You are on page 1of 47

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
รายวิชาเคมีเพิ่มเติม ว 30223
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5
ภาคเรียนที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เรื่อง ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เวลา 1 ชั่วโมง
สอนโดย
ช น
ั้ ม ัธ ย ม ศ ึก ษ า ป ีท ี่ 5/1 ว ัน
ท ี่...................เ ด ือ น ..............................พ .ศ .....................ค า บ
ที่.........................
ช น
ั้ ม ัธ ย ม ศ ึก ษ า ป ีท ี่ 5/2 ว ัน
ท ี่...................เ ด ือ น ..............................พ .ศ .....................ค า บ
ที่.........................
ช น
ั้ ม ัธ ย ม ศ ึก ษ า ป ีท ี่ 5/3 ว ัน
ท ี่...................เ ด ือ น ..............................พ .ศ .....................ค า บ
ที่.........................
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว 5.2 เข้าใจการเขียนและการดุลสมการเคมี ปริมาณ
สัมพันธ์ในปฏิกิริยาเคมี อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี สมดุลในปฎิกิริยาเคมี
สมบัติและปฏิกิริยาของกรด-เบส ปฏิกิริยารีดอกซ์และเซลล์เคมีไฟฟ้ า
รวมทัง้ การนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

ผลการเรียนรู้
สาระเคมี ม.5 ข้อที่ 1 ทดลองและเขียนกราฟการเพิ่มขึน
้ หรือลดลง
ของสารที่ทำการวัดในปฏิกิริยา
สาระเคมี ม.5 ข้อที่ 2 คำนวณอัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี และ
เขียนกราฟการลดลง หรือเพิ่มขึน
้ ของสารที่ไม่ได้วัดในปฏิกิริยา

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี และแปลความ
หมายจากกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของสารกับเวลา
ได้ (K)
2. ทดลองปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริกได้
(P)
4. มีวินัย มีความใฝ่ รู้ใฝ่ เรียน มีความกระตือรือร้นในการเรียนและ
ทำกิจกรรมต่างๆ (A)

สาระสำคัญ
เมื่อมีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึน
้ การเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้คือสาร
ผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึน
้ ปริมาณของสารในระบบจะมีการเปลี่ยนแปลง การวัด
ปริมาณของผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึน
้ หรือวัดปริมาณของสารตัง้ ต้นที่ลดลงอาจ
ทำได้หลายวิธี ขึน
้ อยู่กับลักษณะ และสมบัติของสาร เช่น ชั่งมวลเมื่อสาร
เป็ นของแข็ง วัดปริมาตรเมื่อสารเป็ นแก๊ส วัดความเข้มข้นเมื่อเป็ น
สารละลาย เวลาอาจจะวัดเป็ นวินาที นาที ชั่วโมง หรือวัน ทัง้ นีข
้ น
ึ ้ อยู่กับ
ปฏิกิริยาว่าเกิดขึน
้ ได้ช้าหรือเร็วเพียงใดเขียนเป็ นรูปสมการได้ดังนี ้
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี =
ปริ มาณสารตั ้ งต้ นที ่ ลดลงหรื อปริ มาณผลิ ตภั ณฑ์ ที ่ เกิ ดขึ ้ น
เวลา
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี มี 3 แบบ คือ
1. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย คือ ค่าที่แสดงถึงการลดลงของสาร
ตัง้ ต้น หรือการเพิ่มขึน
้ ของผลิตภัณฑ์ตงั ้ แต่เริ่มต้นจนสิน
้ สุดปฏิกิริยาต่อ
หนึ่งหน่วยเวลา
2. อัตราการเกิดปฏิกิริยาในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง คือ ค่าที่แสดงถึง
การลดลงของสารตัง้ ต้น หรือเพิ่มขึน
้ ของผลิตภัณฑ์ ณ ช่วงเวลาใดเวลา
หนึ่งขณะที่ปฏิกิริยาดำเนินอยู่
3. อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ เวลาใดเวลาหนึ่งคือ ค่าที่แสดงถึงการ
ลดลงของสารตัง้ ต้น หรือเพิ่มขึน
้ ของผลิตภัณฑ์ ณ เวลาใดเวลาหนึ่งในช่วง
สัน
้ ๆ อัตราการเกิดปฏิกิริยาที่จุดใดจุดหนึ่งของเวลาหาได้จากกราฟ

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
- ความสามารถในการสื่อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการแก้ปัญหา
- ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

