You are on page 1of 12

โครงสร้างรายวิชา

รายวิชา ว 30223 เคมี 3 1.5 หน่วยกิต


3 คาบ/สัปดาห์
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปี
การศึกษา 2566
อาจารย์ผู้สอน นางสาวพชรวรรณ มีหนองหว้า

*****************************************************************
*********************************

คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาสถานะของสารกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ศึกษาและทดลองการ
แพร่ของก๊าซ ทดลองและฝึ กคำนวณหาความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิ ความดัน
ปริมาตร และจำนวนโมลของก๊าซ ศึกษาการระเหย การเดือดและทดลองเปรียบ
เทียบความดันไอของของเหลว ศึกษาการหลอมเหลว การระเหิด การจัดเรียง
อนุภาคของของแข็ง ศึกษาทฤษฎีจลน์ของก๊าซและการนำไปใช้อธิบายสมบัติต่าง ๆ
ของสารทัง้ 3 สถานะ เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับก๊าซ ของเหลวและของแข็ง
ศึกษาความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ปั จจัยที่มีผลต่ออัตราการ
เกิดปฏิกิริยาเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี กฎอัตราและกฎอัตราอินทิเกรต
แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยาเคมี
กลไกของปฏิกิริยา และปั จจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ ภาวะสมดุล ค่าคงที่สมดุล การคำนวณ
ค่าคงที่สมดุล ปั จจัยที่ผลต่อภาวะสมดุล หลักเลอชาเตอลิเอ และสมดุลเคมีในชีวิต
ประจำวันและในสิ่งมีชีวิต

1
เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มี
เจตคติและเห็นคุณค่าของวิทยาศาสตร์ สามารถนำกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไป
ใช้ในการแก้ปัญหา นำความรู้และหลักการเกี่ยวกับเรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
สมดุลเคมีและกรด-เบส ไปใช้เป็ นพื้นฐานในการศึกษาวิชาเคมีขน
ั ้ สูงต่อไป

2. ผลการเรียนรู้
1. สืบค้นข้อมูล สำรวจตรวจสอบและอธิบาย สมบัติของของแข็ง ของเหลว และ
แก๊สโดยใช้ทฤษฎีจลน์
2. สืบค้นข้อมูล สำรวจตรวจสอบ และคำนวณความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิ
ความดัน ปริมาตรและจำนวนโมลของแก๊ส
3. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบายการใช้เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับแก๊ส ของเหลว
และของแข็งมาประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรม
4.อธิบายความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีและคำนวณหาอัตราการเกิด
ปฏิกิริยาเคมีได้
5.อธิบายการเกิดปฏิกิริยาเคมีโดยใช้ทฤษฎีการชน (Collision Theory) และ
ทฤษฎีภาวะ ทรานซิ-ชัน (Transition State Theory) ได้
6.แปลความหมายจากกราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานกับการดำเนินไปของ
ปฏิกิริยาเคมีได้
7.อธิบายกลไกปฏิกิริยาและเขียนสมการแสดงกลไกปฏิกิริยาได้
8.ทดลองและอธิบายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ปั จจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิด
ปฏิกิริยาเคมี และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้
9.อธิบายกฎอัตราและคำนวณเกี่ยวกับกฎอัตราได้และอธิบายภาวะสมดุลที่เกิดขึน

