You are on page 1of 89

1

หน่วยที่ 1
เรื่อง ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าเคมี
********************************************************
ปฏิกิรย
ิ าเคมีต่างๆ อาจจะเกิดขึ้นได้เร็วหรือช้าต่างกัน ซึ่งขึ้นอย่่กับ
ชนิ ดของปฏิกิรย
ิ า เช่น การระเบิดของดินปื น จัดว่าเป็ นปฏิกิรย
ิ าที่เกิดขึ้น
ได้เร็วมาก เพราะใช้เวลาไม่ถึงนาที การลุกไหม้ของเชื้ อเพลิง เช่น ก๊าซหุง
ต้ ม และน้้ ามั นเบนซิน ก็ จัดว่ าเป็ นปฏิ กิร ย
ิ าที่ เ กิ ดได้ เ ร็ ว การลุ กไหม้ ข อง
ถ่ านหรือของไม้ จัดว่าเป็ นปฏิ กิร ย
ิ าที่เ กิ ดขึ้ นเร็ว ปานกลาง การเน่ าเปื่ อย
ของผัก ผลไม้ จั ดว่ าเป็ นปฏิกิรย
ิ าที่ เกิ ดขึ้นค่อ นข้ างช้า การเกิ ดสนิ มของ
เหล็กจัดว่าเป็ นปฏิกิรย
ิ าที่เกิดขึ้นช้ามาก เป็ นต้น
ปฏิกิรย
ิ าเคมีที่มีความส้าคัญทางด้านอุตสาหกรรมก็เกี่ยวข้องกับอัตรา
การเกิดปฏิกิรย
ิ าเช่นเดียวกัน ปฏิกิรย
ิ าเหล่านี้ ให้ผลผลิตที่มีผลต่อสภาวะ
เศรษฐกิจของประเทศ จึงจ้าเป็ นที่จะต้องผลิตให้ได้จ้านวนมากและต้นทุน
ต้่า ซึ่งต้องได้ผลผลิตมากที่สุดในเวลาน้อยที่สุดนั ่นเอง ในการนี้ จึงจ้าเป็ น
ที่จะต้องเรียนร้่เกี่ยวกับอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า เรียนร้่สภาวะต่างๆ ที่ใช้ใน
การควบคุมการผลิต หรือสภาวะต่างๆ ที่ใช้ควบคุมการเกิดปฏิกิรย
ิ า ต้อง
ทราบว่าปั จจัยอะไรบ้างที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า จะท้า ให้ปฏิกิรย
ิ า
เกิดเร็วหรือช้าได้อย่างไร เป็ นต้น

ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าเคมี หมายถึง “ปริมาณของผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้น
จากปฏิกิรย
ิ าใน 1 หน่วยเวลา” การวัดอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าจึงเป็ นการวัด
ปริมาณของผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นใน 1 หน่วยเวลา เขียนเป็ นความสัมพันธ์
ดังนี้
2

ปริมาณของผ ลิตภัณฑ์ที่เพม
ิ่ ข้ น

อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าเคมี = เวลา

เวลา หมายถึง ระยะเวลาที่เกิดปฏิกิรย


ิ า
เนื่ องจากการเปลี่ ย นแปลงทางเคมี เ ป็ นกระบวนการที่ ส ารตั้ งต้ น
เปลี่ยนเป็ นผลิตภัณฑ์ การที่มีปฏิกิรย
ิ าเคมีเกิดขึ้นก็เนื่ องจากมีผลิตภัณฑ์
เกิ ด ขึ้ น ดั ง นั้ นจึ ง สามารถวั ด อั ต ราการเกิ ด ปฏิ กิ ร ิ ย าจากปริ ม าณของ
ผลิตภัณฑ์ท่ีเกิดขึ้นได้ ในระหว่างเกิดปฏิกิรย
ิ า ในขณะที่สารผลิตภัณฑ์เกิด
เพิ่ ม มากขึ้ น สารตั้ ง ต้ น ก็ จ ะลดลง ซึ่ ง การเปลี่ ย นแปลงปริม าณของสาร
ผลิตภัณฑ์และสารตั้งต้นมีส่วนสัมพันธ์กัน ยิ่งสารผลิตภัณฑ์เกิดขึ้นมากขึ้น
เท่าใด สารตั้งต้นก็จะยิ่งลดลงเท่านั้ น ดังนั้ นในกรณี ท่ีผลิตภัณฑ์ท่ีเกิดขึ้นไม่
อย่่ในสภาพที่วัดปริมาณได้สะดวก ก็สามารถวัดอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าจาก
ปริมาณของสารตั้งต้นที่ลดลงแทน โดยอาศัยความสัมพันธ์ดังนี้
อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าเคมี = = ปริมาณของสารตั้งต้นที่ลดลง

เวลา
เขียนรวมกันได้เป็ น
ปริมาณของผ ลิตภัณฑ์ที่เพม
ิ่ ข้ น

อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าเคมี = เวลา

= ปริมาณของสารตั้งต้นที่ลดลง

เวลา

ไม่ว่าจะวัดอัตรา การเกิดปฏิกิรย
ิ าจากสารตั้งต้นที่ลดลง หรือจาก
สารผลิ ต ภั ณ ฑ์ ท่ี เ พิ่ ม ขึ้ น จะต้ อ งได้ ค่ า เท่ า กั น เพราะเป็ นปฏิ กิ ร ิย าเคมี
เดียวกัน การที่จะเลือกวัดปริมาณของสารตั้งต้น หรือ ผลิตภัณฑ์ก็ข้ ึนอย่่
กับความสะดวกของการวัดปริมาณสารนั้ นๆ
3

อาจจะกล่ า วได้ ร วมๆ ได้ ว่ า อั ต ราการเกิ ด ปฏิ กิ ร ิย าก็ คื อ อั ต ราการ


เปลี่ยนแปลงปริมาณของสารตั้งต้นที่ลดลง หรืออัตราการเพิ่มขึ้นของสาร
ตั้งต้น
อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า = อัตราการลดลงของสารตั้งต้น
= อัตราการเพิ่มขึ้นของสารผลิตภัณฑ์

วิธีการวัดอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า
การวัดอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าจะพิจารณาจากการวัดปริมาณของสารตั้ง
ต้น หรือสารผลิตภัณฑ์ก็ได้ ทั้งนี้ ขึ้นอย่่กับความสะดวกของการทดลอง ขึ้น
อย่่กับลักษณะและสมบัติของสารที่เกี่ยวข้อง ตัวอย่างเช่น
1. ถ้าในปฏิกิรย
ิ าเกี่ยวข้องเป็ นก๊าซ อาจจะวัดอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า
จ า ก ป ริ ม า ณ ข อ ง ก๊ า ซ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ห รื อ วั ด จ า ก ค ว า ม ดั น ข อ ง ร ะ บ บ ที่
เปลี่ยนแปลงไป
2. ถ้ า ในปฏิ กิ ร ิย าเกี่ ย วข้ อ งกั บ สารที่ มี สี อาจจะวั ด อั ต ราการเกิ ด
ปฏิกิรย
ิ าจากความเข้มข้นของสีที่ลดลงของสาตั้งต้น หรือความเข้มของสีท่ี
เพิ่มขึ้นของผลิตภัณฑ์
3. ถ้าในปฏิกิรย
ิ าเกี่ยวข้องกับสารละลาย จะวัดอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า
จากความเข้มข้นของสารละลายที่เปลี่ยนไป
นอกจากนี้ ก็ยังสามารถวัดอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าด้วยวิธีการอย่างอื่น
เช่ น ถ้ า เป็ นของแข็ ง ใช้ วิ ธี ก ารชั ่ง มวล ถ้ า เป็ นสารละลายที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ
กรด-เบส ใช้วิธีวัด pH เป็ นต้น
*0 หน่วยของเวลา ขึ้นอย่่กับชนิ ดของปฏิกิรย
ิ า ถ้าปฏิกิรย
ิ าเกิดเร็วก็
อาจจะวัดเป็ นนาที หรือวินาที ถ้าเกิดช้าอาจจะวัดเป็ นชัว่ โมงหรือเป็ นวัน
4

*1 หน่ว ยของอั ตราการเกิ ดปฏิ กิร ย


ิ า ขึ้ นอย่่ กับหน่ ว ยปริมาณของสาร
และเวลา เช่ น ก๊ าซใช้ ล่ กบาศก์ เ ซนติ เ มตร/วิ น าที หรือ มิ ลลิ เ มตร/วิ น าที
ของแข็งใช้เป็ น กรัม /วินาที สารละลายใช้เป็ น โมล/ลิตร-วินาที เป็ นต้น
*2 หน่วยของอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าที่ใช้มากคือ โมล/ลิตร-วินาที
พิจารณาตัวอย่างการวัดอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าต่อไปนี้
1. ปฏิกิรย
ิ า Mg (s) + 2HCl (aq) → MgCl2 (aq) + H2 (g)
ปฏิกิรย
ิ านี้ อาจวัดอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าจากสารต่างๆ ได้ดังนี้
I วัดจากปริมาตรของก๊าซ H2 ที่เกิดขึ้น
II วัดจากความดันของก๊าซ H2 ที่เกิดขึ้น
III วัดจากความเข้มข้นของ HCl ที่เกิดขึ้น
IV วัดจาก pH ของสารละลายที่เพิ่มขึ้น
V วัดจากมวลของ Mg ที่ลดลง
VI วัดจากความเข้มข้นของ MgCl2 ที่เพิ่มขึ้น
ทุกวิธีสามารถน้าไปหาอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าได้ท้ ังสิ้น แต่วิธีที่สะดวก
ที่สุดส้าหรับปฏิกิรย
ิ าดังกล่าว คือวัดจากปริมาตรของก๊าซ H2 ที่เกิดขึ้น
2. ปฏิกิรย
ิ า
2MnO4 (aq) +5C2O4 (aq) +16H (aq) → 2Mn (aq) +
- 2- + 2+

8H2O (l) + 10CO2(g)


อาจจะวั ด อั ต ราการเกิ ด ปฏิ กิ ร ิย าจากสี ข อง MnO4 ที่ ห ายไป
-

หรือจาก pH ที่เพิ่มขึ้น
3. ปฏิกิรย
ิ า
2H (aq) + S2O3 (aq) → S (s) + SO2 (g) + H2O (l)
+ 2-
5

อาจจะวั ด อั ต ราการเกิ ด ปฏิ กิ ร ิ ย าจากปริ ม าณของตะกอน


(ของแข็ ง ) ของก้า มะถั น ที่ เ กิ ด ขึ้ น หรือ จากความเข้ ม ข้ น ของสารละลาย
(H ) ที่ลดลง
+

การใช้สัญลักษณ์แทนอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าเคมี
พิจารณาปฏิกิรย
ิ า
Mg(s) + H2SO4 (aq) → MgSO4 (aq) + H2 (g)
สามารถจะวั ด อั ต ราการเกิ ด ปฏิ กิ ร ิย าได้ ท้ ั งจากปริม าณ Mg หรือ
H2SO4 ที่ลดลง และจากปริมาณของ MgSO4 หรือ H2 ที่เกิดขึ้น ซึ่งอาจ
จะเขียนสัญลักษณ์แทนอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าจากสารต่างๆ ได้ดังนี้
ให้ [ ] แทนความเข้มข้น หรือปริมาตรของสาร
∆ แทนการเปลี่ยนแปลง
t แทนระยะเวลาที่เกิดปฏิกิรย
ิ า
เครื่องหมาย + แทนการเพิ่มขึ้น
- แทนการลดลง
ถ้าอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าจากความเข้มข้นของกรด H2SO4 ที่ลดลง
เมื่อเวลาเริม
่ ต้น (t1) มี H2SO4 เข้มข้น C1
เมื่อเวลา t2 มี H2SO4 เข้มข้น C2
เวลาที่ใช้ = t2 - t1 = ∆t

ความเข้มข้นที่ลดลง = C2 - C1 = - ∆ [H2SO4]
 อัตราการลดลงของกรด H2SO4 = = ปริมาณของสารตั้งต้นที่ลดลง

เวลา
6

∴ อั ต ร า ก า ร ล ด ล ง ข อ ง ก ร ด H2SO4 =
…………………… (1)

ในท้า นองเดียวกัน สารอื่นๆ ก็สามารถหาอัตราการเปลี่ยนแปลงได้


เช่นเดียวกัน
อัตราการลดลงของ Mg =
……………………… (2)
อัตราการเพิ่มขึ้นของ MgSO4 =
……………………… (3)
อัตราการเพิ่มขึ้นของ H2 =
……………………… (4)
อัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของสารตั้งต้นสมการ (1) - (4) ยัง
ไม่ใช่อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าเป็ นเพียงอัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของสาร
เท่านั้ น แต่สามารถสร้างความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ ากับ
อัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของสารได้
พิจารณาจากสมการ Mg + H2SO4 → MgSO4 + H2
จะเห็นได้ว่า Mg ลดลง 1 โมล H2SO4 จะลดลง 1 โมลด้วย
พร้อมกันนั้ น MgSO4 และ H2 ก็จะเกิดขึ้นอย่างละ 1 โมล ดังนั้ นในเวลา 1
หน่วยเวลา การเปลี่ยนแปลงปริมาณของ Mg, H2SO4 , MgSO4 และ
H2 จะเท่ากัน
เช่น ถ้าในเวลา 10 นาที ใช้ Mg ไป 0.1 โมล
อัตราการลดลงของ Mg = ………………..
= ..................... โมล/นาที
7

อัตราการเปลี่ยนแปลงของ H2SO4 ,MgSO4 ,และ H2 ก็จะเป็ น


.....................โมล/นาที เช่นเดียวกัน
เนื่ องจากอัตราการเปลี่ยนแปลงของสารทุกตัวต่อ 1 หน่วยเวลามีค่า
เท่ากัน ดังนั้ นอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าจึงสามารถพิจารณาจากการ
เปลี่ยนแปลงของสารใดก็ได้ และในกรณี น้ ี อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าจึงเท่ากับ
อัตราการเปลี่ยนแปลงของสาร
อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า = อัตราการลดลงของ H2SO4 =
= อัตราการลดลงของ Mg =
= อัตราการเพิ่มขึ้นของ MgSO4 =
= อัตราการเพิ่มขึ้นของ H2 =
ถ้าให้ R = อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า
R = = = =

ในกรณี ท่ีปฏิกิรย
ิ าเคมีน้ ั นเกี่ยวข้องกับสารมากกว่า 1 โมลอัตราการ
เกิดปฏิกิรย
ิ าจะไม่เท่ากับอัตราการเปลี่ยนแปลงของสารนั้ น จะต้องมีการ
เพิ่มแฟกเตอร์บางอย่างเข้าไปจึงจะหาอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าได้
พิจารณาตัวอย่างของปฏิกิรย
ิ า
Mg (s) + 2HCl (aq) → MgCl2 (aq) + H2 (g)
อัตราการลดลงของ Mg =
………(1)
อัตราการลดลงของ HCl =
……….(2)
อัตราการเพิ่มขึ้นของ MgSO4 =
..…….. (3)
8

อัตราการเพิ่มขึ้นของ H2 =
………(4)
อัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของสารทั้ง 4 ชนิ ดจะไม่เท่ากัน
จากสมการถ้าใช้ Mg 1 โมล จะต้องใช้ HCl 2 โมล จึงจะได้ MgCl2
และ H2 อย่างละ 1 โมล
สมมติว่าในเวลา 10 นาที ใช้ Mg ไป 0.1 โมล จะหาอัตราการ
เปลี่ยนแปลงของสารต่างๆ ได้ดังนี้
จากสมการ ถ้าใช้ Mg 0.1 โมลจะใช้ HCl 0.2 โมล และได้ MgCl2 กับ
H2 อย่างละ 0.1 โมล
อัตราการลดลงของ Mg = = โมล/นาที
อัตราการลดลงของ HCl = = โมล/นาที
อัตราการลดลงของ MgCl2 = = โมล/นาที
อัตราการลดลงของ H2 = = โมล/นาที
จะเห็นได้ว่าอัตราการเปลี่ยนแปลงของสารมีค่าไม่เท่ากัน ถ้าอัตราการ
เกิดปฏิกิรย
ิ า คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงของสาร อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าที่
คิดจากสารต่างๆ ก็จะมีค่าไม่เท่ากัน ซึ่งเป็ นไปไม่ได้ ทั้งนี้ เพราะ อัตราการ
เกิดปฏิกิรย
ิ าของปฏิกิรย
ิ าเคมีหนึ่ งๆ จะต้องมีค่าเท่ากันไม่ว่าจะคิดจากสาร
ใด ดังนั้ นอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าจึงไม่ใช่ อัตราการเปลี่ยนแปลงของสาร แต่
สามารถคิดจากอัตราการเปลี่ยนแปลงของสารได้
การที่จะท้าให้อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ ามีค่าเท่ากันไม่ว่าจะคิดจากสารใด
ต้องมีการเพิ่มแฟกเตอร์บางอย่างเข้าไป
พิ จ า ร ณ า ก ร ณี ข อ ง HCl ถ้ า ค่ ณ อั ต ร า ก า ร ล ด ข อ ง HCl ด้ ว ย
.................. จะพบว่าอัตราการเกิดเปลี่ยนแปลงจะเท่ากับสารอี่นๆ
9

………….. x อั ต ร า ก า ร ล ด ล ง ข อ ง HCl =
= โมล/นาที
ตั ว เลข “…………..” ที่ เ พิ่ ม เข้ า ไป ก็ คื อ จ้า นวนโมลของ HCl
นั ่นเอง ซึ่งเป็ นแฟกเตอร์ท่ีต้องเพิ่มเข้าไป เพื่อท้าให้อัตราการเปลี่ยนแปลง
เท่ากัน
อัตราการลดลงของ Mg = โมล/นาที
……. x อัตราการลดลงของ HCl = โมล/นาที
อัตราการลดลงของ MgCl2 = โมล/นาที
อัตราการลดลงของ H2 = โมล/นาที
จะเห็นว่าทุกกรณี เท่ากัน ดังนั้ น จึงเขียนอัตราการเกิด
ปฏิกิรย
ิ าเคมีจากสารต่างๆ ได้ดังนี้

R = = = =
อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าเคมีจึงมีส่วนสัมพันธ์กับอัตราการเปลี่ยนแปลง
ของสารผ่านทางแฟกเตอร์เกี่ยวกับจ้านวนโมล ซึ่งเขียนความสัมพันธ์ทัว่ ๆ
ไป ได้ดังนี้
R = x อัตราการเปลี่ยนแปลงของสาร
1
n
∆[ X ]
หรือ R = .
1
n ∆t

เมื่อ
n = จ้านวนโมลของสาร X
[X] = ความเข้มข้นของสาร X

ในกรณี ท่ีพิจารณาสมการทัว่ ๆ ไป
aA + bB → cC + dD
จะเขียนอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าไดเป็ น
10

R = = = =
ตัวอย่างเช่น
2A + 3B → C + 4D

R = = = =

นั ่นคือ อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าเคมีคิดจากสารใดก็ได้ แต่ต้องคิดตาม
ความสัมพันธ์ดังกล่าว

ประเภทของอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า
อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท
ก. อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าเฉลี่ย หมายถึง อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าที่คิด
จากการเปลี่ยนแปลงปริมาณของผลิตภัณฑ์ (หรือสารตั้งต้น ) ทั้งหมดใน
1 หน่วยเวลา
ข. อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า ณ ขณะหนึ่ ง หมายถึง อัตราการเกิด
ปฏิกิรย
ิ า ณ เวลาใดเวลาหนึ่ ง ซึ่งคือ ค่าความชัน (slope) ของกราฟ
ระหว่างปริมาณของสารที่เปลี่ยนแปลงกับเวลา
โดยทัว่ ๆ ไป อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า 2 ประเภทจะไม่เท่ากัน
ในปฏิกิรย
ิ าทัว่ ๆ ไป ช่วงแรกของการเกิดปฏิกิรย
ิ าจะค่อนข้างเร็วและ
ค่อยๆ ช้าลงตามล้าดับ ท้าให้อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า ณ ขณะใดขณะหนึ่ งมี
ค่าไม่เท่ากัน

ตัวอย่างที่ 1 จากปฏิกิรย
ิ า
2KMnO4 + 16HCl → 2KCl + 2MnCl2 + 8H2O +
5Cl2
11

จงเขียนอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าในเทอมของสารต่างๆ
วิธีทำา

ตั วอย่ างที่ 2 เมื่ อสาร A ท้า ปฏิ กิ ร ย


ิ ากั บ สาร B ได้ ผ ลิ ตภั ณ ฑ์ เ ป็ นสาร C
เพียงชนิ ดเดียวจากการทดลองพบว่า อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า ถ้าคิดจากสาร
A จะเท่ า กั บ 1/2 เท่ าของอั ต ราการลดลงของสาร A ถ้ าคิ ด จากสาร B
จะเท่ากับ 2 เท่าของอัตราการลดลงของสาร B และถ้าคิดจากสาร C
จะเท่ ากั บ 1/3 เท่ าของอั ตราการเพิ่ มขึ้ นของสาร C สมการที่ ใ ช้ แสดง
ปฏิกิรย
ิ านี้ คืออะไร ?
วิธีทำา

ตัวอย่างที่ 3 เมื่อน้าก๊าซ N2O5 ไปละลายในตัวท้าละลายอินทรีย์ชนิ ดหนึ่ ง


N2O5 จะสลายตัวดังสมการ
2N2O5 (g) → 4NO2 (g) + O2 (g)
ถ้ า NO2 ละลายในตั ว ท้า ละลายอิ น ทรีย์ น้ ั น และ O2 ไม่ ล ะลาย
วิธีการวัดอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าต่อไปนี้ วิธีใดบ้างใช้ได้
ก. วัดปริมาตรของก๊าซ O2 ที่เกิดขึ้น ค . วั ด ก า ร น้า ไ ฟ ฟ้ า ข อ ง
สารละลาย
12

ข. วัดความดันของก๊าซ O2 ที่เกิดขึ้น ง. วัดมวลของสารละลายที่


ลดลง
วิธีทำา

ตั วอย่ างที่ 4 จากปฏิ กิร ย


ิ าต่ อ ไปนี้ 2Al + 3H2SO4 → Al2(SO4)3
+ 3H2
จากการทดลองพบว่ า ในเวลา 10 นาที ใช้ Al หมดไป 13.5
กรัม
ก. จงค้านวณอัตราการเปลี่ยนแปลง H2SO4 และ H2 เป็ นโมล/
ลิตร
ข. จงค้านวณอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าเฉลี่ยจากการทดลองนี้
วิธีทำา
13

หมายเหตุ อาจจะคิดอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าจากสารตัวอื่นก็ได้ จะได้
ค้าตอบเท่ากัน
ตัวอย่างที่ 5 จากการทดลองหาอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าระหว่าง Mg กับ
HCl ตามสมการ
Mg + 2HCl → MgCl2 + H2
โดยการเก็บก๊าซ H2 จากการแทนที่สารละลายดังในร่ป

ผลการทดลองได้ดังนี้
ปริมาตร H2 เวลา (s) ปริมาตร H2 เวลา (s)
(cm ) (cm )
3 3

1 7 4 32
2 15 6 60
3 23 8 105

ก. จงค้านวณอัตราเฉลี่ยของการเกิดก๊าซ H2
ข. จงค้านวณอัตราการเกิดก๊าซ H2 ระหว่างเวลา 23 - 32 วินาที
ค. จงค้านวณอัตราการเกิดก๊าซ H2 ณ วินาทีท่ี 50
วิธีท้า ก.
14

ข.