สาระการเรียนรู้
ความรู้
- ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
- การคำนวณหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทักษะ/กระบวนการ
- ทักษะการจัดกระทำ และสื่อความหมายข้อมูล
- ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
- ทักษะการทดลอง
- ทักษะการคำนวณ
คุณลักษณะ
- มีวินัย
- มีความใฝ่ รู้ใฝ่ เรียน
- มีความกระตือรือร้นในการเรียนและทำกิจกรรมต่างๆ
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ขัน
้ นำเข้าสู่บทเรียน
ครูยกตัวอย่างปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจำวัน (การเกิดสนิม
การระเบิด การเผาไหม้ ฯลฯ)
1.2) ครูถามนักเรียนว่า การขับรถด้วยอัตราเร็ว 60 กิโลเมตรต่อ
ชั่วโมงหมายความว่าอย่างไร (ในเวลา 1 ชั่วโมง รถสามารถวิ่งได้ระยะทาง
60 กิโลเมตร)
1.3) ครูถามนักเรียนว่า อัตราเร็วที่รถสามารถเคลื่อนที่ได้หาได้
จากระยะทางที่รถเคลื่อนที่ได้เทียบกับระยะเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ ถ้า
ต้องการหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีสามารถหาได้อย่างไร (ปริมาณสาร
ที่เปลี่ยนแปลงไปเทียบกับระยะเวลาที่ใช้ในการเกิดปฏิกิริยา) จากนัน
้ ก็นำ
เข้าสู่บทเรียน
2. ขัน
้ สอน
2.1) ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็ น 5 กลุ่ม กลุ่มละ 5-
7 คน เพื่อศึกษาค้นคว้าและทำการทดลองเรื่อง ปฏิกิริยาระหว่างโลหะ
แมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริก
2.2) ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายก่อนการทดลองเรื่อง
ปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริก ดังนี ้
- ขัดลวดแมกนีเซียมด้วยกระดาษทราย เพื่อกำจัดสารประกอบ
ออกไซด์ที่เคลือบผิวออกให้หมด แล้วล้างลวดแมกนีเซียมให้สะอาดและ
เช็ดให้แห้ง
- ให้เริ่มจับเวลาเมื่อปริมาตรของสารละลายในกระบอกตวงลด
ลงมาอยู่ที่ขีดแรก ซึ่งถือว่าเป็ นจุดเริ่มต้น
- ขณะอ่านปริมาตรของแก๊ส สายตาของผู้อ่านจะต้องอยู่ใน
ระดับเดียวกับขีดที่อ่าน และต้องจับเวลาอย่างต่อเนื่องกันจนถึงขีดก่อนที่
แมกนีเซียมจะโผล่พ้นสารละลายกรด
- ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มแบ่งหน้าที่ในการสังเกต จับเวลา และ
บันทึกข้อมูล
- ในกรณีที่ทำการทดลองซ้ำ จะต้องล้างกระบอกตวงด้วยสารละ
3
ลายกรดไฮโดรคลอริก ประมาณ 3 – 5 cm หรือเช็ดภายในกระบอกตวง
ให้แห้ง เพื่อให้ความเข้มข้นของสารละลายกรดไม่เปลี่ยนแปลง
- ถ้าไม่มีกระบอกตวงให้ใช้หลอดทดลองขนาดกลางและแบ่ง
สเกลที่ข้างหลอดเป็ นช่วงละ 1 cm
2.3) ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทำการทดลอง เรื่อง ปฏิกิริยา
ระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริก ตามรายละเอียดในใบ
กิจกรรมการทดลอง เรื่อง ปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับกรดไฮ
โดรคลอริก พร้อมทัง้ บันทึกผลการทดลองลงในใบกิจกรรมการทดลอง
และเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรของแก๊สไฮโดรเจนกับ
เวลา โดยปฏิบัติการทดลองดังนี ้

วิธีการทดลอง (Methods)
3
- ใส่สารละลายกรดไฮโดรคลอริก 0.2 mol/dm ลงใน
3
กระบอกตวงขนาด 10 cm จนเต็ม
- นำจุกคอร์กขนาดพอดีกับปากกระบอกตวงมาบากด้านข้าง
ตามแนวยาวให้เป็ นร่องเล็กๆ เพื่อให้ของเหลวไหลออกมาได้ และกรีด
กลางจุกคอร์กให้เป็ นแนวเล็กๆสำหรับเสียบลวดแมกนีเซียม
- นำลวดแมกนีเซียมที่ขัดสะอาดแล้วยาว 10 cm มาขดให้
คล้ายสปริงและเสียบที่จุกก๊อกตรงรอยกรีดแล้วนำมาปิ ดปากกระบอกตวง
3
- คว่ำกระบอกตวงลงในบีกเกอร์ขนาด 100 cm ซึง่ ใส่น้ำไว้
3
ประมาณ 50 cm ดังรูป 6.1 (หนังสือเคมี 3 หน้า 2) จับเวลาเมื่อ
ของเหลวในกระบอกตวงอยู่ที่ขีดแรก และทุกระยะที่ของเหลวลดลง 1
3
cm จนถึงขีดก่อนที่ลวดแมกนีเซียมจะโผล่พ้นสารละลาย บันทึกผลการ
ทดลอง
2.4) ขณะที่นักเรียนแต่ละกลุ่มปฏิบัติการทดลอง ครูสังเกต
พฤติกรรมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ทักษะในการปฏิบัติการทดลอง
จากนัน
้ แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนนำเสนอผลการทดลอง

