You are on page 1of 118

ภาค

41

ภาคผนวก ก

1. รายนามผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบเครื่องมือที่ใช้ใน
การวิจัย
2. ตัวอย่างแบบประเมินเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
3. ผลการวิเคราะห์ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC)
ของแบบวัดผลสัมฤทธิ ์
ทางการเรียน เรื่อง การไทเทรตกรด-เบส
4. ผลการวิเคราะห์ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC)
ของแบบสอบถามความ
พึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนแบบ
สะเต็มศึกษา
42

รายนามผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

การตรวจเครื่องมือในการวิจัยครัง้ นี ้ ได้รับความอนุเคราะห์ในการตรวจ
สอบและเสนอแนะจากผู้เชี่ยวชาญ
ดังมีรายนามต่อไปนี ้
1. นายจีรศักดิ ์ จันทร์จิตร ตำแหน่ง ครูค.ศ. 2
หน่วยงาน โรงเรียนเตรียม
อุดมศึกษา สุวินทวงศ์
2. นางสาวจันทิมา พูลประเสริฐ ตำแหน่ง ครูค.ศ. 1
หน่วยงาน โรงเรียนเตรียม
อุดมศึกษา สุวินทวงศ์
3. นางสาวชนาภรณ์ ทรงครักษ์ ตำแหน่ง ครูค.ศ. 1
หน่วยงาน โรงเรียนเตรียม
อุดมศึกษา สุวินทวงศ์
43

แบบตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity)


ของแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาศึกษาปี ที่ 5
เรื่อง การไทเทรตกรด-เบส
...........................................................................................................................................
คำชีแ
้ จง
โปรดตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) ของข้อคำถามของแบบวัดผลสัมฤทธิ ์
ทางการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 เรื่อง การไทเทรตกรด-เบส ว่า
สอดคล้องกับจุดประสงค์/ตัวชีว้ ัดหรือไม่ โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนนดังนี ้
+1 ข้อคำถามสอดคล้องกับจุดประสงค์/ตัวชีว้ ัด
0 ไม่แน่ใจว่าข้อคำถามสอดคล้องกับจุดประสงค์/ตัวชีว้ ัด
-1 ข้อคำถามไม่สอดคล้องกับจุดประสงค์/ตัวชีว้ ัด
แบบทดสอบแบบปรนัย จำนวน 20 ข้อ
44

ผลการตรวจ
จุด ระดับ ข้อเสนอแนะ
สอบ
ประสงค์/ การ ข้อคำถาม
+ 0 -1
ตัวชีว
้ ัด วัด
1
อธิบายวิธี ความ 1. ข้อใดคือวิธีการติดตามภาวะที่ใกล้เคียงกับจุดสมมูล
การ รู้ 1. วัดค่าการดูดกลืนแสงและทดสอบกับกระดาษลิตมัส
ไทเทรต ความ 2. วัดค่าการดูดกลืนแสงและค่าการนำไฟฟ้ า
กรด-เบสได้ จำ 3. วัดค่าการดูดกลืนแสงและทดสอบกับกระดาษลิตมัส
4. วัดค่าการนำไฟฟ้ าและทดสอบกับกระดาษลิตมัส

อธิบายวิธี การ 2. เมื่อไทเทรตหาความเข้มข้นของสารละลายกรดไฮโรตคลอริก


การ ประเ ด้วยสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ โดยใช้ฟีนอล์ฟทาลีนเป็ น
ไทเทรต มินค่า อินดิเคเตอร์ ข้อใดคือสีของสารละลายที่จุดยุติใกล้เคียงกับจุด
กรด-เบสได้ สมมูลมากที่สุด
1. 2.
45

ผลการตรวจ
จุด ระดับ ข้อเสนอแนะ
สอบ
ประสงค์/ การ ข้อคำถาม
+ 0 -1
ตัวชีว
้ ัด วัด
1

3. 4.

อธิบายวิธี ความ 3. ข้อใดกล่าวถูกต้อง


การ รู้ 1. จุดสมมูล หมายถึง จุดที่กรดและเบสทำปฏิกิริยากันพอดี
46

ผลการตรวจ
จุด ระดับ ข้อเสนอแนะ
สอบ
ประสงค์/ การ ข้อคำถาม
+ 0 -1
ตัวชีว
้ ัด วัด
1
ไทเทรต ความ 2. จุดสมมูล หมายถึง จุดที่อินดิเคเตอร์เปลี่ยนสี
กรด-เบสได้ จำ 3. จุดยุติ หมายถึง จุดที่กรดและเบสทำปฏิกิริยากันพอดี
4. จุดยุติ หมายถึง จุดที่อินดิเคเตอร์เปลี่ยนสี
อธิบายวิธี การ 4. หากต้องการหาความเข้มข้นของสารละลายกรดแอซิติก ข้อใด
การ ประเ เป็ นวิธีที่เหมาะสมที่สุด
ไทเทรต มินค่า 1. ไทเทรตด้วยสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์และทดสอบ
กรด-เบสได้ สารละลายด้วยกระดาษลิตมัส
2. ไทเทรตด้วยสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์และ
ทดสอบค่าการดูดกลืนแสงของสารละลาย
3. ไทเทรตด้วยสารละลายแคลเซียมไฮดรอกไซด์และสังเกต
การเปลี่ยนสีของอินดิเคเตอร์
47

ผลการตรวจ
จุด ระดับ ข้อเสนอแนะ
สอบ
ประสงค์/ การ ข้อคำถาม
+ 0 -1
ตัวชีว
้ ัด วัด
1
4. ไทเทรตด้วยสารละลายแบเรียมไฮดรอกไซด์และทดสอบ
การตกตะกอนของสารละลาย
อธิบายวิธี ความ 5. ข้อใดกล่าว ผิด
การ รู้ 1. สารละลายมาตรฐาน คือ สารละลายที่ทราบปริมาตรแล้ว
ไทเทรต ความ 2. สารละลายมาตรฐาน คือ สารละลายที่ทราบความเข้มข้น
กรด-เบสได้ จำ ที่แน่นอนแล้ว
3. สารละลายมาตรฐานที่นิยมใช้ในการไทเทรตกรด-เบสอาจ
เป็ นเบสแก่ หรือกรดแก่ก็ได้

4. ในการไทเทรตกรด-เบส สารละลายมาตรฐานจะถูกบรรจุ
ในบิวเรตต์
เขียนกราฟ ความ 6. กราฟรูปตัวเอสที่ได้จากการไทเทรตกรด-เบส คือกราฟแสดง
48

ผลการตรวจ
จุด ระดับ ข้อเสนอแนะ
สอบ
ประสงค์/ การ ข้อคำถาม
+ 0 -1
ตัวชีว
้ ัด วัด
1
จากการ รู้ ความสัมพันธ์ในคู่ใด
ไทเทรต หา ความ 1. pH ของสารละลายมาตรฐานและปริมาตรของสารละลาย
จุดสมมูล จำ ที่ถูกไทเทรต
และระบุ 2. pH ของสารละลายมาตรฐานและความเข้มข้นชอง
pH ณ จุด สารละลายที่ถูกไทเทรต
สมมูลได้ 3. pH ของสารละลายที่ถูกไทเทรตและปริมาตรของ
สารละลายมาตรฐาน
4. pH ของสารละลายที่ถูกไทเทรตและความเข้มข้นของ
สารละลายมาตรฐาน
49

ผลการตรวจ
จุด ระดับ ข้อเสนอแนะ
สอบ
ประสงค์/ การ ข้อคำถาม
+ 0 -1
ตัวชีว
้ ัด วัด
1
เขียนกราฟ การ 7. ข้อใดแสดงกราฟที่ได้จากการไทเทรตสารละลายกรดไฮโดรโบ
จากการ วิเครา รมิกกับสารละลายแอมโมเนีย
ไทเทรต หา ะห์ 1. 2.
จุดสมมูล
และระบุ
pH ณ จุด
สมมูลได้
3. 4.
50

ผลการตรวจ
จุด ระดับ ข้อเสนอแนะ
สอบ
ประสงค์/ การ ข้อคำถาม
+ 0 -1
ตัวชีว
้ ัด วัด
1

เขียนกราฟ ความ 8. จากกราฟการไทเทรตสารละลายกรดแอซิติกกับสารละลายโซ


จากการ เข้าใจ เดียมไฮดรอกไซด์ จุดสมมูลมีปริมาตรของสารละลายโซเดีย
ไทเทรต หา มไฮดรอกไซด์ และ pH ของสารละลายแอมโมเนียมีเป็ นเท่าใด
จุดสมมูล 1. 12.50 ml ,
และระบุ pH = 3
pH ณ จุด 2. 25.00 ml ,
สมมูลได้ pH = 7
3. 30.00 ml ,
pH = 9
4. 37.50 ml ,
51

ผลการตรวจ
จุด ระดับ ข้อเสนอแนะ
สอบ
ประสงค์/ การ ข้อคำถาม
+ 0 -1
ตัวชีว
้ ัด วัด
1
pH = 13

เขียนกราฟ การ 9. หากนักเรียนทำการไทเทรตสารละลาย A ที่มีค่า Ka = 5.6 x


-10 -4
จากการ วิเครา 10 กับสารละลาย B ที่มีค่า Kb = 2.1 x 10 น่าจะได้กราฟ
ไทเทรต หา ะห์ ที่มีลักษณะดังข้อใด
จุดสมมูล 1 2.
และระบุ
pH ณ จุด
สมมูลได้

3. 4.
52

ผลการตรวจ
จุด ระดับ ข้อเสนอแนะ
สอบ
ประสงค์/ การ ข้อคำถาม
+ 0 -1
ตัวชีว
้ ัด วัด
1

เขียนกราฟ ความ 10. จากการไทเทรตในข้อ 9. จะได้จุดสมมูลที่มี pH ของ


จากการ เข้าใจ สารละลายที่ต้องการทราบความเข้มข้นและปริมาตร
ไทเทรต หา สารละลายมาตรฐานที่ถูกใช้ดังข้อใด
จุดสมมูล 1. pH = 5 , 25.00 ml 2. pH = 6 ,
และระบุ 25.00 ml
pH ณ จุด 3. pH = 7 , 25.00 ml 4. pH = 8 ,
สมมูลได้ 25.00 ml
53

ผลการตรวจ
จุด ระดับ ข้อเสนอแนะ
สอบ
ประสงค์/ การ ข้อคำถาม
+ 0 -1
ตัวชีว
้ ัด วัด
1
คำนวณ ความ 11. ในการไทเทรตสารละลายแอซีติกเข้มข้น 0.1 โมล/ลิตร กับ
หาความ เข้าใจ สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ ได้ข้อมูลจากการทดลองดังนี ้
เข้มข้นของ ปริมาตรของ ปริมาตรของ NaOH
ครัง้ ที่
สารละลาย
3 3
CH3COOH (cm ) (cm )
จากการ 1 25 18.1
ไทเทรต 2 25 17.9
กรด-เบสได้ 3 25 18.0
สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์มีความเข้มข้นเท่าใด
1. 0.12 โมล/ลิตร 2. 0.14
โมล/ลิตร
54

ผลการตรวจ
จุด ระดับ ข้อเสนอแนะ
สอบ
ประสงค์/ การ ข้อคำถาม
+ 0 -1
ตัวชีว
้ ัด วัด
1
3. 1.20 โมล/ลิตร 4. 1.20
โมล/ลิตร
คำนวณ ความ 12. ถ้ าต้ องการสะเทินสารละลาย Ba(OH) เข้ มข้ น 0.05 M ปริ มาตร 30 cm จะต้ องใช้ กรดฟอสฟอริ
2
3

ก (H3PO4) เข้ มข้ น 0.25 M กี่ลกู บาศก์เซนติเมตร


หาความ เข้าใจ 1. 0.4 ลูกบาศก์เซนติเมตร 2. 4.0 ลูกบาศก์เซนติเมตร
เข้มข้นของ 3. 8.0 ลูกบาศก์เซนติเมตร 4. 12.0 ลูกบาศก์เซนติเมตร

สารละลาย
จากการ
ไทเทรต
กรด-เบสได้
คำนวณ ความ 13. แบเรียมไฮดรอกไซด์ทำปฏิกิริยากับกรดไฮโดรคลอริก ดัง
หาความ เข้าใจ สมการ
55

ผลการตรวจ
จุด ระดับ ข้อเสนอแนะ
สอบ
ประสงค์/ การ ข้อคำถาม
+ 0 -1
ตัวชีว
้ ัด วัด
1
เข้มข้นของ ถ้าสารละลายแบเรียมไอดรอกไซด์   ทำปฏิกิริยาสะเทิน
สารละลาย ด้วยกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 0.1 M ปริมาตร   
จากการ สารละลายแบเรียมไฮดรอกไซด์มีความเข้มข้นเท่าใด
ไทเทรต
1. 0.300 M 2. 0.150 M
3. 0.100 M 4. 0.075 M

กรด-เบสได้
3
คำนวณ ความ 14. ในการเตรียม Na2SO4 จะต้องใช้ NaOH 0.300 mol/dm
หาความ เข้าใจ กีล
่ ูกบาศก์เซนติเมตร ในการทำปฏิกิริยาพอดีกับ H2SO4 0.12
3 3
เข้มข้นของ mol/dm ปริมาตร 0.500 dm
สารละลาย
1. 60 cm3 2. 85 cm3
3. 400 cm3 4. 567 cm3

จากการ
ไทเทรต
56

ผลการตรวจ
จุด ระดับ ข้อเสนอแนะ
สอบ
ประสงค์/ การ ข้อคำถาม
+ 0 -1
ตัวชีว
้ ัด วัด
1
กรด-เบสได้
คำนวณ ความ 15. จากการไทเทรตระหว่างกรดแอซิติก (CH3COOH) ปริมาตร
3
หาความ เข้าใจ 25 cm กับสารละลายโซเดียม ไฮดรอกไซด์ 0.1 M ได้กราฟ
เข้มข้นของ การไทเทรตดังนี ้
สารละลาย ความเข้มข้นของ
จากการ กรดแอซิติกเป็ นเท่าใด
ไทเทรต 1. 0.01 M
กรด-เบสได้ 2. 0.02 M
3. 0.03 M
4. 0.04 M
57

ผลการตรวจ
จุด ระดับ ข้อเสนอแนะ
สอบ
ประสงค์/ การ ข้อคำถาม
+ 0 -1
ตัวชีว
้ ัด วัด
1

เลือกอิน การ 16. ในการไทเทรตสารละลาย HCl กับ NaOH ข้อใดถูกต้อง


ดิเคเตอร์ที่ วิเครา 1. อินดิเคเตอร์ที่เหมาะสมควรเปลี่ยนสีที่ pH > 7
เหมาะ ะห์ 2. อินดิเคเตอร์ที่เหมาะสมควรเปลี่ยนสีที่ pH < 7
สมในการ 3. ฟี นอล์ฟทาลีน (เปลี่ยนสีที่ pH 8.3 - 10.0) เป็ นอินดิเค
ไทเทรต เตอร์ที่ไม่เหมาะจะใช้ไทเทรต
กรด-เบสได้ 4. ฟี นอลเรด (เปลี่ยนสีที่ pH 6.8 – 8.4) เป็ นอินดิเคเตอร์ที่
เหมาะจะใช้ไทเทรต
3
เลือกอิน การ 17. ในการไทเทรตสารละลาย HCl เข้มข้น 0.2 mol/dm
3 3
ดิเคเตอร์ที่ วิเครา ปริมาตร 20 cm กับ NaOH เข้มข้น 0.1 mol/dm ข้อใดผิด
58

ผลการตรวจ
จุด ระดับ ข้อเสนอแนะ
สอบ
ประสงค์/ การ ข้อคำถาม
+ 0 -1
ตัวชีว
้ ัด วัด
1
เหมาะ ะห์ 1. จุดสมมูลมี pH = 7
สมในการ 2. อินดิเคเตอร์ที่เปลี่ยนสีในช่วง pH 5.0 – 6.0 ใช้ในการ
ไทเทรต ไทเทรตนีไ้ ด้
กรด-เบสได้ 3. โบรโมไทมอลบลู (เปลี่ยนสีที่ pH 6.0 – 7.6) ใช้ในการ
ไทเทรตนีไ้ ด้
4. ฟี นอลเรด (เปลี่ยนสีที่ pH 6.8 – 8.4) ใช้ในการไทเทรตนี ้
ได้
เลือกอิน การ 18. จงพิจารณาเลือกอินดิเคเตอร์ที่เหมาะสมที่สุดในการ
3
ดิเคเตอร์ที่ ประเ ไทเทรตสารละลาย NH3 เข้มข้น 0.10 mol/dm ด้วย
3
เหมาะ มินค่า สารละลาย HCl เข้มข้น 0.10 mol/dm
สมในการ 1. ไทมอลบลู (เบส) ซึ่งเปลียนสีในช่วง pH 6.0 - 9.6 (เหลือง
59