ค.

แบบทดสอบท้ายการจัดการเรียนร้้หน่วย
เรื่อง การศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าเคมี

จงเลือกคำำตอบที่ถูกต้องที่สุดจำกคำำถำมแต่ละข้อ
1. ข้อใดจัดเป็ นปฏิกิริยาเนื้ อ
เดียว
1. Zn(s) + 2HCl(aq) → ZnCl2(aq) + H2(g)
2. 2Mg(s) + O2(g) → 2MgO(s)
3. CO2(g) + Ca(OH)2(aq) → CaCO3(s) + 2H2O(l)
4. H2SO4(aq) + 2KOH(aq) → K2SO4(aq) + 2H2O(l)
คำาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ประกอบการตอบคำาถามข้อ 2-4
2A2B(g) ↔ 2A2(g) + B2(g)
15

A2B มีการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นดังนี้

เวลา ความเข้มข้นของ
(s) A2B (mol/dm )
3

0 5
5 3.5
10 X
15 2.0
20 1.7
25 1.5

2. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยมีค่าเท่าใด
1. 0.06 mol/dm /s 2. 0.14 mol/dm /s
3 3

3. 0.18 mol/dm /s 4. 0.32 mol/dm /s


3 3

3. อัตราการเกิดปฏิกิริยาระหว่างวินาทีที่ 5-15 มีค่าเท่าใด


0.70 mol/dm /s 0.13 mol/dm /s
3 3
1. 2.
0.15 mol/dm /s
3
3. 4. ไม่สามารถคำานวณได้เนื่ องจาก
ไม่ทราบค่า X
4. ถ้าอัตราการเกิดปฏิกิริยาช่วง 5-10 วินาที มีค่าเท่ากับ 0.20
mol/dm /s X มีค่าเท่าใด
3

0.5 mol/dm 3.5 mol/dm


3 3
1. 2.
3. 4.5 mol/dm 4. ข้อมูลไม่เพียงพอ
3

5. อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ วินาทีที่ 10 มีค่าเท่าใด


0.20 mol/dm /s 0.18 mol/dm /s
3 3
1. 2.
0.15 mol/dm /s 0.25 mol/dm /s
3 3
3. 4.
16

หน่วยที่ 2
เรื่อง แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิรย
ิ าเคมีและพลังงานกับการ
ดำาเนิ นไปของปฏิกิรย
ิ า
********************************************************
1. แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิรย
ิ าเคมี
ปฏิกิรย
ิ าเคมีหนึ่ งๆ จะเกิดได้หรือไม่ เกิดขึ้นได้อย่างไร เกิดเร็วหรือ
ช้าได้อย่างไร นอกจากจะทราบจากการทดลองแล้ว ยังสามารถทราบได้จาก
การใช้ทฤษฎีอธิบายอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า เช่น ทฤษฎีการชน และทฤษฎี
ทรานสิชันสเตต เป็ นต้น ทฤษฎีดังกล่าวจะอธิบายให้ทราบว่าการที่ปฏิกิรย
ิ า
จะเกิดขึ้นได้ต้องมีสภาวะอย่างไร และเมื่อมีปฏิกิรย
ิ าเกิดขึ้นแล้วการเพิ่ม
ความเข้มข้น อุณหภ่มิ ท้าให้เกิดเร็วขึ้น เป็ นเพราะเหตุใด

ทฤษฎีการชนกันของก๊าซ (collision theory of gases)


นั กวิทยาศาสตร์เชื่อว่า “ปฏิกิรย
ิ าเคมีเกิดขึ้นได้ เมื่ออนุภาคของสาร
ตั้ งต้ น เข้ า มาชนกั น ” อนุ ภ าคดั ง กล่ า วอาจจะเป็ นโมเลกุ ล อะตอมหรือ
ไอออนก็ได้ อย่างไรก็ตามไม่ได้หมายความว่า การชนกันทุกครั้งจะต้องเกิด
ปฏิกิรย
ิ ายังต้องอาศัยปั จจัยอื่นๆ เช่น พลังงานก่อกัมมันต์ และทิศทางของ
การชนประกอบด้ว ย กล่าวได้ว่ า การชนกัน บางโอกาสเท่ านั้ นที่ ท้า ให้ เ กิ ด
ปฏิกิรย
ิ าได้ ดังนั้ นอัตราการชนจึงส่งกว่าอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า
ตัวอย่าง เช่น ก๊าซ H2 1 โมล (6.02 x 10 โมเลกุล ) บรรจุ อย่่ ใน
23

ภาชนะที่มีก๊าซ O2 1 โมล (6.02 x 10 โมเลกุล)อัตราการชนกันระหว่าง


23

โมเลกุลของ H2 และ O2 จะมีค่ามากกว่า 10 ครั้งต่อวินาที จะพบว่าไม่มี


30

ปฏิกิรย
ิ าเกิดขึ้น แต่ถ้าน้า ก๊าซ NO 1 โมล บรรจุลงในภาชนะที่มีก๊าซ O2
1 โมลจะพบว่ามีอัตราการชนมากกว่า 10 ครั้งต่อวินาที เช่นเดียวกัน แต่
30
17

สามารถเกิดปฏิกิรย
ิ าได้เป็ น NO2 แสดงให้เห็นว่าในบางกรณี ถึงแม้อนุ ภาค
จะชนกันมากเพียงใดก็ยังไม่มีปฏิกิรย
ิ าเกิดขึ้น แต่บางกรณี ปฏิกิรย
ิ าจะเกิด
ขึ้นได้อย่างรวดเร็ว
ทฤษฎีท่ีใช้อธิบายการเกิดปฏิกิรย
ิ าดังกล่าวนี้ เรียกว่า ทฤษฎีการชน
กันของก๊าซ

พลังงานก่อกัมมันต์ (Activation energy)

ตามหลักของทฤษฎีจลน์ ที่อุณหภ่มิหนึ่ งๆ โมเลกุลหรืออะตอมของ


ก๊าซทุกชนิ ดจะมีพลังงานจลน์เฉลี่ยเท่ากัน และมีความเร็วเท่ากับความเร็ว
เฉลี่ย แต่ในสภาพความเป็ นจริง โมเลกุลของก๊าซจะเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว
ต่างๆ กัน แม้ว่าจะเป็ นโมเลกุลชนิ ดเดียวกัน บางกลุ่มอาจจะเคลื่อนที่ด้วย
ความเร็วต้่ามาก บางกลุ่มอาจจะส่งมาก หรือบางโมเลกุลมีการชนกันแล้ว
ท้า ให้ ห ยุ ด นิ่ ง การที่ โ มเลกุ ล เหล่ า นี้ เคลื่ อนที่ ไ ด้ เ ร็ ว ไม่ เ ท่ า กั น ท้า ให้ มี
พลั ง งานจลน์ ใ นตั ว แตกต่ า งกั น พวกโมเล กุ ล ที่ เ คลื่ อ นที่ ช้ า ลง จะ มี
พลังงานจลน์ในตัวต้่าและพวกที่ท่ีเคลื่อนที่เร็ว จะมีพลังงานจลน์ในตัวส่ง
เมื่ อโมเลกุ ล เหล่ า นี้ เคลื่ อนที่ ต ลอดเวลาและชนกั น จะท้า ให้ มี ก าร
เปลี่ยนแปลงพลังงานเกิดขึ้น อาจจะมีการถ่ายเทพลังงานจากโมเลกุลหนึ่ ง
ไปยังอีกโมเลกุลหนึ่ ง ถ้าโมเลกุลที่ชนกันนั้ นมีพลังงานจลน์ส่ง พลังงานที่
ได้ จากการชนก็ จะมี ค่ าส่ ง และถ้ าพลั ง งานนั้ นส่ ง มากพอจะท้า ให้ เ กิ ด การ
สลายพันธะในสารตั้งต้นท้าให้มีโอกาสสร้างพันธะใหม่เกิดเป็ นผลิตภัณฑ์ได้
ซึ่งหมายความว่า ในกรณี ของการชนกันดังกล่าวจะท้าให้มีปฏิกิรย
ิ าเคมีเกิด
ขึ้น แต่ในทางตรงกันข้าม เนื่ องจากโมเลกุลทั้งหมดไม่ได้มีพลังงานจลน์ส่ง
มากพอ บางโมเลกุลอาจจะมีพลังงานต้่ามาก เมื่อโมเลกุลเหล่านี้ มาชนกัน
พลังงานที่ได้จากการชนกันจะมี ค่าไม่ส่ งพอ ท้า ให้ไม่ส ามารถสลายพัน ธะ
18

ของสารตั้งต้น ดังนั้ นปฏิกิรย


ิ าจึงไม่เกิดขึ้น นั ่นคือ การชนกันของโมเลกุลที่
พลังงานต้่าปฏิกิรย
ิ าเคมีจะไม่เกิดขึ้น “พลังงานของโมเลกุลที่ชนกันแล้ว
ทำา ให้ มี ป ฏิ กิ ร ิย าเกิ ด ขึ้ นได้ อ ย่ า งน้ อ ยจะต้ อ งมี ค่ า เท่ า กั บ พลั ง งานค่ า หนึ่ ง
เรีย กว่ า ก่ อ กั ม มั น ต์ ห รือ พลั ง งานกระตุ้ น ” ถ้ า โมเลกุ ล ที่ เ ข้ า มาชนกั น มี
พลังงานเท่ ากั บ หรือ มากกว่าพลั งงานก่อ กัมมั น ต์ การชนกั นนั้ นจะท้า ให้
เกิดปฏิกิรย
ิ าเคมีได้ แต่ถ้าโมเลกุลที่เข้ามาชนกัน มีพลังงานน้อยกว่าพลังงา
นก่อกัมมันต์ การชนกันนั้ นจะไม่เกิดปฏิกิรย
ิ าเคมี
เมื่อโมเลกุลที่มีพลังงานในตัวส่งกว่าพลังงานพลังงานกระตุ้นเข้ามา
ชนกัน จะก่อให้เกิดการสลายพันธะภายในโมเลกุลนั้ น ในขณะเดียวกันจะ
เกิดการสร้างพันธะขึ้นใหม่พร้อมๆ กัน ก่อให้เกิดสารประกอบเชิงซ้อนที่มี
ทั้ ง การสลายและสร้ า งพั น ธะขึ้ น เรีย กสารนี้ ว่ า สารเชิ ง ซ้ อ นที่ ถ่ ก กระตุ้ น
(activated complex) สารเชิ ง ซ้ อ นที่ ถ่ ก กระตุ้ น จะมี พ ลั ง งานในตั ว ส่ ง กว่ า
โมเลกุลเดิมท้า ให้อย่่ในสภาวะที่ไม่เสถียร อาจจะเกิดการเปลี่ยนแปลงต่อ
ไปกลายเป็ นผลิตภัณฑ์หรืออาจจะกลับคืนเป็ นสารเดิมก็ได้
เช่น ในปฏิกิรย
ิ า A2 + B2 → 2AB สามารถแสดงสารเชิงซ้อนที่
ถ่กกระตุ้นได้ดังนี้

ทิศทางการชนกันของโมเลกุล
19

ถึงแม้ว่าโมเลกุลที่เข้ามาชนกัน จะมีพลังงานในตัวส่งมากกว่า พลังงา


นก่อกัมมันต์ และชนกันอย่างแรง อาจจะไม่เกิดปฏิกิรย
ิ าก็ได้ถ้าทิศทางของ
การชนกั น หรือ ต้า แหน่ ง การจั ด ตั ว ของโมเลกุ ล ที่ เ ข้ า ชนกั น ไม่ เ หมาะสม
หมายความว่า ปฏิกิรย
ิ าเคมีจะเกิดขึ้นได้น้ ั นต้องขึ้นอย่่กับทิศทางการชนกัน
ด้ ว ย โดยที่ ทิ ศ ทางของการชนมี ส่ ว นสั ม พั น ธ์ กั บ พลั ง งานก่ อ กั ม มั น ต์ ข อง
ปฏิกิรย
ิ า ถ้าทิศทางของการชนเหมาะสม พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิรย
ิ า
จะต้่ า กว่ า ในกรณี ที่ ทิ ศ ทางของการชนไม่ เ หมาะสม ซึ่ ง เป็ นผลให้ เ กิ ด
ปฏิกิรย
ิ าได้ง่ายกว่า
ตัวอย่างเช่น ปฏิกิรย
ิ าระหว่าง H2O (g) กับ CO (g) ได้ผลิตภัณฑ์
เป็ น H2 (g) และ CO (g) ตามสมการ H2O (g) + CO (g) →
H2 (g) + CO2 (g)
นอกจากการที่ โ มเลกุ ล ของ H2O ที่ มีพลั ง งานส่ง มาชนกั บ โมเลกุ ล
ของ CO ที่ มี พ ลั ง งานส่ ง แล้ ว โมเลกุ ล ทั้ ง 2 จะต้ อ งมี ก ารจั ด ตั ว ให้ ถ่ ก
ทิศทางด้วย โมเลกุลอาจจะชนกันในลักษณะต่างๆ ดังนี้
20

การชนกั น ในแบบที่ I ออกซิ เ จนใน H2O ชนกั บ คาร์ บ อนใน CO


ซึ่งถ้ามีพลังงานส่งพอจะได้เป็ น CO2 และ H2 แสดงว่าทิศทางของการชน
เหมาะสม สามารถเกิดปฏิกิรย
ิ าได้
การชนกัน ในแบบที่ II ออกซิ เจนใน H2O และใน CO ชนกัน ซึ่ง
เป็ นทิศทางของการชนที่ไม่เหมาะสม ถึงแม้ว่าจะมีพลังงานส่งก็จะไม่เกิด
ปฏิกิรย
ิ า ไม่ได้ CO2 และ H2
การชนกันในแบบที่ III ไฮโดรเจนใน H2O ชนกับคาร์บอนใน CO
ซึ่งก็เป็ นทิศทางการชนที่ไม่เหมาะสมเช่นเดียวกัน ดังนั้ นการชนแบบนี้ จะ
ไม่มีปฏิกิรย
ิ าเกิดขึ้น
พิจารณาตัวอย่างทิศทางการชนที่เหมาะสมของปฏิกิรย
ิ า
CO2 + H2O → H2CO3 + HCO3 + H
- +

ก๊าซ CO2 และ H2O อาจจะชนกันได้หลายแบบ ดังในร่ป


CO2 + H2O → H2CO3 +
HCO3 + H
- +

ร่ปที่ 2 ทิศทางการชนกันของ CO2 และ H2O

เฉพาะการชนกันในร่ป (a) เท่านั้ น ถ้าพลังงานของโมเลกุลส่งมากพอ


จะท้าให้เกิดปฏิกิรย
ิ าเคมีได้ เนื่ องจากมีทิศทางการชนที่เหมาะสม ส้าหรับ
การชนแบบอื่นๆ ถึงแม้ว่าจะมีพลังงานส่งก็ไม่เกิดปฏิกิรย
ิ า เพราะทิศทาง
การชนไม่เหมาะสม
21

การอธิ บ ายเกี่ ย วกั บ การเกิ ด ปฏิ กิ ร ิ ย าเคมี จึ ง สามารถสรุ ป ได้ ว่ า


“ปฏิกิรย
ิ าเคมีจะเกิดขึ้นได้เมื่ออนุภาคของสารตั้งต้นเข้ามาชนกัน อนุภาคที่
เข้ามาชนกันนี้ จะต้องมีพลังงานในตัว อย่างน้อยเท่ากับพลังงานก่อกัมมันต์
และจะต้องชนกันในทิศทางที่เหมาะสม” ซึ่งเป็ นเหตุผลที่ใช้อธิบายว่าท้าไม
การชนกันบางครั้งเท่านั้ น จึงเกิดปฏิกิรย
ิ า โมเลกุลส่วนหนึ่ ง จะมีพลังงาน
น้ อ ยกว่ า พลั ง งาน ก่ อ กั ม มั น ต์ ซึ่ ง เมื่ อชนกั น จะไม่ เ กิ ด ปฏิ กิ ร ิย า และ
โมเลกุลที่มีพลังงานมากกว่าพลังงานก่อกัมมันต์ ถ้าชนกันไม่ถ่กทิศทางก็
จะไม่ เ กิ ด ปฏิ กิ ร ย
ิ าเช่ น เดี ย วกั น ดั ง นั้ นอั ตราการเกิ ด ปฏิ กิ ร ย
ิ าจึ ง ต้ อ งมี ค่ า
น้อยกว่าอัตราการชนกันของโมเลกุล
ส้าหรับการที่จะอธิบายว่าปฏิกิรย
ิ าเคมีหนึ่ ง ๆ มีอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า
ส่งหรือต้่าต้องอาศัยปั จจัย 2 อย่าง คือ
1. จ้านวนอนุ ภาคที่มีพลังงานส่ง
2. ค่าพลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิรย
ิ า

การที่ปฏิกิรย
ิ าเกิดช้าเป็ นเพราะปฏิกิรย
ิ านั้ นมีพลังงานก่อกัมมันต์ส่ง
ซึ่งอนุ ภาคที่จะชนกันแล้วท้าให้เกิดพลังงานเท่ากับ หรือ มากกว่าพลังงานก่
อกัมมันต์ จะต้องเป็ นอนุ ภาคที่มีพลังงานส่งมาก ซึ่งที่อุณหภ่มิปกติอนุ ภาค
ที่ มี พ ลั ง งานส่ ง ๆ เหล่ า นี้ จะมี จ้า นวนน้ อ ย จึ ง เป็ นผลให้ อั ต ราการเกิ ด
ปฏิกิรย
ิ าต้่า
ดั ง นั้ น ปฏิ กิ ร ย
ิ าที่ เ กิ ดเร็ ว จะต้ อ งมี ค่ าพลั ง งานก่ อ กั มมั น ต์ ต้่ า และมี
จ้า นวนอนุ ภาค ที่มีพลังงานส่งอย่่มาก ในท้า นองกลับกัน ปฏิกิรย
ิ าจะเกิด
ช้าถ้ามีพลังงานก่อกัมมันต์ส่ง และมีจ้านวนอนุ ภาคที่มีพลังงานส่งอย่่น้อย
โดยทัว่ ๆ ไปพลังงานก่อกัมมันต์กับจ้านวนโมเลกุลทีมีพลังงานส่ง จะมีสว่ น
สัมพันธ์กัน ในปฏิกิรย
ิ าที่มีพลังงานก่อกัมมันต์ต้่า จะมีโมเลกุลที่มีพลังงาน
22

ส่งๆ เมื่อเทียบกับพลังงานก่อกัมมันต์ จ้า นวนมาก ในขณะที่ ปฏิ กิร ย


ิ าที่มี
พลังงานก่อกัมมันต์ส่ง จะมีโมเลกุลที่มีพลังงานส่งๆ อย่่น้อย

ร่ปที่ 3 เปรียบเทียบการเล่นบาสเกตบอลกับการเกิดปฏิกิรย
ิ าเคมี
ภาพ a แสดงให้เห็นว่าพลังงานยังไม่พอ ในแง่ของการเกิดปฏิกิรย
ิ า
ก็คือ พลังงานไม่ถึงพลังงานก่อกัมมันต์ ท้าให้ไม่เกิดปฏิกิรย
ิ า
ภาพ b พลั ง งานที่ ใ ช้ มากเกิ น พอ ไม่ เ หมาะสม ในแง่ ข องการเกิ ด
ปฏิกิรย
ิ าเคมีก็คือ พลังงานส่งกว่า พลังงานก่อกัมมันต์ แต่ทิศทางของการ
ชนไม่เหมาะสม ท้าให้ไม่เกิดปฏิกิรย
ิ า
ภาพ c แสดงให้เ ห็ น ถึ ง พลัง งานพอและทิ ศ ทางถ่ กต้ อ ง ในแง่ ข อง
การเกิดปฏิ กิรย
ิ าเคมี ก็คือ พลังงานส่งพอและมี ทิศ ทางที่ เหมาะสม ท้า ให้
เกิดปฏิกิรย
ิ าเคมี
2. พลังงานกับการดำาเนิ นไปของปฏิกิรย
ิ า
เนื่ องจากการเกิดปฏิกิรย
ิ าเคมี จะต้องมีพลังงานเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย
ถ้าเป็ นปฏิกิรย
ิ าของสารประกอบโคเวเลนต์จะมีการสลายพันธะของสารตั้ง
ต้น และมีการสร้างพันธะของสารผลิตภัณฑ์ข้ ึน ถ้าพลังงานที่ใช้ในการสลาย
พันธะทั้งหมดรวมกันแล้ว มีค่ามากกว่าพลังงานที่ได้จากการเกิดพันธะใหม่
รวมกัน การเปลี่ยนแปลงนั้ นจะเป็ นประเภทด่ดความร้อน ในทางตรงกั น
ข้ า ม ถ้ า พลั ง งานที่ ใ ช้ ใ นการสลายพั น ธะทั้ งหมดรวมกั น มี ค่ า น้ อ ยกว่ า
23