3. ขัน
้ สรุป
3.1) ครูให้ตัวแทนกลุ่มนำเสนอผลการทดลองหน้าชัน
้ เรียน จาก
นัน
้ นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายและสรุปผลการทดลองเพื่อให้ได้ข้อ
สรุปดังนี ้
- แก๊สที่เกิดจากปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับกรดไฮโดร
คลอริก คือ แก๊สไฮโดรเจน เขียนสมการแสดงได้ดังนี ้
Mg (s) + 2HCl(aq) → MgCl2(aq) + H2 (g)
+ 2+
หรือ Mg (s) + 2H (aq) → Mg (aq) + H2
(g)
- การเกิดแก๊สไฮโดรเจนในแต่ละช่วงปริมาตรใช้เวลาไม่เท่ากัน
ในช่วงแรกใช้เวลาน้อย และในเวลาถัดไปจะใช้เวลามากขึน
้ ตามลำดับ
- ลักษณะของกราฟในตอนเริ่มต้นมีความชันมาก แสดงว่า
ปฏิกิริยาเกิดขึน
้ ได้เร็ว เมื่อเวลาผ่านไปปฏิกิริยาเกิดได้ช้าลง ความชันของ
กราฟจึงลดลง
- ปริมาณสารที่เปลี่ยนแปลงในปฏิกิริยา นอกจากจะวัดปริมาตร
ของแก๊สไฮโดรเจนที่เกิดขึน
้ ในหนึ่งหน่วยเวลาแล้ว อาจวัดจากปริมาณ
2+
ของผลิตภัณฑ์อ่ น
ื คือ Mg ที่เกิดขึน
้ ในหนึ่งหน่วยเวลา หรือวัดจาก
+
ปริมาณสารตัง้ ต้นคือโลหะ Mg (s) หรือ H (aq) ที่ลดลงในหนึ่งหน่วย
เวลา
ปริมาณสารที่เปลี่ยนแปลงในปฏิกิริยา คือปริมาณของสารตัง้ ต้นที่
ลดลง หรือปริมาณผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึน
้ ขณะปฏิกิริยาดำเนินไป เมื่อนำ
ปริมาณสารที่เปลี่ยนแปลงมาเขียนในรูปอัตราส่วนเปรียบเทียบกับหนึ่ง
หน่วยเวลาจะเรียกว่า อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
3.2) ครูอธิบายการหาอัตราการเกิดปฏิกิริยา โดยพิจารณาจาก
ความเข้มข้นของสารตัง้ ต้นหรือผลิตภัณฑ์ที่เปลี่ยนแปลงไปกับระยะเวลา
ของการเกิดปฏิกิริยา
การหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาของสาร B ในปฏิกิริยา A + B →

C
ควรได้คำตอบดังนี ้
∆[ B]
อัตราการเกิดปฏิกิริยาของสาร B = - ∆t
ชนิดของอัตราการเกิดปฏิกิริยา
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย (Average rate) หมายถึง ปริมาณ
ของสารผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึน
้ ทัง้ หมด หรือปริมาณของสารตัง้ ต้นที่ลดลง
ทัง้ หมดต่อเวลาทัง้ หมดที่ใช้ในการเกิดปฏิกิริยานัน

ปริมาณสารผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึน ้
อัตราการเกิดปฏิกิริยา =
ทัเวลาทั
ง้ หมดง้ หมดที่ใช้ในการเกิด
ปฏิกมิราณสารตั
ิยา
อัตราการเกิดปฏิกิริยา ปริ = ง้ ต้นที่ลดลง
ทัเวลาทั
ง้ หมดง้ หมดที่ใช้ในการเกิด

อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณปฏิขณะใดขณะหนึ
กิริยา
่ง (Instantaneous
rate) หมายถึง ปริมาณสารตัง้ ต้นที่ลดลง ณ ขณะใดขณะหนึ่ง หรือ
ปริมาณสารผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึน
้ ณ ขณะใดขณะหนึ่ง ต่อเวลาที่ใช้ในการ
เกิดปฏิกิริยาในช่วงนัน
้ ซึ่งอัตราการเกิดปฏิกิริยาชนิดนีห
้ าได้จากค่าความ
ชันของกราฟเท่านัน

4. ขัน
้ การวัดและประเมินผล (evaluation)
4.1) ครูสังเกตทักษะการปฏิบัติการทดลอง โดยใช้แบบประเมิน
การปฏิบัติการทดลอง และใบกิจกรรมการทดลองที่ 13.1 เรื่อง ปฏิกิริยา
ระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริก
4.2) ครูประเมินพฤติกรรมจากการปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน
จากการสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน

5. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
5.1) หนังสือเรียนรายวิชาเคมีเพิ่มเติม ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 เล่ม
3 ตามผลการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2560
5.2) Power Point เรื่อง ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยา
เคมี
5.3) ใบความรู้ที่ 13 เรื่อง ความหมายของอัตราการเกิด
ปฏิกิริยาเคมี
5.4) ใบกิจกรรมการทดลองที่ 13 เรื่อง ปฏิกิริยาระหว่างโลหะ
แมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริก
5.5) แหล่งเรียนรู้ห้องปฏิบัติการเคมี

