You are on page 1of 705

เฉลยขอสอบ

สภาวิศวกร สําหรับภาคีวิศวกร
สาขาวิศวกรรมโยธา
วิชา
Reinforced Concrete Design
Fundamental behavior in thrust, flexure, torsion, shear,
bond and interaction among these forces.

ผูเฉลย
ผศ.สมศักดิ์ คําปลิว

โดย
ขอสอบสภาวิศวกร สําหรับภาคีวิศวกร สาขาวิศวกรรมโยธา
Reinforced Concrete Design
Fundamental behavior in thrust, flexure, torsion, shear, bond and interaction among these forces.

คําถามขอที่ 1
คอนกรีตหลอในที่ ตามขอกําหนด วสท.3408 คอนกรีตที่หลอติดกับดินและผิวคอนกรีต
สัมผัสกับดินตลอดเวลา ใหมรี ะยะหุมต่ําสุดสําหรับเหล็กเสริมเทากับกี่เซนติเมตร
ตัวเลือก
(1) 3.0 ซม
(2) 3.5 ซม
(3) 5.0 ซม
(4) 7.5 ซม
แนวคิด
จากมาตรฐานสําหรับอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีหนวยแรงใชงาน หัวขอ วสท.3408
หนา 21-22
คอนกรีตหลอติดดิน และผิวคอนกรีตสัมผัสกับดินตลอดเวลา ระยะหุมขั้นต่ํา 7.5 ซม
คอนกรีตที่สัมผัสกับดินหรือถูกแดดฝน เหล็กโตกวา 16 มม ระยะหุม 5.0 ซม
คอนกรีตที่สัมผัสกับดินหรือถูกแดดฝน เหล็ก 16 มม ลงมา ระยะหุม 4.0 ซม
คอนกรีตที่ไมสัมผัสกับดินหรือไมถูกแดดฝน
พื้น ผนัง ตง
เหล็ก 44 มม ขึน้ ไป ระยะหุม 4.0 ซม
เหล็ก 35 มม ลงมา ระยะหุม 2.0 ซม
คาน
เหล็กเสริมหลักและเหล็กลูกตั้ง ระยะหุม 3.0 ซม
ฯลฯ
ตามขอนี้ ระยะหุมคือ 7.5 ซม ตอบขอ (4)
คําตอบ ขอ (4) 7.5 ซม

1
คําถามขอที่ 2
น้ําหนักบรรทุกจรของอาคารตามขอบัญญัติ กทม.พ.ศ.2522 ขอใดมีน้ําหนักมากที่สุด
ตัวเลือก
(1) หองเก็บหนังสือและหอสมุดกลาง
(2) ภัตตาคารใหญ
(3) หอประชุมแหงชาติ
(4) ที่เก็บหรือจอดรถยนตบรรทุกและรถอื่นๆ
แนวคิด
ขอบัญญัติ กทม. กําหนดไววา
หองเก็บหนังสือและหอสมุดกลาง น้ําหนักบรรทุกจร 600 kg/m2
ภัตตาคารใหญ น้ําหนักบรรทุกจร 400 kg/m2
หอประชุมแหงชาติ น้ําหนักบรรทุกจร 500 kg/m2
ที่เก็บหรือจอดรถยนตบรรทุกและรถอื่นๆ น้ําหนักบรรทุกจร 800 kg/m2
คําตอบ ขอ (4)ที่เก็บหรือจอดรถยนตบรรทุกและรถอื่นๆ

คําถามขอที่ 3
Blow count คือการตรวจสอบอะไร
ตัวเลือก
(1) จํานวนนับการตอกเสาเข็ม
(2) จํานวนหนาตาง และประตูในแตละอาคารที่ลมผานได
(3) จํานวนชัน้ ของอาคาร
(4) จํานวนกระเบื้อง ในแตละตารางเมตร
แนวคิด
Blow หมายถึงการตอก การเปา count หมายถึงการนับ ดังนั้น Blow count จึงหมายถึงการนับ
จํานวนครั้งในการตอก
คําตอบ ขอ (1) จํานวนนับการตอกเสาเข็ม

2
คําถามขอที่ 4
เหล็กขอออย ที่ใชในประเทศไทย จะมีคุณสมบัติดีกวาเหล็กกลมอยางไร
ตัวเลือก
(1) รับแรงดึงไดมากกวา
(2) มีแรงยึดเกาะดีกวา
(3) ทั้งรับแรงดึงและมีแรงยึดเกาะไดดีกวา
(4) ราคาถูกกวา
แนวคิด
เหล็กผิวเรียบกลมจะมี fy = 2400 ksc สวนเหล็กขอออยมี fy = 3000 ksc ถึง 5000 ksc ดังนั้นเหล็ก
ขอออยจึงรับแรงดึงไดมากกวา สําหรับแรงยึดเกาะจะมีผลจากการยึดเกาะทางเคมี ความฝด และการ
ยึดเกาะทางกล เหล็กกลมผิวเรียบจะมีผลสองขอแรก สวนเหล็กขอออยมีผลทั้งสามขอ ดังนั้นแรงยึด
เกาะของเหล็กขอออยยอมดีกวา
คําตอบ ขอ (3)ทั้งรับแรงดึงและมีแรงยึดเกาะไดดีกวา

คําถามขอที่ 5
Hollow Core Slab ในงานกอสรางหมายถึงอะไร
ตัวเลือก
(1) ชองทอในพื้นหองน้ํา
(2) ชองเปดในผนัง
(3) แผนพื้นสําเร็จรูป
(4) ชองเปดในพื้นตาง ๆ
แนวคิด
Hollow หมายถึงชองโลง Core หมายถึงแกน Slab หมายถึงแผนพื้น รวมแลวหมายถึงแผนพื้นที่มี
แกนเปนชองโลงเปนรูตามยาว หรือ แผนพื้นสําเร็จรูปชนิดหนึ่ง
คําตอบ ขอ (3) แผนพืน้ สําเร็จรูป

3
คําถามขอที่ 6
คานยื่น cantilever beam เหล็กเสริมที่อยูในคาน เหล็กใดเปนเหล็กเสริมที่สําคัญที่สุด
ตัวเลือก
(1) เหล็กเสริมดานลางสุดของคาน
(2) เหล็กเสริมดานกลางของคาน
(3) เหล็กเสริมดานบนคาน
(4) เหล็กคอมา
แนวคิด คานยืน่ จะเกิดโมเมนตลบผิวบนเปนแรงดึงซึ่งตองใหเหล็กเสริมเปนผูรับ เหล็กบนจึง
สําคัญที่สุด
คําตอบ ขอ (3) เหล็กเสริมดานบนคาน

คําถามขอที่ 7
เหล็กปลอกในคาน นอกจากมีไวยึดรูปของเหล็กเสนแลว ยังชวยรับแรงชนิดใดที่เกิดขึน้
ตัวเลือก
(1) แรงลม
(2) แรงอัด
(3) แรงเหวีย่ ง
(4) แรงเฉือน
แนวคิด เหล็กปลอกในคานมีหนาที่หลักในการรับแรงเฉือนที่รวมเปนแรงดึงทแยง สวนการยึด
เหล็กตามยาวในคานนั้นเปนผลพลอยได
คําตอบ ขอ (4) แรงเฉือน

คําถามขอที่ 8
พื้นของหองใดในโรงแรม ที่มีการรับน้ําหนักมากที่สุด
ตัวเลือก
(1) หองนอน น้ําหนักบรรทุกจร 200 kg/m2
(2) ระเบียง น้ําหนักบรรทุกจร 200 kg/m2
(3) หองน้ํา น้ําหนักบรรทุกจร 200 kg/m2
(4) หองโถง และ Lobby น้ําหนักบรรทุกจร 300 kg/m2
แนวคิด ดูกฎกระทรวงมหาดไทยฉบับที่ 6 หรือขอบัญญัติ กทม. ดังแสดง
คําตอบ ขอ (4)หองโถง และ Lobby น้ําหนักบรรทุกจร 300 kg/m2

4
คําถามขอที่ 9
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก 4 ตน มีสัดสวนปริมาณเหล็กเสริมตอคอนกรีตเทากัน มีความสูงเทากัน เสา
ตันใดจะรับน้ําหนักไดมากที่สุด
ตัวเลือก
(1) 20 × 40 cm
(2) 30 × 30 cm
(3) 25 × 30 cm
(4) 30 × 40 cm
แนวคิด ในกรณีที่เปนเสาสัน้ P = 0.85A g (0.25f c' + 0.4f yρg ) เมื่อ f c' , f y , ρg เหมือนกัน แรง P
จึงขึ้นกับเนื้อที่หนาตัด A g
(1) 20 × 40 cm มี A g = 20 × 40 = 800 cm 2
(2) 30 × 30 cm มี A g = 30 × 30 = 900 cm 2
(3) 25 × 30 cm มี A g = 25 × 30 = 750 cm 2
(4) 30 × 40 cm มี A g = 30 × 40 = 1200 cm 2
L
นอกจากนี้กําลังยังผกผันกับความชะลูด คา t คือสวนแคบของหนาตัด
0.3t
คําตอบ ขอ (4) เนื่องจาก A g = 1200 cm 2 มากที่สุด และความชะลูดนอยที่สุด

คําถามขอที่ 10
การถอดค้ํายันใตทองคานยื่น ที่มีความยาวมาก ควรจะถอดอยางไร
ตัวเลือก
(1) ถอดไลจากดานเสาที่รองรับ
(2) ถอดไลจากดานปลายคานยื่นเขา
(3) ถอดตรงกลางกอนแลวไลออกสองดาน
(4) ถอดอันเวนอันจากดานในออกไป
แนวคิด คานยืน่ เปนโมเมนตลบ เหล็กบนรับแรงดึง ระหวางถอดค้ํายันตองใหเปนโมเมนตลบ
ตลอดเวลา ถอดจากปลายเขาหาโคนเสา หากถอดจากโคนไปหาปลายหรือจากกลางไปหาปลายจะ
เปนโมเมนตบวก ราวดานลางคาน
คําตอบ ขอ (2) ถอดไลจากดานปลายคานยืน่ เขาหาเสารงรับ

5
คําถามขอที่ 11
slab on ground หมายถึงอะไร
ตัวเลือก
(1) พื้นชัน้ ลางที่ถายน้ําหนักลงที่ดินโดยตรง
(2) พื้นชัน้ ลางที่ถายน้ําหนักโดยตรงลงคานคอ
(3) พื้นทีก่ อสรางไกลจากแหลงน้ํา
(4) การใชดินเปนไมแบบของคาน
แนวคิด Slab on ground หรือสมัยกอนใช Slab on grade คือแผนพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กที่เทลงบน
ดิน น้ําหนักถายลงดินโดยตรงไมตองผานทางคานที่รองรับ
คําตอบ ขอ (1)พื้นชั้นลางที่ถายน้ําหนักลงที่ดินโดยตรง

คําถามขอที่ 12
กําลังอัดคอนกรีต เทากับ 210 กก./ตร.ซม. ชนิดทรงกระบอก ที่อายุ 28 วัน จะเทากับกําลังอัดของ
คอนกรีตชนิดลูกบาศก ประมาณเทาใด
ตัวเลือก
(1) 180 กก/ตร.ซม
(2) 210 กก/ตร.ซม
(3) 240 กก/ตร.ซม
(4) 280 กก/ตร.ซม
แนวคิด ถากําหนดให
f c' , cylider = กําลังคอนกรีตทรงกระบอกที่ 28 วัน, กก/ตร.ซม
f c' , cube = กําลังคอนกรีตลูกบาศกที่ 28 วัน, กก/ตร.ซม
ไดความสัมพันธวา
7
f c' , cylider ≈ f c' , cube
8
ในขอนี้ f c' ,cylider = 210 ksc ดังนั้น
8 8
f c' , cube ≈ f c' , cylinder = × 210 = 240 ksc
7 7
คําตอบ ขอ (3) 240 กก/ตร.ซม

6
คําถามขอที่ 13
ถากําหนดใหใชคอนกรีตกําลังอัดประลัยที่ 240 กก./ตร.ซม. สําหรับออกแบบในมาตรฐาน ว.ส.ท.
จะหมายถึงแทงตัวอยางคอนกรีตรูปรางใด ที่อายุกวี่ ัน?
ตัวเลือก
(1) ชนิดลูกบาศก ขนาด 15 x15x15 ซม. ที่อายุ 14 วัน
(2) ชนิดลูกบาศก ขนาด 15 x15x15 ซม. ที่อายุ 28 วัน
(3) ชนิดทรงกระบอกขนาด 6"x12" ที่อายุ 7 วัน
(4) ชนิดทรงกระบอกขนาด 6"x12" ที่อายุ 28 วัน
แนวคิด ทั้งมาตรฐาน ว.ส.ท. และกฎหมาย กําลังประลัยของคอนกรีตหมายถึงกําลังของแทง
ทรงกระบอกคอนกรีตเสนผานศูนยกลาง 15 ซม (6 นิ้ว) สูง 30 ซม (12 นิ้ว) ที่อายุ 28 วัน สวนรูป
ลูกบาศก 15x15x15 ซม ที่อายุ 28 วันนั้นตามมาตรฐานของอังกฤษ (BS)
คําตอบ ขอ (4) ชนิดทรงกระบอกขนาด 6"x12" ที่อายุ 28 วัน

คําถามขอที่ 14
รอยแตกราวในคานตอเนื่องซึ่ง ถามีแนวเอียงหรือเฉียงทแยง ซึ่งเรียกทัว่ ไปวา เกิดจากแรงดึงทแยง
(diagonal tension) มักจะพบในบริเวณใดของคาน
(1) ดานลางของคาน บริเวณกึ่งกลางคาน
(2) ดานบนของคาน บริเวณกึ่งกลางคาน
(3) ที่ขอบของหัวเสา
(4) ใกลบริเวณโคนเสา หางจากเสาประมาณเทากับความลึกของคาน
แนวคิด หนาตัดวิกฤตของแรงเฉือนในคานที่รวมกับหนวยแรงดัดกลายเปนแรงดึงทแยงจะหาง
จากขอบเสาไปเทากับความลึกประสิทธิผล รอยราวบริเวณนี้จะเริ่มจากขอบลางแลวเฉียงประมาณ
45 องศา ไมใชตรงขอบพอดี
คําตอบ ขอ (4) ใกลบริเวณโคนเสา หางจากเสาประมาณเทากับความลึกของคาน

7
คําถามขอที่ 15
พื้น คสล. กวาง 3.00 ม. ยาว 5.00 ม. รับน้ําหนักจร 350 กก./ตร.ม. หนา 0.15 ม. จะมีนา้ํ หนักลง
คานดานยาวเทาไร (วิธี WSD)
ตัวเลือก
(1) 710 กก/ม
(2) 937.2 กก/ม
(3) 1420 กก/ม
(4) 1775 dd/,
แนวคิด การกระจายน้าํ หนักลงคานดานสั้น w S และดานยาว w L หาไดจาก
wS
wS =
3
wS 3 − m 2
wL =
3 2
เมื่อ w = DL + LL = 2400 × 0.15 + 350 = 710 kg / m 2 = น้ําหนักลงบนพื้น
S = 3.00 m = ความยาวขอบสั้นของพื้น
L = 5.00 m = ความยาวขอบยาวของพืน ้
S 3.00
m= = = 0.6
L 5.00
WS 710 × 3.00
ดังนั้น wS = = = 710 kg / m
3 3
wS 3 − m 2 710 × 3.00 3 − 0.62
wL = = × = 937.2 kg / m
3 2 3 2
คําตอบ ขอ (2) 937.2 กก/ม

8
คําถามขอที่ 16
พื้น คสล. กวาง 3.00 ม. ยาว 5.00 ม. รับน้ําหนักจร 350 กก./ตร.ม. หนา 0.15 ม. จะมีนา้ํ หนักลง
คานดานยาวเทาไร และใชเกณฑมาตรฐานของ ว.ส.ท.ในการออก แบบ (วิธี SDM)
ตัวเลือก
(1) 1099 กก/ม
(2) 1237.2 กก/ม
(3) 1450 กก/ม
(4) 1775 กก/ม
แนวคิด การกระจายน้าํ หนักลงคานดานสั้น w uS และดานยาว w uL หาไดจาก
w uS
w uS =
3
w uS 3 − m 2
w uL =
3 2
เมื่อ w u = 1.4DL + 1.7 LL = 1.4 × 2400 × 0.15 + 1.7 × 350 = 1099 kg / m 2 = น้ําหนักเพิ่ม
คาลงบนพื้น
S = 3.00 m = ความยาวขอบสั้นของพื้น
L = 5.00 m = ความยาวขอบยาวของพืน ้
S 3.00
m= = = 0.6
L 5.00
w S 1099 × 3.00
ดังนั้น w uS = u = = 1099 kg / m
3 3
w S 3 − m 2 1099 × 3.00 3 − 0.62
w uL = u = × = 1450.68 kg / m
3 2 3 2
คําตอบ ขอ (3) 1450 กก/ม

9
คําถามขอที่ 17
ฐานรากแผสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 1.75x1.75 ม. รับน้ําหนักตามแนวแกน 30 ตัน และรับโมเมนต 5
ตัน-เมตร ที่สภาวะใชงานจงหาหนวยแรงดันดินสุทธิใตฐานรากท ี่มากที่สุด (วิธี WSD)
ตัวเลือก
(1) 4.198 ตัน/ตร.ม
(2) 10.732 ตัน/ตร.ม
(3) 12.56 ตัน/ตร.ม
(4) 15.39 ตัน/ตร.ม
แนวคิด ใชหลักการรวมผลคือ
F Mx y Myx
p= ± ±
A Ix Iy
ในที่นี้
p= หนวยแรงดันดินที่จุดตางๆ ตัน/ตร.ม ที่ตองการหา
F = 30 tonne = แรงกดลงตามแนวแกน, ตัน
A = 1.75 × 1.75 = 3.0625 m 2 = เนื้อที่ฐานราก
M x = 5 tonne.m = โมเมนตรอบแกน x
M y = 0 = โมเมนตรอบแกน y
1.75
y= = 0.875 m = ระยะจากแกนสะเทินถึงขอบฐานราก
2
1.75
x= = 0.875 m = ระยะจากแกนสะเทินถึงขอบฐานราก
2
1.75 × 1.753
Ix = Iy = = 0.78157552 m 4 = โมเมนตอินเนอรเชียของพืน
้ ที่ฐานรากรอบ
12
แกนสะเทิน
ดังนั้นหนวยแรงดันดินสูงสุดคือ
F Mx y Myx 30 5 × 0.875 0 × 0.875
p= + + = + +
A Ix Iy 3.0625 0.78157552 0.78157552
p = 15.39358601 Tonne / m 2 = 15.39 T / m 2
คําตอบ ขอ (4)15.39 ตัน/ตร.ม

10
คําถามขอที่ 18
เสาเข็มสี่เหลี่ยมตันขนาด 0.15x0.15x 4.50 ม. จะมีกําลังรับน้ําหนักปลอดภัยของเสาเข็มเทาไร เมื่อ
คํานวนโดยใชความฝดของดินที่ยอมใหตามขอบัญญัติ กทม. ขอ 67 กําหนดให f c' ของคอนกรีต
เสาเข็ม = 210 ksc; f c' ของคอนกรีต ฐานราก = 180 ksc วิธี WSD
ตัวเลือก
(1) 1620 กก
(2) 1890 กก
(3) 2160 กก
(4) 17718 กก
แนวคิด
ตามขอบัญญัติของ กทม. ขอ 67 กําหนดความฝด
67(1) สําหรับดินที่อยูระดับลึกไมเกิน 7 เมตร ใตระดับน้าํ ทะเลปานกลาง ใหใชคาหนวยแรง
ฝดของดินไดไมเกิน 600 กิโลกรัมตอหนึง่ ตารางเมตรของพื้นผิวประสิทธิผลของเสาเข็ม
67(2) สําหรับดินที่มีความลึกเกิน 7 เมตร ใตระดับน้ําทะเลปานกลาง คาหนวยแรงฝดของดิน
เฉพาะสวนที่ลึกเกินกวา 7 เมตรลงไป ใหคาํ นวณตามสมการตอไปนี้
หนวยแรงฝดเปนกิโลกรัมตอตารางเมตร = 800 + 200ย
เมื่อ ย = ความยาวของเสาเข็มเปนเมตรเฉพาะสวนที่ลึกเกินกวา 7 เมตรใตระดับน้ําทะเลปาน
กลาง
ตามโจทยขอนี้ เสาเข็มยาว 4.50 เมตร จึงลึกไมเกิน 7 เมตร หนวยแรงฝดของดินใช 600
กิโลกรัมตอตารางเมตร
พื้นผิวประสิทธิผลของเสาเข็ม = (0.15 + 0.15 + 0.15 + 0.15) × 4.50 = 2.7 m 2
แรงตานของเสาเข็มจากความฝดของดิน = 600 × 2.7 = 1620 kg
หัวเสาเข็มรับแรงแบกทานเต็มเนื้อที่ได (วสท)
= 0.25f c' A b = 0.25 × 210 × 15 × 15 = 11812.5 kg
ทองฐานรากรับแรงแบกทานนอยกวาหนึง่ ในสามของพืน้ ที่ รับแรงได (วสท)
= 0.37f c' A b = 0.37 × 180 × 15 × 15 = 14985 kg
เสาเข็มจะวิบัตใิ นกรณีที่ดินรับแรงฝดไมได
เสาเข็มรับแรงได 1620 กิโลกรัม
คําตอบ ขอ (1) 1620 กก

11
คําถามขอที่ 19
การรับแรงในแนวแกนของเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก สวนที่เปนเนื้อคอนกรีตถูกกําหนดใหรับความ
เคนสูงสุดไมเกินกี่เปอรเซ็นของความเคนสูงสุดที่คอนกรีตรับได สําหรับการออกแบบดวยวิธีกําลัง
ตัวเลือก
(1) 60%
(2) 75%
(3) 80%
(4) 85%
แนวคิด เมื่อเสารับแรงอัดตามแนวแกน เนื้อคอนกรีตจะรับแรงกดเพียง 85% กลาวคือ
P = 0.85f c' A g
คําตอบ ขอ (4) 85%

คําถามขอที่ 20
เหล็กปลอกในเสาทําหนาที่อะไร เมื่อเสารับแรงตามแนวแกน
ตัวเลือก
(1) เพื่อยึดเหล็กยืนไวใหอยูต ามตําแหนงที่ตองการ
(2) เพื่อใหระยะหุม (Covering) ถูกตองตามตองการ
(3) เพื่อชวยเสริมใหเสามีคุณสมบัติเหนียว (ductility)
(4) เพื่อชวยใหเสารับแรงดึงใหดีขนึ้
แนวคิด
เหล็กปลอกในเสาจะยึดใหเหล็กยืนมีชว งยาวไมมากเกินไปจนเกิดการโกงเดาะ รัดแกน
คอนกรีตภายในไมใหระเบิดออก ทําใหเสามีความเหนียว
คําตอบ ขอ (3) เพื่อชวยเสริมใหเสามีคุณสมบัติเหนียว (ductility)

12
คําถามขอที่ 21
คานคอนกรีตที่ไมมีเหล็กเสริม มีขนาดกวาง 15 cm ลึก 30 cm จงหาคาโมเมนตดัดสูงสุดที่ยอมใหที่
คานนี้รับได ถาคอนกรีตมีหนวยแรงอัดทีย่ อมให fc = 75 ksc และหนวยแรงดึงที่ยอมให ft = 15 ksc
ตัวเลือก
(1) 33750 kg.cm
(2) 67500 kg.cm
(3) 101250 kg.cm
(4) 168750 kg.cm
(5) 337500 kg.cm
แนวคิด จากวิชากําลังวัสดุ σ=
Mc
หรือ M = σI
I c
bh 15 × 30
3 3
เมื่อ I= = = 33750 cm 4 = โมเมนตอินเนอรเชียของหนาตัดคาน
12 12
h 30
c= = = 15 cm = ระยะจากแกนสะเทินถึงผิวบนสุดและลางสุด
2 2
กรณี σ = f c = 75 ksc
75 × 33750
M= = 168750 kg.cm
15
กรณี σ = f t = 15 ksc
15 × 33750
M= = 33750 kg.cm
15
คําตอบ ขอ (1) 33750 kg.cm
เฉลย ขอ (2) 67500 kg.cm (ผิดแนนอน)

คําถามขอที่ 22
มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธีกําลัง (SDM แบบเกาใชวา USD)กําหนดใหใชหนวยการยืดหดตัวประลัย
ของคอนกรีตมีคาเทากับเทาใด
ตัวเลือก
(1) 0.001 มม/มม
(2) 0.002 มม/มม
(3) 0.003 มม/มม
(4) 0.004 มม/มม
แนวคิด ทุกมาตรฐานกําหนดใหคอนกรีตวิบัติที่ ε = 0.003 mm / mm
คําตอบ ขอ (3)0.003 มม/มม

13
คําถามขอที่ 23
ฐานรากเดีย่ ว (Isolated Footing) มีความลึกประสิทธิผลเทากับ d จะเกิดการวิบัติเนื่องจากโมเมนต
ดัดที่บริเวณใด
ตัวเลือก
(1) บริเวณขอบเสาตอมอ
(2) ที่ระยะ d/4 จากขอบเสาตอมอ
(3) ที่ระยะ d/2 จากขอบเสาตอมอ
(4) ที่ระยะ d จากขอบเสาตอมอ
แนวคิด
หนาตัดวิกฤตของโมเมนตจะอยูที่ขอบเสาตอมอ ของแรงเฉือนแบบเจาะทะลุหาง d/2 รอบเสา
ตอมอ และของแรงเฉือนแบบคานหาง d จากขอบเสาตอมอ
คําตอบ ขอ (1) บริเวณขอบเสาตอมอ

คําถามขอที่ 24
ฐานรากเดีย่ ว (Isolated Footing) มีความลึกประสิทธิผลเทากับ d จะเกิดการวิบัติเนื่องจากแรงเฉือน
ทางเดียว (ฺBeam Shear) ที่บริเวณใด
ตัวเลือก
(1) บริเวณขอบเสาตอมอ
(2) ที่ระยะ d/4 จากขอบเสาตอมอ
(3) ที่ระยะ d/2 จากขอบเสาตอมอ
(4) ที่ระยะ d จากขอบเสาตอมอ
แนวคิด
หนาตัดวิกฤตของโมเมนตจะอยูที่ขอบเสาตอมอ ของแรงเฉือนแบบเจาะทะลุหาง d/2 รอบเสา
ตอมอ และของแรงเฉือนแบบคานหาง d จากขอบเสาตอมอ
คําตอบ ขอ (4) ที่ระยะ d จากขอบเสาตอมอ

14
คําถามขอที่ 25
ฐานรากเดีย่ ว (Isolated Footing) มีความลึกประสิทธิผลเทากับ d จะมีการวิบัติเนื่องจากแรงเฉือน
ทะลุ (Punching Shear) ที่บริเวณใด
ตัวเลือก
(1) บริเวณขอบเสาตอมอ
(2) ที่ระยะ d/4 จากขอบเสาตอมอ
(3) ที่ระยะ d/2 จากขอบเสาตอมอ
(4) ที่ระยะ d จากขอบเสาตอมอ
แนวคิด
หนาตัดวิกฤตของโมเมนตจะอยูที่ขอบเสาตอมอ ของแรงเฉือนแบบเจาะทะลุหาง d/2 รอบเสา
ตอมอ และของแรงเฉือนแบบคานหาง d จากขอบเสาตอมอ
คําตอบ ขอ (3) ที่ระยะ d/2 จากขอบเสาตอมอ

คําถามขอที่ 26
การจัดน้ําหนักบรรทุกจรในคานตอเนื่อง 3 ชวงเทาๆกัน และมีน้ําหนักบรรทุกคงที่ของคานเทากัน
ตลอด ขอใดใหแรงดัดลบมากที่สุด
ตัวเลือก
(1)

(2)

(3)

(4)

แนวคิด น้ําหนักจรวางบนชวงชิดกัน จะทําใหโมเมนตลบในคานตรงจุดรองรับนั้นสูงที่สุด

คําตอบ ขอ (3)

15
คําถามขอที่ 27
การจัดน้ําหนักบรรทุกจรในคานตอเนื่องที่มีความยาวชวงเทากัน และมีน้ําหนักบรรทุกจรคงที่เท
ากันตลอดขอใดใหผลของแรงดัดบวกมากที่สุด
ตัวเลือก
(1)

(2)

(3)

(4)

แนวคิด ใสน้ําหนักบรรทุกจรชวงเวนชวงสลับกันไปเรื่อย โมเมนตบวกทีก่ ลางชวงที่น้ําหนักจร


อยูทุกชวงจะมีคามากที่สุดของแตละชาวง

คําตอบ ขอ (4)

คําถามขอที่ 28
คอนกรีตของคานขนาด 0.20 × 0.50 สามารถรับแรงเฉือนไดเทาใดตามวิธีหนวยแรงใชงาน (WSD)
ถา f c' = 240 ksc, d = 0.45
ตัวเลือก
(1) 2043 kg
(2) 4043 kg
(3) 11084 kg
(4) 18404 kg
แนวคิด
กําลังรับแรงเฉือนของคอนกรีตในคาน Vc = 0.29 f c' bd
Vc = 0.29 240 × 20 × 45 = 4043 kg
คําตอบ ขอ (2) 4043 kg

16
คําถามขอที่ 29
การแตกราวของคานคอนกรีตไมเสริมเหล็กรับโมเมนตบิดรูปใดเปนคําตอบที่ถูกตอง

ตัวเลือก
(1) A
(2) B
(3) D
(4) E
แนวคิด
การพิจารณาเรือ่ งนี้ตองดูทิศทางการบิดประกอบดวย การแตกราวเกิดจากแรงดึงทแยงจากผล
ของแรงบิดจึงเปนแนวเฉียงๆ จะไมขนานตามยาวคานและไมตั้งฉากคาน และจะไมเฉียงไขวกัน จึง
ตัดรูป C,D,E ออกไป ทิศางการบิดตองพยายามทําใหรอยแตกราวอามากขึ้นไมใชหบุ แคบเขา จึงตัด
รูป A ออกไป เหลือเพียงรูป B ที่เปนไปได
คําตอบ ขอ (2) B

17
คําถามขอที่ 30
ในการทดสอบคานคอนกรีตเสริมเหล็กรับโมเมนตดัดแตไมมีการเสริมเหล็กปลอกเกิดการแตกราว
ดังรูป รอยราวมีการกํากับหมายเลขไว คําตอบขอใดเปนการแตก ราวเนื่องจากโมเมนตดัด แรงเฉือน
และผลรวมระหวางโมเมนตดัดและแรงเฉือน เรียงตามลําดับหมายเลข

ตัวเลือก
(1) 1,2,3
(2) 3,2,1
(3) 3,1,2
(4) 2,3,1
แนวคิด
รอยราวที่เกิดจากโมเมนตดดั หรือแรงดัดจะตั้งฉากกับแกนคาน คือ หมายเลข 3 มักจะเกิด
บริเวณกลางคานซึ่งมีโมเมนตมากแตแรงเฉือนนอย
รอยราวที่เกิดจากแรงเฉือนจะเฉียงๆ ประมาณ 45 องศา คือหมายเลข 1 ที่จะเกิดบริเวณจุด
รองรับซึ่งแรงเฉือนมากแตโมเมนตดัดนอย
รอยราวที่เกิดจากโมเมนตรวมกับแรงเฉือนจะมีลักษณะตัง้ ฉากแกนคานจากผลของโมเมนต
ดัด แลวคอยเอียงจากผลของแรงเฉือน คือหมายเลข 2 เกิดบริเวณหางจากจุดรองรับออกมาไปหา
กลางคานที่มีทั้งแรงเฉือนและโมเมนตดัด
ดังนั้น ผลจากโมเมนต หมายเลข 3 ผลจากแรงเฉือน หมายเลข 1 ผลจากโมเมนตและแรง
เฉือน หมายเลข 2 เรียงลําดับ 3,1,2
คําตอบ ขอ (3) 3,1,2

18
คําถามขอที่ 31
ในการทดสอบคานคอนกรีตเสริมเหล็กทีม่ ีการเสริมเหล็กปลอกอยางเพียงพอทีจ่ ะไมเกิดการวิบัติ
โดยแรงเฉือน โดยมีขนาดหนาตัดเทากันแตเสริมเหล็กรับโมเมนตดัดแตกตางกัน แลวไดความ
สัมพันธระหวางน้ําหนักบรรทุกกับการแอนตัวที่กึ่งกลางคานดังแสดงดังรูปที่ (1) ถึง (5) ถาเสน
กราฟ A เปนของหนาตัดแบบ Underreinforce B เปนของหนาตัดแบบ Balance และC เปนของหน
าตัดแบบ Overreinforce รูปใดเปนคําตอบที่ถูกตอง

ตัวเลือก
(1) รูปที่ (1)
(2) รูปที่ (2)
(3) รูปที่ (4)
(4) รูปที่ (5)
แนวคิด
เมื่อ A เปน Underreinforce เสริมเหล็กรับแรงดึงนอยกวาคาสมดุล คานจะโกงตัวไดมาก
กอนที่จะหัก รูปที่เปนไปไดคือ (3) และ (5) ที่ Δ หรือระยะโกงของกราฟ A มากกวาเสนอื่น
เมื่อ B เปน Balance เสริมเหล็กรับแรงดึงในปริมาณสมดุล คานจะโกงตัวไดปานกลาง
เมื่อ C เปน Overreinforce เสริมเหล็กรับแรงดึงมากกวาคาสมดุล คานจะเปราะ โกงตัวไดนอย
แลวหักเร็วกวากรณีอื่น ดังนัน้ รูปที่เปนไปไดจึงเหลือเพียงรูปที่ (5)
คําตอบ ขอ (4) รูปที่ (5)

19
คําถามขอที่ 32
มาตรฐาน ว.ส.ท. กําหนดวา � ของอมาตรฐาน� สามารถตานแรงดึงใชงานไดเทากับ 700 กก./
ตร.ซม. ดังนั้น ระยะ Lx อยางนอยที่ตองฝงเหล็กกลมเรียบ (RB 15 มม.) จากหนาตัดวิกฤต (critical
section) มีคาเทาใด กําหนดใหหนวยแรงยึดเหนีย่ วที่ยอมให u = 11 กก./ตร.ซม.(สูตรคํานวณ L =
dbfs/4u)

ตัวเลือก
(1) 40 ซม
(2) 20 ซม
(3) 17 ซม
(4) 15 ซม
แนวคิด
เหล็กผิวเรียบรับหนวยแรงได 1200 กก/ตร.ซม สวนของของอมาตรฐานรับหนวยแรงไปแลว
700 กก/ตร.ซม เหลือใหสวนระยะฝง (1200-700) กก/ตร.ซม ดังนั้นหาระยะฝงได
d f 1.5 × (1200 − 700)
จากสูตร L = b s = = 17.04 cm
4 × 11
x
4u
คําตอบ ขอ (3) 17 ซม

20
คําถามขอที่ 33
ถาไมทํา � ของอมาตรฐาน� ระยะทีต่ องฝงเหล็กกลมเรียบ (RB 15 มม.) จากหนาตัดวิกฤต
(critical section) มีคาประมาณเทาใด กําหนดใหหนวยแรงยึดเหนี่ยว ทีย่ อมให u = 11 กก./ตร.ซม

ตัวเลือก
(1) 50 ซม
(2) 40 ซม
(3) 35 ซม
(4) 30 ซม
แนวคิด
เหล็ก RB 15 mm มีหนวยแรงดึงสูงสุด fs = 1200 ksc เมื่อไมงอของอมาตรฐานที่ชวงแบง
หนวยแรงไป 700 ksc ดังนั้นระยะฝงจึงตองรับเต็มทั้ง 1200 ksc
d b f s 1.5 × 1200
สูตร Lx = = = 40.9 cm
4u 4 × 11
คาที่ใกลเคียงคือ 40 ซม
คําตอบ ขอ (2) 40 ซม

21
22
คําถามขอที่ 34
ขอความใดตอไปนี้ที่มิใชมาตรฐานกําหนดของ ว.ส.ท.(หมายเหตุ d= ความลึกประสิทธิผล, db =
ขนาดเสนผานศูนยกลางของเหล็กเสริม)
(1) ตองยื่นเหล็กเสริมที่ใชรับโมเมนตดัดใหเลยจากจุดที่ไมตองการทางทฤษฏีออกไปอีก อยาง
นอยเทากับ d หรือ 12 db โดยใชคาที่มากกวา
(2) ตองยื่นเหล็กเสริมอยางนอย 1 ใน 3 ของเหล็กเสริมที่ใชรับโมเมนตบวกทั้งหมดในคานชวง
เดี่ยว เลยเขาไปในฐานรองรับเปนระยะไมนอยกวา 15 ซม
(3) ตองยื่นเหล็กเสริมอยางนอย 1 ใน 4 ของเหล็กเสริมที่ใชรับโมเมนตบวกทั้งหมดในคานตอ
เนื่อง เลยเขาไปในฐานรองรับเปนระยะไมนอยกวา 15 ซม
(4) ตองยื่นเหล็กเสริมอยางนอย 1 ใน 3 ของเหล็กเสริมที่ใชรับโมเมนตลบทั้งหมดเลยจาก
ตําแหนงของจุดดัดกลับเปนระยะไมนอยกวา d หรือ 12 db หรือ 1/18 ของระยะชวงวางของ
คาน โดยใชคาที่มากกวา
แนวคิด
ขอ (1) มาตรฐาน วสท. 4901(ข) แตควรมีขอความ “ยกเวนเหล็กเสริม ณ ที่รองรับ” ตอทายดวย
ขอ (2) และขอ (3) มาตรฐาน วสท. 4901(ฉ)
ขอ (4) เกือบเหมือนมาตรฐาน วสท.ขอ 4901(จ) ทีแ่ ตกตางคือ 1/16 ของระยะชวงวาง ไมใช 1/18
คําตอบ ขอ (4) ผิดที่ 1/18 ที่ถูกตองคือ 1/16

คําถามขอที่ 35
นอกเหนือจากกําลังของวัสดุและขนาดของเหล็กเสริมที่ใช กําลังยึดเหนีย่ วยังขึ้นอยูกับ
ตัวเลือก
(1) ระยะคอนกรีตที่หุมเหล็กเสริม
(2) ระยะหางระหวางเหล็กเสริม
(3) การเสริมเหล็กทางขวาง
(4) ถูกทุกขอ
แนวคิด
หากดูบทที่ 5 การยึดเหนี่ยวและระยะฝงยึดเหล็กเสริม หนังสือการออกแบบโครงสราง
คอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีกาํ ลัง ศาสตราจารย ดร. วินิต ชอวิเชียร ก็จะทราบวาทั้ง (1),(2) และ (3)
ถูกหมด
คําตอบ ขอ (4) ถูกทุกขอ

22
คําถามขอที่ 36
ขอใดไมถูกตองตรงตามมาตรฐาน ว.ส.ท. ของวิธีหนวยแรงใชงาน
(1) หนวยแรงเฉือนที่ยอมใหของคอนกรีต ≤ 0.29 f c' กก/ซม2
(2) หนวยแรงเฉือนที่ยอมใหของคานคอนกรีตเสริมเหล็ก ≤ 1.35 f c' กก/ซม2
(3) ถาหนวยแรงเฉือนในคานคอนกรีตเสริมเหล็กนอยกวา 0.795 f c' กก/ซม2 ใหใชระยะหาง
ของเหล็กปลอกไดไมเกินกวา d/2
(4) ถาหนวยแรงเฉือนในคานคอนกรีตเสริมเหล็กมากกวา 0.795 f c' กก/ซม2 ใหใชระยะหาง
ของเหล็กปลอกไดไมเกินกวา d/4
แนวคิด
มาตรฐาน วสท.ขอ 6301 (ค) คา vc = 0.29 f c' เปนสวนที่คอนกรีตรับเอาไว ที่เหลือให
เหล็กปลอกรับไว ที่เขาขายขอนี้คือขอ (1)
มาตรฐาน วสท.ขอ 6306(ก) ในกรณีที่ 0 ≤ ⎛⎜ v = V⎞
⎟ ≤ 0.795 f c
'
ระยะเรียงเหล็กเสริม
⎝ bd ⎠
ทางขวางไมเกิน d/2 กรณีนี้คือขอ (3) แตถา v > 0.795 f c' ระยะเรียงเหล็กเสริมทางขวางไมเกิน
d/4 กรณีนี้คือขอ (4)
มาตรฐาน วสท ขอ 6305(ข) หนวยแรงเฉือน v ≤ 1.32 f c' สําหรับหนาตัดที่เสริมเหล็กรับ
แรงเฉือน ขอที่คลายคือ (2) แตผิดที่เปน v ≤ 1.35 f c' ดังนั้น
คําตอบ ขอ (2)หนวยแรงเฉือนที่ยอมใหของคานคอนกรีตเสริมเหล็ก ≤ 1.35 f c' กก/ซม2

23
คําถามขอที่ 37
จงหาคาโมเมนตบิดที่กระทําตรงหนาตัดวิกฤตของคานรองรับบันไดแบบยื่น ดังแสดง กําหนดให
ความกวางของบันได = 1.50 เมตร ระยะชวงวางระหวางเสา (ตาม แนวราบ) = 2.50 เมตร น้ําหนัก
บรรทุกจรใชงาน = 500 กก./ตร.ม. ขนาดคานรองรับเทากับ 25 x 50 ซม. d = 45 ซม

ตัวเลือก
(1) 371 กก.เมตร
(2) 450 กก.เมตร
(3) 821 กก.เมตร
(4) 1282.5 กก.เมตร
แนวคิด
น้ําหนักขั้นบันไดหนึ่งขัน้ = 2400[0.10 × 0.28 + 0.10 × (0.25 − 0.10)] = 103.2 kg / 0.25m
ลูกนอนบันได 0.25 เมตร ดังนั้นน้ําหนักขันบันไดตอความยาว 1 เมตรทางราบคือ
103.2
= = 412.8 kg / m
0.25
น้ําหนักบรรทุกจร 500 kg / m 2 เมื่อคิดตอความยาว 1 เมตร ได 500 kg / m
น้ําหนักบรรทุกรวม w = 412.8 + 500 = 912.8 kg / m
โมเมนตดัดจากขั้นบันไดยาว 1 เมตร ที่ศูนยกลางคานเปลี่นไปเปนโมเมนตบิดกระทําตอคาน คือ
1.50
M t = 912.8 × 1.50 × = 1026.9 kg.m / m
2
หนาตัดวิกฤตที่ระยะ d = 0.45 m จากปลายคานทั้งสองขาง ปลายคานแตละขางรับโมเมนตบิด
เทากันแบงปลายละครึ่ง นั่นคือ

24
× 1026.9 × (2.50 − 0.45 − 0.45)
1
Mt =
2
M t = 821.52 kg.m
คําตอบ ขอ (3) 821 กก.เมตร

คําถามขอที่ 38
บันไดพาดทางชวงกวางกับแมบันไดทั้งสองขาง ถาใหชวงกวางระหวางแมบันได = 1.50 เมตร
ขั้นบันไดกวาง = 25 ซม. สวนยก = 15 ซม. ความหนาของพื้นบันได = 7.5 ซม. น้ําหนักบรรทุก
จรใชงาน = 400 กก./ ม2 จงประมาณคาน้ําหนักบรรทุกใชงานทั้งหมดในทางราบ
ตัวเลือก
(1) 500 กก/ม2
(2) 600 กก/ม2
(3) 800 กก/ม2
(4) 1000 กก/ม2
แนวคิด
ความเอียงของบันได tan θ = 15 = 3 ได sin θ = 3
=
3
และ cos θ = 5
25 5 32 + 52 34 34

เนื้อที่ตัวขั้นบันได A1 = 1 × 0.25 × 0.15 = 0.01875 m 2

2
0.25 34
เนื้อที่พื้นบันได A 2 = 0.075 × = 0.01875 × = 0.00375 34 m 2
cos θ 5
รวมพื้นที่บันไดหนึ่งขั้น (ซึ่งกวาง 0.25 เมตร) คือ A = 0.01875 + 0.00375 34 m 2
น้ําหนักบันไดหนึ่งขั้นคือ
( )
w D = 2400 × 0.01875 + 0.00375 34 = 97.47856705 kg / 0.25 m 2
97.47856705
wD = = 389.9142682 ≈ 390 ⇒ 400 kg / m 2
0.25
แตน้ําหนักบรรทุกจร 400 กก/ม2
น้ําหนักบรรทุกรวม w = 390 + 400 = 790 kg / m 2 ≈ 800 kg / m 2
คําตอบ ขอ (3) 800 กก/ม2

25
คําถามขอที่ 39
บันไดพาดทางชวงกวางกับแมบันไดทั้งสองขาง ถาใหชวงกวางระหวางแมบันได = 2.50 เมตร
ขั้นบันไดกวาง = 25 ซม. สวนยก = 15 ซม. ความหนาของพื้นบันได = 7.5 ซม. น้ําหนักบรรทุก
จรใชงาน = 500 กก./ ม2 จงประมาณคาน้ําหนักบรรทุกใชงานทั้งหมดในทางราบ
ตัวเลือก
(1) 700 กก/ม2
(2) 800 กก/ม2
(3) 900 กก/ม2
(4) 1000 กก/ม2
แนวคิด
ความเอียงของบันได tan θ = 15 = 3 ได sin θ = 3
=
3
และ cos θ = 5
25 5 2
3 +5 2
34 34
1
เนื้อที่ตัวขั้นบันได A1 = × 0.25 × 0.15 = 0.01875 m 2
2

เนื้อที่พื้นบันได A 2 = 0.075 × 0.25 = 0.01875 × 34 = 0.00375 34 m 2


cos θ 5
รวมพื้นที่บันไดหนึ่งขั้น (ซึ่งกวาง 0.25 เมตร) คือ A = 0.01875 + 0.00375 34 m 2
น้ําหนักบันไดหนึ่งขั้นคือ
( )
w D = 2400 × 0.01875 + 0.00375 34 = 97.47856705 kg / 0.25 m 2
97.47856705
wD = = 389.9142682 ≈ 390 ⇒ 400 kg / m 2
0.25
แตน้ําหนักบรรทุกจร 500 กก/ม2
น้ําหนักบรรทุกรวม w = 390 + 500 = 890 kg / m 2 ≈ 900 kg / m 2
คําตอบ ขอ (3) 900 กก/ม2

26
คําถามขอที่ 40
บันไดพาดทางชวงกวางกับแมบันไดทั้งสองขาง ถาใหชวงกวางระหวางแมบันได = 2.50 เมตร
ขั้นบันไดกวาง = 30 ซม. สวนยก = 15 ซม. ความหนาของพื้นบันได = 7.5 ซม. น้ําหนักบรรทุก
จรใชงาน = 400 กก./ ม2 จงประมาณคาน้ําหนักบรรทุกใชงานทั้งหมดในทางราบ
ตัวเลือก
(1) 600 กก/ม2
(2) 700 กก/ม2
(3) 800 กก/ม2
(4) 900 กก/ม2
แนวคิด
1 1
ความเอียงของบันได tan θ = 15 = 1 ได sin θ = = และ cos θ = 2
30 2 2
1 +2 2
5 5
1
เนื้อที่ตัวขั้นบันได A1 = × 0.30 × 0.15 = 0.0225 m 2
2

เนื้อที่พื้นบันได A 2 = 0.075 × 0.30 = 0.0225 × 5 = 0.01125 5 m 2


cos θ 2
รวมพื้นที่บันไดหนึ่งขั้น (ซึ่งกวาง 0.30 เมตร) คือ A = 0.0225 + 0.01125 5 m 2
น้ําหนักบันไดหนึ่งขั้นคือ
( )
w D = 2400 × 0.0225 + 0.01125 5 = 114.3738354 kg / 0.30 m 2
114.37383.54
wD = = 381.246118 ≈ 381 ⇒ 400 kg / m 2
0.30
แตน้ําหนักบรรทุกจร 400 กก/ม2
น้ําหนักบรรทุกรวม w = 381 + 400 = 781 kg / m 2 ≈ 800 kg / m 2
คําตอบ ขอ (3) 800 กก/ม2

27
คําถามขอที่ 41
บันไดพาดทางชวงกวางกับแมบันไดทั้งสองขาง ถาใหชวงกวางระหวางแมบันได = 1.50 เมตร
ขั้นบันไดกวาง = 25 ซม. สวนยก = 15 ซม. ความหนาของพื้นบันได = 7.5 ซม. น้ําหนักบรรทุก
จรใชงาน = 400 กก./ ม2 จงประมาณคาน้ําหนักบรรทุกประลัยทั้งหมดในทางราบ
ตัวเลือก
(1) 1000 กก/ม2
(2) 1150 กก/ม2
(3) 1250 กก/ม2
(4) 1500 กก/ม2
แนวคิด
3 3
ความเอียงของบันได tan θ = 15 = 3 ได sin θ = = และ cos θ = 5
25 5 2
3 +52
34 34
1
เนื้อที่ตัวขั้นบันได A1 = × 0.25 × 0.15 = 0.01875 m 2
2

เนื้อที่พื้นบันได A 2 = 0.075 × 0.25 = 0.01875 × 34 = 0.00375 34 m 2


cos θ 5
รวมพื้นที่บันไดหนึ่งขั้น (ซึ่งกวาง 0.25 เมตร) คือ A = 0.01875 + 0.00375 34 m 2
น้ําหนักบันไดหนึ่งขั้นคือ
( )
w D = 2400 × 0.01875 + 0.00375 34 = 97.47856705 kg / 0.25 m 2
97.47856705
wD = = 389.9142682 ≈ 390 ⇒ 400 kg / m 2
0.25
แตน้ําหนักบรรทุกจร 400 กก/ม2
น้ําหนักบรรทุกประลัยรวม w = 1.4 × 390 + 1.7 × 400 = 1,226 kg / m 2 ≈ 1250 kg / m 2
คําตอบ ขอ (3) 1250 กก/ม2

28
คําถามขอที่ 42
บันไดพาดทางชวงกวางกับแมบันไดทั้งสองขาง ถาใหชวงกวางระหวางแมบันได = 2.50 เมตร
ขั้นบันไดกวาง = 25 ซม. สวนยก = 15 ซม. ความหนาของพื้นบันได = 7.5 ซม. น้ําหนักบรรทุก
จรใชงาน = 500 กก./ ม2 จงประมาณคาน้ําหนักบรรทุกประลัยทั้งหมดในทางราบ
ตัวเลือก
(1) 1150 กก/ม2
(2) 1250 กก/ม2
(3) 1300 กก/ม2
(4) 1400 กก/ม2
แนวคิด
3 3
ความเอียงของบันได tan θ = 15 = 3 ได sin θ = = และ cos θ = 5
25 5 2
3 +52
34 34
1
เนื้อที่ตัวขั้นบันได A1 = × 0.25 × 0.15 = 0.01875 m 2
2

เนื้อที่พื้นบันได A 2 = 0.075 × 0.25 = 0.01875 × 34 = 0.00375 34 m 2


cos θ 5
รวมพื้นที่บันไดหนึ่งขั้น (ซึ่งกวาง 0.25 เมตร) คือ A = 0.01875 + 0.00375 34 m 2
น้ําหนักบันไดหนึ่งขั้นคือ
( )
w D = 2400 × 0.01875 + 0.00375 34 = 97.47856705 kg / 0.25 m 2
97.47856705
wD = = 389.9142682 ≈ 390 ⇒ 400 kg / m 2
0.25
แตน้ําหนักบรรทุกจร 500 กก/ม2
น้ําหนักบรรทุกประลัยรวม w = 1.4 × 390 + 1.7 × 500 = 1396 kg / m 2 ≈ 1400 kg / m 2
คําตอบ ขอ (4) 1400 กก/ม2

29
คําถามขอที่ 43
บันไดพาดทางชวงกวางกับแมบันไดทั้งสองขาง ถาใหชวงกวางระหวางแมบันได = 1.50 เมตร
ขั้นบันไดกวาง = 25 ซม. สวนยก = 15 ซม. ความหนาของพื้นบันได = 7.5 ซม. น้ําหนักบรรทุก
จรใชงาน = 400 กก./ ม2 จงประมาณคาโมเมนตดัดใชงานสูงสุดที่พื้นบันไดตองรับ
ตัวเลือก
(1) 150 กก.ม/ม
(2) 175 กก.ม/ม
(3) 225 กก.ม/ม
(4) 275 กก.ม/ม
แนวคิด
ตัดบันไดกวาง 1 เมตร

น้ําหนักบันไดหนึ่งขั้น 2400 × ⎡⎢ 1 × 0.25 × 0.15 + 0.075 × 0.252 + 0.152 ⎥ = 97.5 kg
⎣2 ⎦
น้ําหนักแผของบันได DL = 97.5 = 389.9 ≈ 390 ⇒ 400 kg / m 2
0.25
น้ําหนักบรรทุกรวม w = DL + LL = 390 + 400 = 790 kg / m 2
โมเมนตดัดกลางชวงบันได
wL2 790 × 1.502
M= = = 222.1875 ≈ 225 kg.m / m
8 8
คําตอบ ขอ (3) 225 กก.ม/ม

30
คําถามขอที่ 44
บันไดพาดทางชวงกวางกับแมบันไดทั้งสองขาง ถาใหชวงกวางระหวางแมบันได = 1.50 เมตร
ขั้นบันไดกวาง = 25 ซม. สวนยก = 15 ซม. ความหนาของพื้นบันได = 7.5 ซม. น้ําหนักบรรทุก
จรใชงาน = 400 กก./ ม2 จงประมาณคาโมเมนตดัดประลัยสูงสุดที่พื้นบันไดตองรับ
ตัวเลือก
(1) 280 กก.ม/ม
(2) 300 กก.ม/ม
(3) 350 กก.ม/ม
(4) 400 กก.ม/ม
แนวคิด
ตัดบันไดกวาง 1 เมตร

น้ําหนักบันไดหนึ่งขั้น 2400 × ⎡⎢ 1 × 0.25 × 0.15 + 0.075 × 0.252 + 0.152 ⎥ = 97.5 kg
⎣2 ⎦
น้ําหนักแผของบันได DL = 97.5 = 389.9 ≈ 390 ⇒ 400 kg / m 2
0.25
น้ําหนักบรรทุกรวมเพิ่มคา w u = 1.4DL + 1.7LL = 1.4 × 390 + 1.7 × 400 = 1226 kg / m 2
โมเมนตดัดกลางชวงบันได
w u L2 1226 × 1.502
Mu = = = 344.8125 ≈ 350 kg.m / m
8 8
คําตอบ ขอ (3) 350 กก.ม/ม

31
คําถามขอที่ 45
บันไดพาดทางชวงกวางกับแมบันไดทั้งสองขาง ถาใหชวงกวางระหวางแมบันได = 2.50 เมตร
ขั้นบันไดกวาง = 25 ซม. สวนยก = 15 ซม. ความหนาของพื้นบันได = 7.5 ซม. น้ําหนักบรรทุก
จรใชงาน = 400 กก./ ม2 จงประมาณคาโมเมนตดัดใชงานสูงสุดที่พื้นบันไดตองรับ
ตัวเลือก
(1) 470 กก.ม/ม
(2) 625 กก.ม/ม
(3) 780 กก.ม/ม
(4) 850 กก.ม/ม
แนวคิด
ตัดบันไดกวาง 1 เมตร

น้ําหนักบันไดหนึ่งขั้น 2400 × ⎡⎢ 1 × 0.25 × 0.15 + 0.075 × 0.252 + 0.152 ⎥ = 97.5 kg
⎣2 ⎦
น้ําหนักแผของบันได DL = 97.5 = 389.9 ≈ 390 ⇒ 400 kg / m 2
0.25
น้ําหนักบรรทุกรวม w = DL + LL = 390 + 400 = 790 kg / m 2
โมเมนตดัดกลางชวงบันได
wL2 790 × 2.502
M= = = 617.1875 ≈ 625 kg.m / m
8 8
คําตอบ ขอ (2) 625 กก.ม/ม

32
คําถามขอที่ 46
บันไดพาดทางชวงกวางกับแมบันไดทั้งสองขาง ถาใหชวงกวางระหวางแมบันได = 2.50 เมตร
ขั้นบันไดกวาง = 25 ซม. สวนยก = 15 ซม. ความหนาของพื้นบันได = 7.5 ซม. น้ําหนักบรรทุก
จรใชงาน = 400 กก./ ม2 จงประมาณคาโมเมนตดัดประลัยสูงสุดที่พื้นบันไดตองรับ (ว.ส.ท.)
ตัวเลือก
(1) 900 กก.ม/ม
(2) 1000 กก.ม/ม
(3) 1100 กก.ม/ม
(4) 1200 กก.ม/ม
แนวคิด
ตัดบันไดกวาง 1 เมตร

น้ําหนักบันไดหนึ่งขั้น 2400 × ⎡⎢ 1 × 0.25 × 0.15 + 0.075 × 0.252 + 0.152 ⎥ = 97.5 kg
⎣2 ⎦
น้ําหนักแผของบันได DL = 97.5 = 389.9 ≈ 390 ⇒ 400 kg / m 2
0.25
น้ําหนักบรรทุกรวมเพิ่มคา w u = 1.4DL + 1.7LL = 1.4 × 390 + 1.7 × 400 = 1226 kg / m 2
โมเมนตดัดกลางชวงบันได
w u L2 1226 × 2.502
Mu = = = 957.8125 ≈ 960 kg.m / m
8 8
คําตอบ ขอ (3) ที่จริงไมมีคําตอบที่ถูกตอง ควรแกไขดังนี้
(1) 900 กก.ม/ม
(2) 920 กก.ม/ม
(3) 960 กก.ม/ม
(4) 980 กก.ม/ม

33
คําถามขอที่ 47
คานรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด 0.20x0.50 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอยางเดียวที่ระยะ d = 0.45 ม. โดย
ใช As = 7.07 ซม2 f c' = 100 กก./ซม2 และ fy = 2400 กก./ซม2 จงประมาณคาโมเมนตดัดที่ทําให
คานราว (cracking moment) สมมติไมคิดผลของเหล็กเสริมที่ใช
(1) 1650 กก.เมตร
(2) 1880 กก.เมตร
(3) 2000 กก.เมตร
(4) 2080 กก.เมตร
แนวคิด
เมื่อไมคิดผลของเหล็กเสริม แกนสะเทินอยูตรงกลาง
bh 3 20 × 502 2500000
I= = = cm 4
12 12 12
h 50
y= = = 25 cm
2 2
f r I t 2.0 f c I t 2.0 100 × 2500000
'
M cr = = =
y y 12 × 25
M cr = 166,667 kg.cm = 1667 kg.m
คําตอบ ขอ (1) 1650 กก.เมตร ใกลเคียงที่สุด