ผลการตรวจ
จุด ระดับ ข้อเสนอแนะ
สอบ
ประสงค์/ การ ข้อคำถาม
+ 0 -1
ตัวชีว
้ ัด วัด
1
ไทเทรต - น้ำเงิน)
กรด-เบสได้ 2. ฟี นอลเรด ซึง่ เปลียนสีในช่วง pH 6.8 - 8.4 (เหลือง -
แดง)
3. ไทมอลบลู (กรด) ซึง่ เปลี่ยนสีในช่วง pH 1.2 - 2.8 (แ
ดง - เหลือง)
4. โบรโมครีซอลกรีน ซึ่งเปลียนสีในช่วง pH 3.8 - 5.4 (เหลือ
ง - น้ำเงิน)
เลือกอิน การ 19. การไทเทรตกรด-เบสคู่หนึ่ง ได้กราฟดังนี ้
ดิเคเตอร์ที่ ประเ อินดิเคเตอร์ชนิดใด
เหมาะ มินค่า เหมาะสมในการใช้ไทเทรตมากที่สุด
สมในการ 1. เมทิลเรด (เปลี่ยนสีที่
60

ผลการตรวจ
จุด ระดับ ข้อเสนอแนะ
สอบ
ประสงค์/ การ ข้อคำถาม
+ 0 -1
ตัวชีว
้ ัด วัด
1
ไทเทรต pH 4.2 – 6.2)
กรด-เบสได้ 2. โบรโมครีซอลเพอ
เพิล (เปลี่ยนสีที่ pH 5.2 - 6.8)
- แดง) 3. โบรโมครีซอลบลู (เปลี่
ยนสีที่ pH 6.0 - 7.6)
4. ฟี นอลเรด (เปลี่ยนสี
ที่ pH 6.8 – 8.4)
เลือกอิน การ 20. หากต้องการไทเทรตสารละลายแอมโมเนียด้วยสารละลาย
ดิเคเตอร์ที่ ประเ กรดแอซิติก ข้อใดเหมาะสมที่สุด
เหมาะ มินค่า 1. เลือกใช้โบรโมไทมอลบลู ซึง่ เปลี่ยนสีในช่วง pH 6.0 – 7.6
สมในการ 2. เลือกใช้ฟีนอลเรด ซึ่งเปลี่ยนสีในช่วง pH 6.8 - 8.4
61

ผลการตรวจ
จุด ระดับ ข้อเสนอแนะ
สอบ
ประสงค์/ การ ข้อคำถาม
+ 0 -1
ตัวชีว
้ ัด วัด
1
ไทเทรต 3. เลือกใช้อินดิเคเตอร์ที่เปลี่ยนสีที่ pH > 7
กรด-เบสได้ 4. เลือกใช้อินดิเคเตอร์ที่เปลี่ยนสีที่ pH < 7
62

แบบตรวจสอบความสอดคล้องระหว่างประเด็นกับข้อความของ
แบบสอบถามพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สะเต็ม
ศึกษา

ชื่อผู้เชี่ยวชาญ :
………………………………………………………………………………………………………
………
ขอให้ท่านพิจารณาข้อคำถามในแต่ละข้อว่ามีความสอดคล้องกับ
เนื้อหาและพฤติกรรมที่ต้องการวัดหรือไม่ตามเกณฑ์ต่อไปนี ้
 หากข้อความสอดคล้องกับประเด็น (+1
คะแนน)
 หากไม่แน่ใจว่าข้อความสอดคล้องกับประเด็น (0
คะแนน)
 หากข้อความไม่สอดคล้องกับประเด็น (-1
คะแนน)

ความคิด
เห็นของผู้
ข้ ความคิด
ข้อความ เชีย
่ วชาญ
อ เห็นเพิ่มเติม
+ -
0
1 1
ด้านเนื้อหาสาระ
การสอนโดยใช้สะเต็มศึกษาทำให้นักเรียนเข้าใจเนื้อหา
1.
วิชามากขึน

2. การสอนโดยใช้สะเต็มศึกษาทำให้นักเรียนเห็นภาพมาก
63

ขึน

การสอนโดยสะเต็มศึกษาทำให้นักเรียนจดจำเนื้อหาได้
3.
นาน
การสอนโดยใช้สะเต็มศึกษาทำให้นักเรียนเชื่อมโยงสิ่งรอบ
4.
ตัวเข้ากับบทเรียนได้
การสอนโดยใช้สะเต็มศึกษาทำให้นักเรียนสามารถนำ
5.
ความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ด้านกิจกรรมการเรียน
6. การเรียนรู้แบบเชื่อมโยงเหมาะสมกับเนื้อหาที่เรียน
กิจกรรมการเรียนทำให้นักเรียนมีความกระตือรือร้นใน
7.
การเรียน
กิจกรรมการเรียนทำให้นักเรียนเกิดการเชื่อมโยงความรู้
8.
และการลงมือปฏิบัติ
กิจกรรมการเรียนเปิ ดโอกาสให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการ
9.
ทำกิจกรรม
1 กิจกรรมการเรียนเปิ ดโอกาสให้นักเรียนได้แก้ปัญหาอย่าง
0. สร้างสรรค์
ด้านคุณค่า
1 การสอนโดยใช้สะเต็มศึกษาทำให้นักเรียนมีความสุขและ
1. สนุกสนานในการเรียน
1 การสอนโดยใช้สะเต็มศึกษาทำให้นักเรียนสามารถทำแบบ
2. ทดสอบหลังเรียนได้ดีขน
ึ้
1 การสอนโดยใช้สะเต็มศึกษาทำให้นักเรียนได้เนื้อหาสาระ
3. น้อยลง
64

1 การสอนโดยใช้สะเต็มศึกษาทำให้นักเรียนเกิดความสนใจ
4. ในการเรียนมากขึน

1 การสอนโดยใช้สะเต็มศึกษาทำให้นักเรียนจดจำและเข้าใจ
5. เนื้อหาบทเรียนได้ดียิ่งขึน

1 การสอนโดยใช้สะเต็มศึกษามีประสิทธิภาพมากกว่าการ
6. สอนแบบปกติ
ตารางที่ 8 แสดงค่าดัชนีความสอดคล้องของคำถาม แบบตรวจสอบความ
เที่ยงตรง/ความตรงตามเนื้อหา : ์ างการเรียน เรื่อง
แบบวัดผลสัมฤทธิท
การไทเทรตกรด-เบส

ผู้เชี่ยวชาญ
ค่า IOC ผลการพิจารณา
ข้อที่ คนที่
1 2 3
1 +1 +1 0 0.66 สอดคล้อง นำไปใช้ได้
ไม่สอดคล้อง ควร
2 +1 0 0 0.33
ปรับปรุง
3 +1 +1 +1 1 สอดคล้อง นำไปใช้ได้
4 +1 +1 0 0.66 สอดคล้อง นำไปใช้ได้
5 +1 +1 +1 1 สอดคล้อง นำไปใช้ได้
6 +1 +1 +1 1 สอดคล้อง นำไปใช้ได้
7 0 +1 +1 0.66 สอดคล้อง นำไปใช้ได้
8 +1 +1 +1 1 สอดคล้อง นำไปใช้ได้
9 +1 0 +1 0.66 สอดคล้อง นำไปใช้ได้
10 +1 +1 +1 1 สอดคล้อง นำไปใช้ได้
11 +1 +1 +1 1 สอดคล้อง นำไปใช้ได้
65

12 +1 +1 +1 1 สอดคล้อง นำไปใช้ได้
13 +1 +1 +1 1 สอดคล้อง นำไปใช้ได้
14 +1 +1 +1 1 สอดคล้อง นำไปใช้ได้
15 +1 +1 +1 1 สอดคล้อง นำไปใช้ได้
16 +1 0 +1 0.66 สอดคล้อง นำไปใช้ได้
17 +1 0 +1 0.66 สอดคล้อง นำไปใช้ได้
18 +1 0 +1 0.66 สอดคล้อง นำไปใช้ได้
19 +1 0 +1 0.66 สอดคล้อง นำไปใช้ได้
20 +1 0 +1 0.66 สอดคล้อง นำไปใช้ได้
66

ตารางที่ 9 แสดงค่าดัชนีความสอดคล้องของแบบตรวจสอบความ
สอดคล้องระหว่างประเด็นกับข้อความของ แบบสอบถามความพึง
พอใจที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สะเต็มศึกษา

ผู้เชี่ยวชาญคน
ค่า IOC ผลการพิจารณา
ข้อที่ ที่
1 2 3
สอดคล้อง นำไป
1 +1 +1 +1 1.00
ใช้ได้
สอดคล้อง นำไป
2 +1 +1 +1 1.00
ใช้ได้
สอดคล้อง นำไป
3 +1 +1 +1 1.00
ใช้ได้
สอดคล้อง นำไป
4 +1 +1 +1 1.00
ใช้ได้
สอดคล้อง นำไป
5 +1 +1 +1 1.00
ใช้ได้
ไม่สอดคล้อง ควร
6 0 +1 +1 0.67
ปรับปรุง
สอดคล้อง นำไป
7 +1 +1 +1 1.00
ใช้ได้
ไม่สอดคล้อง ควร
8 0 +1 +1 0.67
ปรับปรุง
สอดคล้อง นำไป
9 +1 +1 +1 1.00
ใช้ได้
67

สอดคล้อง นำไป
10 +1 +1 +1 1.00
ใช้ได้
สอดคล้อง นำไป
11 +1 +1 +1 1.00
ใช้ได้
สอดคล้อง นำไป
12 +1 +1 +1 1.00
ใช้ได้
ไม่สอดคล้อง ควร
13 0 0 +1 0.33
ปรับปรุง
สอดคล้อง นำไป
14 +1 +1 +1 1.00
ใช้ได้
สอดคล้อง นำไป
15 +1 +1 +1 1.00
ใช้ได้
ภาคผนวก ข

์ างการเรียน เรื่อง การ


1. คะแนนผลสัมฤทธิท
ไทเทรตกรด-เบส ก่อน
การจัดการเรียนรู้โดยใช้สะเต็มศึกษา
์ างการเรียน เรื่อง การ
2. คะแนนผลสัมฤทธิท
ไทเทรตกรด-เบส หลัง
การจัดการเรียนรู้โดยใช้สะเต็มศึกษา
3. คะแนนแบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการ
จัดการเรียนการสอนโดย
ใช้สะเต็มศึกษา
69

์ างการเรียน เรื่อง การไทเทรต


ตารางที่ 10 แสดงคะแนนผลสัมฤทธิท
กรด-เบส ก่อนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ สะเต็มศึกษา

ลำดับที่ คะแนน ลำดับที่ คะแนน


1 6 18 8
2 4 19 6
3 10 20 7
4 12 21 7
5 16 22 11
6 6 23 5
7 6 24 10
8 9 25 5
9 15 26 7
10 5 27 6
11 16 28 7
12 8 29 8
13 7 30 4
14 9 31 6
15 9 32 13
16 1 33 10
17 4 34 15
70

์ างการเรียน เรื่อง การไทเทรต


ตารางที่ 11 แสดงคะแนนผลสัมฤทธิท
กรด-เบส หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้ สะเต็มศึกษา

ลำดับที่ คะแนน ลำดับที่ คะแนน


1 11 18 11
2 11 19 13
3 15 20 10
4 17 21 11
5 17 22 15
6 10 23 10
7 10 24 13
8 12 25 12
9 16 26 14
10 10 27 15
11 16 28 12
12 10 29 15
13 11 30 10
14 13 31 12
15 14 32 15
16 8 33 12
17 13 34 17
ตารางที่ 12 แสดงคะแนนแบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการ
เรียนการสอนโดยใช้สะเต็มศึกษา

ข้อ 1 1 1 1 1 1 1
1 2 3 4 5 6 7 8 9
คนที่ 0 1 2 3 4 5 6
1 4 5 4 4 4 5 5 5 5 4 5 4 4 5 5 5
2 5 4 4 3 4 4 4 4 4 5 4 3 3 4 4 4
3 4 4 5 4 4 5 5 4 5 5 5 5 5 4 4 4
4 5 5 3 3 3 3 5 5 5 5 4 2 1 5 5 5
5 2 3 2 2 4 3 2 2 2 3 1 1 4 4 4 5
6 4 4 4 3 4 4 2 4 3 3 4 4 4 3 4 4
7 3 4 4 5 4 4 3 4 5 4 3 3 4 2 3 3
8 3 3 4 4 3 3 2 3 3 3 3 3 2 3 3 3
9 5 4 4 3 4 4 4 4 4 5 4 3 3 4 4 4
10 4 4 4 4 3 4 3 5 4 4 5 4 4 4 3 4
11 4 4 4 3 3 4 4 4 4 4 4 4 3 3 3 3
12 4 3 4 4 4 5 5 5 5 5 4 4 4 4 4 4
13 4 4 4 4 4 3 3 3 3 3 3 3 4 3 4 5
14 3 3 3 3 3 4 3 3 4 3 3 3 3 3 3 3
15 4 5 4 4 4 4 4 4 4 4 3 4 4 4 4 4
16 4 4 3 5 5 4 4 3 5 5 4 5 2 4 4 4
17 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 4 1 5 5 5
18 5 5 3 4 4 5 2 4 4 5 5 3 1 4 4 5
19 4 4 4 4 3 4 4 4 4 3 4 4 3 4 4 4
20 4 4 4 5 4 4 5 5 5 4 5 5 2 5 5 4
72

21 3 3 3 3 2 5 4 4 5 3 4 3 4 3 3 3
22 4 4 3 3 3 4 4 4 5 5 5 4 2 4 4 4
23 4 5 4 4 4 4 5 4 4 4 3 3 2 5 5 3
24 4 4 4 4 4 5 4 5 5 5 4 4 2 5 5 4
25 4 4 4 4 3 3 3 4 4 4 3 2 3 3 3 3
26 5 4 4 4 5 4 3 4 4 4 4 4 2 3 4 4
27 4 5 4 4 3 5 5 5 5 5 5 4 3 5 5 4
28 4 5 3 3 5 5 3 4 5 5 5 5 3 2 2 2
ข้อ 1 1 1 1 1 1 1
1 2 3 4 5 6 7 8 9
คนที่ 0 1 2 3 4 5 6
29 5 5 5 5 5 4 5 3 4 5 4 5 4 5 3 5
30 5 4 4 4 5 4 3 4 4 4 4 4 2 3 4 4
31 5 4 4 4 5 4 3 4 4 4 4 4 2 3 4 4
32 4 5 4 4 3 5 5 5 5 5 5 4 3 5 5 4
33 4 5 3 3 5 5 3 4 5 5 5 5 3 2 2 2
34 4 4 4 4 4 5 4 5 5 5 4 4 2 5 5 4
ภาคผนวก ค

์ างการเรียน เรื่อง การ


1. แบบวัดผลสัมฤทธิท
ไทเทรตกรด-เบส ก่อน
การจัดการเรียนรู้โดยใช้สะเต็มศึกษา
์ างการเรียน เรื่อง การ
2. แบบวัดผลสัมฤทธิท
ไทเทรตกรด-เบส หลัง
การจัดการเรียนรู้โดยใช้สะเต็มศึกษา
3. แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการ
เรียนการสอนแบบ
สะเต็มศึกษา
4. แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การไทเทรตกรด-
เบส โดยใช้สะเต็มศึกษา
74

แบบทดสอบก่อนเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับ
ชัน
้ มัธยมศึกษาศึกษาปี ที่ 5
เรื่อง การไทเทรตกรด-เบส
.......................................................................................
............................................
คำชีแ
้ จง จงทำเครื่องหมาย X ลงบนคำตอบที่ถูกต้องของคำถามต่อ
ไปนี ้
1. ในการไทเทรตสารละลายกรดไฮโดรคลอริกด้วยสารละลายโซเดีย
มไฮดรอกไซด์ จะติดตามภาวะที่ใกล้เคียงกับจุดสมมูลได้อย่างไร
1. วัดค่าการดูดกลืนแสงและทดสอบกับกระดาษลิตมัส
2. วัดค่าการดูดกลืนแสงและทดสอบกับอินดิเคเตอร์
3. วัดค่าการนำไฟฟ้ าและทดสอบกับกระดาษลิตมัส
4. วัดค่าการนำไฟฟ้ าและทดสอบกับอินดิเคเตอร์
75

