ก่อนไทเทรต หลังไทเทรต
ข. สารละลาย HD มี pH น้อยที่สุด 1 1.00 40.95
ค. สารละลาย HB มี ปริ มาณ H₃O⁺ น้อยกว่า HC 2 2.00 42.05
ง. สารละลาย HC จะทาปฏิกิริยากับสารละลาย NaOH ความเข้มข้น 0.10 mole/dm³
ปริ มาตร 100 cm³ ความเข้มข้นของ Ba(OH)₂ เท่ากับกี่โมลาร์ (PAT- 2 ต.ค.53 )
ก. 0.08 โมลาร์
ข. 0.13 โมลาร์
ค. 0.16 โมลาร์
ง. 0.25 โมลาร์

272. ในการไทเทรตสารละลายกรดแอซีติกเข้มข้น 0.1 mole/dm³ กับสารละลายโซเดียมไฮ 274. นักเรี ยนคนหนึ่งนาสารละลาย NH₃ ( Kb = 1.8 x 10⁻⁵ ) เข้มข้น 0.12 mole/dm³ มา
ดรอกไซด์ ได้ขอ้ มูลจากการทดลองดังนี้ (ENT’19) ไทเทรตกับสารละลายตัวอย่าง HCl 3 ครั้ง พบว่าสารละลาย NH₃ จานวน 10 cm³
ทาปฏิกิริยากับสารละลาย HCl 13.18 cm³ โดยเฉลี่ยสารละลาย HCl ที่ใช้ความ
ครั้งที่ ปริ มาตรของ CH₃COOH (cm³) ปริ มาณ NaOH (cm³) เข้มข้นกี่โมลต่อลูกบาศก์เซนติเมตร (ENT’ ต.ค. 42)
1 25 18.1 ก. 0.1 x 10⁻⁵ mole/dm³
2 25 17.9 ข. 1.12 x 10⁻⁵ mole/dm³
3 25 18.0 ค. 9.1 x 10⁻⁵ mole/dm³
ง. 1.6 x 10⁻⁵ mole/dm³
สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์มีความเข้มข้นเท่าใด 275. HCl 0.2 mol/dm³ ปริ มาตร 400 cm³ ทาปฏิกิริยาพอดีกบั สารประกอบคาร์บอเนต
ก. 0.12 mole/dm³ หนัก 4.0 กรัม สารประกอบคาร์บอเนตดังกล่าวคือสารใด (ENT’40)
ข. 0.14 mole/dm³ ก. MgCO₃
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 50/66 หน้า 50
ข. CaCO₃ สารละลาย A และ B น่าจะเป็ นดังข้อใด (ENT’41)
ค. Na₂CO₃ สารละลาย A สารละลาย B
ง. BaCO³ ก. BaCl₂ H₂SO₄
276. กราฟแสดงการนาไฟฟ้ าเมื่อเติมกรด HNO₃ ลงในสารละลาย 30 cm³ NaOH เข้มข้น ข. H₃PO₄ CaCl₂
40 % (มวลต่อปริ มาตร) (ENT’30) ค. H₂SO₄ BaCl₂
ง. CaCl₂ H₃PO₄
ปริ มำตรของHNO₃ ที่
เติมลงไป ( cm³ )

278. A D E X Y และ Z เป็ นธาตุหมู่เดียวกัน (ซึ่งเรี ยงลาดับจากบนลงล่าง) เมื่อนา


สารละลายไฮดรอกไซด์ของ A เข้มข้น 0.1 mole/dm³ มา 50 cm³ พบว่า สามารถทา
ปฏิกิริยาได้พอดีกบั สารละลาย HCl เข้มข้น 0.5 mole/dm³ 20 cm³ หมู่ธาตุที่
กาหนดให้น้ ีคือ (ENT’28)
การนาไฟฟ้ า ก. ธาตุหมู่ที่ 1
ความเข้มข้นของกรดไนตริ กเป็ นกี่ mol/dm³ ข. ธาตุหมู่ที่ 2
ก. 2.4 mol/dm³ ค. ธาตุหมู่ที่ 3
ข. 5.3 mol/dm³ ง. ธาตุหมู่ที่ 4
ค. 7.5 mol/dm³ 279. จะต้องใช้ NaOH กี่กรัม ละลายน้ า 100 cm³ มาทาปฏิกิริยาพอดีกบั HX ปริ มาตร
ง. 9.2 mol/dm³ 10 cm³ ซึ่งมีความเข้มข้น 37.5 เปอร์เซ็นต์ w/w และมีความหนาแน่น 2 g/cm³
277. สารละลาย A เข้มข้น 9 mol/dm³ ถ้าเติมสารละลาย B เข้มข้น 3 mol/dm³ ลงไป (กาหนดมวลอะตอม x = 35.5) (ENT’40)
เรื่ อย ๆ จะมีตะกอนเกิดขึ้น เมื่อเขียนกราฟระหว่างน้ าหนักตะกอนกับปริ มาตรของ ก. 2 กรัม
สารละลาย B จะได้ดงั นี้ ข. 4 กรัม
ค. 8 กรัม
ง. 16 กรัม
น้ าหนักของตะกอน

280. น้ าส้มสายชูตวั อย่างมีกรดอะซีติกอยูร่ ้อยละ 4.8 โดยมวล/ปริ มาตร ในการไทเทรต


น้ าส้มสายชูกบั สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ พบว่าน้ าส้มสายชู 1 cm³ ทาปฏิกิริยา
กับสารละลาย NaOH 20 cm³ จงหาความเข้มข้นของสารละลาย NaOH ในหน่วยร้อย
ละโดยมวล/ปริ มาตร (ENT’ ต.ค. 43)
ปริ มาตรของสารละลาย B (cm³ ) ก. ร้อยละ 1.0
ข. ร้อยละ 1.6
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 51/66 หน้า 51
ค. ร้อยละ 2.0 ก. AB₂
ง. ร้อยละ 2.4 ข. AB₃
ค. A₂B₃
ง. A₃B₂
282. เมื่อนากรดเข้มข้น 0.1 mole/dm³ มาไทเทรตกับ 0.1 mole/dm³ NaOH โดยใช้ฟีนอล์ฟ
ทาลีนเป็ นอินดิเคเตอร์กรดใดต่อไปนี้ตอ้ งใช้ปริ มาณ NaOH มากที่สุดในปฏิกิริยาสะเทิน
(ENT’31)
ก. H₂SO₄ 55 cm³
ข. H₃PO₄ 25 cm³
ค. HNO₃ 95 cm³
ง. C₂H₅COOH 100 cm³