34
คําถามขอที่ 48
คานรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด 0.15x0.45 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอยางเดียวที่ระยะ d = 0.40 ม. โดย
ใช As = 5.30 ซม2 f c' = 200 กก./ซม2 และ fy = 2400 กก./ซม2 จงประมาณคาโมเมนตดัดที่ทําให
คานราว (cracking moment) สมมติไมคิดผลของเหล็กเสริมที่ใช
ตัวเลือก
(1) 1450 กก.เมตร
(2) 1550 กก.เมตร
(3) 1600 กก.เมตร
(4) 1700 กก.เมตร
แนวคิด
เมื่อไมคิดผลของเหล็กเสริม แกนสะเทินอยูตรงกลาง
bh 3 15 × 453
I= = = 113906.25 cm 4
12 12
h 45
y= = = 22.5 cm
2 2
fI 2.0 f c' I t 2.0 200 × 113906.25
M cr = r t = =
y y 22.5
M cr = 143189 kg.cm = 1432 kg.m
คําตอบ ขอ (1) 1450 กก.เมตร ใกลเคียงที่สุด

35
คําถามขอที่ 49
คานรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด 0.20x0.50 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอยางเดียวที่ระยะ d = 0.45 ม. โดย
ใช As = 5.30 ซม2 f c' = 100 กก./ซม2 และ fy = 2400 กก./ซม2 จงใชวธิ ี WSD ประมาณกําลังรับ
โมเมนตดัดใชงาน สมมติใหตําแหนงแนวแกนสะเทิน kd = 15 ซม
ตัวเลือก
(1) 2400 กก.เมตร
(2) 2500 กก.เมตร
(3) 2650 กก.เมตร
(4) 2400 กก.เมตร ควรแกเปน 2700 กก.เมตร
แนวคิด
f c = 0.45f c' = 0.45 × 100 = 45 ksc
f s = 0.5f y = 0.5 × 2400 = 1200 ksc
1 1
C= f c kdb = × 45 × 15 × 20 = 6750 kg
2 2
T = f s A s = 1200 × 5.30 = 6360 kg
⎛ kd ⎞ ⎛ 0.15 ⎞
ดังนั้น M = T⎜ d − ⎟ = 6360 × ⎜ 0.45 − ⎟ = 2544 kg.m
⎝ 3 ⎠ ⎝ 3 ⎠
คําตอบ ขอ (2) 2500 กก.เมตร ใกลเคียงที่สุด

36
คําถามขอที่ 50
คานรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด 0.20x0.50 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอยางเดียวที่ระยะ d = 0.45 ม. โดย
ใช As = 7.07 ซม2 f c' = 100 กก./ซม2 และ fy = 2400 กก./ซม2 จงใชวธิ ี WSD ประมาณกําลังรับ
โมเมนตดัดใชงาน สมมติใหตําแหนงแนวแกนสะเทิน kd = 15 ซม
ตัวเลือก
(1) 2650 กก.เมตร
(2) 2950 กก.เมตร
(3) 3400 กก.เมตร
(4) 3550 กก.เมตร
แนวคิด
f c = 0.45f c' = 0.45 × 100 = 45 ksc
f s = 0.5f y = 0.5 × 2400 = 1200 ksc
1 1
C = f c kdb = × 45 × 15 × 20 = 6750 kg
2 2
T = f s A s = 1200 × 7.07 = 8484 kg
⎛ kd ⎞ ⎛ 0.15 ⎞
ดังนั้น M = C⎜ d − ⎟ = 6750 × ⎜ 0.45 − ⎟ = 2700 kg.m
⎝ 3 ⎠ ⎝ 3 ⎠
คําตอบ ขอ (2) 2650 กก.เมตร ใกลเคียงที่สุด

37
คําถามขอที่ 51
คานรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด 0.15x0.45 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอยางเดียวที่ระยะ d = 0.39 ม. โดย
ใช As = 9.36 ซม2 f c' = 200 กก./ซม2 และ fy = 3000 กก./ซม2 จงใชวิธี USD หรือ SDM ประมาณ
กําลังรับโมเมนตดัดประลัย (Mu) สมมติคา jd = 33.5 ซม
ตัวเลือก
(1) 8000 กก.เมตร
(2) 8450 กก.เมตร
(3) 9400 กก.เมตร
(4) 9900 กก.เมตร
แนวคิด
⎛ f ⎞
R u = ρf y ⎜⎜1 − 0.59ρ y' ⎟⎟
⎝ fc ⎠
M u = φR u bd 2

As 9.36
ρ= = = 0.016
bd 15 × 39
⎛ 3000 ⎞
R u = 0.016 × 3000 × ⎜1 − 0.59 × 0.016 × ⎟ = 41.2032
⎝ 200 ⎠
M u = 0.9 × 41.2032 × 15 × 392 = 846,046 kg.cm
M u = 8460 kg.m
คําตอบ ขอ (2) 8450 กก.เมตร ใกลเคียงที่สุด

38
คําถามขอที่ 52
คานรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด 0.25x0.60 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอยางเดียวที่ระยะ d = 0.50 ม. โดย
ใช As = 12.5 ซม2 f c' = 250 กก./ซม2 และ fy = 4000 กก./ซม2 จงใชวิธี USD หรือ SDM ประมาณ
กําลังรับโมเมนตดัดประลัย (Mu) สมมติคา jd = 45 ซม
ตัวเลือก
(1) 19120 กก.เมตร
(2) 20250 กก.เมตร
(3) 22500 กก.เมตร
(4) 24250 กก.เมตร
แนวคิด
⎛ f ⎞
R u = ρf y ⎜⎜1 − 0.59ρ y' ⎟⎟
⎝ fc ⎠
M u = φR u bd 2

As 12.5
ρ= = = 0.01
bd 25 × 50
⎛ 4000 ⎞
R u = 0.01 × 4000 × ⎜1 − 0.59 × 0.01 × ⎟ = 36.224
⎝ 250 ⎠
M u = 0.9 × 36.224 × 25 × 50 2 = 2037600 kg.cm
M u = 20376 kg.m
คําตอบ ขอ (2) 20250 กก.เมตร ใกลเคียงที่สุด

39
คําถามขอที่ 53
คานรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด 0.20x0.50 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอยางเดียวที่ระยะ d = 0.45 ม. โดย
ใช As = 36 ซม2 f c' = 200 กก./ซม2 และ fy = 2400 กก./ซม2 ตามวิธี USD พบวา คานนี้เปนแบบ
ตัวเลือก
(1) over-reinforced
(2) balanced-reinforcement
(3) under-reinforced
(4) lightly-reinforcement
แนวคิด
วิธีกําลังประลัย USD (Ultimate Strength Design) ปจจุบันเรียก วิธีกาํ ลัง SDM (Strength Design
Method) กรณีโครงสรางรับโมเมนตดัดและเสริมเฉพาะเหล็กรับแรงดึงนั้น
As 36
ให ρ= = = 0.04
bd 20 × 45
f c' = 200 ksc < 280 ksc ดังนั้น β1 = 0.85
0.85f c' 6120 0.85 × 200 6120
ρb = β1 = 0.85 × × = 0.043248239
f y 6120 + f y 2400 6120 + 2400
ρmax = 0.75ρ b = 0.032436179
กรณีที่ ρ > ρb เรียกวา over-reinforced
กรณีที่ ρ < ρb เรียกวา under-reinforced
กรณีที่ ρ = ρb เรียกวา balanced-reinforcement
แตเนื่องจากความคลาดเคลื่อนในการกอสรางมีโอกาสเกิดไดงาย มาตรฐาน วสท. กําหนดใหใช
ρmax เปนตัวกําหนดแทน ρb เพื่อบอกวาเปนแบบ over หรือ under กรณีคําถามนี้จึงเปน over ขอ
(1)
คําตอบ ขอ (1) over-renforced

40
คําถามขอที่ 54
คานรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด 0.15x0.35 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอยางเดียวที่ระยะ d = 0.30 ม. โดย
ใช As = 6.75 ซม2 f c' = 150 กก./ซม2 และ fy = 2400 กก./ซม2 ตามวิธี WSD พบวา คานนี้เปนแบบ
ตัวเลือก
(1) over-reinforced
(2) balanced-reinforcement
(3) under-reinforced
(4) lightly-reinforcement
แนวคิด
ปริมาณเหล็กเสริม A s > AsR เปน over-reinforced ถา A s = AsR เปน balanced-reinforcement และ
ถา As < ASR เปน under-reinforced นัน่ คือตองหา AsR ใหได
f c = 0.45f c' = 0.45 × 150 = 67.5 ksc
f s = 0.5f y = 0.5 × 2400 = 1200 ksc
E s 2,040,000 135.099
n= = = = 11.03 ⇒ 11
E c 15,100 f c' 150
1 1
k= = = 0.382
fs 1200
1+ 1+
nf c 11 × 67.5
k 0.382
j =1− =1− = 0.873
3 3
1 1
R = f c kj = × 67.5 × 0.382 × 0.873 = 11.26 ksc
2 2
M R = Rbd = 11.26 × 15 × 30 2 = 152,010 kg.cm
2

MR 152,010
A sR = = = 4.837 cm 2 < A s = 6.75 cm 2
f s jd 1200 × 0.873 × 30
คําตอบ ขอ (1) over-reinforced

41
คําถามขอที่ 55
คานรองรับแผนพื้นชวงภายในทั่วไปซึ่งหลอเปนเนื้อเดียวกันกับแผนพืน้ นั้น ถาพื้นหนา = 10 ซม.
ตัวคานกวาง = 15 ซม. ระยะหางจากศูนยถึงศูนยของคานขาง เคียงแตละขาง =4 เมตร และชวงคาน
ยาว =5 เมตร จงหาความกวางประสิทธิผลของปกคานรูปตัดตัวที
ตัวเลือก
(1) 1.25 เมตร
(2) 1.50 เมตร
(3) 1.75 เมตร
(4) 2.00 เมตร
แนวคิด
มาตรฐาน วสท. กําหนดความกวางประสิทธิผลของคานตัว T ไวสําหรับคานภายในดังนี้
กรณีที่ 1 มีปกคานสองดาน และปกคานเปนสวนของพื้น ใหเลือกคานอยจากสามคา
ตอไปนี้
(ก) 1 ของความยาวชวงคาน
4
(ข) 16h f + b w

(ค) bw +
1
ของชองวางระหวางคานขางเคียง
2
1
กรณี (ก) b= × 5 = 1.25 m
4
กรณี (ข) b = 16 × 0.10 + 0.15 = 1.75 m

× (4 − 0.15) = 2.075 m
1
กรณี (ค) b = 0.15 +
2
คานอยคือ b = 1.25 เมตร เปนความกวางประสิทธิผลของปกคานตัวที
คําตอบ ขอ (1) 1.25 เมตร

42
คําถามขอที่ 56
คานรูปตัดตัวทีโดดๆ มีปกคานกวาง = 75 ซม. หนา = 10 ซม. ตัวคานกวาง = 25 ซม. เสริมเหล็กรับ
แรงดึงอยางเดียว As = 11.30 ซม2 ที่ความลึกประสิทธิผล d = 40 ซม. ถาใช fc = 45 กก./ซม2 และ fs =
1200 กก./ซม2 จงประมาณคาโมเมนตตานทานปลอดภัยของคานนี้ สมมติตําแหนงแนวแกนสะเทิน
= 10 ซม.
ตัวเลือก
(1) 4500 กก.เมตร
(2) 5000 กก.เมตร
(3) 6000 กก.เมตร
(4) 6500 กก.เมตร
แนวคิด
กรณีที่ 3 คานที่ปกเปนสวนหนึ่งของคานโดยตรง ไมเปนสวนของพื้นกําหนดวา
(ก) h ≥ 1 bf w
2
(ข) b ≤ 4b w
1 1
กรณี (ก) hf ≥ h f = × 25 = 12.5 cm > 10 cm
2 2
กรณี (ข) b ≤ 4 × 25 = 100 cm
คานนี้ตามมาตรฐาน วสท.ไมถือวาเปนคานตัว T ตามกรณี (ก)
แตคาดวาผูออกขอสอบใหถือวาเปนคานตัว T ดังนั้นคํานวณตามที่ขอสอบกําหนด
โจทยให fc และ fs มา บงชี้วาเปน วิธีหนวยแรงใชงาน WSD กําหนดดวยวา kd = 10 cm หาโมเมนต
ที่คานรับไดจากกรณีหนวยแรงคอนกรีตถึงคา fc และกรณีหนวยแรงในเหล็กถึงคา fs แลวเลือกคา
นอย
1 ⎛ kd ⎞ 1 ⎛ 10 ⎞
M c = f c bkd⎜ d − ⎟ = × 45 × 75 × 10 × ⎜ 40 − ⎟ = 618750 kg.cm
2 ⎝ 3 ⎠ 2 ⎝ 3⎠
M c = 6187.5 kg.m
⎛ kd ⎞ ⎛ 10 ⎞
M s = f s A s ⎜ d − ⎟ = 1200 × 11.30 × ⎜ 40 − ⎟ = 497,200 kg.cm
⎝ 3 ⎠ ⎝ 3⎠
M s = 4972 kg.m ≈ 5000 kg.m
คําตอบ (2) 5000 กก.เมตร

43
คําถามขอที่ 57
คานรูปตัดตัวทีโดดๆ มีปกคานกวาง = 80 ซม. หนา =8 ซม. ตัวคานกวาง = 25 ซม. เสริมเหล็กรับ
แรงดึงอยางเดียว As = 7.0 ซม2 ที่ความลึกประสิทธิผล d = 40 ซม. ถาใช fc = 45 กก./ซม2 และ fs =
1200 กก./ซม2 จะพบวาตําแหนงแนวแกนสะเทินอยูใตปกคาน ดังนัน้ หากสมมติใหตําแหนงของ
แรงอัดที่ไดจากคอนกรีตอยูท ี่กึ่งกลางความหนาของปกคาน จงประมาณคาโมเมนตตานทานของ
คานนี้
ตัวเลือก
(1) 2800 กก.เมตร
(2) 3000 กก.เมตร
(3) 3200 กก.เมตร
(4) 3350 กก.เมตร
แนวคิด ตรวจสอบลักษณะปกคาน
กรณีที่ 3 คานที่ปกเปนสวนหนึ่งของคานโดยตรง ไมเปนสวนของพื้นกําหนดวา
(ก) h ≥ 1 bf w
2
(ข) b ≤ 4b w
1 1
กรณี (ก) hf ≥ h f = × 25 = 12.5 cm > 8 cm
2 2
กรณี (ข) b ≤ 4 × 25 = 100 cm
คานนี้ตามมาตรฐาน วสท.ไมถือวาเปนคานตัว T ตามกรณี (ก)
แตคาดวาผูออกขอสอบใหถือวาเปนคานตัว T ดังนั้นคํานวณตามที่ขอสอบกําหนด
โจทยให fc และ fs มา บงชี้วาเปน วิธีหนวยแรงใชงาน WSD กําหนดดวยวา kd ล้ําลงมาในคานโดย
ใหแรงอัดลัพธที่กึ่งกลางความหนา หาโมเมนตที่คานรับไดจากกรณีหนวยแรงคอนกรีตถึงคา fc และ
กรณีหนวยแรงในเหล็กถึงคา fs แลวเลือกคานอย
1 ⎛ h ⎞ 1 ⎛ 8⎞
M c = f c bh f ⎜ d − f ⎟ = × 45 × 80 × 8 × ⎜ 40 − ⎟ = 518,400 kg.cm
2 ⎝ 2⎠ 2 ⎝ 2⎠
M c = 5184 kg.m
⎛ h ⎞ ⎛ 8⎞
M s = f s A s ⎜ d − f ⎟ = 1200 × 7.0 × ⎜ 40 − ⎟ = 302,400 kg.cm
⎝ 2⎠ ⎝ 2⎠
M s = 3024 kg.m ≈ 3000 kg.m
คําตอบ ขอ (2) 3000 กก.เมตร

44
คําถามขอที่ 58
คานรูปตัดตัวทีโดดๆ มีปกคานกวาง = 80 ซม. หนา =8 ซม. ตัวคานกวาง = 25 ซม. เสริมเหล็กรับ
แรงดึงอยางเดียว As ที่ความลึกประสิทธิผล d = 40 ซม. ถาใช fc = 45 กก./ซม2 และ fs = 1200 กก./
ซม2 จงประมาณคา min As ที่ตองใชตามมาตรฐานกําหนด
ตัวเลือก
(1) As = 12.0 ซม2
(2) As = 10.0 ซม2
(3) As = 8.0 ซม2
(4) As = 6.0 ซม2
แนวคิด ตรวจสอบสภาพของปกตัวที
กรณีที่ 3 คานที่ปกเปนสวนหนึ่งของคานโดยตรง ไมเปนสวนของพื้นกําหนดวา
(ก) h ≥ 1 b f w
2
(ข) b ≤ 4b w
1 1
กรณี (ก) hf ≥ h f = × 25 = 12.5 cm > 8 cm
2 2
กรณี (ข) b ≤ 4 × 25 = 100 cm
คานนี้ตามมาตรฐาน วสท.ไมถือวาเปนคานตัว T ตามกรณี (ก)
min A s 14
อัตราสวนขั้นต่ําตามมาตรฐานกําหนด ρmin = =
bd fy
min A s 14
ρmin = =
25 × 40 2 × 1200
25 × 40 × 14
min A s = = 5.833 cm 2 ≈ 6.0 cm 2
2 × 1200
คําตอบ ขอ (4) As = 6.0 ซม2

45
คําถามขอที่ 59
คานรูปตัดตัวทีโดดๆ มีปกคานกวาง = 75 ซม. หนา = 10 ซม. ตัวคานกวาง = 25 ซม. เสริมเหล็กรับ
แรงดึงอยางเดียว As ที่ความลึกประสิทธิผล d = 45 ซม. ถาใช f c' = 200 กก./ซม.2 และ fy = 4000
กก./ซม2 จงประมาณคา min As ที่ตองใชตามมาตรฐานกําหนด
ตัวเลือก
(1) As = 3.0 ซม2
(2) As = 4.0 ซม2
(3) As = 5.0 ซม2
(4) As = 6.0 ซม2
แนวคิด ตรวจสอบสภาพของปกตัวที
กรณีที่ 3 คานที่ปกเปนสวนหนึ่งของคานโดยตรง ไมเปนสวนของพื้นกําหนดวา
(ก) h ≥ 1 b f w
2
(ข) b ≤ 4b w
1 1
กรณี (ก) hf ≥ h f = × 25 = 12.5 cm > 10 cm
2 2
กรณี (ข) b ≤ 4 × 25 = 100 cm
คานนี้ตามมาตรฐาน วสท.ไมถือวาเปนคานตัว T ตามกรณี (ก)
min A s 14
อัตราสวนขั้นต่ําตามมาตรฐานกําหนด ρmin = =
bd fy
min A s 14
ρmin = =
25 × 45 4000
25 × 45 × 14
min A s = = 3.9375 cm 2 ≈ 4.0 cm 2
4000
คําตอบ ขอ (2) As = 4.0 ซม2

46
คําถามขอที่ 60
แผนพื้นชวงเดียวหนา 8 ซม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอยางเดียวที่ระยะ d=6 ซม. โดยใช เหล็ก 6 มม.
@12 ซม. (As = 2.32 ซม.2/เมตร) fc = 65 กก./ซม.2 และ fy = 2400 กก./ซม.2 จงประมาณคาโมเมนต
ดัดตานทานปลอดภัย สมมติใหตําแหนงแนวแกนสะเทิน kd = 2.24 ซม.
ตัวเลือก
(1) 120 กก.เมตร/เมตร
(2) 140 กก.เมตร/เมตร
(3) 160 กก.เมตร/เมตร
(4) 180 กก.มตร/เมตร
แนวคิด ตัดพื้นกวาง 1 เมตร เปนคานแบน แลวหาโมเมนตจากคอนกรีตและโมเมนตจากเหล็ก
เลือกคานอยเปนคําตอบ
1 ⎛ kd ⎞ 1 ⎛ 2.24 ⎞
M c = f c bkd⎜ d − ⎟ = × 65 × 100 × 2.24 × ⎜ 6 − ⎟
2 ⎝ 3 ⎠ 2 ⎝ 3 ⎠
M c = 38244 kg.cm = 382.44 kg.m
⎛ kd ⎞ 2400 ⎛ 2.24 ⎞
M s = A s f s ⎜ d − ⎟ = 2.32 × × ⎜6 − ⎟
⎝ 3 ⎠ 2 ⎝ 3 ⎠
M s = 14625 kg.cm = 146.25 kg.m
เลือกคานอยคือ M s = 146.25 kg.m ≈ 140 kg.m
คําตอบ ขอ (2) 140 กก.เมตร/เมตร

47
คําถามขอที่ 61
แผนพื้นยื่นหนา 8 ซม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอยางเดียวที่ระยะ d=6 ซม. โดยใช เหล็ก 6 มม. @12
ซม. (As = 2.32 ซม.2/เมตร) f c' = 200 กก./ซม.2 และ fy = 2400 กก./ซม.2 จงประมาณกําลังรับ
โมเมนตดัดประลัย (φM n ) ของแผนพื้นที่หนาตัดวิกฤต สมมติใหคา ju = 0.96
ตัวเลือก
(1) 289 กก.เมตร/เมตร
(2) 389 กก.เมตร/เมตร
(3) 489 กก.เมตร/เมตร
(4) 589 กก.เมตร/เมตร
แนวคิด
คิดจากสภาวะของเหล็กเสริม
M ns = A s f y ju d = 2.32 × 2400 × 0.96 × 6 = 32071.68 kg.cm / m
M ns = 320.7168 kg.m / m
φM n = φM ns = 0.9 × 320.7168 = 288.64512 ≈ 289 kg.m / m
คําตอบ ขอ (1) 289 กก.เมตร/เมตร

48
คําถามขอที่ 62
แผนพื้นชวงเดียวหนา 18 ซม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอยางเดียวที่ระยะ d = 15 ซม. โดยใช เหล็ก9 มม.
@12 ซม. (As = 5.30 ซม.2/เมตร) f c' = 150 กก./ซม.2 และ fy = 2400 กก./ซม.2 จงประมาณคา
โมเมนตดัดตานทานปลอดภัย สมมติใหตําแหนงแนวแกนสะเทิน kd = 5 ซม
ตัวเลือก
(1) 748 กก.เมตร/เมตร
(2) 848 กก.เมตร/เมตร
(3) 948 กก.เมตร/เมตร
(4) 1048 กก.เมตร/เมตร
แนวคิด
หาโมเมนตตานทานของคอนกรีตกับของเหล็ก เลือกคานอย
Mc =
1
( ) ⎛ kd ⎞ 1 ⎛ 5⎞
0.45f c' bkd⎜ d − ⎟ = × (0.45 × 150 ) × 100 × 5 × ⎜15 − ⎟
2 ⎝ 3 ⎠ 2 ⎝ 3⎠
M c = 225,000 kg.cm / m = 2250 kg.m / m

M s = A s (0.5f y )⎜ d − ⎟ = 5.30 × (0.5 × 2400) × ⎜15 − ⎟


⎛ kd ⎞ ⎛ 5⎞
⎝ 3 ⎠ ⎝ 3⎠
M s = 84800 kg.cm / m = 848 kg.m / m
เลือกคานอยคือ M = M s = 848 kg.m / m
คําตอบ ขอ (2) 848 กก.เมตร/เมตร

49
คําถามขอที่ 63
คานชวงเดียวมีความยาวชวงคาน 5.00 ม. รูปตัดเปนสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด 0.20x0.50 ม. เสริมเหล็ก
รับแรงดึงอยางเดียวที่ระยะ d = 0.45 ม. โดยใช As = 5.30 ซม.2 ที่กลางชวงคาน ถากําหนดให f c' =
150 กก./ซม.2 และ fy = 2400 กก./ซม.2 จงใชวิธี WSD ประมาณคาน้ําหนักบรรทุกจรแบบแผ
สม่ําเสมอใชงานสูงสุด ที่คานจะรับได สมมติใหตําแหนงแนวแกนสะเทิน kd = 17.5 ซม
ตัวเลือก
(1) 450 กก./เมตร
(2) 500 กก./เมตร
(3) 550 กก./เมตร
(4) 600 กก./เมตร
แนวคิด
หาโมเมนตจากคอนกรีตกับจากเหล็กเสริม เลือกคานอยเปนโมเมนตทรี่ ับได หาน้ําหนักคาน รวม
กับน้ําหนักจร หาโมเมนตที่กลางคานแลวจับเทากับโมเมนตที่รับไดกจ็ ะทราบน้ําหนักบรรทุกจรที่
ตองการ
โมเมนตที่คอนกรีตรับได
⎛ kd ⎞ 1 ⎛ 17.5 ⎞
M c = f c bkd⎜ d − ⎟ = × (0.45 × 150) × 20 × 17.5 × ⎜ 45 −
1

2 ⎝ 3 ⎠ 2 ⎝ 3 ⎠
M c = 462656.25 kg.cm = 4626.5625 kg.m
โมเมนตที่เหล็กรับได
⎛ kd ⎞ ⎛ 1 ⎞ ⎛ 17.5 ⎞
M s = f s A s ⎜ d − ⎟ = ⎜ × 2400 ⎟ × 5.30 × ⎜ 45 − ⎟
⎝ 3 ⎠ ⎝2 ⎠ ⎝ 3 ⎠
M s = 249,100 kg.cm = 2491 kg.m
เลือกคานอยคือ M = M s = 2491 kg.m
น้ําหนักคาน w G = 2400bh = 2400 × 0.20 × 0.50 = 240 kg / m
น้ําหนักบรรทุกรวม w = w G + w L = 240 + w L kg / m
โมเมนตจากน้าํ หนักบรรทุกคือ M = wL = (240 + w L ) × 5.00 = 3.125(240 + w L ) kg.m
2 2

8 8
ตองไมเกินโมเมนตที่หนาตัดรับได
3.125(240 + w L ) = 2491
w L = 557.12 kg / m ≈ 550 kg / m
คําตอบ ขอ (3) 550 กก./เมตร

50
คําถามขอที่ 64
คานชวงเดีย่ วยาว 5.00 ม. มีรูปตัดเปนสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด 0.20x0.50 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอยาง
เดียวที่ระยะ d = 0.45 ม. โดยใช As = 5.30 ซม.2 ที่กลางชวง คาน ถาให f c' = 150 กก./ซม.2 และ fy =
2400 กก./ซม.2 จงใชวิธี WSD ประมาณคาสูงสุดของน้ําหนักบรรทุกจรใชงานแบบจุดทีก่ ระทํา
กลางชวงคาน สมมติใหตําแหนงแนวแกนสะเทิน kd = 17.5 ซม.
ตัวเลือก
(1) 1290 กก.
(2) 1390 กก.
(3) 1490 กก.
(4) 1590 กก.
แนวคิด
หาโมเมนตจากคอนกรีตกับจากเหล็กเสริม เลือกคานอยเปนโมเมนตทรี่ ับได หาน้ําหนักคาน รวม
กับน้ําหนักจร หาโมเมนตที่กลางคานแลวจับเทากับโมเมนตที่รับไดกจ็ ะทราบน้ําหนักบรรทุกจรที่
ตองการ
โมเมนตที่คอนกรีตรับได
⎛ kd ⎞ 1 ⎛ 17.5 ⎞
M c = f c bkd⎜ d − ⎟ = × (0.45 × 150) × 20 × 17.5 × ⎜ 45 −
1

2 ⎝ 3 ⎠ 2 ⎝ 3 ⎠
M c = 462656.25 kg.cm = 4626.5625 kg.m
โมเมนตที่เหล็กรับได
⎛ kd ⎞ ⎛ 1 ⎞ ⎛ 17.5 ⎞
M s = f s A s ⎜ d − ⎟ = ⎜ × 2400 ⎟ × 5.30 × ⎜ 45 − ⎟
⎝ 3 ⎠ ⎝2 ⎠ ⎝ 3 ⎠
M s = 249,100 kg.cm = 2491 kg.m
เลือกคานอยคือ M = M s = 2491 kg.m
น้ําหนักคาน w G = 2400bh = 2400 × 0.20 × 0.50 = 240 kg / m
โมเมนตจากน้าํ หนักบรรทุก
w G L2 PL 240 × 5.002 P × 5.00
M= + = + = 750 + 1.25P kg.m
8 4 8 4
ตองไมเกินโมเมนตที่หนาตัดรับได
750 + 1.25P = 2491
P = 1392.8 ≈ 1390 kg
คําตอบ ขอ (2) 1390 กก.

51
คําถามขอที่ 65
คานรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด 0.20x0.50 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอยางเดียวที่ระยะ d = 0.45 ม. โดย
ใช As = 8.04 ซม.2 f c' = 150 กก./ซม.2 และ fy = 3000 กก./ซม.2 จงใชวิธี USD ประมาณคากําลังรับ
โมเมนตดัดประลัย (φM n )
ตัวเลือก
(1) 8250 กก.เมตร
(2) 8700 กก.เมตร
(3) 9800 กก.เมตร
(4) 10250 กก.เมตร
แนวคิด
วิธี USD (Ultimate Strength Design) ปจจุบันเรียกวา SDM (Strength Design Method)
ลําดับขั้นตอนการคํานวณมีดังนี้
เมื่อ f c' = 150 ksc < 280 ksc ได β1 = 0.85
0.85f c' 6120 0.85 × 150 6120
ρb = β1 = 0.85 × ×
f y 6120 + f y 3000 6120 + 3000
ρb = 0.024241776
ρmax = 0.75ρb = 0.018181332
14 14
ρmin = = = 0.004666666
f y 3000
As 8.04
ρ= = = 0.008933333 < ρmax O.K.
bd 20 × 45
แสดงวาเหล็กครากกอนคอนกรีตถูกอัดแตก ดี
สมดุลของแรงบนหนาตัดหาระยะ a
0.85f c' ba = A s f y
Asf y 8.04 × 3000
a= = = 9.458823529 cm
0.85f c b 0.85 × 150 × 20
'

⎛ a⎞ ⎛ a⎞
M n = 0.85f c' ba ⎜ d − ⎟ = A s f y ⎜ d − ⎟
⎝ 2⎠ ⎝ 2⎠
⎛ 9.458823529 ⎞
M n = 8.04 × 3000 × ⎜ 45 − ⎟
⎝ 2 ⎠
M n = 971,326.5882 kg.cm = 9713.265882 kg.m
φM n = 0.9 × 9713.265882 = 8741.939294 kg.m ⇒ 8700 kg.m
คําตอบ ขอ (2) 8700 กก.เมตร

52
คําถามขอที่ 66
คานรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด 0.20x0.50 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอยางเดียวที่ระยะ d = 0.45 ม. โดย
ใช As = 36 ซม.2 f c' = 200 กก./ซม.2 และ fy = 2400 กก./ซม.2 จงใชวิธี USD ประมาณคากําลังรับ
โมเมนตดัดประลัย (φM n )
ตัวเลือก
(1) 20250 กก.เมตร
(2) 22500 กก.เมตร
(3) 25000 กก.เมตร
(4) 27850 กก.เมตร
แนวคิด
วิธี USD (Ultimate Strength Design) ปจจุบันเรียกวา SDM (Strength Design Method)
ลําดับขั้นตอนการคํานวณมีดังนี้
เมื่อ f c' = 200 ksc < 280 ksc ได β1 = 0.85
0.85f c' 6120 0.85 × 200 6120
ρb = β1 = 0.85 × ×
f y 6120 + f y 2400 6120 + 2400
ρb = 0.043248239
ρmax = 0.75ρ b = 0.032436179
14 14
ρmin = = = 0.005833333
f y 2400
As 36
ρ= = = 0.04 > ρmax No good
bd 20 × 45
ρ = 0.04 < ρb
แสดงวาเหล็กครากกอนคอนกรีตถูกอัดแตก ดี
สมดุลของแรงบนหนาตัดหาระยะ a
0.85f c' ba = A s f y
Asf y 36 × 2400
a= = = 25.41176471 cm
0.85f c b 0.85 × 200 × 20
'

⎛ a⎞ ⎛ a⎞
M n = 0.85f c' ba ⎜ d − ⎟ = A s f y ⎜ d − ⎟
⎝ 2⎠ ⎝ 2⎠
⎛ 25.41176471 ⎞
M n = 36 × 2400 × ⎜ 45 − ⎟
⎝ 2 ⎠
M n = 2,790,211.765 kg.cm = 27,902.11765 kg.m
φM n = 0.9 × 27,902.11765 = 25,111.90588 kg.m ⇒ 25,000 kg.m
คําตอบ ขอ (3) 25000 กก.เมตร ในขณะที่เฉลยตอบขอ (1) 20250 กก.เมตร

53
คําถามขอที่ 67
คานรูปตัดตัวที มีความกวางประสิทธิผลของปกคาน = 125 ซม. หนา =8 ซม. ตัวคานกวาง = 25 ซม.
เสริมเหล็กรับแรงดึงอยางเดียว As = 48.24 ซม.2 ที่ความ ลึกประสิทธิผล d = 40 ซม. ถาใช f c' = 200
กก./ซม.2 และ fy = 3000 กก./ซม.2 จงใชวิธี USD ประมาณกําลังรับโมเมนตดัดประลัย (φM n )
ตัวเลือก
(1) 45 ตัน.เมตร
(2) 48 ตัน.เมตร
(3) 50 ตัน.เมตร
(4) 53 ตัน.เมตร
แนวคิด
วิธี USD (Ultimate Strength Design) ปจจุบันเรียกวา SDM (Strength Design Method)
ลําดับขั้นตอนการคํานวณมีดังนี้
เมื่อ f c' = 200 ksc < 280 ksc ได β1 = 0.85
0.85f c' 6120 0.85 × 200 6120
ρb = β1 = 0.85 × ×
f y 6120 + f y 3000 6120 + 3000
ρb = 0.032322368
ρmax = 0.75ρb = 0.024241776
14 14
ρmin = = = 0.004666666
f y 3000
สมมติวาระยะ a อยูในความหนาปกคาน
0.85f c' ba = A s f y
0.85 × 200 × 125a = 48.24 × 3000
a = 6.810352941 cm < h f = 8 cm
แสดงวาระยะ a อยูในปกคานจริง
⎛ a⎞ ⎛ 6.810352941 ⎞
M n = A s f y ⎜ d − ⎟ = 48.24 × 3000 × ⎜ 40 − ⎟
⎝ 2⎠ ⎝ 2 ⎠
M n = 5,296,002.861 kg.cm = 52,960.02861 kg.m
φM n = 0.9 × 82,960.02861 = 47,664.02575 kg.m = 47.664 T.m
φM n ≈ 48 T.m
คําตอบ ขอ (2) 48 ตัน.เมตร

54
คําถามขอที่ 68
คานรูปตัดตัวที มีความกวางประสิทธิผลของปกคาน = 120 ซม. หนา =8 ซม. ตัวคานกวาง = 30 ซม.
มีความ ลึกประสิทธิผล d = 40 ซม. เพื่อรับโมเมนตดัดประลัย (Mu) ชนิดบวก = 50 ตัน.เมตร ถาใช
2 2
f c' = 200 กก./ซม. และ fy = 3000 กก./ซม. จงใชวิธี USD ประมาณคา As ที่ตองใช
ตัวเลือก
(1) As = 32 ซม2
(2) As = 35 ซม2
(3) As = 37 ซม2
(4) As = 40 ซม2
แนวคิด
วิธี USD (Ultimate Strength Design) ปจจุบันเรียกวา SDM (Strength Design Method)
ลําดับขั้นตอนการคํานวณมีดังนี้
เมื่อ f c' = 200 ksc < 280 ksc ได β1 = 0.85
0.85f c' 6120 0.85 × 200 6120
ρb = β1 = 0.85 × ×
f y 6120 + f y 3000 6120 + 3000
ρb = 0.032322368
ρmax = 0.75ρb = 0.024241776
14 14
ρmin = = = 0.004666666
f y 3000
สมมติวาระยะ a อยูในความหนาปกคาน
Mu 50 × 1000 × 100
Ru = = = 18.51851852
φbd 2
0.9 × 120 × 502

0.85f c' 2R u ⎤
ρ= ⎢1 − 1 − ⎥
fy ⎣ 0.85f c' ⎦
0.85 × 200 ⎡ 2 × 18.51851852 ⎤
ρ= × ⎢1 − 1 − ⎥
3000 ⎣ 0.85 × 200 ⎦
ρ = 0.006551572 > ρmin and < ρmax
A s = ρbd = 0.006551572 × 120 × 50 = 39.31 cm 2 ⇒ 40 cm 2
ตรวจสอบวาระยะ a อยูในความหนาปกจริงหรือไม
0.85f c' ba = A s f y
0.85 × 200 × 120a = 39.31 × 3000
a = 5.781 cm < h f = 8 cm
แสดงวาระยะ a อยูในปกคานจริง
คําตอบ ขอ (4) 40 ซม2

55
คําถามขอที่ 69
ในการออกแบบชิ้นสวนรับโมเมนตดัด ถาใหระยะ b, d มีคาคงที่ และใหกําลังจุดครากมีค
าคงที่ ครั้นเมื่อใหกําลังรับแรงอัดของคอนกรีตมีคาเพิ่มขึน้ จะพบวา
ตัวเลือก
(1) โมเมนตตานทานมีคาลดลง
(2) โมเมนตตานทานมีคาเทาเดิม
(3) โมเมนตตานทานมีคาเพิ่มขึ้น
(4) แรงเฉือนตานทานมีคาลดลง
แนวคิด
พิจารณาตามวิธี SDM หรือ USD
โมเมนตตานทาน M n = R u bd 2
⎛ f ⎞
โดยที่ R u = ρf y ⎜⎜1 − 0.59ρ y' ⎟⎟
⎝ fc ⎠
⎛ f ⎞
ดังนั้น M n = ρf y ⎜⎜1 − 0.59ρ y' ⎟⎟bd 2
⎝ fc ⎠
f ⎛ f ⎞
หาก ρ คงที่ดวยแลว เมื่อ f c' เพิ่มขึ้น คา 0.59ρ y' จะนอยลง คา ⎜⎜1 − 0.59ρ y' ⎟⎟ จะมากขึน้
fc ⎝ fc ⎠
ดังนั้น M n จึงมีคาเพิ่มขึ้น
แรงเฉือนตานทานโดยประมาณ Vc = 0.53 f c' bd หาก f c' เพิ่มขึ้น คา Vc จะเพิ่มขึ้น
คําตอบ ขอ (3) โมเมนตตานทานมีคาเพิ่มขึ้น

56
คําถามขอที่ 70
ในการออกแบบชิ้นสวนรับโมเมนตดัด ถาใหระยะ b, d มีคาคงที่ และใหกําลังรับแรงอัดของ
คอนกรีตมีคาคงที่ ครั้นเมื่อใหกําลังจุดครากมีคาเพิ่มขึ้น จะพบวา
ตัวเลือก
(1) โมเมนตตานทานมีคาลดลง
(2) โมเมนตตานทานมีคาเทาเดิม
(3) โมเมนตตานทานมีคาเพิ่มขึ้น
(4) แรงเฉือนตานทานมีคาลดลง
แนวคิด
พิจารณาตามวิธี SDM หรือ USD
โมเมนตตานทาน M n = R u bd 2
⎛ f ⎞
โดยที่ R u = ρf y ⎜⎜1 − 0.59ρ y' ⎟⎟
⎝ fc ⎠
⎛ f ⎞
ดังนั้น M n = ρf y ⎜⎜1 − 0.59ρ y' ⎟⎟bd 2
⎝ fc ⎠
f ⎛ fy ⎞
หาก ρ คงที่ดวยแลว เมื่อ f y เพิ่มขึ้น คา 0.59ρ y' จะเพิม่ ขึ้น คา ⎜⎜1 − 0.59ρ ⎟ จะนอยลง แต
fc ⎝ f c' ⎟⎠
⎛ fy ⎞
คา ดังนั้น R u = ρf y ⎜⎜1 − 0.59ρ ⎟ อาจจะมากขึน
้ หรือนอยลงก็ได ดังนั้นตองทดสอบ เชนสมมติ
⎝ f c' ⎟⎠
ρ = 0.04, f c' = 200 ksc
⎛ f ⎞
ถา f y = 3000 ksc R u = ρf y ⎜⎜1 − 0.59ρ y' ⎟⎟
⎝ fc ⎠
⎛ 3000 ⎞
R u = 0.04 × 3000 × ⎜1 − 0.59 × 0.04 × ⎟
⎝ 200 ⎠
R u = 77.52 ksc
⎛ f ⎞
ถา f y = 4000 ksc R u = ρf y ⎜⎜1 − 0.59ρ y' ⎟⎟
⎝ fc ⎠
⎛ 4000 ⎞
R u = 0.04 × 4000 × ⎜1 − 0.59 × 0.04 × ⎟
⎝ 200 ⎠
R u = 84.48 ksc
พบวา R u เพิ่มขึ้น นั่นคือ โมเมนตตานทานเพิม่ ขึ้น
แรงเฉือนตานทานโดยประมาณ Vc = 0.53 f c' bd ไมเกี่ยวกับกําลังจุดคราก
คําตอบ ขอ (3) โมเมนตตานทานมีคาเพิ่มขึ้น

57
เฉลยตอบขอ (1) โมเมนตตา นทานมีคาลดลง ซึ่งไมแนเสมอไป แตจากการทดลองแทนคา f c' , f y
หลายๆ คาพบวาตองตอบขอ (3) โมเมนตตา นทานมีคาเพิม่ ขึ้น

คําถามขอที่ 71
ในการออกแบบชิ้นสวนรับโมเมนตดัดที่เสริมเหล็กรับแรงดึง ถาใหระยะ b, d มีคาคงที่และใหกําลัง
รับแรงอัดของคอนกรีตมีคาคงที่ ครั้นเมื่อกําลังจุดครากมีคาเพิ่ม ขึน้ จะพบวาตําแหนงแกนสะเทิน
ที่หางจากดานรับแรงอัด มีคา
ตัวเลือก
(1) มากขึ้นตามกําลังจุดครากที่เพิ่มขึ้น
(2) เทาเดิมตามกําลังจุดครากที่เพิ่มขึ้น
(3) ลดลงตามกําลังจุดครากที่เพิม่ ขึ้น
แนวคิด
หากพิจารณาตามวิธีหนวยแรงใชงาน (WSD) ตําแหนงแกนสะเทินจากผิวรับแรงอัดคือ kd หาก k
เพิ่ม kd ก็จะเพิม่ ตาม
1
k=
fs
1+
nf c
สมมติ f c = 65 ksc, n = 10
เมื่อ f y = 2400 ksc, fs = 1200 ksc
1
k= = 0.351
1200
1+
10 × 65
เมื่อ f y = 3000 ksc, f s = 1500 ksc
1
k= = 0.302 < 0.351
1500
1+
10 × 65
แสดงวาเมื่อ f y เพิ่มขึ้นนั้น k ลดลง kd จึงลดลงตามไปดวย
คําตอบ ขอ (3) ลดลงตามกําลังจุดครากที่เพิ่มขึ้น

58
คําถามขอที่ 72
ปริมาณอยางนอยของเหล็กเสริมทางขวาง (min Av) ในคาน คสล. ตามวิธี WSD คือ
ตัวเลือก
(1) 0.0010b ws ตร.ซม
(2) 0.0015b ws ตร.ซม
(3) 0.0020b w s ตร.ซม
(4) 0.0025b ws ตร.ซม
แนวคิด
จากมาตรฐานสําหรับอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กโดยวิธีหนวยแรงใชงาน ของ วสท.ขอ 6306 เกณฑ
บังคับสําหรับเหล็กรับแรงเฉือน ขอยอย (ข) min As = 0.0015b w s
คําตอบ ขอ (2) 0.0015b ws ตร.ซม

59
คําถามขอที่ 73
คาน คสล. รูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด 0.15x0.35 ม. ระยะ d = 0.30 ม. ตามวิธี WSD เมื่อแรงเฉือน
V= Vc จะตองเสริมเหล็กทางขวางออกไปอีกเปนระยะเทา กับ d ดังนัน้ ถาใชเหล็ก RB 6 มม.(สอง
ขา) จงหาระยะเรียงหางมากที่สุด ตามมาตรฐานกําหนด
ตัวเลือก
(1) 25 ซม
(2) 20 ซม
(3) 15 ซม
(4) 5 ซม
แนวคิด
ตามมาตรฐาน วสท. min A v = 0.0015b w s เหล็ก RB 6 mm คิดสองขา
2 × 0.283 = 0.0015 × 15s
2 × 0.283
s= = 25.15 cm
0.0015 × 15
d 30
s≤ = = 15 cm
2 2
เลือกคานอยคือ 15 ซม
คําตอบ ขอ (3) 15 ซม.

60
คําถามขอที่ 74
คานตอเนื่องชวงในๆ มีรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด 0.20x0.50 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึงที่ระยะ d =
0.43 ม. ถาแรงเฉือนที่หนาตัดวิกฤตอันเนื่องมาจากน้ําหนักบรรทุก ใชงานมีคา = 6200 กก. จงหา
ระยะเรียงหางมากที่สุดของเหล็กลูกตั้ง 9 มม.(สองขา) ซึ่งมีคา fy = 2400 กก./ซม.2 สมมติวา
คอนกรีตมีคา f c' = 200 กก./ ซม2
ตัวเลือก
(1) 20 ซม
(2) 25 ซม
(3) 35 ซม
(4) 40 ซม
แนวคิด
แรงเฉือนที่คอนกรีตรับได
Vc = 0.29 f c' bd = 0.29 200 × 20 × 43 = 3527 kg < V = 6200 kg
V − Vc = 6200 − 3527 = 2673 kg

Afd
(2 × 0.636) × 2400 × 43
s= v v = 2 = 24.55 cm
V − Vc 2673
d 43
s≤ = = 21.5 cm
2 2
คําตอบ ขอ (1) 20 ซม

61
คําถามขอที่ 75
คานชวงเดียว มีรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด 0.40x0.65 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึงที่ระยะ d = 0.55 ม. ถา
แรงเฉือนที่หนาตัดวิกฤตอันเนื่องมาจากน้ําหนักบรรทุกประลัย มีคา = 23000 กก. จงหาระยะเรียง
หางมากที่สุดของเหล็กลูกตัง้ 9 มม.(สองขา) ซึ่งมีคา fy = 2400 กก./ซม2 สมมติวาคอนกรีตมีคา f c' =
200 กก./ซม2
ตัวเลือก
(1) 15 ซม
(2) 17.5 ซม
(3) 20 ซม
(4) 25 ซม
แนวคิด
โจทยกําหนด b w = 40 cm, d = 55 cm, Vu = 23000 kg, f y = 2400 ksc, f c' = 200 ksc และ
A v = 2 × 0.636 = 1.272 cm 2
กําลังเฉือนที่คอนกรีตรับได
φVc = φ0.53 f c' b w d = 0.85 × 0.53 200 × 40 × 55 = 14016 kg
Vu − φVc = 23000 − 14016 = 8984 kg
ตามมาตรฐาน วสท. กําหนดวา
ถา Vu − φVc ≤ 1.1φ f c' b w d ใหเลือกระยะเรียงเหล็กลูกตั้งจากคานอยในสามคาตอไปนี้
φA v f y d
s=
Vu − φVc
d
s=
2
s = 60 cm
ถา 1.1φ f c' b w d < Vu − φVc ≤ 2.1φ f c' b w d ใหเลือกระยะเรียงเหล็กลูกตั้งจากคานอยในสามคา
ตอไปนี้
φA v f y d
s=
Vu − φVc
d
s=
4
s = 30 cm
ถา Vu − φVc > 2.1φ f c' b w d หนาตัดคานนั้นเล็กเกินไปมีสภาพเปราะ ตองขยายหนาตัดใหโตขึ้น
ซึ่งการขยายทางกวางกับทางลึกมีผลเทากัน เพราะทั้ง b w และ d ตางยกกําลัง 1 ถาเปนเรื่อง
โมเมนต การขยายทางลึกจะดีกวาทางกวางเพราะ b w ยกกําลัง 1 แต d ยกกําลัง 2
กรณีนี้ตองหาคาของ 1.1φ f c' b w d และ 2.1φ f c' b w d

62
1.1φ f c' b w d = 1.1 × 0.85 200 × 40 × 55 = 29090 kg
2.1φ f c' b w d = 2.1 × 0.85 200 × 40 × 55 = 55536 kg
พบวา Vu − φVc ≤ 1.1φ f c' b w d หาระยะเรียง
φA v f y d 0.85 × 1.272 × 2400 × 55
s= = = 15.88 cm
Vu − φVc 8984
d 55
s= = = 27.5 cm
2 2
s = 60 cm
คานอยคือ 15.88 ซม แตเพื่อความสะดวกในการทํางานใช 15 ซม
คําตอบ ขอ (1) 15 ซม

63
คําถามขอที่ 76
คานชวงเดียว มีรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด 0.40x0.65 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึงที่ระยะ d = 0.55 ม. ถา
แรงเฉือนที่หนาตัดวิกฤตอันเนื่องมาจากน้ําหนักบรรทุกประลัย มีคา = 22500 กก. จงหาระยะเรียง
หางมากที่สุดของเหล็กลูกตัง้ 9 มม.(สองขา) ซึ่งมีคา fy = 3000 กก./ซม.2 สมมติวาคอนกรีตมีคา f c' =
200 กก./ซม2
ตัวเลือก
(1) 15 ซม
(2) 17.5 ซม
(3) 20 ซม
(4) 25 ซม
แนวคิด
คําถามขอนี้มีขอบกพรองอยูหนึ่งเรื่องคือเหล็กขอออยขนาดเล็กที่สุด 10 มม สําหรับเหล็ก 9 มม เปน
เหล็กผิวเรียบมี f y = 2400 ksc แตคํานวณตามโจทยใหไดดังนี้
โจทยกําหนด b w = 40 cm, d = 55 cm, Vu = 22500 kg, f y = 3000 ksc, f c' = 200 ksc และ
A v = 2 × 0.636 = 1.272 cm 2
กําลังเฉือนที่คอนกรีตรับได
φVc = φ0.53 f c' b w d = 0.85 × 0.53 200 × 40 × 55 = 14016 kg
Vu − φVc = 22500 − 14016 = 8484 kg
ตามมาตรฐาน วสท. กําหนดวา
ถา Vu − φVc ≤ 1.1φ f c' b w d ใหเลือกระยะเรียงเหล็กลูกตั้งจากคานอยในสามคาตอไปนี้
φA v f y d
s=
Vu − φVc
d
s=
2
s = 60 cm
ถา 1.1φ f c' b w d < Vu − φVc ≤ 2.1φ f c' b w d ใหเลือกระยะเรียงเหล็กลูกตั้งจากคานอยในสามคา
ตอไปนี้
φA v f y d
s=
Vu − φVc
d
s=
4
s = 30 cm

64
ถา Vu − φVc > 2.1φ f c' b w d หนาตัดคานนั้นเล็กเกินไปมีสภาพเปราะ ตองขยายหนาตัดใหโตขึ้น
ซึ่งการขยายทางกวางกับทางลึกมีผลเทากัน เพราะทั้ง b w และ d ตางยกกําลัง 1 ถาเปนเรื่อง
โมเมนต การขยายทางลึกจะดีกวาทางกวางเพราะ b w ยกกําลัง 1 แต d ยกกําลัง 2
กรณีนี้ตองหาคาของ 1.1φ f c' b w d และ 2.1φ f c' b w d
1.1φ f c' b w d = 1.1 × 0.85 200 × 40 × 55 = 29090 kg
2.1φ f c' b w d = 2.1 × 0.85 200 × 40 × 55 = 55536 kg
พบวา Vu − φVc ≤ 1.1φ f c' b w d หาระยะเรียง
φA v f y d 0.85 × 1.272 × 3000 × 55
s= = = 21.03 cm
Vu − φVc 8484
d 55
s= = = 27.5 cm
2 2
s = 60 cm
คานอยคือ 21.03 ซม แตเพื่อความสะดวกในการทํางานใช 20 ซม
คําตอบ ขอ (3) 20 ซม

65
คําถามขอที่ 77
คาน คสล. รูปตัดตัวทีโดดๆ ขนาดความกวางของตัวคาน = 30 ซม. เสริมเหล็กรับแรงดึงที่ระยะ d =
50 ซม. ถาแรงเฉือนที่หนาตัดวิกฤตอันเนื่องมาจากน้ําหนัก บรรทุกใชงานมีคา = 12000 กก. จงหา
ขนาดและระยะเรียงหางมากที่สุดของเหล็กลูกตั้ง (สองขา) ซึ่งมีคา fy = 2400 กก./ซม2 สมมติวา
คอนกรีตมีคา f c' = 200 กก./ซม2
ตัวเลือก
(1) 6 มม @ 7.50 ซม
(2) 6 มม @ 10.0 ซม
(3) 9 มม @ 12.5 ซม
(4) 9 มม @ 25.0 ซม
แนวคิด
โจทยกําหนด b w = 30 cm, d = 50 cm, V = 12000 kg, f y = 2400 ksc, f c' = 200 ksc และ
เหล็ก RB 6 mm A v = 2 × 0.283 = 0.566 cm 2
เหล็ก RB 9 mm A v = 2 × 0.636 = 1.272 cm 2
กําลังเฉือนที่คอนกรีตรับได
Vc = 0.29 f c' b w d = 0.29 200 × 30 × 50 = 6151.8 kg
V − Vc = 12000 − 6151.8 = 5848.2 kg
ตามมาตรฐาน วสท. กําหนดวา
ถา V − Vc ≤ 0.795 f c' b w d ใหเลือกระยะเรียงเหล็กลูกตั้งจากคานอยในสามคาตอไปนี้
A vf vd
s=
V − Vc
d
s=
2
s = 60 cm
ถา 0.795 f c' b w d < V − Vc ≤ 1.32 f c' b w d ใหเลือกระยะเรียงเหล็กลูกตั้งจากคานอยในสามคา
ตอไปนี้
A vf vd
s=
V − Vc
d
s=
4
s = 30 cm
ถา V − Vc > 1.32 f c' b w d หนาตัดคานนั้นเล็กเกินไปมีสภาพเปราะ ตองขยายหนาตัดใหโตขึน้ ซึ่ง
การขยายทางกวางกับทางลึกมีผลเทากัน เพราะทั้ง b w และ d ตางยกกําลัง 1 ถาเปนเรื่องโมเมนต
การขยายทางลึกจะดีกวาทางกวางเพราะ b w ยกกําลัง 1 แต d ยกกําลัง 2

66
กรณีนี้ตองหาคาของ 0.795 f c' b w d และ 1.32 f c' b w d
0.795 f c' b w d = 0.795 200 × 30 × 50 = 16864 kg
1.32 f c' b w d = 1.32 200 × 30 × 50 = 28001 kg
พบวา V − Vc ≤ 0.795 f c' b w d หาระยะเรียง
A v f v d 0.566 × 1200 × 50
RB 6 mm s= = = 5.81 cm
V − Vc 5848.2
A f d 1.272 × 1200 × 50
RB 9 mm s= v v = = 13.05 cm
V − Vc 5848.2
d 50
s= = = 25 cm
2 2
s = 60 cm
อาจจะเลือก RB 6 mm @ 5.5 cm หรือ RB 9 mm @ 12.5 cm
คําตอบ ขอ (3) RB 9 mm @ 12.5 cm

67
คําถามขอที่ 78
คานชวงเดียว มีรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด 0.40x0.60 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึงที่ระยะ d = 0.50 ม. ถา
แรงเฉือนที่หนาตัดวิกฤตอันเนื่องมาจากน้ําหนักบรรทุกประลัย มีคา = 25000 กก. จงหาขนาดและ
ระยะเรียงหางมากที่สุดของเหล็กลูกตั้ง (สองขา) ซึ่งมีคา fy = 3000 กก./ซม2 สมมติวาคอนกรีตมีคา
2
f c' = 200 กก./ ซม
ตัวเลือก
(1) 6 มม @ 7.0 ซม
(2) 6 มม @ 10.0 ซม
(3) 12 มม @ 20.0 ซม
(4) 12 มม @ 27.5 ซม
แนวคิด
คําถามขอนี้มีขอบกพรองอยูหนึ่งเรื่องคือเหล็กขอออยขนาดเล็กที่สุด 10 มม สําหรับเหล็ก 6 มม ใน
ตัวเลือก (1) และ (2) เปนเหล็กผิวเรียบมี f y = 2400 ksc แตคํานวณตามโจทยใหไดดงั นี้
โจทยกําหนด b w = 40 cm, d = 50 cm, Vu = 25000 kg, f y = 3000 ksc, f c' = 200 ksc และ
RB 6 mm A v = 2 × 0.283 = 0.566 cm 2
DB 12 mm A v = 2 × 1.131 = 2.262 cm 2
กําลังเฉือนที่คอนกรีตรับได
φVc = φ0.53 f c' b w d = 0.85 × 0.53 200 × 40 × 50 = 12742 kg
Vu − φVc = 25000 − 12742 = 12258 kg
ตามมาตรฐาน วสท. กําหนดวา
ถา Vu − φVc ≤ 1.1φ f c' b w d ใหเลือกระยะเรียงเหล็กลูกตั้งจากคานอยในสามคาตอไปนี้
φA v f y d
s=
Vu − φVc
d
s=
2
s = 60 cm
ถา 1.1φ f c' b w d < Vu − φVc ≤ 2.1φ f c' b w d ใหเลือกระยะเรียงเหล็กลูกตั้งจากคานอยในสามคา
ตอไปนี้
φA v f y d
s=
Vu − φVc
d
s=
4
s = 30 cm

68
ถา Vu − φVc > 2.1φ f c' b w d หนาตัดคานนั้นเล็กเกินไปมีสภาพเปราะ ตองขยายหนาตัดใหโตขึ้น
ซึ่งการขยายทางกวางกับทางลึกมีผลเทากัน เพราะทั้ง b w และ d ตางยกกําลัง 1 ถาเปนเรื่อง
โมเมนต การขยายทางลึกจะดีกวาทางกวางเพราะ b w ยกกําลัง 1 แต d ยกกําลัง 2
กรณีนี้ตองหาคาของ 1.1φ f c' b w d และ 2.1φ f c' b w d
1.1φ f c' b w d = 1.1 × 0.85 200 × 40 × 50 = 26446 kg
2.1φ f c' b w d = 2.1 × 0.85 200 × 40 × 50 = 50487 kg
พบวา Vu − φVc ≤ 1.1φ f c' b w d หาระยะเรียง
φA v f y d 0.85 × 0.566 × 3000 × 50
RB 6 mm s= = = 5.9 cm
Vu − φVc 12258
φA v f y d 0.85 × 2.262 × 3000 × 50
DB 12 mm s= = = 23.53 cm
Vu − φVc 12258
d 50
s= = = 25 cm
2 2
s = 60 cm
อาจจะเลือก RB 6 mm @ 5.5 cm หรือ DB 12 mm @ 20.0 cm
คําตอบ ขอ (3) 12 มม @ 20.0 ซม