2. เมื่อไทเทรตหาความเข้มข้นของสารละลายกรดไฮโดรคลอริกด้วย
สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ โดยใช้ ฟี นอล์ฟทาลีนเป็ นอินดิเคเตอร์
สีของสารละลายที่จุดยุติควรมีลักษณะดังข้อใด
1. สารละลายมีสีแดง
2. สารละลายมีสีชมพูเข้ม
3. สารละลายมีสีชมพูอ่อน
4. สารละลายใส ไม่มีสี

3. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1. จุดสมมูล หมายถึง จุดที่กรดและเบสทำปฏิกิริยากันพอดี
2. จุดสมมูล หมายถึง จุดที่สารละลายมีค่า pH เปลี่ยนไป
3. จุดยุติ หมายถึง จุดที่กรดและเบสทำปฏิกิริยากันพอดี
4. จุดยุติ หมายถึง จุดที่สารละลายมีค่า pH เปลี่ยนไป

4. หากต้องการทราบความเข้มข้นของสารละลายกรดแอซิติก ข้อใดเป็ น
วิธีที่เหมาะสมที่สุด
1. ไทเทรตด้วยสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์และทดสอบค่า
การดูดกลืนแสงของสารละลาย
2. ไทเทรตด้วยสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์และทดสอบสารละลาย
ด้วยกระดาษลิตมัส
3. ไทเทรตด้วยสารละลายแคลเซียมไฮดรอกไซด์และสังเกตการ
เปลี่ยนสีของอินดิเคเตอร์
4. ไทเทรตด้วยสารละลายแบเรียมไฮดรอกไซด์และทดสอบการตก
ตะกอนของสารละลาย

5. ข้อใดกล่าว ผิด
76

1. สารละลายมาตรฐาน คือ สารละลายที่ทราบปริมาตรแล้ว


2. ในการไทเทรตกรด-เบส สารละลายมาตรฐานจะถูกบรรจุใน
บิวเรตต์
3. สารละลายมาตรฐาน คือ สารละลายที่ทราบความเข้มข้นที่แน่นอน
แล้ว
4. สารละลายมาตรฐานที่นิยมใช้ในการไทเทรตกรด-เบสอาจเป็ นเบส
แก่ หรือกรดแก่กไ็ ด้

6. กราฟรูปตัวเอสที่ได้จากการไทเทรตกรด-เบส คือกราฟแสดงความ
สัมพันธ์ในคู่ใด
1. pH ของสารละลายมาตรฐานและปริมาตรของสารละลายที่ถูก
ไทเทรต
2. pH ของสารละลายที่นำมาไทเทรตและปริมาตรของสารละลาย
มาตรฐาน
3. pH ของสารละลายมาตรฐานและความเข้มข้นของสารละลายที่ถูก
ไทเทรต
4. pH ของสารละลายที่นำมาไทเทรตและความเข้มข้นของ
สารละลายมาตรฐาน

7. ข้อใดแสดงกราฟที่ได้จากการไทเทรตสารละลายกรดไฮโดรโบรมิกกับ
สารละลายแอมโมเนีย
1. 2.
77

3. 4.

8. จากกราฟการไทเทรตสารละลายกรดแอซิติกกับสารละลาย
แอมโมเนีย ที่จุดสมมูลปริมาตรของสารละลายแอมโมเนีย และ pH ของ
สารละลายมีเป็ นเท่าใด
1. 12.50 mL , pH = 3
2. 25.00 mL , pH = 7
3. 30.00 mL , pH = 9
4. 37.50 mL , pH =
13

-10
9. หากนักเรียนทำการไทเทรตสารละลาย A ที่มีค่า Ka = 5.6 x 10
-4
กับสารละลาย B ที่มีค่า Kb = 2.1 x 10 กราฟที่ได้ควร
มีลักษณะดังข้อใด
1. 2.
78

3. 4.

10. จากการไทเทรตในข้อ 9. จะได้จุดสมมูลที่มี pH ของสารละลายที่


ต้องการทราบความเข้มข้นและปริมาตรสารละลายมาตรฐานที่ถูกใช้ดังข้อ
ใด
1. pH = 5 , 25.00 mL 2. pH = 6 , 25.00 mL
3. pH = 7 , 25.00 mL 4. pH = 8 , 25.00 mL

11. ในการไทเทรตสารละลายแอซีติกเข้มข้น 0.1 โมล/ลิตร กับ


สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ ได้ข้อมูลจากการทดลองดังนี ้
ปริมาตรของ ปริมาตรของ NaOH
ครัง้ ที่ 3 3
CH3COOH (cm ) (cm )
1 25 18.1
2 25 17.9
3 25 18.0

สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์มีความเข้มข้นเท่าใด
1. 0.12 โมล/ลิตร 2. 1.20 โมล/ลิตร
3. 0.14 โมล/ลิตร 4. 1.20 โมล/ลิตร
79

12. ถ้าต้องการสะเทินสารละลาย Ba(OH)2 เข้มข้น 0.05 M ปริมาตร 30


3
cm จะต้องใช้กรดฟอสฟอริก (H3PO4) เข้มข้น 0.25 M กี่ลูกบาศก์
เซนติเมตร
1. 0.4 ลูกบาศก์เซนติเมตร 2. 4.0 ลูกบาศก์
เซนติเมตร
3. 8.0 ลูกบาศก์เซนติเมตร 4. 12.0 ลูกบาศก์
เซนติเมตร

13. แบเรียมไฮดรอกไซด์ทำปฏิกิริยากับกรดไฮโดรคลอริก ดังสมการ

ถ้าสารละลายแบเรียมไอดรอกไซด์   ทำปฏิกิริยาสะเทินด้วยกรด
ไฮโดรคลอริกเข้มข้น 0.1 M ปริมาตร   สารละลายแบเรียมไฮดร
อกไซด์มีความเข้มข้นเท่าใด
1. 0.300 M 2. 0.150 M
3. 0.100 M 4. 0.075 M

3
14. ในการเตรียม Na2SO4 จะต้องใช้ NaOH เข้มข้น 0.300 mol/dm
3
กี่ลูกบาศก์เซนติเมตร เพื่อทำปฏิกิริยาพอดีกับ H2SO4 0.12 mol/dm
3
ปริมาตร 0.500 dm
3 3
1. 60 cm 2. 85 cm
3 3
3. 400 cm 4. 567 cm
80

3
15. จากการไทเทรตระหว่างกรดแอซิติก (CH3COOH) ปริมาตร 25 cm
กับสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ 0.1 M ได้กราฟการไทเทรตดังนี ้
ความเข้มข้นของกรดแอซิ
ติกเป็ นเท่าใด
1. 0.1 M
2. 0.2 M
3. 0.3 M
4. 0.4 M

16. ในการไทเทรตสารละลาย HCl กับ NaOH ข้อความใดกล่าวถูกต้อง


ที่สุด
1. อินดิเคเตอร์ที่เหมาะสมควรเปลี่ยนสีที่ pH > 7
2. อินดิเคเตอร์ที่เหมาะสมควรเปลี่ยนสีที่ pH < 7
3. ฟี นอล์ฟทาลีน (เปลี่ยนสีที่ pH 8.3 - 10.0) เป็ นอินดิเคเตอร์ที่ไม่
เหมาะจะใช้ไทเทรต
4. ฟี นอลเรด (เปลี่ยนสีที่ pH 6.8 – 8.4) เป็ นอินดิเคเตอร์ที่เหมาะ
จะใช้ไทเทรต

3
17. ในการไทเทรตสารละลาย HCl เข้มข้น 0.2 mol/dm ปริมาตร 20
3 3
cm กับ NaOH เข้มข้น 0.1 mol/dm ข้อใดผิด
1. จุดสมมูลมี pH = 7
2. โบรโมไทมอลบลู (เปลี่ยนสีที่ pH 6.0 – 7.6) ใช้ในการไทเทรตนีไ้ ด้
3. อินดิเคเตอร์ที่เปลี่ยนสีในช่วง pH 1.0 – 3.0 ใช้ในการไทเทรตนีไ้ ด้
4. ฟี นอลเรด (เปลี่ยนสีที่ pH 6.8 – 8.4) ใช้ในการไทเทรตนีไ้ ด้
81

18. จงพิจารณาเลือกอินดิเคเตอร์ที่เหมาะสมที่สุดในการไทเทรต
3
สารละลาย NH3 เข้มข้น 0.10 mol/dm ด้วยสารละลาย HCl เข้มข้น
3
0.10 mol/dm
1. เมทิลเรด ซึ่งเปลียนสีในช่วง pH 3.2 - 4.4 (เหลือง - น้ำเงิน)
2. ฟี นอลเรด ซึ่งเปลียนสีในช่วง pH 6.8 - 8.4 (เหลือง - แดง)
3. ไทมอลบลู (กรด) ซึ่งเปลี่ยนสีในช่วง pH 1.2 - 2.8 (แดง -
เหลือง)
4. โบรโมครีซอลกรีน ซึ่งเปลียนสีในช่วง pH 3.8 - 5.4 (เหลือง -
น้ำเงิน)

19. การไทเทรตกรด-เบสคู่หนึ่ง ได้กราฟดังนี ้


อินดิเคเตอร์ชนิดใด ไม่เหมาะ
สมในการใช้ไทเทรตในครัง้ นี ้
1. ฟี นอล์ฟทาลีน (เปลี่ยนสีที่
pH 8.3 – 10.0)
2. โบรโมครีซอลเพอเพิล
(เปลี่ยนสีที่ pH 5.2 - 6.8) - แดง)
3. โบรโมครีซอลบลู (เปลี่ยนสีที่ pH 6.0 - 7.6)
4. ฟี นอลเรด (เปลี่ยนสีที่ pH
6.8 – 8.4)

20. หากต้องการไทเทรตสารละลายแอมโมเนียด้วยสารละลายกรดแอซิ
ติก ข้อใดเหมาะสมที่สุด
1. เลือกใช้โบรโมไทมอลบลู ซึ่งเปลี่ยนสีในช่วง pH 6.0 – 7.6
2. เลือกใช้ฟีนอลเรด ซึง่ เปลี่ยนสีในช่วง pH 6.8 - 8.4
82

3. เลือกใช้อินดิเคเตอร์ที่เปลี่ยนสีที่ pH > 7
4. เลือกใช้อินดิเคเตอร์ที่เปลี่ยนสีที่ pH < 7
83

แบบทดสอบหลังเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ระดับชัน
้ มัธยมศึกษา
ศึกษาปี ที่ 5
เรื่อง การไทเทรตกรด-เบส
.......................................................................................
............................................
คำชีแ
้ จง จงทำเครื่องหมาย X ลงบนคำตอบที่ถูกต้องของคำถามต่อ
ไปนี ้
1. ในการไทเทรตสารละลายกรดไฮโดรคลอริกด้วยสารละลายโซเดีย
มไฮดรอกไซด์ จะติดตามภาวะที่ใกล้เคียงกับจุดสมมูลได้อย่างไร
1. วัดค่าการดูดกลืนแสงและทดสอบกับกระดาษลิตมัส
2. วัดค่าการนำไฟฟ้ าและทดสอบกับอินดิเคเตอร์
3. วัดค่าการนำไฟฟ้ าและทดสอบกับกระดาษลิตมัส
4. วัดค่าการดูดกลืนแสงและทดสอบกับอินดิเคเตอร์

2. เมื่อไทเทรตหาความเข้มข้นของสารละลายกรดไฮโดรคลอริกด้วย
สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ โดยใช้ ฟี นอล์ฟทาลีนเป็ นอินดิเคเตอร์
สีของสารละลายที่จุดยุติควรมีลักษณะดังข้อใด
1. สารละลายมีสีชมพูอ่อน
2. สารละลายมีสีชมพูเข้ม
3. สารละลายมีสีแดง
84

4. สารละลายใส ไม่มีสี

3. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1. จุดยุติ หมายถึง จุดที่กรดและเบสทำปฏิกิริยากันพอดี
2. จุดยุติ หมายถึง จุดที่สารละลายมีค่า pH เปลี่ยนไป
3. จุดสมมูล หมายถึง จุดที่กรดและเบสทำปฏิกิริยากันพอดี
4. จุดสมมูล หมายถึง จุดที่สารละลายมีค่า pH เปลี่ยนไป

4. หากต้องการทราบความเข้มข้นของสารละลายกรดแอซิติก ข้อใดเป็ น
วิธีที่เหมาะสมที่สุด
1. ไทเทรตด้วยสารละลายแคลเซียมไฮดรอกไซด์และสังเกตการ
เปลี่ยนสีของอินดิเคเตอร์
2. ไทเทรตด้วยสารละลายแบเรียมไฮดรอกไซด์และทดสอบการตก
ตะกอนของสารละลาย
3. ไทเทรตด้วยสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์และทดสอบค่า
การดูดกลืนแสงของสารละลาย
4. ไทเทรตด้วยสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์และทดสอบ
สารละลายด้วยกระดาษลิตมัส

5. ข้อใดกล่าว ผิด
1. ในการไทเทรตกรด-เบส สารละลายมาตรฐานจะถูกบรรจุใน
บิวเรตต์
2. สารละลายมาตรฐาน คือ สารละลายที่ทราบความเข้มข้นที่แน่นอน
แล้ว
3. สารละลายมาตรฐาน คือ สารละลายที่ทราบปริมาตรแล้ว แต่ไม่
ทราบความเข้มข้น
85

4. สารละลายมาตรฐานที่นิยมใช้ในการไทเทรตกรด-เบสอาจเป็ นเบส
แก่ หรือกรดแก่กไ็ ด้

6. กราฟรูปตัวเอสที่ได้จากการไทเทรตกรด-เบส คือกราฟแสดงความ
สัมพันธ์ในคู่ใด
1. pH ของสารละลายที่นำมาไทเทรตและความเข้มข้นของ
สารละลายมาตรฐาน
2. pH ของสารละลายมาตรฐานและความเข้มข้นของสารละลายที่ถูก
ไทเทรต
3. pH ของสารละลายมาตรฐานและปริมาตรของสารละลายที่ถูก
ไทเทรต
4. pH ของสารละลายที่นำมาไทเทรตและปริมาตรของสารละลาย
มาตรฐาน

7. ข้อใดแสดงกราฟที่ได้จากการไทเทรตสารละลายกรดไฮโดรโบรมิกกับ
สารละลายแอมโมเนีย
1. 2.

3. 4.
86

8. จากกราฟการไทเทรตสารละลายกรดแอซิติกกับสารละลาย
แอมโมเนีย ที่จุดสมมูลปริมาตรของสารละลายแอมโมเนีย และ pH ของ
สารละลายมีเป็ นเท่าใด
1. 37.50 mL , pH = 13
2. 30.00 mL , pH =
11
3. 12.50 mL , pH = 9
4. 25.00 mL , pH = 7

-10
9. หากนักเรียนทำการไทเทรตสารละลาย A ที่มีค่า Ka = 5.6 x 10
-4
กับสารละลาย B ที่มีค่า Kb = 2.1 x 10 กราฟที่ได้ควร
มีลักษณะดังข้อใด
1. 2.