283. ถ้านาสารละลาย HCl 0.01 mol และ H₂SO₄ 0.01 mol มาทาปฏิกิริยาสะเทิน
พอดีกบั สารละลาย Na₂CO₃ เข้มข้น 0.1 mole/dm³ จะต้องใช้สารละลาย Na₂CO₃
281. ผสมสารละลายไอออนบวก A ความเข้มข้น 0.5 mole/dm³ ปริ มาตร a cm³ กับ กี่ลูกบาศก์เซนติเมตร (ENT”31)
สารละลายของไอออนลบ B ความเข้มข้น 1 mole/dm³ ปริ มาตร b cm³ โดยให้ ก. 50 cm³
a + b = 50 cm³ เสมอผลิตภัณฑ์ที่ได้เป็ นตะกอนของ 𝐴𝑥 𝐵𝑦 ความสัมพันธ์ ข. 100 cm³
ระหว่างน้ าหนัก ตะกอน 𝐴𝑥 𝐵𝑦 กับปริ มาตรของสารละลาย A และ B เป็ นดังกราฟ ค. 150 cm³
ต่อไปนี้ ง. 200 cm³
284. มีสารละลาย NaOH เข้มข้น 0.5 mole/dm³ อยูจ่ านวนหนึ่งซึ่งเป็ นจานวนที่ทาปฏิกิริยา
(g)

สะเทินพอดีกบั สารละลาย HCl เข้มข้น 0.2 mole/dm³ จานวน 100 cm³ ถ้าต้องการ
𝐴𝑥 𝐵𝑦

สารละลาย NaOH เข้มข้น 0.1 mol/dm³โดยเตรี ยมจากสารละลายที่มีอยู่ จะได้สารละลาย


ได้กี่ลูกบาศก์เซนติเมตร (ENT’18)
น้ าหนักของ

ก. 100 cm³
ข. 200 cm³
ค. 500 cm³
ปริ มาตรสารละลาย A ( cm³ )
ง. 1,000 cm³
สูตรของ 𝐴𝑥 𝐵𝑦 ควรเป็ นข้อใด (ENT’ ต.ค.41)
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 52/66 หน้า 52
285. สารละลาย NaOH 0.5 โมลต่อลูกบาศก์เซนติเมตร จานวนหนึ่งทาปฏิกิริยาสะเทิน
พอดีกบั สารละลาย H₂SO₄ 0.2 โมลต่อลูกบาศก์เซนติเมตรถ้าต้องการเตรี ยม
สารละลาย NaOH มี pH = 10 จากสารละลาย NaOH จานวนนี้ จะเตรี ยมสารละลาย
ได้กี่ลูกบาศก์เดซิเมตร
ก. 10 cm³
ข. 40 cm³
ค. 100 cm³
ง. 400 cm³
286. ถ้าใช้ H₂SO₄ 1 mol/dm³ ทาปฏิกิริยากับ NaOH 1 mol/dm³ แต่ NaOH ที่นามา
เตรี ยมสารละลายนี้มีสารเจือปนร้อยละ 5 โดยมวล ณ จุดสะเทินของปฏิกิริยานี้ ต้องใช้
NaOH กี่ลูกบาศก์เซนติเมตร (ENT’31)
ก. 190 cm³ ข. 105 cm³
ค. 210 cm³ ง. 200 cm³ 289. จากการทดลอง พบว่า สารตัวอย่าง NaHCO₃ มีมลทินปนอยูร่ ้อยละ 20 โดยมวล หาก
287. นักเรี ยนผูห้ นึ่งละลายคลอไรด์ของธาตุ M ปริ มาณ 0.05 mol ในน้ ากลัน่ แล้วกลัน่ แล้ว นาสารนี้มา 1.05 กรัม ละลายในปริ มาตร 100 cm³ แล้วนาไปไทเทรตด้วยสารละลาย
ปรับปริ มาตรให้เป็ น 500 cm³ จากนั้นนาสารละลายที่ได้ปริ มาตร 12.5 cm³ ไปทา HCl เข้มข้น 0.20 mole/dm³ จะต้องใช้สารละลาย HCl จานวนเท่าไร่ ในการทาปฏิกิริยา
ปฏิกิริยาพอดีกบั สารละลายซิลเวอร์ไนเตรต (AgNO₃ ) เข้มข้น 0.1 mole/dm³ พอดีกบั NaHCO₃ (ENT’39)
จานวน 25 cm³ ได้ตะกอนซิลเวอร์คลอไรด์ สารประกอบ คลอไรด์ของธาตุ M มีสูตร ก. 100.00 cm³
เป็ นอย่างไร (ENT’ ต.ค. 43) ข. 75.0 cm³
ก. MCl ค. 50.0 cm³
ข. MCl₂ ง. 25.0 cm³
ค. MCl₃ 290. สาร A เป็ นกรดอินทรี ยท์ ี่มีหมูค่ าร์บอกซิลิก 2 หมู่ นาสาร A หนัก 1.218 กรัม มา
ง. MCl₄ ละลายน้ าแล้วทาให้มีปริ มาตร เป็ น 250 cm³ สารละลายกรดนี้ปริ มาตร 25.0 cm³ ทา
288. ถ้าต้องการหาความเข้มข้นของสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ โดยนามาไทเทรตกับสาร ปฏิกิริยาพอดีกบั สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์เข้มข้น 0.10 mole/dm³ ปริ มาตร
A โดยการชัง่ สาร A มา 2.04 กรัมละลายน้ าให้ได้ปริ มาตร 100 cm³ แล้วนามา 10 cm³ 21.0 cm³ มวลโมเลกุลของสาร A เป็ นเท่าใด (ENT’ มี.ค. 45)
ไทเทตรกับสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์โดยใช้ฟีนอล์ทาลีนเป็ นอินดิเคเตอร์ เมื่อ
ไทเทรตจึงจุดยุติ ต้องใช้โซเดียมไฮดรอกไซด์ 20 cm³ ความเข้มข้นของโซเดียมไฮดร
อกไซด์เป็ นกี่ mol/dm³ กาหนดให้มวลโมเลกุล A = 204 โซเดียมไฮดรอกไซด์ทา
ปฏิกิริยากับสาร A ในอัตรส่วนจานวนโมลเป็ น 1 ต่อ 1