69
คําถามขอที่ 79
คานยื่น มีรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด 0.15x0.35 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึงที่ระยะ d = 0.30 ม. ถาแรง
เฉือนที่หนาตัดวิกฤตอันเนื่องมาจากน้ําหนักบรรทุกประลัยมีคา = 4500 กก. จงหาระยะเรียงหางมาก
ที่สุดของเหล็กลูกตั้ง 6 มม.(สองขา) ซึ่งมีคา fy = 2400 กก./ซม2 สมมติวาคอนกรีตมีคา f c' = 150
กก./ซม2
ตัวเลือก
(1) 12.5 ซม
(2) 15 ซม
(3) 17.5 ซม
(4) 20 ซม
แนวคิด
โจทยกําหนด b w = 15 cm, d = 30 cm, Vu = 4500 kg, f y = 2400 ksc, f c' = 150 ksc และ
RB 6 mm A v = 2 × 0.283 = 0.566 cm 2
กําลังเฉือนที่คอนกรีตรับได
φVc = φ0.53 f c' b w d = 0.85 × 0.53 150 × 15 × 30 = 2482.9 kg
Vu − φVc = 4500 − 2482.9 = 2017.1 kg
ตามมาตรฐาน วสท. กําหนดวา
ถา Vu − φVc ≤ 1.1φ f c' b w d ใหเลือกระยะเรียงเหล็กลูกตั้งจากคานอยในสามคาตอไปนี้
φA v f y d
s=
Vu − φVc
d
s=
2
s = 60 cm
ถา 1.1φ f c' b w d < Vu − φVc ≤ 2.1φ f c' b w d ใหเลือกระยะเรียงเหล็กลูกตั้งจากคานอยในสามคา
ตอไปนี้
φA v f y d
s=
Vu − φVc
d
s=
4
s = 30 cm
ถา Vu − φVc > 2.1φ f c' b w d หนาตัดคานนั้นเล็กเกินไปมีสภาพเปราะ ตองขยายหนาตัดใหโตขึ้น
ซึ่งการขยายทางกวางกับทางลึกมีผลเทากัน เพราะทั้ง b w และ d ตางยกกําลัง 1 ถาเปนเรื่อง
โมเมนต การขยายทางลึกจะดีกวาทางกวางเพราะ b w ยกกําลัง 1 แต d ยกกําลัง 2
กรณีนี้ตองหาคาของ 1.1φ f c' b w d และ 2.1φ f c' b w d

70
1.1φ f c' b w d = 1.1 × 0.85 150 × 15 × 30 = 2975.2 kg
2.1φ f c' b w d = 2.1 × 0.85 150 × 15 × 30 = 5679.8 kg
พบวา Vu − φVc ≤ 1.1φ f c' b w d หาระยะเรียง
φA v f y d 0.85 × 0.566 × 2400 × 30
RB 6 mm s= = = 17.17 cm
Vu − φVc 2017.1
d 30
s= = = 15 cm
2 2
s = 60 cm
เลือก RB 6 mm @ 15 cm
คําตอบ ขอ (2) 15 ซม

71
คําถามขอที่ 80
คานชวงเดียวยาว 6.00 เมตร มีรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด 0.40x0.65 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึงที่ระยะ
d = 0.55 ม. ถามีน้ําหนักบรรทุกประลัยแบบแผสม่ําเสมอ = 11.5 ตัน/เมตร จงหาระยะเรียงหางมาก
ที่สุดของเหล็กลูกตั้ง 12 มม.(สองขา) ซึ่งมีคา fy = 2400 กก./ซม2 สมมติวาคอนกรีตมีคา f c' = 200
กก./ซม2
ตัวเลือก
(1) 15 ซม
(2) 17.5 ซม
(3) 20 ซม
(4) 25 ซม
แนวคิด
โจทยกําหนด ความยาว L = 6.00 m, ความกวาง b w = 40 cm ควมลึกประสิทธิผล d = 55 cm,
น้ําหนักบรรทุกประลัยแบบแผสม่ําเสมอ w u = 11.5 t / m, กําลังครากของเหล็กเสริม f y = 2400
ksc กําลังประลัยของคอนกรีต f c' = 200 ksc ไมบอกขนาดของที่รองรับ ดังนั้นการหาหนาตัด
วิกฤตสําหรับแรงเฉือนที่ปกติจะอยูที่ระยะ d จากขอบในของที่รองรับ จึงจะใชระยะจากจุด
ศูนยกลางของที่รองรับแทน โจทยไมบอกวาน้ําหนักบรรทุกดังกลาวขางตนรวมน้ําหนักของตัวคาน
เองแลว จึงตองหาน้ําหนักคานซึ่งเปนน้ําหนักบรรทุกคงที่รวมเขาไปดวย
w G = 2400b w h = 2400 × 0.40 × 0.65 = 624 kg / m
w u = 11,500 + 1.4 w G = 11,500 + 1.4 × 624 = 12,373.6 kg / m
wuL ⎛L ⎞ ⎛ 6.00 ⎞
Vu = − w u d = w u ⎜ − d ⎟ = 12,373.6 × ⎜ − 0.55 ⎟
2 ⎝2 ⎠ ⎝ 2 ⎠
Vu = 30,315.32 kg
RB 12 mm A v = 2 × 1.131 = 2.262 cm 2
กําลังเฉือนที่คอนกรีตรับได
φVc = φ0.53 f c' b w d = 0.85 × 0.53 200 × 40 × 55 = 14016.3 kg
Vu − φVc = 30,315.32 − 14,016.3 = 16,299.02 kg
ตามมาตรฐาน วสท. กําหนดวา
ถา Vu − φVc ≤ 1.1φ f c' b w d ใหเลือกระยะเรียงเหล็กลูกตั้งจากคานอยในสามคาตอไปนี้
φA v f y d
s=
Vu − φVc
d
s=
2
s = 60 cm

72
ถา 1.1φ f c' b w d < Vu − φVc ≤ 2.1φ f c' b w d ใหเลือกระยะเรียงเหล็กลูกตั้งจากคานอยในสามคา
ตอไปนี้
φA v f y d
s=
Vu − φVc
d
s=
4
s = 30 cm
ถา Vu − φVc > 2.1φ f c' b w d หนาตัดคานนั้นเล็กเกินไปมีสภาพเปราะ ตองขยายหนาตัดใหโตขึ้น
ซึ่งการขยายทางกวางกับทางลึกมีผลเทากัน เพราะทั้ง b w และ d ตางยกกําลัง 1 ถาเปนเรื่อง
โมเมนต การขยายทางลึกจะดีกวาทางกวางเพราะ b w ยกกําลัง 1 แต d ยกกําลัง 2
กรณีนี้ตองหาคาของ 1.1φ f c' b w d และ 2.1φ f c' b w d
1.1φ f c' b w d = 1.1 × 0.85 200 × 40 × 55 = 29,090.4 kg
2.1φ f c' b w d = 2.1 × 0.85 200 × 40 × 55 = 55,536.2 kg
พบวา Vu − φVc ≤ 1.1φ f c' b w d หาระยะเรียง
φA v f y d 0.85 × 2.262 × 2400 × 55
RB 12 mm s= = = 15.57 cm
Vu − φVc 16299.02
d 55
s= = = 27.5 cm
2 2
s = 60 cm
เลือก RB 12 mm @ 15 cm
คําตอบ ขอ (1) 15 ซม
สําหรับคําถามขอที่ 80 นี้ ระวังตรงตองคิดน้ําหนักคานเองดวย

73
คําถามขอที่ 81
กําลังยึดเหนีย่ วระหวางคอนกรีตกับเหล็กเสริม นอกจากจะขึ้นกับกําลังของวัสดุและขนาดของเหล็ก
เสริมที่ใช ยังขึน้ กับ
ตัวเลือก
(1) ระยะคอนกรีตที่หุมเหล็กเสริม
(2) ระยะหางระหวางเหล็กเสริม
(3) การเสริมเหล็กทางขวาง
(4) ถูกทุกขอ
แนวคิด
ใหดหู นังสือ การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีกําลัง ศาสตราจารย ดร.วินิต ชอ
วิเชียร บทที่ 5 หนา 180 จะเห็นวาหนวยแรงยึดเหนี่ยวจะขึ้นกับ ระยะคอนกรีตที่หุมเหล็กเสริม
ระยะหางระหวางเหล็กเสริม และการเสริมเหล็กทางขวาง ดังนั้จึงถูกทุกขอ
คําตอบ ขอ (4) ถูกทุกขอ

74
คําถามขอที่ 82
ขอความใดตอไปนี้ที่มิใชมาตรฐานกําหนดของ ว.ส.ท.(หมายเหตุ d = ความลึกประสิทธิผล, db =
ขนาดเสนผานศูนยกลางของเหล็กเสริม)
ตัวเลือก
(1) ตองยื่นเหล็กเสริมอยางนอย 1 ใน 3 ของเหล็กเสริมที่ใชรับโมเมนตลบทั้งหมดเลยจาก ตํา
แหนง ของจุดดัดกลับเปนระยะไมนอยกวา d หรือ 12 db หรือ 1/18 ของระยะชวงวางของคาน โดย
ใชคาที่มากกวา
(2) ตองยื่นเหล็กเสริมที่ใชรับโมเมนตดัดใหเลยจากจุดที่ไมตองการทางทฤษฏีออกไปอีกอยาง
นอยเทากับ d หรือ 12 db โดยใชคาที่มากกวา
(3) ตองยื่นเหล็กเสริมอยางนอย 1 ใน 3 ของเหล็กเสริมที่ใชรับโมเมนตบวกทั้งหมดในคานชวง
เดี่ยว เลยเขาไปในฐานรองรับเปนระยะไมนอยกวา 15 ซม.
(4) ตองยื่นเหล็กเสริมอยางนอย 1 ใน 4 ของเหล็กเสริมที่ใชรับโมเมนตบวกทั้งหมดในคานตอ
เนื่อง เลยเขาไปในฐานรองรับเปนระยะไมนอยกวา 15 ซม.
แนวคิด
จากมาตรฐานสําหรับอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธหี นวยแรงใชงาน
ขอ (1) จะคลายกับขอ 4901 (จ) เพียงแตมาตรฐานไมไดให 12db และคา 1/18 ตองเปน 1/16
ขอ (2) จะเหมือนกับขอ 4901(ข)
ขอ (3) จะเหมือนสวนหนึ่งของขอ 4901(ฉ)
ขอ (4) จะเหมือนสวนหนึ่งของขอ 4901(ฉ)
คําตอบ ขอ (1) มีบางสวนที่ไมใชมาตรฐาน

75
คําถามขอที่ 83
ระยะตอทาบเหล็กขอออย (ขนาดเสนผาศูนยกลางที่เล็กกวา 36 มม.) ซึ่งรับแรงดึงและที่รับแรงอัด
ตองไมนอยกวา
ตัวเลือก
(1) 25 ซม
(2) 30 ซม
(3) 36 ซม
(4) 40 ซม
แนวคิด
จากมาตรฐานสําหรับอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธหี นวยแรงใชงาน
ขอ 3405 (ข) หามตอทาบเหล็กที่มีขนาดใหญกวา 25 มม. เหล็ก SD-30 ระยะทาบ 24db เหล็ก SD-40
ระยะทาบ 30db เหล็ก SD-50 ระยะทาบ 36db แตตองไมนอ ยกวา 30 ซม สวนเหล็กผิวเรียบใช 2 เทา
ของเหล็กขอออย
และจากมาตรฐานสําหรับอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีกําลัง ขอ 4502 ขนาดเหล็กไมเกิน 36
มม และคํานวณแลวตองไมนอยกวา 30 ซม
คําตอบ ขอ (2) 30 ซม

76
คําถามขอที่ 84
ถาระยะฝงยึดของเหล็กเสริมรับแรงดึง (ที่มิใชเหล็กบน) ถูกจํากัดไมใหเกินกวา 120 ซม. จงใชวิธี
WSD หาขนาดโตสุดของเหล็กกลมเรียบทีส่ ามารถนํามาใช กําหนดให f c' = 150 กก./ซม.2
ตัวเลือก
(1) 12 มม
(2) 15 มม
(3) 19 มม
(4) 25 มม
แนวคิด
การหาระยะฝงยึด l d พิจารณาจากสมดุลของแรงดึงในเหล็กกับแรงยึดหนวงรอบผิว
⎛π ⎞
u (πd b )l d = f s ⎜ d 2b ⎟
⎝4 ⎠
fd
ld = s b
4u
จากมาตรฐานสําหรับอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีหนวยแรงใชงาน ขอ 6501(ค) 1. และ 4
กําหนดวา เหล็กขอออยตามมาตรฐาน ASTM A305 กําหนดหนวยแรงยึดเหนี่ยวทีย่ อมใหวา
เหล็กบน (มีคอนกรีตอยูใตเหล็กไมนอยกวา 30 ซม)
f c'
u = 2.29 ≤ 25 ksc
D
เหล็กอื่น
f c'
u = 3.23 ≤ 35 ksc
D
เหล็กผิวเรียบใหใชคาเพียงครึ่งเดียวของเหล็กขอออย แตตองไมเกิน 11 ksc
เมื่อ D = d b = ขนาดเสนผานศูนยกลางของเหล็กเสริม ซม
โจทยขอนี้ไมใชเหล็กบน คาระยะฝงต่ําสุดหาไดดงั นี้
เหล็ก RB 12 mm
3.23 150
u= = 16.48 ⇒ 11 ksc
2 1.2
1200 × 1.2
ld = = 32.7 cm
4 × 11
เหล็ก RB 15 mm
3.23 150
u= = 13.19 ⇒ 11 ksc
2 1.5
1200 × 1.5
ld = = 40.91 cm
4 × 11

77
เหล็ก RB 19 mm
3.23 150
u= = 10.41 ksc
2 1.9
1200 × 1.9
ld = = 54.76 cm
4 × 10.41
เหล็ก RB 25 mm
3.23 150
u= = 7.912 ksc
2 2.5
1200 × 2.5
ld = = 94.79 cm
4 × 7.912
เหล็ก RB 25 mm ตองการระยะฝง 95 ซม ซึ่งนอยกวาขีดจํากัดทีก่ ําหนด 120 ซม
คําตอบ ขอ (4) 25 มม

78
คําถามขอที่ 85
ถาระยะฝงยึดของเหล็กเสริมรับแรงดึง (ที่มิใชเหล็กบน) ถูกจํากัดไมใหเกินกวา 120 ซม. จงใชวิธี
WSD หาขนาดโตสุดของเหล็กกลมขอออยที่สามารถนํามาใช กําหนดให f c' = 150 กก./ซม.2
ตัวเลือก
(1) 12 มม
(2) 16 มม
(3) 20 มม
(4) 28 มม
แนวคิด
การหาระยะฝงยึด l d พิจารณาจากสมดุลของแรงดึงในเหล็กกับแรงยึดหนวงรอบผิว
⎛π ⎞
u (πd b )l d = f s ⎜ d 2b ⎟
⎝4 ⎠
fd
ld = s b
4u
จากมาตรฐานสําหรับอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีหนวยแรงใชงาน ขอ 6501(ค) 1. และ 4
กําหนดวา เหล็กขอออยตามมาตรฐาน ASTM A305 กําหนดหนวยแรงยึดเหนี่ยวทีย่ อมใหวา
เหล็กบน (มีคอนกรีตอยูใตเหล็กไมนอยกวา 30 ซม)
f c'
u = 2.29 ≤ 25 ksc
D
เหล็กอื่น
f c'
u = 3.23 ≤ 35 ksc
D
เหล็กผิวเรียบใหใชคาเพียงครึ่งเดียวของเหล็กขอออย แตตองไมเกิน 11 ksc
เมื่อ D = d b = ขนาดเสนผานศูนยกลางของเหล็กเสริม ซม
โจทยขอนี้ไมใชเหล็กบน คาระยะฝงต่ําสุดหาไดดงั นี้
เหล็ก DB 12 mm
150
u = 3.23 = 32.966 ksc
1.2
1500 × 1.2
ld = = 13.65 ⇒ 30 cm
4 × 32.966
เหล็ก DB 16 mm
150
u = 3.23 = 24.724 ⇒ 11 ksc
1.6
1500 × 1.6
ld = = 24.27 ⇒ 30 cm
4 × 24.724

79
เหล็ก DB 20 mm
150
u = 3.23 = 19.78 ksc
2.0
1500 × 2.0
ld = = 37.92 cm
4 × 19.78
เหล็ก DB 28 mm
150
u = 3.23 = 14.128 ksc
2.8
1500 × 2.8
ld = = 74.32 cm
4 × 14.128
เหล็ก DB 28 mm ตองการระยะฝง 74.32 ซม ซึ่งนอยกวาขีดจํากัดทีก่ ําหนด 120 ซม
คําตอบ ขอ (4) 28 มม

80
คําถามขอที่ 86
คานยื่นตัวหนึง่ ตองเสริมเหล็ก RB 25 มม. (As = 4.91 ซม2) จํานวนหนึ่งเพื่อรับโมเมนตดัด จง
ประมาณคาระยะฝงที่ตองฝงยึดทอนเหล็กตรงจากหนาตัดวิกฤต เขาไปในสวนโครงสรางที่รองรับนี้
ตามวิธี WSD กําหนดให f c' = 150 กก./ซม2 fy = 2400 กก./ซม2 และหนวยแรงยึดเหนีย่ วทีย่ อมให
ของเหล็กเสริม RB 25 มม. = 7.91 กก./ตร.ซม.
ตัวเลือก
(1) 70 ซม
(2) 80 ซม
(3) 90 ซม
(4) 100 ซม
แนวคิด
การหาระยะฝงยึด l d พิจารณาจากสมดุลของแรงดึงในเหล็กกับแรงยึดหนวงรอบผิว
⎛π ⎞
u (πd b )l d = f s ⎜ d 2b ⎟
⎝4 ⎠
fd
ld = s b
4u
ดังนั้น
1200 × 2.5
ld = = 94.82 cm ⇒ 100 cm
4 × 7.91
คําตอบ ขอ (4) 100 ซม

81
คําถามขอที่ 87
จงประมาณระยะฝงยึดจากหนาตัดวิกฤตถึงตําแหนงที่จะเริ่มดัดงอเหล็กเสริมเพื่อทําเปน � ของอ
มาตรฐาน� สําหรับเหล็กเสริม RB 25 มม. (As = 4.91 ซม2) ที่รับแรงดึง ซึ่งวิธี WSD กําหนดวา
� ของอมาตรฐาน� มีกําลังรับแรงดึงไดเทากับ 700 กก./ซม2 กําหนดให f c' = 150 กก./ซม2 fy =
2400 กก./ซม2 และ หนวยแรงยึดเหนี่ยวทีย่ อมใหของเหล็กเสริม RB 25 มม. = 7.91 กก./ตร.ซม.
ตัวเลือก
(1) 30 ซม
(2) 40 ซม
(3) 50 ซม
(4) 60 ซม
แนวคิด
แรงดึงสูงสุดในเหล็ก RB 25 mm คือ Asfs แตเนื่องจากของอมาตรฐานจะรับไปแลว 700 ksc
ดังนั้นแรงดึงทีใ่ หหนวยแรงยึดเหนีย่ วรับเอาไวจึงเหลือเพียง As (fs − 700) เหล็ก RB 25 mm มี
เสนรอบรูปยาว πd b = 2.5π ซม เนื้อที่รับแรงยึดเหนีย่ ว 2.5πl d ตร.ซม หนวยแรงยึดเหนีย่ วทีย่ อม
ให u = 7.91 ksc จากสมดุลของแรง
2.5πl d u = A s (f s − 700)
⎛ 2400 ⎞
2.5πl d × 7.91 = 4.91 × ⎜ − 700 ⎟
⎝ 2 ⎠
l d = 39.51 cm ⇒ 40 cm
คําตอบ ขอ (2) 40 ซม

82
คําถามขอที่ 88
จงใชวิธี USD ประมาณระยะฝงยึดจากหนาตัดวิกฤตถึงตําแหนงที่จะเริม่ ดัดงอเหล็กเสริมเพื่อทําเปน
�ของอมาตรฐาน�สําหรับเหล็ก RB 25 มม. (As = 4.91 ซม2) ที่รับแรงดึง กําหนดให f c' = 150
กก./ซม2 fy = 2400 กก./ซม2 และให modifation factor = 1.0
ตัวเลือก
(1) 30 ซม
(2) 40 ซม
(3) 50 ซม
(4) 60 ซม
แนวคิด
วิธี USD (Ultimate Strength Design) ปจจุบันเรียก SDM (Strength Design Method)
ดูหนังสือ การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีกําลัง ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร บทที่5
สมการ (5.3.3) ระยะฝงพืน้ ฐานเมื่อปลายทําของอมาตรฐาน 90 หรือ 180 องศา คือ
fy 2400
l hb = 0.08d b = 0.08 × 2.5 × = 39.19 cm
'
f c
150
โจทยให modification factor = 1.0 ดังนั้น
l d = 1.0l hd = 1.0 × 39.19 = 39.19 ⇒ 40 cm
คําตอบ ขอ (2) 40 ซม

83
คําถามขอที่ 89
คาน คสล. ชวงเดี่ยวยาว 3.50 เมตร ตองเสริมเหล็ก 3-RB 12 มม. ทีก่ ึ่งกลางคาน เพื่อรับโมเมนตดัด
ชนิดบวกอันเนื่องมาจากน้ําหนักบรรทุกแผสม่ําเสมอ ใหหาตําแหนง (ทางทฤษฎี) ซึ่งหางมาจากจุด
รองรับ ที่จะหยุด ดัด หรือตัดเหล็กเสริมออกไป 1 เสน โดยเหลือเหล็กเสริม 2 เสนที่ปลอยเลยเขาไป
ในจุดรองรับนัน้
ตัวเลือก
(1) 45 ซม
(2) 55 ซม
(3) 65 ซม
(4) 75 ซม
แนวคิด
ดูหนังสือ การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธกี ําลัง ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร รูปที่ 5.15(
ก) จุดที่จะลดเหล็กเสริม (ทางทฤษฎี) 1/3 แรก จะอยูทตี่ ําแหนงซึ่งโมเมนตเปน 2/3 ของคาสูงสุด
และลดอีก 1/3 ตอไปที่ตําแหนงซึ่งมีโมเมนตเปน 1/3 ของคาสูงสุด สวนที่เหลืออยางนอย 2 เสน ยืน่
เขาไปในที่รองรับไมนอยกวา 15 ซม. สําหรับกรณีคานชวงเดียวนี้ ให L เปนความยาวชวงคานและ
w เปนน้ําหนักแผสม่ําเสมอ
wL2
โมเมนตสูงสุดที่กลางคาน M max =
8
wL
แรงปฏิกิริยาทีจ่ ุดรองรับ R=
2
wLx wx 2
โมเมนตดัดที่ระยะ x ใดๆ M= −
2 2
ให x1 เปนระยะที่ M = 2 M max
3
wLx wx 2 2 wL2
− =
2 2 3 8
6Lx − 6x = L
2 2

6 x 2 − 6Lx + L2 = 0

x=
6L ± (− 6L )2 − 4(6)L2
2×6

x=
(
6L ± L 12 6 ± 2 3 L
=
)
12 12
3± 3
x= L
6
3+ 3
นั่นคือ x1 = L = 0.7887 L > 0.5L เปนไปไมได
6

84
3− 3
และ x1 = L = 0.2113L = 0.2113 × 3.50 = 0.7396 m
6
จะเห็นวาคําตอบที่ใกลเคียงคือขอ (4) 75 ซม
สําหรับอีก 1/3 ที่จะลดเมื่อ M = 1 M max ที่ระยะ x 2 จากทีร่ องรับ
3
wLx wx 2 1 wL2
− =
2 2 3 8
12Lx − 12 x = L2
2

12 x 2 − 12Lx + L2 = 0

x=
12L ± (− 12L )2 − 4(12)L2
2 × 12

x=
(
12L ± L 96 12 ± 4 6 L
=
)
24 24
3± 6
x= L
6

นั่นคือ x 2 = 3 + 6
L = 0.9082L > 0.5L เปนไปไมได
6
3− 6
x2 = L = 0.2041L = 0.2041 × 3.50 = 0.7144 m = 71.44 cm
6
จากตําแหนงลดเหล็กทางทฤษฎีนี้ตองยืน่ ใหเลยไปทางจุดรองรับเปนระยะ d หรือ 12db แลวแตคา
ใดจะมากกวา
คําตอบ ขอ (4) 75 ซม

85
คําถามขอที่ 90
ในการออกแบบคานตอเนื่อง คสล. โดยใชคาสัมประสิทธิ์ของโมเมนตดัดซึ่งมีคาทั้งโมเมนตบวก
และลบที่มากที่สุดอันเนื่องมาจากการจัดวางน้ําหนักบรรทุกจร ถาคานตอเนื่องมีระยะชวงวางเทากับ
L เมตร รับน้ําหนักบรรทุกแผสม่ําเสมอเทากับ w กก/เมตร และออกแบบใหคานรับโมเมนตดัดชนิด
บวก ซึ่งคาสัมประสิทธิ์ของโมเมนตบวก = 1/16 ดังนั้นตําแหนงทางทฤษฎี (โดยประมาณ) ซึ่งหาง
จากจุดรองรับ ที่จะหยุด ตัด หรือดัดเหล็กเสริมรับโมเมนตดัดบวก คือ
ตัวเลือก
(1) 0.15L
(2) 0.25L
(3) 0.30L
(4) 0.35L
แนวคิด
ดูหนังสือ การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธกี ําลัง ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร รูปที่ 5.16(
wL2
ก) ถาคานเปนแบบชวงเดียว โมเมนตที่กลางชวงคือ แตเมื่อเปนคานตอเนื่อง คาสัมประสิทธิ์
8
1 wL2
โมเมนตดัดบวกคือ ดังนั้นโมเมนตดัดบวกคือ โมเมนตดัดลบทั้งสองปลายจะลากให
16 16
โมเมนตของคานชวงเดียวลง ระยะระหวางจุดดัดกลับซึ่งโมเมนตเปน 0 ความยาวของชวงที่เปน
โมเมนตดัดบวกเสมือนเปนคานชวงเดียวยาว Lo ดังนั้น
wL2o wL2
=
8 16
L
L0 = = 0.707L
2
ระยะจากจุดรองรับถึงจุดดัดกลับที่จะมีการหยุด ตัด หรือดัดเหล็กเสริมรับโมเมนตบวกคือ
L − L o L − 0.707 L
x= = = 0.1465L ≈ 0.15L
2 2
คําตอบ ขอ (1) 0.15L

86
คําถามขอที่ 91
ในการออกแบบคานตอเนื่อง คสล. โดยใชคาสัมประสิทธิ์ของโมเมนตดัดซึ่งมีคาทั้งโมเมนตบวก
และลบที่มากที่สุดอันเนื่องมาจากการจัดวางน้ําหนักบรรทุกจร ถาคานตอเนื่องมีระยะชวงวางเทากับ
L เมตร รับน้ําหนักบรรทุกแผสม่ําเสมอเทากับ w กก/เมตร และออกแบบใหคานรับโมเมนตดัดชนิด
ลบ ซึ่งคาสัมประสิทธิ์ของโมเมนตลบ = 1/11 ดังนั้นตําแหนงทางทฤษฎี (โดยประมาณ) ซึ่งหางจาก
จุดรองรับ ที่จะหยุด ตัด หรือดัดเหล็กเสริมรับโมเมนตดดั บวก คือ
ตัวเลือก
(1) 0.15L
(2) 0.25L
(3) 0.30L
(4) 0.35L
แนวคิด
ดูหนังสือ การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธกี ําลัง ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร รูปที่ 5.16(
wL2
ก) ถาคานเปนแบบชวงเดียว โมเมนตที่กลางชวงคือ แตเมื่อเปนคานตอเนื่อง คาสัมประสิทธิ์
8
1
โมเมนตดัดลบคือ
11
ดังนั้นโมเมนตดัดบวกคือ
wL2 wL2 3wL2
M+ = − = = 0.03409 wL2
8 11 88
โมเมนตดัดลบทั้งสองปลายจะลากใหโมเมนตของคานชวงเดียวลง ระยะระหวางจุดดัดกลับซึ่ง
โมเมนตเปน 0 ความยาวของชวงที่เปนโมเมนตดัดบวกเสมือนเปนคานชวงเดียวยาว Lo ดังนั้น
wL2o 3wL2
=
8 88
3
L0 = L = 0.5222L
11
ระยะจากจุดรองรับถึงจุดดัดกลับที่จะมีการหยุด ตัด หรือดัดเหล็กเสริมรับโมเมนตบวกคือ
L − L o L − 0.5222L
x= = = 0.2389L ≈ 0.25L
2 2
คําตอบ ขอ (2) 0.25L

87
คําถามขอที่ 92 คาน คสล.ชวงเดี่ยวยาว 3.50 เมตร ตองเสริมเหล็ก 3-RB 12 มม ที่กึ่งกลางคาน เพื่อ
รับโมเมนตดัดชนิดบวกอันเนื่องมาจากน้ําหนักบรรทุกแผสม่ําเสมอ สมมติวาตําแหนง (ทางทฤษฏี)
ที่จะตัดเหล็กเสริมออกไป 2 เสน อยูที่ระยะ 75 ซม หางมาจากจุดรองรับ ดังนั้นเหล็กเสริมอีก 1 เสน
ที่เหลือซึ่งจะปลอยเลยเขาไปในจุดรองรับ ตองมีระยะฝงยึด (ทางทฤษฎี) อยางนอย ประมาณ
(กําหนดใหหนวยแรงยึดเหนี่ยวที่ยอมใหของเหล็ก RB 12 mm = 11 กก/ตร.ซม)
ตัวเลือก
(1) 45 ซม
(2) 55 ซม
(3) 65 ซม
(4) 75 ซม
แนวคิด
การที่กําหนด u = 11 ksc แสดงวาเปนการคิดวิธีหนวยแรงใชงาน ระยะฝงยึด
d b f s 1.2 × 1200
ld = = = 32.73 cm
4u 4 × 11
จากสมการ (4.4.5) หนังสือการออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธหี นวยแรงใชงาน
ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร เมื่อหนวยแรงยึดเหนีย่ วนอยกวา 0.80 ของคาที่ยอมให ใหเพิ่มคาอีกโดย
d bfs 1.25d b f s
ld = = = 1.25 × 32.73 = 40.9 cm ⇒ 45 cm
0.8 × 4u 4u
เหล็ก RB 12 mm เปนเหล็กผิวเรียบ มี f y = 2400 ksc, fs = 1200 ksc
คําตอบ ขอ (1) 45 ซม

88
คําถามขอที่ 93
ตามมาตรฐานการออกแบบโดยวิธหี นวยแรงใชงาน หนวยแรงเฉือนบิดที่ยอมใหของคอนกรีตตาม
ลําพังหรือของคาน คสล. ที่ไมมีเหล็กเสริมทางขวาง คือ
ตัวเลือก
(1) 0.29 f c' กก/ตร.ซม
(2) 0.53 f c' กก/ตร.ซม
(3) 1.32 f c' กก/ตร.ซม
(4) 1.65 f c' กก/ตร.ซม
แนวคิด
มาตรฐาน ว.ส.ท. ใหขอกําหนดเกีย่ วกับแรงเฉือนบิด (วิธีหนวยแรงใชงาน) ดังนี้
1. หนวยแรงเฉือนที่ยอมให (vc ) ของคอนกรีตตามลําพังหรือของคาน คสล. ที่มีมเหล็กเสริม
ทางขวางคือ vc = 0.29 f c' ksc
2. หนวยแรงเฉือนบิด (v t ) ในคาน คสล. ที่รับแตแรงบิดอยางเดียว ซึ่งคํานวณไดจากสมการ
3.5T 3.5T
vt = หรือ v t =
x2y ∑ x2y
ตองมีคาไมเกินกวา 1.32 f c' มิฉะนัน้ ตองเพิ่มขนาดรูปตัดใหใหญขึ้น
V
3. ผลรวมของหนวยแรงเฉือนจากการดัด vb = กับหนวยแรงเฉือนจากการบิด
bd
3.5T
vt = ในคาน คสล. ที่รับโมเมนตดัดรวมกับแรงบิด ตองมีคาไมเกินกวา 1.65 f c' มิฉะนั้น
∑ x2y
ตองเพิ่มขนาดรูปตัดใหใหญขึ้น
คําตอบ ขอ (1) 0.29 f c' กก/ตร.ซม

89
คําถามขอที่ 94
ตามมาตรฐานการออกแบบโดยวิธหี นวยแรงใชงาน หนวยแรงเฉือนบิดสูงสุดที่ยอมใหของคาน
คสล. ที่เสริมเหล็กทางขวาง ซึ่งรับแตโมเมนตบิดอยางเดียว ตองไมเกินกวาคาตอไปนี้ มิฉะนั้นตอง
เปลี่ยนขนาดของรูปตัด
ตัวเลือก
(1) 0.29 f c' กก/ตร.ซม
(2) 0.53 f c' กก/ตร.ซม
(3) 1.32 f c' กก/ตร.ซม
(4) 1.65 f c' กก/ตร.ซม
แนวคิด
มาตรฐาน ว.ส.ท. ใหขอกําหนดเกีย่ วกับแรงเฉือนบิด (วิธีหนวยแรงใชงาน) ดังนี้
1. หนวยแรงเฉือนที่ยอมให (vc ) ของคอนกรีตตามลําพังหรือของคาน คสล. ที่มีมเหล็กเสริม
ทางขวางคือ vc = 0.29 f c' ksc
2. หนวยแรงเฉือนบิด (v t ) ในคาน คสล. ที่รับแตแรงบิดอยางเดียว ซึ่งคํานวณไดจากสมการ
3.5T 3.5T
vt = หรือ v t =
x2y ∑ x2y
ตองมีคาไมเกินกวา 1.32 f c' มิฉะนัน้ ตองเพิ่มขนาดรูปตัดใหใหญขึ้น
V
3. ผลรวมของหนวยแรงเฉือนจากการดัด vb = กับหนวยแรงเฉือนจากการบิด
bd
3.5T
vt = ในคาน คสล. ที่รับโมเมนตดัดรวมกับแรงบิด ตองมีคาไมเกินกวา 1.65 f c' มิฉะนั้น
∑ x2y
ตองเพิ่มขนาดรูปตัดใหใหญขึ้น
คําตอบ ขอ (3) 1.32 f c' กก/ตร.ซม

90
คําถามขอที่ 95
ตามมาตรฐานการออกแบบโดยวิธหี นวยแรงใชงาน ผลรวมของหนวยแรงเฉือนที่เกิดจากโมเมนต
ดัดและโมเมนตบิด ที่เสริมเหล็กทางขวาง ตองไมเกินกวาคาตอไปนี้ มิฉะนั้นตองเปลี่ยนขนาดของ
รูปตัดคาน
ตัวเลือก
(1) 0.29 f c' กก/ตร.ซม
(2) 0.53 f c' กก/ตร.ซม
(3) 1.32 f c' กก/ตร.ซม
(4) 1.65 f c' กก/ตร.ซม
แนวคิด
มาตรฐาน ว.ส.ท. ใหขอกําหนดเกีย่ วกับแรงเฉือนบิด (วิธีหนวยแรงใชงาน) ดังนี้
1. หนวยแรงเฉือนที่ยอมให (vc ) ของคอนกรีตตามลําพังหรือของคาน คสล. ที่มีมเหล็กเสริม
ทางขวางคือ vc = 0.29 f c' ksc
2. หนวยแรงเฉือนบิด (v t ) ในคาน คสล. ที่รับแตแรงบิดอยางเดียว ซึ่งคํานวณไดจากสมการ
3.5T 3.5T
vt = หรือ v t =
x2y ∑ x2y
ตองมีคาไมเกินกวา 1.32 f c' มิฉะนัน้ ตองเพิ่มขนาดรูปตัดใหใหญขึ้น
V
3. ผลรวมของหนวยแรงเฉือนจากการดัด vb = กับหนวยแรงเฉือนจากการบิด
bd
3.5T
vt = ในคาน คสล. ที่รับโมเมนตดัดรวมกับแรงบิด ตองมีคาไมเกินกวา 1.65 f c' มิฉะนั้น
∑ x2y
ตองเพิ่มขนาดรูปตัดใหใหญขึ้น
คําตอบ ขอ (4) 1.65 f c' กก/ตร.ซม

91
คําถามขอที่ 96
ตามมาตรฐานการออกแบบโดยวิธกี ําลัง กําลังตานทานโมเมนตบิดประลัย (To) ของคอนกรีตอยาง
เดียว คือ
ตัวเลือก
(1) 0.13 f c' (x 2 y ) กก.ซม
(2) 0.21 f c' (x 2 y ) กก.ซม
(3) 0.29 f c' (x 2 y ) กก.ซม
(4) 0.53 f c' (x 2 y ) กก.ซม
แนวคิด
To = กําลังตานทานแรงบิดของคอนกรีตสวนที่ยังไมราว ซึ่งมีคาครึ่งหนึ่งของกําลังตานทานแรงบิด
x2y
ของคานคอนกรีตลวน Tcr = 1.60 f '
c แตเพื่อความปลอดภัยจะพิจารณาใชคาเพียง 80%
3
ดังนั้น
To = 0.80
Tcr
2
= 0.4Tcr = 0.4 × 1.60 f c'
x2y
3
( )
= 0.21 f c' x 2 y

คําตอบ ขอ (2) ( ) กก.ซม


0.21 f c' x 2 y

92
คําถามขอที่ 97
ตามมาตรฐานการออกแบบโดยวิธกี ําลัง สูตรคํานวณหากําลังตานทานโมเมนตบิดประลัย (Ts) ของ
เหล็กเสริมทางขวางแบบวงปด (ขาเดียว) คือ
α t x1y1A t f y
(1) Ts = กก.ซม โดยที่คา α t = 0.33 + 0.66 y1
2s x1
α t x1y1A t f y
(2) Ts = กก.ซม โดยที่คา α t = 0.66 + 0.33 y1
2s x1
αxyAf
(3) Ts = t 1 1 t y กก.ซม โดยที่คา α t = 0.33 + 0.66 y1
s x1
αxyAf
(4) Ts = t 1 1 t y กก.ซม โดยที่คา α t = 0.66 + 0.33 y1
s x1
แนวคิด
ดู การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีกาํ ลัง ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร บทที่ 7 หนา 260
0.21 f c' ∑ x 2 y
Tc =
2
= กําลังตานทานแรงบิดสูงสุดของคอนกรีต, กก.ซม
⎛ 0.4Vu ⎞
1 + ⎜⎜ ⎟⎟
⎝ C t Tu ⎠
αxyAf
Ts = t 1 1 t y = กําลังตานทานแรงบิดสูงสุดของเหล็กปลอกเสริมทางขวาง แตตองไม
s
เกินกวา 4Tc
y1
α t = 0.66 + 0.33 ≤ 1.50 เปนตัวประกอบของรูปตัด
x1
x1 + y1
s≤ และ s ≤ 30 cm เปนระยะเรียงเหล็กปลอกวงรอบปด
4
ถา Tu ≤ 0.13φ f c' ∑ x 2 y ไมตองคิดผลของแรงบิด
1.05φ f c' ∑ x 2 y
ถา Tu =
2
ตองเพิ่มขนาดหนาตัดใหโตขึ้น
⎛ 0.4Vu ⎞
1 + ⎜⎜ ⎟⎟
⎝ t u ⎠
C T

เหล็กทางขวาง A v + 2A t ≥ 3.5b w s เปนปริมาณขัน้ ต่ําของเหล็กทางขวาง


fy
เหล็กตามยาวรับแรงบิด A l มีขอกําหนดดังนี้
2A t (x1 + y1 )
A = l
s
แตตองไมนอยกวา
⎡ ⎤
⎢ 28xs Tu ⎥x +y
Al ≥ ⎢ − 2A t ⎥ 1 1

⎢ y T + u
f V ⎥ s
⎢⎣ u
3C t ⎥⎦

93
หรือไมเกินกวา
⎡ ⎤
⎢ 28xs Tu 3.5b w s ⎥ x1 + y1
Al ≤ ⎢ − ⎥
⎢ f y T + Vu fy ⎥ s
⎢⎣ u
3C t ⎥⎦
αxyAf
คําตอบ ขอ (4) Ts = t 1 1 t y กก.ซม โดยที่คา α t = 0.66 + 0.33 y1
s x1

94
คําถามขอที่ 98
คานกลวงมีขนาดกวาง 30 ซม. ลึก 40 ซม. ผนังดานขางหนา 10 ซม. ผนังดานบนและดานลางหนา
12.5 ซม. ถาคานนี้รับโมเมนตบิดเพียงอยางเดียว (pure torsion) จงใชวิธี WSD ประมาณคาโมเมนต
บิดใชงานสูงสุดที่ไดจากคอนกรีตเพียงอยางเดียว กําหนดให f c' = 150 กก./ตร.ซม
ตัวเลือก
(1) 150 กก.เมตร
(2) 300 กก.เมตร
(3) 360 กก.แมตร
(4) 600 กก.เมตร
แนวคิด
ในวิธี WSD เกี่ยวกันเรื่องโมเมนตบิดหรือแรงบิดนี้
หนวยแรงเฉือนสูงสุดที่กึ่งกลางผิวขอบยาวของหนาตัด
3.5T
vt =
∑ x2y
ถาหนาตัดกลวงมี h เปนความหนาของผนัง และระยะ x เปนความยาวของขอบสัน้ y เปน
ความยาวของขอบยาว
เมื่อ h ≤ x ใหถือวาเปนสี่เหลี่ยมตัน
4
x x
เมื่อ ≤ x < ใหถือเปนสี่เหลี่ยมตันแตใชสมการ
10 4
3.5T
vt =
4h
x
∑ x2y

ขอกําหนด
(1) คานคอนกรีตที่ไมมีเหล็กเสริมทางขวางจะมีหนวยแรงเฉือนที่ยอมให ทั้งจากแรงเฉือนและ
จากแรงบิด
v c = 0.29 f c'
(2) คาน คสล. ที่มีเหล็กเสริมทางขวางดวย หนวยแรงเฉือนที่เกิดจากแรงบิดอยางเดียว คือ
3.5T 3.5T
vt = หรือ v t = ตองไมเกินกวา
∑ x2y 4h
∑ x2y
x
v t = 1.32 f c'

95
V
(3) ผลรวมของหนวยแรงเฉือนจากแรงเฉือน vb = กับหนวยแรงเฉือนจากแรงบิด
bd
3.5T 3.5T
vt = หรือ v t = ตองไมเกินกวา
∑ x2y 4h
∑ x2y
x
v t = 1.65 f c'
พื้นที่หนาตัด (ขาเดียว) ของเหล็กลูกตั้งแบบวงรอบปดทีใ่ ชตานทานแรงบิดอยางเดียว หาได
จาก
Ts
At =
2A c f v
พื้นที่หนาตัดแตละรอบของเหล็กปลอกเกลียวที่ใชตานทานแรงบิดอยางเดียว หาไดจาก
Ts
At =
2 2A c f v
เหล็กเสริมตามแนวยาวของคานที่กระจายไปตามผิวของคานนั้นตองมีเพื่อใหเหล็กทางขวาง
ทําหนาที่ได
Tz
Al =
2A c f s
เมื่อ x1 = ระยะดานสั้นของศูนยกลางเหล็กปลอก
y1 = ระยะดานยาวของศูนยกลางเหล็กปลอก
A c ≈ x1y1 = เนื้อที่แกนคอนกรีตในเหล็กปลอก
x1 + y1
z≈ = คาเฉลี่ยของระยะหางของเหล็กเสริมตามยาวในการรับโมเมนตดัด
2
สําหรับคําถามขอนี้ตองตรวจสอบวาจะคิดเปนกลองตันไดหรือไม
x = 30 cm, y = 40 cm, h1 = 10 cm, h 2 = 12.5 cm
x 30 x 30
= = 7.5 cm, = = 3 cm
4 4 10 10
x x
h1 > , h 2 >
4 4
ถือวาเปนผนังตัน และจากหนวยแรงเฉือนจากแรงบิดที่รบั โดยคอนกรีตอยางเดียว คือ
3 .5 T
vt = ≤ 1 . 3 f c'
∑x y 2

ดังนั้นแรงบิดสูงสุดจากผลของคอนกรีตเพียงอยางเดียวคือ
T=
0.29 '
3.5
fc ∑ x 2 y =
0.29
3.5
( )
150 × 30 2 × 40 = 36532 kg.cm

T = 365 kg.m ⇒ 360 kg.m


คําตอบ ขอ (3) 360 กก.เมตร

96
คําถามขอที่ 100
คานกลวงมีขนาดกวาง 30 ซม. ลึก 40 ซม. ผนังดานขางหนา 10 ซม. ผนังดานบนและดานลางหนา
12.5 ซม. ถาคานนี้รับโมเมนตบิดเพียงอยางเดียว (pure torsion) จงใชวิธี USD ประมาณคาโมเมนต
บิดประลัยที่ไดจากคอนกรีตเพียงอยางเดียว กําหนดให f c' = 150 กก./ตร.ซม
ตัวเลือก
(1) 660 กก.เมตร
(2) 780 กก.เมตร
(3) 930 กก.เมตร
(4) 1080 กก.เมตร
แนวคิด
ดู การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีกาํ ลัง ศ.ดร.วินติ ชอวิเชียร บทที่ 7 หนา 256
ถึง 260
To = กําลังตานทานแรงบิดของคอนกรีตสวนที่ยังไมราว ซึ่งมีคาครึ่งหนึ่งของกําลังตานทานแรงบิด
x2y
ของคานคอนกรีตลวน Tcr = 1.60 f c' แตเพื่อความปลอดภัยจะพิจารณาใชคาเพียง 80%
3
ดังนั้น
= 0.21 f c' (x 2 y )
Tcr x2y
To = 0.80 = 0.4Tcr = 0.4 × 1.60 f c'
2 3

0.21 f c' ∑ x 2 y
Tc =
2
= กําลังตานทานแรงบิดสูงสุดของคอนกรีต, กก.ซม
⎛ 0.4Vu ⎞
1 + ⎜⎜ ⎟⎟
⎝ C t Tu ⎠
αxyAf
Ts = t 1 1 t y = กําลังตานทานแรงบิดสูงสุดของเหล็กปลอกเสริมทางขวาง แตตองไม
s
เกินกวา 4Tc
y1
α t = 0.66 + 0.33 ≤ 1.50 เปนตัวประกอบของรูปตัด
x1
x1 + y1
s≤ และ s ≤ 30 cm เปนระยะเรียงเหล็กปลอกวงรอบปด
4
ถา Tu ≤ 0.13φ f c' ∑ x 2 y ไมตองคิดผลของแรงบิด
1.05φ f c' ∑ x 2 y
ถา Tu =
2
ตองเพิ่มขนาดหนาตัดใหโตขึ้น
⎛ 0.4Vu ⎞
1 + ⎜⎜ ⎟⎟
⎝ C t Tu ⎠
เหล็กทางขวาง A v + 2A t ≥ 3.5b w s เปนปริมาณขัน้ ต่ําของเหล็กทางขวาง
fy

97
เหล็กตามยาวรับแรงบิด A l มีขอกําหนดดังนี้
2A t (x1 + y1 )
A = l
s
แตตองไมนอยกวา
⎡ ⎤
⎢ 28xs Tu ⎥x +y
Al ≥ ⎢ − 2A t ⎥ 1 1

⎢ fy T + u V ⎥ s
⎢⎣ u
3C t ⎥⎦
หรือไมเกินกวา
⎡ ⎤
⎢ 28xs Tu 3.5b w s ⎥ x1 + y1
Al ≤ ⎢ − ⎥
⎢ f y T + Vu fy ⎥ s
⎢⎣ u
3C t ⎥⎦
สําหรับคําถามขอนี้ตองตรวจสอบวาจะคิดเปนกลองตันไดหรือไม
x = 30 cm, y = 40 cm, h1 = 10 cm, h 2 = 12.5 cm
x 30 x 30
= = 7.5 cm, = = 3 cm
4 4 10 10
x x
h1 > , h 2 >
4 4
ถือวาเปนผนังตัน และจากหนวยแรงเฉือนจากแรงบิดที่รบั โดยคอนกรีตอยางเดียว คือ
(
To = 0.21 f c' ∑ x 2 y = 0.21 150 × 302 × 40 )
To = 92591 kg.cm = 926 kg.m ⇒ 930 kg.m
คําตอบ ขอ (3) 930 กก.เมตร
ตามเฉลย ขอ (2) 780 กก.เมตร ยังไมทราบที่มาวาคิดอยางไร

98
คําถามขอที่ 101
คานชวงเดียวรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผา ขนาด 0.25 × 0.60 เมตร ระยะ d = 50 ซม ตองรับ Mu ที่กลาง
ชวงคานและ Vu กับ Tu ที่หนาตัดวิกฤต โดยใช f c' = 200 กก/ตร.ซม จงประมาณกําลังรับโมเมนต
บิดประลัยที่ไดจากคอนกรีตอยางเดียว สมมติคา Cv = 1/30 ซม-1 Tu/Vu = 3/5 เมตร
0.21 f c' ∑ x 2 y
(สูตร Tc = 2
กก.ซม)
⎛ 0.4Vu ⎞
1 + ⎜⎜ ⎟⎟
⎝ C t Tu ⎠
ตัวเลือก
(1) 600 กก.เมตร
(2) 900 กก.เมตร
(3) 1050 กก.เมตร
(4) 1200 กก.เมตร
แนวคิด
แทนคาในสูตร
0.21 f c' ∑ x 2 y 0.21 200 × 252 × 60
Tc = =
2 2
⎛ 0.4Vu ⎞ ⎛ 5 ⎞
1 + ⎜⎜ ⎟⎟ 1 + ⎜ 0.4 × 30 × ⎟
⎝ C t Tu ⎠ ⎝ 3 × 100 ⎠
Tc = 109206.6 kg.cm = 1092 kg.m
φTc = 0.85 × 1092 = 928.2 kg.m ⇒ 900 kg.m
คําตอบ ขอ (2) 900 กก.เมตร

99
คําถามขอที่ 102
คานชวงเดียวรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผา ขนาด 0.25 × 0.60 เมตร ระยะ d = 50 ซม ตองรับ Mu ที่กลาง
ชวงคานและ Vu กับ Tu ที่หนาตัดวิกฤต โดยใช f c' = 300 กก/ตร.ซม จงประมาณกําลังรับโมเมนต
บิดประลัยที่ไดจากคอนกรีตอยางเดียว สมมติคา Cv = 1/30 ซม-1 Tu/Vu = 3/5 เมตร
0.21 f c' ∑ x 2 y
(สูตร Tc = 2
กก.ซม)
⎛ 0.4Vu ⎞
1 + ⎜⎜ ⎟⎟
⎝ C t Tu ⎠
ตัวเลือก
(1) 910 กก.เมตร
(2) 1110 กก.เมตร
(3) 1210 กก.เมตร
(4) 1310 กก.เมตร
แนวคิด
แทนคาในสูตร
0.21 f c' ∑ x 2 y 0.21 300 × 252 × 60
Tc = =
2 2
⎛ 0.4Vu ⎞ ⎛ 5 ⎞
1 + ⎜⎜ ⎟⎟ 1 + ⎜ 0.4 × 30 × ⎟
⎝ C t Tu ⎠ ⎝ 3 × 100 ⎠
Tc = 133750 kg.cm = 1338 kg.m
φTc = 0.85 × 1338 = 1137 kg.m ⇒ 1110 kg.m
คําตอบ ขอ (2) 1110 กก.เมตร

100
คําถามขอที่ 103
คานชวงเดียวรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผา ขนาด 0.25 × 0.60 เมตร ระยะ d = 50 ซม ตองรับ Mu ที่กลาง
ชวงคานและ Vu กับ Tu ที่หนาตัดวิกฤต เมื่อเสริมเหล็กปลอกเกลียวแบบวงปดและเหล็กเสริม
ตามยาว จงประมาณกําลังรับโมเมนตบิดประลัยสูงสุดตามมาตรฐาน ว.ส.ท. (วิธีกาํ ลัง) กําหนดให
-1
f c' = 200 กก/ตร.ซม และสมมติคา Cv = 1/30 ซม Tu/Vu = 3/5 เมตร
0.21 f c' ∑ x 2 y
(สูตร Tc = 2
กก.ซม)
⎛ 0.4Vu ⎞
1 + ⎜⎜ ⎟⎟
⎝ C t Tu ⎠
ตัวเลือก
(1) 3600 กก.เมตร
(2) 4500 กก.เมตร
(3) 5250 กก.เมตร
(4) 6000 กก.เมตร
แนวคิด
สูตรที่ใหมาผิด ที่ถูกตองคือ
1.05φ f c' ∑ x 2 y 1.05 × 0.85 200 × 252 × 60
Tu = =
2 2
⎛ 0.4Vu ⎞ ⎛ 5 ⎞
1 + ⎜⎜ ⎟⎟ 1 + ⎜ 0.4 × 30 × ⎟
⎝ C t Tu ⎠ ⎝ 3 × 100 ⎠
Tu = 464128 kg.cm = 4941 kg.m ⇒ 4500 kg.m
คําตอบ ขอ (2) 4500 กก.เมตร

101
คําถามขอที่ 104
คานชวงเดียวรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผา ขนาด 0.25 × 0.60 เมตร ระยะ d = 50 ซม ตองรับ Mu ที่กลาง
ชวงคานและ Vu กับ Tu ที่หนาตัดวิกฤต เมื่อเสริมเหล็กปลอกเกลียวแบบวงปดและเหล็กเสริม
ตามยาว จงประมาณกําลังรับโมเมนตบิดประลัยสูงสุดตามมาตรฐาน ว.ส.ท. (วิธีกาํ ลัง) กําหนดให
-1
f c' = 300 กก/ตร.ซม และสมมติคา Cv = 1/30 ซม Tu/Vu = 3/5 เมตร
0.21 f c' ∑ x 2 y
(สูตร Tc = 2
กก.ซม)
⎛ 0.4Vu ⎞
1 + ⎜⎜ ⎟⎟
⎝ C t Tu ⎠
ตัวเลือก
(1) 4550 กก.เมตร
(2) 5550 กก.เมตร
(3) 6050 กก.เมตร
(4) 6550 กก.เมตร
แนวคิด
สูตรที่ใหมาผิด ที่ถูกตองคือ
1.05φ f c' ∑ x 2 y 1.05 × 0.85 300 × 252 × 60
Tu = =
2 2
⎛ 0.4Vu ⎞ ⎛ 5 ⎞
1 + ⎜⎜ ⎟⎟ 1 + ⎜ 0.4 × 30 × ⎟
⎝ C t Tu ⎠ ⎝ 3 × 100 ⎠
Tu = 568438 kg.cm = 5684 kg.m ⇒ 5550 kg.m
คําตอบ ขอ (2) 5550 กก.เมตร

102
คําถามขอที่ 105
คานชวงเดียวรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผา ขนาด 0.25 × 0.60 เมตร ระยะ d = 50 ซม ตองรับ Mu ที่กลาง
ชวงคาน และ Vu กับ Tu ที่หนาตัดวิกฤต โดยใช f c' = 200 ก/ตร.ซม จงประมาณกําลังรับแรงเฉือน
ประลัย ที่ไดจากคอนกรีต สมมติคา Cv = 1/30 ซม-1 Tu/Vu = 3/5 เมตร
0.53 f c' bd
(สูตร Vc = 2
กก)
⎛ 2.5C t Tu ⎞
1 + ⎜⎜ ⎟⎟
⎝ Vu ⎠
ตัวเลือก
(1) 1400 กก
(2) 1570 กก
(3) 1850 กก
(4) 2000 กก
แนวคิด
แทนคาตางๆ ในสูตร ระวังเรื่องหนวยใหมาก
0.53 f c' bd 0.53 200 × 25 × 50
Vc = =
1 3 × 100 ⎞
2 2
⎛ 2.5C t Tu ⎞ ⎛
1 + ⎜⎜ ⎟⎟ 1 + ⎜ 2.5 × × ⎟
⎝ Vu ⎠ ⎝ 30 5 ⎠
Vc = 1837 kg
φVc = 0.85 × 1837 = 1562 kg ⇒ 1570 kg
คําตอบ ขอ (2) 1570 กก

103
คําถามขอที่ 106
คานชวงเดียวรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผา ขนาด 0.25 × 0.60 เมตร ระยะ d = 50 ซม ตองรับ Mu ที่กลาง
ชวงคาน และ Vu กับ Tu ที่หนาตัดวิกฤต โดยใช f c' = 300 ก/ตร.ซม จงประมาณกําลังรับแรงเฉือน
ประลัย ที่ไดจากคอนกรีต สมมติคา Cv = 1/30 ซม-1 Tu/Vu = 3/5 เมตร
0.53 f c' bd
(สูตร Vc = 2
กก)
⎛ 2.5C t Tu ⎞
1 + ⎜⎜ ⎟⎟
⎝ Vu ⎠
ตัวเลือก
(1) 1930 กก
(2) 2100 กก
(3) 2270 กก
(4) 2330 กก
แนวคิด
แทนคาตางๆ ในสูตร ระวังเรื่องหนวยใหมาก
0.53 f c' bd 0.53 300 × 25 × 50
Vc = =
1 3 × 100 ⎞
2 2
⎛ 2.5C t Tu ⎞ ⎛
1 + ⎜⎜ ⎟⎟ 1 + ⎜ 2.5 × × ⎟
⎝ Vu ⎠ ⎝ 30 5 ⎠
Vc = 2250 kg
φVc = 0.85 × 2250 = 1913 kg ⇒ 1930 kg
คําตอบ ขอ (1) 1930 กก

104
คําถามขอที่ 107
คานกลวงมีขนาดกวาง 30 ซม ลึก 40 ซม ผนังดานขางหนา 10 ซม ผนังดานบนและดานลางหนา
12.5 ซม เสริมเหล็กปลอกแบบวงปดขนาดเสนผานศูนยกลาง 9 มม ทุกๆ ระยะ 15 ซม ตลอดความ
ยาวคาน สมมติให x1 = 24 ซม, y1 = 30 ซม กําลังจุดครากของเหล็กปลอกเทากับ 2400 กก/ตร.
ซม f c' = 150 กก/ตร.ซม ถาคานนี้รับโมเมนตบิดเพียงอยางเดียว (pure torsion) จงใชวิธี WSD
ประมาณคาโมเมนตบิดใชงานสูงสุดที่ไดจากเหล็กปลอกแบบวงปด(ขาเดียว)
ตัวเลือก
(1) 730 กก.เมตร
(2) 850 กก.เมตร
(3) 1220 กก.เมตร
(4) 1660 กก.เมตร
แนวคิด
ตรวจสอบความกลวงวาจะคิดแบบตันไดหรือไม
x = 30 cm, y = 40 cm, h1 = 10 cm, h 2 = 12.5 cm
x 30 x 30
= = 7.5 cm, = = 3 cm
4 4 10 10
x
h1, h 2 <
4
คิดเปนคานตัน
Ts
จากสมการ At =
2A c f v
π
โดยที่ A t = × 0.92 = 0.636 cm 2
4
s = 15 cm
A c = x1y1 = 24 × 30 = 720 cm 2
f v = 0.5f y = 0.5 × 2400 = 1200 ksc
15T
แทนคา 0.636 =
2 × 720 × 1200
0.636 × 2 × 720 × 1200
T= = 73267.2 kg.cm = 733 kg.m ⇒ 730 kg.m
15
คําตอบ ขอ (1) 730 กก.เมตร