3. 4.
87

10. จากการไทเทรตในข้อ 9. จะได้จุดสมมูลที่มี pH ของสารละลายที่


ต้องการทราบความเข้มข้นและปริมาตรสารละลายมาตรฐานที่ถูกใช้ดังข้อ
ใด
1. pH = 6 , 25.00 mL 2. pH = 8 , 25.00 mL
3. pH = 7 , 25.00 mL 4. pH = 9 , 25.00 mL

11. ในการไทเทรตสารละลายแอซีติกเข้มข้น 0.1 โมล/ลิตร กับ


สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ ได้ข้อมูลจากการทดลองดังนี ้
ปริมาตรของ ปริมาตรของ NaOH
ครัง้ ที่ 3 3
CH3COOH (cm ) (cm )
1 25 18.1
2 25 17.9
3 25 18.0
สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์มีความเข้มข้นเท่าใด
1. 0.14 โมล/ลิตร 2. 1.40 โมล/ลิตร
3. 0.12 โมล/ลิตร 4. 1.20 โมล/ลิตร

12. ถ้าต้องการสะเทินสารละลาย Ba(OH)2 เข้มข้น 0.05 M ปริมาตร 30


3
cm จะต้องใช้กรดฟอสฟอริก (H3PO4) เข้มข้น 0.25 M กี่ลูกบาศก์
เซนติเมตร
88

1. 12.0 ลูกบาศก์เซนติเมตร 2. 8.0 ลูกบาศก์


เซนติเมตร
3. 6.0 ลูกบาศก์เซนติเมตร 4. 4.0 ลูกบาศก์เซนติเมตร

13. แบเรียมไฮดรอกไซด์ทำปฏิกิริยากับกรดไฮโดรคลอริก ดังสมการ

ถ้าสารละลายแบเรียมไอดรอกไซด์   ทำปฏิกิริยาสะเทินด้วยกรด
ไฮโดรคลอริกเข้มข้น 0.1 M ปริมาตร   สารละลายแบเรียมไฮดร
อกไซด์มีความเข้มข้นเท่าใด
1. 0.100 M 2. 0.075 M
3. 0.300 M 4. 0.150 M

3
14. ในการเตรียม Na2SO4 จะต้องใช้ NaOH เข้มข้น 0.300 mol/dm
3
กี่ลูกบาศก์เซนติเมตร เพื่อทำปฏิกิริยาพอดีกับ H2SO4 0.12 mol/dm
3
ปริมาตร 0.500 dm
3 3
1. 400 cm 2. 367 cm
3 3
3. 300 cm 4. 250 cm

3
15. จากการไทเทรตระหว่างกรดแอซิติก (CH3COOH) ปริมาตร 25 cm
กับสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ 0.1 M ได้กราฟการไทเทรตดังนี ้
ความเข้มข้นของกรดแอซิ
ติกเป็ นเท่าใด
1. 0.001 M
2. 0.01 M
3. 0.1 M
4. 1.0 M
89

16. ในการไทเทรตสารละลาย HCl กับ NaOH ข้อความใดกล่าวถูกต้อง


ที่สุด
1. ฟี นอล์ฟทาลีน (เปลี่ยนสีที่ pH 8.3 - 10.0) เป็ นอินดิเคเตอร์ที่ไม่
เหมาะจะใช้ไทเทรต
2. ฟี นอลเรด (เปลี่ยนสีที่ pH 6.8 – 8.4) เป็ นอินดิเคเตอร์ที่เหมาะจะ
ใช้ไทเทรต
3. อินดิเคเตอร์ที่เหมาะสมควรเปลี่ยนสีที่ pH > 7
4. อินดิเคเตอร์ที่เหมาะสมควรเปลี่ยนสีที่ pH < 7

3
17. ในการไทเทรตสารละลาย HCl เข้มข้น 0.2 mol/dm ปริมาตร 20
3 3
cm กับ NaOH เข้มข้น 0.1 mol/dm ข้อใดผิด
1. จุดสมมูลมี pH = 7
2. อินดิเคเตอร์ที่เปลี่ยนสีในช่วง pH 1.0 – 3.0 ใช้ในการไทเทรตนีไ้ ด้
3. โบรโมไทมอลบลู (เปลี่ยนสีที่ pH 6.0 – 7.6) ใช้ในการไทเทรตนีไ้ ด้
4. ฟี นอลเรด (เปลี่ยนสีที่ pH 6.8 – 8.4) ใช้ในการไทเทรตนีไ้ ด้

18. จงพิจารณาเลือกอินดิเคเตอร์ที่เหมาะสมที่สุดในการไทเทรต
3
สารละลาย NH3 เข้มข้น 0.10 mol/dm ด้วยสารละลาย HCl เข้มข้น
3
0.10 mol/dm
1. เมทิลเรด ซึ่งเปลียนสีในช่วง pH 3.2 - 4.4 (เหลือง - น้ำเงิน)
2. ไทมอลบลู (กรด) ซึ่งเปลี่ยนสีในช่วง pH 1.2 - 2.8 (แดง -
เหลือง)
90

3. ฟี นอลเรด ซึ่งเปลียนสีในช่วง pH 6.8 - 8.4 (เหลือง - แดง)


4. โบรโมครีซอลกรีน ซึ่งเปลียนสีในช่วง pH 3.8 - 5.4 (เหลือง -
น้ำเงิน)

19. การไทเทรตกรด-เบสคู่หนึ่ง ได้กราฟดังนี ้


อินดิเคเตอร์ชนิดใด ไม่เหมาะ
สมในการใช้ไทเทรตในครัง้ นี ้
1. โบรโมครีซอลบลู (เปลี่ยนสีที่
pH 6.0 - 7.6)
2. ฟี นอลเรด (เปลี่ยนสีที่ pH 6.8 – 8.4)
3. ฟี นอล์ฟทาลีน (เปลี่ยนสีที่ pH 8.3 –
10.0)
4. โบรโมครีซอลเพอเพิล
(เปลี่ยนสีที่ pH 5.2 - 6.8)

20. หากต้องการไทเทรตสารละลายแอมโมเนียด้วยสารละลายกรดแอซิ
ติก ข้อใดเหมาะสมที่สุด
1. เลือกใช้อินดิเคเตอร์ที่เปลี่ยนสีที่ pH < 7
2. เลือกใช้อินดิเคเตอร์ที่เปลี่ยนสีที่ pH > 7
3. เลือกใช้ฟีนอลเรด ซึง่ เปลี่ยนสีในช่วง pH 6.8 - 8.4
4. เลือกใช้โบรโมไทมอลบลู ซึ่งเปลี่ยนสีในช่วง pH 6.0 – 7.6
91

กระดาษคำตอบวิชาเคมี 3 ว 32223

ชื่อ……………………………………………………………………………………………………

คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องเพียงคำตอบเดียว แล้วทำ
เครื่องหมาย X ลงในกระดาษคำตอบ
ข้อ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
1

4
ข้อ 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20
1

4
92
93

แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน โดยใช้สะ
เต็มศึกษา

คำชีแ
้ จง ให้ทำเครื่องหมาย  ในช่องระดับที่ตรงกับความคิดเห็นของ
นักเรียน
ระดับ 5 หมายถึง นักเรียนพึงพอใจมากที่สุด ระดับ 4 หมายถึง
นักเรียนพึงพอใจมาก
ระดับ 3 หมายถึง นักเรียนพึงพอใจปานกลาง ระดับ 2 หมายถึง
นักเรียนพึงพอใจน้อย
ระดับ 1 หมายถึง นักเรียนพึงพอใจน้อยที่สุด
ระดับความคิด
ข้
ข้อความ เห็น

5 4 3 2 1
ด้านเนื้อหาสาระ
การสอนโดยใช้สะเต็มศึกษาทำให้นักเรียนเข้าใจเนื้อหา
1.
วิชามากขึน

การสอนโดยใช้สะเต็มศึกษาทำให้นักเรียนเห็นภาพมาก
2.
ขึน

การสอนโดยสะเต็มศึกษาทำให้นักเรียนจดจำเนื้อหาได้
3.
นาน
การสอนโดยใช้สะเต็มศึกษาทำให้นักเรียนเชื่อมโยงสิ่งรอบ
4.
ตัวเข้ากับบทเรียนได้
การสอนโดยใช้สะเต็มศึกษาทำให้นักเรียนสามารถนำ
5.
ความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ด้านกิจกรรมการเรียน
94

6. การเรียนรู้แบบเชื่อมโยงเหมาะสมกับเนื้อหาที่เรียน
กิจกรรมการเรียนทำให้นักเรียนมีความกระตือรือร้นใน
7.
การเรียน
8. กิจกรรมการเรียนทำให้นักเรียนเกิดการเชื่อมโยงความรู้
กิจกรรมการเรียนเปิ ดโอกาสให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการ
9.
ทำกิจกรรม
1 กิจกรรมการเรียนเปิ ดโอกาสให้นักเรียนได้แก้ปัญหาอย่าง
0. สร้างสรรค์
ด้านคุณค่า
1 การสอนโดยใช้สะเต็มศึกษาทำให้นักเรียนมีความสุขและ
1. สนุกสนานในการเรียน
1 การสอนโดยใช้สะเต็มศึกษาทำให้นักเรียนสามารถทำแบบ
2. ทดสอบหลังเรียนได้ดีขน
ึ้
1 การสอนโดยใช้สะเต็มศึกษาทำให้นักเรียนได้เนื้อหาสาระ
3. น้อยลง
1 การสอนโดยใช้สะเต็มศึกษาทำให้นักเรียนเกิดความสนใจ
4. ในการเรียนมากขึน

1 การสอนโดยใช้สะเต็มศึกษาทำให้นักเรียนจดจำและเข้าใจ
5. เนื้อหาบทเรียนได้ดียิ่งขึน

1 การสอนโดยใช้สะเต็มศึกษามีประสิทธิภาพมากกว่าการ
6. สอนแบบปกติ

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
…………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………….
95

………………………………………………………………….
………………………………………………………………….
………………………………………………………………….
………………………………………………………………….
………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………
…………………………….

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา สุวินทวงศ์
แผนการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 แผนที่ 26
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 กรด-เบส เรื่อง การไทเทรตกรด–
เบส จำนวนเวลา 2 คาบ
ชื่อวิชา เคมี 3 รหัสวิชา ว 32223 ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5
ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2563 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี ครูผู้สอน นายเลิศศักดิ ์ นัน
นวน

1. ผลการเรียนรู้
1. ทดลอง และอธิบายหลักการไทเทรต และเลือกใช้อินดิเคเตอร์ที่
เหมาะสมสำหรับการไทเทรตกรด-เบสได้
นำเสนอ
2. คำนวณปริมาณสารหรือความเข้มข้นของสารละลายกรดหรือ
เบสจากการไทเทรตได้
96

2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K) นักเรียนสามารถ
1. อธิบายวิธีการไทเทรตกรด-เบสได้
2. ระบุ pH ณ จุดสมมูลได้
3. อธิบายการเลือกใช้อินดิเคเตอร์ที่เหมาะสมในการไทเทรต
กรด-เบสได้
2.2 ด้านทักษะกระบวนการ (P) นักเรียนสามารถ
1. ไทเทรตหาจุดยุติและจุดสมมูลของปฏิกิริยาระหว่างกรดแก่
กับเบสแก่ได้
2. คำนวณหาความเข้มข้นของสารละลายผสม ณ จุดสมมูล
และจุดยุติจากการไทเทรตได้
3. ตีความหมายข้อมูล และลงข้อสรุปได้อย่างถูกต้อง
4. คำนวณหาความเข้มข้นของสารละลายจากการไทเทรตได้
5. เพิ่มความคิดเห็นให้กับข้อมูลที่ได้จากการสังเกตอย่างมี
เหตุผล โดยอาศัยความรู้เดิม
2.3 ด้านคุณลักษณะ (A) นักเรียนมี
1. ความตัง้ ใจเรียนและร่วมกิจกรรม
2. ความกล้าแสดงออกและแสดงความคิดเห็น
3. ความรับผิดชอบในการทำงาน
3. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
การไทเทรตกรดเบส ประกอบด้วย การเตรียมสารละลายมาตรฐาน
ในบิวเรตต์ การเตรียมสารละลายที่ต้องการหาความเข้มข้นในขวดรูปชมพู่
การหยดอินดิเคเตอร์ในสารละลายที่ไม่ทราบความเข้มข้น การไทเทรต
97

การสังเกตจุดยุติโดยสังเกตสีของอินดิเคเตอร์ การประมาณค่า pH ณ จุด


ยุติ และการคำนวณความเข้มข้นของสารที่ไม่ทราบค่า

4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
4.1 ความสามารถในการแก้ปัญหา
5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
5.1 นักเรียนมุ่งมั่นในการทำงาน ให้ประสบผลสำเร็จ
6. สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม
การไทเทรตกรดเบส ประกอบด้วย การเตรียมสารละลายมาตรฐาน
ในบิวเรตต์ การเตรียมสารละลายที่ต้องการหาความเข้มข้นในขวดรูปชมพู่
การหยดอินดิเคเตอร์ในสารละลายที่ไม่ทราบความเข้มข้น การไทเทรต
การสังเกตจุดยุติโดยสังเกตสีของอินดิเคเตอร์ การประมาณค่า pH ณ จุด
ยุติ และการคำนวณความเข้มข้นของสารที่ไม่ทราบค่า
7. จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีทักษะในศตวรรษที่ 21
7.1 การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา
8. จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่มาตรฐานสากล
์ างการเรียนวิชา
เป้ าหมายที่ 1 เป็ นเลิศทางวิชาการ มีผลสัมฤทธิท
วิทยาศาสตร์เพิ่ม สูงขึน

เป้ าหมายที่ 3 ล้ำหน้าทางความคิด มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มี
ความคิดอย่างมีวิจารณญาณ รวมถึงมี
ทักษะความสามารถในการคิดวิเคราะห์
เป้ าหมายที่ 5 ร่วมรับผิดชอบต่อสังคมโลก เป็ นผู้มีจิตสาธารณะ มี
ความรับผิดชอบต่อสังคม
9. การบูรณาการศาสตร์พระราชาสู่การเรียนการสอน
98

-
10. การบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
-
11. ชิน
้ งาน / ภาระงาน
11.1 แบบฝึ กหัดที่ 6 เรื่อง การไทเทรตกรด-เบส
11.2 ใบกิจกรรมสรุปความรู้เรื่องไทเทรตกรด-เบส
12. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขัน
้ ที่ 1 ขัน
้ สร้างความสนใจ
- ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง การไทเทรตกรด-เบส
โดยให้เวลาทำ 20 นาที
- ครูทบทวนความรู้เรื่อง การไทเทรตกรด-เบส โดยใช้คำถามดังนี ้
1) การเลือกอินดิเคเตอร์ที่เหมาะสมในการไทเทรตกรด-เบส มี
หลักการอย่างไร (ควรเลือก อินดิเคเตอร์ที่มีช่วงการ
เปลี่ยนสีอยู่ในช่วง pH ที่ตรงกับ pH ของจุดสมมูล)
2) ถ้าสารละลายผสมมี pH > 7 , pH < 7 และ pH = 7 ควร
เลือกอินดิเคเตอร์อย่างไรบ้าง (เลือกอินดิเคเตอร์ที่มีช่วงการ
เปลี่ยนสีที่ pH > 7 , pH < 7 และ pH = 7 ตามลำดับ)
3) การไทเทรต มีขน
ั ้ ตอนอย่างไรบ้าง (ขัน
้ ตอนในการไทเทรตมี
ดังนี ้
2.1 เตรียมสารละลายมาตรฐาน (titrant) ในบิวเรตต์
2.2 เตรียมสารที่ต้องการหาความเข้มข้น (titrand) ใน
ขวดรูปกรวย
2.3 เติมอินดิเคเตอร์ลงในขวดรูปกรวยที่มี titrand อยู่
99

2.4 ไขสารละลายมาตรฐานลงในขวดรูปกรวยที่มี
titrand อยู่ พร้อมเขย่าขวดรูปกรวยอย่างสม่ำเสมอ จน
สารละลายในขวดรูปกรวมเปลี่ยนสีอย่างถาวร จึงหยุด
ไข
2.5 บันทึก pH ของสารละลายในขวดรูปกรวยทุกๆ
3
ปริมาตร 1 cm ของสารละลายมาตรฐานที่หยดลงไป
จนปริมาตรสุดท้าย
2.6 สร้างกราฟระหว่าง pH ของสารละลายกับ
ปริมาตรของสารละลายมาตรฐานที่ใช้ และหาจุตยุติ
จากกราฟ จากนัน
้ คำนวณหาความเข้มข้นของ titrand)
- ครูกล่าวว่า วันนีเ้ ราจะมาทดลองการไทเทรตกรด-เบสกัน
ขัน
้ ที่ 2 ขัน
้ สร้างความเข้าใจ
- ครูชแ
ี ้ จงว่าก่อนจะทดลอง เราจะมาทำความเข้าใจถึงวิธีการคำนวณ
ปริมาตรของ titrant ที่ใช้ และความเข้มข้นของ titrand ดังนี ้
1) การคำนวณปริมาตรของ titrant
ปริมาตรสารละลายที่ใช้ = ปริมาตรหลังการ
ไทเทรต – ปริมาตรเริ่มต้น
เช่น ปริมาตรสารละลายที่ใช้ = ปริมาตรหลังการ
ไทเทรต – ปริมาตรเริ่มต้น
= 16.5 - 3.5
3
= 13.0 cm
2) การคำนวณความเข้มข้นของ titrand
เนื่องจาก สารที่ทำปฏิกิริยาพอดีกัน แสดงว่าโมลสารย่อมเท่า
กัน
100

HCl(aq) + NaOH(aq)  NaCl(aq) + H2O(aq)