การวัดผลและประเมินผล
สิ่งที่จะวัด วิธีการและเครื่องมือวัดผล เกณฑ์การ
ประเมิน
พุทธิพิสัย
อธิบายความหมาย
ของอัตราการเกิด - ปฏิบัติการทดลอง
ปฏิกิริยาเคมี และ - ใบกิจกรรมการทดลองที่ - ผ่านเกณฑ์รูบริคส์
แปลความหมายจาก 13 เรื่อง ความเข้มข้นของ ระดับ 2 ขึน
้ ไป
กราฟแสดงความ สารกับอัตราการเกิด
สัมพันธ์ระหว่าง ปฏิกิริยาเคมี
ความเข้มข้นของสาร
กับเวลาได้
ทักษะพิสัย
- ทดลองปฏิกิริยา
ระหว่างโลหะ
แมกนีเซียมกับกรด
ไฮโดรคลอริกได้
จิตพิสัย
มีวินัย มีความใฝ่ รู้ใฝ่ - สังเกตพฤติกรรมเป็ นราย - ผ่านเกณฑ์รูบริคส์
เรียน มีความ บุคคล ระดับ 2 ขึน
้ ไป
กระตือรือร้นในการ
เรียนและทำกิจกรรม
ต่างๆ
แบบประเมินพฤติกรรมในชัน
้ เรียน

คำชีแ
้ จง ให้ครูเป็ นผู้ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนในชัน

เรียนโดยให้ระดับคะแนนลงในตารางที่ตรงกับพฤติกรรมของนักเรียน
โดยทำเครื่องหมาย () ลงในตาราง

เกณฑ์การให้คะแนน 3 = ดีมาก 2 = ดี 1= พอใช้

เกณฑ์การประเมิน คะแนนเต็ม 9 คะแนน

ระดับ 3 ดี คะแนน 7 - 9

ระดับ 2 ปานกลาง คะแนน 4 - 6

ระดับ 1 พอใช้ คะแนน 1 - 3

นักเรียนที่ได้คะแนนอยู่ในระดับ 2 ขึน
้ ไป แสดงว่าผ่านจุดประสงค์การ
เรียนรู้

เกณฑ์การให้คะแนนประเมินพฤติกรรมในชัน
้ เรียนแบบ Rubrics

รายการ ระดับคะแนน
ประเมิน 3 2 1
1. มีวินัย เข้าเรียนตรงต่อ เข้าเรียนสายโดย เข้าเรียนสายโดย
เวลา การแต่ง มีเหตุจำเป็ น การ ไม่มีเหตุผลจำเป็ น
กายเรียบร้อยดี แต่งกายดี หรือไม่เข้าเรียน
มาก การแต่งกายไม่
เรียบร้อย
2. มีความใฝ่ รู้ นักเรียนให้ความ นักเรียนให้ความ นักเรียนให้ความ
ใฝ่ เรียน สนใจในทุกๆ สนใจในกิจกรรม สนใจในกิจกรรม
เรียน มีความ กิจกรรมการ การเรียนรู้เป็ น การเรียนรู้น้อย
กระตือ เรียนรู้อย่างดี อย่างดี มีความ ไม่มค
ี วาม
รือร้นในการ มาก มีความ กระตือรือร้น กระตือรือร้น
เรียน กระตือรือร้น
3. ทำกิจกรรม มุ่งมั่น ตัง้ ใจ มุ่งมั่น ตัง้ ใจ มุ่งมั่น ตัง้ ใจ
ต่างๆ ทำงานที่ได้รับ ทำงานตามที่ได้ ทำงานตามที่ได้
มอบหมายดีมาก รับมอบหมายดี รับมอบหมาย
ผลงานเสร็จตาม ผลงานเสร็จตาม พอใช้ ผลงาน
เวลาที่กำหนด เวลาที่กำหนด เสร็จตามเวลาที่
กำหนด

แบบประเมินพฤติกรรมในชัน
้ เรียน นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5/1

รายการประเมิน สรุปผล
เรียน มีความ
มีความใฝ่ รู้ใฝ่

ทำกิจกรรม
มีวินัย

ต่างๆ
เรียน
(3)

(3)
เล ชื่อ - สกุล รว ผ่า ไม่
ขที่ ม น ผ่า
(9 น
3 2 1 3 2 1 3 2 1
)
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24

รายการประเมิน สรุปผล

เรียน มีความ
มีความใฝ่ รู้ใฝ่

ทำกิจกรรม
มีวินัย

ต่างๆ
เล ชื่อ - สกุล รว

เรียน
(3)

(3)
ผ่า ไม่
ขที่ ม
น ผ่า
(9

3 2 1 3 2 1 3 2 1 )
25
26
27
28
29
30
31
32
ลงชื่อ.....
......................................ผู้ประเมิน

............/..................
.../...........
แบบประเมินพฤติกรรมในชัน
้ เรียน นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5/2

รายการประเมิน เรียน มีความ สรุปผล


มีความใฝ่ รู้ใฝ่

ทำกิจกรรม
มีวินัย

ต่างๆ
เล ชื่อ - สกุล รว
เรียน
(3)

(3) ผ่า ไม่


ขที่ ม
น ผ่า
(9

3 2 1 3 2 1 3 2 1 )
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24

รายการประเมิน สรุปผล
เรียน มีความ
มีความใฝ่ รู้ใฝ่

ทำกิจกรรม
มีวินัย

ต่างๆ

เล ชื่อ - สกุล รว
เรียน
(3)

(3)

ผ่า ไม่
ขที่ ม
น ผ่า
(9

3 2 1 3 2 1 3 2 1 )
25
26
27
28
29
30
31
32

ลงชื่อ.....
......................................ผู้ประเมิน

............/..................
.../...........
แบบประเมินพฤติกรรมในชัน
้ เรียน นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5/3