พลังงานที่เกิดขึ้นเนื่ องจากการสร้างพันธะรวมกัน การเปลี่ยนแปลงนั้ นก็จะ


เป็ นประเภทคายความร้อน
ในแง่ของพลังงานของโมเลกุล ถ้าสารที่เป็ นผลิตภัณฑ์มีพลังงานต้่า
กว่ าสารตั้ ง ต้ น ปฏิ กิร ย
ิ านั้ นจะเป็ นประเภทคายพลั ง งาน แต่ ถ้าสารที่ เ ป็ น
ผลิ ต ภั ณ ฑ์ มี พ ลั ง งานส่ ง กว่ า สารตั ง ต้ น ปฏิ กิ ร ิย านั้ นจะเป็ นประเภทด่ ด
พลังงาน
การด้า เนิ นไปของปฏิ กิ ร ิย าในแง่ ข องพลั ง งานของโมเลกุ ล เมื่ อ
โมเลกุลของก๊าซมาชนกันจนกระทัง่ กลายเป็ นผลิตภัณฑ์สามารถจะแสดงให้
เห็นได้โดยอาศัยกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานของสารตั้ งต้ น
พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิรย
ิ า และพลังงานของผลิตภัณฑ์ดังนี้
ก. กราฟระหว่าง NO2 กับ CO ซึ่งเป็ นประเภทคายความร้อน
NO2 (g) + CO (g) → NO (g) + CO2 (g) + 234 kJ
เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการด้าเนิ นไปของ
ปฏิกิรย
ิ าได้ดังนี้

ร่ปที่ 4 การเปลี่ยนแปลงพลังงานของปฏิกิรย
ิ า NO2 (g) + CO (g) →
NO (g) + CO2 (g)
E1 คือพลังงานของสารตั้งต้น
E3 คือพลังงานของสารผลิตภัณฑ์
Ea คือพลังงานก่อกัมมันต์ ซึ่งเป็ นผลต่างระหว่าง E2 กับ E1
∆E คือ พลังงานของปฏิกิรย
ิ า ซึ่งเป็ นผลต่างระหว่าง E3 กับ E1
24

ในปฏิกิรย
ิ าดังกล่าวนี้
∆E = -234 kJ
Ea = 66.9 kJ

ข. ปฏิ กิ ร ิย า 2HI (g) H2 (g) + I2 (g) ซึ่ ง เป็ นปฏิ กิ ร ิย า


ประเภทด่ดความร้อน

ร่ปที่ 5 การเปลี่ยนแปลงพลังงานของปฏิกิรย
ิ า 2HI (g) H2 (g) +
I2 (g)

เมื่อสารตั้งต้น (HI) ซึ่งมีพลังงาน E1 ชนกันจนท้าให้มีพลังงานส่งขึ้น


เป็ น E2 ซึ่งจะกลายไปเป็ นผลิตภัณฑ์ (H2 + I2) ที่มีพลังงาน E3
E3 มีค่ามากกว่า E1 ดังนั้ นจึงเป็ นการเปลี่ยนแปลงประเภทด่ดความ
ร้ อ น โดยมี พ ลั ง งานของปฏิ กิ ร ย
ิ า หรือ พลั ง งานที่ ร ะบบด่ ด เข้ า ไปเท่ า กั บ
∆E

∆E = E3 - E1
Ea = E2 - E1

ในกรณี ท่ีเป็ นการเปลี่ยนแปลงประเภทผันกลับได้ คือ มีท้ ังปฏิกิรย


ิ า
ไปข้างหน้า และปฏิกิรย
ิ าย้อนกลับ จะมีท้ ังพลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิรย
ิ า
ไปข้างหน้า (Eaf) และของปฏิกิรย
ิ าย้อนกลับ (Ear)
25

ตัวอย่างเช่น ปฏิกิรย
ิ าคายความร้อน A B จะมีกราฟแสดง
การด้าเนิ นไปของปฏิกิรย
ิ าดังนี้

ร่ปที่ 6 การเปลี่ยนแปลงประเภทคายความร้อน
พลังงานของปฏิกิรย
ิ า ( ∆ E) นอกจากจะพิจารณาจากพลังงานของ
สารตั้ง ต้น และพลัง งานของผลิ ตภั ณฑ์ แล้ ว ยังสามารถหาได้ จากพลั ง งาน
กระตุ้น
∆E = E (ผลิตภัณฑ์) - E (สารตั้งต้น)
= E3 - E1
หรือ ∆E = Eaf - Ear
ถ้า Eaf > Ear จะเป็ นปฏิกิรย
ิ าด่ดความร้อน
Eaf < Ear จะเป็ นปฏิกิรย
ิ าคายความร้อน
อย่างไรก็ตาม ∆E = Eaf - Ear ใช้ ไ ด้ กั บ ปฏิ กิ ร ิย าที่ ผั น
กลับเท่านั้ น ปฏิกิรย
ิ าที่เกิดแบบสมบ่รณ์จะมีแต่ปฏิกิรย
ิ าไปข้างหน้า หรือมี
แต่ Eaf ดังนั้ นจะใช้ความสัมพันธ์ดังกล่าวไม่ได้

พลังงานก่อกัมมันต์ ( Ea) กับอัตราการเกิดปฏิกิรย


ิ า
ค่า Ea สามารถใช้เปรียบเทียบอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าได้โดย
“ปฏิ กิ ร ิย าที่ มี ค่ า Ea ต้่ า จะเกิ ด ได้ เ ร็ ว กว่ า ปฏิ กิ ร ิย าที่ มี Ea ส่ ง ”
เช่น
26

2H2 (g) + O2 (g) → 2H2O (g) มี Ea ส่งมาก ท้า ให้เกิด


ปฏิ กิร ย
ิ าช้ ามากจนสั ง เกตไม่ ได้ แต่ ปฏิ กิร ย
ิ า 2NO (g) + O2 (g) →
2NO2 (g) เกิดเร็วมากเพราะมี Ea ต้่า
อย่ า งไรก็ ต ามปฏิ กิ ร ย
ิ าที่ มี ค่ า Ea ต้่ า อย่ า งน้ อ ยที่ สุ ด ค่ า Ea จะต้ อ ง
เท่ากับพลังงานของสารตั้งต้น ค่า Ea ของปฏิกิรย
ิ าแต่ละชนิ ดจะน้อยกว่า
พลังงานของสารตั้งต้นไม่ได้ ค่า Ea เป็ นค่าเฉพาะตัวของปฏิกิรย
ิ าหนึ่ งๆ ไม่
ขึ้นกับอุณหภ่มิ ค่า Ea ของปฏิกิรย
ิ าต่างชนิ ดกันจะมีค่าไม่เท่ากัน ดังแสดง
ในตารางที่ 1

ตารางที่ 1 พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิรย
ิ าเคมีบางชนิ ด (ทุกตัวอย่่ใน
ภาวะก๊าซ)
ปฏิกิรย
ิ า Ea (kJ)
H2 + I2 → 2HI 167.2
2HI → H2 + I2 183.9
NO + O3 → 10.5
NO2 + O2 23.0
Cl2 + H2 → HCl 73.6
+ H
Br + H2 →
HBr + H

โดยทัว่ ๆ ไปอาจจะสรุปเกี่ยวกับพลังงานก่อกัมมันต์ได้ดังนี้
1. Ea คือพลังงานต้่าที่สุดที่โมเลกุลของสารตั้งต้นจะต้องมีเพื่อที่จะ
ชนกันแล้วเกิดปฏิกิรย
ิ าได้เป็ นผลิตภัณฑ์
27

2. Ea ส่วนใหญ่เป็ นพลังงานจลน์ ไม่เกี่ยวกับพลังงานสลายพันธะซึ่ง


เป็ นพลังงานศักย์
3. Ea ของปฏิ กิ ร ิย าหนึ่ งๆ จะมี ค่ า ไม่ เ ท่ า กั น ค่ า นี้ หาได้ จ ากการ
ทดลองและการค้านวณ
4. Ea จะบอกให้ทราบถึงแนวโน้มของอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า ปฏิกิรย
ิ า
ที่มี Ea ต้่าจะเกิดได้เร็วกว่าปฏิกิรย
ิ าที่มี Ea ส่ง
5. Ea ไม่เกี่ยวกับพลังงานของปฏิกิรย
ิ า ไม่เกี่ยวกับการด่ดหรือคาย
ความร้อนของปฏิกิรย
ิ า ปฏิกิรย
ิ าที่คายความร้อนอาจจะมี Ea ส่งหรือต้่าก็ได้
6. Ea ไม่ข้ ึนกับอุณหภ่มิ ไม่ว่าอุณหภ่มิส่งหรือต้่าค่า Ea จะคงที่ ค่า Ea
จะลดลงเมื่อมีการเติมตัวเร่งปฏิกิรย
ิ าลงไป
เนื่ องจากปฏิกิรย
ิ าจะเกิดขึ้นได้จะต้องพิจารณาทิศทางการชนกันของ
โมเลกุลด้วย ดังเช่นในปฏิกิรย
ิ าระหว่าง H2O กับ CO ได้เป็ น H2 และ
CO2 ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว ถ้าโมเลกุลของสารตั้งต้นชนกันในทิศทางเหมาะ
สม จะเกิดเป็ นสารเชิงซ้อนที่ถ่กกระตุ้น และกลายเป็ นผลิตภัณฑ์ในที่สุด
ในกรณี น้ ี พลังงานกระตุ้นจะต้่า แต่ถ้าชนกันไม่เหมาะสม ค่า Ea จะค่อนข้าง
ส่ง จึงไม่เกิดปฏิกิรย
ิ าดังในร่ปที่ 7
28

ร่ ปที่ 7 เปรียบเทีย บพลังงานก่อ กัมมัน ต์ มีทิ ศ ทางการชนเหมาะสม


และไม่เหมาะสม

แบบทดสอบท้ายการจัดการเรียน
เรื่อง การเกิดปฏิกิรย
ิ าเคมี
จงเลือกคำำตอบที่ถูกต้องที่สุดจำกคำำถำมแต่ละข้อ
1. ิ า P และปฏิกิรย
จากกราฟ ข้อสรุปเกี่ยวกับปฏิกิรย ิ า Q ข้อใดถูก
ต้อง
29

1. อัตราการเกิดปฏิกิริยา P เร็วกว่าอัตราการเกิดปฏิกิริยา Q
เพราะปฏิกิริยา P เป็ นปฏิกิริยาคายความร้อน
2. อัตราการเกิดปฏิกิริยา Q เร็วกว่าอัตราการเกิดปฏิกิริยา P
เพราะปฏิกิริยา Q เป็ นปฏิกิริยาดูดความร้อน
3. อัตราการเกิดปฏิกิริยา P เร็วกว่าอัตราการเกิดปฏิกิริยา Q
เพราะพลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยา P
น้ อยกว่าของปฏิกิริยา Q
4. อัตราการเกิดปฏิกิริยา Q เร็วกว่าอัตราการเกิดปฏิกิริยา P
เพราะพลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยา Q
มากกว่าของปฏิกิริยา P
2. จากกราฟการดำาเนิ นไปของปฏิกิริยา

ข้อสรุปของปฏิกิริยา A และปฏิกิรย
ิ าB
1. ิ า A เกิดยากกว่าปฏิกิริยา B เพราะปฏิกิริยา A มี
ปฏิกิรย
พลังงานก่อกัมมันต์สูงกว่า
2. ิ า B เกิดยากกว่าปฏิกิริยา A เพราะปฏิกิริยา B เป็ น
ปฏิกิรย
ปฏิกิริยาดูดความร้อน
30

3. ่ ุณหภูมิเดียวกัน ปฏิกิริยา B เกิดเร็วกว่าปฏิกิริยา A


ทีอ
4. เมื่อเพิ่มอุณหภูมิ พลังงานก่อกัมมันต์ของทัง้ สองปฏิกิริยาจะ
สูงขึ้นมาก
จากข้อสรุปที่กำาหนดให้ ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อ ก และ ค 2. ข้อ ก และ ง
3. ข้อ ข และ ค 4. ข้อ ข และ ง
คำาชี้แจง ใช้ขอ
้ มูลจากกราฟตอบคำาถามข้อ 3-4

3. ข้อใดเปรียบเทียบอัตราเร็วของปฏิกิริยา A, B และ C ได้ถูกต้อง


1. ิ า A มีอัตราเร็วสูงกว่าปฏิกิริยา C
ปฏิกิรย
2. ิ า C มีอัตราเร็วสูงกว่าปฏิกิริยา B
ปฏิกิรย
3. ิ า A และปฏิกิริยา B มีอัตราเร็วเท่ากัน
ปฏิกิรย
4. ิ า B มีอัตราเร็วสูงกว่าปฏิกิริยา A
ปฏิกิรย
4. ข้อความใดถูกต้อง
1. ิ า A คายความร้อน 15 kJ พลังงานก่อกัมมันต์ 50
ปฏิกิรย
kJ
2. ิ า B ดูดความร้อน 80 kJ พลังงานก่อกัมมันต์ 30 kJ
ปฏิกิรย
3. ปฏิกิริยา B ดูดความร้อน 30 kJ พลังงานก่อกัมมันต์ 50 kJ
4. ปฏิกิริยา C คายความร้อน 60 kJ พลังงานก่อกัมมันต์ 30 kJ
5. ปฏิกิรย
ิ าชนิ ดหนึ่ งมีค่าพลังงานก่อกัมมันต์ 150 กิโลจูล และคาย
31

พลังงานเท่ากับ 200 กิโลจูล กราฟใด


ต่อไปนี้จะแสดงการดำาเนิ นไปของปฏิกิริยาได้ดีที่สุด
1. 2.

3. 4.

6. ปฏิกิริยา X + Y → Z เป็ นปฏิกิริยาดูดความร้อนและมีค่า


พลังงานของปฏิกิริยาเท่ากับ 30 กิโลจูล
ต่อโมล พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยาไปข้างหน้ ามีค่าดังข้อใด

1. -30 kJ/mol
2. น้ อยกว่า +30 kJ/mol
3. มากกว่า +30 kJ/mol
4. อาจมากกว่าหรือน้ อยกว่า +30 kJ/mol
7. จากกราฟระหว่างพลังงานกับการดำาเนิ นไปของปฏิกิริยา A และ
B เป็ นดังนี้
32

ข้อความเกี่ยวกับปฏิกิริยาทัง้ สองข้อใดไม่ถูกต้อง
1. ิ า A เป็ นปฏิกิริยาคายความร้อน ส่วนปฏิกิริยา B ดูด
ปฏิกิรย
ความร้อน
2. พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยา A จะเป็ นครึ่งหนึ่ งของ
พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยา B

3. ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากปฏิกิริยา A จะเสถียรกว่าผลิตภัณฑ์ที่ได้
จากปฏิกิริยา B
4. กราฟทัง้ สองไม่ได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับอัตราการเกิดปฏิกิริยา
8. ปฏิกิริยา A + B → C + D เป็ นปฏิกิริยาดูดความร้อน
ประกอบด้วยปฏิกิริยาย่อย 2 ขัน
้ ตอน ดังนี้
้ ที่ 1 A + B
ขัน → E (เกิดเร็ว)
้ ที่ 2
ขัน E → C + D (เกิดช้า)
กราฟข้อใดสอดคล้องกับข้อมูล
1. 2.

3. 4.
33

9. ปฏิกิริยา A → D มี 3 ขัน
้ ตอนย่อย เขียนกราฟแสดงพลังงานก่
้ ตอนย่อยทัง้ 3 ขัน
อกัมมันต์ของขัน ้ ได้ดังนี้

การเรียงลำาดับอัตราการเกิดปฏิกิริยาทัง้ 3 ขัน
้ ตอนย่อยของ
ปฏิกิริยา A → D ข้อใดถูกต้อง
1. (A→ B) > (B →C) > (C→D)
2. (C→D) > (A→B) .> (B→C)
3. (B→C) > (A→B) > (C→D)
4. (C→D) > (B→C) > (A→B)
10. จากกราฟอัตราการเกิดปฏิกิริยาถูกควบคุมด้วยปฏิกิริยาย่อยในข้อ
ใด

1. ้ x และ y
ขัน 2. ้ w และ x
ขัน
3. ้ x
ขัน 4. ้ w
ขัน
34

หน่วยที่ 3
เรื่อง ปั จจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าเคมี
**************************************************
อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า ขึ้นอย่่กับปั จจัยหลายอย่าง คือ
1. ธรรมชาติของสารตั้งต้น 4. อุณหภ่มิ
2. ความเข้มข้นของสารตั้งต้น 5. ตัวเร่งปฏิกิรย
ิ า
3. พื้ นที่ผิวของสารตั้งต้น 6. ตัวหน่วงปฏิกิรย
ิ า
อั ตราการเกิ ดปฏิ กิรย
ิ าจะเร็ วหรือ ช้า ก็ ข้ ึนอย่่ กับ ปั จจั ย ดั ง กล่ าว จะ
เห็นว่าปั จจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ านั้ นเป็ นผลเนื่ องจากสารตั้งต้น
เท่านั้ น ไม่เกี่ยวข้องกับสารผลิตภัณฑ์ การที่ทราบว่าอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า
ขึ้ นอย่่ กับ ปั จจั ย อะไรบ้ าง ท้า ให้ส ามารถควบคุ มความเร็ ว ของปฏิ กิร ย
ิ าได้
ท้า ให้เกิ ดเร็ว หรือเกิดช้าตามต้อ งการ ปฏิ กิร ย
ิ าบางชนิ ดอาจจะเกิ ดได้ เ ร็ ว
35

หรือช้า เนื่ องจากธรรมชาติของสารตั้งต้น เช่น สารประกอบไอออนนิ กมัก


จะเกิดปฏิกิรย
ิ าได้เร็วกว่าสารโคเวเลนต์ ปฏิกิรย
ิ าบางชนิ ดขึ้นกับความเข้ม
ข้น แต่บางชนิ ดไม่ข้ ึนกับความเข้มข้น ซึ่งจะกล่าวถึงต่อไป

ธรรมชาติของสารตั้งต้นที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า
ปฏิกิรย
ิ าเคมีโดยทัว่ ๆ ไป จะมีอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าที่แตกต่างกัน มี
ตั้งแต่ช้ามากจนสังเกตไม่ได้ถึงเกิดขึ้นได้ทันที บางปฏิกิรย
ิ าอาจจะเกิดเร็ว
มากถึงหนึ่ งในล้านวินาที เช่น การระเบิดของดินปื น ปฏิกิรย
ิ าจ้า นวนมาก
เกิดขึนเร็ว เช่น ปฏิกิรย
ิ าระหว่างกรดกับเบสจะได้เกลือและน้้าทันที หรือ
ปฏิกิรย
ิ าระหว่างสารละลาย AgNO3 กับ NaCl จะได้ตะกอนขาว AgCl
ทันที
NaOH + HCl → NaCl + H2O
AgNO3 + NaCl → AgCl + NaNO3
ปฏิ กิ ร ย
ิ าบางชนิ ด อาจจะเกิ ด ช้ า มากจนไม่ เ ห็ น การเปลี่ ย นแปลงใน
ขณะทดลอง อาจจะต้ อ งใช้ เ วลาเป็ นวั น เดื อ น หรือเป็ นปี จึ ง จะเห็ น การ
เปลี่ยนแปลงนั้ น เช่น การเน่าเปื่ อยของซากพืช ซากสัตว์ การเกิดสนิ ม
ของโลหะต่างๆ เป็ นต้น
ส า ร ที่ มี อั น ย ร่ ป กั น มั ก จ ะ ท้า ป ฏิ กิ ริ ย า กั น ไ ด้ เ ร็ ว ไ ม่ เ ท่ า กั น เ ช่ น
ฟอสฟอรัส ขาวกั บ ฟอสฟอรัส แดง ที่ อุ ณ หภ่ มิ ห้ อ งฟอสฟอรัส ขาวจะลุ ก
ติ ด ไฟในอากาศได้ ทั น ที แต่ ฟ อสฟอรัส แดงไม่ เ กิ ด ปฏิ กิ ร ิย าทั้ งนี้ เพราะ
โครงสร้างของฟอสฟอรัสขาวนั้ นเป็ น P4 ลักษณะเป็ นโมเลกุลเดี่ยวๆ แต่
ฟอสฟอรัสแดงมีโครงสร้างที่ต่อกันเป็ นแนวยาว
ดังนั้ นฟอสฟอรัสขาวจึงเกิดปฏิกิรย
ิ าได้ง่ายกว่า เพราะไม่ต้องมีการ
ท้าลายพันธะมากเท่ากับฟอสฟอรัสแดง โดยทัว่ ๆ ไป การเกิดปฏิกิรย
ิ าเคมี
จะมีการสลายพันธะและสร้างพันธะในเวลาเดียวกัน ปฏิกิรย
ิ าจะเกิดเร็วหรือ
36

ช้า มักจะเกี่ยวข้องกับขั้นตอนของการสลายพันธะเหล่านี้ ถ้าสลายง่ายมัก


จะเกิดได้เร็ว เป็ นต้น
โดยทัว่ ๆ ไป ปฏิกิรย
ิ าที่สารตั้งต้นอย่่ในร่ปของไอออนมักจะเกิดได้เร็ว
กว่าในร่ปโมเลกุล