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 53/66 หน้า 53
293. กรดแก่มอนอโปรติกชนิดหนึ่ง จานวน 1.25 กรัม ทาปฏิกิริยาพอดีกบั สารละลาย NaOH
ที่มีค่า pH เท่ากับ 12 จานวน 250 cm³ ถ้านากรดนี้ 10 กรัม มาละลายในน้ าจนได้
291. ยาแก้ปวดมีองค์ประกอบสาคัญ คือ แอสไพริ น ซึ่งเป็ นมอนอโปรติก มีสูตร HC₉H₇O₄ สารละลายปริ มาตร 2 ลิตร จะได้สารละลายที่มีค่า pH เท่าใด (ENT’28)
ถ้านาตัวอย่างยาแก้ปวดนี้ 0.5 กรัม มาวิเคราะห์ โดยการไทเทรตด้วย NaOH เข้มข้น ก. 2
0.1 mole/dm³ พบว่า ต้องใช้ NaOH 20 cm³ จงหาร้อยละของแอสไพริ นในยานี้ ข. 3
(ENT’31) ค. 4
ง. 5
294. กรดอินทรี ย ์ (𝐶𝑥 𝐻𝑦 COOH) ซึ่งมีไฮโดรเจน 7 % เมื่อนากรดนี้มา 0.43 กรัม จะทา
ปฏิกิริยาพอดีกบั NaOH เข้มข้น 0.1 mole/dm³ ปริ มาตร 50 cm³ จงหาสัดส่วนของ X/Y
(ENT’34)

292. การหาปริ มาณกรดแอซิติกซาลิซิลิก (HC₉H₇O₄) ซึ่งเป็ นตัวยาระงับปวดในแอสไพริ น


โดยการไทเทรตด้วยสารละลายมาตรฐาน NaOH เข้มข้น 0.01 mole/dm³ พบว่าเมื่อ
ละลายแอสไพริ น 4 เม็ดในน้ า 100 cm³ ต้องใช้ NaOH 20 cm³ แอสไพริ นแต่ละเม็ด
มีกรดแอซิติกซาลิซิลิกกี่มิลลิกรัม (ENT’ ต.ค. 41)

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 54/66 หน้า 54
295. ยาลดกรดชนิดหนึ่งมี Ma(OH)₂ อยูร่ ้อยละ 29 โมลต่อมวล นอกจากนั้นยังเป็ นแป้ ง ถ้า
ยานี้หนักเม็ดละ 0. 2 กรัม จะต้องใช้ยากี่เม็ด จึงจะทาปฏิกิริยาพอดีกบั สารละลาย HCl
0.02 mol/dm³ จานวน 300 cm³ (ENT’28)
ก. 2
ข. 3
ค. 4 297. หิ นชนิดหนึ่งมี CaCO₃ เป็ นองค์ประกอบ เมื่อนามาเผาจะได้ CaO ซึ่งละลายน้ า และ
ง. 5 ให้ Ca(OH)₂ การวิเคราะห์ครั้งหนึ่ง เมื่อนาหิ นตัวอย่าง 0.25 กรัม มาทาตามวิธี
296. การทดลองหาปริ มาตรกรดแอซิติกในน้ าส้มสายชู ข้างต้น แล้วนาสารละลายที่ได้มาไหทเทรตกับสารละลาย HCl พบว่า ต้องใช้ HCl
1. ปิ เปตต์น้ าส้มสายชูตวั อย่าง 10.00 cm³ ใส่ขวดปริ มาตรขนาด 100 cm³ แล้วเติม 0.10 mole/dm³ จานวน 36.0 cm³ จงหามวลร้อยละของ CaCO₃ ในหิ นตัวอย่าง
น้ ากลัน่ จนถึงขีดปริ มาตร เขย่า
2. ปิ เปตต์สารละลายตัวอย่างในข้อ 1 ปริ มาตร 10.00 cm³ ใส่ขวดรู ปกรวย
หยดฟี นอล์ฟทาลีน 3 หยด นาไปไทเทรตกับสารละลายมาตรฐาน NaOH เข้มข้น
0.1050 mole/dm³ อ่านสเกนบนบิวเรต ก่อนไทเทรตได้ 10.50 cm³ เมื่อไทเทรต
ถึงจุดยุติให้สารละลายสี ชมพูอ่อน อ่านสเกนบนบิงเรตได้ 20.50 cm³ จงหาร้อย
ละโดยมวลของกรดแอซิติกในน้ าส้มสายชู กาหนดให้ความหนาแน่นของกรดแอ
ซิติกในน้ าส้มสายชูเท่ากับ 1.005 g/cm³