รายการประเมิน สรุปผล
เรียน มีความ
มีความใฝ่ รู้ใฝ่

ทำกิจกรรม
มีวินัย

ต่างๆ
เรียน
(3)

(3)
เล ชื่อ - สกุล รว ผ่า ไม่
ขที่ ม น ผ่า
(9 น
3 2 1 3 2 1 3 2 1
)
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24

รายการประเมิน สรุปผล

เรียน มีความ
มีความใฝ่ รู้ใฝ่

ทำกิจกรรม
มีวินัย

ต่างๆ
เล ชื่อ - สกุล รว

เรียน
(3)

(3)
ผ่า ไม่
ขที่ ม
น ผ่า
(9

3 2 1 3 2 1 3 2 1 )
25
26
27
28
29
30
31
32
ลงชื่อ.....
......................................ผู้ประเมิน

............/..................
.../...........
เกณฑ์การประเมินทักษะการปฏิบัติการทดลอง

ระดับคะแนน
ประเด็นที่ ระดับ 3 ระดับ 2 ระดับ 1
ประเมิน
1.วิธีดำเนินการ - กำหนดวิธีการ - กำหนดวิธีการ - กำหนดวิธีการ
ทดลอง ขัน
้ ตอนและ ขัน
้ ตอนถูกต้อง และขัน
้ ตอนไม่
เลือกใช้เครื่อง การใช้เครื่องมือ ถูกต้อง ต้องให้
มือ วัสดุอุปกรณ์ และวัสดุ ความช่วยเหลือ
ในการทดลอง อุปกรณ์ยังไม่
ถูกต้อง เหมาะสม
2.ก า ร ป ฏ ิบ ัต ิ - ดำเนินการ - ดำเนินการ - ต้องให้ความ
การทดลอง ทดลองเป็ นขัน
้ ทดลองเป็ นขัน
้ ช่วยเหลือในการ
ตอน และใช้ ตอน และใช้ ดำเนินการและ
อุปกรณ์ต่างๆได้ อุปกรณ์ต่างๆได้ ใช้อุปกรณ์การ
อย่างถูกต้อง อย่างถูกต้องถ้า ทดลอง
ให้คำแนะนำ
3.ค ว า ม - มีความ - มีความ - ทำการทดลอง
คล่อ งแคล่ว ใน คล่องแคล่วใน คล่องแคล่วใน ไม่ทันเวลาที่
ข ณ ะ ท ำ ก า ร การดำเนินการ การทำการ กำหนด
ทดลอง ทดลองและการ ทดลองและการ เนื่องจากขาด
ใช้อุปกรณ์ ใช้อุปกรณ์ แต่ ความ
ดำเนินการ ต้องชีแ
้ นะเรื่อง คล่องแคล่วใน
ทดลองได้อย่าง การใช้อุปกรณ์ การใช้อุปกรณ์
ปลอดภัยและ อย่างปลอดภัย และดำเนินการ
เสร็จทันเวลา ทดลอง
4.การนำเสนอ -บ ัน ท ึก ผ ล ก า ร -บ ัน ท ึก ผ ล ก า ร -ต้องให้คำชีแ
้ นะ
ทดลองและสรุป ทดลองและสรุป ในการบันทึกผล
ผลการทดลอง ผลการทดลอง การทดลองการ
ถ ูก ต ้อ ง แ ล ะ ถ ูก ต ้อ ง แ ต ่ ส ร ุป ผ ล ก า ร
การนำเสนอเป็ น การนำเสนอยัง ท ด ล อ ง แ ล ะ
ขัน
้ ตอนชัดเจน ไม่เ ป็ นขัน
้ ตอน การนำเสนอ จึง
ชัดเจน จะปฏิบัติได้
แบบประเมินทักษะการปฏิบัติการทดลอง ชัน
้ ม.5/1

คำชีแ
้ จง : ให้ครูผู้สอนประเมินโดยการทำเครื่องหมาย () ลงในช่อง
จากการสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนในการปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง
โดยให้ระดับคะแนนลงในตารางที่ตรงกับพฤติกรรมของผู้เรียน

ความ สรุปผล
กลุ่ วิธีการ การปฏิบัติ คล่องแคล่ว การนำ รว การ
ม ดำเนินการ การทดลอง ในขณะ เสนอ ม ประเมิน
ที่ ทดลอง ทำการการ
ทดลอง
3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 ผ่า ไม่
น ผ่าน
1
2
3
4
5
6
7
8

เกณฑ์การให้คะแนน : นักเรียนมีการปฏิบัติตงั ้ แต่ระดับ 2 ขึน


้ ไป ถือว่า
ผ่านเกณฑ์ประเมิน
ระดับ 3 นักเรียนได้คะแนนรวม 9-12 คะแนน
ระดับ 2 นักเรียนได้คะแนนรวม 5-8 คะแนน
ระดับ 1 นักเรียนได้คะแนนรวม 1-4 คะแนน
บ ัน ท ึก ผ ล ก า ร ป ร ะ เ ม ิน ท ัก ษ ะ ใ น ก า ร ป ฏ ิบ ัต ิก า ร ท ด ล อ ง
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………