เช่น
5Fe + MnO4 + 8H → Mn + 5Fe +
2+ - + 2+ 3+

4H2O เกิดเร็ว
2H2 + O2 → 2H2O เกิดช้า
1. ความเข้มข้นของสารตั้งต้นกับอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าเคมี
ก่ อนที่จะพิ จารณาเกี่ย วกั บผลของความเข้มข้ น ที่ มีต่อ อั ตราการเกิ ด
ปฏิกิรย
ิ า ขอให้ท้าความเข้าใจเกี่ยวกับปฏิกิรย
ิ าเนื้ อเดียวและปฏิกิรย
ิ าเนื้ อ
ผสมก่อน
ก. ปฏิกิรย
ิ าเนื้ อเดียว หมายถึง ปฏิกิรย
ิ าที่สารตั้งต้นทั้งหมดรวมตัว
กันเป็ นสารเนื้ อเดียว อาจจะมีสถานะเป็ นของแข็ง ของเหลวหรือก๊าซก็ได้
เช่น ปฏิ กิร ย
ิ าที่ส ารตั้ง ต้น ทุกตั วเป็ นก๊ าซ ปฏิกิรย
ิ าที่ สารตั้ งต้ นทุ กตั วเป็ น
สารละลาย เป็ นต้น
N2 (g) + O2 (g) → 2NO (g)
NaOH (aq) + HCl (aq) → NaCl (aq) + H2O (l)
ข. ปฏิกิรย
ิ าเนื้ อผสม หมายถึง ปฏิกิรย
ิ าที่สารตั้งต้นทุกตัวไม่ได้รวม
เป็ นสารละลายเนื้ อเดียว อาจเป็ นปฏิกิรย
ิ าที่สารตั้งต้นอย่่ต่างสถานะ เช่น
ระหว่างของแข็งกับของเหลว หรือของเหลวกับก๊าซ เป็ นต้น หรือ อาจเป็ น
ปฏิกิรย
ิ าที่สารตั้งต้นละลายอย่่ในตัวท้าละลายต่างชนิ ด ซึ่งไม่ละลายกัน
Mg (s) + 2HCl (aq) → MgCl2 (aq) + H2 (g)
37

Ca(OH)2 (aq) + CO2 (g) → CaCO3 (s) + H2O (l)


พิจารณาอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าระหว่าง Mg กับ HCl ตามสมการ
Mg (s) + 2HCl (aq) → MgCl2 (aq) + H2 (g)
การวัดอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าท้า ได้โ ดยวั ดปริมาณของ H2 ที่เกิดขึ้ น
จากการทดลองจะพบว่าในตอนเริม
่ ต้นของปฏิกิรย
ิ า อัตราการเกิดก๊าซ H2
จะส่ ง มาก แล้ ว ค่ อ ยๆ ลดลงตามล้า ดั บ เมื่ อเวลาผ่ านไปการที่ เ ป็ นเช่ น นี้
อธิบายได้ว่า ตอนเริม
่ ต้น ปฏิกิรย
ิ าเกิดเร็วเพราะสารตั้ง ต้น มี ปริมาณมาก
เมื่อเวลาผ่านไปสารตั้งต้นจะค่อยลดน้อยลง ท้าให้อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าลด
ลง ซึ่งแสดงว่าอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าขึ้นอย่่กับความเข้มข้นของสารตั้งต้น
โดยทัว่ ๆ ไป เมื่อความเข้มข้นของสารตั้งต้นเพิ่มขึ้น อัตราการเกิด
ปฏิกิรย
ิ ามักจะเร็วขึ้นด้วย แต่ไม่แน่เสมอไป บางกรณี อาจไม่มีผลต่ออัตรา
การเกิดปฏิกิรย
ิ าได้ หรืออาจท้าให้ปฏิกิรย
ิ าเกิดช้าลงก็ได้ การที่จะทราบว่า
ความเข้มข้นของสารต้นต้น มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าหรือไม่ จะต้อง
ได้จากการทดลองเท่านั้น
จากการทดลอง จะท้าให้ทราบว่าสารตั้งต้นชนิ ดใดบ้างที่มีผลต่ออัตรา
การเกิดปฏิกิรย
ิ า ท้าให้ปฏิกิรย
ิ าเกิดเร็วขึ้นหรือช้าลง แต่ถ้าต้องการจะทราบ
ว่ า ความเข้ ม ข้ น ของสารตั้ งต้ น มี ผ ลต่ อ อั ต ราเร็ ว ของปฏิ กิ ร ิย ามากน้ อ ย
อย่างไร สารใดจะมีผลมากกว่ากันจะต้องอาศัยกฎอัตราเข้าช่วย
กฎอัตรา (rate law)
กรณี ท่ีเป็ นปฏิกิรย
ิ าเนื้ อเดียว อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าจะขึ้นอย่่กับความ
เข้มข้นของสารตั้งต้นโดยตรง แต่ถ้าเป็ นปฏิกิรย
ิ าเนื้ อผสมจะมีปัจจัยอย่าง
อื่นเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย ซึ่งจะยังไม่ขอกล่าวในที่น้ ี ดังที่กล่าวมาแล้วว่า โดย
ทัว่ ๆ ไป เมื่อความเข้มข้นของสารตั้งต้นเพิ่มขึ้น อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าจะ
เกิดเร็วขึ้น การเพิ่มความเข้มข้นอาจจะท้าได้โดยเพิ่มสารตั้งต้นบางส่วนลง
38

ไปในปฏิกิรย
ิ า หรือถ้าเป็ นปฏิกิรย
ิ าของก๊าซอาจจะเพิ่มความเข้มข้นโดยลด
ปริมาตรของภาชนะหรือเพิ่มความดัน
ความเข้มข้นของสารตั้งต้นแต่ละตัวในปฏิกิรย
ิ าอาจจะมีผลต่ออัตรา
การเกิดปฏิกิรย
ิ าไม่เท่ากัน บางตัวอาจจะมีผลมาก บางตัวอาจจะมีผลน้อย
หรือไม่มีผลเลยก็ได้ นั กวิทยาศาสตร์ได้ศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่ างความ
เข้มข้น ของสารตั้งต้นกับอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า เพื่อที่จะด่ว่าสารใดบ้าง มี
ผลต่อ อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าและมีผลมากน้อยอย่างไร โดยอาศัย law of
mass action ซึ่ ง กล่ าวว่ า “อั ตราการเกิ ด ปฏิ กิร ย
ิ าจะเป็ นสั ด ส่ ว นโดยตรง
กับความเข้มข้นของสารตั้งต้น ที่เข้าท้าปฏิกิรย
ิ า”
ในปฏิกิรย
ิ าเคมีทัว่ ๆ ไป aA + bB → cC + dD
A และ B เป็ นสารตั้งต้น
จาก law of mass action “อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า (R) α ความเข้ม
ข้นของสารตั้งต้น”
R α [A] และ R α [B]
m n

การที่ใช้ [A] หรือ [B] ก็เนื่ องจากไม่ทราบว่าความเข้มข้นของ


m n

A และ B จะมี ผ ลต่ อ อั ต ราการเกิ ด ปฏิ กิ ร ิย ามากน้ อ ยเท่ า ใด จึ ง ใส่ เ ป็ น


ตัวแปร m และ n ไว้
เมื่อ พิจารณาอัตราการเกิ ดปฏิ กิร ย
ิ าทั้ ง ในเทอมความเข้ มข้ น ของ A
และ B จะได้
R [A] [B]
m n
α

หรือ R = k[A] [B] …………………..


m n

(1)
จากสมการที่ (1) เรียกว่า “กฎอัตราเร็ว” ซึ่งใช้แสดง ความสัมพันธ์
ระหว่าง ความเข้มข้นของสารตั้งต้นกับอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า กฎอัตราเร็ว
39

จะท้าให้ทราบว่า ความเข้มข้นของสารใดบ้างมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า
ท้า ให้ทราบว่าสารตั้งต้นชนิ ดใดมีผลโดยตรงต่อการเปลี่ยนแปลงอัตราการ
เกิดปฏิกิรย
ิ ามากกว่ากัน ทั้งนี้ ต้องหาค่า m และ n ก่อนโดยการทดลอง
R = อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า
k = ค่าคงที่อั ตราเร็ ว ซึ่ ง จะคงที่ ส้า หรับ ปฏิ กิร ย
ิ าหนึ่ ง ๆ ที่
อุ ณ หภ่ มิท่ี ก้า หนดให้ (k ของปฏิ กิร ย
ิ าหนึ่ ง จะเปลี่ ย นแปลงเมื่ ออุ ณ หภ่ มิ
เปลี่ยนเท่านั้ น)
m, n = คืออันดับของปฏิกิรย
ิ า เมื่อเทียบกับสาร A และ B
ตามล้าดับ (m + n) เรียกว่าเป็ นอันดับรวมของปฏิกิรย
ิ า m และ n จะ
มีค่าเป็ นอย่างไรก็ได้อาจเป็ น 0, 1, 2, 3, …. หรือเป็ นเลขเศษส่วน หรือมี
ค่ าเป็ นลบก็ได้ กล่ าวได้ ว่ าค่ า m และ n เป็ นตั วเลขที่ จะบอกให้ ท ราบว่ า
อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าขึ้นอย่่กับสารใดบ้าง มากหรือน้อยอย่างไร เช่น ถ้า
m > n แสดงว่าการเปลี่ยนความเข้มข้นของ A จะมีผลต่ออัตราการเกิด
ปฏิกิรย
ิ ามากกว่า B เป็ นต้น
ค่า m, n อาจจะเท่ากับ a และ b หรือไม่ก็ได้ ทั้งนี้ ขั้นอย่่กับ
ผลการทดลอง ดังนั้ นจึงไม่สามารถจะท้านายกฎอัตราเร็วจากสมการที่ดุล
ได้
ในกรณี ท่ีสารตั้งต้นมีเพียง 2 ชนิ ด คือ A กับ B จะพบว่ากฎอัตราเร็ว
จะมีตัวแปรที่ยังไม่ทราบค่าอย่่ 3 ตัว คือ k, m, และ n ในที่น้ ี จะหา
ค่ า ของตั ว แปรทั้ ง 3 ได้ จ ะต้ อ งมี ส มการทางคณิ ตศาสตร์ อ ย่ า งน้ อ ย 3
สมการ ซึ่ ง จะท้า ได้ โ ดยการทดลอง 3 การทดลองหรือ มากกว่ า เปลี่ ย น
ความเข้มข้นของ A และ B ไปเรื่อยๆ แล้วหาอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า เมื่อ
น้า ไปแทนค่าในกฎอัตราเร็วจะหาค่า k, m, และ n ซึ่งจะท้า ให้ทราบผล
ของความเข้มข้นที่มีต่ออัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ านั้ น ตัวอย่างเช่น
40

1. ถ้าผลการทดลองได้ค่า m = 1, n = 1
แสดงว่า R = k[A] [B]
อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าจะขึ้นอย่่กับความเข้มข้นของทั้ง A และ B
ถ้าความเข้มข้นของสารใดสารหนึ่ งเปลี่ยนแปลงไป อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า
จะเปลี่ยนแปลงไป
ปฏิกิรย
ิ านี้ เป็ นอันดับหนึ่ งเมื่อเทียบกับ A หรือ B และมีปฏิกิรย
ิ ารวม
เป็ นอันดับสอง
2. ถ้าผลการทดลองได้ m = 1, n = 0
แสดงว่า R = k[A]
อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าจะขึ้นอย่่กับสาร A เท่านั้ น ถ้าความเข้มข้นของ
สาร A เปลี่ยน อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าจะเปลี่ยน แต่ถ้าความเข้มข้นของ B
เปลี่ยนจะไม่มีผลใดๆ ต่ออัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า
ในกรณี น้ ี จัดเป็ นปฏิกิรย
ิ าอันดับหนึ่ งเมื่อเทียบกับ A เป็ นอันดับศ่นย์
เมื่อเทียบกับ B และปฏิกิรย
ิ ารวมเป็ นอันดับหนึ่ ง
3. ถ้าผลการทดลองได้ m = 0, n = 0
แสดงว่า R = k
ในกรณี น้ ี สารตั้งต้นไม่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า ไม่ว่าความเข้ม
ข้นจะเปลี่ยนอย่างไรอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าจะไม่เปลี่ยนแปลง เรียกว่าเป็ น
ปฏิ กิ ร ย
ิ าอั น ดั บ ศ่ น ย์ ท้ ั ง ในแง่ ข อง A, B และปฏิ กิร ย
ิ ารวม ตั ว อย่ า ง เช่ น
การสลายตัวของ NH3 โดยมี Pt เป็ นคะตะไลส์
2NH3 (g) Pt
→ N2 (g) + 3H2 (g)
อี ก ตั ว อย่ า งหนึ่ ง คื อ ปฏิ กิ ร ย
ิ าการก้า จั ด อั ล กอฮอล์ อ อกจากกระแส
เลือดในตับของคน เมื่ออัลกอฮอล์เข้าส่่เลือด ร่างกายจะต้องขับออก อัตรา
41

การสลายตัวของอัลกอฮอล์ในร่างกายจะคงที่ไม่ว่าปริมาณของอัลกอฮอล์ใน
เลือดจะมากหรือน้อยเพียงใดก็ตาม
4. ถ้าผลการทดลองได้ m = 1, n = 2
แสดงว่า R = k[A] [B]
2

ในกรณี น้ ี อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าจะขึ้นอย่่กับสาร A และ B แต่สาร B
มีผลมากกว่า ถ้าความเข้มข้นของ A และ B เปลี่ยนแปลงเท่าๆ กัน การ
เปลี่ ย นแปลงของ B จะมี ผ ลต่ อ การเปลี่ ย นแปลงอั ต ราการเกิ ด ปฏิ กิ ร ย
ิ า
มากกว่า
ส้า หรับกรณี จัดเป็ นปฏิ กิร ย
ิ าอัน ดั บหนึ่ ง เมื่ อเทีย บกั บ A อันดั บสอง
เมื่อเทียบกับ B และปฏิกิรย
ิ ารวมเป็ นอันดับ สาม
5. ถ้าผลการทดลองได้ m และ n เป็ นเลขเศษส่วน เช่น
1

R = k[ A ][ B] 2
1 + [C] / k ' [ B]

กรณี ดังกล่าวจะมีปฏิกิรย
ิ าเกิดขึ้นหลายขั้นตอนและค่อนข้างซับซ้อน
(ไม่กล่าวถึงในที่น้ ี )
ที่ ก ล่ า วมา เป็ นเพี ย งตั ว อย่ า งที่ ส มมติ ข้ ึ นมาเพื่ อให้ ด่ ค วามสั ม พั น ธ์
ระหว่างความเข้มข้นกับอัตราการเกิดปฏิ กิรย
ิ า จะเห็น ได้ ว่าอัตราการเกิ ด
ปฏิกิรย
ิ าอาจจะขึ้นอย่่กับสารตั้งต้นเพียงชนิ ดเดียว หรือหลายๆ ชนิ ด หรือ
ไม่ข้ ึนกับสารใดเลยก็ได้ ในกรณี ท่ีข้ ึนกับสารตั้งต้นหลายตัวแต่ละตัวก็อาจ
จะมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าไม่เท่ากันก็ได้ โดยทัว่ ๆ ไป ความเข้มข้น
ของสารทุกตัวมักจะมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า ในปฏิกิรย
ิ าเคมีทัว่ ๆ ไป
ถ้าทราบการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจะเขียนสมการแสดงปฏิกิรย
ิ าได้ แต่จะ
ไม่สามารถท้า นายอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าจากสมการเหล่านี้ ได้ ไม่ทราบว่า
ปฏิกิรย
ิ าจะเกิดเร็วหรือช้า ไม่ทราบว่าความเข้มข้นของสารใดบ้างที่มีผลต่อ
42

อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า ทั้งนี้ เพราะอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าจะต้องได้จากผล
การทดลองเท่านั้ น
กรณี ท่ี มีส ารตั้ ง ต้ น มากกว่ า 2 ชนิ ด ก็ ส ามารถเขี ย นกฎอั ตราเร็ ว ได้
เช่นเดียวกัน เช่นปฏิกิรย
ิ า
2A + B + 3C → 2X + Y
เขียนกฎอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าได้เป็ น
R = k[A] [B] [C]
m n p

ในกรณี น้ ี ตัวแปรจะเป็ น 4 ตัว คือ k, m , n และ p ซึ่งจะหาค่า


ของตัวแปรเหล่านี้ ได้จากการทดลอง (อย่างน้อย 4 การทดลอง)
ตัวอย่างที่ 1 ปฏิกิรย
ิ าต่อไปนี้ ข้อใดเป็ นปฏิกิรย
ิ าเนื้ อเดียว และข้อใดเป็ น
ปฏิกิรย
ิ าเนื้ อผสม
ก. H2SO4 (aq) + 2NaOH (aq) → Na2SO4 (aq) + 2H2O (l)
ข. 2CO (g) + O2 (g) → 2CO2 (g)
ค. CO2 (g) + H2O (l) → H2CO3 (aq)
ง. Zn (s) + H2SO4 (aq) → ZnSO4 (aq) + H2 (g)
จ. S2O3 (aq) + 2H (aq) → H2O (l) + SO2 (g) + S(s)
2- +

วิธีทำา

ตัวอย่างที่ 2 จงเขียนกฎอัตราเร็วทัว่ ๆ ไปของปฏิกิรย


ิ าต่อไปนี้
43

ก. S2O3 (aq) + 2H (aq) → H2O (l) + SO2 (g) + S(s)


2- +

ข. 2MnO4 (aq) + 5C2O4 (aq) + 16H (aq) → 2Mn (aq)


- 2- + 2+

+ 2H2O (l) + 10CO2 (g)


ค. 2H2O2 (aq) → 2H2O (l) + O2 (g)
ง. H2O (g) + CO (g) → H2 (g) + CO2 (g)

วิธีทำา

ตั วอย่ างที่ 3 จากกฎอั ตราเร็ วของปฏิ กิร ย


ิ าต่อ ไปนี้ สารใดบ้างที่ มีผ ลต่ อ
อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า และสารใดมีผลมากกว่ากัน
ก. ปฏิกิรย
ิ า 2A + B → C กฎอั ต ราเร็ ว R = k[A]
[B]
ข. ปฏิกิรย
ิ า X + 2Y → Z กฎอัตราเร็ว R = k
ค. ปฏิกิรย
ิ า P + 2Q → X กฎอั ต ราเร็ ว R = k[P]
[Q]
2

ง. ปฏิกิรย
ิ า A + 2B + P → 2X + Yก ฎ อั ต ร า เ ร็ ว R =
k[A] [B]
วิธีทำา
44

ตัวอย่างที่ 3 ปฏิกิรย
ิ าเกิดขึ้นดังสมการ A + 2B → C
การ ความเข้มข้นของ ความเข้มข้น อัตราการเกิด
ทดลอง A ของ B ของ C
(โมล/ลิตร) (โมล/ลิตร) (โมล/ลิตร-
วินาที)
1 1.0 1.0 2.5
2 2.0 1.0 2.5
3 1.0 2.0 5.0
4 1.0 2.0 5.0

ก. อั ต ราการเกิ ด ของ C สั ม พั น ธ์ กั บ ความเข้ ม ข้ น ของ A และ B


อย่างไร
ข. ในการทดลองที่ 1 ถ้าลดปริมาณของสารตั้งต้นให้เหลือเพียงครึง่
หนึ่ งจะมีผลต่อการเกิดของ C อย่างไร

วิธีทำา
45

การคำานวณอัตราเร็วของปฏิกิรย
ิ าเมื่อทราบกฎอัตราเร็ว
ตัวอย่างที่ 4 จากการทดลองเพื่อหาอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าตามสมการ A
+ 2B → C + 3D ได้ข้อม่ล ดังนี้
การทดลอง [A] (โมล/ [B] (โมล/ลิตร) R (โมล/ลิตร-
ที่ ลิตร) วินาที)
1 1 1 1 x 10
-3

2 2 1 4 x 10
-3

3 3 2 1.8 x 10
-2

4 2 3 1.2 x 10
-2

5 3 4 3.6 x 10
-2

ก. จงค้านวณกฎอัตราเร็วในเทอมของ A และ B
ข. ถ้า [A] = 4 โมล/ลิตร และ [B] = 2 โมล/ลิตร อัตราการเกิด
ปฏิกิรย
ิ าจะเป็ นเท่าใด
ค. ถ้ า ความเข้ ม ข้ น ของ A เป็ น 3 เท่ า ของ B อั ต ราการเกิ ด
ปฏิกิรย
ิ าจะเพิ่มขึ้นกี่เท่า
วิธีทำา
46

กฎอัตราเร็วในเทอมของความดัน
ในกรณี ที่ ส ารตั้ งต้ น เป็ นก๊ า ซ นอกจากจะพิ จ ารณาอั ต ราการเกิ ด
ปฏิกิรย
ิ า จากความเข้มข้นแล้ว ยังสามารถพิจารณาได้ในเทอมของความ
ดันของก๊าซได้
เช่นปฏิกิรย
ิ าต่อไปนี้ aA(g) + bB (g) → cC(g) + dD (g)
กฎอัตราเร็วสามารถเขียนในเทอมความดันได้เป็ น R = k P m
A PB
n

ตัวอย่างที่ 5 จากปฏิกิรย
ิ า 2NO (g) + 2H2 (g) → N2 (g) + 3H2O
(g) ที่ 1100 K วัดอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าได้ดังนี้
ความดัน H2 ความดัน NO อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า
(mmHg) (mmHg) (mmHg/s)
400 152 0.28
400 300 1.08
400 359 1.55
300 400 1.44
289 400 1.39
205 400 0.98
47