105
คําถามขอที่ 108
คานกลวงมีขนาดกวาง 30 ซม ลึก 40 ซม ผนังดานขางหนา 10 ซม ผนังดานบนและดานลางหนา
12.5 ซม เสริมเหล็กปลอกแบบวงปดขนาดเสนผานศูนยกลาง 9 มม ทุกๆ ระยะ 15 ซม ตลอดความ
ยาวคาน สมมติให x1 = 24 ซม, y1 = 30 ซม กําลังจุดครากของเหล็กปลอกเทากับ 2400 กก/ตร.
ซม f c' = 150 กก/ตร.ซม ถาคานนี้รับโมเมนตบิดเพียงอยางเดียว (pure torsion) จงใชวิธี USD
ประมาณคาโมเมนตบิดประลัยที่ไดจากเหล็กปลอกแบบวงปด(ขาเดียว)
α t x1y1A t f y
(สูตร Ts = กก.ซม โดยที่ α t = 0.66 + 0.33 y1 ≤ 1.50 )
s x1
ตัวเลือก
(1) 660 กก.เมตร
(2) 790 กก.เมตร
(3) 1460 กก.เมตร
(4) 1700 กก.เมตร
แนวคิด
π
At = × 0.92 = 0.636 cm 2
4
30
α t = 0.66 + 0.33 × = 1.0725 < 1.50
24
αxyAf 1.0725 × 24 × 30 × 0.636 × 2400
Ts = t 1 1 t y =
s 15
Ts = 78579 kg.cm = 786 kg.m
φTs = 0.85 × 786 = 668 kg.m ⇒ 660 kg.m
คําตอบ ขอ (1) 660 กก.เมตร

106
คําถามขอที่ 109
คานกลวงมีขนาดกวาง 30 ซม ลึก 40 ซม ผนังดานขางหนา 10 ซม ผนังดานบนและดานลางหนา
12.5 ซม เสริมเหล็กปลอกแบบวงปดขนาดเสนผานศูนยกลาง 9 มม ทุกๆ ระยะ 15 ซม ตลอดความ
ยาวคาน สมมติให x1 = 24 ซม, y1 = 30 ซม กําลังจุดครากของเหล็กปลอกเทากับ 2400 กก/ตร.
ซม f c' = 150 กก/ตร.ซม ถาคานนี้รับโมเมนตบิดเพียงอยางเดียว (pure torsion) จงใชวิธี USD
ประมาณขนาดเหล็กเสริมทางยาวทีแ่ ตละมุมสําหรับโมเมนตบิดประลัยอยางเดียว
(สูตร A = 2A t (x1 + y1 ) )
l
s
ตัวเลือก
(1) 12 มม
(2) 16 มม
(3) 20 มม
(4) 25 มม
แนวคิด
π
At = × 0.9 2 = 0.636 cm 2
4
2A t (x1 + y1 ) 2 × 0.636 × (24 + 30 )
Al = = = 4.5792 cm 2
s 15
ถาใสเฉพาะ 4 มุม ๆ ละ 4.5792 = 1.1448 cm2
4
DB 12 mm มี As = 1.131 cm2
DB 16 mm มี As = 2.01 cm2
DB 20 mm มี As = 3.14 cm2
DB 25 mm มี As = 4.909 cm2
ดังนั้น ตองใชเหล็ก DB 16 mm
คําตอบ ขอ (2) 16 มม

107
คําถามขอที่ 110
คานชวงเดีย่ วรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผา ขนาด 0.25 × 0.60 เมตร ระยะ d = 50 ซม ตองรับ Mu = 5000
กก.เมตร ทีก่ ลางชวงคาน และ Vu = 3750 กก กับ Tu = 2250 กก.เมตร ที่หนาตัดวิกฤต สมมติใช
f c' = 200 กก/ตร.ซม fy = 3000 กก/ตร.ซม (สําหรับเหล็กตามยาว) fy = 2400 กก/ตร.ซม (สําหรับ
เหล็กปลอกทางขวาง) ถา φTc = 900 กก.เมตร α t = 1.32 และให x1 = 20 ซม y1 = 40 ซม
ตองการปริมาณเหล็กปลอก (ขาเดียว) สําหรับโมเมนตบิด At/s เทากับ
α t x1y1A t f y
(สูตร Ts = กก.ซม)
s
ตัวเลือก
(1) 0.057 ตร.ซม ตอ ซม
(2) 0.060 ตร.ซม ตอ ซม
(3) 0.063 ตร.ซม ตอ ซม
(4) 0.066 ตร.ซม ตอ ซม
แนวคิด
โมเมนตบิดที่เกิดขึ้น Tu = 2250 kg.m = 225000 kg.cm
โมเมนตบิดทีค่ อนกรีตรับไป φTc = 900 kg.m = 90000 kg.cm
โมเมนตบิดที่เหล็กทางขวางรับไว φTs = Tu − φTc = 225000 − 90000 = 135000 kg.cm
ดังนั้น
α1x1y1A t f y 1.32 × 20 × 40A t × 2400
φTs = φ = 0.85 ×
s s
A
135000 = 2154240 t
s
At 135000
= = 0.062667112 ⇒ 0.063
s 2154240
คําตอบ ขอ (3) 0.063 ตร.ซม ตอ ซม

108
คําถามขอที่ 111
คานชวงเดีย่ วรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผา ขนาด 0.25 × 0.60 เมตร ตองรับ Mu = 5000 กก.เมตร ที่กลาง
ชวงคาน และ Vu = 3750 กก กับ Tu = 2250 กก.เมตร ที่หนาตัดวิกฤต สมมติใช f c' = 200 กก/ตร.
ซม fy = 3000 กก/ตร.ซม (สําหรับเหล็กตามยาว) fy = 2400 กก/ตร.ซม (สําหรับเหล็กปลอกทาง
ขวาง) ถา φVc = 1550 กก.และให x1 = 20 ซม y1 = 40 ซม ตองการปริมาณเหล็กปลอก (สองขา)
สําหรับแรงเฉือน Av/s เทากับ
ตัวเลือก
(1) 0.018 ตร.ซม ตอ ซม
(2) 0.022 ตร.ซม ตอ ซม
(3) 0.026 ตร.ซม ตอ ซม
(4) 0.030 ตร.ซม ตอ ซม
แนวคิด
ประมาณความลึกประสิทธิผล d = 50 cm
A v Vu − φVc 3750 − 1550
= = = 0.021568627 = 0.022
s φf y d 0.85 × 2400 × 50
คําตอบ ขอ (2) 0.022 ตร.ซม ตอ ซม

109
คําถามขอที่ 112
จากการกระทําของ Mu, Vu และ Tu บนคานชวงเดียวรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผา ขนาด 0.25 × 0.60 เมตร
ซึ่งให x1 = 20 ซม y1 = 40 ซม สมมติหาไดวาปริมาณเหล็กปลอก (สองขา) สําหรับแรงเฉือน Av/s
เทากับ 0.022 ตร.ซม ตอ ซม และปริมาณเหล็กปลอก (ขาเดียว) สําหรับโมเมนตบิด At/s เทากับ
0.063 ตร.ซม ตอ ซม ฉะนั้น จะเลือกใชเหล็กปลอกแบบวงปดดังนี้
ตัวเลือก
(1) φ9 มม @ 10 ซม
(2) φ9 มม @ 15 ซม
(3) φ12 มม @ 10 ซม
(4) φ12 มม @ 15 ซม
แนวคิด
การคํานวณตองอยูบนฐานเดียวกัน เชนคิดเหล็กปลอกขาเดียวทั้งสองกรณี เหล็กปลอกจากแรง
เฉือนซึ่งคิด 2 ขา จึงตองหาร 2 แลวจึงไปรวมกับเหล็กปลอกจากโมเมนตบิด
A v A t 0.022 A
+ = + 0.063 = 0.074 = s
2s s 2 s
โดยระยะเรียงไมเกิน s ≤ x1 + y1 = 20 + 40 = 15 ซม
4 4
ถา RB 9 mm เนื้อที่ขาเดียว As = 0.636 cm2
ระยะเรียงของ RB 9 mm คือ s = 0.636 = 8.6 cm < 10 cm จึงไมมีตัวเลือกที่ตรง
0.074
ถา RB 12 mm เนื้อที่ขาเดียว A s = 1.131 cm 2

ระยะเรียงของ RB 12 mm คือ s = 1.131 = 15.29 cm > 15 cm ใช s = 15 cm


0.074
คําตอบ ขอ (4) φ12 มม @ 15 ซม

110
คําถามขอที่ 113
คานชวงเดีย่ วรูปตัดตันสี่เหลีย่ มผืนผา ขนาด 0.25 x 0.60 เมตร ระยะ d = 50 ซม. ใช f c' = 200 กก./
ตร.ซม. เพื่อตานทาน M ที่กลางชวงคาน และ V = 1875 กก. กับ T ที่หนาตัดวิกฤต อันเนื่องมาจาก
น้ําหนักบรรทุกใชงาน จะพบวาหนวยแรงเฉือนที่เกิดขึน้ เนื่องจากโมเมนตดัดมีคา
ตัวเลือก
(1) นอยกวาหนวยแรงเฉือนทีย่ อมใหของคอนกรีต
(2) เทากับหนวยแรงเฉือนที่ยอมใหของคอนกรีต
(3) มากกวาหนวยแรงเฉือนที่ยอมใหของคอนกรีต แตไมเกินกวาคาสูงสุดที่ยอมให
(4) มากกวาหนวยแรงเฉือนที่ยอมใหของคอนกรีต และเกินกวาคาสูงสุดที่ยอมให
แนวคิด
หนวยแรงเฉือนที่เกิดขึน้
V 1875
v= = = 1.5 ksc
bd 25 × 50
หนวยแรงเฉือนที่ยอมใหของคอนกรีต
v c = 0.29 f c' = 0.29 200 = 4.101 ksc
หนวยแรงเฉือนสูงสุดที่ยอมให เมื่อเมื่อมีโมเมนตบิดดวยคือ
v t = 1.65 f c' = 1.65 200 = 23.33 ksc
จะเห็นวาหนวยแรงเฉือนที่เกิดขึ้นนอยกวาหนวยแรงเฉือนที่ยอมใหของคอนกรีต
คําตอบ ขอ (1) นอยกวาหนวยแรงเฉือนที่ยอมใหของคอนกรีต

111
คําถามขอที่ 114
คานชวงเดีย่ วรูปตัดตันสี่เหลีย่ มผืนผา ขนาด 0.25 x 0.60 เมตร ระยะ d = 50 ซม. ใช f c' = 200 กก./
ตร.ซม. เพื่อตานทาน M ที่กลางชวงคาน และ V กับ T= 1125 กก.-เมตร ที่หนาตัดวิกฤต อัน
เนื่องมาจากน้ําหนักบรรทุกใชงาน จะพบวาหนวยแรงเฉือนที่เกิดขึน้ เนือ่ งจากโมเมนตบิดมีคา
ตัวเลือก
(1) นอยกวาหนวยแรงเฉือนทีย่ อมใหของคอนกรีต
(2) เทากับหนวยแรงเฉือนที่ยอมใหของคอนกรีต
(3) มากกวาหนวยแรงเฉือนที่ยอมใหของคอนกรีต แตไมเกินกวาคาสูงสุดที่ยอมให
(4) มากกวาหนวยแรงเฉือนที่ยอมใหของคอนกรีต และเกินกวาคาสูงสุดที่ยอมให
แนวคิด
หนวยแรงเฉือนที่เกิดขึน้
3.5T 3.5 × (1125 × 100)
v = = = 10.5 ksc
252 × 60
t
x2y
หนวยแรงเฉือนที่ยอมใหของคอนกรีตลวน
v c = 0.29 f c' = 0.29 200 = 4.101 ksc
หนวยแรงเฉือนสูงสุดจากโมเมนตบิด
v t = 1.32 f c' = 1.32 200 = 18.67 ksc
หนวยแรงเฉือนสูงสุดจากผลของแรงเฉือนรวมกับโมเมนตบิด
v max = 1.65 f c' = 1.65 200 = 23.33 ksc
จะเห็นวาหนวยแรงเฉือนที่เกิดขึ้นมากกวาหนวยแรงเฉือนที่ยอมใหของคอนกรีตแตไมเกินกวา
คาสูงสุดที่ยอมให (18.67) เพราะคาที่เกิดขึ้นมาจากผลของโมเมนตบิด
คําตอบ ขอ (3) มากกวาหนวยแรงเฉือนที่ยอมใหของคอนกรีต แตไมเกินกวาคาสูงสุดที่ยอมให

112
คําถามขอที่ 115
คานชวงเดียวรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผา ขนาด 0.30 × 0.50 เมตร ระยะ d = 45 ซม ใช f c' = 155 กก/ตร.
ซม fy = 3000 กก/ตร.ซม (สําหรับเหล็กตามยาว) fy = 2400 กก/ตร.ซม (สําหรับเหล็กปลอกทาง
ขวาง) เพื่อตานทาน M ที่กลางชวงคาน และ V = 4940 กก กับ T = 1450 กก.เมตร ที่หนาตัดวิกฤต
อันเนื่องมาจากน้ําหนักบรรทุกใชงาน ถาใหระยะ x1 = 24 ซม y1 = 42 ซม ตองการปริมาณเหล็ก
ปลอก (ขาเดียว) สําหรับโมเมนตบิด At/s เทากับ
ตัวเลือก
(1) 0.000 ตร.ซม ตอ ซม
(2) 0.040 ตร.ซม ตอ ซม
(3) 0.060 ตร.ซม ตอ ซม
(4) 0.065 ตร.ซม ตอ ซม
แนวคิด
กรณีเหล็กปลอกขาเดียวรับโมเมนตบิด
Ts
At =
2A c f v
At T 1450 × 100
= = = 0.059937169 ⇒ 0.060
s 2A c f v 2 × (24 × 42 ) × (0.5 × 2400 )
คําตอบ ขอ (3) 0.060 ตร.ซม ตอ ซม

113
คําถามขอที่ 116
คานชวงเดียวรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผา ขนาด 0.25 × 0.60 เมตร ระยะ d = 50 ซม ใช f c' = 200 กก/ตร.
ซม เพื่อตานทาน M = 2500 กก.เมตร ที่กลางชวงคาน และ V = 1875 กก กับ T = 1125 กก.เมตร ที่
หนาตัดวิกฤต อันเนื่องมาจากน้ําหนักบรรทุกใชงาน จะพบวาหนวยแรงเฉือนรวมทีเ่ กิดจากโมเมนต
ดัดและโมเมนตบิดมีคา
ตัวเลือก
(1) นอยกวาหนวยแรงเฉือนทีย่ อมใหของคอนกรีต
(2) เทากับหนวยแรงเฉือนที่ยอมใหของคอนกรีต
(3) มากกวาหนวยแรงเฉือนที่ยอมใหของคอนกรีต
(4) มากกวาหนวยแรงเฉือนที่ยอมใหของคอนกรีต คอนขางมาก ซึ่งตองเปลี่ยนขนาดรูปตัดคาน
แนวคิด
หนวยแรงเฉือนจากแรงเฉือนซึ่งก็คือจากโมเมนตดัด
V 1875
vb = = = 1.5 ksc
bd 25 × 50
หนวยแรงเฉือนจากโมเมนตบิด
3.5T 3.5 × (1125 × 100)
vt = = = 10.5 ksc
x2y 252 × 60
หนวยแรงเฉือนรวม
v = v b + v1 = 1.5 + 10.5 = 12 ksc
หนวยแรงเฉือนที่ยอมใหของคอนกรีต
v c = 0.29 f c' = 0.29 200 = 4.101 ksc
หนวยแรงเฉือนสูงสุดจากโมเมนตบิด
v t = 1.32 f c' = 1.32 200 = 18.67 ksc
หนวยแรงเฉือนสูงสุดจากผลของแรงเฉือนรวมกับโมเมนตบิด
v max = 1.65 f c' = 1.65 200 = 23.33 ksc
จะเห็นวา (v = 12) < (v max = 23.33)
คําตอบ ขอ (1) นอยกวาหนวยแรงเฉือนที่ยอมใหของคอนกรีต

114
คําถามขอที่ 117
คานชวงเดียวรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผา ขนาด 0.30 × 0.50 เมตร ระยะ d = 45 ซม ใช f c' = 155 กก/ตร.
ซม fy = 3000 กก/ตร.ซม (สําหรับเหล็กตามยาว) fy = 2400 กก/ตร.ซม (สําหรับเหล็กปลอกทาง
ขวาง) เพื่อตานทาน M ที่กลางชวงคาน และ V กับ T ที่หนาตัดวิกฤต อันเนื่องมาจากน้ําหนักบรรทุก
ใชงาน ถาสมมติใหคา V – Vc = 375 กก ดังนั้น ตองการปริมาณเหล็กปลอก (ขาเดียว) สําหรับผล
เนื่องจากโมเมนตดัด Av/s เทากับ
ตัวเลือก
(1) 0.000 ตร.ซม ตอ ซม
(2) 0.007 ตร.ซม ตอ ซม
(3) 0.010 ตร.ซม ตอ ซม
(4) 0.014 ตร.ซม ตอ ซม
แนวคิด
ปริมาณเหล็กปลอก (สองขา) ในการรับแรงเฉือนสวนเกินหาไดจาก
A vf vd
s=
V − Vc
A v V − Vc 375
= = = 0.00694 ⇒ 0.007
s f vd 1200 × 45
เมื่อคิดเหล็กปลอกขาเดียว
A v V − Vc 375
= = = 0.003472222
2s 2f v d 2 × 1200 × 45
คําตอบ ขอ (2) 0.007 ตร.ซม ตอ ซม
ขอบกพรองของคําถาม คือ (ขาเดียว) ที่ถูกตองคือ (สองขา)

115
คําถามขอที่ 118
ถาเลือกใชคานชวงเดียวรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด 0.25 × 0.50 เมตร ระยะ d = 45 ซม ใช f c' =
200 กก/ตร.ซม fy = 3000 กก/ตร.ซม (สําหรับเหล็กตามยาว) fy = 2400 กก/ตร.ซม (สําหรับเหล็ก
ปลอกทางขวาง) เพื่อตานทาน M ที่กลางชวงคาน และ V กับ T ที่หนาตัดวิกฤต อันเนื่องมาจาก
น้ําหนักบรรทุกใชงาน ถาหาไดวา เหล็กปลอก (ขาเดียว) ที่ตองการสําหรับตานแรงบิดและแรงเฉือน
= 0.059 ตร.ซม ตอ ซม ตองใชขนาดเหล็กปลอก
ตัวเลือก
(1) φ9 มม @ 12.5 ซม
(2) φ9 มม @ 15.0 ซม
(3) φ12 มม @ 15.0 ซม
(4) φ12 มม @ 17.5 ซม
แนวคิด
A v1
จากคําถามที่บอกวา = 0.059
s
เหล็ก φ9 มี A v1 = π × 0.92 = 0.636 cm2
4
A v1 0.636
s= = = 10.78 cm < 12.5 cm
0.059 0.059
ดังนั้นคําตอบไมใช φ9 แนนอน
เหล็ก φ12 มี A v1 = π × 1.22 = 1.131 cm2
4
A v1 1.131
s= = = 19.17 cm
0.059 0.059
แตคานที่มีทั้งแรงเฉือนและแรงบิดนั้นระยะเรียงของเหล็กปลอกตองไมเกินคา
x + y1 (30 − 3.5 − 3.5 − 1.2 ) + (50 − 4 − 4 − 1.2 )
s≤ 1 =
4 4
21.8 + 40.8
s≤ = 15.65 cm
4
คําตอบ ขอ (3) φ 12 มม @ 15.0 ซม

116
คําถามขอที่ 119
คานชวงเดียวรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผา ขนาด 0.25 × 0.60 เมตร ระยะ d = 50 ซม ใช f c' = 200 กก/ตร.
ซม fy = 3000 กก/ตร.ซม (สําหรับเหล็กตามยาว) fy = 2400 กก/ตร.ซม (สําหรับเหล็กปลอกทาง
ขวาง) เพื่อตานทาน M = 2500 กก.เมตร ที่กลางชวงคาน และ V = 1875 กก กับ T = 1125 กก.เมตร
ที่หนาตัดวิกฤต อันเนื่องมาจากน้ําหนักบรรทุกใชงาน ถาใหระยะ x1 = 20 ซม y1 = 40 ซม ดังนั้น
ตองการปริมาณเหล็กปลอก (ขาเดียว) สําหรับผลอันเนื่องมาจากโมเมนตดัดและโมเมนตบิด Av/s +
At/s เทากับ
ตัวเลือก
(1) 0.000 ตร.ซม ตอ ซม
(2) 0.040 ตร.ซม ตอ ซม
(3) 0.060 ตร.ซม ตอ ซม
(4) 0.065 ตร.ซม ตอ ซม
แนวคิด
ขอบกพรองของคําถามคือเทอม Av/s หมายถึงปริมาณเหล็กปลอก (สองขา) ที่เกิดจากแรงเฉือนหรือ
โมเมนตดัด หากจะใหเปนขาเดียวตองใช Av/2s
A vf vd A V − Vc
จากสมการ s = ⇒ v = จากผลของแรงเฉือนหรือโมเมนตดัด
V − Vc 2s 2f v d
Ts A T
และจากสมการ At = ⇒ t = จากผลของโมเมนตบิด
2A c f v s 2A c f v
จากขอมูลที่มีจะไดวา
f v = 0.5f y = 0.5 × 2400 = 1200 ksc
Vc = 0.29 f c' bd = 0.29 200 × 25 × 50 = 5126.5 kg > V = 1875 kg
Av
ตามทฤษฎีไมตองการเหล็กรับแรงเฉือนเนื่องจากแรงเฉือนหรือโมเมนตดัด =0
2s
A c = x1y1 = 20 × 40 = 800 cm 2
At T 1125 × 100
= = = 0.05859375 ⇒ 0.060
s 2A cf v 2 × 800 × 1200
Av At
ดังนั้น + = 0 + 0.060 = 0.060
2s s
คําตอบ ขอ (3) 0.060 ตร.ซม ตอ ซม

117
คําถามขอที่ 120
คานชวงเดียวรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผา ขนาด 0.25 × 0.60 เมตร ระยะ d = 50 ซม ใช f c' = 200 กก/ตร.
ซม fy = 3000 กก/ตร.ซม (สําหรับเหล็กตามยาว) fy = 2400 กก/ตร.ซม (สําหรับเหล็กปลอกทาง
ขวาง) เพื่อตานทาน M = 2500 กก.เมตร ที่กลางชวงคาน และ V = 1875 กก กับ T = 1125 กก.เมตร
ที่หนาตัดวิกฤต อันเนื่องมาจากน้ําหนักบรรทุกใชงาน ถาใหระยะ x1 = 20 ซม y1 = 40 ซม ดังนั้น
ขนาดเหล็กปลอกที่ตองการสําหรับตานทานแรงบิดและแรงเฉือน ตามวิธี WSD คือ
ตัวเลือก
(1) φ9 มม @ 15 ซม
(2) φ9 มม @ 20 ซม
(3) φ12 มม @ 15 ซม
(4) φ12 มม @ 20 ซม
แนวคิด
จากขอมูลที่มีจะไดวา
f v = 0.5f y = 0.5 × 2400 = 1200 ksc
Vc = 0.29 f c' bd = 0.29 200 × 25 × 50 = 5126.5 kg > V = 1875 kg
Av
ตามทฤษฎีไมตองการเหล็กรับแรงเฉือนเนื่องจากแรงเฉือนหรือโมเมนตดัด =0
2s
A c = x1y1 = 20 × 40 = 800 cm 2
At T 1125 × 100
= = = 0.05859375 ⇒ 0.0586
s 2A cf v 2 × 800 × 1200
A s1 A v A t
ดังนั้น = + = 0 + 0.0586 = 0.0586
s 2s s
เหล็ก φ9 มี As1 = π × 0.92 = 0.636 cm2 ระยะเรียงไมเกิน
4
A s1 0.636
s= = = 10.85 cm
0.0586 0.0586
ดังนั้นคําตอบไมใช φ9 แนนอน
เหล็ก φ12 มี As1 = π × 1.22 = 1.131 cm 2 ระยะเรียงไมเกิน
4
A s1 1.131
s= = = 19.3 cm
0.0586 0.0586
และตองไมเกิน s = x1 + y1 = 20 + 40 = 15 cm
4 4
คําตอบ ขอ (3) φ12 มม @ 15 ซม

118
คําถามขอที่ 121
คาน คสล. รูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผา กวาง 30 ซม. เสริมเหล็กรับแรงดึง 3-DB 28 มม. ชั้นเดียว และใช
เหล็กลูกตั้ง RB 9 มม. จงหาจํานวนเหล็กเสริมที่เทียบเทา (equivalent no. of bars) n
ตัวเลือก
(1) 5
(2) 4
(3) 3
(4) ไมมีขอใดถูก
แนวคิด จํานวนเหล็กเสริมที่เทียบเทา (equivalent number of bars : n) หมายถึงกรณีที่เหล็ก
เสริมรับแรงดึงมีหลายขนาด หาเนื้อที่หนาตัดเหล็กเสริมรับแรงดึงทั้งหมดแลวแปลงเปนเหล็กเสริม
ขนาดโตที่สุดในชุดนัน้ วาเทียบเทากี่เสน กรณีนี้มีเหล็กเสริมรับแรงดึงขนาดเดียว จํานวน 3 เสน
ดูบทที่ 6 สภาวะการใชงานของสวนโครงสราง หนังสือ การออกแบบโครงสราง
คอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีกาํ ลัง ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร
คําตอบ ขอ (3) 3

119
คําถามขอที่ 122
คาน คสล. รูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผา กวาง 30 ซม. เสริมเหล็กรับแรงดึงสองชั้น ชั้นลางสุดใช 2-DB 25
มม. ชั้นบนถัดขึ้นมาใช 2-DB 25 มม โดยมีชองวางระหวางชั้น = 5 ซม ถาใชเหล็กลูกตั้ง RB 9 มม.
และระยะคอนกรีตหุมจากผิวลางของคานถึงผิวของเหล็กลูกตั้ง = 4.0 ซม ดังนั้น ตําแหนง c.g. ของ
เหล็กรับแรงดึงจะอยูห างจากผิวลางของคานประมาณ
ตัวเลือก
(1) 9.0 ซม
(2) 9.5 ซม
(3) 10.0 ซม
(4) ไมมีขอใดถูก
แนวคิด
ใช y= ∑ Ay
∑A
ชั้นลางมี A1 = 2 × 4.909 = 9.818 cm 2 หางจากขอบลาง y1 = 4 + 0.9 + 2.5 = 6.15 ซม
2
ชั้นบนมี A 2 = 2 × 4.909 = 9.818 cm 2
หางจากขอบลางระยะ
2.5
y 2 = 4 + 0.9 + 2.5 + 5.0 + = 13.65 ซม
2
2.5
การหาคา y1 ระยะหุม 4 เหล็กลูกตั้ง 0.9 และครึ่งหนึ่งของขนาดเหล็ก
2
การหาคา y2 ระยะหุม 4 เหล็กลูกตั้ง 0.9 เหล็กชั้นลาง 2.5 ระยะชองวางระหวางชัน้ เหล็ก 5
2.5
และครึ่งหนึ่งของขนาดเหล็กชั้นบน
2
A y + A 2 y 2 9.818 × 6.15 + 9.818 × 13.65
y= 1 1 = = 9.9 ซม
A1 + A 2 9.818 + 9.818
คําตอบที่ใกลเคียงที่สุดคือ 10.0 ซม
ในการพิจารณากรณีพิเศษ ทีเ่ หล็กมี 2 ชั้น แตละชั้นเหล็กเหมือนกัน c.g. จะอยูที่กึ่งกลางของ
ชองวางระหวางชั้น นั่นคือ
5.0
y = 4 + 0.9 + 2.5 + = 9.9 ซม
2
คําตอบ ขอ (3) 10.0 ซม

120
คําถามขอที่ 123
คาน คสล. รูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผา กวาง 30 ซม. เสริมเหล็กรับแรงดึงสองชั้น ชั้นลางสุดใช 2-DB 25
มม. ชั้นบนถัดขึ้นมาใช 2-DB 25 มม โดยมีชองวางระหวางชั้น = 5 ซม ถาใชเหล็กลูกตั้ง RB 9 มม.
และระยะคอนกรีตหุมจากผิวลางของคานถึงผิวของเหล็กลูกตั้ง = 4.0 ซม ดังนั้น พื้นที่คอนกรีตตอ
เหล็กเสริมหนึง่ เสน (effective area per bar: A) มีคาประมาณ
ตัวเลือก
(1) 100 ซม^2
(2) 93 ซม^2
(3) 90 ซม^2
(4) 80 ซม^2
แนวคิด
ดูบทที่ 6 สภาวะการใชงานของสวนโครงสราง การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก
โดยวิธีกําลัง ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร หัวขอ 6.2
b (2 y )
A= w cm 2
N
bw = ความกวางของคาน, cm
y = ระยะจากผิวคานรับแรงดึงถึงเซนทรอยดของกลุมเหล็กรับแรงดึง, cm
N = จํานวนเสนของเหล็กรับแรงดึง, เสน
2
A = พื้นที่คอนกรีตตอเหล็กเสริมหนึ่งเสน (effective area per bar), cm
สําหรับขอนี้มี b w = 30 cm, N = 4 และ
9 25 5
y = 4.0 + + + = 9.9 cm
10 10 2
30(2 × 9.9 )
ดังนั้น A= = 148.5 cm 2
4
จะเห็นวาไมมคี ําตอบที่ถูกตองเลย
หากดูที่เฉลย ขอ (2) 93 ซม2 ลองพิจารณาระยะ y จากเหล็กชั้นลางอยางเดียว
b w = 30 cm , N =
9 2.5
y = 4.0 + + = 6.15 cm
10 2
30(2 × 6.15)
A= = 92.25 cm 2
4
คาที่ใกลเคียงที่สุดคือ 93 ซม2
คําตอบ ขอ (2) 93 ซม2
*** ผูเฉลยไมเห็นดวยกับคําถามคําตอบขอนี้ ***

121
คําถามขอที่ 124
คาน คสล. รูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผา กวาง 30 ซม.เสริมเหล็กรับแรงดึง 3-DB 28 mm ชั้นเดียว และใช
เหล็กลูกตั้ง RB 9 mm โดยมีระยะคอนกรีตหุมจากผิวลางของคานถึงผิวของเหล็กลูกตัง้ = 4.0 ซม จง
หาดัชนีความกวางของรอยราว (index of crack width) Z ถาใช fy = 5000 กก/ซม2 และสมมติใช fs =
0.6fy (สูตร Z = fs 3 d c A )
ตัวเลือก
(1) 25500 กก/ซม
(2) 26500 กก/ซม
(3) 27700 กก/ซม
(4) 30000 กก/ซม
แนวคิด
ดูบทที่ 6 สภาวะการใชงานของสวนโครงสราง การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก
โดยวิธีกําลัง ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร หัวขอ 6.2
b (2 y )
A= w cm 2
N
bw = ความกวางของคาน, cm
y = ระยะจากผิวคานรับแรงดึงถึงเซนทรอยดของกลุมเหล็กรับแรงดึง, cm
N = จํานวนเสนของเหล็กรับแรงดึง, เสน
2
A = พื้นที่คอนกรีตตอเหล็กเสริมหนึ่งเสน (effective area per bar), cm
สําหรับขอนี้มี b w = 30 cm, N = 3
2.8
y = 4.0 + 0.9 + = 6.3 cm
2
30(2 × 6.3)
A= = 126 cm 2
3
จากหัวขอ 6.3 พิกัดควบคุมรอยราว
สําหรับคาน คสล. Z = f s 3 d c A kg/cm
f s = 0.6f y = 0.6 × 5000 = 3000 ksc
2.8
d c = 4.0 + 0.9 + = 6.3 cm = ระยะจากผิวรับแรงดึงของคานถึงศูนยถวงของแถวเหล็ก
2
เสริมรับแรงดึงที่พิจารณารอยราว (กรณีนมี้ ี 1 แถว)
แทนคา
Z = 30003 6.3 × 126 = 27777 kg / cm
คําตอบ ขอ (3) 27700 กก/ซม

122
คําถามขอที่ 125
แผนพื้นยื่น หนา 10 ซม ใชเหล็กเสริมที่มีกําลังจุดคราก 2400 กก/ซม2 ใหระยะ covering (clear)
เทากับ 2.5 ซม ถาใชเหล็กเสริมขนาด 9 มม จํานวน 9 เสนทุกระยะ 1 เมตร และสมมติให fs = 0.6fy
ดังนั้น ดัชนีความกวางของรอยราว (index of crack width : Z) มีคาประมาณ (สูตร Z = fs 3 d c A )
ตัวเลือก
(1) 8300 กก/ซม
(2) 9300 กก/ซม
(3) 11200 กก/ซม
(4) 12500 กก/ซม
แนวคิด
ดูบทที่ 6 สภาวะการใชงานของสวนโครงสราง การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก
โดยวิธีกําลัง ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร หัวขอ 6.2
b (2 y )
A= w cm 2
N
bw = ความกวางของพื้น, cm
y = ระยะจากผิวพืน ้ รับแรงดึงถึงเซนทรอยดของกลุมเหล็กรับแรงดึง, cm
N = จํานวนเสนของเหล็กรับแรงดึง, เสน
2
A = พื้นที่คอนกรีตตอเหล็กเสริมหนึ่งเสน (effective area per bar), cm
สําหรับขอนี้มี b w = 100 cm, N = 9
0 .9
y = 2 .5 + = 2 . 95 cm
2
100 (2 × 2 . 95 )
A = = 73 . 75 cm 2

จากหัวขอ 6.3 พิกัดควบคุมรอยราว


สําหรับคานและพื้น คสล. Z = fs 3 d c A kg/cm
f s = 0.6f y = 0.6 × 2400 = 1440 ksc
0.9
d c = 2.5 + = 2.95 cm = ระยะจากผิวรับแรงดึงของพืน้ ถึงศูนยถวงของแถวเหล็กเสริม
2
รับแรงดึงที่พิจารณารอยราว (กรณีนี้มี 1 แถว)
แทนคา
Z = 14403 2.95 × 65.56 = 8327 kg / cm
คําตอบ ขอ (1) 8300 กก/ซม
หมายเหตุ ขอนี้เฉลยคําตอบขอ (2) 9300 กก/ซม

123
คําถามขอที่ 126
คาน คสล.รูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผา กวาง 25 ซม เสริมเหล็กรับแรงดึงสองชั้น ชั้นลางสุดใช 3-DB 32
mm ชั้นบนถัดขึ้นมาใช 2-DB 28 mm โดยมีชองวางระหวางชั้น = 4 ซม ถาใชเหล็กลูกตั้ง RB 9 mm
และระยะคอนกรีตหุมจากผิวลางของคานถึงผิวของเหล็กลูกตั้ง = 5.0 ซม จงหาเหล็กเสริมที่
เทียบเทา (equivalent number of bars) n
ตัวเลือก
(1) 5
(2) 4.5
(3) 4
(4) 3.5
แนวคิด
ดูบทที่ 6 สภาวะการใชงานของสวนโครงสราง หนังสือ การออกแบบโครงสราง
คอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีกาํ ลัง ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร
จํานวนเหล็กเสริมที่เทียบเทา (equivalent number of bars : n) หมายถึงกรณีที่เหล็กเสริมรับ
แรงดึงมีหลายขนาด หาเนื้อที่หนาตัดเหล็กเสริมรับแรงดึงทั้งหมดแลวแปลงเปนเหล็กเสริมขนาดโต
ที่สุดในชุดนั้นวาเทียบเทากี่เสน
เหล็ก 3-DB 32 mm แตละเสนมีเนื้อที่หนาตัด As1 = π × 3.22 = 8.042 cm 2
4
π
เหล็ก 2-DB 28 mm แตละเสนมีเนื้อที่หนาตัด A s 2 = × 2.82 = 6.158 cm 2
4
เนื้อที่หนาตัดรวมของเหล็กรับแรงดึง
A s = 3A s1 + 2A s 2 = 3 × 8.042 + 2 × 6.158 = 36.442 cm 2
แปลงเปนเหล็กที่โตที่สุดในชุดนี้คือ DB 32 mm จะไดจํานวน
A s 36.442
n= = = 4.531 เสน
A s1 8.042
คําตอบ ขอ (2) 4.5

124
คําถามขอที่ 127
คาน คสล.รูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผา กวาง 25 ซม เสริมเหล็กรับแรงดึงสองชั้น ชั้นลางสุดใช 3-DB 32
mm ชั้นบนถัดขึ้นมาใช 2-DB 28 mm โดยมีชองวางระหวางชั้น = 4 ซม ถาใชเหล็กลูกตั้ง RB 9 mm
และระยะคอนกรีตหุมจากผิวลางของคานถึงผิวของเหล็กลูกตั้ง = 5.0 ซม จงหาตําแหนง c.g. ของ
เหล็กเสริมที่อยูหางจากผิวลางของคาน
ตัวเลือก
(1) 11.0 ซม
(2) 10.0 ซม
(3) 9.50 ซม
(4) 8.50 ซม
แนวคิด
หาเนื้อที่หนาตัดของเหล็กเสริมแตละชั้น ระยะหางจากขอบลางของคาน แลวใชสมการ
y= ∑ Ay
∑A
เหล็ก 3-DB 32 mm
π
A s1 = 3 × × 3.2 2 = 24.127 cm 2
4
3.2
y1 = 5.0 + 0.9 + = 7.5 cm
2
เหล็ก 2-DB 28 mm
π
As 2 = 2 × × 2.82 = 12.315 cm 2
4
2.8
y 2 = 5.0 + 0.9 + 3.2 + 4 + = 14.5 cm
2
ดังนั้นระยะเซนทรอยดของเหล็กรับแรงดึงหางจากขอบลางรับแรงดึงเปนระยะ
y= ∑ Ay = 24.127 × 7.5 + 12.315 × 14.5 = 9.8655 cm ⇒ 10 cm
∑A 24.127 + 12.315
คําตอบ ขอ (2) 10.0 ซม

125
คําถามขอที่ 128
คาน คสล.รูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผา กวาง 25 ซม เสริมเหล็กรับแรงดึงสองชั้น ชั้นลางสุดใช 3-DB 32
mm ชั้นบนถัดขึ้นมาใช 2-DB 28 mm โดยมีชองวางระหวางชั้น = 4 ซม ถาใชเหล็กลูกตั้ง RB 9 mm
และระยะคอนกรีตหุมจากผิวลางของคานถึงผิวของเหล็กลูกตั้ง = 5.0 ซม พื้นที่คอนกรีตตอเหล็ก
เสริมหนึ่งเสน (effective area per bar: A) มีคาประมาณ
ตัวเลือก
(1) 110 ซม2
(2) 105 ซม2
(3) 95 ซม2
(4) 90 ซม2
แนวคิด
หาเนื้อที่เหล็กเสริมทั้งหมดแลวแปลงเปนเหล็กขนาดโตที่สุดในชุดนี้คือ DB 32 mm ได
จํานวนเสน (อาจเปนทศนิยมได) หาเซนทรอยดกลุมเหล็กรับแรงดึง แลวจึงหาคา A
เหล็ก DB 32 mm แตละเสนมีเนื้อที่หนาตัด As32 = π × 3.22 = 8.042 cm 2
4
π
3-DB 32 mm มี A s1 = 3 × × 3.22 = 24.127 cm 2
4
3.2
y1 = 5.0 + 0.9 + = 7.5 cm
2
π
2-DB 28 mm มี A s 2 = 2 × × 2.82 = 12.315 cm 2
4
2.8
y 2 = 5.0 + 0.9 + 3.2 + 4 + = 14.5 cm
2
A + A s 2 24.127 + 12.315
จํานวนเสนเทียบเทา n = s1 = = 4.5314 เสน
A s 32 8.042

y= ∑ Ay = A y s1 1 + A s 2 y 2 24.127 × 7.5 + 12.315 × 14.5


=
∑A A s1 + A s 2 24.127 + 12.315
y = 9.8655 cm

A=
( )
b w 2 y 25(2 × 9.8655)
= = 108.86 ⇒ 109 ≈ 110 cm 2
n 4.5314
คําตอบ ขอ (1) 110 ซม^2
หมายเหตุ ซม^2 หมายถึง ซม2 หรือ ตร.ซม หรือ ตารางเซนติเมตร

126
คําถามขอที่ 129
คาน คสล.รูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผา กวาง 25 ซม เสริมเหล็กรับแรงดึงสองชั้น ชั้นลางสุดใช 3-DB 32
mm ชั้นบนถัดขึ้นมาใช 2-DB 28 mm โดยมีชองวางระหวางชั้น = 4 ซม ถาใชเหล็กลูกตั้ง RB 9 mm
และระยะคอนกรีตหุมจากผิวลางของคานถึงผิวของเหล็กลูกตั้ง = 5.0 ซม ถาเหล็กรับแรงดึงมีกําลัง
จุดคราก fy = 5000 กก/ซม2 จงหาดัชนีความกวางของรอยราว (index of crack width) Z โดยสมมติ
วา fs = 0.6fy (สูตร Z = fs 3 d c A กก/ซม)
ตัวเลือก
(1) 28000 กก/ซม
(2) 27000 กก/ซม
(3) 26500 กก/ซม
(4) 26000 กก/ซม
แนวคิด
ดูบทที่ 6 การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็กโดยวิธีกําลัง ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร
หาจํานวนเสนเทียบเทา หาเซนทรอยด หา A ระยะ dc วัดจากขอบลางถึงศูนยเหล็กชั้นลาง
หาเนื้อที่เหล็กเสริมทั้งหมดแลวแปลงเปนเหล็กขนาดโตที่สุดในชุดนี้คือ DB 32 mm ได
จํานวนเสน (อาจเปนทศนิยมได) หาเซนทรอยดกลุมเหล็กรับแรงดึง แลวจึงหาคา A
เหล็ก DB 32 mm แตละเสนมีเนื้อที่หนาตัด As32 = π × 3.22 = 8.042 cm 2
4
π
3-DB 32 mm มี A s1 = 3 × × 3.22 = 24.127 cm 2
4
3.2
y1 = 5.0 + 0.9 + = 7.5 cm
2
π
2-DB 28 mm มี A s 2 = 2 × × 2.82 = 12.315 cm 2
4
2.8
y 2 = 5.0 + 0.9 + 3.2 + 4 + = 14.5 cm
2
A + A s 2 24.127 + 12.315
จํานวนเสนเทียบเทา n = s1 = = 4.5314 เสน
A s 32 8.042

y= ∑ Ay = A y s1 1 + A s 2 y 2 24.127 × 7.5 + 12.315 × 14.5


=
∑A A s1 + A s 2 24.127 + 12.315
y = 9.8655 cm

A=
( )
b w 2 y 25(2 × 9.8655)
= = 108.86 cm 2
n 4.5314
ระยะ d c = y1 = 7.5 cm และ f s = 0.6f y = 0.6 × 5000 = 3000 ksc
Z = f s 3 d c A = 30003 7.5 × 108.86 = 28039 กก/ซม
คําตอบ ขอ (1) 28000 กก/ซม

127
คําถามขอที่ 130
แผนพื้นทางเดียวชวงเดีย่ ว หนา 12 ซม ใชเหล็กเสริมกําลังจุดคราก 4000 กก/ซม2 ใหระยะ covering
(clear) เทากับ 3 ซม ถาใชเหล็กเสริมขนาด 16 มม และใหดัชนีความกวางของรอยราว (index of
crack width), Z ไมเกินกวา 23100 กก/ซม จงหาระยะหางมากที่สุดของเหล็กเสริม
ตัวเลือก
(1) 45 ซม
(2) 40 ซม
(3) 35 ซม
(4) 30 ซม
แนวคิด ดูบทที่ 6 การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีกําลัง ศ.ดร.วินิต ชอ
วิเชียร
b (2 y )
จากสูตร A= w และ Z = f 3 d A
s c
n
ถา b w = 100 cm แลว b w = s = ระยะเรียงของเหล็กในแผนพื้น
n
1.6
ในที่นี้ y = dc = 3 + = 3.8 cm
2
f s = 0.6f y = 0.6 × 4000 = 2400 ksc
แทนคา 23100 = 24003 3.8A
23100
3
3.8A = = 9.625
2400
3.8A = 9.6253 = 891.6660156

= 234.6489515 = w (2 y )
891.6660156 b
A=
3.8 n
b w 234.6489515 234.6489515
= = = 30.87 cm
n 2y 2 × 3.8
คําตอบ ขอ (4) 30 ซม

128
คําถามขอที่ 131
คาน คสล. รูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผา กวาง 25 ซม เสริมเหล็กรับแรงดึงสองชั้น ชั้นลางสุดใช 3-DB 32
mm ชั้นบนถัดขึ้นมาใช 2-DB 28 mm โดยมีระยะชองวางระหวางชัน้ = 4 ซม ถาใชเหล็กลูกตั้ง RB 9
mm และใหเหล็กรับแรงดึงมีกําลังจุดคราก fy = 5000 กก/ซม2 จงหาระยะคอนกรีตหุมจากผิวลาง
ของคานถึงผิวของเหล็กลูกตัง้ ที่มากที่สุด ถาตองการใหดชั นีความกวางของรอยราว (index of crack
width) Z ไมเกินกวา 26000 กก/ซม สมมติวา fs = 0.6fy
ตัวเลือก
(1) 4.25 ซม
(2) 4.00 ซม
(3) 3.25 ซม
(4) 3.00 ซม
แนวคิด ดูบทที่ 6 การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีกําลัง ศ.ดร.วินิต ชอ
วิเชียร
b (2 y )
จากสูตร A= w และ Z = f 3 d A s c
n
ให c = ระยะหุม ทีต่ องการทราบ, cm
f s = 0.6f y = 0.6 × 5000 = 3000 ksc
Z = 26000 kg / cm
b w = 25 cm
π
A s 32 = × 3.22 = 8.042 cm 2
4
π
A s1 = 3 × × 3.2 2 = 3 × 8.042 = 24.127 cm 2
4
3.2
y1 = c + 0.9 + = c + 2.5 = d c cm
2
π
A s 2 = 2 × × 2.82 = 12.315 cm 2
4
2.8
y 2 = c + 0.9 + 3.2 + 4 + = c + 9.5 cm
2
A + A s 2 24.127 + 12.315
n = s1 = = 4.5314 เสน
A s 32 8.042
A y + A s 2 y 2 24.127 × (c + 2.5) + 12.315 × (c + 9.5)
y = s1 1 =
A s1 + A s 2 24.127 + 12.315
36.442c + 177.31 177.31
y= =c+ = c + 4.865539762 cm
36.442 36.442
3
⎛Z⎞
จากสมการ Z = fs 3 d cA ได d c A = ⎜⎜ ⎟⎟
⎝ fs ⎠

129
3
⎛ 26000 ⎞
dcA = ⎜ ⎟ = 650.962963
⎝ 3000 ⎠
b (2 y ) 25 × 2 × (c + 4.865539762 ) c + 4.865539762
แต d c = c + 2.5 และ A = w = =
n 4.5314 0.090628
แทนคาได
(c + 2.5) c + 4.865539762 = 650.962963
0.090628
(c + 2.5)(c + 4.865539762) = 58.99547141
c 2 + 7.365539762c + 12.16384941 = 58.99547141
c 2 + 7.365539762c − 46.83162201 = 0
− 7.365539762 ± 7.3655397622 − 4(1)(− 46.83162201)
c=
2(1)
− 7.365539762 ± 241.577664
c=
2(1)
− 7.365539762 ± 15.54276887
c=
2
− 7.365539762 − 15.54276887 − 7.365539762 + 15.54276887
c= ,
2 2
c = −11.45415432 cm, 4.088614554 cm
เลือกเฉพาะคาบวก
y1 = 4.088614554 + 2.5 = 6.588614554 cm = d c
y 2 = 4.088614554 + 9.5 = 13.58861455 cm
24.127 × 6.588614554 + 12.315 × 13.58861455
y=
24.127 + 12.315
y = 8.954154316 cm
b (2 y ) 25 × (2 × 8.954154316)
A= w = = 98.80119076
n 4.5314
Z = f s 3 d c A = 30003 6.588614554 × 98.80119076
Z = 26000 kg / cm
ดังนั้นคําตอบที่ถูกตองคือ c = 4.09 cm แตเฉลยตอบ c = 3.25 cm
คําตอบ ขอ (2) 4.00 ซม
หมายเหตุ เฉลยตอบขอ (3) 3.25 ซม

130
คําถามขอที่ 132
คาน คสล. รูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด 0.30 × 0.60 ม. ตองเสริมเหล็ก 2 ชัน้ ๆ ละเทาๆ กัน โดยใหมี
ระยะ clear covering เทากับ 5 ซม และใหระยะชวงวางของเหล็กแตละชั้นเทากับ 6 ซม ถาสมมติใช
เหล็กปลอกขนาด 9 มม กําลังจุดครากของเหล็กเสริมรับแรงดึง fy = 4000 กก/ซม2 และตองการคา
ดัชนีความกวางของรอยราว (index of crack width) , Z ไมเกินกวา 26000 กก/ซม ดังนั้นตองใช
ขนาดโตสุดของเหล็กเสริม คือ
ตัวเลือก
(1) ขนาด φ 32 มม โดยเสริมชั้นละ 2 เสน (As ทั้งหมด = 32.16 ซม2)
(2) ขนาด φ 28 มม โดยเสริมชั้นละ 3 เสน (As ทั้งหมด = 36.96 ซม2)
(3) ขนาด φ 25 มม โดยเสริมชั้นละ 4 เสน (As ทั้งหมด = 39.26 ซม2)
(4) ไมมีขอใดถูก
แนวคิด ดูบทที่ 6 การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีกําลัง ศ.ดร.วินิต ชอ
วิเชียร
b (2 y )
จากสูตร A= w และ Z = f 3 d A
s c
n
กําหนด b w = 30 cm, f s = 0.6f y = 0.6 × 4000 = 2400 ksc, Z = 26000 kg / cm
A s1 = A s 2
db
y1 = 5 + 0.9 + = 5.9 + 0.5d b = d c
2
d
y 2 = 5 + 0.9 + d b + 6 + b = 11.9 + 1.5d b
2
A y + A s 2 y 2 y1 + y 2 5.9 + 0.5d b + 11.9 + 1.5d b
y = s1 1 = = = 8.9 + d b
A s1 + A s 2 2 2
30 × (2 × (8.9 + d b )) 60(8.9 + d b )
A= =
n n
แทนคาใน Z = fs d c A
3

3
⎛ Z ⎞ ⎛ 26000 ⎞
3

d c A = ⎜⎜ ⎟⎟ = ⎜ ⎟ = 1271.412037
⎝ f s ⎠ ⎝ 2400 ⎠
(5.9 + 0.5d b ) 60(8.9 + d b ) = 1271.412037
n
60(5.9 + 0.5d b )(8.9 + d b )
n=
1271.412037
ถา d b = 32 mm = 3.2 cm
60 × (5.9 + 0.5 × 3.2) × (8.9 + 3.2 )
n= = 4.28 ⇒ 5 ⇒ 6 เสน
1271.412037
ตองเสริมชั้นลาง 3 เสน ชั้นบนถัดไป 3 เสน ขอ (1) ไมถูกตอง

131
ถา d b = 28 mm = 2.8 cm
60 × (5.9 + 0.5 × 2.8) × (8.9 + 2.8)
n= = 4.03 ⇒ 5 ⇒ 6 เสน
1271.412037
จัด 2 ชั้นๆ ละ 3 เสน ขอ (2) ถูกตอง
ถา d b = 25 mm = 2.5 cm
60 × (5.9 + 0.5 × 2.5) × (8.9 + 2.5)
n= = 3.85 ⇒ 4 เสน
1271.412037
จัด 2 ชั้นๆ ละ 2 เสน ขอ (3) ไมถูกตอง
คําตอบ ขอ (2)ขนาด φ 28 มม โดยเสริมชั้นละ 3 เสน (As ทั้งหมด = 36.96 ซม2)

132
คําถามขอที่ 133
คานยื่นยาว 1.50 เมตร มีขนาด 0.25 × 0.35 เมตร เสริมเหล็ก 3 − φ 25 มม (As = 14.73 ซม2) ที่
ความลึกประสิทธิผลเทากับ 30 ซม จงประมาณคาโมเมนตดดั ที่จะทําใหคานเริ่มราว (Mcr)
กําหนดให modulus of rupture f r = 2.0 f c' กก/ซม2 และสมมติวาระยะ kd = 18 ซม คา Icr =
55900 ซม4
ตัวเลือก
(1) 1100 กก.เมตร
(2) 1200 กก.เมตร
(3) 1400 กก.เมตร
(4) 1600 กก.เมตร
แนวคิด ดูหัวขอ 6.5 บทที่ 6 การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธกี ําลัง ศ.ดร.
วินิต ชอวิเชียร
f r Ig 2.0 f c' I g
เนื่องจาก M cr = =
yt yt
bh 25 × 353
3
โดยที่ Ig = = = 89,322.91667 cm 4
12 12
h 35
yt = = = 17.5 cm
2 2
2 f c' × 89,322.91667
ดังนั้น M cr = = 10,208.33333 f c' kg.cm
17.5
ตองใชขอมูลอื่นๆ ที่มีอยูหาคาของ f c'
b = 25 cm
h = 35 cm
d = 30 cm
A s = 14.73 cm 2
kd = 18 cm
I cr = 55900 cm 4
b(kd )
3
เนื่องจาก I cr = + nA s (d − kd )
2

3
25 × 183
แทนคา 55900 = + n × 14.73 × (30 − 18)
2

3
55900 = 48600 + 2121.12n
55900 − 48600 Es 2040000
n= = 3.441578034 = =
2121.12 E c 15100 f '
c

2040000
f c' = = 39.25505579
15100 × 3.441578034

133
ดังนั้น M cr = 10,208.33333 f c' = 10,208.33333 × 39.25505579
M cr = 400,728.6944 kg.cm = 4007.3 kg.m
จะเห็นวาไมมขี อใดถูกเลย
ปญหาอยูที่โจทยไมกําหนดคา f c' มาให
เฉลยขอ (3) 1400 กก.เมตร แทนคาเพื่อหา f c'
1400 × 100 = 10,208.33333 f c'
f c' = 13.71428572
f c' = 13.71428572 2 = 188.08 ksc
โจทยนาจะกําหนด f c' = 180 ksc

134
คําถามขอที่ 134
คานยื่นยาว 1.50 เมตร มีขนาด 0.25 × 0.35 เมตร เสริมเหล็ก 3 − φ 25 มม (As = 14.73 ซม2) ที่
3
⎛ M cr ⎞
ความลึกประสิทธิผลเทากับ 30 ซม จงประมาณคาของ ⎜⎜ ⎟⎟ เมื่อตองรับน้ําหนักบรรทุกแผใช
⎝ M a ⎠
งาน wD = 5000 กก/ม (รวมน้ําหนักคานแลว) และ wL = 1250 กก/ม สมมติให Mcr = 1400 กก.เมตร
ตัวเลือก
(1) 0.005
(2) 0.006
(3) 0.007
(4) 0.008
แนวคิด ดูหัวขอ 6.5 บทที่ 6 การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธกี ําลัง ศ.ดร.
วินิต ชอวิเชียร
wL2 (5000 + 1250) × 1.502
aM = = = 7031.25 kg.m
2 2
3
⎛ M cr ⎞ ⎛ 1400 ⎞
3

⎜⎜ ⎟⎟ = ⎜ ⎟ = 0.00789 ⇒ 0.008
⎝ M a ⎠ ⎝ 7031.25 ⎠
คําตอบ ขอ (4) 0.008

135
คําถามขอที่ 135
คานยื่นยาว 1.50 เมตร มีขนาด 0.25 × 0.35 เมตร เสริมเหล็ก 3 − φ 25 มม (As = 14.73 ซม2) ที่
ความลึกประสิทธิผลเทากับ 30 ซม จงประมาณคาการโกงตัวทันทีที่ปลายคานยืน่ เมื่อตองรับ
น้ําหนักบรรทุกแผใชงาน wD = 5000 กก/ม (รวมน้ําหนักคานแลว) และ wL = 1250 กก/ม สมมติให
wL4
Ie = 56050 ซม4 และ Ec = 2.5 × 105 กก/ตร.ซม [สูตรคํานวณ Δ i = ]
8E c I e
ตัวเลือก
(1) 0.29 ซม
(2) 0.35 ซม
(3) 0.38 ซม
(4) 0.40 ซม
แนวคิด ดูหัวขอ 6.5 บทที่ 6 การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธกี ําลัง ศ.ดร.
วินิต ชอวิเชียร
w = 5000 + 1250 = 6250 kg / m = 62.5 kg / cm
wL4 62.5 × 1504
Δi = = = 0.2822 cm
8E c Ie 8 × 2.5 × 105 × 56050
คําตอบ ขอ (1) 0.29 ซม

136
คําถามขอที่ 136
คานยื่นยาว 1.50 เมตร มีขนาด 0.25 × 0.35 เมตร เสริมเหล็ก 3 − φ 25 มม (As = 14.73 ซม2) ที่
3
⎛ M cr ⎞
ความลึกประสิทธิผลเทากับ 30 ซม จงประมาณคาของ ⎜⎜ ⎟⎟ เมื่อตองรับน้ําหนักบรรทุกแผใช
⎝ M a ⎠
งาน wD = 5000 กก/ม (รวมน้ําหนักคานแลว) และ wL = 2500 กก/ม สมมติให Mcr = 1400 กก.เมตร
ตัวเลือก
(1) 0.0042
(2) 0.0045
(3) 0.0047
(4) 0.0050
แนวคิด ดูหัวขอ 6.5 บทที่ 6 การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธกี ําลัง ศ.ดร.
วินิต ชอวิเชียร
wL2 (5000 + 2500) × 1.502
aM = = = 8437.5 kg.m
2 2
3
⎛ M cr ⎞ ⎛ 1400 ⎞
3