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 55/66 หน้า 55
299. นา HA ซึ่งเป็ นกรดชนิดหนึ่งปริ มาตร 25.00 cm³ มาวัด pH ได้ 2.5 และทาปฏิกิริยา
พอดีกบั NaOH เข้มข้น 0.100 mole/dm³ ปริ มาตร 25.00 cm³ค่าคงที่สมดุลของกรด
HA เป็ นเท่าใด (ENT’41)
ก. 3.0 x 10⁻³
ข. 3.0 x 10⁻⁴
ค. 1.0 x 10⁻⁶
298. เมื่อนาสารละลายตัวอย่าง X และ Y ซึ่งใสและไม่มีสีมาทดสอบด้วยอินดิเคเตอร์ท้ งั 5 ง. 1.0 x 10⁻⁶
ชนิด ได้ผลการทดสอบดังแสดงในตาราง จ.
300. อินดิเคเตอร์ชนิดหนึ่งเป็ นกรดอ่อนและมีสูตรเป็ น HIn สารละลาย HIn ที่มี
อินดิเคเตอร์ ช่วง pH ที่อินดิเคเตอร์เปลี่ยนสี สี ของสารละลายหลังจากเติมอินดิเคเตอร์ pH = 4.0 จานวน 20.0 cm³ ทาปฏิกิริยากับสารละลาย NaOH เข้มข้น
สาร X สาร Y 0.01 mole/dm³ จานวน 40.0 cm³ ถ้าช่อง pH ของอินดิเคเตอร์คิดได้จากสูตร
A. 5–7 แดง – เหลือง ส้ม เหลือง pH = (pKa - 1 ) ถึง (pKa + 1 ) และสี ที่เปลี่ยนคือ แดง – เหลือง เมื่ออินดิเคเตอร์
B. 6–8 แดง – น้ าเงิน แดง น้ าเงิน ชนิดนี้หยดลงในสารละลายลงในสารละลายที่มี pH = 5 จะให้สารสี อะไร
C. 7–9 เหลือง– แดง เหลือง ส้ม (กาหนดให้ log 2 = 0.3 ) (ENT-A 51 )
D. 3–4 แดง – เหลือง เหลือง เหลือง
E. 8 – 10 ไม่มีสี – แดง ไม่มีสี ไม่มีสี

ข้อสรุ ปใด ไม่ถูกต้อง (ENT’34)


ก. X จานวน 30 cm³ ทาปฏิกิริยาพอดีกบั สารละลาย NaOH เข้มข้น
2 x 10⁻⁶ mole/dm³ 15 cm³
ข. X จานวน 60 cm³ ทาปฏิกิริยาพอดีกบั สารละลาย Ma(OH)₂ เข้มข้น
1 x 10⁻⁵ mole/dm³ 6 cm³
ค. Y จานวน 40 cm³ ทาปฏิกิริยาพอดีกบั สารละลาย HCl เข้มข้น
8 x 10⁻⁷ mole/dm³ 50 cm³
ง. X จานวน 50 cm³ ทาปฏิกิริยาพอดีกบั สารละลาย H₂SO₄ เข้มข้น
2 x 10⁻⁶ mole/dm³ 50 cm³

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 56/66 หน้า 56
301. เมื่อไทเทรตสารละลายเกลือ NaA ซึ่งมี pH เริ่ มต้นเท่ากับ 10 cm³ กับสารละลาย ก. 50 0 cm³ HCl
กรดต้องใช้สารละลายกรด HCl เข้มข้น 0. 01 mole/dm³ ปริ มาตร 20.0 cm³ จึงจะ 10
ทาให้เมทิลเรดเปลี่ยนสี ค่าคงที่สมดุล (Ka) ของกรดอ่อน HA เป็ นเท่าใด ∆T C
ก. 5.0 x 10⁻⁹ 5
ข. 2.0 x 10⁻⁶
ค. 2.0 x 10⁻⁹ 0 50 cm³ NaOH
ง. 5.0 x 10⁻⁶ ข. 50 0 cm³ HCl

คาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ ใช้ประกอบการตอบคาถามข้อ 302 – 303 10


เมื่อผสมสารละลาย NaOH 2.0 mole/dm³ ลงในสารละลาย HCl a mol/dm³ ใน ∆T C
ปริ มาตรต่าง ๆ กัน ดังแสดงในตาราง (ENT’32) 5