147 400 0.72


จงค้านวณค่าคงที่อัตราเร็ว (k) และกฎอัตราเร็วในเทอมของความดัน
วิธีทำา

2. พื้ นที่ผิวของสารกับอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าเคมี
ดังที่ได้กล่าวไว้แล้วว่าปฏิกิรย
ิ าเคมีน้ ั นอาจจะแบ่งเป็ น 2 ประเภท
ตามลั ก ษณะของวั ฏ ภาค (phase) คื อ ปฏิ กิร ย
ิ าเนื้ อเดี ย ว ซึ่ ง สารตั้ ง ต้ น ทุ ก
ชนิ ดรวมกันเป็ นสารละลายเนื้ อเดียว และปฏิกิรย
ิ าเนื้ อผสม ซึ่งสารตั้งต้น
ไม่ ไ ด้ ร วมกั น เป็ นเนื้ อเดี ย ว เช่ น อาจจะเป็ นของเหลวกั บ ของแข็ ง หรือ
ของเหลวกับก๊าซ ในกรณี ท่ีเป็ นปฏิกิรย
ิ าเนื้ อเดียว ความเข้มข้นของสารตั้ง
ต้นจะเป็ นปั จจัยที่ส้าคัญในการควบคุมอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า ในกรณี ท่ีเป็ น
ปฏิ กิร ย
ิ าเนื้ อผสม นอกจากจะพิ จ ารณาความเข้ มข้ น ของสารแล้ ว ยั ง ต้ อ ง
พิจารณาปั จจัยอื่นๆ อีก คือ พื้ นที่ผิวของสารตั้งต้นที่มาท้าปฏิกิรย
ิ า ดังเช่น
ปฏิ กิร ย
ิ าระหว่ า ง Mg(s) กั บ HCl (aq) จะพบว่ าพื้ นที่ ผิ ว ของ Mg มี ส่ ว น
ส้าคัญมากในการควบคุมอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า
Mg (s) + HCl (aq) → MgCl2 (aq) + H2 (g)
48

ถ้ า วั ด อั ต ราการเกิ ด ปฏิ กิ ร ิ ย าจากปริม าตรของก๊ า ซ H2 จะพบว่ า


ปฏิกิรย
ิ าจะเกิดเร็วเมื่อใช้ Mg ที่มีพื้นที่ผิวมาก
ดังนั้ นโดยทัว่ ๆ ไป จึงสรุปได้ว่า อัตราการเกิ ดปฏิกิรย
ิ าเป็ นสั ดส่ วน
โดยตรงกับพื้ นที่ผิวของสารตั้งต้นที่เข้าท้าปฏิกิรย
ิ ากัน (เฉพาะปฏิกิรย
ิ าเนื้ อ
ผสมเท่านั้ น ถ้าเป็ นปฏิกิรย
ิ าเนื้ อเดียว พื้ นที่ผิวของสารตั้งต้นจะไม่มีผลต่อ
อัตราการเกิ ดปฏิ กิร ย
ิ า) ถ้าพื้ นที่ผิวมาก อัตราการเกิ ดปฏิ กิร ย
ิ าจะเร็ว กว่ า
เมื่ อพื้ นที่ ผิ ว น้ อ ย ดั ง นั้ นวิ ธี ก ารเพิ่ ม อั ต ราการเกิ ด ปฏิ กิ ร ิย าวิ ธี ห นึ่ งของ
ปฏิกิรย
ิ าเนื้ อผสม คือ การเพิ่มพื้ นที่ผิว (นอกเหนื อจากการเพิ่มความเข้ม
ข้น) ซึ่งอาจจะท้า ได้โดยการบดให้ละเอียด ตัดให้เป็ นชิ้นเล็กๆ หรือยืดให้
เป็ นเส้นยาวๆ เป็ นต้น

3. อุณหภ้มิกับอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าเคมี
นอกเหนื อจากความเข้มข้นและพื้ นที่ผิวของสารตั้งต้นจะมีผลโดยตรง
ต่ อ อั ตราการเกิ ด ปฏิ กิ ร ย
ิ าเคมี แ ล้ ว ปั จจั ย ที่ ส้า คั ญ อี ก อย่ า งหนึ่ ง ที่ มี ผ ลต่ อ
อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าเคมี คืออุณหภ่มิ โดยทัว่ ๆ ไป เมื่ออุณหภ่มิของระบบ
ส่งขึ้นอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ ามักจะเกิดเร็วขึ้น แต่มีบ้างเหมือนกันที่อุณหภ่มิ
ไม่ มี ผ ลต่ อ อั ต ราการเกิ ด ปฏิ กิ ร ย
ิ า หรือ มี ผ ลในทางตรงกั น ข้ า ม คื อ ท้า ให้
ปฏิ กิ ร ิย าเกิ ด ช้ า ลง เช่ น ปฏิ กิ ร ิย า I + I →I2 ถ้ า เพิ่ ม อุ ณ หภ่ มิ จ ะท้า ให้
ปฏิ กิ ร ิย าเกิ ด ช้ า ลง เป็ นต้ น อย่ า งไรก็ ต ามปฏิ กิ ร ิย าเคมี ส่ ว นใหญ่ เมื่ อ
อุณหภ่มิสง่ ขึ้น จะมีอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าเร็วขึ้น
ตัวอย่างเช่น เมื่อวางแผ่นโลหะ Mg ไว้ในอากาศที่อุณหภ่มิห้อง ผิว
ของ Mg จะค่อยๆ เปลี่ยนเป็ นสีเทาทั้งนี้ เพราะเกิด MgO
MgO (s) + O2 (g) → 2MgO (s)
49

การเกิดปฏิกิรย
ิ านี้ จะช้ามาก แต่ถ้าน้า แผ่น Mg นี้ เผาในเปลวไฟจะ
พบว่ า สามารถเกิ ด ปฏิ กิ ร ิย าได้ MgO ภายในเวลาไม่ ก่ี วิ น าที แสดงว่ า
อุณหภ่มิช่วยท้าให้ปฏิกิรย
ิ าเกิดเร็วขึ้น
ในชีวิตประจ้า วัน จะพบว่า อุณหภ่มิมีส่วนเกี่ยวข้องกับปฏิกิรย
ิ าเคมี
เสมอๆ เช่น การเก็บอาหารไว้ในต้่เย็น จะเก็บไว้ได้นานกว่าการเก็บอาหาร
ไว้ ท่ี อุ ณ หภ่ มิ ห้ อ ง เนื่ องจากที่ อุ ณ หภ่ มิ ต่้ า สามารถป้ องกั น การบ่ ด เน่ า ของ
อาหารได้ ดี กว่ า ทั้ง นี้ เพราะการบ่ ดเน่ าเกิ ด จากแบคที เ รีย ขั บ สารบางชนิ ด
ออกมาย่อยสายสารอินทรีย์ ถ้าอุณหภ่มิต้่ากว่าปฏิกิรย
ิ าเคมีในอาหารนั้ นจะ
เกิดช้า ท้าให้การบ่ดเน่าเกิดช้าลง พวกยาบางชนิ ด เช่น ยาปฏิชีวนะ วัคซีน
ป้ องกั น พิ ษสุ นั ข บ้ า ต้ อ งเก็ บ ไว้ ท่ี อุ ณ หภ่ มิต่้ า เนื่ องจากยาเหล่ า นี้ สลายตั ว
ง่ายที่อุณหภ่มิห้อง การปรุงอาหารก็เช่นเดียวกัน ถ้าใช้อุณหภ่มิส่ง อาหาร
จะสุกเร็วกว่าที่อุณหภ่มิต้่า แต่ในขณะเดียวกัน การสลายของสารอาหารหรือ
สารที่มีคุณค่าทางอาหารส่งก็จะสลายตัวเร็วเช่นกัน
ตัวอย่างของการศึกษาผลของอุ ณหภ่ มิท่ี มีต่ออั ตราการเกิ ดปฏิ กิร ย
ิ า
ได้แก่ ปฏิกิรย
ิ าระหว่ าง KMnO4 กับ H2C2O4 ใน H2SO4 โดยวัดอัตรา
การเกิดปฏิกิรย
ิ าจากการฟอกสีของ KMnO4
2MnO4 + 5C2O4 + 16H → 2Mn + 8H2O +
- 2- + 2+

10CO2
จากการทดลองพบว่าเมื่อใช้ความเข้มข้นและปริมาณของสารเท่ากัน
ที่อุณหภ่มิส่งการฟอกจางสีของ KMnO4 (เปลี่ยนจากสีม่วงแดงไม่มีสี)
จะเกิดได้เร็วกว่าที่อุณหภ่มิต้่า

4. ตัวเร่งปฏิกิรย
ิ าและตัวหน่วงปฏิกิรย
ิ า
การเพิ่มอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าเคมีนอกจากจะท้าได้โดยการเพิ่มความ
เข้ มข้ น ของสารตั้ ง ต้ น เพิ่ ม พื้ นที่ ผิ ว ของสารตั้ ง ต้ น และการเพิ่ ม อุ ณ หภ่ มิ
50

แล้ว ยังอาจจะเพิ่มอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าได้ โดยการเติมสารที่เรียกว่า ตัว
เร่งปฏิกิรย
ิ าลงไป ในท้านองกลับกัน อาจจะท้าให้ปฏิกิรย
ิ าเกิดช้าลงโดยการ
เติมสารที่เรียกว่า ตัวหน่วงปฏิกิรย
ิ า หรือตัวขัดขวางปฏิกิรย
ิ าลงไป สารที่
เป็ นตัวเร่งปฏิกิรย
ิ าหรือตัวหน่วงปฏิกิรย
ิ านั้ นส่วนมากจะใช้เพียงเล็กน้อย
ตัวเร่งปฏิกิรย
ิ า หมายถึง สารที่ท้า ให้ปฏิกิรย
ิ าเกิดเร็วขึ้น เมื่อสิ้นสุด
ปฏิกิรย
ิ าแล้วสารนั้ นจะต้องได้กลับมาเท่าเดิม ตัวเร่งปฏิกิรย
ิ าจะต้องมีส่วน
ร่วมในการเกิดปฏิกิรย
ิ าเสมอ โดยอาจจะมีส่วนร่วมโดยตรง หรือมีส่วนร่วม
โดยอ้อมก็ได้ แต่อย่างไรก็ตามเมื่อสิ้นสุดปฏิกิรย
ิ าแล้ว ตัวเร่งปฏิกิรย
ิ าจะ
ต้ อ งได้ ก ลั บ คื น มาเท่ า เดิ ม กระบวนการที่ มี ก ารเติ ม ตั ว เร่ ง ปฏิ กิ ร ย
ิ าลงไป
เรียกว่า กระบวนการคะตะลิซีส (catalysis)
ตัวเร่งปฏิกิรย
ิ าอาจจะแบ่งเป็ น 2 ประเภทดังนี้
ก. ตัวเร่งปฏิกิรย
ิ าเนื้ อเดียว หมายถึง ตัวเร่งปฏิกิรย
ิ าที่อย่่ในวัฏภาค
หรืออย่่ในสถานะเดียวกับสารตั้งต้น เช่น เป็ นของแข็งเหมือนกัน หรือเป็ น
ของเหลวเหมื อ นกั น ดั ง เช่ น การใช้ MnO2 (s) เป็ นตั ว เร่ ง ปฏิ กิ ร ย
ิ าใน
การเตรียม O2 จากการเผา KClO3 (s)
2KClO3 (s) 2KCl (s) + 3O2 (g)
M n O (s )
  2 →

เนื่ องจากตัวเร่งปฏิกิรย
ิ าไม่ได้ถ่กใช้ไปในการเกิดปฏิกิรย
ิ า ถึงแม้ว่าตัว
เร่ ง ปฏิ กิร ย
ิ าจะมี ส่ ว นเกี่ ย วข้ องกั บ ปฏิ กิร ย
ิ าก็ ตามที แต่ ห ลั ง จากปฏิ กิ ร ย
ิ า
สมบ่รณ์แล้วจะได้กลับมาเท่าเดิม ดังนั้ นการเขียนสมการเพื่อแสดงตัวเร่ง
ปฏิกิรย
ิ าจึงนิ ยมเขียนไว้บนล่กศรในสมการ ดังเช่น การเผา KClO3
ถ้าไม่ใช้ MnO2 ปฏิกิรย
ิ าจะเกิดขึ้นได้จะต้องใช้อุณหภ่มิและความดัน
ส่ง แต่ถ้าใช้ MnO2 เป็ นตัวเร่งปฏิกิรย
ิ า จะเกิด O2 ได้เร็วและไม่ต้องใช้
อุณหภ่มิหรือความดันส่ง
51

อี ก ตั ว อย่ า งหนึ่ งได้ แ ก่ ก ารใช้ MnSO4 (aq) เป็ นตั ว เร่ ง ปฏิ กิ ร ิย า
ระหว่าง H2C2O4 (aq) กับ KMnO4 (aq)
2MnO4 (aq) + 5C2O4 (aq) + 16H (aq) 2Mn (aq) +
- 2- + M nSO (aq) 2+
  
4 →

8H2O (l) + 10CO2 (g)


ตัวเร่งปฏิกิรย
ิ าดังกล่าวจัดเป็ นตัวเร่งปฏิกิรย
ิ าเนื้ อเดียว
ในบางกรณี ตัวเร่งปฏิกิรย
ิ าจะมีส่วนร่วมในปฏิกิรย
ิ าโดยตรง โดยการ
ร่ ว มท้า ปฏิ กิ ร ิย ากั บ สารตั้ งต้ น ด้ ว ย เช่ น การใช้ Mn (aq) เป็ นตั ว เร่ ง
2+

ปฏิกิรย
ิ าระหว่าง Ce (aq) กับ Ti (aq) ดังนี้
4+ +

Ce (aq) + Mn (aq) Ce (aq) + Mn (aq)


4+ 2+ 3+ 3+

……………….. (1)
Mn (aq) + Ce (aq) → Ce (aq) + Mn (aq)
3+ 4+ 3+ 4+

……………….. (2)
Mn (aq) + Ti (aq) Mn (aq) + Ti (aq)
4+ + 2+ 3+

…………………(3)
(1)+(2)+(3); 2Ce (aq) + Ti (aq) + Mn (aq) → 2Ce (aq) + Ti
4+ + 2+ 3+ 3+

(aq) + Mn (aq)
2+

จะเห็นได้ว่ามี Mn ทั้งทางซ้ายและขวาของสมการในปริมาณที่เท่า
2+

กัน แสดงว่า Mn เป็ นตัวเร่งปฏิกิรย


ิ า หลังจากมีส่วนร่วมในปฏิกิรย
ิ าแล้ว
2+

จะได้กลับคืนมาเท่าเดิม เมื่อปฏิกิรย
ิ าสิ้นสุด เขียนสมการใหม่เป็ น
2Ce (aq) + Ti (aq) 2Ce (aq) + Ti (aq)
4+ + Mn 2 + (aq )
3+ 3+
 →

ข. ตัวเร่งปฏิกิรย
ิ าเนื้ อผสม หมายถึง ตัวเร่งปฏิกิรย
ิ าที่มีวัฎภาคต่าง
จากสารตั้ งต้ น เช่ น เมื่ อสารตั้ งต้ น ทั้ งหมดเป็ นก๊ า ซแต่ ตั ว เร่ ง ปฏิ กิ ร ิย า
52

ของแข็ ง หรือ สารตั้ ง ต้ น เป็ นของเหลว แต่ ตั ว เร่ ง ปฏิ กิ ร ิย าเป็ นของแข็ ง
เป็ นต้น
ตัวอย่างเช่น การใช้ Pt หรือ Ni หรือ Pd เป็ นตัวเร่งปฏิกิรย
ิ าใน
ปฏิกิรย
ิ าระหว่าง H2 กับ O2
2H2 (g) + O2 (g) Pt
→ 2H2O (l)
Pt เป็ นของแข็ง ในขณะที่ H2 และ O2 เป็ นก๊าซ ดังนั้ น Pt จึงเป็ น
ตัวเร่งปฏิกิรย
ิ าเนื้ อผสม ถ้าไม่ใช้ Pt ปล่อยให้ปฏิกิรย
ิ าเกิดขึ้นเองจะเกิด
ช้ามาก
อีกตัวอย่างหนึ่ งได้แก่ การใช้โลหะ Pt, Ni, Fe หรือ Pd เป็ นตัวเร่ง
ปฏิกิรย
ิ า ในปฏิกิรย
ิ าการเติม H2 ให้แก่สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่ไม่อ่ิม
ตัว เช่น C2H4 (g)
H2 (g) + C2H4 (g) Ni
→ C2H6 (g)
ในปฏิกิรย
ิ านี้ Ni ท้า หน้าที่เป็ นตัวเร่งปฏิกิรย
ิ าเนื้ อผสม เนื่ องจาก
อย่่ในสถานะที่แตกต่างจาก H2 และ C2H4
ในปฏิกิรย
ิ าการเติม H2 นี้ ถ้าไม่ใส่ตัวเร่งปฏิกิรย
ิ า จะท้า ให้ปฏิกิรย
ิ า
เกิดช้ามาก รวมทั้งต้องใช้สภาวะของอุณหภ่มิและความดันที่รุนแรง
ส้า หรับตัวเร่งปฏิกิรย
ิ าเนื้ อผสม พื้ นที่ผิวของตัวเร่งปฏิกิรย
ิ าจะมีผล
ต่ออัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ ามาก ยิ่งพื้ นทีผ
่ ิวของตัวเร่งปฏิกิรย
ิ ามากจะยิ่งท้าให้
ปฏิกิรย
ิ าเกิดเร็วมาก ถ้าพื้ นที่ผิวของตัวเร่งปฏิกิรย
ิ าน้อย ปฏิกิรย
ิ าจะเกิดช้า
เพราะปฏิกิรย
ิ าจะเกิดขึ้นที่ผิวของตัวเร่งปฏิกิรย
ิ า โดยที่ตัวเร่งจะช่วยท้าให้
พันธะของสารตั้งต้นที่มาสัมผัสผิวอ่อนลง หรือแตกออกท้าให้เกิดปฏิกิรย
ิ า
ได้ง่าย
ในกรณี ของปฏิกิรย
ิ าการเติม H2 ให้แก่สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่
ไม่อ่ิมตัว พบว่าปฏิกิรย
ิ าจะเกิดขึ้นที่ผิวของโลหะ ซึ่งอธิบายได้ว่าเนื่ องจาก
53

โลหะ มีการจัดเรียงอะตอมอย่างชิดกันมากที่สุด ในแต่ละชั้นจะมีช่องว่าง


เรีย กว่ า ช่ อ งว่ า งเตตระฮี ด รอล และออกตะฮี ด รอล ซึ่ ง จะท้า หน้ า ที่ ร ับ
อะตอมของ H ที่มีขนาดเล็กเข้าไปโดยที่โมเลกุลของ H2 จะถ่กท้าให้พันธะ
แตกออกอะตอมของ H จะเข้าไปเกาะที่ผิวของโลหะตรงช่องว่างเหล่านั้ น
และอย่่ในสภาพของอะตอม อะตอม H เหล่านี้ มีอิเล็กตรอนไม่ครบออก
เตต จึ ง ว่ อ งไวต่ อ การเกิ ด ปฏิ กิ ร ิย า สามารถรวมกั บ C2H4 กลายเป็ น
C2H6
ตั วหน่ วงปฏิ กิร ิยา หมายถึ ง สารที่ เ ติ มลงไปในปฏิ กิร ย
ิ าแล้ ว ท้า ให้
อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าลดลง เมื่อสิ้นสุดปฏิกิรย
ิ าจะได้กลับมาเท่าเดิม เช่น
การเติมโซเดียมเบนโซเอตลงไปในอาหารส้า เร็จร่ป จะป้ องกันการบ่ดเน่า
ของอาหารได้ เนื่ องจากโซเดียมเบนโซเอตท้าหน้าที่เป็ นตัวขัดขวาง ท้าให้
ปฏิกิรย
ิ าการบ่ดเน่าของอาหารช้าลง
อี ก ตั ว อย่ า งหนึ่ ง คื อ การสลายตั ว ของ H2O2 ซึ่ ง ปกติ จ ะเกิ ด ได้ ง่ า ย
เนื่ องจากสารละลาย H2O2 มักจะมี Fe อย่่ด้วย
3+

2H2O2 Fe3+
  → 2H2O + O2
ถ้ามีการเติ มเกลื อฟอสเฟตลงไป ฟอสเฟตไอออน (PO4 ) จะรวม
3-

กั บ Fe กลายเป็ น FePO4 ท้า ให้ ป ริม าณ Fe ลดลง นอกจากนี้ เกลื อ


3+ 3+

ฟอสเฟตยั ง ช่ ว ยท้า ให้ Fe กลายเป็ น Fe ซึ่ ง ไม่ ท้า ให้ H2O2 สลายตั ว
3+ 2+

การที่เกลือฟอสเฟตช่วยท้าให้อัตราการสลายตัวของ H2O2 ช้าลง แสดงว่า


เกลือฟอสเฟตเป็ นตัวขัดขวางปฏิกิรย
ิ า
โดยทัว่ ๆ ไปตัวเร่งปฏิกิรย
ิ าหรือตัวขัดขวางปฏิกิรย
ิ า จะใช้ได้เฉพาะ
กับปฏิกิรย
ิ าหนึ่ งๆ เท่านั้ น ตัวเร่งปฏิกิรย
ิ าชนิ ดหนึ่ งเหมาะส้าหรับปฏิกิรย
ิ า
หนึ่ ง โดยที่อาจจะใช้เป็ นตัวเร่งปฏิกิรย
ิ าส้าหรับปฏิกิรย
ิ าอื่นๆ ไม่ได้
54