⎜⎜ ⎟⎟ = ⎜ ⎟ = 0.004568 ⇒ 0.0046
⎝ M a ⎠ ⎝ 8437.5 ⎠
คําตอบ ขอ (3) 0.0047

137
คําถามขอที่ 137
คานยื่นยาว 1.50 เมตร มีขนาด 0.25 × 0.35 เมตร เสริมเหล็ก 3 − φ 25 มม (As = 14.73 ซม2) ที่
ความลึกประสิทธิผลเทากับ 30 ซม จงประมาณคาการโกงตัวทันทีที่ปลายคานยืน่ เมื่อตองรับ
น้ําหนักบรรทุกแผใชงาน wD = 5000 กก/ม (รวมน้ําหนักคานแลว) และ wL = 1250 กก/ม สมมติให
wL4
Ie = 55950 ซม4 และ Ec = 2.5 × 105 กก/ตร.ซม [สูตรคํานวณ Δ i = ]
8E c I e
ตัวเลือก
(1) 0.29 ซม
(2) 0.35 ซม
(3) 0.38 ซม
(4) 0.40 ซม
แนวคิด ดูหัวขอ 6.5 บทที่ 6 การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธกี ําลัง ศ.ดร.
วินิต ชอวิเชียร
w = 5000 + 1250 = 6250 kg / m = 62.5 kg / cm
wL4 62.5 × 1504
Δi = = = 0.2827 cm
8E c Ie 8 × 2.5 × 105 × 55950
คําตอบ ขอ (1) 0.29 ซม

138
คําถามขอที่ 138
คานยื่นยาว 1.50 เมตร มีขนาด 0.25 × 0.35 เมตร เสริมเหล็ก 3 − φ 25 มม (As = 14.73 ซม2) ที่
ความลึกประสิทธิผลเทากับ 30 ซม เมื่อตองรับน้ําหนักบรรทุกแผใชงาน wD = 5000 กก/ม (รวม
น้ําหนักคานแลว) และ wL = 1250 กก/ม จงประมาณคาการโกงตัวทัง้ หมดที่ปลายคานยื่นนี้ สมมติ
wL4
ให Ie = 55950 ซม4 และ Ec = 2.5 × 105 กก/ตร.ซม [สูตรคํานวณ Δ i = ]
8E c Ie
ตัวเลือก
(1) 0.60 ซม
(2) 0.90 ซม
(3) 1.00 ซม
(4) 1.20 ซม
แนวคิด ดูหัวขอ 6.5 บทที่ 6 การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธกี ําลัง ศ.ดร.
วินิต ชอวิเชียร
w = 5000 + 1250 = 6250 kg / m = 62.5 kg / cm
wL4 62.5 × 1504
Δi = = = 0.2827 cm
8E c Ie 8 × 2.5 × 105 × 55950
หาระยะโกงทัง้ หมดเมื่อเวลาผานไป 5 ป
Δ t = Δi + Δa
ξ
โดยที่ Δa = Δi
1 + 50ρ'
เมื่อน้ําหนักบรรทุกคงคาง 5 ปขึ้นไป คา ξ = 2.0 และไมบอกวามีเหล็กรับแรงอัดนั่นคือ ρ'= 0
2.0
Δ a = 0.2827 × = 0.5655 cm
1 + 50 × 0
Δ t = 0.2827 + 0.5655 = 0.848 cm
คําตอบ ขอ (2) 0.90 ซม

139
คําถามขอที่ 139
คานชวงเดียวยาวเทากับ 6.00 เมตร มีขนาด 0.25 × 0.35 เมตร เสริมเหล็ก 3 − φ 25 มม (As =
3
⎛ M cr ⎞
14.73 ซม2) ที่ความลึกประสิทธิผลเทากับ 30 ซม จงประมาณคาของ ⎜⎜ ⎟⎟ เมื่อรับน้ําหนัก
⎝ M a ⎠
บรรทุกแผใชงาน wD = 1240 กก/ม (รวมน้ําหนักคานแลว) และ wL = 310 กก/ม กําหนดให
f c' = 300 ก/ตร.ซม , fy = 4000 กก/ตร.ซม และสมมติใหโมเมนตดัดที่จะทําใหคานเริ่มราว (Mcr) =
1400 กก.เมตร
ตัวเลือก
(1) 0.006
(2) 0.007
(3) 0.008
(4) 0.009
แนวคิด ดูหัวขอ 6.5 บทที่ 6 การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธกี ําลัง ศ.ดร.
วินิต ชอวิเชียร
w = 1240 + 310 = 1550 kg / m
wL2 1550 × 6.002
Ma = = = 6975 kg.m
8 8
3
⎛ M cr ⎞ ⎛ 1400 ⎞
3

⎜⎜ ⎟⎟ = ⎜ ⎟ = 0.00808633
⎝ a ⎠ ⎝ 6975 ⎠
M
คําตอบ ขอ (3) 0.008
หมายเหตุ เฉลยตอบขอ (4) 0.009

140
คําถามขอที่ 140
คานชวงเดียวยาวเทากับ 6.00 เมตร มีขนาด 0.25 × 0.35 เมตร เสริมเหล็ก 3 − φ 25 มม (As =
3
⎛ M cr ⎞
14.73 ซม2) ที่ความลึกประสิทธิผลเทากับ 30 ซม จงประมาณคาของ ⎜⎜ ⎟⎟ เมื่อรับน้ําหนัก
⎝ M a ⎠
บรรทุกแผใชงาน wD = 1240 กก/ม (รวมน้ําหนักคานแลว) และ wL = 620 กก/ม กําหนดให
f c' = 300 ก/ตร.ซม , fy = 4000 กก/ตร.ซม และสมมติใหโมเมนตดัดที่จะทําใหคานเริ่มราว (Mcr) =
1400 กก.เมตร
ตัวเลือก
(1) 0.0042
(2) 0.0045
(3) 0.0048
(4) 0.0053
แนวคิด ดูหัวขอ 6.5 บทที่ 6 การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธกี ําลัง ศ.ดร.
วินิต ชอวิเชียร
w = 1240 + 620 = 1860 kg / m
wL2 1860 × 6.002
Ma = = = 8370 kg.m
8 8
3
⎛ M cr ⎞ ⎛ 1400 ⎞
3

⎜⎜ ⎟⎟ = ⎜ ⎟ = 0.004679589
⎝ a ⎠ ⎝ 8370 ⎠
M
คําตอบ ขอ (3) 0.0048

141
คําถามขอที่ 141
คานชวงเดียวยาวเทากับ 6.00 เมตร มีขนาด 0.25 × 0.35 เมตร เสริมเหล็ก 3 − φ 25 มม (As =
14.73 ซม2) ที่ความลึกประสิทธิผลเทากับ 30 ซม เมื่อรับน้ําหนักบรรทุกแผใชงาน wD = 1240 กก/ม
(รวมน้ําหนักคานแลว) และ wL = 310 กก/ม จงประมาณคาการโกงตัวทันทีของคาน สมมติให Ec =
4
2.5 × 105 กก/ตร.ซม และโมเมนตอินเนอรเชียประสิทธิผล (Ie) = 56040 ซม
ตัวเลือก
(1) 2.00 ซม
(2) 1.95 ซม
(3) 1.85 ซม
(4) 1.75 ซม
แนวคิด ดูหัวขอ 6.5 บทที่ 6 การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธกี ําลัง ศ.ดร.
วินิต ชอวิเชียร
w = 1240 + 310 = 1550 kg / m = 15.5 kg / cm
5wL4 5 × 15.5 × 600 4
Δi = =
384E c I e 384 × 2.5 × 105 × 56040
Δ i = 1.866970021 cm ⇒ 1.87 cm
คําตอบ ขอ (3) 1.85 ซม

142
คําถามขอที่ 142
คานชวงเดียวยาวเทากับ 6.00 เมตร มีขนาด 0.25 × 0.35 เมตร เสริมเหล็ก 3 − φ 25 มม (As =
14.73 ซม2) ที่ความลึกประสิทธิผลเทากับ 30 ซม เมื่อรับน้ําหนักบรรทุกแผใชงาน wD = 1240 กก/ม
(รวมน้ําหนักคานแลว) และ wL = 310 กก/ม จงประมาณคาการโกงตัวทั้งหมดในระยะยาว ซึง่
มากกวา 5 ปขนึ้ ไป สมมติให Ec = 2.5 × 105 กก/ตร.ซม และโมเมนตอินเนอรเชียประสิทธิผล (Ie) =
56040 ซม4
ตัวเลือก
(1) 5.50 ซม
(2) 5.70 ซม
(3) 5.80 ซม
(4) 6.00 ซม
แนวคิด ดูหัวขอ 6.5 บทที่ 6 การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธกี ําลัง ศ.ดร.
วินิต ชอวิเชียร
w = 1240 + 310 = 1550 kg / m = 15.5 kg / cm
5wL4 5 × 15.5 × 6004
Δi = =
384E c I e 384 × 2.5 × 105 × 56040
Δ i = 1.866970021 cm
การโกงตัวทั้งหมดเมื่อเวลาผานไปนานๆ
ξ ⎛ ξ ⎞
Δ t = Δi + Δi = Δ i ⎜⎜1 + ⎟⎟
1 + 50ρ' ⎝ 1 + 50ρ' ⎠
เมื่อเวลาผานไป 5 ปหรือ 60 เดือนขึ้นไป คา ξ = 2.0 และกรณีนี้ไมมีเหล็กรับแรงอัด ρ'= 0
⎛ 2.0 ⎞
Δ t = 1.866970021 × ⎜1 + ⎟
⎝ 1 + 50 × 0 ⎠
Δ t = 5.600910064 ⇒ 5.60 cm

คําตอบ ขอ (1) 5.50 ซม


ขอสังเกต ตัวเลือกใกลกนั มากจนมีลักษณะขัดแยงอยางมาก

143
คําถามขอที่ 143
คานชวงเดียวยาวเทากับ 6.00 เมตร มีขนาด 0.25 × 0.35 เมตร เสริมเหล็ก 3 − φ 25 มม (As =
14.73 ซม2) ที่ความลึกประสิทธิผลเทากับ 30 ซม เมื่อรับน้ําหนักบรรทุกแผใชงาน wD = 1240 กก/ม
(รวมน้ําหนักคานแลว) และ wL = 620 กก/ม จงประมาณคาการโกงตัวทันทีของคาน สมมติให Ec =
4
2.5 × 105 กก/ตร.ซม และโมเมนตอินเนอรเชียประสิทธิผล (Ie) = 56000 ซม
ตัวเลือก
(1) 2.00 ซม
(2) 2.25 ซม
(3) 2.30 ซม
(4) 2.50 ซม
แนวคิด ดูหัวขอ 6.5 บทที่ 6 การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธกี ําลัง ศ.ดร.
วินิต ชอวิเชียร
w = 1240 + 620 = 1860 kg / m = 18.6 kg / cm
5wL4 5 × 18.6 × 600 4
Δi = =
384E c I e 384 × 2.5 × 105 × 56000
Δ i = 2.241964286 cm ⇒ 2.24 cm
คําตอบ ขอ (2) 2.25 ซม

144
คําถามขอที่ 144
คานชวงเดียวยาวเทากับ 6.00 เมตร มีขนาด 0.25 × 0.35 เมตร เสริมเหล็ก 3 − φ 25 มม (As =
14.73 ซม2) ที่ความลึกประสิทธิผลเทากับ 30 ซม เมื่อรับน้ําหนักบรรทุกแผใชงาน wD = 1240 กก/ม
(รวมน้ําหนักคานแลว) และ wL = 620 กก/ม จงประมาณคาการโกงตัวทั้งหมดในระยะยาว ซึง่
มากกวา 5 ปขนึ้ ไป สมมติให Ec = 2.5 × 105 กก/ตร.ซม และโมเมนตอินเนอรเชียประสิทธิผล (Ie) =
56000 ซม4
ตัวเลือก
(1) 7.50 ซม
(2) 7.00 ซม
(3) 6.75 ซม
(4) 6.00 ซม
แนวคิด ดูหัวขอ 6.5 บทที่ 6 การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธกี ําลัง ศ.ดร.
วินิต ชอวิเชียร
w = 1240 + 620 = 1860 kg / m = 18.6 kg / cm
5wL4 5 × 18.6 × 6004
Δi = =
384E c I e 384 × 2.5 × 105 × 56000
Δ i = 2.241964286 cm
การโกงตัวทั้งหมดเมื่อเวลาผานไปนานๆ
ξ ⎛ ξ ⎞
Δ t = Δi + Δi = Δ i ⎜⎜1 + ⎟⎟
1 + 50ρ' ⎝ 1 + 50ρ' ⎠
เมื่อเวลาผานไป 5 ปหรือ 60 เดือนขึ้นไป คา ξ = 2.0 และกรณีนี้ไมมีเหล็กรับแรงอัด ρ'= 0
⎛ 2.0 ⎞
Δ t = 2.241964286 × ⎜1 + ⎟
⎝ 1 + 50 × 0 ⎠
Δ t = 6.725892857 ⇒ 6.73 cm
คําตอบ ขอ (3) 6.75 ซม

145
คําถามขอที่ 145
คานยื่นยาว 1.50 เมตร มีขนาด 0.25 × 0.35 เมตร เสริมเหล็ก 3 − φ 25 มม (As = 14.73 ซม2) ที่
ความลึกประสิทธิผลเทากับ 30 ซม จงประมาณคาโมเมนตอินเนอรเชียประสิทธิผลของคานยื่น (Ie)
เมื่อตองรับน้ําหนักบรรทุกแผใชงาน wD = 5000 กก/ม (รวมน้ําหนักของคานแลว) และ wL = 1250
กก/ม สมมติให Mcr = 1400 กก.เมตร
ตัวเลือก
(1) 55950 ซม^4
(2) 56050 ซม^4
(3) 56500 ซม^4
(4) 56800 ซม^4
แนวคิด ดูหัวขอ 6.5 บทที่ 6 การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธกี ําลัง ศ.ดร.
วินิต ชอวิเชียร
⎛ M cr ⎞
3
⎡ ⎛ M ⎞3 ⎤
สูตร I e = ⎜⎜ ⎟⎟ Ig + ⎢1 − ⎜⎜ cr ⎟⎟ ⎥ Icr ≤ Ig
⎝ a⎠
M ⎢⎣ ⎝ M a ⎠ ⎥⎦
ขอมูลที่ทราบแลวb = 25 cm, h = 35 cm, d = 30 cm, M cr = 1400 kg.m
w = 5000 + 1250 = 6250 kg / m
wL2 6250 × 1.50 2
Ma = = = 7031.25 kg.m
2 2
3
⎛ M cr ⎞ ⎛ 1400 ⎞
3

⎜⎜ ⎟⎟ = ⎜ ⎟ = 0.007893806
⎝ M a ⎠ ⎝ 7031.25 ⎠
bh 3 25 × 353
Ig = = = 89322.91667 cm 4
12 12
2.0 f c' Ig 2.0 f c' 4 f c'
M cr = = Ig = Ig
yt h h
2
4 f c'
1400 × 100 = × 89322.91667
35
f c' = 13.71428571
Es 2040000 2040000
n= = = = 9.850993377
E c 15100 f c' 15100 × 13.71428571
As 14.73
ρ= = = 0.01964
bd 25 × 30
nρ = 9.850993377 × 0.01964 = 0.193473509

146
k = 2ρn + (ρn ) − ρn
2

k = 2 × 0.193473509 + 0.193473509 2 − 0.193473509


k = 0.457970285
kd = 0.457970285 × 30 = 13.73910857 cm
b(kd )
3
I cr = + nA s (d − kd )
2

3
25 × 13.739108573
I cr = + 9.850993377 × 14.73 × (30 − 13.73910857 )
2

3
I cr = 59980.17753 cm 4
แทนคาได
I e = 0.007893806 × 89322.91667 + (1 − 0.007893806) × 59980.17753
I e = 705.0978385 + 59506.7056
I e = 60,211.80344 ⇒ 60,200 cm 4
คําตอบ ไมมีตัวเลือกใดที่ถูกตอง
Ma M
ขอสังเกต เมื่อ ≤ 1 คา I e = I g และเมื่อ a ≥ 3 คา I e = Icr
M cr M cr
M a 7031.25
กรณีนี้ = = 5.02 > 3 ดังนั้น I e = Icr = 59980 cm 4
M cr 1400
แมจะใชคาประมาณก็ยังไมมคี ําตอบที่ถูกตอง และขอสังเกตอีกประการหนึ่งคือคา k = 0.458 มาก
เกินไป เกิดจากการประมาณคา M cr ที่ไมเหมาะสม

เฉลย ขอ (2) 56050 ซม^4

147
คําถามขอที่ 146
คานยื่นยาว 1.50 เมตร มีขนาด 0.25 × 0.35 เมตร เสริมเหล็ก 3 − φ 25 มม (As = 14.73 ซม2) ที่
ความลึกประสิทธิผลเทากับ 30 ซม จงประมาณคาโมเมนตอินเนอรเชียประสิทธิผลของคานยื่น (Ie)
เมื่อตองรับน้ําหนักบรรทุกแผใชงาน wD = 5000 กก/ม (รวมน้ําหนักของคานแลว) และ wL = 2500
กก/ม สมมติให Mcr = 1400 กก.เมตร
ตัวเลือก
(1) 55950 ซม^4
(2) 56050 ซม^4
(3) 56500 ซม^4
(4) 56800 ซม^4
แนวคิด ดูหัวขอ 6.5 บทที่ 6 การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธกี ําลัง ศ.ดร.
วินิต ชอวิเชียร
⎛ M cr ⎞
3
⎡ ⎛ M ⎞3 ⎤
สูตร I e = ⎜⎜ ⎟⎟ Ig + ⎢1 − ⎜⎜ cr ⎟⎟ ⎥ Icr ≤ Ig
⎝ a⎠
M ⎢⎣ ⎝ M a ⎠ ⎥⎦
ขอมูลที่ทราบแลวb = 25 cm, h = 35 cm, d = 30 cm, M cr = 1400 kg.m
w = 5000 + 2500 = 7500 kg / m
wL2 7500 × 1.502
Ma = = = 8437.5 kg.m
2 2
M a 8437.5
= = 6.03 > 3 ⇒ Ie ≈ Icr
M cr 1400
3
⎛ M cr ⎞ ⎛ 1400 ⎞
3
⎜⎜ ⎟⎟ = ⎜ ⎟ = 0.004568175
⎝ M a ⎠ ⎝ 8437.5 ⎠
bh 3 25 × 353
Ig = = = 89322.91667 cm 4
12 12
2.0 f c' Ig 2.0 f c' 4 f c'
M cr = = Ig = Ig
yt h h
2
4 f c'
1400 × 100 = × 89322.91667
35
f c' = 13.71428571
Es 2040000 2040000
n= = = = 9.850993377
E c 15100 f c 15100 × 13.71428571
'

As 14.73
ρ= = = 0.01964
bd 25 × 30
nρ = 9.850993377 × 0.01964 = 0.193473509

148
k = 2ρn + (ρn ) − ρn
2

k = 2 × 0.193473509 + 0.193473509 2 − 0.193473509


k = 0.457970285
kd = 0.457970285 × 30 = 13.73910857 cm
b(kd )
3
I cr = + nA s (d − kd )
2

3
25 × 13.739108573
I cr = + 9.850993377 × 14.73 × (30 − 13.73910857 )
2

3
I cr = 59980.17753 cm 4
แทนคาได
Ie = 0.004568175 × 89322.91667 + (1 − 0.004568175) × 59980.17753
Ie = 408.0427306 + 59,706.17757
Ie = 60,114.2203 ⇒ 60,100 cm 4
คําตอบ ไมมีตัวเลือกใดที่ถูกตอง
Ma M
ขอสังเกต เมื่อ ≤ 1 คา I e = I g และเมื่อ a ≥ 3 คา I e = Icr
M cr M cr
M a 8437.5
กรณีนี้ = = 6.03 > 3 ดังนั้น I e = Icr = 59980 cm 4
M cr 1400
แมจะใชคาประมาณก็ยังไมมคี ําตอบที่ถูกตอง และขอสังเกตอีกประการหนึ่งคือคา k = 0.458 มาก
เกินไป เกิดจากการประมาณคา M cr ที่ไมเหมาะสม

เฉลย ขอ (1) 55950 ซม^4

149
คําถามขอที่ 147
คานชวงเดียวขนาด 0.25 × 0.35 เมตร เสริมเหล็กรับแรงดึง 3 − φ 25 มม (As = 14.73 ซม2) ที่
ความลึกประสิทธิผลเทากับ 30 ซม จงหาโมเมนตอินเนอรเชียรอบแกนที่รับโมเมนตดัดใชงานเมือ่
คานราว (Icr) กําหนดให f c' = 300 กก/ตร.ซม f y = 4000 กก/ตร.ซม และ n = 8
ตัวเลือก
(1) 49000 ซม^4
(2) 49700 ซม^4
(3) 55900 ซม^4
(4) 65600 ซม^4
แนวคิด ดูหัวขอ 6.5 บทที่ 6 การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธกี ําลัง ศ.ดร.
วินิต ชอวิเชียร
As 14.73
ρ= = = 0.01964
bd 25 × 30
ρn = 0.01964 × 8 = 0.15712
k = 2ρn + (ρn ) − ρn
2

k = 2 × 0.15712 + 0.157122 − 0.15712


k = 0.42505411
kd = 0.42505411 × 30 = 12.7516233 cm
b(kd )
3
I cr = + nA s (d − kd )
2

3
25 × 12.75162333
I cr = + 8 × 14.73 × (30 − 12.7516233)
2

3
I cr = 52,337.02947 ⇒ 52,300 cm 4
คําตอบ ไมมีคําตอบที่ถูกตอง
เฉลย ขอ (3) 55900 ซม^4

150
คําถามขอที่ 148
คานชวงเดียวขนาด 0.25 × 0.35 เมตร เสริมเหล็กรับแรงดึง 3 − φ 25 มม (As = 14.73 ซม2) ที่
ความลึกประสิทธิผลเทากับ 30 ซม จงหาโมเมนตดดั ที่จะทําใหคานเริ่มราว (Mcr) กําหนดให
f c' = 300 กก/ตร.ซม f y = 4000 กก/ตร.ซม และmodulus of rupture f r = 2.0 f c' กก/ซม2 สมมติ
ให kd = 18 ซม
ตัวเลือก
(1) 1100 กก.เมตร
(2) 1200 กก.เมตร
(3) 1400 กก.เมตร
(4) 1600 กก.เมตร
แนวคิด ดูหัวขอ 6.5 บทที่ 6 การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธกี ําลัง ศ.ดร.
วินิต ชอวิเชียร
2.0 f c' bh 3 2.0 300 25 × 353
f r Ig
M cr = = = ×
yt h 12 35 12
2 2
M cr = 176813.5199 kg.cm = 1768 kg.m
คําตอบ ไมมีคําตอบที่ถูกตอง
เฉลย ขอ (3) 1400 กก.เมตร
ขอสังเกต การกําหนด kd = 18 cm เมื่อ d = 30 cm จะไดคา k = 18/30 = 0.6 ซึ่งมากผิดปกติ
Es 2040000 135.099 135.099
n= = = = = 7 .8
E c 15100 f c' f c' 300
As 14.73
ρ= = = 0.01964
bd 25 × 30
ρn = 0.01964 × 7.8 = 0.153192
k = 2ρn + (ρn ) − ρn
2

k = 2 × 0.153192 + 0.153192 2 − 0.153192


k = 0.42114
kd = 0.42114 × 30 = 12.634 cm < 18 cm

151
คําถามขอที่ 149
คานชวงเดียวขนาด 0.25 × 0.35 เมตร เสริมเหล็กรับแรงดึง 3 − φ 25 มม (As = 14.73 ซม2) ที่
ความลึกประสิทธิผลเทากับ 30 ซม จงประมาณคาของโมเมนตอินเนอรเชียประสิทธิผลของคานนี้
3
⎛ M cr ⎞
(Ie) ถาสมมติคา ⎜⎜ ⎟⎟ = 0.009 และ Icr = 55900 ซม4
⎝ Ma ⎠
ตัวเลือก
(1) 55975 ซม^4
(2) 56040 ซม^4
(3) 56500 ซม^4
(4) 56800 ซม^4
แนวคิด ดูหัวขอ 6.5 บทที่ 6 การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธกี ําลัง ศ.ดร.
วินิต ชอวิเชียร
⎛ M cr ⎞
3
⎡ ⎛ M ⎞3 ⎤
I e = ⎜⎜ ⎟⎟ I g + ⎢1 − ⎜⎜ cr ⎟⎟ ⎥ Icr ≤ Ig
⎝ Ma ⎠ ⎢⎣ ⎝ M a ⎠ ⎥⎦
bh 3 25 × 353
Ig = = = 89,322.91667 cm 4
12 12
I e = 0.009 × 89,322.91667 + (1 − 0.009 ) × 55900
I e = 56,200.80625 ⇒ 56,200 cm 4
คําตอบ ขอ (2) 56040 ซม^4
ขอสังเกต คําตอบตางจากคาจริงมากพอควร การทําตัวเลือกไมดนี ัก

152
คําถามขอที่ 150
คานชวงเดียวขนาด 0.25 × 0.35 เมตร เสริมเหล็กรับแรงดึง 3 − φ 25 มม (As = 14.73 ซม2) ที่
ความลึกประสิทธิผลเทากับ 30 ซม จงประมาณคาของโมเมนตอินเนอรเชียประสิทธิผลของคานนี้
3
⎛ M cr ⎞
(Ie) ถาสมมติคา ⎜⎜ ⎟⎟ = 0.0048 และ Icr = 55900 ซม4
⎝ Ma ⎠
ตัวเลือก
(1) 56000 ซม^4
(2) 56250 ซม^4
(3) 56500 ซม^4
(4) 56800 ซม^4
แนวคิด ดูหัวขอ 6.5 บทที่ 6 การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธกี ําลัง ศ.ดร.
วินิต ชอวิเชียร
⎛ M cr ⎞
3
⎡ ⎛ M ⎞3 ⎤
Ie = ⎜⎜ ⎟⎟ Ig + ⎢1 − ⎜⎜ cr ⎟⎟ ⎥ Icr ≤ Ig
⎝ Ma ⎠ ⎢⎣ ⎝ M a ⎠ ⎥⎦
bh 3 25 × 353
Ig = = = 89,322.91667 cm 4
12 12
Ie = 0.0048 × 89,322.91667 + (1 − 0.0048) × 55900
Ie = 56060 ⇒ 56,100 cm 4
คําตอบ ขอ (2) 56000 ซม^4

153
คําถามขอที่ 151
กันสาดยืน่ ออกจากคานรองรับเปนระยะ = 1.50 ม ถากันสาดหนา 10 ซม เสริมเหล็ก φ 9 มม
จํานวน 9 เสนทุกระยะ 1.00 ม (As = 5.73 ซม2/ม) ที่ความลึกประสิทธิผลเทากับ 7.5 ซม จงประมาณ
คาโมเมนตอินเนอรเชียรอบแกนที่รับโมเมนตเมื่อกันสาดราว (Icr) กําหนดให f c' = 200 กก/ตร.ซม
fy = 2400 กก/ตร.ซม และ n = 10
ตัวเลือก
(1) 1850 ซม^4/ม
(2) 1900 ซม^4/ม
(3) 1960 ซม^4/ม
(4) 2050 ซม^4/ม
แนวคิด ดูหัวขอ 6.5 บทที่ 6 การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธกี ําลัง ศ.ดร.
วินิต ชอวิเชียร
b(kd )
3
I = + nA (d − kd )
2
cr s
3
As 5.73
ρ= = = 0.00764
bd 100 × 7.5
ρn = 0.00764 × 10 = 0.0764
k = 2ρn + (ρn ) − ρn
2

k = 2 × 0.0764 + 0.0764 2 − 0.0764 = 0.321892555


kd = 0.321892555 × 7.5 = 2.414194168 cm
100 × 2.4141941683
I cr = + 10 × 5.73 × (7.5 − 2.414194168)
2

3
I cr = 1951.112911 cm 4
คําตอบ ขอ (3) 1960 ซม^4/ม

154
คําถามขอที่ 152
กันสาดยืน่ ออกจากคานรองรับเปนระยะ = 1.50 ม ถากันสาดหนา 10 ซม เสริมเหล็ก φ 9 มม
จํานวน 9 เสนทุกระยะ 1.00 ม (As = 5.73 ซม2/ม) ที่ความลึกประสิทธิผลเทากับ 7.5 ซม จงประมาณ
คาของโมเมนตอินเนอรเชียประสิทธิผลของกันสาดยืน่ (Ie) เมื่อกันสาดรับน้ําหนักบรรทุกคงที่ของ
ตัวมันเองเพียงอยางเดียว และน้ําหนักบรรทุกจรใชงานแบบแผ = 150 กก/ม2 สมมติให
3
⎛ M cr ⎞
⎜⎜ ⎟⎟ = 1.25 และ Icr = 1960 ซม4/ม
⎝ a⎠
M
ตัวเลือก
(1) 9000 ซม^4/ม
(2) 9500 ซม^4/ม
(3) 9900 ซม^4/ม
(4) 10200 ซม^4/ม
แนวคิด ดูหัวขอ 6.5 บทที่ 6 การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธกี ําลัง ศ.ดร.
วินิต ชอวิเชียร
⎛ M cr ⎞
3
⎡ ⎛ M ⎞3 ⎤
Ie = ⎜⎜ ⎟⎟ Ig + ⎢1 − ⎜⎜ cr ⎟⎟ ⎥ Icr ≤ Ig
⎝ a⎠
M ⎢⎣ ⎝ M a ⎠ ⎥⎦
bh 3 100 × 103
Ig = = = 8333.333333 cm 4
12 12
Ie = 1.25 × 8333.333333 + (1 − 1.25) × 1960
Ie = 9927 ⇒ 9900 cm 4 / m
คําตอบ ขอ (3) 9900 ซม^4/ม
หมายเหตุ สังเกตวา Ie > Ig ซึ่งผิดจากขอกําหนดของมาตรฐาน เกิดจากการกําหนด คาของ
3
⎛ M cr ⎞
⎜⎜ ⎟⎟ = 1.25 ที่ไมสมเหตุสมผล
⎝ Ma ⎠

155
คําถามขอที่ 153
กันสาดยืน่ ออกจากคานรองรับเปนระยะ = 1.50 ม ถากันสาดหนา 10 ซม เสริมเหล็ก φ 9 มม
จํานวน 9 เสนทุกระยะ 1.00 ม (As = 5.73 ซม2/ม) ที่ความลึกประสิทธิผลเทากับ 7.5 ซม จงหา
ตําแหนงแนวแกนสะเทิน (kd) จากขอบลางของกันสาด เมื่อรับน้ําหนักบรรทุกแผใชงาน
กําหนดให f c' = 200 กก/ตร.ซม fy = 2400 กก/ตร.ซม และ n = 10
ตัวเลือก
(1) 2.0 ซม
(2) 2.4 ซม
(3) 2.6 ซม
(4) 3.0 ซม
แนวคิด ดูหัวขอ 6.5 บทที่ 6 การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธกี ําลัง ศ.ดร.
วินิต ชอวิเชียร
As 5.73
ρ= = = 0.00764
bd 100 × 7.5
ρn = 0.00764 × 10 = 0.0764
k = 2ρn + (ρn ) − ρn
2

k = 2 × 0.0764 + 0.07642 − 0.0764


k = 0.321892555
kd = 0.321892555 × 7.5 = 2.414194168 cm
คําตอบ ขอ (2) 2.4 ซม

156
คําถามขอที่ 154
กันสาดยืน่ ออกจากคานรองรับเปนระยะ = 1.50 ม ถากันสาดหนา 10 ซม เสริมเหล็ก φ 9 มม
จํานวน 9 เสนทุกระยะ 1.00 ม (As = 5.73 ซม2/ม) ที่ความลึกประสิทธิผลเทากับ 7.5 ซม จงประมาณ
คาโมเมนตดัดที่จะทําใหกนั สาดเริ่มราว (Mcr) สมมติให modulus of rupture f r = 2.0 f c' กก/ซม2
และ Icr = 1960 ซม4/ม
ตัวเลือก
(1) 470 กก.เมตร/ม
(2) 500 กก.เมตร/ม
(3) 530 กก.เมตร/ม
(4) 560 กก.เมตร/ม
แนวคิด ดูหัวขอ 6.5 บทที่ 6 การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธกี ําลัง ศ.ดร.
วินิต ชอวิเชียร
f r Ig 2.0 f c' bh 3 4 f c' bh 3 bh 2 f c'
M cr = = × = × =
y1 h 12 h 12 3
2
100 × 102 f c' 10000 f c'
M cr = =
3 3
แตโจทยใหคาของ Icr = 1960 ซม4/ม
b(kd )
3
I = + nA (d − kd )
2
cr s
3
100 × (7.5k )
3
1960 = + n × 5.73 × (7.5 − 7.5k )
2

3
ประมาณคา n = 10 หาคา k
1960 = 140625k 3 + 10 × 5.73 × 7.52 (1 − k )
2

f (k ) = 140625k 3 + 3223.125(1 − k ) − 1960 = 0


2

ไมพบวามีคา k ที่เหมาะสมใดๆ เลย


คําตอบ โจทยไมสมบูรณ ขอมูลไมเหมาะสม
เฉลย ขอ (1) 470 กก.เมตร/เมตร

157
คําถามขอที่ 155
กันสาดยืน่ ออกจากคานรองรับเปนระยะ = 1.50 ม ถากันสาดหนา 10 ซม เสริมเหล็ก φ 9 มม
จํานวน 9 เสนทุกระยะ 1.00 ม (As = 5.73 ซม2/ม) ที่ความลึกประสิทธิผลเทากับ 7.5 ซม จงประมาณ
3
⎛ M cr ⎞
คาของ ⎜⎜ ⎟⎟ เมื่อกันสาดรับน้ําหนักบรรทุกคงที่ของตัวมันเองเพียงอยางเดียว สมมติให
⎝ Ma ⎠
M cr = 470 กก.เมตร/ม
ตัวเลือก
(1) 1.25
(2) 3.50
(3) 4.40
(4) 5.30
แนวคิด ดูหัวขอ 6.5 บทที่ 6 การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธกี ําลัง ศ.ดร.
วินิต ชอวิเชียร
w = 2400h = 2400 × 0.10 = 240 kg / m 2
ตัดพื้นกันสาดกวาง 1.00 เมตร มาพิจารณาเปนคานแบน
wL2 240 × 1.50 2
Ma = = = 270 kg.m / m
2 2
M cr 470
= = 1.74
M a 270
3
⎛ M cr ⎞ ⎛ 470 ⎞
3

⎜⎜ ⎟⎟ = ⎜ ⎟ = 5.2748 ⇒ 5.3
⎝ M a ⎠ ⎝ 270 ⎠
คําตอบ ขอ (4) 5.30

158
คําถามขอที่ 156
กันสาดยืน่ ออกจากคานรองรับเปนระยะ = 1.50 ม ถากันสาดหนา 10 ซม เสริมเหล็ก φ 9 มม
จํานวน 9 เสนทุกระยะ 1.00 ม (As = 5.73 ซม2/ม) ที่ความลึกประสิทธิผลเทากับ 7.5 ซม จงประมาณ
3
⎛ M cr ⎞
คาของ ⎜⎜ ⎟⎟ เมื่อกันสาดรับน้ําหนักบรรทุกคงที่ของตัวมันเองและน้ําหนักบรรทุกจรแบบแผ =
⎝ Ma ⎠
150 กก/ม2 สมมติให M cr = 470 กก.เมตร/ม
ตัวเลือก
(1) 1.25
(2) 3.50
(3) 4.40
(4) 5.30
แนวคิด ดูหัวขอ 6.5 บทที่ 6 การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธกี ําลัง ศ.ดร.
วินิต ชอวิเชียร
w D = 2400h = 2400 × 0.10 = 240 kg / m 2
w = w D + w L = 240 + 150 = 390 kg / m 2
ตัดพื้นกันสาดกวาง 1.00 เมตร มาพิจารณาเปนคานแบน
wL2 390 × 1.502
Ma = = = 438.75 kg.m / m
2 2
M cr 470
= = 1.071225
M a 438.75
3
⎛ M cr ⎞ ⎛ 470 ⎞
3

⎜⎜ ⎟⎟ = ⎜ ⎟ = 1.22955572 ⇒ 1.23
⎝ a ⎠ ⎝ 438.75 ⎠
M
คําตอบ ขอ (4) 1.25

159
คําถามขอที่ 157
กันสาดยืน่ ออกจากคานรองรับเปนระยะ = 1.50 ม ถากันสาดหนา 10 ซม เสริมเหล็ก φ 9 มม
จํานวน 9 เสนทุกระยะ 1.00 ม (As = 5.73 ซม2/ม) ที่ความลึกประสิทธิผลเทากับ 7.5 ซม จงประมาณ
คาของโมเมนตอินเนอรเชียประสิทธิผลของกันสาดยืน่ (Ie) เมื่อกันสาดรับน้ําหนักบรรทุกคงที่ของ
3
⎛ M cr ⎞
ตัวมันเองเพียงอยางเดียว สมมติให ⎜⎜ ⎟⎟ = 5.30 และ Icr = 1960 ซม4/ม
⎝ Ma ⎠
ตัวเลือก
(1) 25900 ซม4/ม
(2) 35900 ซม4/ม
(3) 45900 ซม4/ม
(4) 55900 ซม4/ม
แนวคิด ดูหัวขอ 6.5 บทที่ 6 การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธกี ําลัง ศ.ดร.
วินิต ชอวิเชียร
⎛ M cr ⎞
3
⎡ ⎛ M ⎞3 ⎤
I e = ⎜⎜ ⎟⎟ I g + ⎢1 − ⎜⎜ cr ⎟⎟ ⎥ Icr ≤ I g
⎝ a⎠
M ⎢⎣ ⎝ M a ⎠ ⎥⎦
bh 3 100 × 103
Ig = = = 8333.333333 cm 4
12 12
I e = 5.30 × 8333.333333 + (1 − 5.30 ) × 1960
I e = 35738.66667 cm 4
คําตอบ ขอ (2) 35900 ซม4/ม

160
คําถามขอที่ 158
กันสาดยืน่ ออกจากคานรองรับเปนระยะ = 1.50 ม ถากันสาดหนา 10 ซม เสริมเหล็ก φ 9 มม
จํานวน 9 เสนทุกระยะ 1.00 ม (As = 5.73 ซม2/ม) ที่ความลึกประสิทธิผลเทากับ 7.5 ซม จงประมาณ
คาการโกงตัวทันทีที่ปลายกันสาดยื่นอันเนื่องมาจากน้ําหนักบรรทุกจรแบบแผ = 150 กก/ม2 สมมติ
ให E c = 15100 f c' กก/ตร.ซม (Ie )DL + LL = 9900 ซม4/ม (เนื่องจากน้ําหนักของกันสาด +
น้ําหนักจร) และให (Ie )DL = 35900 ซม4/ม (เนื่องจากน้ําหนักของกันสาดอยางเดียว)
ตัวเลือก
(1) 0.06 ซม
(2) 0.07 ซม
(3) 0.08 ซม
(4) 0.10 ซม
แนวคิด ดูหัวขอ 6.5 บทที่ 6 การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธกี ําลัง ศ.ดร.
วินิต ชอวิเชียร
w D = 2400h = 2400 × 0.10 = 240 kg / m 2
w = w D + w L = 240 + 150 = 390 kg / m 2
เมื่อมีทั้งน้ําหนักบรรทุกคงที่
wL4 2.4 × 1504 0.280165655
Δi = = =
8E c Ie 8 × 15100 f c × 35900
'
f c'
เมื่อมีทั้งน้ําหนักบรรทุกคงที่และน้ําหนักบรรทุกจร
wL4 3.9 × 1504 1.650925647
Δi = = =
8E c Ie 8 × 15100 f c × 9900
'
f c'
การโกงตัวที่ปลายกันสาดยื่นทันทีจากน้ําหนักบรรทุกจร
1.650925647 − 0.280165655 1.370759992
Δi = =
'
f c f c'
โจทยไมใหคา f c' ขณะที่คําเฉลยขอ (4) 0.10 ซม
1.370759992
0.10 =
f c'
2
⎛ 1.370759992 ⎞
f c' = ⎜ ⎟ = 187.9 ksc
⎝ 0.10 ⎠
เฉลย ขอ (4) 0.10 ซม

161
คําถามขอที่ 159
คาน คสล.ชวงเดียวยาว 4.00 เมตร ตองเสริมเหล็ก 3-RB 15 มม ที่กึ่งกลางคานเพื่อรับโมเมนตดัด
ชนิดบวกอันเนื่องมาจากน้ําหนักบรรทุกแผสม่ําเสมอ สมมติวาตําแหนง (ทางทฤษฎี) ที่จะตัดเหล็ก
เสริมออกไป 2 เสน อยูที่ระยะ 85 ซม หางมาจากจุดรองรับ ดังนั้นเหล็กเสริมอีก 1 เสนที่เหลือที่จะ
ปลอยเขาไปในจุดรองรับตองมีระยะฝงยึด (ทางทฤษฎี) อยางนอยประมาณ (กําหนดใหหนวยแรง
ยึดเหนี่ยวทีย่ อมใหของเหล็ก RB 15 มม = 11 กก/ตร.ซม
ตัวเลือก
(1) 45 ซม
(2) 55 ซม
(3) 65 ซม
(4) 75 ซม
แนวคิด ดูบทที่ 4 หัวขอ 4.4 การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีหนวยแรงใช
งาน ศ. ดร.วินติ ชอวิเชียร
มาตรฐาน ว.ส.ท.กําหนดระยะฝงยึด l d = d bfs แตตองเขาไปในที่รองรับไมนอยกวา 15 ซม เหล็ก
4u
RB 15 mm จะมี fy = 2400 ksc และ fs = 0.5fy = 1200 ksc ดังนั้น
1.5 × 1200
ld = + 15 = 55.9 ⇒ 56 ซม
4 × 11
คําตอบ ขอ (2) 55 ซม

162
คําถามขอที่ 160
คาน คสล.ชวงเดียวยาว 4.00 เมตร ตองเสริมเหล็ก 4-RB 15 มม ที่กึ่งกลางคานเพื่อรับโมเมนตดัด
ชนิดบวกอันเนื่องมาจากน้ําหนักบรรทุกแผสม่ําเสมอ สมมติวาตําแหนง (ทางทฤษฎี) ที่จะตัดเหล็ก
เสริมออกไป 2 เสน อยูที่ระยะ 60 ซม หางมาจากจุดรองรับ ดังนั้นเหล็กเสริมอีก 2 เสนที่เหลือที่จะ
ปลอยเขาไปในจุดรองรับตองมีระยะฝงยึด (ทางทฤษฎี) อยางนอยประมาณ (กําหนดใหหนวยแรง
ยึดเหนี่ยวทีย่ อมใหของเหล็ก RB 15 มม = 11 กก/ตร.ซม
ตัวเลือก
(1) 45 ซม
(2) 55 ซม
(3) 65 ซม
(4) 75 ซม
แนวคิด ดูบทที่ 4 หัวขอ 4.4 การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีหนวยแรงใช
งาน ศ. ดร.วินติ ชอวิเชียร
มาตรฐาน ว.ส.ท.กําหนดระยะฝงยึด l d = d bfs แตตองเขาไปในที่รองรับไมนอยกวา 15 ซม เหล็ก
4u
RB 15 mm จะมี fy = 2400 ksc และ fs = 0.5fy = 1200 ksc ดังนั้น
1.5 × 1200
ld = + 15 = 55.9 ⇒ 56 ซม
4 × 11
คําตอบ ขอ (2) 55 ซม

163
คําถามขอที่ 161
ตามมาตรฐานการออกแบบโดยวิธหี นวยแรงใชงาน สูตรคํานวณหากําลังตานทานโมเมนตบิดใช
งานของเหล็กเสริมทางขวางแบบวงปด (ขาเดียว) คือ
ตัวเลือก
AcA tf y
(1) T= กก.ซม
2s
AAf
(2) T = c t v กก.ซม
2s
2A c A t f v
(3) T= กก.ซม
s
2A c A t f y
(4) T= กก.ซม
s
แนวคิด ดูบทที่ 4 หัวขอ 4.7 สมการ 4.7.4 การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธี
หนวยแรงใชงาน ศ. ดร.วินติ ชอวิเชียร
Ts
At =
2A c f v
2A c A t f v
T=
s
คําตอบ ขอ (3) T = 2A c A t f v กก.ซม
s

164
Reinforced Concrete Design
Design of reinforced concrete structural components by working stress
and strength design concepts
จํานวน 238 ขอ

คําถามขอที่ 1
โดยวิธี strength design คานคอนกรีตสี่เหลี่ยมผืนผา 0.20 × 0.50 เมตร (d = 0.45) มีเหล็กเสริมรับ
แรงดึงดานลาง จํานวน 3-DB 20 mm จงหาโมเมนตที่คํานวณไดจริง (Nominal flexural moment
หรือ ideal strength) ของหนาตัดนี้ ถากําหนดใหคอนกรีตมีกําลังอัดประลัย 180 กก/ซม2 และใช
เหล็กเสริม SD-30
ตัวเลือก
(1) 10,410 กก.ม
(2) 11,410 กก.ม
(3) 12,410 กก.ม
(4) 13,410 กก.ม
แนวคิด
f c' = 180 ksc < 280 ksc ⇒ β1 = 0.85
SD − 30 ⇒ f y = 3000 ksc
3 − DB 20 mm ⇒ A s = 3 × 3.14 = 9.42 cm 2
As 9.42
ρ= = = 0.010466666
bd 20 × 45
14 14
ρmin = = = 0.004666666 < ρ OK
f y 3000
⎛ f ⎞
R u = ρf y ⎜⎜1 − 0.59ρ y' ⎟⎟
⎝ fc ⎠
⎛ 3000 ⎞
R u = 0.010466666 × 3000 × ⎜1 − 0.59 × 0.010466666 × ⎟
⎝ 180 ⎠
R u = 28.16824063
M n = R u bd 2 = 28.16824063 × 20 × 452
M n = 1,140,813.746 kg.cm
M n = 11,408.13746 kg.m ⇒ 11,410 kg.m
คําตอบ ขอ (2) 11,410 กก.ม

165
คําถามขอที่ 2
คากําลังอัดประลัยของคอนกรีตที่ใชในการออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็กตามมาตรฐาน
วสท. ตรงกับขอใด
ตัวเลือก
(1) ผลการทดสอบตัวอยางรูปทรงกระบอกที่ 7 วัน
(2) ผลการทดสอบตัวอยางรูปทรงกระบอกที่ 28 วัน
(3) ผลการทดสอบตัวอยางรูปลูกบาศกที่ 7 วัน
(4) ผลการทดสอบตัวอยางรูปลูกบาศกที่ 28 วัน
แนวคิด
ทั้งมาตรฐาน วสท. และกฎกระทรวงมหาดไทย ฉบับที่ 6 ออกตามความใน พรบ.ควบคุมอาคาร
2522 และที่แกไขเพิ่มเติม ระบุอยางชัดเจนวา กําลังประลัยของคอนกรีตเปนการทดสอบชิ้นตัวอยาง
ทรงกระบอกเสนผานศูนยกลาง 15 ซม สูง 30 ซม อายุ 28 วัน
สําหรับตัวอยางรูปลูกบาศกความยาวดานละ 15 ซม ก็ตองทดสอบเมื่ออายุ 28 วัน แตเปนไป
ตามมาตรฐานอังกฤษ (BS) หากมีการสงผลการทดสอบชิ้นตัวอยางรูปลูกบาศกตองแปลงใหเปนคา
5
เทียบเคียงทรงกระบอกโดยคูณดวยคาประมาณ 0.833 หรือ
6
คําตอบ ขอ (2) ผลการทดสอบตัวอยางรูปทรงกระบอกที่ 28 วัน

166
คําถามขอที่ 3
โดยวิธี ีstrength design กําหนดหนาตัดคานยื่น 0.25 × 0.50 ม. (d = 0.45 ม.) มีระยะยื่นจากเสา 1.2 ม.
ใหนํ้าหนักคงที่ (ยังไมรวมน้ําหนักคาน) 4,985 กก./ม. นํ้าหนักจร 2,000 กก./ม. จงหาขนาดเหล็ก
เสริมบนและความยาวยึดรั้ง (หรือระยะฝง development length)
กําหนดให
f c' = 180 ksc
f y = 3000 ksc
φ = 0.90
Ultimate load U = 1.4DL + 1.7LL
ตัวเลือก
(1) 2-DB 12 mm
(2) 4-DB 12 mm
(3) 4-DB 12 mm
(4) 4-DB 16 mm
แนวคิด
DL = 2400 × 0.25 × 0.50 + 4985 = 5285 kg / m
U = 1.4DL + 1.7 LL = 1.4 × 5285 + 1.7 × 2000 = 10,799 kg / m
UL2 10,799 × 1.22
Mu = = = 7775.28 kg.m = 777,528 kg.cm
2 2
Mu 777,528
Ru = = = 17.06508642 ksc
φbd 2
0.9 × 25 × 452

0.85f c' 2R u ⎤
ρ= ⎢1 − 1 − ⎥
fy ⎣ 0.85f c' ⎦
0.85 × 180 ⎡ 2 × 17.06508642 ⎤
ρ= ⎢1 − 1 − ⎥
3000 ⎣ 0.85 × 180 ⎦
14 14
ρ = 0.006046834 > ρmin = = = 0.004666666
f y 3000
A s = ρbd = 0.006046834 × 25 × 45 = 6.803 cm 2

DB 12 mm ใช 6.803 = 6.01 ⇒ 7 เสน


1.131
DB 16 mm ใช 6.803 = 3.38 ⇒ 4 เสน
2.01
คําตอบ ขอ (4) 4-DB 16 mm

167
คําถามขอที่ 4
เหล็กขอใดไมมีขายในทองตลาด
ตัวเลือก
(1) DB 10 mm
(2) DB 16 mm
(3) DB 19 mm
(4) DB 20 mm
แนวคิด
เหล็กผิวเรียบที่มีขายในทองตลาดไทยคือ RB 6 mm, RB 9 mm, RB 12 mm, RB 15 mm, RB 19
mm, RB 25 mm ในอดีตมีขนาด RB 28 mm ดวย แตปจ จุบันนี้ที่ขายอยูโตสุดคือ RB 19 mm
เหล็กขอออยทีม่ ีขายในทองตลาดไทย
SD-30 : DB 10 mm, DB 12 mm, DB 16 mm, DB 20 mm, DB 25 mm
SD-40 : DB 12 mm, DB 16 mm, DB 20 mm, DB 25 mm, DB 28 mm
SD-50 : DB 25 mm, DB 28 mm, DB 32 mm
คําตอบ ขอ (3) DB 19 mm

168
คําถามขอที่ 5
ในคานคอนกรีตเสริมเหล็ก การเสริมเหล็กแบบใดมีการเตือนลวงหนากอนการวิบัติ
ตัวเลือก
(1) เสริมเหล็กเกินสมดุล
(2) เสริมเหล็กสมดุล
(3) เสริมเหล็กต่ํากวาสมดุล
(4) ไมเสริมเหล็ก
แนวคิด
เสริมเหล็กเกินสมดุล คอนกรีตจะถูกอัดแตกกอนที่เหล็กรับแรงดึงจะคราก การวิบตั ิเกิดขึ้น
ทันที ไมมีการเตือนลวงหนา
เสริมเหล็กสมดุล คอนกรีตจะถูกอัดแตกพรอมกับที่เหล็กรับแรงดึงคราก การวิบัตเิ กิดทันที
เชนกันกับการเสริมเหล็กเกินสมดุลตางกันที่เหล็กรับแรงดึงถึงจุดครากเทานั้น ไมมีการเตือน
ลวงหนา
เสริมเหล็กต่ํากวาสมดุล เหล็กรับแรงดึงจะครากและเกิดการราวและโกงตัวโดยยังไมวิบตั ิ
ทันที มีรอยราวปรากฏและอาจจะมีเศษปูนรวงหลน หากรีบนําน้ําหนักบรรทุกออกไป คานจะยังไม
ถลมลงมา แตก็เสียหายแลว กรณีนี้ มีการเตือนลวงหนา
ไมเสริมเหล็ก คอนกรีตจะวิบัติจากแรงดึงซึ่งคอนกรีตรับไดนอยเทากับโมดูลัสแตกราว
(modulus of rupture) f r = 2.0 f c' ลักษณะการวิบัติเกิดขึ้นทันทีทันใด ไมมีการเตือนลวงหนา
คําตอบ ขอ (3) เสริมเหล็กต่ํากวาสมดุล

169
คําถามขอที่ 6
เหล็กกลมรับแรงดึงในคานคอนกรีตเสริมเหล็กตามทฤษฎีหนวยแรงใชงานสามารถรับแรงดึงไดเท
าใด
ตัวเลือก
(1) 0.375fy
(2) 0.40fy
(3) 0.45fy
(4) 0.50fy
แนวคิด
มาตรฐาน วสท.กําหนดใหใช fs = 1 f y = 0.50f y
2
คําตอบ ขอ (4) 0.50fy

170
คําถามขอที่ 7
เหล็กในเสาสั้นคอนกรีตเสริมเหล็กตามทฤษฎีหนวยแรงใชงานสามารถรับหนวยแรงอัดปลอดภัย
ไดเทาใด
ตัวเลือก
(1) 0.375fy
(2) 0.40fy
(3) 0.45fy
(4) 0.50fy
แนวคิด
มาตรฐาน วสท.กําหนดใหใช fs = 0.4f y ≤ 2100 ksc ยกเวน SR-24 ใช fs = 1200 ksc
คําตอบ ขอ (2) 0.40fy

171
คําถามขอที่ 8
ขอใดไมใชสมการที่ใชในวิธหี นวยแรงใชงาน
ตัวเลือก
(1) M c = Rbd 2
(2) M c = 0.5f c kjbd 2
(3) M s = Asfs jd
⎛ a⎞
(4) M n = Asf y ⎜ d − ⎟
⎝ 2⎠
⎛ a⎞
คําตอบ ขอ (4) M u = Asf y ⎜ d − ⎟ เปนการหาโมเมนตประลัยทางทฤษฎี
⎝ 2⎠

172
คําถามขอที่ 9
จงใชทฤษฎีหนวยแรงใชงานหาคา k เมื่อกําหนดให fc = 65 ksc, fs = 1200 ksc และ n = 10
ตัวเลือก
(1) 0.245
(2) 0.302
(3) 0.351
(4) 0.368
แนวคิด
1 1
k= = = 0.351351351
fs 1200
1+ 1+
nf c 10 × 65
คําตอบ ขอ (3) 0.351

173
คําถามขอที่ 10
คานคอนกรีตเสริมเหล็กกวาง 25 ซม ลึก 50 ซม พื้นที่เหล็กเสริม 12 sq.cm เหล็กอยูหา งจากผิวดาน
แรงดึง 5 ซม ถา fc = 65 ksc, fs = 1200 ksc และ n = 10 จงหาโมเมนตดดั สูงสุดที่คานจะรับไดโดยใช
ทฤษฎีหนวยแรงใชงาน
ตัวเลือก
(1) 5099 kg.m
(2) 6099 kg.m
(3) 7099 kg.m
(4) 8099 kg.m
แนวคิด
d = 50 − 5 = 45 cm
As 12
ρ= = = 0.010666666
bd 25 × 45
ρn = 0.010666666 × 10 = 0.10666666
k = 2ρn + (ρn ) − ρn
2

k = 2 × 0.10666666 + 0.10666666 2 − 0.10666666


k = 0.367370368
k 0.367370368
j =1− =1− = 0.87754321
3 3
1 1
R = f c kj = × 65 × 0.367370368 × 0.87754321
2 2
R = 10.47745962 ksc
M c = Rbd 2 = 10.47745962 × 25 × 452 = 530,421.3933 kg.cm = 5304 kg.m
M s = A s f s jd = 12 × 1200 × 0.87754321 × 45 = 568648.0003 kg.cm = 5686 kg.m
M = 5304 kg.m
1 1
หรือ k=
f
=
1200
= 0.351351351
1+ s 1+
nf c 10 × 65
k 0.351351351
j =1− =1− = 0.882882882
3 3
1 1
R = f c kj = × 65 × 0.351351351 × 0.882882882 = 10.08156805 ksc
2 2
M = Rbd = 10.08156805 × 25 × 452 = 510379.3828 kg.cm = 5104 kg.m
2

คําตอบ ขอ (1) 5099 kg.m

174
คําถามขอที่ 11
จงหาหนวยแรง Pmin และ Pmax ที่เกิดขึ้นในฐานรากดังรูปเมื่อ M = 2400 kg.m และ P = 12 tons
กําหนดใหใชฐานรากแผขนาด 2 × 3 m

ตัวเลือก
(1) Pmin = 0.8 T/sq.m Pmax = 2.0 T/sq.m
(2) Pmin = 0.8 T/sq.m Pmax = 3.2 T/sq.m
(3) Pmin = 1.2 T/sq.m Pmax = 2.0 T/sq.m
(4) Pmin = 1.2 T/sq.m Pmax = 2.8 T/sq.m
แนวคิด
3
2.4 ×
P Mc 12 2 = 1.2 T / m 2
Pmin = − = −
BL I 2×3 2×3 3

12
3
2.4 ×
P Mc 12 2 = 2.8 T / m 2
Pmax = + = +
BL I 2 × 3 2 × 33
12
คําตอบ ขอ (4)Pmin = 1.2 T/sq.m Pmax = 2.8 T/sq.m

175
คําถามขอที่ 12
จงหาหนวยแรงดันดินทีเ่ กิดขึ้นบนหนาตัด A-A ใตฐานรากดังรูปกําหนดให ใชฐานรากแผขนาด
2 × 3 เมตร และตอมอขนาด 0.40 × 0.40 ตารางเมตร

ตัวเลือก
(1) 2.27 T/sq.m
(2) 2.73 T/sq.m
(3) 4.27 T/sq.m
(4) 4.73 T/sq.m
แนวคิด
ใชหลักการของสามเหลี่ยมคลาย
P − 2 1.3 + 0.4
=
6−2 3
1.7 × 4
P =2+ = 4.27 T / m 2
3
คําตอบ ขอ (3) 4.27 T/sq.m

176
คําถามขอที่ 13
จงหาหนวยแรงเฉือนแบบคานกวางทีเ่ กิดขึน้ บนหนาตัด B-B ดังรูป กําหนดใชฐานรากแผขนาด
2 × 3 ตารางเมตร และตอมอขนาด 0.40 × 0.40 ตารางเมตร