สารละลายที่ ปริ มาตร HCl (cm³) ปริ มาตร NaOH (cm³) 0 50 cm³ NaOH
1. 50 0 ค. 50 0 cm³ HCl
2. 40 10
10
3. 30 20 ∆T C
4. 20 30 5
5. 10 40
6. 0 50
0 50 cm³ NaOH
ง. 50 0 cm³ HCl
อุณหภูมิของสารละลายจะสูงขึ้น
302. กราฟที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิที่สูงขึ้น (∆T ) กับปริ มาตรของสารละลาย
303. ความเข้มข้น a ของสารละลาย HCl มีคา่ กี่ mol/dm³
ทั้งสอง ควรมีลกั ษณะอย่างไร
ก. 2.0 mol/dm³
10
ข. 1.5 mol/dm³
∆T C ค. 1.3 mol/dm³
5
ง. 0.6 mol/dm³
304. เมื่อนาสาร A มาเขย่ากับสารละลาย NaOH เข้มข้น 0.01 mol/dm³แล้วกรองเอาส่วนที่
0 50 cm³ NaOH ละลายไม่หมดออกไป นาของเหลวใสที่ได้มา 100 cm3 ไทเทรตกับสารละลาย HCl
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 57/66 หน้า 57
0.1 mol/dm³ แล้วกรองเอาส่วนที่ละลายไม่หมดออกไป นาของเหลวใสที่ได้มา ข. 0.56 กรัม
100 cm³ ไทเทรตกับสารละลาย HCl 0.1 mole/dm³ ต้องใช้ HCl 30 cm³ ค. 0.68 กรัม
ข้อสรุ ปข้อใด ถูกต้อง (ENT’31) ง. 1.36 กรัม
ก. สาร A เมื่อละลายมี OH⁻ ทาให้ในของเหลวใสมี H₃O⁺ 0.02 mole/dm³ 308. สารละลาย NH₃ ที่ตอ้ งการหาความเข้มข้น ปริ มาตร 25.00 cm³ เมื่อทาปฏิกิริยากับ
ข. สาร A เมื่อละลายมี H₃O⁺ทาให้ในของเหลวใสมี H₃O⁺ 0.02 mole/dm³ สารละลาย HCl ที่เหลือทาปฏิกิริยาพอดีกบั สารละลาย NaOH เข้มข้น 0. 05 mole/dm³
ค. สาร A เมื่อละลายมี H₃O⁺ ทาให้ในของเหลวใสมี OH⁻ 0.02 mole/dm³ ปริ มาตร 20.0 cm³ ความเข้มข้นของสารละลาย NH₃ มีค่ากี่ mole/dm³ (ENT-A 50)
ง. สาร A เมื่อละลายมี OH⁻ทาให้ในของเหลวใสมี OH⁻ 0.02 mole/dm³ ก. 0.08 mole/dm³ ข. 0.12 mole/dm³
ค. 0.26 mole/dm³ ง. 0.35 mole/dm³
305. นาของเหลวตัวอย่าง X จานวน 10.0 cm³ มาผสมกับสารละลาย NaOH เข้มข้น 309. เติมสารละลาย KOH เข้มข้น 0.15 mole/dm³ ปริ มาตร 80.0 cm³ ลงในสารละลาย
0.10 mole/dm³ ปริ มาตร 30.0 cm³ แล้วนาสารละลายผสมนี้ไปไทเทรตกับสารละลาย กรดอ่อน HA ปริ มาตร 25.00 cm³ แล้วนาไปไทเทรตกับสารละลาย HCl เข้มข้น
HCl เข้มข้น 0.01 mole/dm³ พบว่า ต้องใช้สารละลาย HCl ปริ มาตร 20.0 cm³ จึงจะทา 0.20 mole/dm³ ที่จุดยุติใช้สารละลาย HCl ปริ มาตร 22.50 cm³ สารละลายกรดอ่อนมี
ปฏิกิริยาพอดีกนั ข้อสรุ ปใด ถูก (ENT’41) ความเข้มข้นกี่โมลต่อลูกบาศ์กเดซิเมตร
ก. ของเหลวตัวอย่าง X มี [ HO⁻] เท่ากับ 0.10 mole/dm³ ก. 0.15 mole/dm³
ข. เมื่อเติม NaHCO₃ ลงในของเหลวตัวอย่าง X จะได้แก๊สซึ่งช่วยในการติดไฟ ข. 0.20 mole/dm³
ค. ของเหลวตัวอย่าง X มี pH เท่ากับ 1.0 ค. 0.25 mole/dm³
ง. ของเหลวตัวอย่าง X สามารถเปลี่ยนสี กระดาษลิตมัสจากสี แดงเป็ นสี น้ าเงิน ง. 0.30 mole/dm³
306. มีสารละลายกรด 2 ชนิดผสมกับอยู่ คือ H₂SO₄ เข้มข้น 0.10 โมลาร์ ปริ มาตร 310. สารละลายที่มี HNO₃ 4 x 10⁻²mol ใน 400 cm³ ผสมกับสารละลาย KOH pH = 12
60.0 มิลลิตร จะต้องเติมสารละลายเบส NaOH มีเข้มข้น 0.40 โมลาร์ จานวนเท่าใด ปริ มาตร 600 cm³ ถ้าต้องการทาให้สารละลายผสมมี pH = 7 จะต้องเติมสารละลายในข้อ
จึงจะทาปฏิกิริยาพอดีกบั กรดผสมทั้งหมดนั้น (PAT-2 มี.ค. 52 ) ใด (ENT’ มี.ค. 48)
ก. 40 มิลลิตร ก. Ca(OH)₂ 0.20 mol/dm³ ลงไปอีก 85 cm³
ข. 45 มิลลิตร ข. NaOH 0.20 mol/dm³ ลงไปอีก 150 cm³
ค. 50 มิลลิตร ค. HCl 0.20 mol/dm³ ลงไปอีก 150 cm³
ง. 55 มิลลิตร ง. H₂SO₄ 0.20 mol/dm³ ลงไปอีก 85 cm³
307. เมื่อเติมของแข็ง Zn(OH)₂ ลงในสารละลาย HBr เข้มข้น 0.550 mole/dm³ ปริ มาตร 311. โลหะ X 0.72 กรัม ละลายได้หมดในกรดไฮโดรคลอริ กเข้มข้น 1 mole/dm³ ปริ มาตร
40 cm³ พบว่าสารละลายที่ได้ยงั เป็ นกรดอยู่ นาสารละลายที่ได้น้ ีไปไทเทรตกับ 100 cm³ ซึ่งเมื่อสะเทินกรดที่มากเกินพอด้วยสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์เข้มข้น
สารละลาย NaOH เข้มข้น 0.500 mole/dm³ ต้องใช้ปริ มาตร 16.5 cm³ จึงจะสะเทิน 1 mole/dm³ จะต้องใช้ 40 cm³ ถ้ามวลอะตอมของ X เท่ากับ 24 เลขออกซิเดชันของ
พอดี น้ าหนักของ Zn(OH)₂ ที่ใส่ในครั้งแรกมีกี่กรัม (ENT’ มี.ค. 42) โลหะ X ในสารประกอบคลอไรด์จะมีค่าเท่าใด (ENT’34)
ก. 0.41 กรัม ก. + 1

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 58/66 หน้า 58
ข. + 2 แล้วนาของผสมทั้งหมดไปทาปฏิกิริยาสะเทินกับสารละลาย HCl เข้มข้น 0.25 mole/dm³
ค. + 3 จนถึงจุดยุติ พบว่า ใช้สารละลาย HCl ปริ มาตร 24 cm³ ปริ มาณของกรดไขมันใน
ง. + 4 น้ ามันพืชชนิดนี้มีกี่กรัม ( มวลโมเลกุลของกรดไขมัน เท่ากับ 263 )
ก. 1 กรัม
ข. 1 กรัม
ค. 1 กรัม
ง. 10 กรัม

312. ธาตุ X หนัก 1.00g ทาปฏิกิริยากับสารละลายกรด H₂SO₄ 0.50 mol/dm³ จานวน 314. สารตัวอย่างมี KCl ผสมกับสารอื่นที่เฉื่ อยต่อปฏิกิริยา นาสารตัวอย่างนี้มา 0.20 กรัม
100 cm³ เมื่อโลหะทาปฏิกิริยาหมดแล้วมีกรดเหลืออยูซ่ ่ ึงเมื่อไทเทรตกับสารละลาย ทาเป็ นสารละลาย 25 cm³ แล้วเติมสารละลาย AgNO₃ เข้มข้น 0 .1 mole/dm³
NaNO₃ 0.50 mol/dm³ จะต้องใช้ NaNO₃ 2.00 cm³จงคานวณหามวลอะตอมของ จานวน 30 cm³ จะเกิดตะกอน AgCl นาสารละลายที่ได้จากการกรอง AgCl ออก
ธาตุ X ถ้าธาตุ X ทาปฏิกิริยา H₂SO₄ ในอัตราส่วน 1:1 (ข้อสอบอัตนัย) แล้วมาไทเทรตกับสารละลาย KSCN เข้มข้น 0 .1 mole/dm³ จะเกิดตะกอน AgSCN
ปรากฏว่าที่จุดยุติจะต้องใช้ KSCN 10 cm³ จงหาร้อยละโดยมวลของ KCl ในสาร
ตัวอย่าง