M1 V 1 M2 V 2
1000 = 1000
( M1 = ความเข้มข้นของกรด, M2 = ความเข้มข้นของเบส
V1 = ปริมาตรของกรด , V2 = ปริมาตรของเบส)
3 3
(CHCl)(25 cm ) = (0.1M)(13 cm )
C(HCl) = 0.052 M
3
สารละลายกรด HCl เข้มข้น 0.052 mol/dm
- ครูชแ
ี ้ จงว่า ต่อไปจะเป็ นการทดสอบทักษะการทดลองของนักเรียน
รายบุคคล โดยให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน เพื่อทำการ
ทดลอง
- ครูชแ
ี ้ จงเกี่ยวกับการทดลองไทเทรตกรดแก่-เบสแก่ ดังนี ้
1) อุปกรณ์
1. ขวดรูปกรวย ขนาด 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร
จำนวน 3 ใบ
2. บิวเรตต์ ขนาด 50 ลูกบาศก์เซนติเมตร จำนวน
1 อัน
3. ปิ เปตต์ ขนาด 10 ลูกบาศก์เซนติเมตร จำนวน
1 อัน
4. บีกเกอร์ ขนาด 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร จำนวน
2 อัน
5. หลอดหยด จำนวน 1 อัน
6. กรวยแก้ว จำนวน 1 อัน
7. ขาตัง้ พร้อมที่จับหลอดทดลอง จำนวน
1 ชุด
101

8. ลูกยาง (สำหรับสวมปิ เปตต์) จำนวน


1 อัน
2) สารเคมี
1. สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) 0.1 M
2. สารละลายกรดไฮโดรคลอริก (HCl)
3. อินดิเคเตอร์ชนิด....................................................
4. น้ำกลั่น
3) วิธีการทดลอง
1. บรรจุสารละลาย NaOH 0.1 M ในบิวเรตต์ให้เต็มปลาย
ล่าง ปรับระดับสารละลายให้ตรงกับขีดใดขีดหนึ่งของบิวเรตต์
บันทึกปริมาตรไว้ ข้อควรระวัง : 1) ไม่ควรให้เกิดฟองอากาศ
ในบิวเรตต์ 2) ต้องให้ขีดวัดปริมาตรของบิวเรตต์อยู่ในระดับ
สายตาเมื่อจะอ่าน
2. ปิ เปตต์สารละลาย HCl 10.0 ลบ.ซม. ใส่ขวดรูปกรวย 100
ลบ.ซม หยดฟี นอล์ฟทาลีนลงไป 3 หยด
3. หยดสารละลาย NaOH จากบิวเรตต์ลงในสารละลาย HCl
ในขวดรูปกรวยทีละหยด พร้อมกับเขย่าขวดให้สารละลาย
ผสมกัน ทำเช่นนีจ
้ นกระทั่งสารละลายเริ่มเปลี่ยนสีอย่างถาวร
บันทึกปริมาตรของสารละลาย NaOH
4. ทำการทดลองซ้ำข้อ 1-3 อีก 2 ครัง้ บันทึกผล
5. คำนวณหาปริมาตรเฉลี่ยของสารละลาย NaOH ที่ใช้
คำนวณหาความเข้มข้นของสารละลาย HCl
4) ตารางบันทึกผล
102

ปริมาตร สีของ
สีของ NaOH สารละลาย
ปริมาตร ปริมาณของ
ครั ้ สารละล จากบิวเรตต์ ผสม
ของ HCl NaOH ที่ใช้
งที่ 3
าย 3
ระหว่าง
(cm ) สุดท้า (cm )
HCl เริ่มต้น HCl และ

NaOH
1
2
3
เฉลี่

5) สรุปผลการทดลอง
(เมื่อไทเทรตกรดแก่ HCl ด้วยเบสแก่ NaOH โดย
ใช้................................. เป็ นอินดิเคเตอร์ จะทราบปริมาตร
3
ของ NaOH เท่ากับ............. cm และสามารถคำนวณ
หาความเข้มข้นของ HCl ได้เท่ากับ................... M โดยมี pH
ที่จุดยุติเท่ากับ ........................... อินดิเคเตอร์เปลี่ยนจาก
สี.................เป็ น...............แสดงว่าเราสามารถหาความเข้มข้น
ของกรดแก่ได้โดยการไทเทรตกับเบสแก่)
6) นักเรียนที่เป็ นผู้เชี่ยวชาญแต่ละคนไปประจำที่แต่ละกลุ่ม เพื่อ
คอยช่วยเหลือให้คำแนะนำขณะทดลอง
ขัน
้ ที่ 3 ขัน
้ อธิบายกิจกรรม
103

- ครูชแ
ี ้ จงว่า หากนักเรียนทำการทดลองเพียงอย่างเดียว อาจจะไม่
น่าตื่นเต้น ครูมีสถานการณ์จำลองมาให้นักเรียนแก้ปัญหา โดยใช้
ความรู้จากการทดลองเรื่องการไทเทรตกรดเบส
- ครูชแ
ี ้ จงสถานการณ์จำลอง และชีแ
้ จงการทำกิจกรรมของนักเรียน
ดังนี ้
1) สถานการณ์ : พบศพพริตตีส
้ าว กระอักเลือดคาโรงแรมย่าน
ทำเนียบ
เมื่อเวลา 01.00 น. วานนี ้ ได้เกิดเหตุฆาตกรรมหญิงสาวราย
หนึ่ง แพทย์ชันสูตรเบื้องต้นพบว่า เสียชีวิตด้วยการได้รับน้ำยาล้าง
ห้องน้ำเข้าสู่ร่างกายเป็ นปริมาณมาก จนกระอักเลือดเสียชีวิต
ตำรวจสืบสวนทราบว่า ผู้ตายเข้าพักในโรงแรมเมื่อวานนี ้ เวลา
12.00 น. และสืบทราบว่าผู้ตายเป็ นเจ้าหนีข
้ องพนักงานทำความ
สะอาดในโรงแรมถึง 3 คน คาดว่า 1 ใน 3 คนนี ้ น่าจะเป็ นฆาตกร
ขณะนีตำ
้ รวจเร่งสอบสวนหาตัวผู้ร้ายตัวจริง
2) สภาพที่เกิดเหตุ : พบคราบเลือดของผู้เสียชีวิต น้ำยาล้าง
ห้องน้ำ และผู้ต้องสงสัยทัง้ 3 คน
3) ผู้ต้องสงสัย : ทัง้ 3 มีความสนิทสนมกับผู้ตายมาก่อน และต่อ
มากลายเป็ นลูกหนีข
้ องผู้ตายประกอบด้วย แม่บ้านโฟซซี่ แม่
บ้านเอมมี่ และแม่บ้านซันนี่
4) จุดประสงค์กิจกรรม : 1. ออกแบบการทดลอง เพื่อหาตัว
ฆาตกร
2. ทำการไทเทรตเพื่อหาจุดยุติและจุดสมมูล
ได้
3. คำนวณหาความเข้มข้นของสารละลายได้
104

5) ผู้ชนะ : หาฆาตกรได้ถูกต้อง และหลักฐานครบถ้วน


ขัน
้ ที่ 4 ขัน
้ ลงมือปฏิบัติ
- ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทำกิจกรรม “ใครคือ...ฆาตกร” โดยมีข้อ
กำหนดดังนี ้
1) ครูคอยเดินตรวจการมีส่วนร่วมของนักเรียน การออกแบบ
ทดลอง ทักษะการใช้เครื่องมือ ทักษะการทดลอง การ
คำนวณ การสรุปตัวฆาตกร
2) ครูคอยให้คำแนะในการทำกิจกรรมของนักเรียน ชีแ
้ นะ
แนวทางเมื่อนักเรียน ตอบคำถามที่นักเรียนสงสัย และคอย
ดูแลความเรียบร้อยและอำนวยความสะดวกในการทำ
กิจกรรม
3) นักเรียนทุกคนต้องมีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรม ครูสุ่ม
ถามคำถามกับนักเรียนเป็ นรายบุคคล
4) นักเรียนต้องแต่ละกลุ่มต้องจดบันทึกลงในใบบันทึกผลการ
ทดลองให้ครบถ้วนและถูกต้องตามเกณฑ์ที่ครูตงั ้ ไว้
5) นักเรียนต้องทำกิจกรรมเสร็จภายในเวลาที่ครูกำหนด และ
เตรียมตัวนำเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหน้าชัน
้ เรียน
ขัน
้ ที่ 5 ขัน
้ นำเสนอผลงาน
- ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอขัน
้ ตอนการทำกิจกรรม ดังนี ้
1) การออกแบบการทดลอง
2) ขัน
้ ตอนการทดลอง (แผนผังการทดลอง)
3) การคำนวณ (ปริมาตรเฉลี่ยของสารละลายโซเดียมไฮดรอก
ไซด์ และความเข้มข้นของสารละลายกรดไฮโดรคลอริก)
4) การสรุปตัวฆาตกร
105

13. สื่อและแหล่งเรียนรู้
13.1 สื่อการเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เคมี เล่ม 3
(สสวท)
2. เอกสารประกอบการเรียน กรด เบส
3. power point เรื่อง กรด เบส
4. คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เคมี เล่ม 3 (สสวท)
13.2 แหล่งเรียนรู้
1) ห้องสมุดโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา สุวินทวงศ์
2) แหล่งการเรียนรู้ออนไลน์

14. การวัดและประเมินผล
14. 1 การวัดและประเมินผลตามจุดประสงค์การเรียนรู้

วิธีวัด
การวัด เกณฑ์
เครื่อง
ประเด็นการประเมิน และ เกณฑ์การให้คะแนน การ
มือวัด
ประเมิน ผ่าน
ผล
ด้านความรู้ (K)นักเรียนสามารถ - การ - แบบ 4 นักเรียนมีความรู้อยู่ใน ได้
1. อธิบายวิธีการไทเทรตกรด-เบส ตรวจ ฝึ กหัด เกณฑ์ดีมาก คะแน
ได้ แบบ 3 นักเรียนมีความรู้อยู่ใน น
2. ระบุ pH ณ จุดสมมูลได้ ฝึ กหัด เกณฑ์ดี ระดับ
106

3. อธิบายการเลือกใช้อินดิเค 2 นักเรียนมีความรู้อยู่ใน พอใช้


เตอร์ที่เหมาะสมในการไทเทรต เกณฑ์พอใช้ ขึน
้ ไป
กรด-เบสได้ 1 นักเรียนมีความรู้อยู่ใน
เกณฑ์ปรับปรุง
ด้านทักษะ สังเกต แบบ 4 นักเรียนมี ได้
กระบวนการ (P) นักเรียน พฤติกร สังเกต ทักษะ/กระบวนการอยู่ คะแน
สามารถ รมการ พฤติก ในเกณฑ์ดีมาก น
1. ไทเทรตหาจุดยุติและจุดสมมูล ทำงาน รรม 3 นักเรียนมี ระดับ
ของปฏิกิริยาระหว่างกรดแก่กับ ราย การ ทักษะ/กระบวนการอยู่ พอใช้
เบสแก่ได้ บุคคล ทำงาน ในเกณฑ์ดี ขึน
้ ไป
2. คำนวณหาความเข้มข้นของ ราย 2 นักเรียนมี
สารละลายผสม ณ จุดสมมูลและ บุคคล ทักษะ/กระบวนการอยู่
จุดยุติจากการไทเทรตได้ ในเกณฑ์พอใช้
3. คำนวณหาความเข้มข้นของ 1 นักเรียนมี
สารละลายจากการไทเทรตได้ ทักษะ/กระบวนการอยู่
4. ตีความหมายข้อมูล และลงข้อ ในเกณฑ์ปรับปรุง
สรุปได้อย่างถูกต้อง
5. เพิ่มความคิดเห็นให้กับข้อมูลที่
ได้จากการสังเกตอย่างมีเหตุผล
โดยอาศัยความรู้เดิม
ด้านคุณลักษณะของสาระการ สังเกต แบบ นักเรียนมีคุณลักษณะอัน ได้
107

เรียนรู้ (A) พฤติกร บันทึก พึงประสงค์อยู่ใน คะแน


รมการ การส่ง 4 เกณฑ์ดีมาก น
1. นักเรียนมีความตัง้ ใจเรียนและ
ส่งงาน งาน 3 ดี ระดับ
ร่วมกิจกรรม
ราย ราย 2 พอใช้ พอใช้
2. นักเรียนมีความกล้าแสดงออก
บุคคล บุคคล 1 ปรับปรุง ขึน
้ ไป
และแสดงความคิดเห็น
3. นักเรียนมีความรับผิดชอบใน
การทำงาน

เกณฑ์การประเมิน

ระดับคุณภาพ
ประเด็น
4 3 2 1
การ
(ดีมาก) (ดี) (พอใช้) (ต้อง
ประเมิน
ปรับปรุง)
1. เกณฑ์ ทำแบบ ทำแบบ ทำแบบ ทำแบบ
การ ฝึ กหัดได้ ฝึ กหัดได้ ฝึ กหัดได้ ฝึ กหัดได้
ประเมิน อย่างถูกต้อง อย่างถูกต้อง อย่างถูกต้อง อย่างถูกต้อง
การฝึ ก ร้อยละ 90 ร้อยละ ร้อยละ ต่ำกว่าร้อย
ทักษะและ ขึน
้ ไป 80 - 89 60 - 79 ละ 60
แบบ
ฝึ กหัด
2. เกณฑ์ ความตัง้ ใจ ความตัง้ ใจ มีความตัง้ ใจ ไม่มค
ี วาม
108

ระดับคุณภาพ
ประเด็น
4 3 2 1
การ
(ดีมาก) (ดี) (พอใช้) (ต้อง
ประเมิน
ปรับปรุง)
การ และ และพยายาม และพยายาม ตัง้ ใจและ
ประเมิน พยายามใน ในการ ในการ พยายามใน
แบบ การทำความ ทำความ ทำความ การทำความ
สังเกต เข้าใจปั ญหา เข้าใจปั ญหา เข้าใจปั ญหา เข้าใจปั ญหา
พฤติกรรม และแก้ และแก้ และแก้ และแก้
การ ปั ญหาทาง ปั ญหาทาง ปั ญหาทาง ปั ญหาทาง
ทำงาน วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์
รายบุคคล มีความ มีความอดทน แต่ไม่มีความ ไม่มค
ี วาม
อดทนและ ต่ออุปสรรค อดทนและ อดทนและ
ไม่ท้อแท้ต่อ จนทำให้แก้ ท้อแท้ต่อ ท้อแท้ต่อ
อุปสรรคจน ปั ญหาทาง อุปสรรคจน อุปสรรคจน
ทำให้แก้ วิทยาศาสตร์ ทำให้แก้ ทำให้แก้
ปั ญหาทาง ได้ ปั ญหาทาง ปั ญหาทาง
วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์
ได้สำเร็จ ได้ไม่สำเร็จ ได้ไม่สำเร็จ
เป็ นส่วนใหญ่
3. เกณฑ์ ส่งงานถูก ส่งงานถูก ส่งงานถูก ไม่ส่งงาน
การ ต้องครบ ต้องครบถ้วน ต้องครบถ้วน
109

ระดับคุณภาพ
ประเด็น
4 3 2 1
การ
(ดีมาก) (ดี) (พอใช้) (ต้อง
ประเมิน
ปรับปรุง)
ประเมิน ถ้วนร้อยละ ร้อยละ 71 ร้อยละ 60
แบบ 81 – 100 – 80 – 70
บันทึกการ
ส่งงานราย
บุคคล

14. 2 การวัดและประเมินผลสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

วิธีวัดการ
วัด เกณฑ์การ เกณฑ์การ
ประเด็นการประเมิน เครื่องมือวัด
และ ให้คะแนน ผ่าน
ประเมินผล
1. ความสามารถใน - การ - แบบ 0–4 ได้คะแนน
การแก้ปัญหา สังเกต/การ ประเมินการ ปรับปรุง ระดับพอใช้
110

ตรวจแบบ ทำงาน/แบบ 5–7 ขึน


้ ไป
ฝึ กหัด สังเกต พอใช้
8 - 10
ดี

เกณฑ์การประเมิน

ระดับคุณภาพ
3 2 1
ประเด็นการประเมิน
(ดี) (พอใช้) (ต้อง
ปรับปรุง)
1. ความสามารถในการ ความตัง้ ใจ มีความตัง้ ใจ ไม่มีความ
แก้ปัญหา และพยายาม และพยายาม ตัง้ ใจและ
ในการ ในการ พยายามใน
ทำความ ทำความ การทำความ
เข้าใจปั ญหา เข้าใจปั ญหา เข้าใจปั ญหา
และแก้ และแก้ และแก้
ปั ญหาทาง ปั ญหาทาง ปั ญหาทาง
วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์
มีความอดทน แต่ไม่มีความ ไม่มีความ
และไม่ท้อแท้ อดทนและ อดทนและ
ต่ออุปสรรค ท้อแท้ต่อ ท้อแท้ต่อ
111