จากการเปลี่ยนแปลงของสารได้
10.
11.เขียนความสัมพันธ์และคำนวณหาค่าคงที่สมดุลของสารต่างๆ ในระบบได้
12.ทดลองและอธิบายการเปลี่ยนภาวะสมดุล เมื่อภาวะสมดุลนัน
้ ถูกรบกวนโดย
ปั จจัยบางอย่าง เช่น ความเข้มข้น ความดัน และอุณหภูมิ ได้
13.ใช้หลักของเลอชาเตอลิเอในการอธิบายผลที่เกิดขึน
้ กับระบบเมื่อมีการ
เปลี่ยนแปลงภาวะสมดุลของระบบได้
2
3
3. กำหนดการสอนและจุดประสงค์การเรียนรู้
สัปดา คา
หัวข้อ/สาระการเรียนรู้ จุดประสงค
ห์ที่ บที่
1 1-3 บทที่ 1 จลนศาสตร์เคมี แนะนำรายวิชา วิธีการเรียน การวัด
ปฐมนิเทศ 1. อธิบายความหมายของอัตราการเ
1. ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยา อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีได้
เคมี
1.1 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1.2 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย
1.3 อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ ขณะใดขณะ
หนึ่ง
การทดลองเรื่อง การหาอัตราการเกิด
ปฏิกิริยา
2 4-6 2. แนวคิดเกี่ยวกับปฏิกิริยาเคมี 2. อธิบายการเกิดปฏิกิริยาเคมีโดยใ
2.1 ทฤษฎีการชน Theory) และทฤษฎีภาวะ ทรานซ
2.2 ทฤษฎีสารเชิงซ้อนกัมมันต์ ได้
2.3 พลังงานก่อกัมมันต์ (Activated 3. แปลความหมายจากกราฟแสดงก
Energy; Ea) ดำเนินไปของปฏิกิริยาเคมีได้
2.4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
เคมี (ปฏิกิริยาดูดความร้อนและปฏิกิริยา
คายความร้อน)
3-9 7- 3. ปั จจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี 4. อธิบายกลไกปฏิกิริยาและเขียนส
18 3.1 ธรรมชาติของสารตัง้ ต้น (reactant) 5. ทดลองและอธิบายอัตราการเกิด
และผลิตผล (product) อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี และนำ
3.2 ความเข้มข้นของสารตัง้ ต้นและผลิตผล 6. อธิบายกฎอัตราและคำนวณเกี่ยว
3.3 กฎอัตราและการหากฎอัตรา
3.4 กฎอัตราอินทิเกรต
การทดลองเรื่อง การศึกษาผลของความ

4
สัปดา คา
หัวข้อ/สาระการเรียนรู้ จุดประสงค
ห์ที่ บที่
เข้มข้นที่มีต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
3.5 กลไกของปฏิกิริยา
3.6 พื้นที่ผิว
3.7 อุณหภูมิและสมการอาร์เรเนียส
3.8 ตัวเร่งปฏิกิริยา (Catalyst) และตัว
หน่วง (Inhibitor)
การทดลองเรื่อง การศึกษาผลของ
อุณหภูมิที่มีต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
การทดลองเรื่อง การศึกษาผลของตัวเร่ง
ปฏิกิริยาและตัวหน่วงปฏิกิริยาที่มีต่อ
อัตราการเกิดปฏิกิริยา
10 19 บทที่ 2 สมดุลเคมี 7. อธิบายภาวะสมดุลที่เกิดขึน
้ จากก
4. การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้
4.1 ภาวะสมดุลประเภทต่างๆ (ภาวะ
สมดุลระหว่างสถานะ ภาวะสมดุลใน
สารละลายอิ่มตัว และภาวะสมดุลใน
ปฏิกิริยาเคมี)
11 20 5. การดำเนินเข้าสู่ภาวะสมดุลของระบบ
5.1 กราฟแสดงการเกิดภาวะสมดุล
12 21- 6. ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้น 8. เขียนความสัมพันธ์และคำนวณห
23 ของสารต่างๆ ณ ภาวะสมดุล ระบบได้
6.1 ค่าคงที่สมดุลกับสมการเคมี
6.2 การคำนวณเกี่ยวกับค่าคงที่สมดุล
6.2 ค่าคงที่สมดุลต่าง ๆ เช่น Kp Ksp
13 24- 7. ปั จจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล 9. ทดลองและอธิบายการเปลี่ยนภา
25 การทดลองเรื่อง การศึกษาผลของการ รบกวนโดยปั จจัยบางอย่าง เช่น คว

5
สัปดา คา
หัวข้อ/สาระการเรียนรู้ จุดประสงค
ห์ที่ บที่
เปลี่ยนแปลงความดันและอุณหภูมิ ได้
ที่มีต่อภาวะสมดุล
14 26- 8. หลักของเลอชาเตอริเอ 10. ใช้หลักของเลอชาเตอลิเอในกา
17 การทดลองเรื่อง การศึกษาผลของการ การเปลี่ยนแปลงภาวะสมดุลของระ
เปลี่ยนแปลงความเข้มข้นที่มีต่อภาวะ
สมดุล
15- เรียนเรื่อง ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
18
19 37- สอบปฏิบัติ (19 – 23 ก.ย. 66)
38
20 สอบปลายภาค (26 – 30 ก.ย. 66)

6
4. แผนการประเมินผลการเรียนรู้และการมอบหมายงาน
การสอนรายวิชา ว 30223 จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี ประจำภาค
เรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2566 มีแผนการประเมินผลการเรียนรู้ ดังนี ้