ล ง ช ่อ
ื ............................................ผ ู้ป ร ะ เ ม ิน

แบบประเมินทักษะการปฏิบัติการทดลอง ชัน
้ ม.5/2

คำชีแ
้ จง : ให้ครูผู้สอนประเมินโดยการทำเครื่องหมาย () ลงในช่อง
จากการสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนในการปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง
โดยให้ระดับคะแนนลงในตารางที่ตรงกับพฤติกรรมของผู้เรียน

ความ สรุปผล
กลุ่ วิธีการ การปฏิบัติ คล่องแคล่ว การนำ รว การ
ม ดำเนินการ การทดลอง ในขณะ เสนอ ม ประเมิน
ที่ ทดลอง ทำการการ
ทดลอง
3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 ผ่า ไม่
น ผ่าน
1
2
3
4
5
6
7
8

เกณฑ์การให้คะแนน : นักเรียนมีการปฏิบัติตงั ้ แต่ระดับ 2 ขึน


้ ไป ถือว่า
ผ่านเกณฑ์ประเมิน
ระดับ 3 นักเรียนได้คะแนนรวม 9-12 คะแนน
ระดับ 2 นักเรียนได้คะแนนรวม 5-8 คะแนน
ระดับ 1 นักเรียนได้คะแนนรวม 1-4 คะแนน

บ ัน ท ึก ผ ล ก า ร ป ร ะ เ ม ิน ท ัก ษ ะ ใ น ก า ร ป ฏ ิบ ัต ิก า ร ท ด ล อ ง
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………

ล ง ช ่อ
ื ............................................ผ ู้ป ร ะ เ ม ิน

แบบประเมินทักษะการปฏิบัติการทดลอง ชัน
้ ม.5/3

คำชีแ
้ จง : ให้ครูผู้สอนประเมินโดยการทำเครื่องหมาย () ลงในช่อง
จากการสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนในการปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง
โดยให้ระดับคะแนนลงในตารางที่ตรงกับพฤติกรรมของผู้เรียน

ความ สรุปผล
กลุ่ วิธีการ การปฏิบัติ คล่องแคล่ว การนำ รว การ
ม ดำเนินการ การทดลอง ในขณะ เสนอ ม ประเมิน
ที่ ทดลอง ทำการการ
ทดลอง
3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 ผ่า ไม่
น ผ่าน
1
2
3
4
5
6
7
8
เกณฑ์การให้คะแนน : นักเรียนมีการปฏิบัติตงั ้ แต่ระดับ 2 ขึน
้ ไป ถือว่า
ผ่านเกณฑ์ประเมิน
ระดับ 3 นักเรียนได้คะแนนรวม 9-12 คะแนน
ระดับ 2 นักเรียนได้คะแนนรวม 5-8 คะแนน
ระดับ 1 นักเรียนได้คะแนนรวม 1-4 คะแนน

บ ัน ท ึก ผ ล ก า ร ป ร ะ เ ม ิน ท ัก ษ ะ ใ น ก า ร ป ฏ ิบ ัต ิก า ร ท ด ล อ ง
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………

ล ง ช ่อ
ื ............................................ผ ู้ป ร ะ เ ม ิน

แบบบันทึกคะแนนรายบุคคล

รายชื่อนักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5/1 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา
2563

คะแนน
9
8
7
6
5
4
3
2
1
ที่

20
19
18
17
16
15
14
13
12
11
10
เลข
ชื่อ - สกุล

ใบกิจกรรมที่ 13.1 เรื่อง


ปฏิกิริยาระหว่างโลหะ
แมกนีเซียมกับกรดไฮ
แบบประเมินทักษะการ
ปฏิบัติการทดลอง (12)

แบบประเมินพฤติกรรม
รายบุคคล (9)

รว น้ำ

1) นน
(3 คะแ

(1)
หนัก
ที่

32
31
30
29
28
27
26
25
24
23
22
21

เลข
ชื่อ - สกุล

ใบกิจกรรมที่ 13.1 เรื่อง


ปฏิกิริยาระหว่างโลหะ
แมกนีเซียมกับกรดไฮ
แบบประเมินทักษะการ
คะแนน

ปฏิบัติการทดลอง (12)

แบบประเมินพฤติกรรม
รายบุคคล (9)

รว น้ำ

1) นน
(3 คะแ

(1)
หนัก
ลงชื่อ.......
....................................ผู้ประเมิน

............/..................
.../...........

แบบบันทึกคะแนนรายบุคคล

รายชื่อนักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5/2 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา
2563

คะแนน
ใบกิจกรรมที่ 13.1 เรื่อง

ปฏิบัติการทดลอง (12)

แบบประเมินพฤติกรรม
แบบประเมินทักษะการ
ปฏิกิริยาระหว่างโลหะ
แมกนีเซียมกับกรดไฮ

รว น้ำ
เลข ชื่อ - สกุล

รายบุคคล (9)
ม หนัก
ที่
(3 คะแ
1) นน
(1)

1
2
3
4
5
6
7
8
9

ที่

27
26
25
23
22
21
20
19
18
17
16
15
14
13
12
11
10

24
เลข
ชื่อ - สกุล
ใบกิจกรรมที่ 13.1 เรื่อง
ปฏิกิริยาระหว่างโลหะ
แมกนีเซียมกับกรดไฮ
แบบประเมินทักษะการ

คะแนน
ปฏิบัติการทดลอง (12)

แบบประเมินพฤติกรรม
รายบุคคล (9)


รว น้ำ

1) นน
(3 คะแ

(1)
หนัก
28
29
30
31
32

ลงชื่อ.......
....................................ผู้ประเมิน

............/..................
.../...........