313. การวิเคราะห์ปริ มาณกรดไขมันที่มีองค์ประกอบในน้ ามันพืชชนิดหนึ่ง โดยใช้น้ ามันพืช


หนัก 20 กรัม ต้มกับสารละลาย KOH เข้มข้น 1.0 mole/dm³ ปริ มาตร 25 cm³

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 59/66 หน้า 59
เข้มข้น 0.10 mole/dm³ ปรากฏว่าใช้ไป 30 cm³ จงหาร้อยละโดยมวลของ
ไนโตรเจนในสารอินทรี ย ์

315. ยาลดกรดชนิดหนึ่งมี MgCO₃ และ Mg(OH)₂ เป็ นองค์ประกอบ โดยมี MgCO₃


ร้อยละ 21 โดยมวล ถ้านายาลดกรดชนิดนี้ 0.2 กรัม มาไทเทรตจนถึงจุดยุติดว้ ย 318. นักเรี ยนผูห้ นึ่งวิเคราะห์หาปริ มาณแอมโมเนียมซัลเฟตในสารละลายปุ๋ ยตัวอย่าง โดย
สารละลายกรด HCl เข้มข้น 1.0 mole/dm³ ปรากฏว่าต้องใช้กรด HCl ปริ มาตร ละลายปุ๋ ยตัวอย่างปริ มาณ 10 cm³ มาทาปฏิกิริยากับสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์
25 cm³ จงหาร้อยละโดยมวลของ Mg(OH)₂ ในยาลดกรดนี้ ที่มากเกินพอ แล้วผ่านแก๊สแอมโมเนียที่เกิดขึ้นลงในสารละลายกรดไฮโดรคลอริ กที่มี
ก. ร้อยละ 13 ความเข้มข้น 0.1 mole/dm³ ปริ มาตร 50 cm³ จากนั้นไทเทรตกรดที่เหลือจาก
ข. ร้อยละ 29 ปฏิกิริยาด้วยสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ที่ทีความเข้มข้น 0.1 mole/dm³ ซึ่ง
ค. ร้อยละ 58 ต้องใช้ NaOH ปริ มาตร 10 cm³ จึงจะทาให้สารละลายเป็ นกลาง จงหาว่าสารละลาย
ง. ร้อยละ 70.5 ปุ๋ ยตัวอย่างปริ มาตร 1 dm³ จะมีมวลของแอมโมเนียมซัลเฟตอยูก่ ี่กรัม
316. ถ้านาหิ นปูน (CaCO₃) มาเผาจะเกิดปฏิกิริยา CaCO₃ ⟶ CaO + CO₂ ผ่าน
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ลงในสารละลาย Ca(OH)₂ เข้มข้น 0.5 mole/dm³ จานวน
160 cm³ สารละลายน้ทาปฏิกิริยาสะเทอนกับกรดเกลือ เข้มข้น 0.25 mole/dm³
พบว่าต้องใช้ 40 cm³ อยากทราบว่าท่านมีหินปูนเป็ นจานวนกี่กรัม
ก. 7.0 กรัม
ข. 7.3 กรัม
ค. 7.5 กรัม 319. ยาลดกรดชนิดหนึ่งบดละเอียด หนัก 1.00 กรัม ค่อย ๆ เติม HCl เข้มข้น 1.0 mole/dm³
ง. 7.8 กรัม ลงไปจนครบ 15 cm³ เขย่าจนไม่เกิดฟองแก๊สอีก อุ่นให้ร้อนแล้วกรองส่วนที่ไม่
317. สารอินทรี ยช์ นิดหนึ่งมีธาตุ N เป็ นองค์ประกอบ เมื่อสลายสารอินทรี ยน์ ้ ี 1.5 ละลายออก ถ่ายของเหลวลงในขวดวัดปริ มาตรขนาด 100 cm³ พร้อมน้ าล้างตะกอน
กรัม แล้วผ่านแก๊สแอมโมเนียที่เกิดขึ้นลงในสารละลาย HCl เข้มข้น 0.15 mole/dm³ เติมน้ ากลัน่ จนถึงขีดบอกปริ มาตร 100 cm³ เขย่าให้เป็ นเนื้อเดียวกัน ปิ เปตต์สารละลาย
ปริ มาตร 50 cm³ นาสารละลายที่ได้มาไทเทรตด้วยสารละลายมาตรฐาน NaOH ที่ได้ 10.0 cm³ ไทเทรตกับสารละลาย NaOH เข้มข้น 0.10 mole/dm³ ที่จุดยุติใช้
12.50 cm³ จงคานวณหาปริ มาณ CaCO₃ ในยาลดกรดตัวอย่างเป็ นร้อยละโดยมวล