4.1 ประเมินจากการทดลองและเขียนรายงานการทดลอง

4.1.1 ก่อนการสอบกลางภาค
5 คะแนน
4.1.2 หลังการสอบกลางภาค
5 คะแนน 4.2 ประเมินจากงาน หรือ แบบฝึ กหัด และการทดสอบย่อย

4.1.1 ก่อนการสอบกลางภาค 10
คะแนน
4.1.2 หลังการสอบกลางภาค 10
คะแนน
4.3 ประเมินจากคุณลักษณะของนักเรียน (จิตพิสย
ั )
10 คะแนน
4.4 ประเมินจากการสอบกลางภาค
20 คะแนน
4.5 ประเมินจากการสอบภาคปฏิบัติ
10 คะแนน
4.6 ประเมินจากการสอบปลายภาค
30 คะแนน
รวม 100
คะแนน
รายละเอียดการประเมินผลแต่ละหัวข้อ เป็ นดังนี ้

7
4.1 ประเมินจากแบบฝึ กหัด การสอบย่อย และรายงานการทดลอง (30
คะแนน)

รูป เวลาที่
สัปดาห์ สัปดา
แบบ นักเรียน คะแน
รายการ ที่มอบ ห์ที่สง่
ของ ควรใช้ น
หมาย งาน
งาน (นาที)
1. การทดลองเรื่อง การหา งาน 5
1 2 20
อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า กลุ่ม
2 การทดลองเรื่อง การ
ศึกษาผลของความเข้มข้น งาน
4 5 20
ที่มีต่ออัตราการเกิด กลุ่ม
ปฏิกิรย
ิ า
3 การทดลองเรื่อง การ
งาน
ศึกษาผลของอุณหภูมิที่มี 5 6 20
กลุ่ม
ต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
4 การทดลองเรื่อง การ
ศึกษาผลของตัวเร่ง
งาน
ปฏิกิรย
ิ าและตัวหน่วง 6 7 20
กลุ่ม
ปฏิกิรย
ิ าที่มีต่ออัตราการ
เกิดปฏิกิรย
ิ า
5 การทดลองเรื่อง การ งาน 8 9 20
ศึกษาผลของการ กลุ่ม
เปลีย
่ นแปลงความดันและ
อุณหภูมิที่มีต่อภาวะ
สมดุล

8
รูป เวลาที่
สัปดาห์ สัปดา
แบบ นักเรียน คะแน
รายการ ที่มอบ ห์ที่สง่
ของ ควรใช้ น
หมาย งาน
งาน (นาที)
6 การทดลองเรื่อง การ
ศึกษาผลของการ งาน
9 9 20
เปลีย
่ นแปลงความเข้มข้น กลุ่ม
ที่มีต่อภาวะสมดุล
7 แบบฝึ กหัดย่อย ในหัวข้อ 5
งาน
จลนศาสตร์เคมีและสมดุล 4-8 5-9 120
เดีย
่ ว
เคมี
8 สอบย่อย ก่อนการสอบ 5
สอบ 6 - 30
กลางภาค
9 การทดลองเรื่อง ปฏิกิริยา งาน
12 13 20 5
ของไฮโดรเจนคาร์บอเนต กลุ่ม
เวลาทัง้ หมดที่ใช้ในการทำแบบฝึ กหัดและสอบย่อย 300 -
เวลาทัง้ หมดที่ใช้ในการเขียนรายงานนอกห้องเรียน 260 -
รวมคะแนนทัง้ หมด 20

หมายเหตุ 1. เวลาที่นักเรียนควรใช้ หมายถึง เวลาที่ครูได้พิจารณาว่า ในการ


ทำงานหรือการบ้านชิน
้ นัน
้ ๆ นักเรียนควรใช้เวลาทำประมาณ
เท่าใด การประมาณการดังกล่าว ครูได้พิจารณาจากความยาก
ความซับซ้อน และปริมาณของงานหรือการบ้านชิน
้ นัน
้ ๆ
2. รายงานการทดลอง เป็ นงานกลุ่ม ควรให้นักเรียนทำการ
ทดลองและเขียนรายงานให้เสร็จภายในเวลาเรียน แต่ถ้านักเรียน

9
ทำไม่เสร็จ ให้นักเรียนทำเป็ นการบ้านต่อไป ซึ่งใช้เวลาไม่เกิน 20
นาทีต่อหนึ่งการทดลอง