ตัวเลือก
(1) 1.475 ksc
(2) 4.73 ksc
(3) 10.2 ksc
(4) 14.57 ksc
แนวคิด
ใชสามเหลี่ยมคลายหาหนวยแรงเตานทานของดินที่หนาตัดวิกฤต แลวเฉลีย่ กับคาที่ขอบหาแรง
เฉือนแลวหาหนวยแรงเฉือน
P − 2 1.3 + 0.4 + 0.35
=
6−2 3
2.05
P = 2 + 4× = 4.733333333
3
4.733333333 + 6
P= = 5.366666667 T / sq.m
2
V = 5.366666667 × 2 × (3 − 2.05) = 10.19666667 T
V 10.19666667 × 1000
v= = = 1.456666667 ⇒ 1.457 ksc
Bd 200 × 35
คําตอบ ขอ (1) 1.457 ksc

177
คําถามขอที่ 14
คาน คสล. มีหนากวาง b และความลึกประสิทธิผล d กําหนดให f c' = 225 ksc, f y = 2400 ksc
และใชเกณฑมาตรฐานของ ว.ส.ท. ในการออกแบบ จงหาโมเมนตตานทานของคอนกรีต (Mc) (วิธี
หนวยแรงใชงาน)
ตัวเลือก
(1) 15.59bd 2
(2) 17.102bd 2
(3) 18.7bd 2
(4) 25.14bd 2
แนวคิด
f c = 0.45f c' = 0.45 × 225 = 101.25 ksc
f s = 0.5f y = 0.5 × 2400 = 1200 ksc
Es 2040000 135.099
n= = = = 9.0066 ⇒ 9
E c 15100 f c' 225
1 1
k= = = 0.431616341
fs 1200
1+ 1+
nf c 9 × 101.25
k 0.431616341
j =1− =1− = 0.856127886
3 3
1 1
R = f c kj = × 101.25 × 0.431616341 × 0.856127886
2 2
R = 18.70688853 ksc
M c = Rbd 2 = 18.7 bd 2
คําตอบ ขอ (3) 18.7bd2

178
คําถามขอที่ 15
คาน คสล. มีหนากวาง b และความลึกประสิทธิผล d กําหนดให f c' = 225 ksc, f y = 2400 ksc
และใชเกณฑมาตรฐานของ ว.ส.ท. ในการออกแบบ จงหาอัตราสวนเหล็กเสริมสมดุล (balance steel
ratio) ρb .ในวิธีกาํ ลังใชงาน
ตัวเลือก
(1) 0.0152
(2) 0.0167
(3) 0.0182
(4) 0.0245
แนวคิด
อานโจทยแลวงง จะใหใชวิธกี ําลัง หรือวิธหี นวยแรงใชงาน
วิธีหนวยแรงใชงาน
f c = 0.45f c' = 0.45 × 225 = 101.25 ksc
f s = 0.5f y = 0.5 × 2400 = 1200 ksc
Es 2040000 135.099
n= = = = 9.0066 ⇒ 9
E c 15100 f c' 225
1 1
k= = = 0.431616341
fs 1200
1+ 1+
nf c 9 × 101.25
k 0.431616341
j =1− =1− = 0.856127886
3 3
1 1
R = f c kj = × 101.25 × 0.431616341 × 0.856127886
2 2
R = 18.70688853 ksc
M c = Rbd 2 = 18.7 bd 2
Mc 18.70688853bd 2
A sb = = = 0.018208814bd
f s jd 1200 × 0.856127886d
A sb
ρb = = 0.018208814
bd
คําตอบ ขอ (3) 0.0182

179
วิธีกําลัง
f c' = 225 ksc < 280 ksc ⇒ β1 = 0.85
0.85f c' 6120
ρb = β1
f y 6120 + f y
0.85 × 225 6120
ρb = 0.85 × ×
2400 6120 + 2400
ρb = 0.048654269
ไมมีคําตอบที่ถูกตอง แสดงวา ใหใชวิธีหนวยแรงใชงาน

180
คําถามขอที่ 16
คานชวงเดียวธรรมดา (simple beam) ยาว 4.50 เมตร หนาตัด 0.20 × 0.40 เสริมเหล็กรับแรงดึง As
= 6 ตร.ซม รับน้ําหนักบรรทุกสม่ําเสมอทั้งสิ้น 808 กก/ม กําหนดให n = 10 , d = 36 ซม จงหา
หนวยแรงอัดสูงสุดที่เกิดขึน้ ในคอนกรีต (วิธีหนวยแรงใชงาน)
k = 2nρ + (nρ ) − nρ
2

ตัวเลือก
(1) 53.27 ksc
(2) 65.92 ksc
(3) 72.34 ksc
(4) 101.25 ksc
แนวคิด
As 6 1
ρ= = =
bd 20 × 36 120
1 1
nρ = 10 × = = 0.083333333
120 12
k = 2nρ + (nρ ) − nρ
2

k = 2 × 0.083333333 + 0.0833333332 − 0.083333333


k = 0.333333333
k 0.333333333
j =1− =1− = 0.888888888
3 3
wL2 808 × 4.50 2
M= = = 2045.25 kg.m = 204,525 kg.cm
8 8
1 1
M = f c kjbd 2 = f c × 0.333333333 × 0.888888888 × 20 × 36 2
2 2
204,525 = 3840f c
204,525
fc = = 53.26171875 ksc
3840
คําตอบ ขอ (1) 53.27 ksc
เฉลย ขอ (2) 65.92 ksc

181
คําถามขอที่ 17
คานชวงเดียวธรรมดา (simple beam) ยาว 4.50 เมตร หนาตัด 0.20 × 0.40 เสริมเหล็กรับแรงดึง As
= 6 ตร.ซม รับน้ําหนักบรรทุกสม่ําเสมอทั้งสิ้น 808 กก/ม กําหนดให n = 10 , d = 36 ซม จงหาคา
หนวยแรงที่เกิดขึ้นในเหล็กเสริม fs (วิธีหนวยแรงใชงาน)
k = 2nρ + (nρ ) − nρ
2

ตัวเลือก
(1) 1065.34 ksc
(2) 1295.68 ksc
(3) 1318.36 ksc
(4) 1501.25 ksc
แนวคิด
As 6 1
ρ= = =
bd 20 × 36 120
1 1
nρ = 10 × = = 0.083333333
120 12
k = 2nρ + (nρ ) − nρ
2

k = 2 × 0.083333333 + 0.083333333 2 − 0.083333333


k = 0.333333333
k 0.333333333
j = 1− = 1− = 0.888888888
3 3
wL2 808 × 4.50 2
M= = = 2045.25 kg.m = 204,525 kg.cm
8 8
M = f s A s jd = f s × 6 × 0.888888888 × 36
204,525 = 192f c
204,525
fc = = 1065.234375 ksc
192
คําตอบ ขอ (1) 1065.34 ksc

182
คําถามขอที่ 18
คอนกรีตมี f c' = 325 ksc จะมี beta1 = เทาไร (วิธีกําลัง)
ตัวเลือก
(1) 0.85
(2) 0.65
(3) 0.818
(4) 0.804
แนวคิด
เมื่อ f c' ≤ 280 ksc β1 = 0.85

เมื่อ 280 < f c' < 560 ksc β1 = 0.85 −


70
(
0.05 '
f c − 280 )
เมื่อ f c' > 560 ksc β1 = 0.65
ดังนั้น f c' = 325 ksc > 280 ksc ได
β1 = 0.85 −
0.05
(325 − 280) = 0.817857142
70
คําตอบ ขอ (3) 0.818

183
คําถามขอที่ 19
แผนพื้นหนา 0.08 ซม หาพื้นที่เหล็กเสริมได 2.25 ตร.ซม/ม ตองการใชเหล็กเสริม 9 มม จะตองเรียง
เหล็กหางกันเทาไรจึงเปนไปตามมาตรฐาน ว.ส.ท. (วิธีหนวยแรงใชงาน)
ตัวเลือก
(1) 30 ซม
(2) 28 ซม
(3) 24 ซม
(4) 22.5 ซม
แนวคิด
มาตรฐาน ว.ส.ท. กําหนดขนาดเหล็กเสริมไมเล็กกวา 6 มม และระยะเรียงเหล็กเสริมในแผนพืน้ s
ไวดังนี้
s ≤ 3 เทาของความหนาแผนพื้น = 3 × 8 = 24 cm
s ≤ 45 cm
s ≥ db = ขนาดของเหล็กเสริม = 0.9 cm
s ≥ 2.5 cm
การคํานวณระยะเรียงจากปริมาณเหล็กเสริมที่ตองการ
area of 1bar, cm 2 0.636
s= 2
= = 0.283 m = 28.3 cm
area required, cm / m 2.25
คําตอบ ขอ (3) 24 ซม

184
คําถามขอที่ 20
ในการออกแบบเสา คสล. ปลอกเดี่ยว ซึ่งมีขนาด 0.30 × 0.50 ม ใชเหล็กเสริมหลัก 10-DB 25 มม
และใชเหล็กปลอก RB 6 มม จะตองเรียงเหล็กปลอกหางไมเกินเทาไร (วิธี WSD)
ตัวเลือก
(1) 40 ซม
(2) 28.8 ซม
(3) 30 ซม
(4) 25 ซม
แนวคิด
มาตรฐาน ว.ส.ท. กําหนดการเสริมเหล็กปลอกไววา ขนาดไมเล็กกวา 6 มม ระยะเรียงไมเกิน
16 เทาของขนาดเหล็กยืนที่โตที่สุด = 16 × 2.5 = 40 cm
48 เทาของขนาดเหล็กปลอก = 48 × 0.6 = 28.8 cm
ดานแคบของหนาตัดเสา = 30 cm
คําตอบ ขอ (2) 28.8 ซม

185
คําถามขอที่ 21
จงหาคา Mu ของคานที่มีขนาดหนาตัด 0.25 × 0.50 ม ใช d = 0.45 ม f c' = 280 ksc; f y = 3000
ksc และมี As = 30 ตร.ซม (วิธี SDM) φ = 0.90
ตัวเลือก
(1) 30324 กก.ม
(2) 33693 กก.ม
(3) 32034 กก.ม
(4) 34034 กก.ม
แนวคิด
คา M u หมายถึงโมเมนตดัดทีเ่ กิดขึ้นจากน้ําหนักบรรทุกเพิม่ คา M n หมายถึงโมเมนตดัดทีค่ านรับ
ไดทางทฤษฎี และ φM n หมายถึงโมเมนตดัดทีค่ านรับไดจริง ในการออกแบบตองให φM n ≥ M u
คําถามขอนี้ใหหา M u ความจริงใหหาคาของ φM n
f c' = 280 ksc ⇒ β1 = 0.85
f y = 3000 ksc
0.85f c' 6120 0.85 × 280 6120
ρb = β1 = 0.85 × ×
f y 6120 + f y 3000 6120 + 3000
ρb = 0.045251315
ρmax = 0.75ρ b = 0.75 × 0.045251315 = 0.033938486
14 14
ρmin = = = 0.004666666
f y 3000
As 30
ρ= = = 0.026666666 < ρmax ⇒ f s = f y
bd 25 × 45
สมดุลของแรงในหนาตัด
0.85f c' ba = A s f s = A s f y
Asf y 30 × 3000
a= = = 15.12605042 cm
0.85f b'
c 0.85 × 280 × 25
⎛ a⎞
M n = 0.85f c' ba ⎜ d − ⎟
⎝ 2⎠
⎛ 15.12605042 ⎞
M n = 0.85 × 280 × 25 × 15.12605042 × ⎜ 45 − ⎟
⎝ 2 ⎠
M n = 3,369,327.731 kg.cm = 33,693.27731 kg.m
φM n = 0.9 × 33,693.27731 = 30,323.94958 kg.m ⇒ 30,324 kg.m
คําตอบ ขอ (1) 30,324 kg.m

186
คําถามขอที่ 22
จงหาคา อัตราสวนเหล็กเสริมรับแรงดึง (steel ratio = A s ) ต่ําสุด ที่กําหนดโดยมาตรฐาน ว.ส.ท.
bd
ของคานที่มี f c' = 240 ksc; f y = 3000 ksc (วิธี SDM) steel ratio ρ = As
bd
ตัวเลือก
(1) 0.0388
(2) 0.0291
(3) 0.0194
(4) 0.0047
แนวคิด
f c' = 240 ksc < 280 ksc ⇒ β1 = 0.85
0.85f c' 6120 0.85 × 240 6120
ρb = β1 = 0.85 × ×
f y 6120 + f y 3000 6120 + 3000
ρb = 0.038786842
ρmax = 0.75ρb = 0.75 × 0.038786842 = 0.029090131
14 14
ρmin = = = 0.0046666667
f y 3000
คําตอบ ขอ (4) 0.0047

187
คําถามขอที่ 23
จงหาคา อัตราสวนเหล็กเสริมรับแรงดึง (steel ratio = As ) สูงสุด ที่กําหนดโดยมาตรฐาน ว.ส.ท.
bd
ของคานที่มี f c' = 240 ksc; f y = 3000 ksc (วิธี SDM) steel ratio ρ = As
bd
ตัวเลือก
(1) 0.0388
(2) 0.0291
(3) 0.0194
(4) 0.0047
แนวคิด
f c' = 240 ksc < 280 ksc ⇒ β1 = 0.85
0.85f c' 6120 0.85 × 240 6120
ρb = β1 = 0.85 × ×
f y 6120 + f y 3000 6120 + 3000
ρb = 0.038786842
ρmax = 0.75ρ b = 0.75 × 0.038786842 = 0.029090131
คําตอบ ขอ (2) 0.0291

188
คําถามขอที่ 24
จงหาคาสัมประสิทธิ์สําหรับตานทานโมเมนตดัดประลัย Ru ที่มีคาอัตราสวนของเหล็กเสริมรับแรง
ดึงตอหนาตัดประสิทธิผลสูงสุด (maximum steel ratio) ของคานที่มี f c' = 240 ksc, f y = 3000 ksc
A s , max
(วิธี SDM) maximum steel ratio ρ =
bd
ตัวเลือก
(1) 61.69 ksc
(2) 83.09 ksc
(3) 86.65 ksc
(4) 53.26 ksc
แนวคิด
f c' = 240 ksc < 280 ksc ⇒ β1 = 0.85
0.85f c' 6120 0.85 × 240 6120
ρb = β1 = 0.85 × ×
f y 6120 + f y 3000 6120 + 3000
ρb = 0.038786842
ρmax = 0.75ρb = 0.029090131 = ρ
⎛ f ⎞
R u = ρf y ⎜⎜1 − 0.59ρ y' ⎟⎟
⎝ fc ⎠
⎛ 3000 ⎞
R u = 0.029090131 × 3000 × ⎜1 − 0.59 × 0.029090131 × ⎟
⎝ 240 ⎠
R u = 68.54742865 ksc
คําตอบ ขอ (1) 61.69 ksc
ขอสังเกต คาที่คํานวณไดตางจากเฉลยคอนขางมาก แตเปนคาทีใ่ กลเคียงที่สุดแลว

189
คําถามขอที่ 25
พื้นที่ของเหล็กเสริมตานทานการยืดหดตัวของแผนพืน้ ทางเดียวที่หนา 0.15 ม และใชเหล็กขอออย
ชั้นคุณภาพ SD40 (วิธี SDM) ตองไมนอยกวาเทาใด
ตัวเลือก
(1) 2.57 ตร.ซม/ม
(2) 2.7 ตร.ซม/ม
(3) 3 ตร.ซม/ม
(4) 3.75 ตร.ซม/ม
แนวคิด มาตรฐาน ว.ส.ท. กําหนดวา
เหล็ก SR-24 ให A s , temp = 0.0025bh
เหล็ก SD-30 ให A s , temp = 0.0020bh
เหล็ก SD-40 ให A s , temp = 0.0018bh
ดังนั้น A s , temp = 0.0018 × 100 × 15 = 2.7 ตร.ซม/ม
คําตอบ ขอ (2) 2.7 ตร.ซม/ม

190
คําถามขอที่ 26
แผนพื้นหนา 0.15 ซม. หาพื้นที่เหล็กเสริมได 2.25 ตร.ซม/ม ตองการใชเหล็กเสริม 12 มม จะตอง
เรียงเหล็กหางกันเทาไรจึงเปนไปตามมาตรฐาน ว.ส.ท. (วิธี SDM)
ตัวเลือก
(1) 40 ซม
(2) 45 ซม
(3) 50 ซม
(4) 60 ซม
แนวคิด แผนพื้นหนา 0.15 ซม เปนไปไมได ที่ถูกตองคือ 0.15 ม หรือ 15 ซม
A s1 1.131
ระยะเรียงที่ตองการ s= = = 0.50 m
As 2.25
แตตองไมเกิน 3 เทาของความหนาพื้น = 3 × 0.15 = 0.45 m
และตองไมเกิน 45 ซม
คําตอบ ขอ (2) 45 ซม
เฉลย ขอ (1) 40 ซม

191
คําถามขอที่ 27
เสาปลอกเดี่ยวขนาด 0.40 × 0.40 ม เสริมเหล็ก 8-RB 12 มม เหล็กปลอก RB 6 @ 0.25 จะรับ
น้ําหนักไดเทาไรถา f c' = 240 ksc, f y = 3000 ksc (วิธี WSD)
ตัวเลือก
(1) 93.126 ตัน
(2) 90.82 ตัน
(3) 106.48 ตัน
(4) 95.59 ตัน
แนวคิด
⎛ A ⎞
( )
P = 0.85A g 0.25f c' + f sρg = 0.85A g ⎜ 0.25f c' + 0.4f y s ⎟
⎜ A g ⎟⎠

⎛ 8 × 1.131 ⎞
P = 0.85 × (40 × 40 ) × ⎜ 0.25 × 240 + 0.4 × 3000 × ⎟
⎝ 40 × 40 ⎠
P = 90828.96 kg = 90.829 tonne
คําตอบ ขอ (2) 90.82 ตัน
หมายเหตุ ระยะเรียงเหล็กปลอก (ขนาดหามเล็กกวา 6 มม)
s ≤ 16 เทาของเหล็กยืน = 16 × 1.2 = 19.2 cm < 25 cm
s ≤ 48 เทาของเหล็กปลอก = 48 × 0.6 = 28.8 cm
s ≤ ดานแคบของหนาตัดเสา = 40 ซม
A s 8 × 1.131
ρg = = = 0.005655 < 0.01
Ag 40 × 40
ซึ่งตามมาตรฐาน ว.ส.ท. กําหนดใหใช A g เพียงครึ่งเดียว
× (40 × 40 ) = 800 cm 2
1
Ag =
2
⎛ 8 × 1.131 ⎞
P = 0.85 × 800 × ⎜ 0.25 × 240 + 0.4 × 3000 × ⎟
⎝ 800 ⎠
P = 50028.96 kg = 50.03 tonne
การเสริมเหล็ก 8-DB 12 mm จะทําใหแตละหนาเสามีเหล็กยืน 3 เสน ระยะหางระหวางเสนคือ
40 − 2 × 3.5 − 2 × 0.6 − 1.2
sp = = 15.3 cm > 15 cm
3 −1
คําถามขอนี้ควรปรับปรุงเปนเสริมเหล็กยืน 16-DB 12 mm เหล็กปลอก RB 6 mm @ 0.175 m

192
คําถามขอที่ 28
เสากลมขนาดเสนผานศูนยกลาง 0.30 ม เสริมเหล็กตามยาว 6-DB 12 mm และเหล็กปลอก(เกลียว)
RB 6 mm @ 0.05 m จะรับน้าํ หนักไดเทาไร ถา ถา f c' = 240 ksc, f y = 3000 ksc (วิธี WSD)
ตัวเลือก
(1) 42.98 ตัน
(2) 50.56 ตัน
(3) 52.6 ตัน
(4) 60.25 ตัน
แนวคิด
π
Ag = × 302 = 706.8583471 cm 2
4
A s = 6 × 1.131 = 6.786 cm 2
As 6.786
ρg = = = 0.009600226 < 0.01
A g 706.8583471
แม ρg จะนอยกวา 0.01 แตก็ใกลเคียงพออนุโลมได
(
P = A g 0.25f c' + f sρg )
P = 706.8583471 × (0.25 × 240 + 0.4 × 3000 × 0.009600226 )
P = 50554 kg = 50.554 tonne
คําตอบ ขอ (2) 50.56 ตัน

193
คําถามขอที่ 29
จงหาระยะเรียงของเหล็กปลอกเดี่ยวขนาดเสนผานศูนยกลาง 6 มม ในคานที่รับแรงเฉือนประลัย
12000 กก เมือ่ กําหนดขนาดหนาตัดคาน 0.25 × 0.60 ม ระยะ d = 0.55 ม f c' = 280 ksc; f y =
3000 ksc และใชเกณฑมาตรฐานของ ว.ส.ท. ในการออกแบบโดยวิธีกําลัง
ตัวเลือก
(1) 13.75 ซม
(2) 27.5 ซม
(3) 45 ซม
(4) 60 ซม
แนวคิด
กําหนด Vu = 12000 kg
φVc = 0.53φ f c' b w d = 0.53 × 0.85 280 × 25 × 55 = 10365 kg < Vu
φA v f y d 0.85 × (2 × 0.283) × 2400 × 55
s= = = 38.84 cm
Vu − φVc 12000 − 10365
d 55
s≤ = = 27.5 cm
2 2
s ≤ 60 cm
คําตอบ ขอ (2) 27.5 ซม
คําถามขอนี้ควรใช “เหล็กลูกตั้ง” แทน .เหล็กปลอกเดีย่ ว” เพื่อไมใหสับสนกับเหล็กปลอกเดีย่ วใน
เสา และเหล็ก RB 6 mm, RB 9 mm และที่ขนึ้ ดวย RB ทั้งหลายจะเปน SR-24 มี fy = 2400 ksc

194
คําถามขอที่ 30
คานคอนกรีตเสริมเหล็กรับแรงเฉือนขณะใชงานได 15000 กก ซึ่งมีขนาดหนาตัดคาน 0.25 × 0.40
ม ระยะ d = 0.35 ม f c' = 210 ksc; f y = 2400 ksc และใชเกณฑมาตรฐานของ ว.ส.ท.ในการ
ออกแบบ โดยใชหนวยแรงใชงาน จะไดระยะเรียงของเหล็กปลอกเดีย่ วขนาดเสนผานศูนยกลาง 9
มม เทาใด
ตัวเลือก
(1) 4.72 ซม
(2) 8.75 ซม
(3) 10.4 ซม
(4) 17.5 ซม
แนวคิด
V = 15000 kg
Vc = 0.29 f c' b w d = 0.29 210 × 25 × 35 = 3677 kg
A v f v d (2 × 0.636 ) × (0.5 × 2400 ) × 35
s= = = 4.72 cm
V − Vc 15000 − 3677
d 35
s≤ = = 17.5 cm
2 2
s ≤ 60 cm
คําตอบ ขอ (1) 4.71 ซม
ขอสังเกต มาตรฐาน ว.ส.ท. กําหนดวา
ถา V ≤ (Vc = 0.29 f c' b w d) ใหเสริมเหล็กทางขวางขัน้ ต่ํา
ถา (Vc = 0.29 f c' b w d ) < V ≤ 0.795 f c' b w d ตองเสริมเหล็กทางขวางดังนี้
A vf vd
s=
V − Vc
d
s≤
2
s ≤ 60 cm
ถา 0.795 f c' b w d < V ≤ 1.32 f c' b w d ตองเสริมเหล็กทางขวางดังนี้
A vf vd
s=
V − Vc
d
s≤
4
s ≤ 30 cm
ถา V > 1.32 f c' b w d ตองเพิ่มหนาตัดคานใหโตขึ้น
สําหรับโจทยขอนี้ 1.32 210 × 25 × 35 = 16738 kg > V หนาตัดยังใชได

195
ระยะเรียง
V = 15000 kg
Vc = 0.29 f c' b w d = 0.29 210 × 25 × 35 = 3677 kg
A v f v d (2 × 0.636) × (0.5 × 2400) × 35
s= = = 4.72 cm
V − Vc 15000 − 3677
d 35
s≤ = = 8.75 cm
4 4
s ≤ 30 cm
คําตอบที่ใหมานั้นมีความเหมาะสม
ควรใช “เหล็กทางขวาง” แทน “เหล็กปลอกเดีย่ ว” จะไมสับสนกับเรื่องเสา

196
คําถามขอที่ 31
คาน คสล. หนาตัด 0.20 × 0.40 ม และความลึกประสิทธิผล d = 0.35 ม กําหนดให fc = 65 ksc ; fs
= 1200 ksc ; n = 10 และใชเกณฑมาตรฐานของ ว.ส.ท.ในการออกแบบ จงหาโมเมนตตานทานของ
คอนกรีต (Mc) (วิธี WSD)
ตัวเลือก
(1) 1935 กก.ม
(2) 2467 กก.ม
(3) 2004 กก.ม
(4) 3000 กก.ม
แนวคิด
1 1
k= = = 0.351
fs 1200
1+ 1+
nf c 10 × 65
k 0.351
j =1− =1− = 0.883
3 3
1 1
M c = f c kjbd 2 = × 65 × 0.351 × 0.883 × 20 × 352
2 2
M c = 246784 kg.cm = 2467.84 kg.m
คําตอบ ขอ (2) 2467 กก.ม

197
คําถามขอที่ 32
จงหาวาเสาสั้นปลอกเกลียวขนาดเสนผานศูนยกลาง 30 ซม มีเหล็กเสริมยืน 6-DB 20 mm
f c' = 210 ksc; f y = 3000 ksc รับน้ําหนักประลัยตามแกนไดเทาไร เมื่อคํานวณตามขอกําหนด
ของ ว.ส.ท. และการกอสรางมีการควบคุมงานเปนอยางดี
ตัวเลือก
(1) 106.732 ตัน
(2) 114.356 ตัน
(3) 152.474 ตัน
(4) 195.59 ตัน
แนวคิด
กําลังรับน้ําหนักจริงของเสาสั้น
[
φPn = φ 0.85f c' A g + f y A st ]
⎡ ⎛π ⎞ ⎤
φPn = 0.6375 × ⎢0.85 × 210 × ⎜ × 302 ⎟ + 3000 × (6 × 3.14)⎥
⎣ ⎝4 ⎠ ⎦
φPn = 116,467.562 kg = 116.468 tonne
คําตอบ ขอ (2) 114.356 ตัน

198
คําถามขอที่ 33
จงหาคํานวณกําลังรับน้ําหนักที่สภาวะประลัยของเสาสั้นปลอกเดี่ยวขนาด 40 × 40 ซม มีเหล็ก
เสริมยืน 6-DB 20 มม เมื่อกําหนดให f c' = 210 ksc; f y = 3000 ksc คํานวณตามมาตรฐาน ว.ส.ท.
กรณีการกอสรางมีการควบคุมเปนอยางดี
ตัวเลือก
(1) 189.703 ตัน
(2) 203.254 ตัน
(3) 201.560 ตัน
(4) 215.957 ตัน
แนวคิด
กําลังรับน้ําหนักจริงของเสาสั้น
[
φPn = φ 0.85f c' A g + f y A st ]
φPn = 0.56 × [0.85 × 210 × (40 × 40) + 3000 × (6 × 3.14)]
φPn = 191,587.2 kg = 191.587 tonne
คําตอบ ขอ (1) 189.703 ตัน

199
คําถามขอที่ 34
คานมีขนาดหนาตัด 0.20 × 0.40 ม ใช d = 0.35 ม f c' = 210 ksc; f y = 3000 ksc หนาตัดเปน
แบบเสริมเหล็กรับแรงดึงอยางเดียว (singly reinforced section) รับโมเมนตดัดที่สภาวะประลัย Mu
= 3500 กก.ม จงคํานวณหาปริมาณเหล็กเสริม As ที่ตองการสําหรับคานหนาตัดดังกลาว
ตัวเลือก
(1) 3.26 ตร.ซม
(2) 3.88 ตร.ซม
(3) 17.815 ตร.ซม
(4) 23.31 ตร.ซม
แนวคิด
Mu 3500 × 100
Ru = = = 15.87301587 ksc
φbd 2
0.9 × 20 × 352

0.85f c' 2R u ⎤
ρ= ⎢1 − 1 − ⎥
fy ⎣ 0.85f c' ⎦
0.85 × 210 ⎡ 2 × 15.87301587 ⎤
ρ= ⎢1 − 1 − ⎥
3000 ⎣ 0.85 × 210 ⎦
14 14
ρ = 0.005549834 > ρmin = = = 0.0046666667
f y 3000
A s = ρbd = 0.005549834 × 20 × 35 = 3.885 cm 2
คําตอบ ขอ (2) 3.88 ตร.ซม

200
คําถามขอที่ 35
แผนพื้นทางเดียว รับโมเมนตดัดประลัย 1500 กก.ม กําหนดให f c' = 280 ksc; f y = 2400 ksc
และถาใชปริมาณเหล็กเสริมที่มีอัตราสวนเหล็กเสริมรับแรงดึงตอหนาตัดประสิทธิผลสูงสุด ตาม
มาตรฐาน ว.ส.ท. จงตรวจสอบหาคา d ที่ต่ําที่สุดที่สามารถออกแบบได (วิธี SDM)
ตัวเลือก
(1) 5.75 ซม
(2) 7.5 ซม
(3) 4.46 ซม
(4) 6.25 ซม
แนวคิด
f c' = 280 ksc ⇒ β1 = 0.85
f y = 2400 ksc
0.85f c' 6120 0.85 × 280 6120
ρb = β1 = 0.85 × ×
f y 6120 + f y 2400 6120 + 2400
ρb = 0.060547535
ρmax = 0.75ρb = 0.045410651
⎛ f ⎞
R u = ρf y ⎜⎜1 − 0.59ρ y' ⎟⎟
⎝ fc ⎠
⎛ 2400 ⎞
R u = 0.045410651 × 2400 × ⎜1 − 0.59 × 0.045410651 × ⎟
⎝ 280 ⎠
R u = 83.95723022 ksc
M u = φR u bd 2
1500 × 100 = 0.9 × 83.95723022 × 100d 2
d = 4.455488464 cm
คําตอบ ขอ (3) 4.46 ซม

201
คําถามขอที่ 36
เหล็กชั้นคุณภาพ SD 40 ตรงกับขอใด
ตัวเลือก
(1) เหล็กกลมมีกําลังรับแรงดึงที่จุดคลาก (yield) ไดไมนอยกวา 4000 ksc
(2) เหล็กกลมมีกําลังรับแรงดึงที่จุดประลัย (ultimate) ไดไมนอ ยกวา 4000 ksc
(3) เหล็กขอออย มีกําลังรับแรงดึงที่จุดคลาก (yield) ไดไมนอ ยกวา 4000 ksc
(4) เหล็กขอออย มีกําลังรับแรงดึงที่จุดประลัย (ultimate) ไดไมนอยกวา 4000 ksc
แนวคิด
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๕ กําหนดใหใช “คราก” ไมใช “คลาก”
เหล็กกลมจะใช SR เชน SR-24 มี fy = 2400 ksc
เหล็กขอออยจะใช SD เชน SD-30 มี fy = 3000 ksc
คําตอบ ขอ (3) เหล็กขอออยมีกําลังรับแรงดึงที่จุดคราก (yield) ไดไมนอยกวา 4000 ksc

202
คําถามขอที่ 37
คานคอนกรีตเสริมเหล็กชวงเดียวกวาง 25 cm หนา 50 cm , f c' = 175 ksc เสริมเหล็กรับแรงดึง
5-DB 20 mm เหล็กอยางหางจากผิวดานแรงดึง 5 cm ถา _fs = 1200 ksc และ n = 10 จงหาขนาดและ
ระยะเรียงของเหล็กปลอกรับแรงเฉือนต่ําสุดของคาน โดยทฤษฎีหนวยแรงใชงาน ตามมาตรฐาน
ว.ส.ท.

ตัวเลือก
(1) RB 6 mm @ 0.20 m
(2) RB 6 mm @ 0.22 m
(3) RB 6 mm @ 0.24 m
(4) RB 6 mm @ 0.26 m
แนวคิด
แรงปฏิกิริยาทีจ่ ุดรองรับ R = wL = (1400 + 1800) × 5.00 = 3200 × 5 = 8000 kg
2 2 2
ไมทราบขนาดที่รองรับ คิดหนาตัดวิกฤตหางศูนยกลางทีร่ องรับระยะ d = 50 – 5 = 45 cm = 0.45 m
แรงเฉือนที่หนาตัดวิกฤต V = R − wd = 8000 − 3200 × 0.45 = 6560 kg
แรงเฉือนที่คอนกรีตรับได Vc = 0.29 f c' b w d = 0.29 175 × 25 × 45 = 4315.88 kg
ขอบเขตชวงกลาง Vc1 = 0.795 f c' b w d = 0.795 175 × 25 × 45 = 11,831.47 kg
ขอบเขตสูงสุด Vc 2 = 1.32 f c' b w d = 1.32 175 × 25 × 45 = 19644.7 kg
พบวา (Vc = 4315.88) < (V = 6560) < (Vc1 = 11831.47 )
เหล็กปลอก RB 6 mm มี A v = 2 × 0.283 = 0.566 cm2 , f v = fs = 1200 ksc
A v f v d 0.566 × 1200 × 45
s≤ = = 13.62 cm = 0.1362 m
V − Vc 6560 − 4315.88
d 45
s≤ = = 22.5 cm = 0.225 m
2 2
s < 60 cm
คําตอบ ไมมีคําตอบที่ถูกตอง
เฉลย ขอ (2) RB 6 mm @ 0.22 m

203
คําถามขอที่ 38
ตามมาตรฐานของอ 90 องศา ดังรูป ถาใชเหล็ก DB 20 ตองใชระยะงอขอ L ต่ําสุดเทาใด

ตัวเลือก
(1) 20 cm
(2) 24 cm
(3) 30 cm
(4) 35 cm
แนวคิด
มาตรฐาน ว.ส.ท. ใหการงอฉากตองยื่นปลายออกไปอีกอยางนอย 12 เทาของขนาดเหล็ก
L = 12 × 2.0 = 24 cm
คําตอบ ขอ (2) 24 cm

204
คําถามขอที่ 39
พื้นทางเดียวขนาด 2 × 4.5 sq.m หนา 10 cm ความลึกประสิทธิผล 7.5 cm ตองรับโมเมนตดานสั้น
222 kg.m/m จงคํานวณหาขนาดและระยะเรียงของเหล็กเสริมรับโมเมนตดัด และเหล็กเสริมตาน
การยืดหดดวยทฤษฎีหนวยแรงใชงาน เมื่อกําหนด f c' = 210 ksc; f y = 2400 ksc
ตัวเลือก
(1) เหล็กเสริมหลัก 9 mm@ 0.20 m เหล็กเสริมตานการยืดหด 9 mm@ 0.25 m
(2) เหล็กเสริมหลัก 9 mm@ 0.20 m เหล็กเสริมตานการยืดหด 9 mm@ 0.30 m
(3) เหล็กเสริมหลัก 9 mm@ 0.22 m เหล็กเสริมตานการยืดหด 9 mm@ 0.25 m
(4) เหล็กเสริมหลัก 9 mm@ 0.22 m เหล็กเสริมตานการยืดหด 9 mm@ 0.30 m
แนวคิด
Es 2040000 135.099
n= = = = 9.32
E c 15100 f c' 210
f c = 0.45f c' = 0.45 × 210 = 94.5 ksc
f s = 0.5f y = 0.5 × 2400 = 1200 ksc
1 1
k= = = 0.423
fs 1200
1+ 1+
nf c 9.32 × 94.5
k 0.423
j =1− =1− = 0.859
3 3
M 222 × 100
As = = = 2.87 cm 2 / m
f s jd 1200 × 0.859 × 7.5
A s1 0.636
s= = = 0.22 m
As 2.87
เหล็กเสริมหลัก RB 9 mm @ 0.22 m
เหล็กเสริมตานการยืดหดเมือ่ f y = 2400 ksc คือ
A s , temp = 0.0025bh = 0.0025 × 100 × 10 = 2.5 cm 2 / m
A s1 0.636
s= = = 0.2544 m
A s , temp 2.5
เหล็กเสริมตานการยืดหด RB 9 mm @ 0.25 m
คําตอบ ขอ (3) เหล็กเสริมหลัก 9 mm@ 0.22 m เหล็กเสริมตานการยืดหด 9 mm@ 0.25 m

205
คําถามขอที่ 40
จงออกแบบเหล็กเสริมหลักนอยที่สุดของเสาสั้นปลอกเดี่ยวหนาตัดสี่เหลี่ยม 0.20 × 0.20 ตาราง
เมตร โดยทฤษฎีกําลังประลัยตามมาตรฐาน ว.ส.ท. เพื่อรับแรงอัดประลัย (Pu) 65 Tons ถาใชเหล็ก
ขอออย fy = 3000 ksc คอนกรีตมีกําลังประลัย 240 ksc การกอสรางมีการควบคุมงานเปนอยางดี
ตัวเลือก
(1) 4-DB 12 mm
(2) 4-DB 16 mm
(3) 4-DB 20 mm
(4) 4-DB 25 mm
แนวคิด
กรณีเสาสั้นรับแรงตามแนวแกนอยางเดียวไมมีโมเมนตดว ย
(
φPn = φ 0.85f c' A g + f y A st )
65 × 1000 = 0.56 × (0.85 × 240 × 20 × 20 + 3000A st )
A st = 11.49 cm 2
A st 11.49
ρt = = = 0.0287 > 0.01
A g 20 × 20
ขอ (1) 4-DB 12 mm มี A st = 4 × 1.131 = 4.524 cm2 < 11.49 cm 2 ใชไมได
ขอ (2) 4-DB 16 mm มี Ast = 4 × 2.01 = 8.04 cm2 < 11.49 cm2 ใชไมได
ขอ (3) 4-DB 20 mm มี Ast = 4 × 3.14 = 12.56 cm2 > 11.49 cm2 ใชได
ขอ (4) 4-DB 25 mm มี Ast = 4 × 4.909 = 19.636 cm2 > 11.49 cm2 ใชได

คําตอบ ขอ (3) 4-DB 20 mm มี Ast = 4 × 3.14 = 12.56 cm 2

206
คําถามขอที่ 41
จงคํานวณขนาดและระยะเรียงของเหล็กปลอกเกลียวที่มปี ริมาณเหล็กปลอกต่ําสุดในเสาสั้นหนาตัด
กลมเสนผานศูนยกลาง 50 cm ระยะหุมเหล็กปลอก 4 cm โดยทฤษฎีกําลังประลัยตามมาตรฐาน
ว.ส.ท. เมื่อกําหนดเสารับแรงอัดประลัย 460 Tons ถาใชเหล็กกลมทีม่ ี f y = 2400 ksc เปนเหล็ก
ปลอก คอนกรีตมีกําลังประลัย 280 ksc
ตัวเลือก
(1) RB 12 mm @ 0.040 m
(2) RB 12 mm @ 0.045 m
(3) RB 12 mm @ 0.050 m
(4) RB 12 mm @ 0.055 m
แนวคิด
f c' ⎛ A g ⎞
ρs = 0.45 ⎜⎜ − 1⎟⎟
f sy ⎝ A c ⎠
πD 2 π × 502 π
Ag = = = 2500
4 4 4
D c = D − cov er = 50 − 4 − 4 = 42 cm
πD c2 π × 42 2 π
Ac = = = 1764
4 4 4
πD 2

Ag D 2 50 2 2500
= 42 = 2 = 2 =
A c πD c Dc 42 1764
4
f ' ⎛ D2 ⎞
ρs = 0.45 c ⎜⎜ 2 − 1⎟⎟
f sy ⎝ D c ⎠
แตตามนิยามของ ρs คือปริมาตรเหล็กปลอกเกลียวตอปริมาตรแกนคอนกรีต
A sp π(Dc − d s ) 4A sp (D c − d s ) πd s2 D c − d s πd s2 (D c − d s )
ρs = = = 4× × =
πD c2 D c2s 4 Dc2s Dc2s
s
4
แทนคาได
πd s2 (Dc − d s ) f c' ⎛ D 2 ⎞
2
= 0 . 45 ⎜⎜ 2 − 1⎟⎟
Dc s f sy ⎝ Dc ⎠
πd s2 (Dc − d s )
s
f'
(
= 0.45 c D 2 − D c2
f sy
)
πd s2f sy (Dc − d s )
s=
(
0.45f c' D 2 − D c2 ) เปนสูตรสําหรับหาระยะเรียงของเหล็กปลอกเกลียว
โดยที่

207
d s = 12 mm = 1.2 cm = ขนาดเสนผานศุนยกลางเหล็กปลอกเกลียว
f sy = 2400 ksc = กําลังครากของเหล็กปลอกเกลียว
f c' = 280 ksc = กําลังประลัยของทรงกระบอกคอนกรีตมาตรฐานที่ 28 วัน
D = 50 cm = เสนผานศูนยกลางเสากลมปลอกเกลียว
D c = 42 cm = เสนผานศูนยกลางแกนคอนกรีตวัดที่ผิวนอกเหล็กปลอกเกลียว
D c = D − ระยะหุมทั้งสองขาง (ในที่นข ี้ างละ 4 ซม)
แทนคา
πd s2f sy (D c − d s ) π × 1.22 × 2400 × (42 − 1.2 )
s= = = 4.777 cm ⇒ 4.5 cm
(
0.45f c' D 2 − Dc2 ) (
0.45 × 280 × 502 − 422 )
คําตอบ ขอ (2) RB 12 mm @ 0.045 m

208
คําถามขอที่ 42
จงออกแบบเพือ่ หาขนาดและระยะเรียงของเหล็กปลอกเดีย่ วที่มีปริมาณเหล็กปลอกต่ําสุด ในเสาสั้น
ขนาด 20 × 30 sq.cm เสริมเหล็กตามแนวแกน 6-DB 20 mm โดยทฤษฎีกําลังประลัย ตาม
มาตรฐาน ว.ส.ท. เมื่อกําหนดเสารับแรงอัดประลัย 50 Tons ถาใชเหล็กกลม fy = 2400 ksc เปนเหล็ก
ปลอก คอนกรีตมีกําลังประลัย 240 ksc
ตัวเลือก
(1) ป RB 6 mm @ 0.18 m
(2) ป RB 6 mm @ 0.20 m
(3) ป RB 6 mm @ 0.28 m
(4) ป RB 6 mm @ 0.32 m
แนวคิด
มาตรฐาน ว.ส.ท. กําหนดเหล็กปลอกในเสาปลอกเดี่ยวไมเล็กกวา 6 mm และมีระยะเรียงไมเกิน
16 เทาขนาดเหล็กยืน = 16 × 2.0 = 32 cm = 0.32 m
48 เทาขนาดเหล็กปลอก = 48 × 0.6 = 28.8 cm = 0.288 m
ดานแคบของหนาตัดเสา = 20 cm = 0.20 m
คําตอบ ขอ (2) 6 mm @ 0.20 m

209
คําถามขอที่ 43
เหล็กยืนในเสาควรมีเนื้อที่หนาตัดไมเกินกีเ่ ปอรเซ็นตของเนื้อที่หนาตัดทั้งหมดของคอนกรีต
ตัวเลือก
(1) 1%
(2) 3%
(3) 5%
(4) 8%
แนวคิด
มาตรฐาน ว.ส.ท. กําหนดรอยละของเนือ้ ที่หนาตัดเหล็กยืนเทียบกับหนาตัดเสาอยูระหวาง 1% ถึง
8%
คําตอบ ขอ (4) 8%

210
คําถามขอที่ 44
จงหาระยะเรียงของเหล็กปลอกแบบลูกตั้งของคานคอนกรีต เมื่อมีแรงเฉือนกระทํา V = 1600 kg
ความตานทานแรงเฉือนของคอนกรีต Vc = 2000 kg ใชเหล็ก RB 16 mm SR24 ออกแบบโดยวิธี
กําลัง fs = 1200 ksc คานกวาง 20 cm และมีความลึกประสิทธิผลของคานเทากับ 40 cm
ตัวเลือก
(1) 15
(2) 20
(3) 27.5
(4) 33.9
แนวคิด
โจทยขอนี้ยังมีที่ตองแกไขหลายจุดมาก ขอมูลที่ใหมาเปนเรื่องหนวยแรงใชงาน แตกลับสั่งให
ออกแบบโดยวิธีกําลัง เหล็ก SR-24 มีขนาด 6, 9, 12, 15, 19, 25 mm ไมมีขนาด 16 mm หากแกไข
เปนใชเหล็ก RB 6 mm (อาจจะพิมพผิด) และออกแบบโดยวิธหี นวยแรงใชงานจะไดดังนี้
A vf vd
ถา V ≥ Vc ระยะเรียง s = โจทยขอนี้ ไมใชเพราะ V < Vc
V − Vc

ถา 0.795 f c' b w d < V < 1.32 f c' b w d ระยะเรียง s ≤ d และ s ≤ 60 cm


2
d
ถา 0.795 f c' b w d < V < 1.32 f c' b w d ระยะเรียง s≤ และ s ≤ 30 cm
4
ถา V > 1.32 f c' b w d เพิ่มหนาตัดคานโตขึ้น
โจทยขอนี้เปนกรณี V < 0.795 f c' b w d ดังนั้น s ≤ d = 40 = 20 cm < 60 cm
2 2
คําตอบ ขอ (2) 20 cm

211
คําถามขอที่ 45
เหล็กเสริม DB 12 SD 30 ฝงในเนื้อคอนกรีตลึก 50 cm กําหนดใหหนวยแรงยึดเหนีย่ วที่ยอมให
เทากับ 11 ksc เมื่อออกแบบรับแรงดึงโดยวิธีหนวยแรงใชงาน เหล็กเสริมจะรับแรงดึงสูงสุดที่ยอม
ใหเทาไหร
ตัวเลือก
(1) 1696 kg
(2) 2073 kg
(3) 2500 kg
(4) 3000 kg
แนวคิด
f c'
ในวิธหี นวยแรงใชงาน หนวยแรงยึดเหนี่ยวที่ยอมใหของเหล็ก 2.29 ≤ 25 ksc และ
db
f c'
3.23 ≤ 35 ksc แตเมื่อเปนเหล็กผิวเรียบใหลดลงครึ่งหนึ่งแตเหลือไมเกิน 11 ksc ดังนัน้ การที่
db
โจทยบอก DB 12 SD30 เปนเหล็กขอออย แตกลับใช u = 11 ksc จึงไมเหมาะสม แตหากจะคํานวณ
แรงยึดเหนีย่ ว U = uπd b Ld = 11 × π × 1.2 × 50 = 2073 kg
แรงดึงที่ยอมให T = Asfs = 1.131 × (0.5 × 3000) = 1696.5 kg
เลือกคานอย
คําตอบ ขอ (1) 1696 kg

212
คําถามขอที่ 46
จงหาหนวยแรงยึดเหนี่ยวที่เกิดขึ้นโดยวิธกี ําลัง ของจุดตอระหวางคานกับเสา เมื่อคานรับแรงเฉือนที่
จุดตอ V = 6555 kg มีคา jd = 39.735 cm มีเหล็กเสริมที่พิจารณาในการคํานวณแรงยึดเหนีย่ ว คือ 4
เสน ขนาด RB 15
ตัวเลือก
(1) 4.57 ksc
(2) 5.25 ksc
(3) 6.18 ksc
(4) 8.75 ksc
แนวคิด
ในการหาเสนรอบรูปของเหล็กเสริมเพื่อรับแรงยึดเหนีย่ ว (วิธีหนวยแรงใชงาน)
V
∑ O = ujd
เหล็ก 4-RB 16 mm มี ∑ O = 4 × π × 1.5 = 18.85 cm แทนคา
6555
18.85 =
u × 39.735
6555
u= = 8.7518 ksc
39.735 × 18.85

คําตอบ ขอ (4) 8.75 ksc


หมายเหตุ โจทยใหหาโดยวิธีกําลัง แตที่หานั้นปนวิธหี นวยแรงใชงาน แรงเฉือน V ก็ไมใชแรง
เฉือนเพิ่มคา

213
คําถามขอที่ 47
พื้น S1 ขนาด 5 × 5 เมตร หนา 12 ซม เหล็กเสริมโมเมนตบวก (เสริมลาง) กลางแผนพื้น กําหนดให
เทากับ RB 12 @ 0.15 m# ถาตองการเปดชองโลงกลางแผนพื้นนี้ ขนาด 0.80 × 0.80 เมตร ตอง
เสริมเหล็กทดแทนอยางนอยเทาไร
ตัวเลือก
(1) เสริม 2-RB 9 ทั้งสองขาง (รวมสี่ดาน)
(2) เสริม 2-RB 12 ทั้งสองขาง (รวมสี่ดาน)
(3) เสริม 2-DB 16 ทั้งสองขาง (รวมสี่ดาน)
(4) เสริม 2-DB 20 ทั้งสองขาง (รวมสี่ดาน)
แนวคิด
หาเนื้อที่หนาตัดเหล็กเสริมทีถ่ ูกตัดออกแลวแบงครึ่งแยกไปเสริมสองขางชองเจาะ
A s1
s= ดังนั้น
As
A 1.131
A s = s1 = = 7.54 cm 2 / m
s 0.15
A s80 = 0.80A s = 0.80 × 7.54 = 6.032 cm 2 / 0.80 m
A s80 6.032
= = 3.016 cm
2 2
2-RB 9 mm มี As80 = 2 × 0.636 = 1.272 < 3.016 cm2
2
2-RB 12 mm มี As80 = 2 × 1.131 = 2.262 < 3.016 cm2
2
2-DB 16 mm มี As80 = 2 × 2.01 = 4.02 > 3.016 cm 2 ใชได
2
A s80
2-DB 20 mm มี = 2 × 3.14 = 6.28 > 3.016 cm 2 ใชไดแตเปลืองคาเหล็กมากกวา
2
คําตอบ ขอ (3) เสริม 2-DB 16 ทั้งสองขาง (รวมสี่ดา น)

214
คําถามขอที่ 48
พื้นยื่นในขอใดมีการเสริมเหล็กที่ถูกตอง
ตัวเลือก
(1)

(2)

(3)

(4)

แนวคิด
พื้นยื่นเหล็กรับแรงดึงชิดผิวบนเนื่องจากโมเมนตลบ เชนรูปที่ (1) และ (3) สําหรับรูปที่ (2) และ (4)
เหล็กชิดผิวลางจึงผิด
ระหวางรูปที่ (1) กับ (3) รูปที่ (3) ระยะฝงไมพอเหล็กจะหลุดออกจากคานได ดังนัน้ ที่ปลอดภัยคือ
รูปที่ (1)

215
คําตอบ ขอ (1)

216
คําถามขอที่ 49
คอนกรีตมีกําลัง (f c' ) ทรงกระบอก 300 kg/cm2 ควรมีคาโมดูลัสยืดหยุน เทาใด
ตัวเลือก
(1) 3.0 × 106 กก/ซม2
(2) 2.6 × 106 กก/ซม2
(3) 2.6 × 105 กก/ซม2
(4) 3.0 × 105 กก/ซม2
แนวคิด
มาตรฐาน ว.ส.ท. กําหนดโมดูลัสยืดหยุนคอนกรีตไววา
E c = 4270w1.5 f c' = 15100 f c' = 15100 300 = 261539.6719 ksc
E c = 2.6 × 105 ksc
คําตอบ ขอ (3) 2.6 × 105 กก/ซม2
2
เฉลย ขอ (2) 2.6 × 106 กก/ซม

217
คําถามขอที่ 50
เมื่อกําหนดให f c' = 200 ksc และ E s = 2.04 × 106 ksc คาสัดสวนโมดูลัสของเหล็กเสริมตอ
คอนกรีต (n) มีคา
ตัวเลือก
(1) 8
(2) 9
(3) 10
(4) 11
แนวคิด
E s 2.04 × 106 135.099 135.099
n= = = = = 9.55
E c 15100 f c' f c' 200
อัตราสวนโมดูลัสยืดหยุน ไมจําเปนตองเปนเลขจํานวนเต็ม ดังนั้นตัวเลือกควรปรับใหมให
เหมาะสม
คําตอบ ขอ (2) 9

218
คําถามขอที่ 51
โมดูลัสของการแตกราว (Modulus of rupture) ของคอนกรีตที่มีกําลังอัด 210 ksc มีคาเทากับเทาไร
ตัวเลือก
(1) 22.98 ksc
(2) 25.89 ksc
(3) 28.98 ksc
(4) 31.89 ksc
แนวคิด
f r = 2.0 f c' = 2.0 210 = 28.98 ksc
คําตอบ ขอ (3) 28.98 ksc

219
คําถามขอที่ 52
คานยื่นขนาด 25 cm × 50 cm (ความลึกประสิทธิผล d = 42.5 cm) กําหนดให f c' = 210 ksc,
f y = 3000 ksc ควรมีการเสริมเหล็กตามขอใดเพื่อใชตานทานโมเมนตดด ั ประลัย Mu = 22000
kg.m
ตัวเลือก
(1) เหล็กบน 3-DB 25 mm
(2) เหล็กลาง 3-DB 25 mm
(3) เหล็กบน 5-DB 25 mm
(4) เหล็กลาง 5-DB 25 mm
แนวคิด
คานยื่นรับโมเมนตลบ เหล็กรับแรงดึงจะอยูบน ตัดขอ (2) และ (4) ออกไปเลย
Mu 22,000 × 100
Ru = = = 54.13302576 ksc
φbd 2
0.9 × 25 × 42.52
0.85f c' ⎡ 2R u ⎤
ρ= ⎢1 − 1 − ⎥
fy ⎣ 0.85f c' ⎦
0.85 × 210 ⎡ 2 × 54.13302576 ⎤
ρ= ⎢1 − 1 − ⎥
3000 ⎣ 0.85 × 210 ⎦
ρ = 0.022177442
A s = ρbd = 0.022177442 × 25 × 42.5 = 23.564 cm 2
3 − DB 25 mm; A s = 3 × 4.909 = 14.727 cm 2
5 − DB 25 mm; A s = 5 × 4.909 = 24.545 cm 2 > 23.564 cm 2
คําตอบ ขอ (3) เหล็กบน 5-DB 25 mm

220
คําถามขอที่ 53
คานขนาด 20 cm × 45 cm (ความลึกประสิทธิผล d = 40 cm) ควรมีปริมาณเหล็กเสริมนอยที่สุด
ไมนอยกวาขอใดตอไปนี้ เมือ่ กําหนดให f c' = 210 ksc และ f y = 3000 ksc
ตัวเลือก
(1) 2-DB 12 mm
(2) 3-DB 12 mm
(3) 2-DB 16 mm
(4) 3-DB 16 mm
แนวคิด
14 14
A s , min = ρmin bd = bd = × 20 × 40 = 3.733 cm 2
fy 3000
(1) 2 − DB 12 mm; A s = 2 × 1.131 = 2.262 cm 2 < 3.733 cm 2
(2) 3 − DB 12 mm; A s = 3 × 1.131 = 3.393 cm 2 < 3.733 cm 2
(3) 2 − DB 16 mm; A s = 2 × 2.01 = 4.02 cm 2 > 3.733 cm 2
(4) 3 − DB 16 mm; A s = 3 × 2.01 = 6.03 cm 2 > 3.733 cm 2
คําตอบ ขอ (3) 2-DB 16 mm

221
คําถามขอที่ 54
จงคํานวณหาความลึกประสิทธิผลของเหล็กเสริมรับแรงดึงของคานยื่นที่มีหนาตัดขนาด 20 cm ×
50 cm เหล็กเสริมบน 2-DB 20 mm เหล็กเสริมลาง 2-DB 16 mm ใชเหล็กปลอก RB 6 mm@ 0.15
m (กําหนดใหใช covering = 3.0 cm)
ตัวเลือก
(1) 44.6 cm
(2) 45.4 cm
(3) 45.6 cm
(4) 46.4 cm
แนวคิด
ทั้งเหล็กรับแรงดึงและเหล็กรับแรงอัดตางเปนเหล็กชั้นเดียว การหาความลึกของเหล็กรับแรงดึงและ
เหล็กรับแรงอัดทําไดดังนี้
1
ความลึกประสิทธิผล d = ความลึก h – covering – เหล็กลูกตั้ง - เหล็กรับแรงดึง
2
2.0
d = 50 − 3 − 0.6 − = 45.4 cm
2
ความลึกเหล็กรับแรงอัด d’ = covering + เหล็กลูกตั้ง + 1 เหล็กรับแรงอัด
2
1.6
d' = 3 + 0.6 + = 4.4 cm
2
คําตอบ ขอ (2) 45.4 cm

222
คําถามขอที่ 55
จากรูปตัดของบันได จะตองใชคาความยาวคาใดในการออกแบบบันได

ตัวเลือก
(1) 2.0 m
(2) 3.0 m
(3) 3.2 m
(4) 4.2 m
แนวคิด
ชวงความยาววัดระหวางจุดรองรับ = 1.0 m + 2.0 m = 3.0 m
คําตอบ ขอ (2) 3.0 m

223
คําถามขอที่ 56
เสาคอนกรีตเสริมเหล็กชนิดปลอกเดี่ยวขนาด 30 cm × 30 cm มีเหล็กเสริมตามยาวเปนเหล็กขอ
ออย จงคํานวณหากําลังที่เสาสั้นรับน้ําหนักไดโดยปลอดภัย โดยกําหนดให f c' = 250 ksc,
และ f y = 3000 ksc
ตัวเลือก
(1) 114.7 ตัน
(2) 97.5 ตัน
(3) 69.7 ตัน
(4) 59.2 ตัน
แนวคิด
โจทยไมใหเหล็กยืน สมมติใชประมาณ 1%
A g = 30 × 30 = 900 cm 2
A st A st
ρg = = = 0.01
A g 900
A st = 900 × 0.01 = 9 cm 2
9
DB 12 mm = = 7.96 ⇒ 8 bars
1.131
A st = 8 × 1.131 = 9.048 cm 2
(
P = 0.85A g 0.25f c' + f sρg )
⎛ A ⎞
P = 0.85A g ⎜ 0.25f c' + 0.4f y st ⎟
⎜ A g ⎟⎠

⎛ 9.048 ⎞
P = 0.85 × 900 × ⎜ 0.25 × 250 + 0.4 × 3000 × ⎟
⎝ 900 ⎠
P = 57041.46 kg ⇒ 57.04 tonne
คําตอบ ขอ (4) 59.2 ตัน