ในร่ า งกายของคนก็ มี เ อนไซม์ ห ลายชนิ ด ที่ ท้า หน้ า ที่ เ ป็ นตั ว เร่ ง
ปฏิกิรย
ิ า เช่น ในกระบวนการย่อยน้้าตาล ถ้าน้าน้้าตาลมาละลายในน้้าที่ 37
องศาเซลเซียส ซึ่งเป็ นอุณหภ่มิใกล้เคียงกับอุณหภ่มิในร่างกายจะปรากฎว่า
ไฮโดรไลส์ยากมาก แม้ว่าจะปล่อยทิ้งไว้ 2 -3 วัน การเปลี่ยนแปลงแทบจะ
ไม่เกิดขึ้นเลย แต่เมื่อคนรับประทานน้้าตาลเข้าไป น้้าตาลนั้ นจะถ่กย่อยให้
เป็ น CO2 และ H2O ได้ทันที
C12H22O11 + 12O2 → 12CO2 + 11H2O
ทั้งนี้ เพราะมีเอนไซม์ช่วยย่อยน้้าตาลเหล่านั้ น ในน้้าลายก็มีเอนไซม์
เรียกว่า อะไมเลส ช่วยย่อยอาหารจ้า พวกแป้ งให้เป็ นน้้าตาล ในน้้าย่อยมี
เอนไซม์เรียกเปปซิน ช่วยย่อยโปรตีน เป็ นต้น
ตั ว เน่ ง ปฏิ กิร ย
ิ า สามารถใช้ ใ นขบวนการก้า จั ด มลพิ ษ ของอากาศได้
เช่น ใช้ในการก้า จัดก๊าซพิษ CO และ NO โดยใช้เครื่องคะตะไลติก คอน
เวอร์เตอร์ ในเครื่องยนต์ ใช้ Pt ช่วยท้า ให้ CO และไฮโดรคาร์บอนส่วนที่
ยังไม่เผาไหม้กลายเป็ น CO2 และ H2O ในขณะเดียวกันพวกโลหะทรานซิ
ชัน หรือธาตุเฉื่อยในคะตะไลติกคอนเวอร์เตอร์ก็ช่วยในการรีดิวซ์ NO และ
NO2 ให้กลายเป็ น N2 ซึ่งเป็ นผลให้มีการลดก๊าซพิษลงได้

**********************************************************
*****************

แบบทดสอบท้ายการจัดการเรียน
เรื่อง ปั จจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าเคมี

จงเลือกคำำตอบที่ถูกต้องที่สุดจำกคำำถำมแต่ละข้อ
55

1. ปฏิกิรย
ิ าใดต่อไปนี้ที่อัตราการเกิดปฏิกิริยาไม่ข้ ึนกับความเข้มข้น
ของสารตัง้ ต้น
1. ปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนี เซียมกับสารละลายกรดไฮโดร
คลอริก
2. ปฏิกิริยาระหว่างกรดออกซาลิกกับโพแทสเซียมเปอร์แมงกา
เนต
3. ปฏิกิริยาระหว่างแอลกอฮอล์ในเลือด
4. ปฏิกิริยาระหว่างโซเดียมไทโอซัลเฟตกับสารละลายกรดไฮโดร
คลอริก
2. ถ้าปฏิกิริยาระหว่างหินปูนปริมาณมากเกินพอกับสารละลายกรดไฮ
โดรคลอริกเข้มข้น 0.3
โมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร ปริมาตร 20 ลูกบาศก์เซนติเมตร ที่ 20
องศาเซลเซียส มีอัตราการ
เกิดปฏิกิริยาเท่ากับ A และได้รับปริมาณผลิตภัณฑ์เท่ากับ B เมื่อ
เปลี่ยนไปใช้กรดไฮโดร-
คลอริกเข้มข้น 1 โมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร โดยมีอุณหภูมิเท่าเดิม
จะได้ผลอย่างไร

ข้ อัตราการเกิด ปริมาณ
อ ปฏิกิรย
ิ า ผลิตภัณฑ์
1 มากกว่า A มากกว่า A
. มากกว่า A เท่ากับ B
2 น้ อยกว่า A น้ อยกว่า B
56

. น้ อยกว่า A เท่ากับ B
3
.
4
.
3. เมื่ อใช้ ส ารละลายกรดไฮโดรคลอริ ก เข้ ม ข้ น 1 โมลต่ อ ลู ก บาศก์
เดซิเมตร ปริมาตร 25
ลู ก บ า ศ ก์ เ ซ น ติ เ ม ต ร เ ท ล ง ใ น หิ น ปู น ชิ้ น เ ล็ ก ๆ จ ะ มี แ ก๊ ส
คาร์บอนไดออกไซด์เกิดขึ้น การ
เปลี่ ย นแปลงในข้ อ ใดไม่ ทำา ให้ เ พิ่ ม อั ต ราการเกิ ด ปฏิ กิ ริ ย าเคมี ใ น
ระยะเริ่มต้น
ใช้สารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 1 mol/dm ปริมาตร
3
1.
ของ 100 cm
3

ใช้สารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 2 mol/dm ปริมาตร


3
2.
ของ 25 cm
3

ใช้สารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 2 mol/dm ปริมาตร


3
3.
ของ 50 cm
3

4. บดหินปูนให้เป็ นผงละเอียดก่อนทำาปฏิกิรย
ิ าเคมี
4. คำาตอบที่ถูกต้องที่สุดสำาหรับการอธิบายว่า เมื่อเพิ่มอุณหภูมิของ
ระบบสูงขึ้นเล็กน้ อยอัตรา
การเกิดปฏิกิริยาเคมีจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว คือข้อใด

1. จำานวนครัง้ ของการชนกันระหว่างอนุภาคเพิ่มขึ้น
57

2. พลังงานจลน์ เฉลี่ยของโมเลกุลเพิ่มขึ้น
3. สัดส่วนของโมเลกุลที่มีพลังงานมากกว่าหรือเท่ากับพลังงานก่
อกัมมันต์มากขึ้น
4. พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น
5. การกระจายพลั ง งานจลน์ ข องโมเลกุ ล ของแก๊ ส ที่ อุ ณ หภู มิ T1, T2
และ T3 (T3 > T2 > T1)
แสดงเป็ นกราฟได้ดังรูป เมื่อ Ea คือพลังงานก่อกัมมันต์ ข้อความ
ในข้อใดถูกต้อง

1. ่ ุณหภูมิ T1 ปฏิกิริยาเกิดเร็วที่สุด
ทีอ

2. ่ ุณหภูมิ T2 ปฏิกิริยาเกิดเร็วกว่าที่อุณหภูมิ T1 และ T3


ทีอ

3. ่ ุณหภูมิ T3 ปฏิกิริยาเกิดเร็วกว่าที่อุณหภูมิ T1 และ T2


ทีอ
4. ่ ุณหภูมิ T1 มีจำานวนโมเลกุลที่มีพลังงานจลน์ สูงกว่าพลังงา
ทีอ
นก่อกัมมันต์มากกว่าที่
58

อุณหภูมิ T2
6. โดยทั ่วไปอั ตราการเกิ ด ปฏิ กิริย าเคมี เพิ่ มขึ้ น ประมาณ 2 เท่า เมื่ อ
เพิ่มอุณหภูมิ 10 องศา
เซลเซียส ในการทดลองหนึ่ ง สารตัว อย่า งของโพแทสเซีย มคลอ
เรตสลายตัว 90 เปอร์เซ็นต์
โดยมวล ในเวลา 20 นาที ถ้าเพิ่มอุณหภูมิข้ ึน 20 องศาเซลเซียส
สารตัวอย่างจะใช้เวลาในการ
กี่นาที
1. 2.5 นาที 2. 5 นาที
3. 10 นาที 4. 15 นาที
7. ศึกษาการทดลองการเกิดปฏิกิริยาสลายตัวของสาร Y ที่มีสีขาวไป
เป็ นสาร Z ซึ่งมีสีเหลือง ดังนี้

ข้
การทดลอง ผลที่สังเกตได้

ก. ตัง้ ผลึก Y ไว้ในที่มีแสง
ข. ตัง้ ผลึก Y ในที่มืด เกิดสีเหลืองที่ผิว ภายใน
ค. ตัง้ สารละลาย Y ไว้ในที่มืด 5 นาที
ง. ตัง้ สารละลาย Y ไว้ในที่มืด เกิดเป็ นสีเขียว
จ. อุณหภูมิ 60°C เกิดเป็ นสีเขียว
ตัง้ สารละลาย Y ไว้ในที่สว่าง เกิดเป็ นสีเขียว
เกิดเป็ นสีเหลืองอมเขียว
ภายใน 5 นาที แล้ว
ค่อยๆ เปลี่ยนเป็ นสี
59

เหลือง

ข้อใดไม่สามารถสรุปได้จากการทดลองข้างต้น

1. สาร Y ไม่เหมาะที่จะใช้ทำาสีทาบ้าน
2. อัตราการสลายตัวของสาร Y ไม่ข้ ึนกับอุณหภูมิ

3. อัตราการสลายตัวของสาร Y ขึ้นกับความเข้มข้น

4. การสลายตัวของสาร Y เกิดขึ้นได้ทุกสภาพเมื่อมีแสง
คำาชี้แจง จงใช้ข้อมูลตอบคำาถามข้อ 8-9
ิ าที่แตกต่างกัน 4 ปฏิกิริยาทีอ
ปฏิกิรย ่ ุณหภูมิเดียวกัน จะมีการกระ
จายพลังงานจลน์ ที่เหมือนกัน ยกเว้นค่าพลังงาน E ดังแสดงในรูป ก-ง
ตามลำาดับ
60

8. ภายใต้เงื่อนไขเดียวกันปฏิกิริยาใดเกิดขึ้นเร็วที่สุด

1. ปฏิกิริยาที่ 1 2. ปฏิกิริยาที่ 2
3. ปฏิกิริยาที่ 3 4. ปฏิกิริยาที่ 4
9. ถ้าเติมตัวหน่ วงปฏิกิริยาลงในปฏิกิริยาที่ 1 จะมีผลอย่างไร
1. เส้นโค้งการกระจายพลังงานจลน์ จะเลื่อนไปทางซ้าย
2. เส้นโค้งการกระจายพลังงานจลน์ จะเลื่อนไปทางขวา

3. พลังงาน E จะเพิ่มขึ้น ดังนั น


้ จำานวนโมเลกุลที่มีพลังงาน
เท่ากับหรือมากกว่าพลังงาน
ก่อกัมมันต์ลดลง

4. พลังงาน E จะลดลง ดังนั น


้ จำานวนโมเลกุลที่มีพลังงานเท่ากับ
หรือมากกว่าพลังงาน
61

ก่อกัมมันต์เพิ่มขึ้น
10. ปฏิกิรย
ิ า H2O2(aq) H2O(l) + O2(g) เมื่อเติม
สารละลาย KI ในปฏิกิริยาเกิดแก๊ส O2
ได้เร็วขึ้น เนื่ องมาจากข้อใด
1. สารละลาย KI ลดพลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยา
2. สารละลาย KI เพิ่มพลังงานให้กับสารตัง้ ต้น
3. สารละลาย KI ทำาให้การชนกันของโมเลกุลของสารตัง้ ต้นเกิด
ได้มากขึ้น
4. สารละลาย KI ช่วยเพิ่มพลังงานให้กับโมเลกุล
62

หน่วยที่ 4
เรื่อง การอธิบายผลของปั จจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิด
ปฏิกิรย
ิ าเคมี
***************************************************
1. การอธิบายผลของความเข้มข้นต่ออัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าเคมี
โดยทั ่ ว ไปเมื่ อความเข้ ม ข้ น ของสารตั้ งต้ น เพิ่ ม ขึ้ น อั ต ราการเกิ ด
ปฏิ กิ ร ย
ิ าจะเพิ่ ม ขึ้ น เมื่ อ ความเข้ มข้ น ของสารตั้ ง ต้ น ลดลง อั ตราการเกิ ด
ปฏิกิรย
ิ าจะลดลงด้วย สามารถอธิบายโดยใช้ทฤษฎีการชนกันของโมเลกุล
การเพิ่ ม หรือ ลดความเข้ ม ข้ น ของสารตั้ งต้ น ก็ คื อ การเพิ่ ม หรือ ลด
จ้านวนอนุ ภาคของสารตั้งต้นในระบบนั ่นเอง ถ้าเพิ่มความเข้มข้น จ้านวน
อนุ ภาคย่อมมากขึ้น โอกาสที่อนุ ภาคจะชนกันย่อมมากขึ้นด้วย นอกจากนี้
เมื่อจ้านวนอนุ ภาคเพิ่มขึ้น อนุ ภาคส่วนที่มีพลังงานส่งจะมากขึ้นด้วย เมื่อ
อนุ ภาคที่มีพลังงานส่งๆ เหล่านี้ มาชนกัน ย่อมท้าให้อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า
เพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสารตั้งต้นบางครั้ง
อาจจะไม่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าก็ได้
การอธิบายเหตุผลที่ว่าท้า ไมอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าบางครั้งขึ้นอย่่กับ
ความเข้ ม ข้ น ของสารตั้ ง ต้ น บางตั ว โดยใช้ ท ฤษฎี ก ารชนกั น ของโมเลกุ ล
63

ต้ อ งอาศั ย รายละเอี ย ดของการเกิ ด ปฏิ กิร ย


ิ า เรีย กว่ า กลไกของปฏิ กิร ย
ิ า
(mechanism) กล่าวคือ การเกิดปฏิกิรย
ิ าเคมีน้ ั น อาจจะไม่ได้เกิดขึ้นเพียง
ขั้นตอนเดียว แต่มีข้ ันย่อยหลายๆ ขั้นมารวมกัน และแต่ละขั้นย่อยก็มักจะ
มี อั ต ราการเกิ ด ปฏิ กิ ร ย
ิ าไม่ เ ท่ า กั น แต่ จ ะมี ข้ ั น ย่ อ ยหนึ่ ง ที่ เ กิ ด ปฏิ กิ ร ย
ิ าช้ า
ที่ สุ ด ซึ่ ง จะใช้ ข้ ั นนี้ เป็ นตั ว ตั ด สิ น อั ต ราการการเกิ ด ปฏิ กิ ร ิ ย า เรีย กว่ า
ขั้ น determining step ถ้ า ในขั้ นย่ อ ยที่ เ กิ ด ช้ า ที่ สุ ด มี อ นุ ภ าคใดบ้ า ง กี่ ตั ว
อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าจะขึ้นอย่่กับชนิ ดและจ้านวนของอนุ ภาคนั้ น
เช่น 2A + B → C + D อาจจะมีกลไกของการเกิดปฏิกิรย
ิ า
ได้หลายแบบดังนี้
(I) ถ้าปฏิกิรย
ิ าเกิดขึ้นเพียงขั้นตอนเดียว คือ A 2 โมเลกุล และ B
1 โมเลกุล เข้ามาชนกันแล้วเกิดปฏิกิรย
ิ า แสดงว่าอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าจะ
ต้ อ งขึ้ นอย่่ กั บ A 2 โมเลกุ ล และ B 1 โมเลกุ ล กฎอั ต ราเร็ ว จะเป็ น
R = k[A] [B]
2

(II) ถ้าปฏิกิรย
ิ าเกิดขึ้น 2 ขั้นตอน
A + B → X เกิดช้า
X + A → C + D เกิดเร็ว
ปฏิกิรย
ิ ารวม; 2A + B→ C + D
ในกรณี น้ ี อัตราเร็วจะเป็ น R = k [A] [B] ทั้งนี้ เพราะขั้นที่ใช้ตัดสิน
อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าคือ ขั้นที่เกิดช้าที่สุด และในขั้นที่เกิดช้ามี A และ
B อย่างละ 1 โมเลกุล จึงเขียนกฎอัตราเร็วได้เป็ น
R = k [A] [B]
(III) ถ้าปฏิกิรย
ิ าเกิดขึ้น 2 ขั้นตอน
A + A → A2 (เกิดช้า)
A2 + B → C + D (เกิดเร็ว)
64

ปฏิกิรย
ิ ารวม 2A + B → C + D
ในกรณี น้ ี อัตราเร็วจะเป็ น R = k [A] ทั้งนี้ เพราะตอนที่เกิดช้า
2

ที่ สุ ด ประกอบด้ ว ยอนุ ภ าคของสารตั้ ง ต้ น A 2 โมเลกุ ล อั ต ราการเกิ ด


ปฏิกิรย
ิ าจึงขึ้นอย่่กับ A ทั้ง 2 โมเลกุล
กลไกของปฏิ กิ ร ิย าจะเป็ นแบบใด ขึ้ นอย่่ กั บ ผลการทดลองซึ่ ง จะ
สอดคล้องกับกฎอัตราเร็ว
ในกรณี ท่ีมีข้ ันตอนย่อยเกิดขึ้นหลายขั้น แต่ละขั้นย่อยจะมีพลังงานก่
อกั มมั น ต์ ห รือ พลั ง งานกระตุ้ น ประจ้า ขั้ น ขั้ น ย่ อ ยที่ เ กิ ดช้ าจะมี พ ลั ง งานก่
อกัมมันต์ส่งที่สุด ซึ่งถือว่าเป็ นพลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิรย
ิ า
ดั ง เช่ น กรณี 2A + B → C + D เมื่ อมี ก ลไกของการเกิ ด
ปฏิกิรย
ิ าต่างๆ กันจะมีลักษณะกราฟแสดงการด้าเนิ นไปของปฏิกิรย
ิ าดังนี้
(I) เกิ ด ขึ้ นเพี ย งขั้ นตอนเดี ย ว จะมี พ ลั ง งานก่ อ กั ม มั น ต์ ห รื อ
พลังงานกระตุ้นเพียงค่าเดียวและเป็ นพลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิรย
ิ า

(II) เ กิ ด ขึ้ น 2 ขั้ น ต อ น จ ะ มี พ ลั ง ง า น ง า น ก่ อ กั ม มั น ต์ 2 ค่ า


เนื่ องจากขันแรกเกิดช้า จึงมีพลังงานก่อกัมมันต์ส่งกว่าขั้นที่ 2
65

เนื่ องจากขั้นย่อยที่เกิดช้า เป็ นขั้นตัดสินอัตราการเกิดปฏิกิรย


ิ า ดัง
นั้ น a จึงเป็ นพลังงาน ก่อกัมมันต์ของปฏิกิรย
ิ า
(III) เกิด 2 ขั้นตอนเช่นเดียวกัน ลักษณะกราฟจึงคล้ายกัน

ขั้ นตอนแรกเกิ ด ช้ า ดั ง นั้ น x จึ ง เป็ นพลั ง งานก่ อ กั ม มั น ต์ ข อง


ปฏิกิรย
ิ า
ในกรณี ท่ีมีข้ ันตอนย่อยเกิดขึ้นมากกว่ า 2 ขั้น ก็จะมีพลังงานก่อกัม
มั นต์ มากกว่ า 2 ค่า จ้า นวนขั้น ย่อ ยจะเท่ ากั บจ้า นวนพลั งงานก่อ กั มมั น ต์
ดังเช่น ปฏิกิรย
ิ า
A → B เกิดช้าที่สุด
B → C เกิดเร็วที่สุด
C → D เกิดเร็วปานกลาง
กฎอั ต ราเร็ ว จะเป็ นดั ง นี้ R = k[A] ทั้ ง นี้ เพราะขั้ น A → B
เกิดช้าที่สุด และในขั้นที่ช้าที่สุดนี้ มี A เพียงโมเลกุลเดียว อัตราการเกิด
ปฏิกิรย
ิ าจึงขึ้นกับ A เพียง 1 โมเลกุล เขียนกราฟได้ดังนี้

พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิรย
ิ าคือ a ซึ่งเป็ นพลังงานก่อกัมมั นต์
ของขั้นย่อยขั้นแรกที่เกิดช้าที่สุดนั ่นเอง
66

โดยสรุป
1. กลไกของปฏิกิรย
ิ า หมายถึง ขั้นตอนต่างๆ ของการเกิดปฏิกิรย
ิ า
ปฏิกิรย
ิ าเคมีหนึ่ งๆ อาจจะมีข้ ันตอนของการเกิดปฏิกิรย
ิ าเพียง 1 ชั้นตอน
แต่ปฏิกิรย
ิ าบางชนิ ดอาจจะเกิดขั้นหลายขั้นตอน แต่ละขั้นตอนเรียกว่า ขั้น
ย่อยของปฏิกิรย
ิ า
2. ทุกๆ ขั้นย่อย จะมีพลังงานก่อกัมมันต์ หรือพลังานกระตุ้นประจ้า
ขั้น และมีค่าต่างๆ กัน ขั้นตอนย่อยที่ส้าคัญที่สุดคือ ขั้นตอนที่เกิดช้าที่สุด
ซึ่ ง จะมี พ ลั ง งานก่ อ กั ม มั น ต์ ม ากที่ สุ ด เรีย กว่ า ขั้ นตั ด สิ น อั ต ราการเกิ ด
ปฏิกิรย
ิ า กฎอัตราเร็วจะได้มาจากขั้นย่อยที่เกิดช้าที่สุดนี้
3. โดยทั ่ว ๆ ไปเมื่ อทราบกลไกของปฏิ กิ ร ิ ย า จะสามารถหากฎ
อั ตราเร็ ว ได้ และในทางตรงกั น ข้ าม ถ้ าทราบกฎอั ต ราเร็ ว ก็ ส ามารถเขี ย น
กลไกของปฏิกิรย
ิ าได้เช่นเดียวกัน
ตัวอย่างของกลไกของปฏิกิรย
ิ า
1. ปฏิกิรย
ิ า H2 (g) + Cl2 (g) → 2HCl (g) เขียนกลไกของ
ปฏิกิรย
ิ าได้ดังนี้
Cl2 (g) + แสง  2Cl (g)
………………….(a)
Cl(g) + H2 (g) → HCl (g) + H (g)
………………….(b)
H (g) + Cl2 (g) → HCl (g) + Cl (g)
………………….(c)
Cl (g) + Cl (g) → Cl2 (g)
………………….(d)
67

