You are on page 1of 49

จลนศาสตร์ เคมี

(Chemical kinetics)

Soontorn Pornjumreon
Chemistry Department
Mahidolwittanusorn School
www.mwit.ac.th/~sp
อัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี

อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


อัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี

 การเกิดปฏิกริ ิยาเคมี หมายถึงการทีส่ ารตั้งต้ น(reactant)เปลีย่ นไปเป็ นสาร


ใหม่ หรือสารผลิตภัณฑ์ (product)โดยปริมาณหรือความเข้ มข้ นของสารตั้ง
ต้ นจะลดลง แต่ ปริมาณหรือความเข้ มข้ นของสารผลิตภัณฑ์ จะลดลง
 อัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี หมายถึงการเปลีย่ นแปลงความเข้ มข้ นของสารตั้งต้ น
หรือสารผลิตภัณฑ์ ต่อหน่ วยเวลา

อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


อัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี

ปริมาณสารผลิตภัณฑ์ ทเี่ กิดขึน้


อัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี = เวลา

อัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี = ปริมาณสารตั้งต้ นทีล่ ดลง


เวลา

อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


อัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี
aA + bB cC + dD
1 [A]
อัตราการเกิดปฏิกริ ิยา(r) = อัตราการลดลงของสารA = - -
a t
1 [B]
= อัตราการลดลงของสารB = - -
b t
1 [C]
= อัตราการเกิดสารC = + c
-
t
1 [D]
= อัตราการเกิดสารD = + -
d t

อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


อัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี
 ปฏิกิริยาเคมีดงั สมการ
Mg(s) + 2HCl(aq) MgCl2(aq) + H2(g)
สามารถวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยานี้ได้อย่างไรบ้าง และเขียนความ
สัมพันธ์ของอัตราการเกิดปฏิกิริยาได้อย่างไร
 จากการวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีหนึ่ง พบว่ามีค่าเท่ากับอัตราการ
ลดลงของแก๊ส N2 เท่ากับ 1/3อัตราการลดลงของแก๊ส H2 และ
เท่ากับ 1/2อัตราการเกิดแก๊ส NH3 จงเขียนสมการเคมีแสดง
ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


อัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี

ชนิดของอัตราการเกิดปฏิกริ ิยา

อัตราการเกิดปฏิกริ ิยา
อัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเฉลีย่
ณ ขณะใดขณะหนึ่ง
(Average rate)
(Instantaneous rate)

อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


อัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมีเฉลีย่
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย(Average rate) หมายถึงปริ มาณ
ของสารผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นทั้งหมด หรื อปริ มาณของสารตั้งต้นที่ลด
ลงทั้งหมดต่อเวลาทั้งหมดที่ใช้ในการเกิดปฏิกิริยา

 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย =
ปริ มาณสารผลิ ต ภัณ ฑ์ท่ ี เกิ ดขึ
้ น ทั
้ งหมด
เวลาทั้งหมดที่ใช้ในการเกิดปฏิกิริยา
ปริ มาณสารตั้งต้นที่ลดลงทั้งหมด
 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย =
เวลาทั้งหมดที่ใช้ในการเกิดปฏิกิริยา

อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


อัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี ณ ขณะใดขณะหนึ่ง

 อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ ขณะใด
ขณะหนึ่ง(Instantaneous
rate) หมายถึงปริ มาณสารตั้งต้น
ที่เกิดขึ้น ณ ขณะใดขณะหนึ่ง หรื อ
ปริ มาณสารผลิตภัณฑ์ที่ลดลง ณ
ขณะใดขณะหนึ่งต่อเวลาที่ใช้ในการ
เกิดปฏิกิริยาในช่วงนั้น ซึ่งอัตราการ
เกิดปฏิกิริยาชนิดนี้หาได้จากค่า
ความชัน(slope)ของกราฟ

อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


ทฤษฎีจลนศาสตร์ เคมี
 ทฤษฎีจลนศาสตร์ เป็ นทฤษฎีที่ใช้อธิ บายการเกิดปฏิกิริยาเคมีของสารตั้งแต่ 2
ชนิดขึ้นไป

ทฤษฎีจลนศาสตร์ เคมี

ทฤษฎีการชน ทฤษฎีสารเชิงซ้ อนกัมมันต์


(Collision theory) (Activated-complex theory)

อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


ทฤษฎีการชน(Collision theory)

ปฏิกริ ิยาเคมีเกิดขึน้ ได้ เมือ่


อนุภาคของสารตั้งต้ นจะต้ องชนกัน
ทิศทางในการชนต้ องเหมาะสม
พลังงานรวมในการชนต้ องเท่ ากับพลังงานก่ อกัมมันต์

อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


ทิศทางในการชนทีเ่ หมาะสม
NO2+CO NO+CO2 NO+NO3 2NO2

อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


พลังงานก่ อกัมมันต์ (Activation energy)

 พลังงานก่ อกัมมันต์ หมายถึงพลังงานต่ำทีส่ ุ ดทีทำ


่ ให้ เกิดปฏิกริ ิยาเคมีได้

อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


ทฤษฎีสารเชิงซ้ อนกัมมันต์
(Activated-complex theory)

 ทฤษฎีสารเชิงซ้อนกัมมันต์เรี ยกอีก
ชื่อหนึ่งว่า ทฤษฎีสภาวะแทรนซิ
ชัน(Transition state
theory) เมื่ออนุภาคของสารตั้ง
ต้นชนกันจะเกิดสารที่ไม่เสถียรและ
มีพลังงานสูง เรี ยกว่าสารเชิงซ้อ
นกัมมันต์(Activated
complex)

อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


ทฤษฎีสารเชิงซ้ อนกัมมันต์
(Activated-complex theory)

อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


ทฤษฎีสารเชิงซ้ อนกัมมันต์
(Activated-complex theory)

อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกริ ิยา

E2

พลัง Ea
2NO(g)
งาน E3
(E) E
E1
N2(g) + O2(g)

การดำเนินไปของปฏิกริ ิยา
รู ปที่ 6 แสดงปฏิกริ ิยาดูดความร้ อนของปฏิกริ ิยา N2(g) + O2(g) 2NO(g)

อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกริ ิยา

E2

พลัง Ea
งาน E1
N2(g) + 3H2(g)
(E) E
E3
2NH3(g)

การดำเนินไปของปฏิกริ ิยา
รู ปที่ 7 แสดงปฏิกริ ิยาคายความร้ อนของปฏิกริ ิยา N2(g) + 3H2(g) 2NH3(g)

อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกริ ิยา

อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


กลไกของปฏิกริ ิยา
(Reaction mechanism)
 กลไกของปฏิกิริยา หมายถึงลำดับขั้นย่อยของปฏิกิริยา และเรี ยก
สมการย่อยแต่ละสมการที่แทนปฏิกิริยาว่า กระบวนการ
ปฐม(Elementary process) หรื อปฏิกิริยา
ปฐม(Elementary reaction)
 ขั้นกำหนดอัตรา(Rate determining step) หมายถึง
กระบวนการปฐมที่เกิดช้าที่สุดของกลไกปฏิกิริยา
 สารมัธยันตร์ (Intermediate) หมายถึงสารที่เกิดขึ้นระหว่างที่
ปฏิกิริยาดำเนินไป แต่ไม่ปรากฎสารนี้ ในสมการรวมของปฏิกิริยา

อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


กลไกของปฏิกริ ิยา
(Reaction mechanism)
 NO2 + CO CO2 + NO
มีข้นั ตอนการเกิดดังนี้
ขั้นที่1 NO2 + NO2 NO3 + NO …..เกิดช้า
ขั้นที่2 NO3 + CO NO2 + CO2 …..เกิดเร็ ว

Rate determining step คือ ขั้นที่1


Intermediate คือ NO3

อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


โมเลกลุ าริตี(Molecularity)
โมเลกุลาริ ตี หมายถึงการจำแนกกระบวนการปฐมตามจำนวน
โมเลกุลของสารตั้งต้นที่เข้าชนกัน
 กระบวนการหนึ่งโมเลกุล(Unimolecular process)
N2O4 2NO2
 กระบวนการสองโมเลกุล(Bimolecular process)
NO + O2 NO3
 กระบวนการสามโมเลกุล(Termolecular process)
2NO + Br2 2NOBr
อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
พลังงานกับปฏิกริ ิยาเคมีหลายขั้นตอน