4.2 ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน : จิตพิสัย (10


คะแนน)
การประเมินพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนรายวิชา ว 30232
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี ประจำภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2566 ได้
กำหนดหัวข้อการประเมินได้ดังแสดงในตารางข้างล่าง

ผลการประเมิน
ต้อง
ปาน
หัวข้อการประเมิน ดีเยี่ยม ดีมาก ดี ปรับป
กลาง
(5) (4) (3) รุง
(2)
(1)

1. ความสนใจใฝ่ รู้ หรือ ความอยากรู้


อยากเห็น
2. การรับผิดชอบ ความมุ่งมั่น ความ
อดทน
3. ความมีเหตุผล
4. ความมีระเบียบและรอบคอบ
5. ความซื่อสัตย์
6. ความใจกว้างร่วมแสดงความคิดเห็น
และรับฟั งความคิดเห็นของผู้อ่ น

4.3 การประเมินจากการสอบย่อย
รายวิชานีจ
้ ะมีการสอบย่อย 2 ครัง้ ดังนี ้
4.3.1 กำหนดการสอบย่อยครัง้ ที่ 1 สัปดาห์ที่ 6 เวลาที่ใช้สอบ 30 นาที 5
คะแนน

10
4.3.2 กำหนดการสอบย่อยครัง้ ที่ 2 สัปดาห์ที่ 16 เวลาที่ใช้สอบ 30 นาที
5 คะแนน
เนื้อหาที่สอบ ลักษณะข้อสอบ จำนวนข้อสอบของการสอบย่อยแต่ละครัง้ มีราย
ละเอียดดังตารางข้างล่าง
หัวข้อ/เนื้อหาที่ใช้ในการสอบ ลักษณะข้อสอบ คะแน

การสอบย่อยครัง้ ที่ 1
1. หัวข้ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อัตนัย 5.0
รวม อัตนัย 5.0
การสอบย่อยครัง้ ที่ 2
2. หัวข้อแก๊ส อัตนัย 5.0
รวม อัตนัย 5.0

4.4 การประเมินจากการสอบ (20 คะแนน)


กำหนดสอบกลางภาคสัปดาห์ที่ 10 เวลาที่ใช้ในการสอบ 90 นาที
หัวข้อ/เนื้อหาและลักษณะของข้อสอบมีรายละเอียดดังตาราง

ลักษณะและ คะแ
หัวข้อ/เนื้อหาทีใ่ ช้ในการสอบกลางภาค
จำนวนข้อสอบ นน
1. ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
และแนวคิดเกี่ยวกับปฏิกิริยาเคมี
 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อัตราการเกิด 2.0
อัตนัย 2 ข้อ
ปฏิกิริยาเฉลีย
่ และอัตราการเกิด
ปฏิกิริยา ณ ขณะใดขณะหนึ่ง ทฤษฎีการ
ชน และทฤษฎีสารเชิงซ้อนกัมมันต์
2. ปั จจัยที่มีผลต่อต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 กฎอัตราและสมการกฎอัตรา ปั จจัยที่มี อัตนัย 4 ข้อ 7.0

11
ลักษณะและ คะแ
หัวข้อ/เนื้อหาทีใ่ ช้ในการสอบกลางภาค
จำนวนข้อสอบ นน
ผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
สมการเคมีกับกฎอัตรา และความ
สัมพันธ์ของอาร์เรเนียส อินทิเกรตกฎ
อัตรา ค่าคงที่อัตรา และ half-life
3. ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของสาร
ต่างๆ ณ ภาวะสมดุล 3.0
 ค่าคงที่สมดุลกับสมการเคมีการคำนวณ อัตนัย 3 ข้อ
เกี่ยวกับค่าคงที่สมดุล และค่าคงที่สมดุล
ต่างๆ เช่น Kp และ Ksp
4. ปั จจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
 การเปลี่ยนความเข้มข้น ความดัน 2.0
อัตนัย 1 ข้อ
อุณหภูมิ
5. หลักเลอชาเตอริเอ
 การคำนวณค่าคงที่สมดุลเมื่อรบกวน 4.0
อัตนัย 2 ข้อ
สมดุล การใช้หลักเลอชาเตอริเอใน
อุตสาหกรรมและชีวิตประจำวัน
6. การประยุกต์ใช้และบูรณาการสมดุลเคมี 2.0
และ/หรือจลนศาสตร์ อัตนัย 1 ข้อ
เคมี
รวม 20.
อัตนัย 13 ข้อ
0

12

You might also like