224
คําถามขอที่ 57
ปริมาณของเหล็กเสริมยืนในเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก 20 × 120 ตร.ซม ควรพิจารณาใชเปนเหล็ก
นอยที่สุด
ตัวเลือก
(1) 4 DB 12 mm
(2) 6-DB 10 mm
(3) 6-DB 12 mm
(4) 8-DB 20 mm
แนวคิด
พิมพโจทยผิด ที่ถูกตองคือขนาดเสา 20 × 20 ตร.ซม
ปริมาณเหล็กขั้นต่ําคือ 1% หรือ 0.01Ag แตตองไมเล็กกวา 12 มม และไมนอยกวา 4 เสน
A st = 0.01 × 20 × 20 = 4 cm 2
4 − DB 12 mm; A st = 4 × 1.131 = 4.524 cm 2 > 4 cm 2 O.K
คําตอบ ขอ (1) 4-DB 12 mm

225
คําถามขอที่ 58
จงคํานวณจํานวนเสาเข็มที่ตอ งใชสําหรับฐานรากเสาเข็มซึ่งรับแรงตามแนวแกน ซึ่งเปนน้ําหนัก
บรรทุกคงที่ (Dead Load) = 60 ตัน น้ําหนักบรรทุกจร (Live Load) = 40 ตัน โดยฐานรากมีน้ําหนัก
ของฐานรากเอง 5.5 ตัน โดยเลือกใชเสาเข็มขนาด 30 cm × 30 cm สามารถรับน้ําหนักบรรทุกใช
งานไดเทากับ 30 ตัน/ตน
ตัวเลือก
(1) 3 ตน
(2) 4 ตน
(3) 5 ตน
(4) 6 ตน
แนวคิด
น้ําหนักบรรทุกใชงานรวม = 60 + 40 +5.5 = 105.5 ตัน
จํานวนเสาเข็มที่ใช = 105.5 = 3.52 ⇒ 4 ตน
30
คําตอบ ขอ (2) 4 ตน
หมายเหตุ การพิมพขอสอบมีบางสวนเปนอักขระโรมัน ไดแปลงเปนภาษาไทยจากการเทียบเคียง
แลว

226
คําถามขอที่ 59
ตามมาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธีกําลัง (USD) ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็กควรมีระยะหุม คอนกรีตเปน
อยางนอยเทาใด
ตัวเลือก
(1) 3.0 cm
(2) 5.0 cm
(3) 7.5 cm
(4) 10.0 cm
แนวคิด
คําวาวิธีกําลัง ชื่อยอภาษาอังกฤษปจจุบนั นีใ้ ช SDM : Strength Design Method กําหนดระยะหุมของ
โครงสรางที่สัมผัสดินตลอดเวลาแตไมใชบริเวณกันกรอนสูง ไมนอยกวา 7.5 ซม แตถาบริเวณกัด
กรอนสูง เชนใกลทะเล บริเวณน้ํากรอย ระยะหุมอยางนอย 10 ซม
คําตอบ ขอ (3) 7.5 cm

227
คําถามขอที่ 60
คานคอนกรีตเสริมเหล็ก B1 เปนคานชวงเดียวมีขนาดหนาตัด 0.15 × 0.30 m รองรับแผนพื้นหลอ
ในที่ S1 ในดานสั้น ซึ่งมีขนาด 2.40 × 4.00 m มีความหนาแผนพื้น 0.10 m และแผนพืน้ รับ
น้ําหนักบรรทุกจร 200 kg/m2 จงคํานวณหาแรงเฉือนสูงสุดเพื่อใชออกแบบคาน B1

ตัวเลือก
(1) 369.6 kg
(2) 422.4 kg
(3) 552 kg
(4) 622.4 kg
(5) 657.6 kg
แนวคิด
น้ําหนักลงแผนพื้น w = 2400h + LL = 2400 × 0.10 + 200 = 440 kg / m 2

กระจายน้ําหนักลงคานดานสัน้ w s = wS = 440 × 2.40 = 352 kg / m


3 3
น้ําหนักคานw D = 2400bh = 2400 × 0.15 × 0.30 = 108 kg / m
น้ําหนักรวมบนคาน w = 352 + 108 = 460 kg / m

แรงเฉือนที่จุดรองรับปลายคาน V = wL = 460 × 2.40 = 552 kg


2 2
คําตอบ ขอ (3) 552 kg
หมายเหตุ ในการออกแบบรับแรงเฉือนของคาน ตองคิดแรงเฉือน V ที่หนาตัดวิกฤตของคานซึ่ง
หางจากขอบในของที่รองรับเปนระยะ d

228
คําถามขอที่ 61
คานขนาดหนาตัด 0.15 × 0.40 m ถาตองการใหสามารถตานทานตอแรงเฉือนปลอดภัยได
3,500.00 kg จะตองใชระยะหางเหล็กปลอกมากสุดโดยวิธีใชงาน (WSD) (จากตัวเลือกที่กําหนดให)
กําหนดใหใชเหล็กปลอกขนาดเสนผานศูนยกลาง 6 mm ชนิด SR24 (As ของ RB 6 มม = 0.28 cm2/
เสน) ความลึกประสิทธิผล (d) = 35 cm และ f c' = 200 ksc, f y = 2400 ksc
ตัวเลือก
(1) 0.100 m
(2) 0.125 m
(3) 0.150 m
(4) 0.175 m
แนวคิด
Vc = 0.29 f c' b w d = 0.29 200 × 15 × 35 = 2153 kg

Afd
(2 × 0.28) × 2400 × 35
s= v v = 2 = 17.46 cm
V − Vc 3500 − 2153
คําตอบ ขอ (4) 0.175 m

229
คําถามขอที่ 62
คานคอนกรีตเสริมเหล็กขนาด 0.20 × 0.40 m เมื่อออกแบบคานรับแรงเฉือนพบวา ตองการเหล็ก
ปลอก RB 6 (As = 0.28 ตร.ซม/ขา) @ 0.15 m จงคํานวณหาความสามารถตานทานแรงเฉือนโดย
วิธีใชงาน (WSD) ตามมาตรฐาน ว.ส.ท. (เมื่อคิดเฉพาะผลขนาดหนาตัดคานและเหล็กปลอกคาน)
กําหนดความลึกประสิทธิผล (d) = 35 cm, fy = 2400 ksc และ f c' = 200 ksc
ตัวเลือก
(1) 2870 kg
(2) 3654 kg
(3) 4438 kg
(4) 5247 kg
(5) 6,845.74 kg
แนวคิด
Vc = 0.29 f c' b w d = 0.29 200 × 20 × 35 = 2870.85 kg
A vf vd
s=
V − Vc

(2 × 0.28) × 2400 × 35
15 = 2
V − 2870.85
2 × 0.28 × 1200 × 35
V = 2870.85 + = 4438.85 kg
15
คําตอบ ขอ (3) 4438 kg

230
คําถามขอที่ 63
แผนพื้นหลอในที่ขนาด 4.00 × 5.00 m คานขอบรองรับทั้ง 4 ดาน จงคํานวณหาคาความหนาของ
แผนพื้นนอยทีส่ ุดที่ตองการ กอนการพิจารณาผลเนื่องจากน้ําหนักบรรทุกจรที่กระทําตอแผนพื้น
ตัวเลือก
(1) 6 cm
(2) 2 cm
(3) 10 cm
(4) 12 cm
(5) 12.5 cm
แนวคิด
ความหนาต่าํ สุดเทากับ เสนรอบรูปหารดวย 180 แตตองไมนอยกวา 8 cm
4.00 + 5.00 + 4.00 + 5.00 4.00 + 5.00
hf = = = 0.10 m = 10 cm
180 90
คําตอบ ขอ (3) 10 cm

231
คําถามขอที่ 64
แผนพื้นหลอในที่ขนาด 2.00 × 5.00 m ไมตอเนื่อง 4 ดาน มีความหนาแผนพืน้ 0.08 m รับ
น้ําหนักบรรทุกจร 300 kg/m2 ตามขอกําหนดมาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธีใชงาน (WSD) ใชเหล็กเสริม
ชนิด SR24 fs = 1200 ksc, j = 0.88, R = 10.1 ksc และความลึกประสิทธิผล (d) = 5 cm จะตองใช
เหล็กเสริมไมนอยกวา
ตัวเลือก
(1) 2.83 cm2/m
(2) 3.71 cm2/m
(3) 4.64 cm2/m
(4) 8.15 cm2/m
(5) 9.29 cm2/m
แนวคิด
w = 2400h f + LL = 2400 × 0.08 + 300 = 492 kg / m 2
wL2 492 × 2.002
M= = = 246 kg.m = 24600 kg.cm
8 8
M 24600
As = = = 4.659 cm 2 / m
f s jd 1200 × 0.88 × 5
คําตอบ ขอ (3) 4.64 cm2/m

232
คําถามขอที่ 65
ฐานรากเสาเข็มหนาตัดสี่เหลี่ยมจัตุรัส ใชเสาเข็มขนาด 0.20 × 0.20 × 9.00 m จํานวน 4 ตน ซึ่ง
เสาเข็มแตละตนกําหนดใหอยูในตําแหนงที่สมมาตรเมื่อพิจารณาจากหนาตัดฐานราก จงคํานวณหา
ขนาดของฐานรากที่ยังไมพจิ ารณาถึงแรงที่กระทํา
ตัวเลือก
(1) 1.00 × 1.00 m
(2) 1.20 × 1.20 m
(3) 1.30 × 1.30 m
(4) 1.50 × 1.50 m
แนวคิด
เสาเข็มหางขอบฐานรากอยางนอยเทากับขนาดเสาเข็ม = 0.20 m
ศูนยกลางเสาเข็มหางกันไมนอยกวา 3 เทาขนาดเสาเข็ม = 3 × 0.20 = 0.60 m
แตละดานฐานรากยาว = 0.20 + 0.60 + 0.20 = 1.00 m
คําตอบ ขอ (1) 1.00 × 1.00 m

233
คําถามขอที่ 66
ฐานแผ (spread footing) บนดินขนาด 1.50 × 2.00 ม มีความหนา 0.40 ม รองรับเสาตอมอขนาด
หนาตัด 0.20 × 0.20 ม วางที่ตําแหนงกึ่งกลางฐานราก ถาน้ําหนักฐานรากรวมกับน้ําหนักที่กระทํา
ตามแนวแกนเทากับ 25,000 kg จงคํานวณหาหนวยแรงเฉือนทางเดียวทางยาวที่หนาตัดวิกฤต
กําหนดความลึกประสิทธิผล (d) = 35 cm
ตัวเลือก
(1) 2.38 ksc
(2) 2.14 ksc
(3) 1.72 ksc
(4) 1.31 ksc
แนวคิด
25000 25000
แรงตานเฉลี่ยของดิน = = kg / m 2
1.50 × 2.00 3
พื้นที่เกิดแรงเฉือนขอบยาว 2.00 × ⎛⎜ 1.50 − 0.20 − 0.35 ⎞⎟ = 0.6 m 2
⎝ 2 2 ⎠
25000
แรงเฉือนทางเดียวทางยาว V = × 0.6 = 5000 kg
3
หนวยแรงเฉือน v b = 5000 = 0.714 ksc
200 × 35
คําตอบ ไมมีคําตอบที่ถูกตอง
เฉลย ขอ (3) 1.72 ksc

234
คําถามขอที่ 67
ฐานแผวางบนดินขนาด 1.50 × 2.00 ม มีความหนา 0.40 ม รองรับเสาตอมอมีขนาดหนาตัด
0.20 × 0.20 ม ที่ตําแหนงกึ่งกลางฐานราก ถาน้าํ หนักฐานรากรวมกับน้ําหนักที่กระทําตาม
แนวแกนเสาตอมอเทากับ 25000 kg จงคํานวณหาคาหนวยแรงเฉือนแบบทะลุที่หนาตัดวิกฤต
กําหนดใหความลึกประสิทธิผล (d) = 35 cm
ตัวเลือก
(1) 2.92 ksc
(2) 4.76 ksc
(3) 8.80 ksc
(4) 8.93 ksc
แนวคิด
25000 25000
แรงตานทานเฉลี่ย p = = kg / m 2
1.50 × 2.00 3
แรงเฉือนแบบเจาะทะลุ Vp = 25000 × [1.50 × 2.00 − (0.20 + 0.35)(0.20 + 0.35)]
3
Vp = 22479 kg
22479
หนวยแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ vp = = 2.919 ksc
2 × 35 × (20 + 20 × 2 × 35)
คําตอบ ขอ (1) 2.92 ksc

235
คําถามขอที่ 68
ฐานแผวางบนดินขนาด 1.50 × 2.00 ม มีความหนา 0.40 ม รองรับเสาตอมอมีขนาดหนาตัด
0.20 × 0.20 ม ที่ตําแหนงกึ่งกลางฐานราก ถาน้าํ หนักฐานรากรวมกับน้ําหนักที่กระทําตาม
แนวแกนเสาตอมอเทากับ 25000 kg จงคํานวณหาคาปริมาณเหล็กเสริมทางยาวตานทานโมเมนตดดั
สูงสุดโดยวิธีใชงาน (WSD) ตามมาตรฐาน ว.ส.ท. กําหนดความหนาฐานรากสามารถรับแรงเฉือน
แบบคานกวางและแบบทะลุได ความลึกประสิทธิผล (d) = 35 cm , j = 0.88 และใชเหล็กเสริม fy =
2400 ksc
ตัวเลือก
(1) 7.1 cm2
(2) 9.1 cm2
(3) 13.7 cm2
(4) 15.0 cm2
แนวคิด
25000 25000
แรงตานเฉลี่ยของดิน p= = kg / m 2
1.50 × 2.00 3
แรงเฉือนที่ขอบตอมอ V = 25000 × 1.50 × ⎛⎜ 2.00 − 0.20 ⎞⎟ = 11250 kg
3 ⎝ 2 2 ⎠

โมเมนตที่ขอบตอมอ M = 11250 × 1 ⎛⎜ 2.00 − 0.20 ⎞⎟ = 5062.5 kg.m


2⎝ 2 2 ⎠
M 5062.5 × 100
As = = = 13.697 cm 2
f s jd 2400 × 0.88 × 35
2
คําตอบ ขอ (3) 13.7 cm2

236
คําถามขอที่ 69
คานขนาด 0.20 × 0.50 มีความยาวชวง 5 ม รับน้ําหนักบรรทุกรวมน้าํ หนักคานทั้งหมด 2000 kg/m
ตองเสริมเหล็กรับแรงดึงเทาใด ถาออกแบบดวยวิธีหนวยแรงใชงาน (WSD) f c' = 240 ksc,
f y = 3000 ksc, d = 0.45 m, k = 0.39
ตัวเลือก
(1) 2-DB 25 mm
(2) 3-DB 25 mm
(3) 4-DB 25 mm
(4) 5-DB 25 mm
แนวคิด
f c = 0.45f c' = 0.45 × 240 = 108 ksc
f s = 0.5f y = 0.5 × 3000 = 1500 ksc
k = 0.39
k 0.39
j =1− =1− = 0.87
3 3
wL2 2000 × 52
M= = = 6250 kg.m = 625000 kg.cm
8 8
M 625000
As = = = 10.643 cm 2
f s jd 1500 × 0.87 × 45

ใชเหล็ก DB 25 mm จํานวน = 10.643 = 2.17 ⇒ 3 เสน


4.909
คําตอบ ขอ (2) 3-DB 25 mm

237
คําถามขอที่ 70
คานขนาด 0.20 × 0.50 มีความยาวชวง 5 ม รับน้ําหนักบรรทุกรวมน้าํ หนักคานทั้งหมด 2000 kg/m
ออกแบบโดยวิธีหนวยแรงใชงาน (WSD) หาปริมาณเหล็กปลอก f c' = 240 ksc, f y = 2400 ksc,
d = 0.45 m
ตัวเลือก
(1) RB 6 @ 0.10
(2) RB 6 @ 0.20
(3) RB 6 @ 0.30
(4) RB 6 @ 0.40
แนวคิด
แรงเฉือนที่หนาตัดวิกฤต V = w ⎛⎜ L − d ⎞⎟ = 2000 × ⎛⎜ 5 − 0.45 ⎞⎟ = 4100 kg
⎝2 ⎠ ⎝2 ⎠
แรงเฉือนที่คอนกรีตรับได Vc = 0.29 f c' b w d = 0.29 240 × 20 × 45 = 4043 kg

RB 6 mm มี A v = 2 × 0.283 = 0.566 cm2 , f v = 2400 = 1200 ksc


2
A v f v d 0.566 × 1200 × 45
s= = = 536 cm
V − Vc 4100 − 4043
d 45
s= = = 22.5 cm
2 2
s = 60 cm
คําตอบ ขอ (2) RB 6 mm @ 0.20 m

238
คําถามขอที่ 71
คานขนาด 0.20 × 0.40 มีความยาวชวง 5 ม รับน้ําหนักบรรทุกรวมน้าํ หนักคานทั้งหมด 2000 kg/m
ตองเสริมเหล็กรับแรงอัดเทาไร ออกแบบดวยวิธีหนวยแรงใชงาน (WSD) f c' = 240 ksc, f y =
3000 ksc, d = 0.35 m, d’ = 0.05 m, k = 0.39
ตัวเลือก
(1) 2-DB 12 mm
(2) 3-DB 12 mm
(3) 2-DB 16 mm
(4) 3-DB 16 mm
แนวคิด
f c = 0.45f c' = 0.45 × 240 = 108 ksc
f s = 0.5f y = 0.5 × 3000 = 1500 ksc
k = 0.39
k 0.39
j =1− =1− = 0.87
3 3
1 1
M c = f c kjbd 2 = × 108 × 0.39 × 0.87 × 20 × 352 = 448,893.9 kg.cm
2 2
M c = 4488.939 kg.m
wL2 2000 × 52
M= = = 6250 kg.m = 625,000 kg.cm > M c
8 8
d'
k−
f s' = 2f s d ≤f
1− k
s

5
0.39 −
f s' = 2 × 1500 × 35 = 1215.456674 ksc < f = 1500 ksc
1 − 0.39
s

M − Mc 625,000 − 448,893.9
A s' = ' = = 4.8296 cm 2
f s (d − d ') 1215.456674 × (35 − 5)

เหล็ก DB 16 mm ใช = 4.8296 = 2.4 ⇒ 3 เสน


2.01
คําตอบ ขอ (4) 3-DB 16 mm
เฉลย ขอ (3) 2-DB 16 mm
การที่ใช 2-DB 16 mm เพราะใช fs' = fs = 1500 ksc
M − M c 625,000 − 448,893.9 3.91
A s' = = = 3.91 cm 2 ⇒ = 1.95 ⇒ 2 − DB 16 mm
f s (d − d ')
'
1500(35 − 5) 2.01
ซึ่งผิด

239
คําถามขอที่ 72
คานขนาด 0.20 × 0.40 มีความยาวชวง 5 ม รับน้ําหนักบรรทุกรวมน้าํ หนักคานทั้งหมด 2000 kg/m
ตองเสริมเหล็กรับแรงดึงเทาไร ออกแบบดวยวิธีหนวยแรงใชงาน (WSD) f c' = 240 ksc, f y =
3000 ksc, d = 0.35 m, d’ = 0.05 m, k = 0.39
ตัวเลือก
(1) 3-DB 20 mm
(2) 3-DB 20 mm
(3) 4-DB 20 mm
(4) 5-DB 20 mm
แนวคิด
f c = 0.45f c' = 0.45 × 240 = 108 ksc
f s = 0.5f y = 0.5 × 3000 = 1500 ksc
k = 0.39
k 0.39
j =1− =1− = 0.87
3 3
1 1
M c = f c kjbd 2 = × 108 × 0.39 × 0.87 × 20 × 352 = 448,893.9 kg.cm
2 2
M c = 4488.939 kg.m
wL2 2000 × 52
M= = = 6250 kg.m = 625,000 kg.cm > M c
8 8
d'
k−
f s' = 2f s d ≤f
1− k
s

5
0.39 −
f s' = 2 × 1500 × 35 = 1215.456674 ksc < f = 1500 ksc
1 − 0.39
s

M M − Mc
As = c +
f s jd f s (d − d')
448,893.9 625,000 − 448,893.9
As = + = 13.74 cm 2
1500 × 0.87 × 35 1500 × (35 − 5)
DB 20 mm ใชจํานวน = 13.74 = 4.4 ⇒ 5 เสน
3.14
คําตอบ ขอ (4) 5-DB 20 mm

240
คําถามขอที่ 73
จงออกแบบเหล็กเสริมโดยวิธีหนวยแรงใชงาน (WSD) ของพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กทางเดียว (one-
way slab) ชวงยาว 2 ม หนา 10 ซม รับน้ําหนักบรรทุกจร 200 กก/ตร.ม กําหนด f c' = 200 ksc,
f y = 2400 ksc, d = 0.07 m, k = 0.40
ตัวเลือก
(1) RB 6 mm @ 0.10 m
(2) RB 6 mm @ 0.20 m
(3) RB 9 mm @ 0.10 m
(4) RB 9 mm @ 0.20 m
แนวคิด
f c = 0.45f c' = 0.45 × 200 = 90 ksc
f s = 0.5f y = 0.5 × 2400 = 1200 ksc
k = 0.40
k 0.40
j =1− =1− = 0.867
3 3
w = 2400 × 0.10 + 200 = 440 kg / m 2
wL2 440 × 2 2
M= = = 220 kg.m = 22000 kg.cm
8 8
1 1
M c = f c kjbd 2 = × 90 × 0.40 × 0.867 × 100 × 7 2 = 76,469.4 kg.cm > M
2 2
M 22000
As = = = 3.02 cm 2 / m
f s jd 1200 × 0.867 × 7

RB 6 mm ระยะเรียง s = As1 = 0.283 = 0.0937 m ไมมี


As 3.02

RB 9 mm ระยะเรียง s = As1 = 0.636 = 0.21 m


As 3.02
คําตอบ ขอ (4) RB 9 mm @ 0.20 m

241
คําถามขอที่ 74
เสาสั้นขนาด 0.25 × 0.25 สามารถรับน้ําหนักบรรทุกไดต่ําสุดเทาใด โดยวิธีหนวยแรงใชงาน
(WSD) กําหนด f c' = 240 ksc, f y = 3000 ksc
ตัวเลือก
(1) 38.2 ตัน
(2) 39.8 ตัน
(3) 82.9 ตัน
(4) 95.6 ตัน
แนวคิด
มาตรฐาน ว.ส.ท. กําหนด ρg = Ast อยูระหวาง 0.01 กับ 0.08 ดังนัน้ เลือกคาต่ําทีส่ ุด 0.01
Ag
(
P = 0.85A g 0.25f c' + f sρg )
P = 0.85A (0.25f
g
'
c + 0.4f yρg )
P = 0.85 × (25 × 25) × (0.25 × 240 + 0.4 × 3000 × 0.01)
P = 38250 kg = 38.25 tonne
คําตอบ ขอ (1) 38.2 ตัน

242
คําถามขอที่ 75
เสาสั้นขนาด 0.25 × 0.25 สามารถรับน้ําหนักบรรทุกไดสูงสุดเทาใด โดยวิธีหนวยแรงใชงาน
(WSD) กําหนด f c' = 240 ksc, f y = 3000 ksc
ตัวเลือก
(1) 38.2 ตัน
(2) 39.8 ตัน
(3) 82.9 ตัน
(4) 95.6 ตัน
แนวคิด
มาตรฐาน ว.ส.ท. กําหนด ρg = Ast อยูระหวาง 0.01 กับ 0.08 ดังนัน้ เลือกคาสูงที่สุด 0.01
Ag
(
P = 0.85A g 0.25f c' + f sρg )
P = 0.85A (0.25f
g
'
c + 0.4f yρg )
P = 0.85 × (25 × 25) × (0.25 × 240 + 0.4 × 3000 × 0.08)
P = 82875 kg = 82.875 tonne
คําตอบ ขอ (3) 82.9 ตัน

243
คําถามขอที่ 76
จงหาโมเมนตดัดเพื่ออกแบบฐานรากแผขนาด 2.0 × 2.0 หนา 0.40 ซม รับเสาขนาด 0.40 × 0.40
น้ําหนักฐานราก และแรงถายลงเสาตอมอรวม 40 ตัน
ตัวเลือก
(1) 1152 kg.m/m
(2) 2048 kg.m/m
(3) 3200 kg.m/m
(4) 5000 kg.m/m
แนวคิด
40 × 1000
แรงตานเฉลี่ย p= = 10000 kg / m 2
2.0 × 2.0
โมเมนตดัดทีข่ อบตอมอ
⎛ B b ⎞ 1 ⎛ B b ⎞ pL
M = pL⎜ − ⎟ × × ⎜ − ⎟ = (B − b )2
⎝ 2 2⎠ 2 ⎝ 2 2⎠ 8
10000 × 2.0
M= × (2.0 − 0.4 ) = 6400 kg.m / 2.0 m
2

8
M = 3200 kg.m / m
คําตอบ ขอ (3) 3200 kg.m/m

244
คําถามขอที่ 77
หนาตัดคอนกรีตมีการเสริมเหล็กและกําหนดคุณสมบัตขิ องวัสดุดังรูป จงหาโมเมนตดัดประลัยที่
คอนกรีตจะรับได

กําหนดให
kg
f c' = 240 = กําลังอัดประลัยของคอนกรีต
cm 2
kg
f y = 4000 = หนวยแรงดึงที่จุดครากของเหล็กเสริม
cm 2
E s = 2.04(10 )
kg
= โมดูลัสยืดหยุน
 ของเหล็กเสริม
6

cm 2
ตัวเลือก
(1) 2781 กิโลกรัม.เมตร
(2) 3781 กิโลกรัม.เมตร
(3) 4781 กิโลกรัม.เมตร
(4) 5781 กิโลกรัม.เมตร
แนวคิด
b = 20 cm, h = 40 cm, d = 40 − 5 = 35 cm
A s = 2 − DB 16 mm = 2 × 2.01 = 4.02 cm 2
As 4.02
ρ= = = 0.005742857
bd 20 × 35
⎛ f ⎞
R u = ρf y ⎜⎜1 − 0.59ρ y' ⎟⎟
⎝ fc ⎠
⎛ 4000 ⎞
R u = 0.005742857 × 4000 × ⎜1 − 0.59 × 0.005742857 × ⎟
⎝ 240 ⎠
R u = 21.67419868 ksc
φM n = φR u bd 2 = 0.9 × 21.67419868 × 20 × 352 = 477,916.0808 kg.cm
φM n = 4779.160808 kg.m ⇒ 4780 kg.m
คําตอบ ขอ (3) 4781 กิโลกรัม.เมตร

245
คําถามขอที่ 78
เหล็กเสริม A และ B จะตองเสริมเหล็กขนาดและระยะเรียงเทาใดโดยวิธหี นวยแรงใชงาน จึงจะ
เพียงพอตอการรับน้ําหนักบรรทุกจรใชงานของพื้นที่แสดงดังรูป

กําหนดให
น้ําหนักบรรทุกจร = 200 กก/ตารางเมตร
ระยะจากผิวลางสุดถึงจุดศูนยถวงของเหล็กเสริม = 3 ซม
เหล็กเสริมเปนเหล็กเสนกลม
kg kg kg
f c = 108 2
, f s = 1200 , n = 9, k = 0.438, j = 0.854, R = 20.20
cm cm 2 cm 2
ตัวเลือก
(1) A: RB 6 @ 0.10 ม, B: RB 6 @ 0.20 ม
(2) A: RB 9 @ 0.30 ม, B: RB 9 @ 0.30 ม
(3) A: RB 9 @ 0.20 ม, B: RB 9 @ 0.10 ม
(4) A: RB 9 @ 0.10 ม, B: RB 9 @ 0.20 ม
แนวคิด
ตัดแผนพืน้ กวาง 1.00 เมตร เปนคานแบน ดานสั้นเปนคานชวงเดียว ดานยาวใชเหล็กกันราว
w D = 2400 × 0.12 = 288 kg / m 2
w = w D + w L = 288 + 200 = 488 kg / m 2
wL2 488 × 3.002
Ms = = = 549 kg.m / m = 54900 kg.cm / m
8 8
M 54900
As = = = 5.952 cm 2 / m
f s jd 1200 × 0.854 × (12 − 3)

246
ใช RB 6 mm ระยะเรียง s = 0.283 = 0.0475 m ขอ (1) ผิด เพราะ @ 0.10 ม
5.952
0.636
ใช RB 9 mm ระยะเรียง s= = 0.106 m ขอ (2) ผิด เพราะ @ 0.30 ม ขอ (3) ผิดเพราะ @
5.952
0.20 ม ขอ (4) นาจะถูกตองเพราะ @ 0.10 ม
ตรวจสอบเหล็กตามยาว
A s , temp = 0.0025bh = 0.0025 × 100 × 12 = 3 cm 2 / m

ขอ (4) ใช RB 9 mm ระยะเรียง s = 0.636 = 0.212 m ใชจริง RB 9 mm @ 0.20 m


3
คําตอบ ขอ (4) A: RB 9 @ 0.10 ม, B: RB 9 @ 0.20 ม

247
คําถามขอที่ 79
ในการออกแบบคาน B1 ที่หนาตัดกึ่งกลางคานโดยวิธีหนวยแรงใชงาน โดยมีแปลน พื้น คาน และ
ขอมูลสําหรับออกแบบดังรูป คําตอบใดเปนคําตอบที่ถูกตอง

ขอมูลสําหรับออกแบบคาน B1
พื้น S1 หนา 12 ซม
น้ําหนักบรรทุกจรลงพื้น = 200 กก/ตารางเมตร
ระยะจากผิวคอนกรีตนอกสุดถึงจุดศูนยถวงของเหล็กเสริม = 5 ซม
เหล็กเสริมรับโมเมนตดัดเปนเหล็กขอออย
kg kg kg
f c = 108 2
, f s = 2000 2
, n = 9, k = 0.319, j = 0.894, R = 15.38
cm cm cm 2
ตัวเลือก
(1) หนาตัดเปนแบบเสริมเหล็กรับแรงดึงอยางเดียว เสริมเหล็ก 2 DB 16
(2) หนาตัดเปนแบบเสริมเหล็กรับแรงดึงอยางเดียว เสริมเหล็ก 2 DB 20
(3) หนาตัดเปนแบบเสริมเหล็กรับแรงดึงและแรงอัด เสริมเหล็ก 2-DB 12 สําหรับแรงดึง และ 2-
DB 12 สําหรับเหล็กเสริมรับแรงอัด
(4) หนาตัดเปนแบบเสริมเหล็กรับแรงดึงและแรงอัด เสริมเหล็ก 2-DB 16 สําหรับแรงดึง และ 2-
DB 12 สําหรับเหล็กเสริมรับแรงอัด
แนวคิด
มาตรฐานสําหรับอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีหนวยแรงใชงาน ของ ว.ส.ท.ขอ 6103 สําหรับ
เหล็กขอออยทีม่ ีกําลังครากไมนอยกวา 4000 กก/ซม2 ใหรับแรงดึงไดไมเกิน 1700 กก/ซม2 สําหรับ
โจทยขอนี้กําหนด fs = 2000 กก/ซม2 ซึ่งมากกวา 1700 กก/ซม2 จึงขัดขอกําหนดและยังขัด

248
กฎหมาย กฎกระทรวงมหาดไทย ฉบับที่ 6 พ.ศ.2527 ดวย แตหากจะใชตามขอมูลที่กําหนดก็
สามารถกระทําไดดังนี้
S 3.00
m= = = 0.4286 < 0.5 เปนแผนพืน
้ ทางเดียว
L 7.00
น้ําหนักตัวพื้น w G = 2400h = 2400 × 0.12 = 288 kg / m 2
น้ําหนักรวมบนพื้น w = 288 + 200 = 488 kg / m 2
คาน B1 เปนคานขอบยาว น้าํ หนักจากพืน้ ลงคาน
wS 3 − m 2 488 × 3.00 3 − 0.42862
w= = × = 687 kg / m
3 2 3 2
น้ําหนักของตัวคานเอง = 2400bh = 2400 × 0.25 × 0.60 = 360 kg / m
น้ําหนักบรรทุกรวมบนคาน w = 687 + 360 = 1047 kg / m
โมเมนตดัดทีก่ ลางชวง
wL2 1047 × 7.002
M= = = 6412.875 kg.m = 641,287.5 kg.cm
8 8
โมเมนตดัดสภาวะสมดุล
M R = Rbd 2 = 15.38 × 25 × 552 = 1,160,843.75 kg.cm > M
แสดงวาหนาตัดนี้ตองการเฉพาะเหล็กรับแรงดึงอยางเดียว แตในทางปฏิบัติตองเสริมเหล็กรับ
แรงอัดอยางนอย 2-DB 12 mm เอาไวใหเหล็กลูกตั้งยึดเกาะ หาเนื้อทีห่ นาตัดเหล็กรับแรงดึง
M 641,287.5
As = = = 6.521 cm 2
f s jd 2000 × 0.894 × 55

ถาใชเหล็ก DB 12 mm จะใชจํานวน = 6.521 = 5.8 ⇒ 6 เสน


1.131
ถาใชเหล็ก DB 16 mm จะใชจํานวน = 6.521 = 3.2 ⇒ 4 เสน
2.01
6.521
ถาใชเหล็ก DB 20 mm จะใชจํานวน = = 2.08 ⇒ 3 เสน
3.14
คําตอบ ไมมีขอที่ถูกตอง เพราะคําตอบคือ หนาตัดเปนแบบเสริมเหล็กรับแรงดึงอยางเดียว
เสริมเหล็ก 3-DB 20 mm
เฉลย ขอ (3) หนาตัดเปนแบบเสริมเหล็กรับแรงดึงและแรงอัด เสริมเหล็ก 2-DB 12 สําหรับแรงดึง
และ 2-DB 12 สําหรับเหล็กเสริมรับแรงอัด ซึ่งไมถูกตอง

249
คําถามขอที่ 80
ในการออกแบบคาน B1 ที่หนาตัดกึ่งกลางคานโดยวิธีหนวยแรงใชงาน โดยมีแปลน พื้น คาน และ
ขอมูลสําหรับออกแบบดังรูป คําตอบใดเปนคําตอบที่ถูกตอง

ขอมูลสําหรับออกแบบคาน B1
พื้น S1 หนา 12 ซม
น้ําหนักบรรทุกจรลงพื้น = 200 กก/ตารางเมตร
ระยะจากผิวคอนกรีตนอกสุดถึงจุดศูนยถวงของเหล็กเสริม = 5 ซม
เหล็กเสริมรับโมเมนตดัดเปนเหล็กขอออย
kg kg kg
f c = 108 2
, f s = 2000 2
, n = 9, k = 0.319, j = 0.894, R = 15.38
cm cm cm 2
ตัวเลือก
(1) หนาตัดเปนแบบเสริมเหล็กรับแรงดึงอยางเดียว เสริมเหล็ก 2 DB 16
(2) หนาตัดเปนแบบเสริมเหล็กรับแรงดึงและแรงอัด เสริมเหล็ก 2 DB 16 สําหรับแรงดึง และ 2-
DB 12 mm สําหรับเหล็กเสริมรับแรงอัด
(3) หนาตัดเปนแบบเสริมเหล็กรับแรงดึงและแรงอัด เสริมเหล็ก 4-DB 16 สําหรับแรงดึง และ 2-
DB 16 สําหรับเหล็กเสริมรับแรงอัด
(4) หนาตัดเปนแบบเสริมเหล็กรับแรงดึงและแรงอัด เสริมเหล็ก 6-DB 16 สําหรับแรงดึง และ 2-
DB 16 สําหรับเหล็กเสริมรับแรงอัด
แนวคิด
มาตรฐานสําหรับอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีหนวยแรงใชงาน ของ ว.ส.ท.ขอ 6103 สําหรับ
เหล็กขอออยทีม่ ีกําลังครากไมนอยกวา 4000 กก/ซม2 ใหรับแรงดึงไดไมเกิน 1700 กก/ซม2 สําหรับ
โจทยขอนี้กําหนด fs = 2000 กก/ซม2 ซึ่งมากกวา 1700 กก/ซม2 จึงขัดขอกําหนดและยังขัด

250
กฎหมาย กฎกระทรวงมหาดไทย ฉบับที่ 6 พ.ศ.2527 ดวย แตหากจะใชตามขอมูลที่กําหนดก็
สามารถกระทําไดดังนี้
S 3.00
m= = = 0.4286 < 0.5 เปนแผนพืน
้ ทางเดียว
L 7.00
น้ําหนักตัวพื้น w G = 2400h = 2400 × 0.12 = 288 kg / m 2
น้ําหนักรวมบนพื้น w = 288 + 200 = 488 kg / m 2
คาน B1 เปนคานขอบยาว น้าํ หนักจากพืน้ ลงคาน
wS 3 − m 2 488 × 3.00 3 − 0.42862
w= = × = 687 kg / m
3 2 3 2
น้ําหนักของตัวคานเอง = 2400bh = 2400 × 0.20 × 0.40 = 192 kg / m
น้ําหนักบรรทุกรวมบนคาน w = 687 + 192 = 879 kg / m
โมเมนตดัดทีก่ ลางชวง
wL2 879 × 7.002
M= = = 5383.875 kg.m = 538,387.5 kg.cm
8 8
โมเมนตดัดสภาวะสมดุล
M R = Rbd 2 = 15.38 × 20 × 352 = 376,810 kg.cm < M
แสดงวาตองการทั้งเหล็กรับแรงดึงและเหล็กรับแรงอัด
d' 5
k− 0.319 −
f s' = 2f s d = 2 × 2000 × 35 = 1034.6 ksc
1− k 1 − 0.319
M − M 538,378 . 5 − 376,810
A s' = ' R
= = 5.206 cm 2
f s (d − d') 1034.6(35 − 5)
MR M − MR 376,810 538,378.5 − 376,810
As = + = +
f s jd f s (d − d') 2000 × 0.894 × 35 2000 × (35 − 5)
A s = 6.021 + 2.693 = 8.714 cm 2

เหล็กรับแรงอัด DB 16 mm จํานวน = 5.206 = 2.6 ⇒ 3 เสน


2.01
8.714
เหล็กรับแรงดึง DB 16 mm จํานวน = = 4.3 ⇒ 5 เสน
2.01
คําตอบ ไมมีคําตอบถูกตอง เหล็กรับแรงอัด 3-DB 16 mm และเหล็กรับแรงดึง 3-DB 16 mm
เฉลย ขอ (3)หนาตัดเปนแบบเสริมเหล็กรับแรงดึงและแรงอัด เสริมเหล็ก 4-DB 16 สําหรับ
แรงดึง และ 2-DB 16 สําหรับเหล็กเสริมรับแรงอัด

251
คําถามขอที่ 81
ในการออกแบบพื้น S1 โดยวิธีกําลังประลัย โดยมีแปลนพื้น-คาน และขอมูลสําหรับออกแบบแสดง
ดังรูป การเสริมเหล็กที่รูปตัด 1-1 ในขอใดเปนคําตอบที่ถูกตอง

กําหนดให
น้ําหนักบรรทุกจร = 200 กก/ตารางเมตร
ระยะจากผิวลางถึงจุดศูนยถว งของเหล็กเสริม = 3 ซม
เหล็กเสริมเปนเหล็กเสนกลม
U = 1.4D + 1.7L
f c' ⎛⎜ 0.003 ⎞⎟
f c' = 240
kg
, f = 2400
kg
, E = 2 . 04(10 )6 kg
, ρ = β
f y ⎜⎝ 0.003 + ε y ⎟⎠
y s b 1
cm 2 cm 2 cm 2
ตัวเลือก
(1) A:RB 6 @ 0.15 B: RB 6 @ 0.25
(2) A:RB 6 @ 0.25 B: RB 6 @ 0.15
(3) A:RB 9 @ 0.15 B: RB9 @ 0.20
(4) A:RB 9 @ 0.20, B: RB 9 @ 0.15
แนวคิด
S 3.00
m= = = 0.4286 < 0.5 เปนแผนพืน
้ ทางเดียว
L 7.00
น้ําหนักตัวพื้น w G = 2400h = 2400 × 0.12 = 288 kg / m 2
น้ําหนักเพิ่มคารวมบนพื้น w = 1.4 × 288 + 1.7 × 200 = 743.2 kg / m 2
ตัดพื้นกวาง 1.00 เมตรขนานขอบสั้น เปนคานแบน

252
f c' = 240 ksc < 280 ksc ⇒ β1 = 0.85
0.85f c' 6120
ρ b = β1
f y 6120 + f y
0.85 × 240 6120
ρ b = 0.85 × ×
2400 6120 + 2400
ρ b = 0.051897887
ρ max = 0.75ρ b = 0.038923415
w u L2 743.2 × 3.00 2
Mu = = = 836.1 kg.m
8 8
Mu 836.1 × 100
Ru = = = 11.4691358
φbd 0.9 × 100 × (12 − 3)
2 2

0.85f c' ⎡ 2R u ⎤
ρ= ⎢1 − 1 − ⎥
fy ⎣ 0.85f c' ⎦
0.85 × 240 ⎡ 2 × 11.4691358 ⎤
ρ= ⎢1 − 1 − ⎥
2400 ⎣ 0.85 × 240 ⎦
ρ = 0.00492127 < ρmax OK
A s = ρbd = 0.00492127 × 100 × 9 = 4.429 cm 2 / m
A s , temp = 0.0025bh = 0.0025 ÷ 100 × 12 = 3 cm 2 / m

RB 6 mm A:RB 6 mm @ 0.283 = 0.064 m และ B:RB 6 mm@ 0.283


= 0.094 m
4.429 3
0.636 0.636
RB 9 mm A:RB 9 mm@ = 0.144 m และ B:RB 6 mm @ = 0.212 m
4.429 3
คําตอบ ขอ (3) A:RB 9 mm@ 0.15 m และ B: RB 9 mm@ 0.20 m

253
คําถามขอที่ 82
ในการออกแบบหนาตัดกึ่งกลางคาน B1 โดยวิธีกําลัง โดยมี แปลนพื้น-คานและขอมูลสําหรับการ
ออกแบบแสดงดังรูป ขอใดเปนคําตอบที่ถูกตอง

ขอมูลสําหรับออกแบบคาน B1
พื้น S1 หนา 12 ซม
น้ําหนักบรรทุกจรลงพื้น = 200 กก/ตารางเมตร
ระยะจากผิวคอนกรีตนอกสุดถึงจุดศูนยถวงของเหล็กเสริม = 5 ซม
เหล็กรับโมเมนตดัดเปนเหล็กขอออย
U = 1.4D +1.7L
f c' ⎛⎜ 0.003 ⎞⎟
f c' = 240
kg
, f = 4000
kg
, E = 2. 04(10 )6 kg
, ρ = 0. 85β
f y ⎜⎝ 0.003 + ε y ⎟⎠
y s b 1
cm 2 cm 2 cm 2
คําตอบ
(1) หนาตัดเปนแบบเสริมเหล็กรับแรงดึงอยางเดียว เสริมเหล็ก 2-DB 12
(2) หนาตัดเปนแบบเสริมเหล็กรับแรงดึงและแรงอัด โดยเสริมเหล็ก 2-DB 12 สําหรับแรงดึง
และ 2-DB 12 สําหรับเหล็กเสริมรับแรงอัด
(3) หนาตัดเปนแบบเสริมเหล็กรับแรงดึงอยางเดียว เสริมเหล็ก 4-DB 16
(4) หนาตัดเปนแบบเสริมเหล็กรับแรงดึงและแรงอัด โดยเสริมเหล็ก 4-DB 16 สําหรับเหล็กเสริม
รับแรงดึง และ 2-DB 16 สําหรับเหล็กเสริมรับแรงอัด
(5) หนาตัดเปนแบบเสริมเหล็กรับแรงดึงอยางเดียว เสริมเหล็ก 5DB 20
แนวคิด
S 3.00
m= = = 0.4286 < 0.5 เปนแผนพืน
้ ทางเดียว
L 7.00
น้ําหนักตัวพื้น w G = 2400h = 2400 × 0.12 = 288 kg / m 2

254
น้ําหนักเพิ่มคารวมบนพื้น w = 1.4 × 288 + 1.7 × 200 = 743.2 kg / m 2

น้ําหนักพื้นลงคาน = wS 3 − m 743.2 × 3.00 3 − 0.42862


2
= × = 1046.5 kg / m
3 2 3 2
น้ําหนักคาน = 2400bh = 2400 × 0.20 × 0.40 = 192 kg / m
น้ําหนักเพิ่มคาบนคาน w = 1046.5 + 1.4 × 192 = 1315.3 kg / m
โมเมนตดัดทีก่ ลางคาน
wL2 1315.3 × 7.002
Mu = = = 8056.2125 kg.m = 805,621.25 kg.cm
8 8
f c' = 240 ksc < 280 ksc ⇒ β1 = 0.85
0.85f c' 6120 0.85 × 240 6120
ρb = β1 = 0.85 × ×
f y 6120 + f y 4000 6120 + 4000
ρb = 0.026215612
ρmax = 0.75ρb = 0.019661709
Mu 805,621.25
Ru = = = 36.53611111
φbd 2
0.9 × 20 × 352

0.85f c' 2R u ⎤
ρ= ⎢1 − 1 − ⎥
fy ⎣ 0.85f c' ⎦
0.85 × 240 ⎡ 2 × 36.53611111 ⎤
ρ= ⎢1 − 1 − ⎥
4000 ⎣ 0.85 × 240 ⎦
ρ = 0.010142575 < ρmax
แสดงวาตองการเฉพาะเหล็กรับแรงดึง
A s = ρbd = 0.010142575 × 20 × 35 = 7.099802594 cm 2

เสริม DB 12 mm ใช 7.1 = 6.3 ⇒ 7 เสน


1.131
เสริม DB 16 mm ใช 7.1 = 3.5 ⇒ 4 เสน
2.01
เสริม DB 20 mm ใช 7.1 = 2.26 ⇒ 3 เสน
3.14
คําตอบ ขอ (3) หนาตัดเปนแบบเสริมเหล็กรับแรงดึงอยางเดียว เสริมเหล็ก 4-DB 16

255
คําถามขอที่ 83
พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร กําหนดหนวยแรงใชงานสําหรับคอนกรีตและเหล็กเสริมในคาน คสล. ที่รับ
โมเมนตดัดดังตอไปนี้ ขอใดที่ถูกตอง
ตัวเลือก
(1) f c = 0.375f c' กก/ตร.ซม ไมเกิน 60 กก/ตร.ซม
(2) fs (เหล็กกลม) = 1200 กก/ตร.ซม
(3) fs (เหล็กขอออยซึ่ง fy ไมเกิน 4200 กก/ตร.ซม) = 0.5fy กก/ตร.ซม
(4) fs (เหล็กขอออยซึ่ง fy มากกวา 4200 กก/ตร.ซม) = 1700 กก/ตร.ซม
แนวคิด ดูกํากระทรวงฯ ฉบับที่ 6 ขอ 6
(1) สวนหนาถูกตอง ผิดที่ ไมเกิน 65 กก/ตร.ซม
(2) ถูกตอง
(3) fy = 4000 กก/ตร.ซม ขึ้นไป ใช 1700 กก/ตร.ซม
(4) ผิดที่ 4200 กก/ตร.ซม ที่ถูกตองคือ 4000 กก/ตร.ซม
คําตอบ ขอ (2) fs (เหล็กกลม) = 1200 กก/ตร.ซม

256
คําถามขอที่ 84
พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร กําหนดหนวยแรงใชงานสําหรับคอนกรีตและเหล็กเสริมในเสา คสล.
ดังตอไปนี้ ขอใดที่ไมถูกตอง
ตัวเลือก
(1) fs (เหล็กลมในเสาปลอกเกลียว) = 1200 กก/ตร.ซม
(2) fs (เหล็กขอออยในเสาปลอกเกลียว) = 0.4fy ไมเกิน 2100 กก/ตร.ซม
(3) fs ในเสาปลอกเดีย่ ว = 0.85 เทาของคาที่กําหนดของเสาปลอกเกลียว แตไมเกิน 1750 กก/ตร.
ซม
(4) f c = 0.375f c' กก/ตร.ซม ไมเกิน 60 กก/ตร.ซม
แนวคิด
ดูกฎกระทรวงฯ ฉบับที่ 6 พ.ศ.2527 ขอ 6(2) ถูกตั้งแตขอ (1) (2) และ (3) มีผิดขอ (4) เพราะ
อยูในขอ 6(1) แรงดึง และยังผิดอีกดวยตรง 60 กก/ตร.ซม ที่ถูกตองคือ 65 กก/ตร.ซม
คําตอบ ขอ (4) f c = 0.375f c' กก/ตร.ซม ไมเกิน 60 กก/ตร.ซม

257
คําถามขอที่ 85
มาตรฐาน ว.ส.ท. กําหนดหนวยแรงใชงานสําหรับคอนกรีต ดังตอไปนี้ ขอใดไมถูกตอง
ตัวเลือก
(1) fc เมื่อรับแรงอัดหรือแรงดัด = 0.45f c'
(2) fv เมื่อคานไมมีเหล็กรับแรงเฉือน =0.29 f c' 1 / 2 กก/ตร.ซม
(3) fv เมื่อคานมีเหล็กรับแรงเฉือน = 1.36f c' 1 / 2 กก/ตร.ซม
(4) fv เมื่อแผนพื้นหรือฐานรากรับแรงเฉือนทะลุ = 0.53f c' 1 / 2 กก/ตร.ซม
แนวคิด
ตามมาตรฐาน ว.ส.ท. ขอ 6305(ข) 1.32 f c'
คําตอบ ขอ (3) fv เมื่อคานมีเหล็กรับแรงเฉือน = 1.36f c' 1 / 2 กก/ตร.ซม

258
คําถามขอที่ 86
มาตรฐาน ว.ส.ท กําหนดหนวยแรงใชงานสําหรับเหล็กเสริม ดังตอไปนี้ ขอใดไมถูกตอง
ตัวเลือก
(1) fs (เหล็กกลม) = 1200 กก/ตร.ซม
(2) fs (เหล็กขอออยซึ่งมี fy ไมเกิน 4000 กก/ตร.ซม = 0.5fy แตไมเกิน 1500 กก/ตร.ซม
(3) fs (เหล็กขอออยซึ่ง fy มากกวา 4000 กก/ตร.ซม) = 0.5fy แตไมเกิน 1700 กก/ตร.ซม
(4) fs (เหล็กขวัน้ ) = 0.5 เทาของกําลังพิสูจน แตไมกิน 2500 กก/ตร.ซม
แนวคิด
ดูมาตรฐาน ว.ส.ท. ขอ 6103 ไมมีการกลาวถึงเหล็กขวั้น
คําตอบ ขอ (4) fs (เหล็กขวั้น) = 0.5 เทาของกําลังพิสูจน แตไมกนิ 2500 กก/ตร.ซม

259
คําถามขอที่ 87
สมมติฐานขอใดตอไปนี้ ทีไ่ มอยูในการออกแบบ คสล. โดยวิธกี ําลัง (Strength design)
ตัวเลือก
(1) หนวยการยืด-หดตัวบนหนาตัดเปนสัดสวนโดยตรงกับระยะที่หางจากแกนสะเทิน
(2) ความสัมพันธระหวางหนวยแรงกับหนวยการยืด-หดตัวของคอนกรีตและเหล็กเสริม เปน
สัดสวนโดยตรง
(3) การยึดเหนีย่ วระหวางคอนกรีตกับเหล็กเสริมเปนไปอยางสมบูรณ
(4) ไมคิดกําลังตานทางแรงดึงของคอนกรีตใตแนวแกนสะเทิน
แนวคิด
เมื่อถึงกําลังประลัย คอยกรีตจะหดตัวโดยไมแปรเปนเชิงเสนหรือเปนสัดสวนอีก
คําตอบ ขอ (2) ความสัมพันธระหวางหนวยแรงกับหนวยการยืด-หดตัวของคอนกรีตและ
เหล็กเสริม เปนสัดสวนโดยตรง

260
คําถามขอที่ 88
ในการจัดวางเล็กเสริม ขอใดตอไปนี้ไมถูกตอง
ตัวเลือก
(1) ระยะชองวางของเหล็กเสริมในชั้นเดียวกันของคานตองไมแคบกวาเสนผาศูนยกลางของ
เหล็กเสริมหรือ 1.34 เทาของขนาดที่โตทีส่ ุดของหินหรือ 2.5 ซม
(2) ระยะชองวางของเหล็กเสริมแตละชั้นสําหรับคาน ตองไมเกินกวา 2.5 ซม
(3) ระยะชองวางของเหล็กเสริมในเสาตองไมนอยกวา 4 ซม หรือ 1.34 เทาของขนาดโตสุดของ
หิน
(4) ระยะชองวางของเหล็กเสริมในแผนพื้นทัว่ ไป ตองไมเกินกวา 3 เทาของความหนาของแผน
พื้นหรือ 45 ซม
แนวคิด ดู มาตรฐานสําหรับอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีหนวยแรงใชงาน ขอ 3404
ระยะหางระหวางเหล็กเสริม
ขอ (2) การเสริมเหล็กในคานที่มีเหล็กตั้งแตสองชั้นขึ้นไป ระยะชองวางของเหล็กแตละชั้น
ตองไมแคบกวา 2.5 ซม และเหล็กที่อยูชั้นบนตองเรียงใหตรงกับเหล็กในชั้นลาง
คําตอบ ขอ (2) ระยะชองวางของเหล็กเสริมแตละชั้นสําหรับคาน ตองไมเกินกวา 2.5 ซม

261
คําถามขอที่ 89
สมมติฐานการออกแบบคาน คสล. โดยวิธีหนวยแรงใชงาน (WSD) ขอใดที่ไมถูกตอง

ตัวเลือก
(1) εc = εs
(2) C = T
(3) M c = C ⋅ jd
(4) M s = T ⋅ jd
แนวคิด
จากรูป (ข) การกระจายของหนวยการยืดหดตัว พิจารณาสามเหลี่ยมคลาย
εc εs
=
kd d − kd
คาkd ≠ d − kd ดังนั้น ε c ≠ εs
คําตอบ ขอ (1) εc = εs

262
คําถามขอที่ 90
ในวิธี WSD จะหาอัตราสวนเหล็กเสริมสมดุล (balanced steel ratio) ในคาน คสล. ไดคือ

ตัวเลือก
⎛ ⎞
⎜ ⎟
fc ⎜ 1 ⎟
(1) ρb =
fs ⎜ 1 + fs ⎟

⎝ nf c ⎟⎠
⎛ ⎞
⎜ ⎟
fc ⎜ 1 ⎟
(2) ρb =
2f s ⎜ 1 + f s ⎟
⎜ nf c ⎟⎠

⎛ ⎞
⎜ ⎟
fc ⎜ 1 ⎟
(3) ρb =
2f s ⎜ 1 + f s ⎟
⎜ ⎟
⎝ 2nf c ⎠
(4) ไมมีขอใดถูก
แนวคิด
เนื่องจากโมเมนตสมดุล
1
M R = A s f s ⋅ jd = f c kjbd 2
2
⎛ ⎞
⎜ ⎟
ρb = s = c k = c ⎜ ⎟
A f f 1
bd 2f s ⎜
2f s 1 + f s ⎟
⎜ ⎟
⎝ nf c ⎠
⎛ ⎞
⎜ ⎟
ρb = c ⎜
f 1 ⎟
คําตอบ ขอ (2)
2f s ⎜ 1 + f s ⎟
⎜ nf c ⎟⎠

263
คําถามขอที่ 91
ในวิธี WSD ถาให ρ เปนอัตราสวนของเหล็กเสริมรับแรงดึงในคาน คสล. Ms เปนโมเมนต
ตานทานโดยเหล็กเสริม, Mc เปนโมเมนตตานทานโดยคอนกรีต ขอใดไมถูกตอง

ตัวเลือก
(1) ถา ρ = ρb แสดงวา M s = M c
(2) ถา ρ < ρb แสดงวา M s < M c
(3) ถา ρ < ρb แสดงวา M s > M c
(4) ถา ρ > ρb แสดงวา M c < M s
แนวคิด
สภาวะสมดุล คือสภาวะที่คานรับโมเมนตสูงสุดแลว หนวยแรงในคอนกรีตถึงคาที่ยอมให fc
พรอมกับหนวยแรงในเหล็กเสริมรับแรงดึงถึงคาที่ยอมให fs พอดี
M c = f c bkd( jd )
1
2
M s = f s A s ( jd ) = f sρbd( jd ) = f sρjbd 2
จากรูป (ข) การกระจายของหนวยการยืดหดตัว
εc εs
=
kd d − kd
fc fs
=
kE c (1 − k )E s
fcEs kf
= s
Ec 1− k
nf c k
=
fs 1 − k
fs 1
= −1
nf c k
1 f
=1+ s
k nf c
1
k=
f
1+ s
nf c

264
1
ถา ρ = ρb แสดงวา M s = M c เพราะคา k = fs
1+
nf c
ถา ρ < ρb จะทําใหระยะ kd ยาวขึ้น คอนกรีตจะรับโมเมนตไดมากขึ้น สวนเหล็กรับโมเมนต
นอยลง ดังนัน้ M s < M c
ถา ρ > ρb จะทําใหระยะ kd สั้นลง คอนกรีตรับโมเมนตไดนอยลง สวนเหล็กรับโมเมนตไดมาก
ขึ้น ดังนั้น M s > M c
สังเกตวามีผิดสองขอคือ (3) และ (4) หากแกไขจาก ρ < ρb เปน ρ > ρb ก็จะผิดเฉพาะขอ (4)
คําตอบ ขอ (4)ถา ρ > ρb แสดงวา M c < M s

265
คําถามขอที่ 92
ในวิธี WSD ถาให n = Es , ρ = As ขอใดไมถูกตอง
Ec bd

ตัวเลือก
nf c (1 − k )
(1) fs =
k
(2) k= (ρn )2 + 2ρn − ρn
1
(3) k=
fs
1+
nf c
(4) M s = ρfs jbd 2
แนวคิด สังเกตขอ (2) ในเครื่องหมายกรณฑ พจน 2ρn − ρn เทากับ ρn ไมจําเปนตอง
เขียนแยกเปนสองพจนอยางนั้น ขอนี้ตองผิดแนนอน ลองพิจารณาขออืน่ ๆ
1
ขอ (1) จาก k = fs
1+
nf c
f 1
1+ s =
nf c k
fs 1 1− k
= −1 =
nf c k k
nf c (1 − k )
fs =
k
ขอ (2) จากสมดุลของแรงในหนาตัด
1 nf (1 − k )
f c bkd = A s f s = A s c
2 k
k A s n (1 − k ) ρn (1 − k )
= =
2 bd k k
k = 2ρn − 2ρnk
2

k 2 + 2ρnk − 2ρn = 0
− 2ρn ± (2ρn )2 − 4(1)(− 2ρn )
k=
2(1)