แบบบันทึกคะแนนรายบุคคล

รายชื่อนักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5/3 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา
2563

คะแนน
9
8
7
6
5
4
3
2
1
ที่

20
19
18
17
16
15
14
13
12
11
10
เลข
ชื่อ - สกุล

ใบกิจกรรมที่ 13.1 เรื่อง


ปฏิกิริยาระหว่างโลหะ
แมกนีเซียมกับกรดไฮ
แบบประเมินทักษะการ
ปฏิบัติการทดลอง (12)

แบบประเมินพฤติกรรม
รายบุคคล (9)

รว น้ำ

1) นน
(3 คะแ

(1)
หนัก
ที่

32
31
30
29
28
27
26
25
24
23
22
21

เลข
ชื่อ - สกุล

ใบกิจกรรมที่ 13.1 เรื่อง


ปฏิกิริยาระหว่างโลหะ
แมกนีเซียมกับกรดไฮ
แบบประเมินทักษะการ
คะแนน

ปฏิบัติการทดลอง (12)

แบบประเมินพฤติกรรม
รายบุคคล (9)

รว น้ำ

1) นน
(3 คะแ

(1)
หนัก
ลงชื่อ............
...............................ผู้ประเมิน

............/..................
.../...........

บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13 กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี เรื่อง ความ
หมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5/1
ทำการสอนวันที่......... เดือน............................
พ.ศ...............

1. ผลการนำไปใช้จัดกิจกรรมการเรียนรู้
การใช้ส่ อ
ื /แหล่งเรียนรู้
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
......
การวัดผล/ประเมินผล
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
..............................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
..............................................................
2. ปั ญหา/อุปสรรค
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
..............................................................
...................................................................................................................
...........................................................
3. ข้อเสนอแนะ/แนวทางการแก้ไข
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
..............................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...
ลงชื่อ.......................................
.............

บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13 กลุ่มสาระการ
เรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี เรื่อง ความ
หมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5/2
ทำการสอนวันที่......... เดือน............................
พ.ศ...............

1. ผลการนำไปใช้จัดกิจกรรมการเรียนรู้
การใช้ส่ อ
ื /แหล่งเรียนรู้
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
......
การวัดผล/ประเมินผล
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
..............................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
..............................................................
2. ปั ญหา/อุปสรรค
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
..............................................................
...................................................................................................................
...........................................................
3. ข้อเสนอแนะ/แนวทางการแก้ไข
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
..............................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...
ลงชื่อ.......................................
.............

บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13 กลุ่มสาระ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี เรื่อง ความ
หมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5/3
ทำการสอนวันที่......... เดือน............................
พ.ศ...............

1. ผลการนำไปใช้จัดกิจกรรมการเรียนรู้
การใช้ส่ อ
ื /แหล่งเรียนรู้
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
......
การวัดผล/ประเมินผล
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
..............................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
..............................................................
2. ปั ญหา/อุปสรรค
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
..............................................................
...................................................................................................................
...........................................................
3. ข้อเสนอแนะ/แนวทางการแก้ไข
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
..............................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...
ลงชื่อ.......................................
.............

ความคิดเห็นของครูพี่เลีย
้ ง
………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………
ลงชื่อ...........................................................
ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………
ลงชื่อ...........................................................

ความคิดเห็นของผู้บริหาร
………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………
ลงชื่อ..............................................................

ใบกิจกรรมการทดลองที่ 13
เรื่อง ปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริก

ผู้ทดลอง
ผู้ร่วมทดลอง

วันที่ทำการทดลอง
จุดประสงค์การทดลอง
1. ทำการทดลองเพื่อศึกษาการเกิดปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียม
กับกรดไฮโดรคลอริกได้
2. เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรของแก๊สไฮโดรเจน
กับเวลาและแปลผลจากกราฟได้
3. อธิบายการเกิดปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับกรดไฮโดร
คลอริกในช่วงเวลาต่างๆได้
อุปกรณ์และสารเคมี
1. โลหะแมกนีเซียมขนาด 0.5 cm x 10 cm 1
ชิน

3
2. สารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 0.2 mol/dm 20
3
cm
3. กระบอกตวงขนาด 1 ใบ
3
4. บีกเกอร์ขนาด 100 cm 1 ใบ
5. จุกคอร์กสำหรับปิ ดกระบอกตวง 1 ใบ
6. นาฬิกาจับเวลาหรือนาฬิกาที่มีเข็มวินาที 1
เรือน
7. กระดาษทรายขนาด 3cm x 3 cm 1 ชิน