ระดับคุณภาพ
3 2 1
ประเด็นการประเมิน
(ดี) (พอใช้) (ต้อง
ปรับปรุง)
จนทำให้แก้ อุปสรรคจน อุปสรรคจน
ปั ญหาทาง ทำให้แก้ ทำให้แก้
วิทยาศาสตร์ ปั ญหาทาง ปั ญหาทาง
ได้สำเร็จ วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์
ได้ไม่สำเร็จ ได้ไม่สำเร็จ
เป็ นส่วนใหญ่

14. 3 การวัดและประเมินผลคุณลักษณะอันพึงประสงค์
วิธีวัดการ
วัด เกณฑ์การ เกณฑ์การ
ประเด็นการประเมิน เครื่องมือวัด
และ ให้คะแนน ผ่าน
ประเมินผล
1. ความมุ่งมั่นในการ - การ - แบบ 0–4 ได้คะแนน
ทำงาน สังเกต/การ ประเมินการ ปรับปรุง ระดับ
ตรวจแบบ ทำงาน/แบบ 5–7 พอใช้ขน
ึ ้ ไป
ฝึ กหัด สังเกต พอใช้
112

8 - 10
ดี

เกณฑ์การประเมิน

ระดับคุณภาพ
3 2 1
ประเด็นการประเมิน
(ดี) (พอใช้) (ต้อง
ปรับปรุง)
1. ความมุ่งมั่นในการ มีความมุ่งมั่น มีความมุ่งมั่น มีความมุ่งมั่น
ทำงาน ในการทำงาน ในการทำงาน ในการ
อย่าง อย่าง ทำงานแต่
รอบคอบ จน รอบคอบ จน ไม่มีความ
งานประสบ งานประสบ รอบคอบ ส่ง
ผลสำเร็จ ผลสำเร็จ ผลให้งานไม่
เรียบร้อย เรียบร้อย ประสบผล
ส่วนใหญ่ สำเร็จอย่างที่
ควร
113

14. 4 การวัดและประเมินสมรรถนะสำคัญทักษะศตวรรษที่ 21

วิธีวัดการ
วัด เกณฑ์การ เกณฑ์การ
ประเด็นการประเมิน เครื่องมือวัด
และ ให้คะแนน ผ่าน
ประเมินผล
1. การคิดอย่างมี - การ - แบบ 0–4 ได้คะแนน
วิจารณญาณ และ สังเกต/การ ประเมินการ ปรับปรุง ระดับ
ทักษะในการแก้ปัญหา ตรวจแบบ ทำงาน/แบบ 5–7 พอใช้ขน
ึ ้ ไป
ฝึ กหัด สังเกต พอใช้
8 - 10
ดี

เกณฑ์การประเมิน
114

ระดับคุณภาพ
3 2 1
ประเด็นการประเมิน
(ดี) (พอใช้) (ต้อง
ปรับปรุง)
1. การคิดอย่างมี ความตัง้ ใจ มีความตัง้ ใจ ไม่มีความ
วิจารณญาณ และทักษะ และพยายาม และพยายาม ตัง้ ใจและ
ในการแก้ปัญหา ในการ ในการ พยายามใน
ทำความ ทำความ การทำความ
เข้าใจปั ญหา เข้าใจปั ญหา เข้าใจปั ญหา
และแก้ และแก้ และแก้
ปั ญหาทางค ปั ญหาทาง ปั ญหาทาง
วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์
มีความอดทน แต่ไม่มีความ ไม่มีความ
และไม่ท้อแท้ อดทนและ อดทนและ
ต่ออุปสรรค ท้อแท้ต่อ ท้อแท้ต่อ
จนทำให้แก้ อุปสรรคจน อุปสรรคจน
ปั ญหาทาง ทำให้แก้ ทำให้แก้
วิทยาศาสตร์ ปั ญหาทาง ปั ญหาทาง
ได้สำเร็จ วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์
ได้ไม่สำเร็จ ได้ไม่สำเร็จ
เป็ นส่วนใหญ่
115

บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้
- นักเรียนจำนวน..................34.......................คน
- ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้โดยรวม..........34............คน คิดเป็ น
ร้อยละ...............100...............
- ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้โดยรวม..................คน คิดเป็ น
ร้อยละ..............................
ได้แก่ ……………………………………………………………………………..
………………………………..………...................
- นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ/นักเรียนเด็กพิเศษ
ได้แก่
…………………………………………………………………………………………
….......................................................
- นักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมินจุดประสงค์ด้านความรู้ (K)
จำนวน............................คน
ได้แก่
…………………………………………………………………………………………
….......................................................
116

- นักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมินจุดประสงค์ด้านทักษะ (P)
จำนวน.............................คน
ได้แก่
…………………………………………………………………………………………
….......................................................
- นักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมินจุดประสงค์ด้านเจตคติ (A)
จำนวน............................คน
ได้แก่
…………………………………………………………………………………………
….......................................................
ปั ญหา/อุปสรรค
1) นักเรียนบางส่วนพูดคุยกันขณะครูสรุปเนื้อหาเบื้องต้น และไม่ฟัง
ครูชแ
ี ้ จงขัน
้ ตอนการทำกิจกรรม จึงต้องมาสอบถามจากครูในภาย
หลัง ทำให้ครูเสียเวลาในการอธิบายซ้ำ
2) นักเรียนมีพ้น
ื ฐานความรู้และทักษะการทำการทดลองไม่เท่ากัน
ต่างคนต่างถามในสิ่งที่ตัวเองสงสัย
3) นักเรียนบางกลุ่มเขียนบันทึกผลการทำกิจกรรมไม่ครบถ้วน
4) นักเรียนบางกลุ่มเล่นกันขณะทำการทดลอง
แนวทางแก้ไข/ข้อเสนอแนะ (จากปั ญหาอุปสรรค)
1) ครูตักเตือนนักเรียนว่าหากพูดคุยกัน ไม่ฟังครูอธิบายจะไม่
สามารถร่วมกิจกรรมไปพร้อมเพื่อนได้ และการทดลองในครัง้ นีม
้ ี
คะแนนในการสอบเป็ นรายบุคคล ทัง้ ในส่วนการทดลอง และใบ
บันทึกผล
117

2) ครูอธิบายด้วยความเร็วปานกลาง บอกให้นักเรียนฟั งไปพร้อมกัน


ช่วยให้คำแนะนำหรือตอบข้อสงสัยเป็ นรายบุคคล ขณะนักเรียน
ทำการทดลอง
3) ครูตักเตือนนักเรียนให้ทำการทดลองด้วยความระมัดระวัง หาก
เล่นกันจะถูกหักคะแนนเพราะอาจเกิดอันตรายกับตนเองและผู้อ่ น

ได้

ลงชื่อ..................................................... ครูผู้สอน
(นายเลิศศักดิ ์ นันนวน)
…………./……………./
…………

ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้/หัวหน้ากิจกรรมพัฒนาผู้
เรียน
ได้ทำการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของนายเลิศศักดิ ์ นันนวน แล้วมี
ความคิดเห็น ดังนี ้
เป็ นแผนการจัดการเรียนรู้ที่
 ดีมาก
 ดี
 พอใช้
 ควรปรับปรุง
การจัดกิจรรมได้นำกระบวนการเรียนรู้
118

 เน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม
 ยังไม่เน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญ ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป
เป็ นแผนการจัดการเรียนรู้ที่
 นำไปใช้ได้จริง
 ควรปรับปรุงก่อนนำไปใช้
ข้อเสนอแนะอื่นๆ
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
.............................................................

ลงชื่อ.........................................
หัวหน้ากลุ่มสาระฯ
(นายนพรัตน์ บุด
ดา)

…………./……………./…………

ความเห็นของรองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ
...................................................................................................................
...................................................................................................................
119

...................................................................................................................
...................................................................................................................
..............................................................

ลงชื่อ....................................................ผู้ช่วยผู้อำนวย
การกลุ่มบริหารวิชาการ
(นายจีรศักดิ ์ จันทร์จิตร)
…………./……………./…………
120

แบบประเมิน ด้านคุณลักษณะ
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 / …. ครูผู้บันทึก นายเลิศศักดิ ์
รายวิชาเคมี 1 ชัน
นันนวน
วันที่………..เดือน………………………..พ.ศ……….ครัง้ ที่…………ปี การ
ศึกษา………………
มีวินัย มีความรับ มีวินัย มีความรับผิด
เลข เลข
ผิดชอบ ชอบ
ที่ ที่
1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 18
2 19
3 20
4 21
5 22
6 23
7 24
8 25
9 26
121

10 27
11 28
12 29
13 30
14 31
15 32
16 33
17 34
เกณฑ์ตัดสินระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ เกณฑ์
(ดี) 3
(พอใช้) 2
(ปรับปรุง) 1

แบบสังเกตการตอบคำถาม
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 4 / …. ครูผู้บันทึก นายเลิศศักดิ ์
รายวิชาเคมี 1 ชัน
นันนวน
วันที่………..เดือน………………………..พ.ศ……….ครัง้ ที่…………ปี การ
ศึกษา………………
เลข มีวินัย มีความรับ เลข มีวินัย มีความรับผิด
ที่ ผิดชอบ ที่ ชอบ
122

1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 18
2 19
3 20
4 21
5 22
6 23
7 24
8 25
9 26
10 27
11 28
12 29
13 30
14 31
15 32
16 33
17 34
เกณฑ์ตัดสินระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ เกณฑ์
(ดี) 3
(พอใช้) 2
(ปรับปรุง) 1
123

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา สุวินทวงศ์
แผนการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 แผนที่ 29
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 กรด-เบส เรื่อง การไทเทรตกรด–
เบส จำนวนเวลา 2 คาบ
ชื่อวิชา เคมี 3 รหัสวิชา ว 32223 ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5
ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2563 กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครูผู้สอน นายเลิศ
ศักดิ ์ นันนวน

1. ผลการเรียนรู้
1. ทดลอง และอธิบายหลักการไทเทรต และเลือกใช้อินดิเคเตอร์ที่
เหมาะสมสำหรับการไทเทรตกรด-เบสได้
นำเสนอ
2. คำนวณปริมาณสารหรือความเข้มข้นของสารละลายกรดหรือ
เบสจากการไทเทรตได้
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K) นักเรียนสามารถ
1. อธิบายการคำนวณหาปริมาตรของสารละลายมาตรฐานได้
124

2. ทำนายแนวโน้มของกราฟการไทเทรต และหาจุดสมมูล
จากกราฟ พร้อมทัง้ บอกค่า pH ของสารละลาย ณ จุดสมมูล
ได้
3. อธิบายการเลือกใช้อินดิเคเตอร์ที่เหมาะสมในการไทเทรต
กรด-เบสได้
2.2 ด้านทักษะกระบวนการ (P) นักเรียนสามารถ
1. คำนวณหาปริมาตรของสารละลายมาตรฐานได้
2. เขียนกราฟการไทเทรต และหาจุดสมมูลจากกราฟ พร้อม
ทัง้ บอกค่า pH ของสารละลาย ณ จุดสมมูลได้
3. ระบุช่วงการเปลี่ยนสีของอินดิเคเตอร์ สีที่เปลี่ยน และเลือก
อินดิเคเตอร์ที่เหมาะสมในการไทเทรตกรด-เบสได้
4. ตีความหมายข้อมูล และลงข้อสรุปได้อย่างถูกต้อง
5. เพิ่มความคิดเห็นให้กับข้อมูลที่ได้จากการสังเกตอย่างมี
เหตุผล โดยอาศัยความรู้หรือ
ประสบการณ์เดิม
2.3 ด้านคุณลักษณะ (A) นักเรียนมี
1. ความตัง้ ใจเรียนและร่วมกิจกรรม
2. ความกล้าแสดงออกและแสดงความคิดเห็น
3. ความรับผิดชอบในการทำงาน
3. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
การไทเทรตกรดเบส ประกอบด้วย การเตรียมสารละลายมาตรฐาน
ในบิวเรตต์ การเตรียมสารละลายที่ต้องการหาความเข้มข้นในขวดรูปชมพู่
การหยดอินดิเคเตอร์ในสารละลายที่ไม่ทราบความเข้มข้น การไทเทรต
125

การสังเกตจุดยุติโดยสังเกตสีของอินดิเคเตอร์ การประมาณค่า pH ณ จุด


ยุติ และการคำนวณความเข้มข้นของสารที่ไม่ทราบค่า
4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
4.1 ความสามารถในการแก้ปัญหา
5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
5.1 นักเรียนมุ่งมั่นในการทำงาน ให้ประสบผลสำเร็จ
6. สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม
การไทเทรตกรดเบส ประกอบด้วย การเตรียมสารละลายมาตรฐาน
ในบิวเรตต์ การเตรียมสารละลายที่ต้องการหาความเข้มข้นในขวดรูปชมพู่
การหยดอินดิเคเตอร์ในสารละลายที่ไม่ทราบความเข้มข้น การไทเทรต
การสังเกตจุดยุติโดยสังเกตสีของอินดิเคเตอร์ การประมาณค่า pH ณ จุด
ยุติ และการคำนวณความเข้มข้นของสารที่ไม่ทราบค่า
7. จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีทักษะในศตวรรษที่ 21
7.1 การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา
8. จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่มาตรฐานสากล
์ างการเรียนวิชา
เป้ าหมายที่ 1 เป็ นเลิศทางวิชาการ มีผลสัมฤทธิท
วิทยาศาสตร์เพิ่ม สูงขึน

เป้ าหมายที่ 3 ล้ำหน้าทางความคิด มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มี
ความคิดอย่างมีวิจารณญาณ รวมถึงมี
ทักษะความสามารถในการคิดวิเคราะห์
เป้ าหมายที่ 5 ร่วมรับผิดชอบต่อสังคมโลก เป็ นผู้มีจิตสาธารณะ มี
ความรับผิดชอบต่อสังคม
9. การบูรณาการศาสตร์พระราชาสู่การเรียนการสอน
-
126

10. การบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
-
11. ชิน
้ งาน / ภาระงาน
11.1 แบบฝึ กหัดที่ 6 เรื่อง การไทเทรตกรด-เบส
11.2 ใบกิจกรรมสรุปความรู้เรื่องไทเทรตกรด-เบส

12. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขัน
้ ที่ 1 ขัน
้ สร้างความสนใจ
- ครูทบทวนความรู้เรื่อง การไทเทรต และเชื่อมโยงความรู้สู่เรื่อ
งอินดิเคเตอร์กับการไทเทรตกรด-เบส โดยใช้คำถามดังนี ้
1) การเลือกอินดิเคเตอร์ที่เหมาะสมในการไทเทรตกรด-เบส
แต่ละคู่ มีหลักการอย่างไร (ควรเลือกอินดิเคเตอร์ที่มีช่วงการ
เปลี่ยนสีอยู่ในช่วง pH ที่สารละลายผสมหรือเกลือของกรด
กับเบสคู่นน
ั ้ ๆ น่าจะเป็ น)
2) ถ้าสารละลายผสมมี pH  7 , pH < 7 และ pH = 7 ควร
เลือกอินดิเคเตอร์อย่างไร (อินดิเคเตอร์ที่มีช่วงการเปลี่ยนสีที่
pH > 7 , pH < 7 และ pH = 7 ตามลำดับ)
- ครูกล่าวว่า วันนีเ้ ราจะมาทดลองเรื่อง การเลือกใช้อินดิเคเตอร์ที่
เหมาะสมในการไทเทรตกรด-เบสกัน
ขัน
้ ที่ 2 ขัน
้ สร้างความเข้าใจ
- ครูให้นักเรียนศึกษาเรื่อง อินดิเคเตอร์กับการไทเทรตกรด-เบส ใน
เอกสารประกอบการเรียนหน้า 27-29 และอภิปรายร่วมกัน โดยใช้
คำถามดังนี ้
127