E4

พลัง E3
Ea2
งาน Ea3 Ea4
E2
(E) X
Ea1
E1 B
E5 A E

การดำเนินไปของปฏิกริ ิยา A B

อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


พลังงานกับปฏิกริ ิยาเคมีหลายขั้นตอน

อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


พลังงานกับปฏิกริ ิยาเคมีหลายขั้นตอน

อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


พลังงานกับปฏิกริ ิยาเคมีหลายขั้นตอน

อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


พลังงานกับปฏิกริ ิยาเคมีหลายขั้นตอน

อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


ปัจจัยทีม่ ผี ลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริ ิยา
 ธรรมชาติของสารตั้งต้น
 ความเข้มข้นของสารตั้งต้น
 พื้นที่ผวิ ของสารตั้งต้น
 ความดัน
 อุณหภูมิ
 ตัวเร่ งปฏิกิริยา

อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


ธรรมชาติของสารตั้งต้ น

อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


พืน้ ทีผ่ วิ ของสารตั้งต้ น

ตะปูเหล็กในแก๊สออกซิเจน ฝอยเหล็กในแก๊สออกซิเจน
อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
อุณหภูมิ

อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


สมการอาร์ เรเนียส
 ค่าคงที่อตั รา(k) แปรผันตามอุณหภูมิ
 k = Ae-Ea/RT

 A = frequency factor
 Ea = activation energy
 R = gas constant
= 8.314 J/mol.K
 T = อุณหภูมิเคลวิน (K)

อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


สมการอาร์ เรเนียส
 เขียนสมการอาร์เรเนียสในรู ปลอกการิ ทึม จะได้
Ln k = ln A – Ea/RT
log k = log A – Ea/2.303RT………(1)
ถ้าให้ k1 และ k2 เป็ นค่าคงที่อตั ราที่อุณหภูมิ T1 และ T2
log k1 = log A – Ea/2.303 RT1 ……...(2)
log k2 = log A – Ea/2.303 RT2 ………(3)
(2)-(3): log k1/k2 = Ea/2.303 R(1/T2-1/T1)

อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


สมการอาร์ เรเนียส
log k = log A – Ea/2.303 RT
จากสมการหมายความว่ า ถ้ าเขียนกราฟระหว่ าง log k กับ 1/T
จะได้ กราฟเส้ นตรงทีม่ ีความชัน = - Ea/2.303 R

อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


ตัวเร่ งปฏิกริ ิยา(Catalyst)
ตัวเร่ งปฏิกริ ิยา หมายถึงสารทีเ่ ปลีย่ นความเร็วของปฏิกริ ิยา โดยตัวเร่ ง
ปฏิกริ ิยาจะไม่ เกิดการเปลีย่ นแปลงทางเคมีอย่ างถาวรในปฏิกริ ิยาเมือ่
สิ้นสุ ดปฏิกริ ิยาจะได้ ตวั เร่ งปฏิกริ ิยากลับคืนมา
 ตัวเร่ งปฏิกิริยาเอกพันธ์(Homogeneous catalyst)
หมายถึงตัวเร่ งปฏิกิริยาที่มีวฏั ภาคเดียวกันกับสารตั้งต้น
 ตัวเร่ งปฏิกิริยาวิวธิ ภัณฑ์(Heterogeneous catalyst)
หมายถึงตัวเร่ งปฏิกิริยาที่มีวฏั ภาคต่างจากสารตั้งต้น

อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


ตัวเร่ งปฏิกริ ิยา(Catalyst)

อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


ตัวเร่ งปฏิกริ ิยา(Catalyst)

อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


ตัวเร่ งปฏิกริ ิยา(Catalyst)
ปฏิกริ ิยาการสลาย HCOOH เป็ น CO และ H2O โดยใช้ H2SO4 เป็ นตัวเร่ งปฏิกริ ิยา

อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


ตัวเร่ งปฏิกริ ิยา(Catalyst)

อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


ตัวเร่ งปฏิกริ ิยา(Catalyst)

Ni
C2H4 + H2 C2H6

อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


ตัวเร่ งปฏิกริ ิยา(Catalyst)

E + S ES E + P

อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


ตัวเร่ งปฏิกริ ิยา(Catalyst)