8. ใบมีดโกน 1 ใบ
วิธีการทดลอง
3
- ใส่สารละลายกรดไฮโดรคลอริก 0.2 mol/dm ลงใน
3
กระบอกตวงขนาด 10 cm จนเต็ม
- นำจุกคอร์กขนาดพอดีกับปากกระบอกตวงมาบากด้านข้าง
ตามแนวยาวให้เป็ นร่องเล็กๆ เพื่อให้ของเหลวไหลออกมาได้ และกรีด
กลางจุกคอร์กให้เป็ นแนวเล็กๆสำหรับเสียบลวดแมกนีเซียม
- นำลวดแมกนีเซียมที่ขัดสะอาดแล้วยาว 10 cm มาขดให้
คล้ายสปริงและเสียบที่จุกก๊อกตรงรอยกรีดแล้วนำมาปิ ดปากกระบอกตวง
3
- คว่ำกระบอกตวงลงในบีกเกอร์ขนาด 100 cm ซึ่งใส่น้ำไว้
3
ประมาณ 50 cm
จับเวลาเมื่อของเหลวในกระบอกตวงอยู่ที่ขีดแรก และทุกระยะที่
3
ของเหลวลดลง 1 cm จนถึงขีดก่อนที่ลวดแมกนีเซียมจะโผล่พ้น
สารละลาย บันทึกผลการทดลอง
ผลการทดลอง
ตาราง บันทึกผลการทดลอง
3
ปริมาตรแก๊สไฮโดรเจน (cm ) ระหว่างขีดที่ เวลา (s)
สรุปผลการทดลอง
คำถามท้ายการทดลอง
1. การเกิดแก๊สในแต่ละช่วงปริมาตรใช้เวลาเท่ากันหรือไม่ อย่างไร

2. จงเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรของแก๊สกับเวลา
แล้วใช้กราฟประกอบการอธิบายการเกิดปฏิกิริยาระหว่างโลหะ
แมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริก
3. มีวิธีการใดอีกบ้างที่ใช้วัดปริมาณสารในปฏิกิริยาระหว่างโลหะ
แมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริก

ใบความรู้ที่ 13
ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

อัตราการเกิดปฏิกิริยา
อัตราการเกิดปฏิกิริยาคือการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสารตัง้
ต้นหรือสารผลิตภัณฑ์ต่อหน่วยเวลา
ปริ มาณสารผลิ ตภั ณฑ์ ที ่ เกิ ดขึ ้ น
อั ตราการเกิ ดปฏิ กิ ริ ยา=
เวลา
ปริ มาณสารตั ้ งต้ นที ่ ลดลง
อั ตราการเกิ ดปฏิ กิ ริ ยา=
เวลา

ชนิดของอัตราการเกิดปฏิกิริยา
1. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย (Average rate) หมายถึงปริมาณ
ของสารผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึน
้ ทัง้ หมดหรือปริมาณของสารตัง้ ต้นที่ลดลง
ทัง้ หมดต่อเวลาทัง้ หมดที่ใช้ในการเกิดปฏิกิริยานัน

ปริ มาณสารผลิ ตภั ณฑ์ ที ่ เกิ ดขึ ้ นทั ้ งหมด
อั ตราการเกิ ดปฏิ กิ ริ ยา=
เวลาทั ้ งหมดที ่ ใช้ ในการเกิ ดปฏิ กิ ริ ยา
ปริ มาณสารตั ้ งต้ นที ่ ลดลงทั ้ งหมด
อั ตราการเกิ ดปฏิ กิ ริ ยา=
เวลาทั ้ งหมดที ่ ใช้ ในการเกิ ดปฏิ กิ ริ ยา

2. อัตราการเกิดปฏิกิริยาณขณะใดขณะหนึ่ง (Instantaneous
rate) หมายถึงปริมาณสารตัง้ ต้นที่ลดลง ณ ขณะใดขณะหนึ่งหรือ
ปริมาณสารผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึน
้ ณ ขณะใดขณะหนึ่งต่อเวลาที่ใช้ในการ
เกิดปฏิกิริยาในช่วงนัน
้ ซึ่งอัตราการเกิดปฏิกิริยาชนิดนีห
้ าได้จากค่าความ
ชันของกราฟเท่านัน

รูปกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความ
เข้มข้นของ NO2 กับเวลา
อัตราการเกิดปฏิกิริยาช่วงเวลาใดก็คือ
ความชัน(slope) ของเส้นกราฟที่ลากเชื่อม
ต่อระหว่างเวลา
ในช่วงนัน
้ เช่นระหว่างช่วงเวลา 100s – 600s, ระหว่างช่วงเวลา 200s –
500s, หรืออัตราการเกิดปฏิกิริยาวินาทีที่ 350 ก็คือความชันของเส้น
กราฟ ณ จุดสัมผัสที่ 350s
∆ [ NO 2 ]
จากกราฟ ค่ าความชั น= ∆ t
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยเป็ นค่าที่แสดงถึงการลดลงของปริมาณ
สารตัง้ ต้นหรือการเพิ่มขึน
้ ของปริมาณสารผลิตภัณฑ์ตงั ้ แต่เริ่มต้นจนสิน
้ สุด
ต่อหนึ่งหน่วยเวลาแต่อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ ขณะใดขณะหนึ่งเป็ นค่าที่
แสดงถึงการลดลงของปริมาณสารตัง้ ต้นหรือการเพิ่มขึน
้ ของปริมาณสาร
ผลิตภัณฑ์ ณ เวลาใดเวลาหนึ่งที่ปฏิกิริยาดาเนินอยู่ดังนัน
้ ในปฏิกิริยาหนึ่ง
จะมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยเพียงค่าเดียวแต่อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ
ขณะใดขณะหนึ่งมีได้หลายค่า

You might also like