1) ถ้าเรามีกราฟการเปลี่ยนแปลง pH หรือทราบ pH โดย


ประมาณของจุดสมมูล การเลือกอินดิเคเตอร์ ควรเลือกให้
สัมพันธ์กับกราฟหรือ pH ที่จุดสมมูลอย่างไร (อินดิเคเตอร์
ควรมีช่วงการเปลี่ยนสีในช่วง pH ของกราฟที่ชันที่สุดหรือที่
จุดสมมูล)
2) การไทเทรตกรดแก่กับเบสแก่ จะมี pH ที่จุดสมมูลประมาณ
เท่าไหร่ ควรเลือกอินดิเคเตอร์ที่จะเปลี่ยนสีที่ pH เท่ากับเท่า
ไหร่ (pH = 7)
3) การไทเทรตกรดแก่กับเบสแก่ สามารถใช้อินดิเคเตอร์ชนิดใด
ได้บ้าง อินดิเคเตอร์ที่ใช้มีช่วงการเปลี่ยนสีที่ pH เท่าไหร่ (โบร
โมไทมอลบลู เปลี่ยนสีช่วง pH 6.0-7.6 และฟี นอลเรด
เปลี่ยนสีช่วง pH 6.8-8.4)
4) จากกราฟ หากใช้ฟีนอล์ฟทาลีน เมทิลเรด หรือเมทิลออเรนจ์
ในการไทเทรตกรดแก่กับเบสแก่ จะถือว่าเหมาะสมหรือไม่
อย่างไร (ไม่เหมาะสม เพราะช่วง pH ของฟี นอล์ฟทาลีนนัน

เกินจุดยุติ และเมทิลเรดและเมทิลออเรนจ์นน
ั ้ มี pH ขอ
งอินดิเคเตอร์ต่ำกว่าจุดยุติ)
5) การไทเทรตกรดอ่อนกับเบสแก่ จะมี pH ที่จุดสมมูลประมาณ
เท่าไหร่ ควรเลือกอินดิเคเตอร์ที่จะเปลี่ยนสีที่ pH เท่ากับเท่า
ไหร่ (pH > 7)
6) การไทเทรตกรดอ่อนกับเบสแก่ สามารถใช้อินดิเคเตอร์ชนิด
ใดได้บ้าง อินดิเคเตอร์ที่ใช้มีช่วงการเปลี่ยนสีที่ pH เท่าไหร่
(ฟี นอล์ฟทาลีน เปลี่ยนสีช่วง pH 8.3-10.0)
128

7) จากกราฟ หากใช้เมทิลออเรนจ์ในการไทเทรตกรดอ่อนกับ
เบสแก่ จะถือว่าเหมาะสมหรือไม่ อย่างไร (ไม่เหมาะสม
เพราะช่วงการเปลี่ยนสีของเมทิลออเรนจ์นน
ั ้ มี pH ต่ำกว่าจุด
ยุติ)
8) การไทเทรตกรดแก่กับเบสอ่อน จะมี pH ที่จุดสมมูลประมาณ
เท่าไหร่ ควรเลือกอินดิเคเตอร์ที่จะเปลี่ยนสีที่ pH เท่ากับเท่า
ไหร่ (pH < 7)
9) การไทเทรตกรดแก่กับเบสอ่อน สามารถใช้อินดิเคเตอร์ชนิด
ใดได้บ้าง อินดิเคเตอร์ที่ใช้มีช่วงการเปลี่ยนสีที่ pH เท่าไหร่
(เมทิลเรด เปลี่ยนสีช่วง pH 4.2-6.2)
10) หากใช้ฟีนอล์ฟทาลีน หรือเมทิลออเรนจ์ในการไทเทรต
กรดแก่กับเบสอ่อน จะถือว่าเหมาะสมหรือไม่ อย่างไร (ฟี
นอล์ฟทาลีนไม่เหมาะสม เพราะช่วง pH ของฟี นอล์ฟทาลีน
นัน
้ เกินจุดยุติ ส่วนเมทิลออเรนจ์นน
ั ้ มีช่วงการเปลี่ยนสีที่ pH
ใกล้เคียงจุดยุติ จึงถือว่าเหมาะสม)
- ครูชแ
ี ้ จงว่า ต่อไปจะเป็ นการทดสอบทักษะการทดลองของนักเรียน
รายบุคคล โดยให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน เพื่อทำการ
ทดลอง นักเรียนที่เป็ นผู้เชี่ยวชาญแต่ละคนจะไปประจำที่แต่ละกลุ่ม
เพื่อคอยช่วยเหลือให้คำแนะนำขณะทดลอง
- ครูชแ
ี ้ จงเกี่ยวกับการทดลองไทเทรตกรดอ่อน-เบสแก่ ดังนี ้
1) อุปกรณ์
1. ขวดรูปกรวย ขนาด 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร
จำนวน 3 ใบ
129

2. บิวเรตต์ ขนาด 50 ลูกบาศก์เซนติเมตร จำนวน


1 อัน
3. ปิ เปตต์ ขนาด 10 ลูกบาศก์เซนติเมตร จำนวน
1 อัน
4. บีกเกอร์ ขนาด 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร จำนวน
2 อัน
5. หลอดหยด จำนวน 1 อัน
6. กรวยแก้ว จำนวน 1 อัน
7. ขาตัง้ พร้อมที่จับหลอดทดลอง จำนวน 1 ชุด
8. ลูกยาง (สำหรับสวมปิ เปตต์) จำนวน
1 อัน
2) สารเคมี
1. สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) 0.1 M
2. สารละลายกรดแอซิติก (CH3COOH)
3. อินดิเคเตอร์ชนิดต่างๆ 3 ชนิด (A, B และ C)
4. น้ำกลั่น
3) วิธีการทดลอง
1. บรรจุสารละลาย NaOH 0.1 M ในบิวเรตต์ให้เต็มปลาย
ล่าง ปรับระดับสารละลายให้ตรงกับขีดใดขีดหนึ่งของบิวเรตต์
บันทึกปริมาตรไว้ ข้อควรระวัง : 1) ไม่ควรให้เกิดฟองอากาศ
ในบิวเรตต์ 2) ต้องให้ขีดวัดปริมาตรของบิวเรตต์อยู่ในระดับ
สายตาเมื่อจะอ่าน
2. ปิ เปตต์สารละลาย CH3COOH 25.0 ลบ.ซม. ใส่ขวดรูป
กรวย 100 ลบ.ซม หยด อินดิเคเตอร์ลงไป 3 หยด
130

3. หยดสารละลาย NaOH จากบิวเรตต์ลงในสารละลาย


CH3COOH ในขวดรูปกรวยทีละหยด พร้อมกับเขย่าขวดให้
สารละลายผสมกัน ทำเช่นนีจ
้ นกระทั่งสารละลายเริ่มเปลี่ยนสี
อย่างถาวรบันทึกปริมาตรของสารละลาย NaOH
4. ทำการทดลองซ้ำข้อ 1-3 อีก 2 ครัง้ บันทึกผล
5. คำนวณหาปริมาตรเฉลี่ยของสารละลาย NaOH ที่ใช้
คำนวณหาความเข้มข้นของสารละลาย HCl
4) ตารางบันทึกผล
ปริมาตร สีของ
ปริมาตร สีของ NaOH สารละลาย
ปริมาตร
ของ สารละล จากบิวเรตต์ ผสม
ครั ้ ของ
CH3CO าย ระหว่าง
งที่ NaOH ที่ใช้
OH CH3CO สุดท้า 3
CH3COOH
3 เริ่มต้น (cm )
(cm ) OH ย และ
NaOH
1
2
3
เฉลี่

5) สรุปผลการทดลอง
(เมื่อไทเทรตกรดอ่อน CH3COOH ด้วยเบสแก่ NaOH โดยใช้
อินดิเคเตอร์ 3 ชนิด ได้ผลดังนี ้
1. อินดิเคเตอร์ A
131

3
ปริมาตรของ NaOH เท่ากับ............. cm และมี pH ที่จุด
ยุติเท่ากับ ......................... อินดิเคเตอร์เปลี่ยนจาก
สี.................เป็ น............... มีช่วงการเปลี่ยนสีที่ pH......
- ................ซึง่ ปริมาตรของสารละลายมาตรฐานและ pH ของ
สารละลายที่นำมาไทเทรต ตรง / ไม่ตรงกับจุดสมมูลที่
คำนวณไว้ แสดงว่า อินดิเคเตอร์ A เหมาะสม / ไม่เหมาะสม
ในการไทเทรตกรดอ่อนกับเบสแก่
2. อินดิเคเตอร์ B
3
ปริมาตรของ NaOH เท่ากับ............. cm และมี pH ที่จุด
ยุติเท่ากับ ......................... อินดิเคเตอร์เปลี่ยนจาก
สี.................เป็ น............... มีช่วงการเปลี่ยนสีที่ pH......
- ................ซึง่ ปริมาตรของสารละลายมาตรฐานและ pH ของ
สารละลายที่นำมาไทเทรต ตรง / ไม่ตรงกับจุดสมมูลที่
คำนวณไว้ แสดงว่า อินดิเคเตอร์ A เหมาะสม / ไม่เหมาะสม
ในการไทเทรตกรดอ่อนกับเบสแก่
3. อินดิเคเตอร์ C
3
ปริมาตรของ NaOH เท่ากับ............. cm และมี pH ที่จุด
ยุติเท่ากับ ......................... อินดิเคเตอร์เปลี่ยนจาก
สี.................เป็ น............... มีช่วงการเปลี่ยนสีที่ pH......
- ................ซึง่ ปริมาตรของสารละลายมาตรฐานและ pH ของ
สารละลายที่นำมาไทเทรต ตรง / ไม่ตรงกับจุดสมมูลที่
คำนวณไว้ แสดงว่า อินดิเคเตอร์ A เหมาะสม / ไม่เหมาะสม
ในการไทเทรตกรดอ่อนกับเบสแก่)
ขัน
้ ที่ 3 ขัน
้ อธิบายกิจกรรม
132

- ครูชแ
ี ้ จงว่า หากนักเรียนทำการทดลองเพียงอย่างเดียว อาจจะไม่
น่าตื่นเต้น ครูมีสถานการณ์จำลองมาให้นักเรียนแก้ปัญหา โดยใช้
ความรู้จากการทดลองเรื่องการไทเทรตกรดเบส
- ครูชแ
ี ้ จงสถานการณ์จำลอง และชีแ
้ จงทำกิจกรรมที่นักเรียนจะได้
ลงมือปฏิบัติ ดังนี ้
1) สถานการณ์ : ศึกชิงบัลลังก์ คว้าตำแหน่งรองประธานบริษัท
มาให้ได้ !!!
ณ บริษัทผลิตและจัดจำหน่ายสารเคมีช่ อ
ื ดังย่านทำเนียบ
ประธานบริษัทได้รับออเดอร์จากลูกค้าให้ผลิตอินดิเคเตอร์
สำหรับการไทเทรตกรดอ่อนกับเบสแก่โดยเฉพาะ ท่าน
ประธานมอบหมายให้หัวหน้าฝ่ ายผลิตทัง้ 3 คน เป็ นผู้รับผิด
ชอบโปรเจคท์นี ้ และมีเงื่อนไขว่าใครที่สามารถผลิตอินดิเค
เตอร์ที่ลูกค้าต้องการได้ จะได้เลื่อนตำแหน่งสู่เก้าอี ้ “รอง
ประธานบริษัท” ศึกครัง้ นีม
้ ีตำแหน่งเป็ นเดิมพัน ใครจะได้
คว้าเก้าอีอ
้ ันสูงส่งนีไ้ ป มาหาคำตอบกัน !!!
2) ข้อมูลเบื้องต้น : หัวหน้าแต่ละคน วางแผนการผลิตอินดิเค
เตอร์ที่ตนเองเชื่อมั่นว่าสามารถใช้ไทเทรตกรดอ่อน-เบสแก่
ได้ และสั่งให้ลูกน้องผลิต ขณะนีอ
้ ยู่ในขัน
้ ตอนการตรวจสอบ
ความเหมาะสมของอินดิเคเตอร์ในการใช้ไทเทรตกรดอ่อน-
เบสแก่โดยนักวิจัยชื่อดังที่ตนเองได้ว่าจ้างมา เพื่อยืนยันว่า
อินดิเคเตอร์ของหัวหน้านัน
้ เหมาะสม ทีมนักวิจัยจึงทดลอง
กันอย่างเอาเห็นเอาตาย
3) จุดประสงค์กิจกรรม :
133

1. ออกแบบการทดลอง เพื่อหาอินดิเคเตอร์ที่เหมาะ
สมในการไทเทรตกรดอ่อน-เบสแก่ได้
2. เขียนกราฟการไทเทรตกรดอ่อน-เบสแก่ และระบุ
ปริมาตรของสารละลายมาตรฐานและ pH ของ
สารละลายที่นำมาไทเทรตได้
3. ระบุอินดิเคเตอร์ที่เหมาะสมในการไทเทรตกรดอ่อน-
เบสแก่ได้
4) ผู้ชนะ : ทีมนักวิจัยที่ยืนยันได้ว่าอินดิเคเตอร์ของตนเอง
เหมาะสมสำหรับการไทเทรตกรดอ่อน-เบสแก่จริง และจัด
ทำเอกสารที่ถูกต้อง ครบถ้วน เสนอหัวหน้าของตนเอง ซึ่ง
จะนำไปชีแ
้ จงกับประธานบริษัทต่อไป
ขัน
้ ที่ 4 ขัน
้ ลงมือปฏิบัติ
- ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทำกิจกรรม “ศึกชิงบัลลังก์” โดยมีข้อ
กำหนดดังนี ้
1) ครูคอยเดินตรวจการมีส่วนร่วมของนักเรียน การออกแบบ
ทดลอง ทักษะการใช้เครื่องมือ ทักษะการทดลอง การ
คำนวณ การสรุปชนิดของอินดิเคเตอร์ที่เหมาะสม
2) ครูคอยให้คำแนะในการทำกิจกรรมของนักเรียน ชีแ
้ นะ
แนวทางเมื่อนักเรียน ตอบคำถามที่นักเรียนสงสัย และคอย
ดูแลความเรียบร้อยและอำนวยความสะดวกในการทำ
กิจกรรม
3) นักเรียนทุกคนต้องมีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรม ครูสุ่ม
ถามคำถามกับนักเรียนเป็ นรายบุคคล
134

4) นักเรียนต้องแต่ละกลุ่มต้องจดบันทึกลงในใบบันทึกผลการ
ทดลองให้ครบถ้วนและถูกต้องตามเกณฑ์ที่ครูตงั ้ ไว้
5) นักเรียนต้องทำกิจกรรมเสร็จภายในเวลาที่ครูกำหนด และ
เตรียมตัวนำเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหน้าชัน
้ เรียน
ขัน
้ ที่ 5 ขัน
้ นำเสนอผลงาน
- ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอขัน
้ ตอนการทำกิจกรรม ดังนี ้
1) การออกแบบการทดลอง
2) ขัน
้ ตอนการทดลอง (แผนผังการทดลอง ประกอบด้วยการ
คำนวณปริมาตร การเขียนกราฟระบุปริมาตรและ pH การ
ไทเทรตหาจุดยุติของอินดิเคเตอร์ที่ได้รับมอบหมาย การระบุ
ปริมาตร ณ จุดยุติของอินดิเคเตอร์แต่ละชนิด pH ณ จุดยุติ
สีที่เปลี่ยนของอินดิเคเตอร์ ช่วงการเปลี่ยนสีของอินดิเคเตอร์
และชื่อของอินดิเคเตอร์แตละชนิด)
3) การคำนวณ (ปริมาตรเฉลี่ยของสารละลายโซเดียมไฮดรอก
ไซด์)
4) การสรุปผลการทดลอง
5) การสรุปผู้ได้รับตำแหน่งรองประธานบริษัท
13. สื่อและแหล่งเรียนรู้
13.1 สื่อการเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เคมี เล่ม 3
(สสวท)
2. เอกสารประกอบการเรียน กรด เบส
3. power point เรื่อง กรด เบส
4. คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เคมี เล่ม 3 (สสวท)
135

13.2 แหล่งเรียนรู้
1) ห้องสมุดโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา สุวินทวงศ์
2) แหล่งการเรียนรู้ออนไลน์

14. การวัดและประเมินผล
14. 1 การวัดและประเมินผลตามจุดประสงค์การเรียนรู้

วิธีวัด
การวัด เกณฑ์
เครื่อง
ประเด็นการประเมิน และ เกณฑ์การให้คะแนน การ
มือวัด
ประเมิน ผ่าน
ผล
ด้านความรู้ (K)นักเรียนสามารถ - การ - แบบ 4 นักเรียนมีความรู้ ได้
1. อธิบายการคำนวณหาปริมาตร ตรวจ ฝึ กหัด อยู่ในเกณฑ์ดีมาก คะแน
ของสารละลายมาตรฐานได้ แบบ 3 นักเรียนมีความรู้ น
136