ปฏิ กิ ร ิ ย านี้ มี 4 ขั้ นตอน ตั้ งแต่ (a) - (d) จั ด ว่ า เป็ นกลไกของ
ปฏิกิรย
ิ าล่กโซ่ โดยเริม
่ ต้อนจากขั้น (a) จนถึงขั้น (d) แล้วจะวนกลับไป
ขั้น (a) ใหม่ต่อเนื่ องกันไป

ร่ปที่ 1 กลไกของการเกิดปฏิกิรย
ิ า H2 + Cl แสง
→ 2HCl
2. ปฏิกิรย
ิ า 2NO + O2 → 2NO2
มีกลไกของปฏิกิรย
ิ าเป็ น
NO + O2 OONO เกิดเร็ว
NO + OONO → 2NO2 เกิดช้า
มีกฎอัตราเป็ น R = k [NO] [O2]
2

3. ปฏิกิรย
ิ า NO2 + CO → CO2 + NO
ที่อุณหภ่มิต้่ากว่า 500 K มีกลไกของปฏิกิรย
ิ าดังนี้
NO2 + NO2 → NO3 + NO เกิดช้า
NO3 + CO → NO2 + CO2 เกิดเร็ว
มีกฎอัตราเป็ น R = k [NO2]
2

2. การอธิบายผลของอุณหภ้มิต่ออัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าเคมี
ดังที่ได้กล่าวมาแล้วว่าโดยทัว่ ๆ ไป อุณหภ่มิจะมีผลโดยตรงต่ออัตรา
การเกิ ด ปฏิ กิ ร ิย า ถ้ า อุ ณ หภ่ มิ ต้่ า ปฏิ กิ ร ิย าจะเกิ ด ช้ า และถ้ า อุ ณ หภ่ มิ ส่ ง
ปฏิกิรย
ิ าจะเกิดเร็ว
68

พิจารณาตัวอย่างต่อไปนี้
1. ปฏิ กิ ร ิย าระหว่ า งลวดแมกนี เ ซี ย ม (หรือ ฝอยเหล็ ก ) กั บ O2 ใน
อากาศ ซึ่งจะได้เป็ นแมกนี เซียมออกไซด์ ตามสมการ 2Mg + O2 →
2MgO + พลังงาน
ที่ อุ ณ หภ่ มิ ห้ อ ง ปฏิ กิ ร ิย าจะเกิ ด ช้ า มาก แต่ ถ้ า เพิ่ ม อุ ณ หภ่ มิ ใ ห้ กั บ
ปฏิกิรย
ิ า โดยการน้า ลวด Mg เผาโดยตรงในเปลวไฟ จะพบว่ า ปฏิ กิร ย
ิ า
เกิ ด ขึ้ นทั น ที ไ ด้ เ ป็ น MgO และจะเกิ ด ต่ อ เนื่ องกั น ไปถึ ง แม้ ว่ า จะน้า ลวด
Mg ออกจากเปลวไฟแล้วก็ตาม Mg จะติดไฟจนหมด การที่เป็ นเช่นนี้
เนื่ องจากเมื่อ Mg รวมกับ O2 จะคายความร้อนออกมาจ้านวนหนึ่ ง ความ
ร้อนที่คายออกมานี้ จะช่วยให้ปฏิกิรย
ิ าด้าเนิ นต่อไปได้เอง
2. ปฏิกิรย
ิ าระหว่าง H2 กับ O2 ได้เป็ น H2O ตามสมการ 2H2
+ O2 → 2H2O
ปฏิ กิ ร ย
ิ านี้ มี พ ลั ง งานก่ อ กั มมั น ต์ หรือ พลั ง งานกระตุ้ น ค่ อ นข้ า งส่ ง
ท้า ให้ ป ฏิ กิ ร ิย าเกิ ด ยาก ที่ อุ ณ หภ่ มิ ห้ อ งจึ ง ไม่ เ กิ ด ปฏิ กิ ร ิย า แต่ ถ้ า เพิ่ ม
อุ ณหภ่ มิใ ห้แก่ร ะบบ โดยการจุ ดไฟเผาก๊ าซผสม H2 + O2 จะพบว่ าเกิ ด
ปฏิกิรย
ิ าได้ H2O ทันที
จากตั ว อย่ า งของทั้ งสองปฏิ กิ ร ิย า แสดงให้ เ ห็ น ว่ า อุ ณ หภ่ มิ มี ผ ล
โดยตรงต่ออัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า การเพิ่มอุณหภ่มิท้าให้ปฏิกิรย
ิ าเกิดได้เร็ว
ขึ้น ในแง่ของทฤษฎีจลน์และทฤษฎีการชนกันของโมเลกุลสามารถอธิบาย
ผลของอุณหภ่มิได้ดังนี้
ตามทฤษฎี จ ลน์ เ มื่ ออุ ณ หภ่ มิ เ พิ่ ม ขึ้ น จะท้า ให้ โ มเลกุ ล ของก๊ า ซ
เคลื่ อนที่ ด้ ว ยความเร็ ว ส่ ง ขึ้ น ซึ่ ง เป็ นผลให้ มี พ ลั ง งานในตั ว ส่ ง ขึ้ น การที่
โมเลกุลเคลื่อนที่เร็วขึ้น จะท้าให้มีโอกาสชนกันมากขึ้น ดังนั้ นอัตราการเกิด
ปฏิกิรย
ิ าจึงย่อมจะมีโอกาสส่งขึ้นด้วย โดยทัว่ ๆ ไปเมื่ออุณหภ่มิของระบบ
69

เพิ่มขึ้นประมาณ 10 C อัตราการชนกันของโมเลกุลจะเพิ่มขึ้นประมาณ
0

เท่า แต่อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าจะเพิ่มขึ้นประมาณ 2 -3 เท่า แสดงว่า
1
100

อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าที่เพิ่มขึ้นไม่ใช่เป็ นเพราะโมเลกุลมีโอกาสชชนกันมาก
ขึ้ นเท่ า นั้ น ต้ อ งค้า นึ งถึ ง พลั ง งานของโมเลกุ ล ที่ เ ข้ า มาชนกั น ด้ ว ย คื อ
โมเลกุ ล ที่ เ ข้ า มาชนกั น จะต้ อ งมี พ ลั ง งานในตั ว ส่ ง พอที่ จ ะเกิ ด ปฏิ กิ ร ย
ิ าได้
และต้องชนกันในทิศทางที่เหมาะสมด้วย
เนื่ องจากโมเลกุ ล แต่ ล ะตั ว เคลื่ อนที่ ด้ ว ยความเร็ ว ต่ า งๆ กั น บาง
โมเลกุลเคลื่อนที่เร็วจะมีพลังงานส่ง บางโมเลกุลเคลื่อนที่ช้าจะมีพลังงาน
ต้่า ดังนั้ นโมเลกุลใหญ่จึงมีพลังงานไม่เท่ากัน (แต่เท่ากับพลังงานเฉลี่ยตาม
ทฤษฎี จ ลน์ ) เมื่ อน้า มาเขี ย นกราฟเพื่ อแสดงการกระจายพลั ง งานของ
โมเลกุลต่างๆ จะได้ดังนี้

ร่ปที่ 2 กราฟแสดงการกระจายพลังงานจลน์ของโมเลกุลของก๊าซ
Ea คือ พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิรย
ิ า
E’ คือ พลังงานจลน์เฉลี่ย
จะเห็ นว่ าโมเลกุ ลส่ วนใหญ่ จะมี พลั ง งานเท่ ากั บ พลัง งานจลน์ เ ฉลี่ ย
ซึ่งมีค่าน้อยกว่าพลังงาน ก่อกัมมันต์ โมเลกุลส่วนน้อยที่มีพลังงานค่อน
ข้างต้่า และโมเลกุลจ้า นวนน้อยเช่นเดียวกัน ที่มีพลังงานในตัวส่งๆ โดย
เฉพาะที่ มี พ ลั ง งานเท่ า กั บ หรือ มากกว่ า พลั ง งานก่ อ กั ม มั น ต์ (คื อ ส่ ว นที่
แรเงา) โมเลกุลที่มีพลังงานส่งๆ เช่น พวกที่ มีพ ลังงานมากกว่าพลั งงาน
กระตุ้น เมื่อชนกันในทิศทางที่เหมาะสมจะท้า ให้เกิดปฏิกิรย
ิ าได้ โมเลกุล
70

อื่นๆ ที่มีพลังงานต้่าเมื่อชนกันจะไม่ท้าให้เกิดปฏิกิรย
ิ า ดังนั้ นอัตราการชน
กันของโมเลกุลจึงมากกว่าอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า
เมื่ออุณหภ่มิเพิ่มขึ้น โมเลกุลจะมีพลังงานในตัวส่งขึ้น ลักษณะของ
กราฟที่ แสดง การกระจายพลัง งานจลน์ ของโมเลกุ ล จะเบี่ ย งเบนมาทาง
ขวา ดังในร่ป

ร่ปที่ 3 การกระจายพลังงานจลน์ของโมเลกุลของก๊าซที่อุณหภ่มิต่างกัน
แทนโมเลกุ ล ที่ มี พ ลั ง งานเท่ ก ากั บ หรือ
มากกว่า Ea ที่อุณหภ่มิต้่า (T1)
แทนโมเลกุลที่มีพลังงานเท่ากับหรือมากกว่า
Ea ที่อุณหภ่มิสง่ (T2)
จากกราฟจะเห็ น ได้ ว่ า พื้ นที่ ใ ต้ ก ราฟทางด้ า นขวาของ Ea (ส่ ว นที่
แรเงาไว้) ณ อุณหภ่มิ T1 มีค่าน้อยกว่าพื้ นที่ของอุณหภ่มิ T2 แสดงว่าที่
อุณหภ่มิ T1 จ้านวนโมเลกุลที่มีพลังงานส่งๆ มีน้อยกว่าที่อุณหภ่มิ T2 โดย
ทั ่ว ๆ ไปโมเลกุ ล ที่ มี พ ลั ง งานส่ ง ๆ (มากกว่ าหรือ เท่ ากั บ พลั ง งานกระตุ้ น )
เมื่อชนกันจะท้าให้เกิดปฏิกิรย
ิ าได้ดังนั้ นที่อุณหภ่มิ T1 จึงเกิดปฏิกิรย
ิ าช้า
กว่าที่อุณหภ่มิ T2
ดังนั้ นการเพิ่มอุณหภ่มิท้า ให้ปฏิกิรย
ิ าเกิดเร็วขึ้น ก็เพราะว่าการเพิ่ม
อุณหภ่มิเป็ นการเพิ่มจ้านวนโมเลกุลที่มีพลังงานส่งๆ ให้มากขึ้น โมเลกุลที่
เพิ่มขึ้นเหล่านี้ เมื่อชนกันจะท้าให้ปฏิกิรย
ิ าเกิดเร็วขึ้น
71

อย่างไรก็ตาม อุณหภ่มิไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับพลังงานก่อกัมมันต์
ไม่ว่าจะมีอุณหภ่มิส่งหรือต้่าพลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิรย
ิ าหนึ่ งๆ จะมีค่า
คงที่ (นอกจากกรณี ท่ีการเพิ่มอุณหภ่มิท้า ให้กลไกของปฏิกิรย
ิ าเปลี่ยนไป
ซึ่งอาจจะเป็ นผลท้าให้พลังงานก่อกัมมันต์เปลี่ยนแปลงไปด้วย) จะเห็นได้
จากกราฟแสดงการกระจายพลัง งานจลน์ ของโมเลกุ ลของก๊ าซที่ อุ ณ หภ่ มิ
ต่างกัน ค่า Ea จะเท่ากัน แต่จ้านวนโมเลกุลที่มีพลังงานส่งๆ จะไม่เท่ากัน
ถึ ง แม้ ว่ า อุ ณ หภ่ มิ จ ะไม่ มี ผ ลต่ อ ค่ า พลั ง งานกระตุ้ น แต่ ก็ ส ามารถ
หาความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภ่มิ และ พลังงานกระตุ้นได้
Ea
log k = −
2.303 RT
+C
E
หรือ ln k = − RTa + C'
Ea = พลังงานก่อกัมมันต์หรือพลังงานกระตุ้น
k = ค่าคงที่อัตราเร็วของปฏิกิรย
ิ า (ขึ้นอย่่กับอุณหภ่มิ)
R = ค่าคงที่ของก๊าซ, T = อุณหภ่มิเคลวิน, C,
C’ = ค่าคงที่
ลักษณะของความสัมพันธ์ดังกล่าว เป็ นไปตามสมการเส้นตรง ( y
=ax + b) ดังนั้ นเมื่อเขียนกราฟระหว่าง log k กับ 1/T จะได้กราฟเส้น
Ea
ต ร ง ที่ มี ค ว า ม ชั น (slope) เ ท่ า กั บ −
2.303 R
แ ล ะ มี จุ ด ตั ด (intercept)
เท่ากับ C

ร่ปที่ 4 กราฟระหว่าง log k กับ 1/T


จากค่าของความชัน จะสามารถค้านวณค่า Ea ของปฏิกิรย
ิ าได้
72

นอกจากจะหาค่า Ea จากกราฟดังกล่าวแล้ว อาจจะหาค่า Ea ของ


ปฏิกิรย
ิ าใดๆ ได้โดยการเปรียบเทียบค่า log k ของ 2 อุณหภ่มิ แล้วใช้
ความสัมพันธ์ดังนี้
log k 2 Ea 1 1
log k 1 = −
2.303 R
( T2 - T1 )
log k 2 Ea T2 − T1
หรือ log k 1 = −
2.303 R
( T1T2 )

สรุปผลของอุณหภ้มิต่ออัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า
1. การเพิ่มอุณหภ่มิจะท้า ให้ปฏิกิรย
ิ าเกิดเร็วขึ้น เพราะท้า ให้จ้า นวน
โมเลกุลที่มีพลังงานมากกว่าหรือ เท่ากับพลังงานก่อกัมมันต์มีจ้านวนมาก
ขึ้น ซึ่งเมื่อชนกันจึงท้าให้ปฏิกิรย
ิ าเกิดเร็วขึ้น
2. พลั ง งานก่ อ กั ม มั น ต์ ข องปฏิ กิ ร ิ ย าหนึ่ งๆ มี ค่ า คงที่ ไม่ ข้ ึ นกั บ
อุ ณ หภ่ มิ ไม่ ว่ า อุ ณ หภ่ มิ จ ะเพิ่ ม หรือ ลด พลั ง งานก่ อ กั ม มั น ต์ จ ะเท่ า เดิ ม
(พลังงานก่อกัมมันต์จะลดลงเมื่อมีการเติมตัวเร่งปฏิกิรย
ิ าลงไป)
3. จ้า นวนโมเลกุ ล ทั้ ง หมดที่ อุ ณ หภ่ มิ ต่ า งๆ จะเท่ า กั น คื อ พื้ นที่ ใ ต้
กราฟที่แสดงการกระจายพลังงานจลน์ของโมเลกุลของก๊าซที่อุณหภ่มิต่าง
กันจะต้องเท่ากัน
4. อุณหภ่มิสามารถท้าให้กลไกของปฏิกิรย
ิ าเปลี่ยนแปลงไปได้

3. การอธิบายผลของตัวเร่งปฏิกิรย
ิ าต่ออัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าเคมี
การที่ จะท้า ให้ ปฏิ กิร ย
ิ าเคมี ห นึ่ ง ๆ เกิ ดได้ เ ร็ ว ขึ้ น อาจจะท้า ได้ ห ลาย
อย่าง เช่น เพิ่มความเข้มข้น เพิ่มอุณหภ่มิ หรือการเพิ่มพื้ นที่ผิว นอกจาก
นี้ ปฏิ กิ ร ิย าบางชนิ ดยั ง สามารถท้า ให้ เ กิ ด เร็ ว ขึ้ นได้ โดยการเติ ม ตั ว เร่ ง
ปฏิกิรย
ิ า ที่เหมาะสมลงไป
เช่นปฏิกิรย
ิ าระหว่าง KMnO4 (aq) กับ H2C2O4 (aq) ในสารละลาย
กรด H2SO4 นอกจากจะท้าให้เกิดปฏิกิรย
ิ าเร็วขึ้นโดยการเพิ่มอุณหภ่มิแล้ว
73

ยั ง อาจจะท้า ให้ ป ฏิ กิ ร ย
ิ าเกิ ด เร็ ว ขึ้ นโดยการใส่ ตั ว เร่ ง ปฏิ กิ ร ย
ิ าลงไป ทั้ ง นี้
ท้า ได้ โ ดยไม่ ต้ อ งเพิ่ ม อุ ณ หภ่ มิ กล่ า วคื อ ที่ อุ ณ หภ่ มิ ห้ อ ง KMnO4 และ
H2C2O4 จะท้า ปฏิ กิ ร ิย ากั น ช้ า มาก แต่ ถ้ า เติ ม MnCl2 ลงไปเล็ ก น้ อ ย
Mn จะท้า หน้ าที่ เป็ นตั วเร่ง ปฏิ กิร ย
ิ า ท้า ให้ปฏิกิรย
ิ าเกิดได้ เร็ วขึ้ น การที่
2+

เป็ นเช่นนี้ เพราะตัวเร่งปฏิกิรย


ิ าช่วยท้า ให้พลังงานก่อกัมมันต์ลดลง โดยที่
ตัวเร่งปฏิกิรย
ิ าอาจจะมีส่วนร่วมในการเกิดปฏิกิรย
ิ าโดยตรง หรือโดยอ้อม
ก็ได้
1. ตัวเร่งปฏิกิรย
ิ ามีส่วนร่วมในการเกิดปฏิกิรย
ิ าโดยตรง โดยเข้าไปท้า
ปฏิ กิ ร ย
ิ ากั บ สารตั้ ง ต้ น บางชนิ ดท้า ให้ ป ฏิ กิร ย
ิ าด้า เนิ น ไปตามเส้ น ทางใหม่
กลไกของปฏิกิรย
ิ าเปลี่ยนไป โดยเกิดเป็ นขั้นย่อยหลายๆ ขั้น
2. ตัวเร่งปฏิกิรย
ิ ามีส่วนร่วมในการเกิดปฏิกิรย
ิ าทางอ้อม เช่นเข้าไป
รวมกับสารตั้งต้นบางชนิ ด ท้าให้เกิดการจัดโครงสร้างของสารใหม่ ที่อย่่ใน
สภาพเหมาะสม พร้อมที่จะเกิดปฏิกิรย
ิ า หรือช่วยในการจัดทิศทางของการ
ชนของโมเลกุลให้เหมาะสม
ทั้ ง 2 กรณี จะท้า ให้ พ ลั ง งานก่ อ กั ม มั น ต์ ห รือ พลั ง งานกระตุ้ น ของ
ระบบลดลง
ลักษณะของการด้า เนิ น ไปของปฏิ กิร ย
ิ าเมื่ อมี ตัวเร่ง ปฏิ กิร ย
ิ าเปรียบ
เทียบกับเมื่อไม่มีตัวเร่งปฏิกิรย
ิ า อาจจะแสดงได้ด้วยกราฟดังนี้
ก. ปฏิ กิ ร ิย าการสลายตั ว ของ A เป็ น C โดยมี X เป็ นตั ว เร่ ง
ปฏิกิรย
ิ า
A X
 → C
ถ้ า X เพี ย งแต่ เ ข้ า ไปรวมกั บ A เพื่ อจั ดโครงสร้ า งของ A ให้
เหมาะสมแก่การเกิดปฏิกิรย
ิ า โดยไม่ได้ท้าให้เกิดเส้นทางใหม่ ปฏิกิรย
ิ าจะ
เกิดเพียงขั้นตอนเดียว เขียนเป็ นสมการได้ดังนี้
74

ร่ปที่ 5 เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของพลังงานระหว่างมีและไม่มีตัวเร่ง
ปฏิกิรย
ิ า
E1 = พลังงานก่อ กัมมั น ต์ข องปฏิ กิร ย
ิ าเมื่ อไม่ มีตัว เร่ ง
ปฏิกิรย
ิ า
E2 = พลั ง งานก่ อ กั ม มั น ต์ ข องปฏิ กิ ร ิย าเมื่ อมี ตั ว เร่ ง
ปฏิกิรย
ิ า
∆E = พลังงานของปฏิกิรย
ิ า
จะเห็นได้ว่า
1. พลังงานก่อกัมมันต์ ของปฏิกิรย
ิ าที่มีตัวเร่งปฏิกิรย
ิ า จะต้่ากว่าที่
ไม่มีตัวเร่งปฏิกิรย
ิ า จึงท้าให้ปฏิกิรย
ิ าเกิดได้เร็วขึ้น
2. พลังงานของปฏิกิรย
ิ า ( ∆ E) มีค่าคงที่เท่าเดิม ไม่ว่าจะใช้ตัวเร่ง
ปฏิกิรย
ิ าหรือไม่ก็ตาม ทั้งนี้ เพราะตัวเร่งปฏิกิรย
ิ าเพียงท้าให้พลังงานก่อกัม
มั น ต์ ล ดลงเท่ า นั้ น ไม่ ไ ด้ ท้า ให้ พ ลั ง งานของสารตั้ งต้ น และผลิ ต ภั ณ ฑ์
เปลี่ยนแปลง
ข. ปฏิกิรย
ิ าสลายตัว ของ B ไปเป็ น X โดยมี M เป็ นตัวเร่ง
ปฏิกิรย
ิ า
B  M → X
M มีส่ วนร่วมในปฏิ กิร ย
ิ าโดยตรงท้า ให้ ปฏิ กิร ย
ิ าด้า เนิ น ไปตามเส้ น
ทางใหม่ มีหลายขั้นตอนย่อย แลแต่ละขั้นตอนมีพลังงานกระตุ้นต้่ากว่าเดิม
ตัวอย่างกลไกของปฏิกิรย
ิ า
75