E1
ปฏิกริ ิยาที่ไม่ มีตัวเร่ ง
Ea1
E2 พลั
งงา
นจ พลั
ปฏิกริ ิยาที่มีตัวเร่ ง
ลน์ งงา Ea2

E
จำนวนโมเลกุล

การดำเนินไปของปฏิกริ ิยา

อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


ตัวหน่ วงปฏิกริ ิยา(Inhibitor)
ปฏิกริ ิยาที่มีตัวหน่ วงปฏิกริ ิยา
Ea2
พลัง
งาน ปฏิกริ ิยาที่ไม่ มีตัวหน่ วงปฏิกริ ิยา
Ea1

E

การดำเนินไปของปฏิกริ ิยา

 ตัวหน่วงปฏิกิริยา หมายถึงสารที่เติมลงไปในปฏิกิริยาแล้วทำให้
ปฏิกิริยาเคมีน้ นั เกิดช้าลง

อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


กฎอัตรา(Rate law)
 กฎอัตรา คือสมการที่แสดงว่าอัตราการเกิดปฏิกิริยาขึ้นกับความเข้ม
ข้นของสารตั้งต้นแต่ละชนิดอย่างไร ซึ่งเขียนความสัมพันธ์น้ ี ได้ตาม
Law of mass action “อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเป็ น
สัดส่ วนโดยตรงกับสารตั้งต้นที่เข้าทำปฏิกิริยากัน”
aA + bB cC + dD
จากสมการเขียนกฎอัตราได้ดงั นี้
r  [A]x[B]y
r = k [A]x[B]y

อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


อันดับปฏิกริ ิยา
(Order of reaction)
 อันดับปฏิกิริยาเป็ นค่าตัวเลขใดๆ (x, y) อาจเป็ นเลขจำนวนเต็ม หรื อเศษส่ วน
ก็ได้ ซึ่งตัวเลขอันดับปฏิกิริยานี้ได้จากการทดลองหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเมื่อ
เปลี่ยนความเข้มข้นของสารตั้งต้นเท่านั้น
ปฏิกริ ิยาเคมี กฎอัตรา อันดับปฏิกริ ิยา

2HI H2 + I2 r = k[HI]0 0

CH3CHO CH4+CO r = k[CH3CHO]2 2

2NO + Br2 2NOBr r = k[NO]2[Br2] 3

อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


การคำนวณเกีย่ วกับกฎอัตรา
 จากปฏิกิริยา 2NO+O2 2NO2 ที่ 25C ได้ผลการทดลองดัง
ตาราง จงคำนวณหากฎอัตรา อันดับปฏิกิริยา และค่าคงที่อตั รา
การทดลองที่ ความเข้มข้นเริ่ มต้น (mol.dm-3) อัตราเริ่ มต้นการเกิดNO 2

NO O2 (mol.dm-3.s-1)

1 0.01 0.01 0.007


2 0.01 0.02 0.014
3 0.01 0.03 0.021
4 0.02 0.03 0.084

อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


การคำนวณเกีย่ วกับกฎอัตรา
จากสมการเคมี 2NO + O2 2NO2
เขียนกฎอัตราได้ดงั นี้ r = k[NO]x[O2]y …..(1)
จากการทดลองที่3 และ 4 แทนค่าในสมการ(1) ไดดังนี้
0.021 = k[0.01]x[0.03]y …..(2)
0.084 = k[0.02]x[0.03]y …..(3)
(3)/(2), 4 = 2x
x=2

อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


การคำนวณเกีย่ วกับกฎอัตรา
จากการทดลองที่1 และ 2 แทนค่าในสมการ(1)
0.007 = k[0.01]x[0.01]y …..(4)
0.014 = k[0.01]x[0.02]y …..(5)
(5)/(4), 2 = 2y , y=1
กฎอัตราของปฏิกิริยานี้คือ r = k[NO]2[O2]
อันดับของปฏิกิริยานี้คือ ปฏิกิริยาอันดับสาม
แทนค่า x,y ลงในสมการ(4), 0.007 = k[0.01]2[0.01]
k = 7.00x103 dm6.mol-2.s-1

อ.สุ นทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


จลนศาสตร์ เคมี
(Chemical kinetics)

Soontorn Pornjumreon
Chemistry Department
Mahidolwittanusorn School
www.mwit.ac.th/~sp

You might also like