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 60/66 หน้า 60
320. นักเรี ยนคนหนึ่งทาการทดลองหาร้อยละโดยมวลของแป้ งในยาลดกรด ซึ่งมีส่วนผสม 321. เติมเกลือ Zn(OH)₂ ลงในสารละลาย HBr เข้มข้น 0.550 mole/dm³ ปริ มาตร 400 cm³
ของ MgCO₃ และแป้ งดังนี้ พบว่าสารละลายยังเป็ นกรด เมื่อนาสารละลายที่ได้ไปไทเทรตกับสารละลาย NaOH
1. ชัง่ ยาลดกรด 1.00 กรัม บดให้ละเอียดละลายในน้ ากลัน่ 20 cm³ เข้มข้น 0.500 mole/dm³ พบว่าที่จุดสมมูลใช้ปริ มาตรของสารละลาย NaOH เท่ากับ
2. เติมสารละลาย HCl เข้มข้น 1.00 mole/dm³ ปริ มาตร 20 cm³ ลงใน a cm³ เกลือ Zn(OH)₂ ที่ใช้มีมวลกี่กรัม
สารละลายในข้อ 1 นาไปอุ่น ก. 10.89 –
0.025
𝑎
3. กรอง ล้างภาชนะด้วยน้ ากลัน่ ปริ มาณเล็กน้อย แล้วเทชะบนกระดาษกรอง 2 –3 ครั้ง ข. 10.89 – 0.025 a
4. ทาสิ่ งที่กรองได้ให้มีปริ มาตร 100 cm³ ในขวดวัดปริ มาตร ค. 21.78 – 0.050 𝑎
5. ปิ เปตสารละลายในข้อ 4 มา 10 cm³ ไทเทรตด้วยสารละลาย NaOH เข้มข้น ง. 21.78 – 0.050 a
0.20 mole/dm³ ที่จุดยุติใช้สารละลาย NaOH 5.0 cm³ 322. เมื่อละลายสารมาตรฐาน X 200 มิลลิกรัม ในน้ า 100 ลูกบาศ์กเซนติเมตร จะทา
จงคานวณหาร้อยละโดยมวลของแป้ งในยาลดกรด ปฏิกิริยาพอดีกบั สารละลาย Y เข้มข้น 0.1 mole/dm³ ปริ มาตร 20 ลูกบาศ์ก
เซนติเมตร น้ าหนักโมเลกุลของสาร X เท่ากับเท่าไร ปฏิกิริยาระหว่าง X และ Y เป็ น
ดังนี้ 2X + 3Y ⟶ 2A + 3B
ก. 66.67
ข. 100
ค. 150
ง. 300

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 61/66 หน้า 61
323. ในโรงพยาบาลแห่งหนึ่งเจ้าหน้าที่เทคนิคตรวจหาความเข้มข้นของสารละลายไฮโดรเจน 324. ถ้าระดับแอลกอฮอล์ในเลือดสามารถหาได้จากการไทเทรตกับสารละลายโพเทรตเซียม
เปอร์ออกไซด์ โดยนาสารละลายไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์มา 25.00 cm³ มาไทเทรต ไดโครเมต ดังสมการ
กับสารละลายที่เป็ นกรดของโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนตเข้มข้น 0.0200 mole/dm³ C₂H₅OH + 2Cr₂O₇²⁻ + 16 H⁺ ⟶ 2CO₂ + 4Cr³⁺ +11H₂O
ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นคือ(สมการยังไม่ดุล) ถ้าใช้ตวั อย่างเลือด 10.0 กรัม จะทาปฏิกิริยาพอดีกบั K₂Cr₂O₇ เข้มข้น
MnO₄⁻(aq) + H⁺(aq) + H₂O₂(aq) ⟶ Mn²⁺(aq) + H₂O(l) + O₂(g) 0.0500 mole/dm³ ปริ มาตร 8.10 ลูกบาศ์กเซนติเมตร จงคานวณหาระดับ
ทาการไทเทรต 3 ครั้ง ได้ผลการทดลองดังนี้ แอลกอฮอล์ในเลือดเป็ นร้อยละโดยมวล
ครั้ง 1 2 3
ปริ มาตรของ MnO₄⁻ ที่ใช้ cm³ 15.30 14.80 19.90
สารละลายไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์มีความเข้มข้นเท่าใดในหน่วย mole/dm³

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 62/66 หน้า 62
325. สารละลาย KI 4.0 กรัม และ I₂ 2.0 กรัม ในน้ า 100 cm³ (สมมติปริ มาตรไม่ 326. การไทเทรตสารละลายเบสอ่อน (BOH) ปริ มาตร 20 cm³ กับสารละลาย HCl
เปลี่ยนแปลง ) นาสารละลายมาเขย่ากับ CCl₄ 50 cm³ จนสารละลายเข้าสู่สภาวะ เข้มข้น 0.10 mole/dm³ ที่จุดสมมูลต้องใช้ปริ มาตรสารละลาย HCl 20 cm³ อินดิ
สมดุล แยกชั้น CCl₄ ออกมาไทเทรตกับสารละลาย Na₂S₂O₃ เข้มข้น 0.5 mole/dm³ เคเตอร์ใดเหมาะสมที่จะใช้ในการไทเทรตมากที่สุด
ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นดังนี้ I₂ + 2S₂O₃²⁻ ⇄ 2I⁻ + S₄O₆²⁻ (กาหนด Ka ของ B⁺ เท่ากับ 2 x 10⁻⁹ )
เมื่อถึงจุดยุติ พบว่าใช้สารละลาย Na₂S₂O₃ 20.0 cm³ จะมี I₂ เหลืออยูใ่ นชั้น อินดิเคเตอร์ pH ช่วงการเปลี่ยนสี
ของน้ ากี่กรัม ก. A 3.3 – 4.6
ข. B 3.8 – 5.4
ค. C 5.2 – 6.8
ง. D 6.0 – 7.6

327. การไทเทรตสารละลายกรดอ่อน HA ปริ มาตร 20 cm³ กับสารละลาย NaOH


เข้มข้น 0.100 mole/dm³ ปริ มาตรของสารละลาย NaOH ที่จุดสมมูลเป็ น 25.00 cm³
อินดิเคเตอร์ใดที่เหมาะสมที่สุดในการไทเทรตนี้
( กาหนด Ka ของ A⁻ เท่ากับ 2 x 10⁻⁹ )
อินดิเคเตอร์ pH ช่วงการเปลี่ยนสี
ก. A 6.0 – 7.6
ข. B 6.4 – 8.2
ค. C 8.0 – 9.8
ง. D 9.4 – 10.6

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 63/66 หน้า 63
328. กรดอ่อนชนิดหนึ่งมีค่าคงที่การแตกตัวเท่ากับ 1 x 10⁻⁶ และมีความเข้มข้นประมาณ ง. 0.60
0.02 โมลาร์ เมื่อนามาไทเทรตกับสารละลาย NaOH ควรเลือกอินดิเคเตอร์ที่มีค่า pKa 331. จุดยุติ (end point) ของการไทเทรตมี [OH⁻] อยูก่ ี่ mole/dm³
ประมาณเท่าใด (ENT- 2 ต.ค. 52 ) ก. 3.7 x 10⁻¹¹
ก. 6 ข. 1.0 x 10⁻⁷
ข. 8 ค. 1.6 x 10⁻⁹
ค. 9 ง. 6.1 x 10⁻⁶
ง. 10

คาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ ใช้ประกอบการตอบคาถามข้อ 331 - 333 คาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ ใช้ประกอบการตอบคาถามข้อ 334 - 336
(กาหนด Ka ของ CH₃COOH เท่ากับ 1.8 x 10⁻⁵ ) การทดลอง ปริ มาตรของ สารละลายที่ใช้ (cm³ )
จุดของการ ปริ มาตรของ สารละลายที่ใช้ (cm³ ) ครั้งที่ 0.1 mole/dm³ NaHS 0.2 mole/dm³ HCl
ไทเทรต 0.1 mole/dm³ CH₃COOH 0.2 mole/dm³ NaOH 1 10 20
I. 20 0 2 20 10
II. 20 5 3 30 10
III. 20 10 จากตารางทดลองผสมสารละลาย NaHS เข้มข้น 0.1 mole/dm³ กับสารละลาย HCl
IV. 20 15 เข้มข้น 0.2 mole/dm³ ดังแสดงในตาราง
V. 20 20 332. การทดลองครั้งที่ 1 สารละลายผสมจะมีค่า pH เท่าใด
VI. 20 25 ก. 7.0
ข. มากกว่า 7 เล็กน้อย
329. จุดที่ให้การเปลี่ยนค่า pH น้อยที่สุด เมื่อนาสารละลายที่ได้มาเติมกรดแก่คือจุดใด ค. 1.0
ก. จุดที่ II ง. น้อยกว่า
ข. จุดที่ III 333. สารละลายผสมในการทดลองครั้งที่ 2 มีสมบัติเป็ น
ค. จุดที่ IV ก. กรด
ง. จุดที่ V และ VI ข. เบส
330. เมื่อทาการไทเทรตถึงจุดที่ V pOH ของสารละลายที่ได้มีค่สเท่าใด ค. กลาง
ก. 12.70 ง. เกลือ
ข. 1.00 334. สารละลายผสมในการทดลองครั้งที่ 3 มีสมบัติเป็ น
ค. 1.30 ก. เกลือ
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 64/66 หน้า 64
ข. กลาง ง. D ⟶ E
ค. กรด 337. ณ จุดใดที่สารละลายมีสมบัติเป็ นสารละลายบัฟเฟอร์
ง. เบส ก. B
ข. C
ค. D
ง. E

338. สารละลาย HCl ปริ มาตร 20 cm³ ไทเทรตกับ สารละลาย NaOH เข้มข้น 0.4 mole/dm³
คาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ ใช้ประกอบการตอบคาถามข้อ 337 - 339 เมื่อใช้สารละลาย NaOH ไป 30 cm³ พบว่าเกินสมมูลไป 5 cm³ ข้อใดผิด
เมื่อไทเทรต CH₃COOH 20 cm³ NaOH เข้มข้น 0.05 M แล้วเขียนกราฟระหว่าง ก. ความเข้มข้นของ HCl เท่ากับ 0.5 mole/dm³
pH ของสารละลายกับปริ มาตร NaOH ที่ใช้ ได้กราฟดังนี้ ข. pH ของสารละลายหลังจากเติม NaOH ไป 28 cm³ มีค่าเท่ากับ 11.3
ค. ถ้านาสารละลาย HCl นี้ไปไทเทรตกับ สารละลาย Na₂CO₃ เข้มข้น
0.3 mole/dm³ จะต้องใช้ HCl ไปปริ มาตร 36 cm³
ง. pH ของสารละลายที่จุดสมมูลเท่ากับ 7
339. นาสารละลาย NH₄OH 0.120 mole/dm³ จานวน 10.0 cm³ มาไทเทรตกับ
สารละลาย HCl ได้ขอ้ มูลดังนี้
การทดลองครั้งที่ ปริ มาตรของ HCl ที่ใช้ไป (cm³ )
ปริ มาตร NaOH cm³ 1 13.10
2 13.30
335. ความเข้มข้นเริ่ มต้นของสารละลาย CH₃COOH เท่ากับกี่โมลาร์ 3 13.15
ก. 1.8 x 10⁻⁵ ถ้าการทดลองครั้งที่ 4 เติม HCl ไปเพียง 9.9 cm³ สารละลายที่ได้จะมี pH เท่าใด
ข. 0.05 ( กาหนดให้ Kb ของ NH₄OH = 1.8 x 10⁻⁵ , log 3 = 0.4771 , log 1.8 = 0.2533 )
ค. 0.10 ก. 6.2
ง. 0.15 ข. 7.8
336. สารละลายที่มี pH = 7 อยูใ่ นช่วงใด ค. 8.4
ก. A ⟶ B ง. 8.8
ข. B ⟶ C 340. นาโพเทสเซียมไฮโดรเจนทาเลต ( KC₈H₅O₄ ) 2.04 กรัม ละลายในน้ า 100.00 cm³
ค. C ⟶ D นาสารละลายนี้ 25.00 cm³ ไปไทเทรตกับสารละลาย NaOH พบว่าที่จุดยุติปริ มาตร
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 65/66 หน้า 65
ของสารละลาย NaOH ที่ใช้เป็ น 20.00 cm³ นาสารละลาย NaOH นี้ไปไทเทรตกับ
สารละลาย กรดแอซิติก 25.00 cm³ พบว่าที่จุดยุติปริ มาตรของสารละลาย NaOH ที่
ใช้เป็ น 20.00 cm³ ระหว่างการไทเทรตกรดแอซิติกนี้ติดตาม pH ของสารละลาย
จะต้องเติมสารละลาย NaOH เท่าใดในหน่วย cm³ สารละลายจึงมี pH = 4.263
(โพเทสเซียมไฮโดรเจนทาเลตเป็ นกรดอ่อนแตกตัวได้ 1 ครั้งในน้ า ค่า pKa ของกรด
แอซิติก = 4.74 log 2 = 0.3010 log 3 = 0.4771 )
ก. 5.000 ข. 10.000 ค. 15.000 ง. 20.000

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 8 กรด - เบส(แบบฝึ กหัด กรด - เบส) 10/1/2013 66/66 หน้า 66

You might also like