B + M → BM เกิดช้า
BM → X + M เกิดเร็ว
ปฏิกิรย
ิ ารวม B + M → X + M
จะเห็นได้ว่า M เป็ นตัวเร่งปฏิกิรย
ิ า เริม
่ ต้นใช้เท่าใด เมื่อปฏิกิรย
ิ า
สิ้นสุดจะได้กลับคืนมาเท่านั้ น
เขียนสมการใหม่เป็ น B M
 → X
เปรียบเทียบกับกรณี ไม่ใสตัวเร่งปฏิกิรย
ิ า ซึ่งเกิดเพียงขั้นตอนเดียว
และมีพลังงานกระตุ้นส่ง เขียนกราฟได้ดังนี้

ร่ปที่ 6 การเปลี่ยนแปลงพลังงานเมื่อเติมตัวเร่งปฏิกิรย
ิ า
E1 = พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิรย
ิ า เมื่อไม่มีตัวเร่ง
ปฏิกิรย
ิ า
E2 = พลั ง งานก่ อ กั ม มั น ต์ ข องปฏิ กิ ร ิย า เมื่ อมี ตั ว เร่ ง
ปฏิกิรย
ิ าของขั้นแรก
E3 = พลั ง งานก่ อ กั ม มั น ต์ ข องปฏิ กิ ร ิย า เมื่ อมี ตั ว เร่ ง
ปฏิกิรย
ิ าของขั้นทีส
่ อง
จากกราฟจะเห็นได้ว่า E2 > E3 เนื่ องจากขั้นแรกของปฏิกิรย
ิ าที่มี
ตัวเร่งปฏิกิรย
ิ าเกิดช้ากว่าขั้นที่ 2 พลังงานก่อกัมมันต์จึงส่งกว่า
ในกรณี นี้ E2 คื อ พลั ง งานก่ อ กั ม มั น ต์ ข องปฏิ กิ ร ิย าเมื่ อมี ตั ว เร่ ง
ปฏิกิรย
ิ า
จะเห็นได้ว่าเมื่อมีตัวเร่งปฏิกิรย
ิ า พลังงานก่อกัมมันต์จะลดลงเสมอ
76

ในแง่ ข องการกระจายพลั ง งานจลน์ ข องโมเลกุ ล เมื่ อเติ ม ตั ว เร่ ง


ปฏิกิรย
ิ าลงไปจะได้ดังนี้

ร่ปที่ 7 การกระจายพลังงานของโมเลกุลเมื่อมีตัวเร่งปฏิกิรย
ิ า
Ea1 = พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิรย
ิ า เมื่อไม่มีตัวเร่ง
ปฏิกิรย
ิ า
Ea2 = พลั ง งานก่ อ กั ม มั น ต์ ข องปฏิ กิ ร ิย า เมื่ อมี ตั ว เร่ ง
ปฏิกิรย
ิ า
การที่พลังงานก่อกัมมันต์ลดลง ท้าให้ระบบมีจ้านวนโมเลกุลที่มีพลัง
งานส่งๆ มากขึ้น จึงชนกันแล้วเกิดปฏิกิรย
ิ าได้ง่ายขึ้น
ตั ว อย่ า งของ KMnO4 กั บ H2C2O4 โดยใช้ Mn เป็ นตั ว เร่ ง
2+

ปฏิ กิ ร ิย าเป็ นลั ก ษณะของตั ว เร่ ง ปฏิ กิ ร ิย าเนื้ อเดี ย ว หรือ กรณี Br กั บ
C2H5OH โดยใช้ H เป็ นตัวเร่งปฏิกิรย
ิ า ก็เป็ นตัวเร่งปฏิกิรย
ิ าเนื้ อเดียว
+

เช่นกัน
H + CH3CH2OH CH3CH2OH2 เกิดเร็ว
+ +

CH3CH2OH2 + Br → CH3CH2Br + OH + H เ กิ ด
+ - - +

ช้า
ปฏิกิรย
ิ ารวม CH3CH2OH + Br CH3CH2Br + OH
- H+
-
←  →

ในกรณี ท่ีใช้ตัวเร่งปฏิกิรย
ิ าเนื้ อผสม เช่น
H2 + C2H4  P t→ C2H6
77

ปฏิกิรย
ิ าจะเกิดที่ผิวของ Pt ซึ่งเป็ นตัวเร่งปฏิกิรย
ิ า โดย Pt จะรวม
กับ H2 ท้าให้พันธะในโมเลกุล H2 สลายตัวออก ได้เป็ นไฮโดรเจนอะตอม
เกาะอย่่ท่ีผิวของ Pt อะตอมของไฮโดรเจนจะว่องไวต่อการเกิ ดปฏิกิรย
ิ า
มาก จึงรวมตัวกับ C2H4 ต่อไป ไดเป็ น C2H6 พร้อมกับปล่อย Pt กลับ
คืนมา
2Pt + H2 → 2PtH
2PtH + C2H4 → 2Pt + C2H6
ปฏิกิรย
ิ ารวม ; 2Pt + H2 + C2H4 → 2Pt + C2H6
หรือ H2 + C2H4 Pt
 → C2H6
อีกตัวอย่างหนึ่ งของตัวเร่งปฏิกิรย
ิ าเนื้ อผสม ได้แก่ ปฏิกิรย
ิ าระหว่าง
H2 กับ O2 โดยมี Pt เป็ นตัวเร่งปฏิกิรย
ิ า
ลักษณะของการเกิดปฏิกิรย
ิ าจะเหมือนกับกรณี H2 กับ C2H4

ร่ปที่ 8 ปฏิกิรย
ิ า 2H2 + O2 → 2H2O เมื่อมี Pt เป็ นตัวเร่งปฏิกิรย
ิ า
ขั้นแรก (ก) ไฮโดรเจนโมเลกุลจะแตกตัวออกกลายเป็ นอะตอมเกาะ
ที่ผิวของ Pt
ขั้นที่สอง (ข) ออกซิเจนโมเลกุลจะเข้ามารับไฮโดรเจนอะตอมจาก
ผิวของ Pt กลายเป็ นไอน้้า
78

ขั้นที่สาม (ค) ท้าให้ผิวของ Pt พร้อมที่รบ


ั อะตอมไฮโดรเจนอีก เกิด
การเปลี่ยนแปลงต่อเนื่ องกันไป
H2 (g) + 2Pt (s) → 2PtH (s)
2PtH (s) + 1/2 O2 (g) → 2Pt (s) + H2O (s)
ปฏิกิรย
ิ ารวม ; H2 (g) + 1/2O2 (g) Pt
 → H2O (g)
ส้า หรับตัวเร่งปฏิกิรย
ิ าที่เป็ นเอนไซม์ก็เช่ นเดียวกัน โดยเอนไซม์จะ
รวมกับสารตั้งต้น รียกว่า substate แล้วจึงกลายเป็ นผลิตภัณฑ์
ในกระบวนการอุตสาหกรรมต่างๆ ส่วนมากใช้ตัวเร่ง ปฏิ กิร ย
ิ าท้า ให้
เกิดปฏิกิรย
ิ าเร็วขึ้น เช่น ใช้ Fe เป็ นตัวเร่งปฏิกิรย
ิ าในการเตรียม NH3

H
N2 + 3H2 2NH3
ใช้ SiO2 และ Al2O3 ในกระบวนการแตกสลายของไฮโดรคาร์บอน
ในการกลั ่ น น้้ ามั น เป็ นต้ น อย่ า งไรก็ ต ามการใช้ ตั ว เร่ ง ปฏิ กิ ร ิ ย าใน
อุ ต สาหกรรมต้ อ งค้า นึ ง ถึ ง ปั จจั ย หลายอย่ า งเพื่ อการประหยั ด ด้ ว ย เช่ น
ความปลอดภั ยในการใช้ การแยกตั ว เร่ ง ปฏิ กิร ย
ิ าออกจากผลิ ตภั ณ ฑ์ และ
ราคา ของตัวเร่งปฏิกิรย
ิ า เป็ นต้น

ความสัมพันธ์ระหว่างค่าคงที่สมดุล [K] กับค่าคงที่อัตราเร็ว [k]


ค่าคงที่สมดุลมีความสัมพันธ์กับค่า k ตามลักษณะของปฏิกิรย
ิ าเกิด
ขึ้น ดังในตัวอย่างต่อไปนี้
ก. ปฏิกิรย
ิ า CO + NO2 CO2 + NO ที่อุณหภ่มิมากกว่า
500 K พบว่าเป็ นปฏิกิรย
ิ าอันดับหนึ่ งในแง่ของ CO และ NO2 โดยเกิด
ปฏิกิรย
ิ าเพียงขั้นเดียว
ถ้า k1 และ k2 เป็ นค่าคงที่ อัตราเร็วของปฏิกิรย
ิ าไปข้างหน้า และ
ปฏิกิรย
ิ าย้อนกลับตามล้าดับ
79

k1
CO + NO2 CO2 + NO
k2
อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าไปข้างหน้า = k1 [CO] [NO2]
อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าย้อนกลับ = k2 [CO2] [NO]
ที่ภาวะสมดุล อัตราการเกิ ดปฏิกิรย
ิ าไปข้ างหน้ า เท่ากับ อัตราการ
เกิดปฏิกิรย
ิ าย้อนกลับ
k1 [CO] [NO2] = k2 [CO2] [NO]
k1 [CO2 ] [NO]
k2 = [CO] [NO2 ] = K
ข. ในปฏิกิรย
ิ าที่เกิดขึ้นหลายขั้นตอน เช่น 2A + B
2C ขั้นย่อยเป็ นดังนี้

k1
A + B C + X
k2
k3
A + X C
k4

ปฏิกิรย
ิ ารวม ; 2A + B 2C ในท้านองเดียวกับข้อ ก.
ขั้ น ย่ อ ย แ ร ก k1 [A] [B] = k2 [C] [X]
………………… (1)
ขั้นย่อยที่สอง k3[A] [X] = k4 [C] ………………….
(2)
k1k 3
(1) x (2) ; k1k3 [A] [B] = k2k4 [C] หรือ =
2 2
k 2k 4
[C]2
[A] 2 [B]
= K
ตัวอย่างที่ 1 เมื่อวางลวด Mg ทิ้งไว้ในอากาศ Mg จะท้าปฏิกิรย
ิ ากับ
O2 ในอากาศอย่างช้าๆ เป็ นแมกนี เซียมออกไซด์ แต่ถ้าเผาลวด Mg ลวด
80

Mg จะลุกไหม้ท้า ปฏิกิรย
ิ ากับ O2 ในอากาศอย่างรวดเร็วได้แมกนี เซียม
ออกไซด์
ก. พลั ง งานก่ อ กั ม มั น ต์ ข องปฏิ กิร ย
ิ าทั้ ง สองระบบนี้ เท่ า กั น หรือ ไม่
เพราะเหตุใด
ข. เหตุใดปฏิกิรย
ิ าในระบบหลังจึงเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วกว่าระบบแรก
ค. ให้เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พลังงานกับการด้าเนิ น
ไปของปฏิกิรย
ิ าทั้งสองระบบ พร้อมทั้งระบุ ด้วยว่า ช่วงใดเป็ นพลังงานที่
เปลี่ยนแปลงไปในปฏิกิรย
ิ า
วิธีทำา

ตัวอย่างที่ 2 พิจารณาปฏิกิรย
ิ าระหว่างก๊าซ NO กับ H2 ซึ่งบรรจุอย่่ใน
ภาชนะที่อุณหภ่มิห้อง เมื่อเผาให้ร้อนจะเกิดปฏิกิรย
ิ าตามสมการ 2NO
(g) + 2H2 (g) → N2 (g) + 2H2O (g)
การเปลี่ยนแปลงสิ่งต่อไปนี้ จะมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าอย่างไร
ก. ลดปริมาณของระบบลงครึง่ หนึ่ ง
81

ข. เพิ่มจ้านวนโมเลกุลของก๊าซ NO เป็ น 2 เท่า


วิธีทำา

ตัวอย่างที่ 3 ในปฏิกิรย
ิ าต่อไปนี้ 2A + B → C
ถ้ากฎอัตราเร็วเป็ น R = k [A] [B] จงเขียนกลไกของปฏิกิรย
ิ าที่
อาจจะเป็ นไปได้
วิธีทำา
82

ตั ว อย่ า งที่ 4 จากการศึ ก ษาอั ต ราการเกิ ด ปฏิ กิ ร ิย าที่ 2 อุ ณ หภ่ มิ ข อง


ปฏิกิรย
ิ า NO2 + CO → NO + CO2
พบว่าให้ผลแตกต่างกันดังนี้
ก. เมื่ออุณหภ่มิต้่า ผลการทดลองพบว่าอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าขึ้นอย่่
กับ NO2 เพียง 1 โมเลกุลเท่านั้ น
ข. เมื่ออุณหภ่มิส่ง ผลการทดลองพบว่าอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าขึ้นอย่่
กับ NO2 และ CO อย่างละ 1 โมเลกุล
จงแสดงกฎอัตราเร็วและกลไกของการเกิดปฏิกิรย
ิ า

วิธีทำา

**********************************************************
*******
83

แบบทดสอบท้ายการเรียนร้้
เรื่อง กฎอัตราและอันดับของปฏิกิรย
ิ าเคมี

จงเลือกคำำตอบที่ถูกต้องที่สุดจำกคำำถำมแต่ละข้อ
1. ิ า 2NO(g) + Cl2(g) → 2NOCl(g) ได้ผลการทดลองดังนี้
ปฏิกิรย

การ เพิ่มความเข้มข้น อัตราการเกิด


ทดลอง ปฏิกิริยา
ที่
1 NO เป็ น 3 เท่า เพิ่มขึ้น 3 เท่า
2 Cl2 เป็ น 2 เท่า เพิ่มขึ้น 4 เท่า
3 NO และ Cl2 เป็ น เพิ่มขึ้น 27 เท่า
อย่างละ 3 เท่า
จากการทดลอง ได้กฎอัตราของปฏิกิริยาเป็ น k[NO] [Cl2] ถ้า k
x y

= 1 และความเข้มข้นของ
NO = 0.5
โมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร และ Cl2 เข้มข้นเท่ากับ 0.8 โมลต่อ
ลูกบาศก์เดซิเมตร ค่า x,y และอัตราการ
เกิดปฏิกิริยามีค่าเท่าไร

2. อัตราการเกิดปฏิกิริยา A → B + C เขียนได้ดังนี้ r = k[A]


3
84

เมื่อ k เป็ นค่าคงที่ของอัตราการ


เกิดปฏิกิริยา ถ้าเพิ่มความเข้มข้นของ A เป็ น 2 เท่าของความ
เข้มข้นเดิม อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะ
เปลีย
่ นแปลงอย่างไร
1. เพิ่มขึ้น 2 เท่า 2. เพิ่มขึ้น 4 เท่า
3. เพิ่มขึ้น 6 เท่า 4. เพิ่มขึ้น 8 เท่า
3. สารประกอบ N2O5 สลายตัวดังสมการต่อไปนี้
2N2O5(g) → 4NO2(g) + O2(g)
ทีอ
่ ุณหภูมิค่าหนึ่ ง ข้อมูลที่ได้สำาหรับปฏิกิริยาข้างต้นเป็ นดังนี้

ความเข้มข้นของสาร อัตราการเกิด
ตัง้ ต้น N2O5 ปฏิกิริยาเริ่มต้น
(mol/dm ⋅ s)
3
(mol/dm )
3

2.00 × 10 1.80 × 10
-4 -2

3.00 × 10 2.70 × 10
-4 -2

4.00 × 10 3.60 × 10
-4 -2

อันดับของปฏิกิริยาการสลายตัวของ N2O5 เท่ากับเท่าไร

1. อันดับศูนย์ 2. อันดับหนึ่ ง
3. อันดับสอง 4. อันดับสาม
คำาชี้แจง จงใช้ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคำาถามข้อ 4-6
2NO(g) + O2(g) → 2NO2(g)
ทำาการทดลองวัดความเข้มข้นของสารตัง้ ต้น และอัตราการเกิด
85

่ ุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ได้ผลดังตาราง


ปฏิกิริยาทีอ

ความเข้มข้นของ
การ อัตราการ
สารตัง้ ต้น
ทดลอง เกิด NO2
(mol/dm )
3

ที่ (mol/dm ⋅ s)
3

[NO] [O2]
1 0.01 0.01 0.007
2 0.01 0.02 0.014
3 0.01 0.03 0.021
4 0.02 0.03 0.084
5 0.03 0.03 0.189
4. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเป็ นไปตามข้อใด
1. r = k[NO] [O2] 2. r = k[NO][O2]
2 2

3. r = k[NO][O2] 4. r = k[NO] [O2]


2 2

5. ค่าคงที่ของอัตราการเกิดปฏิกิริยามีค่าเท่าไร

1. 7 × 10 2. 7 × 10
-3 3

3. 7 × 10 4. 7 × 10
-6 6

6. ถ้าทำาการทดลองโดยใช้ NO ปริมาตร 224 ลูกบาศก์เซนติเมตร


ทำาปฏิกิริยากับ O2 ปริมาตร 1,120
ลูกบาศก์เซนติเมตร ในภาชนะขนาด 0.5 ลูกบาศก์เดซิเมตร
อยากทราบว่าอัตราการเกิด NO2 เท่ากับเท่าไร
การทดลองนี้ทำาที่ STP
86

1. 1.4 mol/dm ⋅ s 2. 0.7 mol/dm ⋅ s


3 3

2. 0.34 mol/dm ⋅ s 4. 0.56 mol/dm ⋅ s


3 3

คำาชี้แจง จงใช้ข้อมูลต่อ ไปนี้ตอบคำาถามข้อ 7

ปฏิกิริยา 2A + 2B 2C + D
M

การ ความเข้มข้นเมื่อเริ่ม
อัตราการ
ทดลอง ต้น (mol/dm )
3

เกิด D
ที่ A B M
1 8 × 10 2 × 10 1 × 10 0.48 × 10
-3 -3 -2 -3

2 2 × 10 4 × 10 1 × 10 0.48 × 10
-3 -3 -2 -3

3 2 × 10 2 × 10 1 × 10 0.24 × 10
-3 -3 -2 -3

4 2 × 10 2 × 10 5 × 10 0.96 × 10
-3 -3 -3 -3

7. อัตราการสลายตัวของ A ในการทดลองที่ 3 เป็ นเท่าไร


1. 0.96 × 10 mol/dm ⋅ s 2. 0.48 × 10 mol/dm ⋅ s
-3 3 -3 3

3. 0.24 × 10 mol/dm ⋅ s 4. 0.12 × 10 mol/dm ⋅ s


-3 3 -3 3

8. ในการทดลองเพื่อหาผลของความเข้มข้นที่มีต่อปฏิกิริยาเคมีของ
ปฏิกิริยา
H2O2(aq) + 3I (aq) + 2H (aq) → I 3 (aq) + 2H2O(l)
- + −

ได้ผลการทดลองดังต่อไปนี้ เมื่อใช้สารละลายความเข้มข้นเหล่านี้
87

ครัง้ ละเท่าๆกัน
ความเข้มข้นเมื่อเริ่ม
ครั ้ อัตราการเกิด
ต้น(mol/dm )
3

งที่ ปฏิกิริยา(mol/dm ⋅ s) × 10
3 6

H2O2 I H
- +

1 0.1 0.1 0.005 1.0


2 0.2 0.1 0.005 2.0
3 0.1 0.2 0.005 2.1
4 0.1 0.1 0.010 1.0
จากผลการทดลองสามารถนำ ามาทำานายผลได้ดังข้อใด
1. ถ้าเปลี่ยน [H ] เป็ น 0.0025 ในครัง้ ที่ 1 อัตราการเกิด
+

ปฏิกิริยาจะมีค่า 0.5
2. ถ้าเปลี่ยน [I ] เป็ น 0.2 ในครัง้ ที่ 2 อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะ
-

มีค่า 1.0
3. ถ้าเปลี่ยน [H2O2] เป็ น 0.2 ในครัง้ ที่ 3 อัตราการเกิด
ปฏิกิริยาจะมีค่า 2.0
4. ถ้าเปลี่ยน [H2O2] เป็ น 0.05 ในครัง้ ที่ 4 อัตราการเกิด
ปฏิกิริยาจะมีค่า 0.5
9. ผลการทดลองสำาหรับปฏิกิริยา 2NO(g) + H2(g) → H2O(g) +
N2O(g) เป็ นดังนี้

[NO] [H2] อัตราเร็วของปฏิกิริยา


(mol/dm ) (mol/dm )
3 3
(mol/dm ⋅ s)
3

1.00 1.00 3.5 × 10


-5

1.20 1.20 5.0 × 10


-5
88

0.80 0.80 1.8 × 10


-5

1.00 2.00 7.0 × 10


-5

2.00 1.00 1.4 × 10


-4

อัตราเร็วของปฏิกิริยาเป็ นสัดส่วนกับความเข้มข้นของสารตัง้ ต้นตาม


ข้อใด
1. [NO][H2] 2. [NO] [H2]
2

[NO] [H2] [2NO][H2]


2 2
3. 4.
คำาชี้แจง จงใช้ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคำาถามข้อ 10
ิ า A + B → C มีผลการทดลองดังนี้
ปฏิกิรย

การ ความเข้มข้น อัตราเร็วของ


ทดลอง (mol/dm )
3
ปฏิกิริยา
ที่ A B (mol/dm ⋅ s)
3

1 0.010 0.010 2.0


2 0.010 0.020 4.0
3 0.030 0.020 12.0

10. ถ้ากำาหนดให้ r = อัตราเร็วของปฏิกิริยา k = ค่าคงที่ [A] = ความ


เข้มข้นของ A และ [B] = ความเข้มข้นของ B อัตราเร็วของปฏิกิริยา
นี้เขียนได้อย่างไร
1. r = k[A] 2. r = k[B]
3. r = k[A][B] 4. r = k[A][B]
2
89

**********************************************************
*******

You might also like