2. ทำนายแนวโน้มของกราฟการ ฝึ กหัด อยู่ในเกณฑ์ดี ระดับ


ไทเทรต และหาจุดสมมูลจากกราฟ 2 นักเรียนมีความรู้ พอใช้
พร้อมทัง้ บอกค่า pH ของ อยู่ในเกณฑ์พอใช้ ขึน
้ ไป
สารละลาย ณ จุดสมมูลได้ 1 นักเรียนมีความรู้
3. อธิบายการเลือกใช้อินดิเคเตอร์ที่ อยู่ในเกณฑ์ปรับปรุง
เหมาะสมในการไทเทรตกรด-เบสได้
ด้านทักษะ สังเกต แบบ 4 นักเรียนมี ได้
กระบวนการ (P) นักเรียนสามารถ พฤติกรร สังเกต ทักษะ/กระบวนการ คะแน
1. คำนวณหาปริมาตรของ มการ พฤติก อยู่ในเกณฑ์ดีมาก น
สารละลายมาตรฐานได้ ทำงาน รรม 3 นักเรียนมี ระดับ
2. เขียนกราฟการไทเทรต และหา ราย การ ทักษะ/กระบวนการ พอใช้
จุดสมมูลจากกราฟ พร้อมทัง้ บอก บุคคล ทำงาน อยู่ในเกณฑ์ดี ขึน
้ ไป
ค่า pH ของสารละลาย ณ จุด ราย 2 นักเรียนมี
สมมูลได้ บุคคล ทักษะ/กระบวนการ
3. ระบุช่วงการเปลี่ยนสีของอินดิเค อยู่ในเกณฑ์พอใช้
เตอร์ สีที่เปลี่ยน และเลือกอินดิเค 1 นักเรียนมี
เตอร์ที่เหมาะสมในการไทเทรต ทักษะ/กระบวนการ
กรด-เบสได้ อยู่ในเกณฑ์ปรับปรุง
4. ตีความหมายข้อมูล และลงข้อ
สรุปได้อย่างถูกต้อง
5. เพิ่มความคิดเห็นให้กับข้อมูลที่
137

ได้จากการสังเกตอย่างมีเหตุผล
โดยอาศัยความรู้หรือ
ประสบการณ์เดิม

ด้านคุณลักษณะของสาระการ สังเกต แบบ นักเรียนมี ได้


เรียนรู้ (A) พฤติกรร บันทึก คุณลักษณะอันพึง คะแน
มการส่ง การส่ง ประสงค์อยู่ใน น
1. นักเรียนมีความตัง้ ใจเรียนและ
งานราย งาน 4 เกณฑ์ดีมาก ระดับ
ร่วมกิจกรรม
บุคคล ราย 3 ดี พอใช้
2. นักเรียนมีความกล้าแสดงออก
บุคคล 2 พอใช้ ขึน
้ ไป
และแสดงความคิดเห็น
1 ปรับปรุง
3. นักเรียนมีความรับผิดชอบในการ
ทำงาน

เกณฑ์การประเมิน

ระดับคุณภาพ
ประเด็นการ 4 3 2 1

ประเมิน (ดีมาก) (ดี) (พอใช้) (ต้อง


ปรับปรุง)
1. เกณฑ์การ ทำแบบ ทำแบบ ทำแบบ ทำแบบ
138

ระดับคุณภาพ
ประเด็นการ 4 3 2 1

ประเมิน (ดีมาก) (ดี) (พอใช้) (ต้อง


ปรับปรุง)
ประเมินการ ฝึ กหัดได้ ฝึ กหัดได้ ฝึ กหัดได้ ฝึ กหัดได้
ฝึ กทักษะและ อย่างถูกต้อง อย่างถูก อย่างถูก อย่างถูกต้อง
แบบฝึ กหัด ร้อยละ 90 ต้องร้อย ต้องร้อยละ ต่ำกว่าร้อย
ขึน
้ ไป ละ 60 - 79 ละ 60
80 - 89
2. เกณฑ์การ ความตัง้ ใจ ความ มีความตัง้ ใจ ไม่มีความ
ประเมินแบบ และพยายาม ตัง้ ใจและ และ ตัง้ ใจและ
สังเกต ในการ พยายาม พยายามใน พยายามใน
พฤติกรรมการ ทำความ ในการ การ การทำความ
ทำงานราย เข้าใจปั ญหา ทำความ ทำความ เข้าใจปั ญหา
บุคคล และแก้ เข้าใจ เข้าใจ และแก้
ปั ญหาทาง ปั ญหา ปั ญหาและ ปั ญหาทาง
วิทยาศาสตร์ และแก้ แก้ปัญหา วิทยาศาสตร์
มีความ ปั ญหา ทาง ไม่มีความ
อดทนและไม่ ทาง วิทยาศาสต อดทนและ
ท้อแท้ต่อ วิทยาศาส ร์ แต่ไม่มี ท้อแท้ต่อ
อุปสรรคจน ตร์ มี ความอดทน อุปสรรคจน
ทำให้แก้ ความ และท้อแท้ ทำให้แก้
139

ระดับคุณภาพ
ประเด็นการ 4 3 2 1

ประเมิน (ดีมาก) (ดี) (พอใช้) (ต้อง


ปรับปรุง)
ปั ญหาทาง อดทนต่อ ต่ออุปสรรค ปั ญหาทาง
วิทยาศาสตร์ อุปสรรค จนทำให้แก้ วิทยาศาสตร์
ได้สำเร็จ จนทำให้ ปั ญหาทาง ได้ไม่สำเร็จ
แก้ปัญหา วิทยาศาสต
ทาง ร์ได้ไม่
วิทยาศาส สำเร็จเป็ น
ตร์ได้ ส่วนใหญ่

3. เกณฑ์การ ส่งงานถูก ส่งงานถูก ส่งงานถูก ไม่ส่งงาน


ประเมินแบบ ต้องครบถ้วน ต้องครบ ต้องครบ
บันทึกการส่ง ร้อยละ 81 ถ้วนร้อย ถ้วนร้อยละ
งานรายบุคคล – 100 ละ 71 – 60 – 70
80

14. 2 การวัดและประเมินผลสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

ประเด็นการประเมิน วิธีวัดการ เครื่องมือวัด เกณฑ์การ เกณฑ์การ


วัด ให้คะแนน ผ่าน
และ
140

ประเมินผล
1. ความสามารถใน - การ - แบบ 0–4 ได้คะแนน
การแก้ปัญหา สังเกต/การ ประเมินการ ปรับปรุง ระดับพอใช้
ตรวจแบบ ทำงาน/แบบ 5–7 ขึน
้ ไป
ฝึ กหัด สังเกต พอใช้
8 - 10
ดี

เกณฑ์การประเมิน

ระดับคุณภาพ
3 2 1
ประเด็นการประเมิน
(ดี) (พอใช้) (ต้อง
ปรับปรุง)
1. ความสามารถในการ ความตัง้ ใจ มีความตัง้ ใจ ไม่มีความ
แก้ปัญหา และพยายาม และพยายาม ตัง้ ใจและ
ในการ ในการ พยายามใน
ทำความ ทำความ การทำความ
เข้าใจปั ญหา เข้าใจปั ญหา เข้าใจปั ญหา
และแก้ และแก้ และแก้
ปั ญหาทาง ปั ญหาทาง ปั ญหาทาง
วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์
141

ระดับคุณภาพ
3 2 1
ประเด็นการประเมิน
(ดี) (พอใช้) (ต้อง
ปรับปรุง)
มีความอดทน แต่ไม่มีความ ไม่มีความ
และไม่ท้อแท้ อดทนและ อดทนและ
ต่ออุปสรรค ท้อแท้ต่อ ท้อแท้ต่อ
จนทำให้แก้ อุปสรรคจน อุปสรรคจน
ปั ญหาทาง ทำให้แก้ ทำให้แก้
วิทยาศาสตร์ ปั ญหาทาง ปั ญหาทาง
ได้สำเร็จ วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์
ได้ไม่สำเร็จ ได้ไม่สำเร็จ
เป็ นส่วนใหญ่

14. 3 การวัดและประเมินผลคุณลักษณะอันพึงประสงค์

ประเด็นการประเมิน วิธีวัดการ เครื่องมือวัด เกณฑ์การ เกณฑ์การ


142

วัด
และ ให้คะแนน ผ่าน
ประเมินผล
1. ความมุ่งมั่นในการ - การ - แบบ 0–4 ได้คะแนน
ทำงาน สังเกต/การ ประเมินการ ปรับปรุง ระดับ
ตรวจแบบ ทำงาน/แบบ 5–7 พอใช้ขน
ึ ้ ไป
ฝึ กหัด สังเกต พอใช้
8 - 10
ดี

เกณฑ์การประเมิน

ระดับคุณภาพ
3 2 1
ประเด็นการประเมิน
(ดี) (พอใช้) (ต้อง
ปรับปรุง)
1. ความมุ่งมั่นในการ มีความมุ่งมั่น มีความมุ่งมั่น มีความมุ่งมั่น
ทำงาน ในการทำงาน ในการทำงาน ในการ
อย่าง อย่าง ทำงานแต่
รอบคอบ จน รอบคอบ จน ไม่มีความ
งานประสบ งานประสบ รอบคอบ ส่ง
ผลสำเร็จ ผลสำเร็จ ผลให้งานไม่
143

ระดับคุณภาพ
3 2 1
ประเด็นการประเมิน
(ดี) (พอใช้) (ต้อง
ปรับปรุง)
เรียบร้อย เรียบร้อย ประสบผล
ส่วนใหญ่ สำเร็จอย่างที่
ควร

14. 4 การวัดและประเมินสมรรถนะสำคัญทักษะศตวรรษที่ 21

วิธีวัดการ
วัด เกณฑ์การ เกณฑ์การ
ประเด็นการประเมิน เครื่องมือวัด
และ ให้คะแนน ผ่าน
ประเมินผล
1. การคิดอย่างมี - การ - แบบ 0–4 ได้คะแนน
วิจารณญาณ และ สังเกต/การ ประเมินการ ปรับปรุง ระดับ
144

ทักษะในการแก้ปัญหา ตรวจแบบ ทำงาน/แบบ 5–7 พอใช้ขน


ึ ้ ไป
ฝึ กหัด สังเกต พอใช้
8 - 10
ดี

เกณฑ์การประเมิน

ระดับคุณภาพ
3 2 1
ประเด็นการประเมิน
(ดี) (พอใช้) (ต้อง
ปรับปรุง)
1. การคิดอย่างมี ความตัง้ ใจ มีความตัง้ ใจ ไม่มีความ
วิจารณญาณ และทักษะ และพยายาม และพยายาม ตัง้ ใจและ
ในการแก้ปัญหา ในการ ในการ พยายามใน
ทำความ ทำความ การทำความ
เข้าใจปั ญหา เข้าใจปั ญหา เข้าใจปั ญหา
และแก้ และแก้ และแก้
ปั ญหาทางค ปั ญหาทาง ปั ญหาทาง
วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์
มีความอดทน แต่ไม่มีความ ไม่มีความ
และไม่ท้อแท้ อดทนและ อดทนและ
145

ระดับคุณภาพ
3 2 1
ประเด็นการประเมิน
(ดี) (พอใช้) (ต้อง
ปรับปรุง)
ต่ออุปสรรค ท้อแท้ต่อ ท้อแท้ต่อ
จนทำให้แก้ อุปสรรคจน อุปสรรคจน
ปั ญหาทาง ทำให้แก้ ทำให้แก้
วิทยาศาสตร์ ปั ญหาทาง ปั ญหาทาง
ได้สำเร็จ วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์
ได้ไม่สำเร็จ ได้ไม่สำเร็จ
เป็ นส่วนใหญ่

บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้
- นักเรียนจำนวน..................34.......................คน
- ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้โดยรวม..........34............คน คิดเป็ น
ร้อยละ...............100...............
- ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้โดยรวม..................คน คิดเป็ น
ร้อยละ..............................
146

ได้แก่ ……………………………………………………………………………..
………………………………..………...................
- นักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมินจุดประสงค์ด้านความรู้ (K)
จำนวน............................คน
ได้แก่
……………………………………………………………………………………………
.......................................................
- นักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมินจุดประสงค์ด้านทักษะ (P)
จำนวน.............................คน
ได้แก่
……………………………………………………………………………………………
.......................................................
- นักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมินจุดประสงค์ด้านเจตคติ (A)
จำนวน............................คน
ได้แก่
……………………………………………………………………………………………
.......................................................
ปั ญหา/อุปสรรค
1) นักเรียนบางส่วนพูดคุยกันขณะครูสรุปเนื้อหาเบื้องต้น และไม่ฟัง
ครูชแ
ี ้ จงขัน
้ ตอนการทำกิจกรรม จึงต้อองมาสอบถามจากครูในภาย
หลัง ทำให้ครูเสียเวลาในการอธิบายซ้ำ
2) นักเรียนบางคนไม่ช่วยเพื่อนในกลุ่มทำการทดลอง
3) นักเรียนบางกลุ่มเล่นกันขณะทำการทดลอง
147

แนวทางแก้ไข/ข้อเสนอแนะ (จากปั ญหาอุปสรรค)


1) ครูตักเตือนนักเรียนว่าหากพูดคุยกัน ไม่ฟังครูอธิบายจะไม่
สามารถร่วมกิจกรรมไปพร้อมเพื่อนได้ และการทดลองในครัง้ นีม
้ ี
คะแนนในการสอบเป็ นรายบุคคล
2) ครูตักเตือนนักเรียนให้ทำการทดลองด้วยความระมัดระวัง หาก
เล่นกันจะถูกหักคะแนน

ลงชื่อ..................................................... ครูผู้สอน
(นายเลิศศักดิ ์ นันนวน)
…………./……………./
…………

ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้/หัวหน้ากิจกรรมพัฒนาผู้
เรียน
ได้ทำการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของนายเลิศศักดิ ์ นันนวน แล้วมี
ความคิดเห็น ดังนี ้
เป็ นแผนการจัดการเรียนรู้ที่
 ดีมาก
 ดี
 พอใช้
 ควรปรับปรุง
การจัดกิจรรมได้นำกระบวนการเรียนรู้
148

 เน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม
 ยังไม่เน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญ ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป
เป็ นแผนการจัดการเรียนรู้ที่
 นำไปใช้ได้จริง
 ควรปรับปรุงก่อนนำไปใช้
ข้อเสนอแนะอื่นๆ
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
.............................................................

ลงชื่อ.........................................
หัวหน้ากลุ่มสาระฯ
(นายนพรัตน์ บุด
ดา)

…………./……………./…………
ความเห็นของรองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
149

...................................................................................................................
..............................................................

ลงชื่อ....................................................ผู้ช่วยผู้อำนวย
การกลุ่มบริหารวิชาการ
(นายจีรศักดิ ์ จันทร์จิตร)
…………./……………./…………

ภาคผนวก ง

1. ภาพประกอบการจัดการเรียนรู้
2. ผลงานนักเรียน
150
151

ภาพประกอบการจัดการเรียนรู้

นักเรียนทำกิจกรรมการทดลอง

นักเรียนทำกิจกรรมการทดลอง
152

นักเรียนทำกิจกรรมการทดลอง

นักเรียนทำกิจกรรมการทดลอง
153

นักเรียนทำกิจกรรมการทดลอง

นักเรียนทำกิจกรรมการทดลอง
154

นักเรียนนำเสนอผลการทำกิจกรรม
155

นักเรียนนำเสนอผลการทำกิจกรรม
156
157

ประวัติย่อผูว
้ ิจัย

ชื่อ-นามสกุล นายเลิศศักดิ ์ นันนวน

วันเดือนปี เกิด 22 กรกฎาคม 2537


ที่อยู่ 12 ม.3 ต.ในเมือง อ.พิชัย จ.อุตรดิตถ์ 53120
ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2549 ระดับประถมศึกษา โรงเรียนบ้านใน
เมือง จังหวัดอุตรดิตถ์
พ.ศ. 2552 มัธ ยมศึก ษาตอนต้น โรงเรีย นอุต รดิต ถ์
จังหวัดอุตรดิตถ์
พ.ศ. 2555 มัธ ยมศึก ษาตอนปลาย โรงเรีย นอุต รดิต ถ์
จังหวัดอุตรดิตถ์
ประวัติย่อผู้วิจัย
พ.ศ. 2561 ปริญ ญาตรี สาขาเคมี หลัก สูต รการศึก ษา
บัณฑิต (กศ.บ. 5 ปี )
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

You might also like