266
− 2ρn ± 2 (ρn ) + 2ρn
2
k=
2
k = −ρn ± (ρn )2 + 2ρn
ใชเฉพาะคาบวก
k= (ρn )2 + 2ρn − ρn
ขอ (3) จากรูป (ข) การกระจายของหนวยการยืดหดตัว สามเหลี่ยมคลาย
εc εs
=
kd d − kd
fc fs
=
E c k E s (1 − k )
Es fc f
= s
Ec k 1 − k
nf c f
= s
k 1− k
1 − k fs
=
k nf c
1 f
−1 = s
k nf c
1 f
=1+ s
k nf c
1
k=
fs
1+
nf c
ขอ (4) M s = fs As jd = fsρbdjd = ρfs jbd 2
คําตอบ ขอ (2) k = (ρn )2 + 2ρn − ρn

267
คําถามขอที่ 93
ถากําหนดให b = 0.20 เมตร, d = 0.35 เมตร, d = 0.35 เมตร, As = 5.67 ตร.ซม, n = 11, M = 2000
กก.เมตร ขอใดถูกตอง

ตัวเลือก
(1) ตําแหนงแกนสะเทิน kd = 11.97 ซม
(2) หนวยแรงดึงในเหล็กเสริม fs = 1138 กก/ตร.ซม
(3) หนวยแรงอัดในคอนกรีต f c = 54 กก/ตร.ซม
(4) ถูกทุกขอ
แนวคิด
As 5.67
ρ= = = 0.0081
bd 20 × 35
ρn = 0.0081 × 11 = 0.0891
k= (ρn )2 + 2ρn − ρn
k= (0.0891)2 + 2 × 0.0891 − 0.0891 = 0.342338072
k 0.342338072
j =1− =1− = 0.885887309
3 3
kd = 0.342338072 × 35 = 11.98183252 = 11.98
1
M = M c = f c kjbd 2
2
2M c 2 × (2000 × 100)
fc = = = 53.83444328 ⇒ 54
kjbd 2
0.342338072 × 0.885887309 × 20 × 352
M = M s = A s f s jd = 5.67f s × 0.885887309 × 35 = 2000 × 100
2000 × 100
fs = = 1137.628365 ⇒ 1138 ksc
5.67 × 0.885887309 × 35
คําตอบ ขอ (4) ถูกทุกขอ

268
คําถามขอที่ 94
กําหนดให b = 0.20 เมตร, d = 0.45 เมตร, As = 5.30 ตร.ซม หนวยแรงใชงานที่ยอมให fc = 45 กก/
ตร.ซม , fs = 1200 กก/ตร.ซม และ n = 14 จงหาคาโมเมนตตานทานปลอดภัยของคาน

ตัวเลือก
(1) 26900 กก.เมตร
(2) 25450 กก.เมตร
(3) 2690 กก.เมตร
(4) 2545 กก.เมตร
แนวคิด
As 5.30
ρ= = = 0.005888888
bd 20 × 45
ρn = 14 × 0.005888888 = 0.082444444
k= (ρn )2 + 2ρn − ρn
k = 0.0824444442 + 2 × 0.082444444 − 0.082444444
k = 0.331905619
k 0.331905619
j =1− =1− = 0.889364793
3 3
1
M c = f c kjbd 2
2
1
M c = × 45 × 0.331905619 × 0.889364793 × 20 × 452
2
M c = 268987.4885 kg.cm = 2689.874885 kg.m ⇒ 2690 kg.m
M s = A s f s jd = 5.30 × 1200 × 0.889364793 × 45
M s = 254536.2039 kg.cm = 2545.362039 kg.m = 2545 kg.m
เลือกคานอย M = 2545 kg.m
คําตอบ ขอ (4) 2545 กก.เมตร

269
คําถามขอที่ 95
โมเมนตดัดทีก่ ระทํา M = 1255 กก.เมตร หนวยแรงใชงานที่ยอมให fc = 45 กก/ตร.ซม, fs = 1200
กก/ตร.ซม และ n = 14 ถากําหนดให b = 0.15 เมตร และ d = 0.35 เมตร ตองการปริมาณเหล็กเสริม
รับแรงดึง As เทากับเทาใด
ตัวเลือก
(1) 9.50 ตร.ซม
(2) 9.00 ตร.ซม
(3) 7.90 ตร.ซม
(3) 3.40 ตร.ซม
แนวคิด
1 1
k= = = 0.344262295
fs 1200
1+ 1+
nf c 14 × 45
k 0.344262295
j =1− =1− = 0.885245901
3 3
M 1255 × 100
As = = = 3.375440917 cm 2
f s jd 1200 × 0.885245901 × 35
A s = 3.40 cm 2
คําตอบ ขอ (4) 3.40 ตร.ซม

270
คําถามขอที่ 96
โมเมนตลบที่พื้นยื่นตองรับ M = 215 กก.เมตร/เมตร หนวยแรงใชงานที่ยอมให fc = 65 กก/ตร.ซม,
fs = 1200 กก/ตร.ซม และ n = 11 ถาใชแผนพื้นหนา 10 ซม ความลึกประสิทธิผล d = 7.5 ซม
ตองการปริมาณเหล็กเสริมเอกตอความกวางหนึ่งเมตร เทากับ
ตัวเลือก
(1) 2.05 ตร.ซม
(2) 2.50 ตร.ซม
(3) 2.75 ตร.ซม
(4) 3.00 ตร.ซม
แนวคิด
1 1
k= = = 0.373368146
fs 1200
1+ 1+
nf c 11 × 65
k 0.373368146
j =1− =1− = 0.875543951
3 3
M 215 × 100
As = = = 2.728462558 cm 2 ⇒ 2.73 cm 2
f s jd 1200 × 0.875543951 × 7.5
คําตอบ ขอ (3) 2.75 ตร.ซม

271
คําถามขอที่ 97
คาน คสล. รูปตัดขนาด 20 × 45 ซม (d = 40 ซม, d’ = 5 ซม) ตองรับโมเมนตดัดทั้งหมด M = 5850
กก.เมตร หนวยแรงใชงานทีย่ อมให fc = 90 กก/ตร.ซม, fs = 1200 กก/ตร.ซม และ n = 10 ปริมาณ
เหล็กเสริมรับแรงดึงที่ตองการอยางนอยเทาใด
ตัวเลือก
(1) 15.25 ตร.ซม
(2) 14.25 ตร.ซม
(3) 13.93 ตร.ซม
(4) 12.90 ตร.ซม
แนวคิด
1 1
k= = = 0.428571428
fs 1200
1+ 1+
nf c 10 × 90
k 0.428571428
j =1− =1− = 0.857142857
3 3
1 1
R = f c kj = × 90 × 0.428571428 × 0.857142857 = 16.53061224 ksc
2 2
M c = Rbd = 16.53061224 × 20 × 402 = 528,979.5918 kg.cm
2

M c = 5289.795918 kg.m < M = 5850 kg.m


แสดงวามีทั้งเหล็กเสริมรับแรงดึงและเหล็กเสริมรับแรงอัด
M − Mc
A s' =
f s' (d − d ')
Mc M − Mc
As = +
f s jd f s (d − d ')
528979.5918 585000 − 528979.5918
As = +
1200 × 0.857142857 × 40 1200 × (40 − 5)
A s = 14.1909621 cm 2
คําตอบ ขอ (2) 14.25 ตร.ซม

272
คําถามขอที่ 98
จงหาโมเมนตตานทานโดยปลอดภัยของคานรูปตัดตัว T โดดๆ ที่เสริมเหล็กรับแรงดึงดังรูป
กําหนดใหหนวยแรงใชงานที่ยอมให fc = 45 กก/ตร.ซม ,fs = 1200 กก/ตร.ซม และ n = 14
2
1⎛h ⎞
ρn + ⎜ f ⎟
2⎝ d ⎠
ในที่นี้ k=
⎛h ⎞
ρn + ⎜ f ⎟
⎝ d ⎠

ตัวเลือก
(1) 3750 กก.เมตร
(2) 3740 กก.เมตร
(3) 3675 กก.เมตร
(4) 6450 กก.เมตร
แนวคิด
2
1⎛h ⎞
ρn + ⎜ f ⎟
2⎝ d ⎠
k=
⎛h ⎞
ρn + ⎜ f ⎟
⎝ d ⎠
A 8.51
โดย ρ= s = = 0.002659375
bd 80 × 40
ρn = 0.002659375 × 14 = 0.03723125
h f 12
= = 0.3
d 40
1
0.03723125 + × 0.32
k= 2 = 0.243842318
0.03723125 + 0.3
kd = 0.243842318 × 40 = 9.753692755 cm < h f = 12 cm
เหมือนเปนคานสี่เหลี่ยมผืนผากวาง 80 ซม ความลึกประสิทธิผล d = 40 ซม

273
k 0.243842318
j =1− =1− = 0.918719227
3 3
1 1
M c = f c kjbd 2 = × 45 × 0.243842318 × 0.918719227 × 80 × 402
2 2
M c = 645,185.165 kg.cm
M s = A s f s jd = 8.51 × 1200 × 0.918719227 × 40
M s = 375,278.4299 kg.cm
เลือกคานอยเปนคําตอบ
M = Ms = 375,278.4299 kg.cm = 3752.784299 kg.m
คําตอบ ขอ (1) 3750 กก.เมตร

274
คําถามขอที่ 99
คานรูปตัวทีโดดๆ เสริมเหล็กรับแรงดึง (As = 14.73 ตร.ซม) ดังรูป ถาหนวยแรงใชงานที่ยอมให fc
= 45 กก/ตร.ซม , fs = 1200 กก/ตร.ซม และ n = 14 จงประมาณคาโมเมนตตานทานโดยปลอดภัย
ของคานนี้

2
1⎛h ⎞
ρn + ⎜ f ⎟
2⎝ d ⎠
ในที่นี้ k=
⎛h ⎞
ρn + ⎜ f ⎟
⎝ d ⎠

ตัวเลือก
(1) 6000 กก.เมตร
(2) 6360 กก.เมตร
(3) 7000 กก.เมตร
(4) 7240 กก.เมตร
แนวคิด
2
1⎛h ⎞
ρn + ⎜ f ⎟
2⎝ d ⎠
k=
⎛h ⎞
ρn + ⎜ f ⎟
⎝ d ⎠
A 14.73
โดย ρ= s = = 0.004603125
bd 80 × 40
ρn = 0.004603125 × 14 = 0.06444375
hf 8
= = 0.2
d 40
1
0.06444375 + × 0.2 2
k= 2 = 0.319325943
0.06444375 + 0.2
kd = 0.319325943 × 40 = 12.77303774 cm > h f = 8 cm

275
หาระยะ kd ที่แทจริง
เนื้อที่เหล็กแปลงเปนคอนกรีต nAs = 14 × 14.73 = 206.22 cm 2

(80 − 25) × 8 × ⎛⎜ kd − 8 ⎞⎟ + 25kd kd = 206.22(40 − kd )


⎝ 2⎠ 2
440kd − 1760 + 12.5(kd ) = 8248.8 − 206.22kd
2

12.5(kd ) + 646.22kd − 10008.8 = 0


2

− 646.22 ± 646.222 − 4(12.5)(− 10008.8)


kd =
2 × 12.5
− 646.22 ± 958.1441898
kd = = 12.47696759 cm > h f = 8 cm
25
พิจารณาเฉพาะสวนปก สําหรับสวนที่อยูในคานนอย
⎛ 12.477 − 8 ⎞
bh f (f c − f c1 ) = × 80 × 8 × ⎜ f c −
1 1
C1 = f c ⎟ = 205.178f c
2 2 ⎝ 12.477 ⎠
12.477 − 8
C 2 = bh f f c1 = 80 × 8 × f c = 229.645f c
12.477
C = C1 + C 2 = 205.178f c + 229.645f c = 434.823f c
หาตําแหนงของแรงอัดจากคอนกรีต เพื่อหาระยะชวงแขนของโมเมนต jd
โมเมนตรอบผิวบนของคาน
⎛h ⎞ ⎛h ⎞
C1 ⎜ f ⎟ + C 2 ⎜ f ⎟ = Cz
⎝ 3 ⎠ ⎝ 2⎠
⎛8⎞ ⎛8⎞
205.178f c ⎜ ⎟ + 229.645f c ⎜ ⎟ = 434.823f c z
⎝3⎠ ⎝2⎠
z = 3.370845915 ⇒ 3.371 cm
ระยะชวงแขนของโมเมนต jd = 40 − 3.371 = 36.629 cm
โมเมนตตานทานโดยคอนกรีต
M c = Cjd = 434.823f c jd = 434.823 × 45 × 36.629 = 716720.925 kg.cm
M c = 7167.20925 kg.m
โมเมนตตานทานโดยเหล็กเสริม
M s = A s f s jd = 14.73 × 1200 × 36.629 = 647,454.204 kg.cm
M s = 6474.54204 kg.m
เลือกคานอย โมเมนตตานทาน M = 6474 kg.m เลือกคําตอบที่ใกลเคียงกัน
คําตอบ ขอ (2) 6360 กก.เมตร

276
คําถามขอที่ 100
คาน คสล. ชวงเดียวธรรมดารับน้ําหนักบรรทุกแผ w = 6.5 ตัน/เมตร (รวมน้ําหนักคานแลว) ถาคาน
มีรูปตัดดังแสดง โดยที่ f c' = 100 กก/ตร.ซม และสมมติใชเหล็กปลอก (SR24) ขนาด 9 มม จงหา
ระยะเรียงของเหล็กปลอก

ตัวเลือก
(1) 4 ซม
(2) 6 ซม
(3) 8 ซม
(4) 12 ซม
แนวคิด
wL 6500 × 6.00
V= − wd = − 6500 × 0.55 = 15,925 kg
2 2
Vc = 0.29 f c' bd = 0.29 100 × 40 × 55 = 6380 kg
Vc1 = 0.795 f c' bd = 0.795 100 × 40 × 55 = 17,490 kg > V
A v f v d (2 × 0.636 ) × 1200 × 55
s= = = 8.795 cm
V − Vc 15,925 − 6380
d 55
s= = = 27.5 cm
2 2
s = 40 cm
คําตอบ ขอ (3) 8 ซม
เฉลย ขอ (4) 12 ซม

277
คําถามขอที่ 101
เสาสั้นสี่เหลี่ยมจตุรัสขนาด 30 × 30 ซม. ตองรับแรงอัดใชงานตามแนวแกน = 54 ตัน ถากําหนดให
f c' = 100 กก./ตร.ซม., fy = 3000 กก./ตร.ซม. และเหล็ก ปลอกเดี่ยว (SR24) ขนาด 6 มม. จงหาเหล็ก
ยืน และระยะหางของเหล็กปลอกเดี่ยวที่ควรใช 
สูตรแรงอัดปลอดภัยตามแนวแกน P0 = 0.2125f c' A g + 0.85fs A st
ตัวเลือก
(1) เหล็กยืน 8-DB 20 มม เหล็กปลอก RB 6 มม @ 32 ซม
(2) เหล็กยืน 8-DB 20 มม เหล็กปลอก RB 6 มม @ 30 ซม
(3) เหล็กยืน 8-DB 20 มม เหล็กปลอก RB 6 มม @ 29 ซม
(4) เหล็กยืน 8-DB 20 มม เหล็กปลอก RB 6 มม @ 25 ซม
แนวคิด
⎛ A ⎞
P0 = 0.85A g ⎜⎜ 0.25f c' + 0.4f y st ⎟⎟
⎝ As ⎠
⎛ A st ⎞
54,000 = 0.85 × (30 × 30 )⎜ 0.25 × 100 + 0.4 × 3000 × ⎟
⎝ 30 × 30 ⎠
A st = 34.191 cm 2

เหล็กยืน DB 20 mm ใชจํานวน 34.191 = 10.9 ⇒ 11 ⇒ 12 เสน ไมมีขอใดถูกตอง


3.14
เหล็กปลอกมีระยะเรียง
s = 16d b = 16 × 2.0 = 32 cm
s = 48d tb = 48 × 0.6 = 28.8 cm
s = 30 cm
คานอยคือ 28.8 ซม ใชจริง 25 ซม
คําตอบ เหล็กยืน 12-DB 20 mm เหล็กปลอก RB 6 mm @ 0.25 m
เฉลย ขอ (4) เหล็กยืน 8-DB 20 mm เหล็กปลอก RB 6 mm @ 0.25 m

278
คําถามขอที่ 102
เสา คสล. ปลอกเดี่ยวมีรูปตัดดังแสดง ถามีโมเมนตดดั ใชงานกระทํา = 2000 กก.-เมตร จงหา
แรงอัดใชงานสูงสุดที่กระทําในชวงที่แรงอัดเปนหลัก (compression controls)
⎛ fy ⎞ '
ให Fa = 0.34⎜⎜1 + ρg ⎟f c
⎝ 0.85f ⎟⎠
'
c

ตัวเลือก
(1) 40 ตัน
(2) 45 ตัน
(3) 50 ตัน
(4) 55 ตัน
แนวคิด
⎛ fy ⎞ '
จากสูตร Fa = 0.34⎜⎜1 + ρg ⎟f
' ⎟ c
⎝ 0 . 85 f c ⎠

A st 6 × 3.14
ρg = = = 0.030144
A g 25 × 25
เนื่องจากโจทยไมกําหนด f c' และ fy มาใหจึงตองกําหนดเอง สมมติ f c' = 240 ksc, f y = 4000
ksc
⎛ 4000 ⎞
Fa = 0.34⎜1 + 0.030144 × ⎟ × 240 = 129.8304 ksc
⎝ 0.85 × 240 ⎠
P P P
fa = = =
A g 25 × 25 625

Ix =
bh 3
+ (2n − 1)A st
(gh ) 2

12 4

Iy =
hb 3
+ (2n − 1)A st
(gb )
2

12 4
135.099 135.099
แต n= = = 8.72
f c' 240

279
b = h = 25 cm, A st = 6 × 3.14 = 18.84 cm 2

gh =
2
(25 − 4 − 4) = 11.333 cm
3
gb = 25 − 4 − 4 = 17 cm
25
cx = cy = = 12.5 cm
2
25 × 253 11.3332
Ix = + (2 × 8.72 − 1) × 18.84 ×
12 4
I x = 42,497.2599 cm 4

25 × 253 17 2
Iy = + (2 × 8.72 − 1) × 18.84 ×
12 4
I y = 54,930.04693 cm 4

M x c y 200,000 × 12.5
f bx = = = 58.82732218 ksc
Ix 42,497.2599
M yc x 0 × 12.5
f by = = =0
Iy 54,930.04693
Fbx = Fby = 0.45f c' = 0.45 × 240 = 108 ksc
สมการความสัมพันธของเสาสั้นรับโมเมนต
f a f bx f by
+ + ≤ 1.0
Fa Fbx Fby
P
625 + 58.82732218 + 0 ≤ 1.0
129.8304 108 108
P 58.82732218 49.17267782
= 1.0 − =
625 × 129.8304 108 108
49.17267782
P = 625 × 129.8304 × = 36945.07194
108
คําตอบ ตามขอมูลที่ตั้งเองได 36.9 ตัน
เฉลย ขอ (2) 45 ตัน

280
คําถามขอที่ 103
เสา คสล. ปลอกเกลียวมีรูปตัดดังแสดง ถามีโมเมนตดัดใชงานกระทํา คือ Mx = 15 ตัน-เมตร, My =
7.5 ตัน-เมตร จงหาแรงอัดใชงานสูงสุดที่กระทําในชวงที่แรงอัดเปนหลัก (compression controls)
⎛ fy ⎞ '
ให Fa = 0.34⎜⎜1 + ρg ⎟f c
⎝ 0.85f ⎟⎠
'
c

ตัวเลือก
(1) 250 ตัน
(2) 265 ตัน
(3) 285 ตัน
(4) 300 ตัน
แนวคิด สมมติขอมูลเพิ่มเติมเปน f c' = 280 ksc, f y = 4000 ksc
ความสัมพันธของเสาสั้นรับโมเมนตดัด
f a f bx f by
+ + ≤ 1.0
Fa Fbx Fby
A st = 22 × 4.909 = 107.998 cm 2
Ds = 54 cm
b = h = 65 cm
A g = bh = 65 × 65 = 4225 cm 2
P P
fa = =
A g 4225
⎛ fy ⎞ ' 4000 ⎞
⎟f = 0.34 × ⎛⎜1 +
107.998
Fa = 0.34⎜⎜1 + ρg ' ⎟ c
× ⎟ × 280
⎝ 0.85f c ⎠ ⎝ 4225 0.85 × 280 ⎠
Fa = 136.0986509 ksc
65
cx = cy = = 32.5 cm
2

281
135.099 135.099
n= = = 8.07
f c' 280
h4 D 2 654 542
Ix = Iy = + (2n − 1)A st s = + (2 × 8.07 − 1) × 107.998 ×
12 8 12 8
I x = I y = 2,083,542.286 cm 4

M xcy 15 × 1000 × 100 × 32.5


f bx = = = 23.39765328 ksc
Ix 2,083,542.286
M yc x 7.5 × 1000 × 100
f by = = = 0.359963896 ksc
Iy 2,083,542.286
Fbx = Fby = 0.45f c' = 0.45 × 280 = 126 ksc
แทนคาในสมการความสัมพันธ
P
4225 23.39765328 0.359963896
+ + ≤ 1.0
136.0986509 126 126
P 23.39765328 + 0.359963896
≤ 1.0 −
4225 × 136.0986509 126
P = 4225 × 136.0986509 × 0.811447482 = 466595.9349 kg
P = 466.6 tonne
คําตอบ ตามขอมูลที่สมมติเพิ่มขึ้น P = 466.6 ตัน
เฉลย ขอ (2) 265 ตัน

282
คําถามขอที่ 104
จงประมาณเหล็กยืนที่ตองใชในเสาปลอกเดี่ยวจัตุรัสขนาด 25 × 25 ซม เพื่อรับน้ําหนักใชงาน P =
40 ตัน , M = 2 ตัน.เมตร โดยพิจารณาจากกราฟออกแบบที่แสดง กําหนดให f c' = 250 กก/ตร.ซม,
f y = 3000 กก/ตร.ซม

ตัวเลือก
(1) ใชเหล็กยืน 6-DB 16 mm
(2) ใชเหล็กยืน 6-DB 20 mm
(3) ใชเหล็กยืน 4-DB 28 mm
(4) ไมมีขอใดเหมาะสม
แนวคิด ดู การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีหนวยแรงใชงาน ศ.ดร.วินิต ชอ
วิเชียร หัวขอ 8.6
P 40 × 1000
= = 0.256
f bh 250 × 25 × 25
'
c

283
M 2 × 1000 × 100
= = 0.0512
'
f bh
c
2
250 × 25 × 252
นําคาทั้งสองไป plot บนกราฟจะไดอัตราสวนหนาตัดเหล็กยืนตอหนาตัดเสา ρg ≈ 2% ดังนั้น
A st A st
ρg ≈ 0.02 = =
A g 25 × 25
A st = 0.02 × 25 × 25 = 12.5 cm 2

เหล็ก DB 16 mm ใชจํานวน 12.5 = 6.2 ⇒ 7 ⇒ 8 เสน


2.01
12.5
เหล็ก DB 20 mm ใชจํานวน = 3.98 ⇒ 4 เสน
3.14
เหล็ก DB 25 mm ใชจํานวน 12.5 = 2.5 ⇒ 3 ⇒ 4 เสน
4.909
คําตอบที่เหมาะสมคือ ใชเหล็กยืน 4-DB 20 mm
คําตอบ ขอ (2) ใชเหล็กยืน 6-DB 20 mm

284
คําถามขอที่ 105
ปจจัยสําคัญทีม่ ีผลกระทบตอกําลังรับน้ําหนักของเสายาว คือ
ตัวเลือก
(1) อัตราสวนความชะลูดของเสา ตลอดจนปริมาณของเหล็กเสริม
(2) การยอมใหปลายเสาเซไดหรือไม ตลอดจนสติฟเนสของคาน
(3) ระยะเวลาของการรับน้ําหนักบรรทุกซึ่งทําใหคอนกรีตเกิดการลา
(4) ถูกทุกขอ
แนวคิด
จาก การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีหนวยแรงใชงาน ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร
หัวขอ 8.7 เสายาว
ปจจัยสําคัญทีม่ ีผลกระทบตอกําลังรับน้ําหนักของเสายาว ไดแก
(1) อัตราสวนระหวางชวงความยาวของเสาตอความลึกของรูปตัด ระยะเยือ้ งศูนยหรือโมเมนตดัด
เริ่มแรกที่กระทํา ตลอดจนทิศทางของโมเมนตดัดที่ปลายทั้งสองของเสา
(2) การยอมใหปลายเสาเคลื่อนทีห่ รือเซไดหรือไม ซึ่งกําลังรับน้ําหนักของเสาที่เซไดจะมีคานอย
กวาเสาที่ไมเกิดการเซ
(3) การยึดปลายเสากับคาน ถาคานมีสติฟเนสมากกําลังรับน้ําหนักของเสาจะสูงขึ้น
(4) ปริมาณของเหล็กยืนและกําลังของวัสดุ ซึ่งจะมีผลตอกําลังรับน้ําหนักและความแกรงตอการ
ดัดของเสา
(5) ระยะเวลาของการรับน้ําหนักบรรทุกซึ่งกําลังรับน้ําหนักของเสาจะนอยลงเมื่อตองรับน้ําหนัก
บรรทุกเปนเวลานานทั้งนี้เพราะคอนกรีตเกิดการลา (creep)
คําตอบ ขอ (4) ถูกทุกขอ

285
คําถามขอที่ 106
ถา Pเสายาว และ Mเสายาว เปนแรงอัดและโมเมนตดัดทีก่ ระทําตอเสายาวซึ่งมีอัตราสวนความชะลูดคา
หนึ่ง และ R เปนตัวคูณลดกําลังของเสาตามมาตรฐาน ว.ส.ท. กําหนดในวิธีหนวยแรงใชงาน ดังนัน้
แรงอัดและโมเมนตดัดทีจ่ ะนํามาพิจารณาออกแบบ คือ
ตัวเลือก
(1) P = (1/R)Pเสายาว
(2) M = (1/R)Mเสายาว
(3) พิจารณาใช P และ M จากขอ (ก) และขอ (ข)
(4) พิจารณาใช M จากขอ (ข) และใช P = Pเสายาว
แนวคิด
ตัวเลือก (1) เปนการแปลงแรงตามแนวแกนในเสายาวเปนแรงตามแกนในเสาสั้น และตัวเลือก (2)
เปนการแปลงโมเมนตในเสายาวเปนโมเมนตในเสาสั้น เปนการแปลงเพื่อใหออกแบบเปนเสาสั้นที่
งายกวานั่นเอง และตองพิจารณาทั้งสองอยาง
คําตอบ ขอ (3) พิจารณาใช P และ M จากขอ (ก) และขอ (ข)

286
คําถามขอที่ 107
ในการออกแบบฐานรากแผขนาด B × L แบบวางบนดิน หากตองการใหฐานรากตานทานหนวย
แรงอัดอยางเดียว ดังนั้นอัตราสวนระหวางโมเมนตดัดกับแรงอัดตามแนวแกนทีจ่ ะใช คือ
ตัวเลือก
(1) ไมนอยกวา L/3
(2) ไมนอยกวา L/4
(3) ไมนอยกวา L/6
(4) ไมเกินกวา L/6
แนวคิด
ปกตินั้น หากแนวแรงลัพธหางจากศูนยกลางของฐานรากไมเกิน kern area ซึ่งระยะหางตาม
แนวแกน B/6 และ L/6 เปนรูปสี่เหลี่ยมขนมเปยกปูน แรงตานทานของดินจะเปนแรงอัดเต็มพืน้ ที่
ฐานราก แตถา เลยขอบเขตนี้ออกไปบางสวนจะเปนแรงดึง แตดินรับแรงดึงไมไดเลย ดังนั้นบริเวณ
ที่จะเปนแรงดึงก็จะไมมีแรงตานของดินเลย
คําตอบ ขอ (4) ไมเกินกวา L/6

287
คําถามขอที่ 108
ในการออกแบบฐานรากแบบวางบนเสาเข็ม ตามรูป แรงอัดสูงสุดที่เสาเข็มตองรับพิจารณาไดจาก
คา

ตัวเลือก
(1) R1
(2) R2
(3) R3
(4) R4
แนวคิด
แรง P จะทําใหแรงตานเสาเข็มเฉลี่ยเทาๆ กัน แตโมเมนต M จะทําใหขอบทางขวากดลงและขอบ
ทางซายกระดกขึ้น แรงทาง R1 และ R2 จะนอยลง สวน R3 กับ R4 จะมากขึ้น แนวเสาเข็มที่หา ง
จากแกนกลางจะเปลี่ยนมากที่สุด ดังนั้น R4 จะรับแรงกดมากที่สุด
คําตอบ ขอ (4) R4

288
คําถามขอที่ 109
ปจจัยสําคัญในการหาขนาดความลึกของฐานรากทั่วไป คือ
ตัวเลือก
(1) โมเมนตดัด
(2) แรงเฉือนทางเดียวแบบคานและแรงเฉือนทะลุ
(3) แรงกดอัดระหวางตัวเสากับฐานราก
(4) ระยะถายแรงจากเหล็กยืนสูฐานราก
แนวคิด
ฐานรากที่มีเสาตอมอ และรูปแบบฐานรากไมเรียวมาก ผลของแรงเฉือนแบบเจาะทะลุจะทําให
ตองการความหนามากที่สุด รองลงไปคือแรงเฉือนแบบคาน สุดทายเปนโมเมนตดดั แตถาฐานราก
แคบเรียวหรือเปนคาน แรงเฉือนแบบเจาะทะลุจะไมเกิดขึ้นมีเฉพาะแรงเฉือนแบบคานและโมเมนต
ดัด ความหนาของฐานราก (หรือความลึกของคาน) จะมีผลจากแรงเฉือนแบบคานและโมเมนต
คําตอบ ขอ (2) แรงเฉือนทางเดียวแบบคาน และแรงเฉือนทะลุ

289
คําถามขอที่ 110
ปจจัยสําคัญของการออกแบบเขื่อนกันดิน คือ
ตัวเลือก
(1) กําลังตานแรงกดอัดของดินใตฐาน
(2) แรงดันทางขางของดิน ที่กอใหเกิดการเลื่อนไถล
(3) แรงดันดานขางของดิน ที่กอใหเกิดการพลิกคว่ํา
(4) ถูกทุกขอ
แนวคิด
จาก การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีหนวยแรงใชงาน ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร
หัวขอ 10.3.3 การวิบัติของเขื่อนกันดิน มีสาเหตุมาจาก
(ก) การทรุดตัวของฐานเขื่อนเนือ่ งจากดินใตฐานรากไมสามารถรับแรงกดอัดที่กระทําได หรือ
สวนตางๆ ของเขื่อนกันดินไมแข็งแรงพอ
(ข) เขื่อนเลื่อนไถล (sliding) จากที่ตั้งเดิม ซึ่งเกิดจากแรงดันทางขาง มีคามากกวาแรงเสียดทาน
ใตฐานเขื่อน
(ค) เขื่อนพลิกคว่ํา (overturning) โดยหมุนรอบมุมลางทายฐานเขื่อน ซึ่งมีสาเหตุมาจากแรงดัน
ทางขาง
คําตอบ ขอ (4) ถูกทุกขอ

290
คําถามขอที่ 120
จงหาโมเมนตดัดสูงสุดตามทฤษฎีของคาน (Mn) คสล. รูปตัด 25 × 60 ซม , d = 50 ซม เสริมเหล็ก
รับแรงดึง โดยที่ ρ = 0.75ρb กําหนดให f c' = 250 กก/ซม2, fy = 3000 กก/ซม2
ตัวเลือก
(1) 29,225 กก.เมตร
(2) 32,470 กก.เมตร
(3) 40,190 กก.เมตร
(4) 44,650 กก.เมตร
แนวคิด
f c' = 250 ksc < 280 ksc
β1 = 0.85
0.85f c' 6120
ρb = β1
f y 6120 + f y
0.85 × 250 6120
ρb = 0.85 × ×
3000 6120 + 3000
ρb = 0.04040296
ρ = 0.75ρb = 0.03030222
⎛ f ⎞
R u = ρf y ⎜⎜1 − 0.59ρ y' ⎟⎟
⎝ fc ⎠
⎛ 3000 ⎞
R u = 0.03030222 × 3000 × ⎜1 − 0.59 × 0.03030222 × ⎟
⎝ 250 ⎠
R u = 71.40357151
M n = R u bd 2 = 71.40357151 × 25 × 502
M n = 4,462,723.219 kg.cm = 44,627.23219 kg.m
คําตอบ ขอ (4) 44,650 กก.เมตร

291
คําถามขอที่ 121
จงหาโมเมนตดัดสูงสุดตามทฤษฎีของคาน (Mu) คสล. รูปตัด 30 × 80 ซม , d = 65 ซม เสริมเหล็ก
รับแรงดึง โดยที่ ρ = 0.75ρb กําหนดให f c' = 300 กก/ซม2, fy = 4000 กก/ซม2
ตัวเลือก
(1) 99,275 กก.เมตร
(2) 89,350 กก.เมตร
(3) 83,020 กก.เมตร
(4) 70,120 กก.เมตร
แนวคิด
f c' = 300 ksc > 280 ksc

β1 = 0.85 −
0.05
(300 − 280) = 0.835714285
70
0.85f c' 6120
ρb = β1
f y 6120 + f y
0.85 × 300 6120
ρb = 0.835714285 × ×
4000 6120 + 4000
ρb = 0.032218767
ρ = 0.75ρb = 0.024164075
⎛ f ⎞
R u = ρf y ⎜⎜1 − 0.59ρ y' ⎟⎟
⎝ fc ⎠
⎛ 4000 ⎞
R u = 0.024164075 × 4000 × ⎜1 − 0.59 × 0.024164075 × ⎟
⎝ 300 ⎠
R u = 78.28283584
M n = R u bd 2 = 78.28283584 × 30 × 652
M n = 9,922,349.442 kg.cm = 99,223.49442 kg.m
φM n = 0.9 × 99,223.49442 = 89,301.14498 kg.m
โมเมนตดัดสูงสุดตามทฤษฎี Mn สวนโมเมนตดัดที่รับไดจริง φM n = 0.9M n
คําตอบ ขอ (2) 89,350 กก.เมตร

292
คําถามขอที่ 122
คาน คสล. ชวงเดี่ยว รูปตัด 20 × 55 ซม, d’ = 5 ซม , d = 45 ซม f c' = 200 กก/ซม2 , f y = 3000
กก/ซม2 และเมื่อพิจารณาใชเหล็กเสริมรับแรงดึงในตอนแรก ρ − ρ' = 0.5ρb จะพบวาคานนี้มีกําลัง
ตานทานโมเมนตเพียง 15,150 กก.เมตร หากคานนี้ตองรับโมเมนตประลัย 20 ตัน.เมตร จงประมาณ
ปริมาณเหล็กเสริมรับแรงดึงที่ตองใช โดยสมมติวาเหล็กเสริมรับแรงอัดถึงจุดคราก
ตัวเลือก
(1) 14.50 ตร.ซม
(2) 19.0 ตร.ซม
(3) 26.5 ตร.ซม
(4) 31.0 ตร.ซม
แนวคิด
f c' = 200 ksc < 280 ksc ⇒ β1 = 0.85
0.85f c' 6120 0.85 × 200 6120
ρb = β1 = 0.85 × ×
f y 6120 + f y 3000 6120 + 3000
ρb = 0.032322368
ρmax = 0.75ρb = 0.024241776
ρ − ρ' = 0.5ρb = 0.016161184
14 14
ρmin = = = 0.004666666
f y 3000
M R = φR u bd 2 = 15,150 kg.m = 1,515,000 kg.cm
M u = 20,000 kg.m = 2,000,000 kg.cm
M u 2 = M u − M R = 2,000,000 − 1,515,000 = 485,000 kg.cm
Mu2 485,000
A s' = = = 4.490740741 cm 2
φf (d − d') 0.9 × 3000 × (45 − 5)
s
'

4.490740741
ρ' = = 0.004989711
20 × 45
ρ = 0.5ρb + ρ' = 0.016161184 + 0.004989711 = 0.021150895
A s = ρbd = 0.021150895 × 20 × 45 = 19.03580634 cm 2
คําตอบ ขอ (2) 19.0 ตร.ซม

293
คําถามขอที่ 123
คาน คสล. ชวงเดี่ยว รูปตัด 30 × 65 ซม, d’ = 6 ซม , d = 55 ซม f c' = 250 กก/ซม2 , f y = 4000
กก/ซม2 และเมื่อพิจารณาใชเหล็กเสริมรับแรงดึงในตอนแรก ρ − ρ' = 0.5ρb จะพบวาคานนี้มีกําลัง
ตานทานโมเมนตเพียง 38,870 กก.เมตร หากคานนี้ตองรับโมเมนตประลัย 45 ตัน.เมตร จงประมาณ
ปริมาณเหล็กเสริมรับแรงดึงที่ตองใช โดยสมมติวาเหล็กเสริมรับแรงอัดถึงจุดคราก
ตัวเลือก
(1) 34.0 ตร.ซม
(2) 30.0 ตร.ซม
(3) 26.0 ตร.ซม
(4) 25.7 ตร.ซม
แนวคิด
f c' = 250 ksc < 280 ksc ⇒ β1 = 0.85
0.85f c' 6120 0.85 × 250 6120
ρb = β1 = 0.85 × ×
f y 6120 + f y 4000 6120 + 4000
ρb = 0.027307929
ρmax = 0.75ρ b = 0.020480947
ρ − ρ' = 0.5ρb = 0.013653964
14 14
ρmin = = = 0.0035
f y 4000
M R = φR u bd 2 = 38,870 kg.m = 3,887,000 kg.cm
M u = 45,000 kg.m = 4,500,000 kg.cm
M u 2 = M u − M R = 4,500,000 − 3,887,000 = 613,000 kg.cm
Mu2 613,000
A s' = = = 5.212585034 cm 2
φf (d − d') 0.9 × 4000 × (55 − 6)
s
'

5.212585034
ρ' = = 0.003159142
30 × 55
ρ = 0.5ρb + ρ' = 0.013653964 + 0.003159142 = 0.016813107
A s = ρbd = 0.016813107 × 30 × 55 = 27.74162715 cm 2
คําตอบ ขอ (3) 26.0 ตร.ซม เพราะใกลเคียงที่สุดแลว

294
คําถามขอที่ 124
คาน คสล. ชวงเดีย่ วธรรมดา รับน้ําหนักบรรทุกแบบแผที่เพิ่มคาแลว wu = 9.5 ตัน/เมตร (รวม
น้ําหนักคานแลว) ถาคานมีรูปตัดดังแสดง โดยที่ f c' = 200 กก/ตร.ซม และสมมติใชเหล็กปลอก
(SR24) ขนาด 9 มม จงประมาณหาระยะเรียงของเหล็กปลอก

ตัวเลือก
(1) 8 ซม
(2) 9 ซม
(3) 15 ซม
(4) 18 ซม
แนวคิด
w uL 8500 × 6.00
Vu = − w ud = − 8500 × 0.55 = 20,825 kg
2 2
φVc = φ0.53 f c' bd = 0.85 × 0.53 200 × 40 × 55 = 14,016.27062 kg
φVs = Vu − φVc = 20,825 − 14,016.27062 = 6808.729383 kg
1.1φ f c' bd = 1.1 × 0.85 200 × 40 × 55 = 29090.37298 kg > φVs
φA v f y d 0.85 × (2 × 0.636 ) × 2400 × 55
s= = = 20.96 cm
φVs 6808.729383
d 55
s= = = 27.5 cm
2 2
s = 45 cm
จะเห็นวาไมมคี ําตอบที่ถูกตอง แตหากคิดแรงเฉือนที่จุดรองรับไมใชที่หนาตัดวิกฤต
w u L 8500 × 6.00
Vu = = = 25,500 kg
2 2
φVc = φ0.53 f c' bd = 0.85 × 0.53 200 × 40 × 55 = 14,016.27062 kg
φVs = Vu − φVc = 25,500 − 14,016.27062 = 11,483.72938 kg
1.1φ f c' bd = 1.1 × 0.85 200 × 40 × 55 = 29090.37298 kg > φVs

295
φA v f y d 0.85 × (2 × 0.636) × 2400 × 55
s= = = 12.43 cm
φVs 11,483.72938
d 55
s= = = 27.5 cm
2 2
s = 45 cm
คําตอบ ขอ (3) 15 ซม
สังเกตขอนี้ การออกแบบคําตอบไมเหมาะสม และวิธีคิดแรงเฉือนที่จุดรองรับโดยตรงก็ผิดหลักวิชา

296
คําถามขอที่ 125
จงประมาณกําลังรับแรงอัดประลัย Pu ของเสาสั้น คสล. ปลอกเดี่ยวดังแสดง โดยพิจารณาจากกราฟ
ออกแบบของเสา กําหนดให b = 30 ซม, h = 50 ซม, d = 45 ซม ,As = 26.78 ตร.ซม f c' = 350 กก/
ตร.ซม fy = 5000 กก/ตร.ซม และระยะเยือ้ งศูนย e จากแกนศูนยถวงพลาสติก = 35 ซม (หมายเหตุ
fy
m= )
0.85f c'

ตัวเลือก
(1) 147 ตัน
(2) 126 ตัน
(3) 103 ตัน
(4) 88 ตัน
แนวคิด
A st 26.78
ρt = = = 0.017853333
A g 30 × 50
fy 5000
m= = = 16.80672269
0.85f '
c 0.85 × 350

297
ρ t m = 0.017853333 × 16.80672269 = 0.300056022
e 35
= = 0.7
h 50
e
นําคา ρt m = 0.3 และ = 0.7 ไปกําหนดจุดบนกราฟจะได
h
Pu Mu
≈ 0.28 และ ≈ 0.198
φbhf c
'
φbh 2f c'
Pu = 0.28φbhf c' = 0.28 × 0.70 × 30 × 50 × 350 = 102900 kg
คําตอบ ขอ (3) 103 ตัน

298
คําถามขอที่ 126
ถาเสาสั้นปลอกเดีย่ วตองรับ Pu = 131.25 ตัน และ Mu = 22.3 ตัน.เมตร หากพิจารณาใชเสารูปตัด b
= 25 ซม h = 50 ซม d = 45 ซม โดยที่ f c' = 300 กก/ตร.ซม fy = 3000 กก/ตร.ซม จงประมาณหา
ปริมาณเหล็กยืนทั้งหมด (Ast) ที่ตองใช โดยพิจารณาจากกราฟออกแบบเสา

ตัวเลือก
(1) 20 ตร.ซม
(2) 22 ตร.ซม
(3) 25 ตร.ซม
(4) 28 ตร.ซม
แนวคิด
Pu 131,250
= = 0.5
φbhf '
c 0.70 × 25 × 50 × 300

299
Mu 22.3 × 1000 × 100
= = 0.169904761 ≈ 0.17
φbh f c 0.70 × 25 × 502 × 300
2 '

นําคาทั้งสองไป plot บนกราฟ จะได ρt m ≈ 0.2


A st f y A st 3000
ρt m = = × = 0.2
A g 0.85f c 25 × 50 0.85 × 300
'

25 × 50 × 0.85 × 300
A st = 0.2 × = 21.25 cm 2
3000
คําตอบ ขอ (2) 22 ตร.ซม

300
คําถามขอที่ 127
เสาสั้น คสล.ปลอกเดี่ยว (b = 25 ซม, h = 50 ซม, d = 45 ซม) โดยที่ f c' = 200 กก/ตร.ซม เสริมดวย
เหล็กยืนชนิด SD30 ซึ่ง Ast = 18.84 ตร.ซม ถาให Pu = 105 ตัน จงประมาณวาเสานีจ้ ะรับโมเมนต
Mu ไดเทาใด โดยพิจารณาจากกราฟออกแบบเสา

ตัวเลือก
(1) 10 ตัน.เมตร
(2) 13 ตัน.เมตร
(3) 15 ตัน.เมตร
(4) 18 ตัน.เมตร
แนวคิด
A st 18.84
ρt = = = 0.015072
bh 25 × 50

301
fy 3000
m= = = 17.64705882
0.85f '
c 0.85 × 200
ρ t m = 0.015072 × 17.64705882 = 0.26597647
Pu 105,000
= = 0.6
φbhf c 0.70 × 25 × 50 × 200
'

จากกราฟออกแบบเสา ลาก Pu ' = 0.6 ไปตัดกับ ρt m = 0.267 ≈ 0.27 แลวลากลงไปหาคา


φbhf c

ของ M 2u ' ได


φbh f c
Mu
≈ 0.158
φbh 2f c'
ดังนั้น
M u = 0.158φbh 2f c' = 0.158 × 0.70 × 25 × 50 2 × 200 = 1,382,500 kg.cm
M u = 13,825 kg.m = 13.825 T.m
คําตอบ ขอ (2) 13 ตัน.เมตร

302
คําถามขอที่ 128
ชิ้นสวนรับแรงอัดตามแนวแกนและโมเมนตดัด มีรูปแสดงการกระจายของหนวยการยืด-หดตัว
(strain distribution) ที่สภาวะตางๆ ดังทีแ่ สดง รูปใดแสดงถึงสภาวะสมดุล (balanced condition)
ตามวิธีกําลัง

303
ตัวเลือก
(1) รูป (ก)
(2) รูป (ข)
(3) รูป (ค)
(4) รูป (ง)
แนวคิด
สภาวะสมดุล คือคอนกรีตมีหนวยการหดตัว εc = ε u = 0.003 และเหล็กรับแรงดึงจะถึงจุดคราก
fy
พรอมกัน εs = ε y = จากรูปแรง Pn อยูทางขวา เหล็กยืนทางขวาจะรับแรงอัด และเหล็กยืน
Es
ทางซายจะรับแรงดึง
รูป (ก) หนวยการหดตัวเทากันตลอดหนาตัดแสดงวาแรง Pn กระทําทีศ่ ูนยกลางเสา ขอนี้ไมใช
รูป (ข) ทั้งหนาตัดเปนแรงอัดตลอด แรง Pn กระทําในระยะ kern จึงไมมีแรงดึงเลย ขอนี้ไมใช
รูป (ค) ดานรับแรงอัดคอนกรีตมีหนวยการหดตัว ε u และดานเหล็กรับแรงดึงครากพอดี εs = ε y
ขอนี้เปนสภาะสมดุล
รูป (ง) ดานรับแรงอัดคอนกรีตมีหนวยการหดตัว ε u สวนเหล็กรับแรงดึงครากไปกอนแลว
εs > ε y ขอนี้ไมใช
คําตอบ ขอ (3) รูป (ค)

304
คําถามขอที่ 129
จากรูปตัดคานคอนกรีตที่เสริมเหล็กรับแรงดึงอยางเดียว โมเมนตดัดทีใ่ ชออกแบบ (design strength)
เมื่อคานวิบัติทดี่ านรับแรงดึง (yielding failure) คือ

ตัวเลือก
⎛ f ⎞
(1) A s f y d⎜⎜1 − 0.59ρ y' ⎟⎟
⎝ fc ⎠
⎛ f ⎞
(2) φA s f y d⎜⎜1 − 0.59ρ y' ⎟⎟
⎝ fc ⎠
⎛ a⎞
(3) Asfs ⎜ d − ⎟
⎝ 2⎠
⎛ a⎞
(4) φA s f s ⎜ d − ⎟
⎝ 2⎠
แนวคิด
โมเมนตออกแบบคือ
⎛ f ⎞ A ⎛ f ⎞
φM n = φR u bd 2 = φρf y ⎜⎜1 − 0.59ρ y' ⎟⎟bd 2 = φ s f y ⎜⎜1 − 0.59ρ y' ⎟⎟bd 2
⎝ fc ⎠ bd ⎝ fc ⎠
⎛ f ⎞
φM n = φA s f y d⎜⎜1 − 0.59ρ y' ⎟⎟
⎝ fc ⎠
⎛ f ⎞
คําตอบ ขอ (2) φA s f y d⎜⎜1 − 0.59ρ y' ⎟⎟
⎝ fc ⎠

305
คําถามขอที่ 130
จงหาระยะ a ที่สภาวะสมดุล (balanced condition) ตามวิธีกําลัง ถาให Es = 2 × 106 กก/ตร.ซม

ตัวเลือก
φA s f y
(1)
0.85f c' b
⎛ 6000 ⎞
(2) β1 ⎜
⎜ 6000 + f ⎟
⎟d
⎝ y ⎠
⎛ 6000 ⎞
(3) φβ1 ⎜
⎜ 6000 + f ⎟
⎟d
⎝ y ⎠
⎛ 6120 ⎞
(4) β1 ⎜
⎜ 6120 + f ⎟
⎟d
⎝ y ⎠
แนวคิด
จากรูป (ข) การกระจายของหนวยการยืดหดตัว สามเหลี่ยมคลาย
εu ε
= y
c d−c
d − c εy
=
c εu
d ε fy fy f
−1 = y = = = y
c 0.003 0.003E s 0.003 × 2 × 10 6
6000
d f 6000 + f y
= 1+ y =
c 6000 6000
a ⎛ 6000 ⎞⎟
c= =⎜ d
β1 ⎜⎝ 6000 + f y ⎟⎠
⎛ 6000 ⎞
a = β1 ⎜ ⎟d
⎜ 6000 + f ⎟
⎝ y ⎠

⎛ ⎞
คําตอบ ขอ (2) β1 ⎜⎜ 6000 ⎟⎟d
⎝ 6000 + f y ⎠

306
คําถามขอที่ 131
จงหาปริมาณเหล็กเสริมรับแรงดึงที่มากที่สุด (As,max) ที่ยอมใหใชตามขอกําหนดในวิธกี ําลัง

ตัวเลือก
0.85f c' ab
(1) A s , max =
fy
⎛ 0.85f c' ab ⎞
(2) A s , max = φ⎜
⎜ f


⎝ y ⎠
⎛ 0.85f c' ab ⎞
(3) A s , max = 0.75⎜
⎜ f


⎝ y ⎠
⎛ 0.85f c' ab ⎞
(4) A s , max = 0.50⎜
⎜ f


⎝ y ⎠
แนวคิด
ตามหลักการนั้น อัตราสวนสูงสุดที่ยอมให ρmax = 0.75ρb โดยขณะที่ ρ = ρb คอนกรีตจะมีกําลัง
ถึง 0.85f c' แรงอัดในคอนกรีต C = 0.85f c' ab ขณะที่เหล็กรับแรงดึงครากพอดี แรงดึงในเหล็กคือ
T = A s f y สมดุลของแรงในหนาตัด ทําให C = T
0.85f c' ab = A s f y
0.85f c' ab
As =
fy
แตเนื่องจาก ρmax = 0.75ρb ดังนั้นเนื้อที่หนาตัดเหล็กรับแรงดึงที่ยอมใหสูงสุดจึงเปน
⎛ 0.85f c' ab ⎞
A s , max = 0.75⎜ ⎟
⎜ f ⎟
⎝ y ⎠
⎛ 0.85f c' ab ⎞
คําตอบ ขอ (3) A s , max = 0.75⎜
⎜ f


⎝ y ⎠

307
คําถามขอที่ 132
คาน คสล.มีรูปตัดดังแสดง ถากําหนดให f c' = 200 กก/ตร.ซม, fy = 4000 กก/ตร.ซม จงหาปริมาณ
เหล็กเสริมรับแรงดึงที่มากทีส่ ุด (As,max) ที่ยอมใหใชตามขอกําหนดของวิธีกําลัง

ตัวเลือก
(1) 25.92 ตร.ซม
(2) 20.32 ตร.ซม
(3) 19.44 ตร.ซม
(4) 12.96 ตร.ซม
แนวคิด
พิจารณากรณีที่คอนกรีตมีหนวยการหดตัว 0.003 พรอมกับเหล็กครากซึง่ เปนสถานะสมดุล
εu ε
= y
c d−c
d ε fy f
−1 = y = = y
c ε u 0.003E s 6120
d f 6120 + f y
=1+ y =
c 6120 6120
⎛ 6120 ⎞
c=⎜ ⎟d = ⎛⎜ 6120 ⎞
⎟ × 50 = 30.23715415 cm
⎜ 6120 + f ⎟ ⎝ 6120 + 4000 ⎠
⎝ y ⎠

f c' = 200 ksc < 280 ksc ⇒ β1 = 0.85


a = β1c = 0.85 × 30.23715415 = 25.70158103 cm > 5.5 cm
พิจารณาสมดุลของแรงบนหนาตัด
0.85f c' (25 − 5) × 5.5 + 0.85f c' × 25 × (25.70158103 − 5.5) = A s f y
0.85f c' (20 × 5.5 + 25 × 20.20158103) = A s f y
522.7835968f c' = A s f y

308
522.7835968f c' 522.7835968 × 200
As = = = 26.13917984 cm 2
fy 4000
เปนเนื้อทีห่ นาตัดเหล็กรับแรงดึงที่สภาวะสมดุล ซึ่งมาตรฐาน วสท. ยอมใหใชเพียง 75% คือ
A s , max = 0.75 × 26.13917984 = 19.60438488 cm 2
คําตอบ ขอ (3) 19.44 ตร.ซม

309
คําถามขอที่ 133
คาน คสล.มีรูปตัดดังแสดง ถากําหนดให f c' = 250 กก/ตร.ซม ,fy = 4000 กก/ตร.ซม และ Es =
2 × 106 กก/ตร.ซม จงหาปริมาณเหล็กเสริมรับแรงดึงที่มากที่สุก (As,max) ที่ยอมใหใชตามวิธีกาํ ลัง

ตัวเลือก
(1) 33.87 ตร.ซม
(2) 25.40 ตร.ซม
(3) 20.32 ตร.ซม
(4) 13.55 ตร.ซม
แนวคิด
พิจารณากรณีที่คอนกรีตมีหนวยการหดตัว 0.003 พรอมกับเหล็กครากซึง่ เปนสถานะสมดุล
εu ε
= y
c d−c
d ε fy fy f
−1 = y = = = y
c ε u 0.003E s 0.003 × 2 × 10 6
6000
d f 6000 + f y
=1+ y =
c 6000 6000
⎛ 6000 ⎞
c=⎜ ⎟d = ⎛⎜ 6000 ⎞
⎟ × 50 = 30 cm
⎜ 6000 + f ⎟ ⎝ 6000 + 4000 ⎠
⎝ y ⎠

f c' = 250 ksc < 280 ksc ⇒ β1 = 0.85


a = β1c = 0.85 × 30 = 25.5 cm < 30 cm
พิจารณาสมดุลของแรงบนหนาตัด
0.85f c' (25 − 5) × 25.5 = A s f y
433.5f c' = A s f y
433.5f c' 433.5 × 250
As = = = 27.09375 cm 2
fy 4000

310
เปนเนื้อทีห่ นาตัดเหล็กรับแรงดึงที่สภาวะสมดุล ซึ่งมาตรฐาน วสท. ยอมใหใชเพียง 75% คือ
A s , max = 0.75 × 27.09375 = 20.3203125 cm 2
คําตอบ ขอ (3) 20.32 ตร.ซม

311
คําถามขอที่ 134
คานรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด 0.20 × 0.50 ม เสริมเหล็กรับแรงดึงอยางเดียวที่ระยะ d = 0.45 ม
ถาใช f c' = 150 กก/ซม2 และ fy = 2400 กก/ซม2 จงใชวิธี WSD ประมาณขนาดและจํานวนของ
เหล็กเสริมที่ใช ณ สภาวะสมดุล สมมติใหแนวแกนสะเทิน kd = 17.5 ซม
ตัวเลือก
(1) 5 − φ 15 มม
(2) 6 − φ 15 มม
(3) 3 − φ 19 มม
(4) 2 − φ 25 มม
แนวคิด
สภาวะสมดุลในวิธีหนวยแรงใชงานคือเมือ่ รับโมเมนตถึงคาสูงสุด คอนกรีตจะมีหนวยแรงถึง fc
และเหล็กเสริมจะมีหนวยแรงถึง fs พรอมกัน
f c = 0.45f c' = 0.45 × 150 = 67.5 ksc
f s = 0.5f y = 0.5 × 2400 = 1200 ksc
E s 2,040,000 135.099 135.099
n= = = = = 11.03
E c 15100 f c' f c' 150
ความสัมพันธของหนวยการยืดหดตัวของคอนกรีตกับเหล็กเสริมรับแรงดึง โดยสามเหลี่ยมคลาย
kd = 17.5
17.5 17.5
k= = = 0.389
d 45
k 0.389
j =1− =1− = 0.870
3 3
1
M R = f c kjbd 2 = A s f s jd
2
f kbd 67.5 × 0.389 × 0.870 × 20 × 45
As = c = = 17.13 cm 2
2f s 1200
π
5 − φ 15 มม มี A s = 5 × × 1.52 = 8.836 cm 2 < 17.13 cm 2 ใชไมได
4
π
6 − φ 15 มม มี A s = 6 × × 1.52 = 10.60 cm 2 < 17.13 cm 2 ใชไมได
4
π
3 − φ 19 มม มี A s = 3 × × 1.92 = 8.506 cm 2 < 17.13 cm 2 ใชไมได
4
π
2 − φ 25 มม มี A s = 2 × × 2.52 = 9.817 cm 2 < 17.13 cm 2 ใชไมได
4
คําตอบ ไมมีคําตอบที่ถูกตอง ที่จะถูกตองคือ 4-RB 25 mm มี As = 19.635 cm2
เฉลย ขอ (4) 2 − φ 25 มม

312
คําถามขอที่ 135
คานรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด 0.15 × 0.35 ม เสริมเหล็กรับแรงดึงอยางเดียวที่ระยะ d = 0.30 ม
ถาใช f c' = 200 กก/ซม2 และ fy = 3000 กก/ซม2 จงใชวิธี WSD ประมาณอัตราสวนที่สภาพสมดุล
สมมติใหตําแหนงแนวแกนสะเทิน kd = 11.25 ซม
ตัวเลือก
(1) 0.0161
(2) 0.0113
(3) 0.0092
(4) 0.0074
แนวคิด
f c = 0.45f c' = 0.45 × 200 = 90 ksc
f s = 0.5f y = 0.5 × 3000 = 1500 ksc
kd = 30k = 11.25
11.25
k= = 0.375
30
k 0.375
j =1− =1− = 0.875
3 3
1
M R = f c kjbd 2 = A s f s jd
2
1
f c kbd = A s f s
2
A f k 90 × 0.375
ρb = s = c = = 0.01125 ≈ 0.0113
bd 2f s 2 × 1500
คําตอบ ขอ (2) 0.0113

313
คําถามขอที่ 136
คานยื่นรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด 0.15 × 0.30 ม เสริมเหล็กรับแรงดึงอยางเดียวที่ระยะ d = 0.25 ม
ถาใช f c' = 200 กก/ซม2 และ fy = 3000 กก/ซม2 เพื่อรับโมเมนตดัดประลัย (Mu) ที่หนาตัดวิกฤต
เทากับ 3500 กก.เมตร จงใชวธิ ี USD ประมาณปริมาณเหล็กเสริม As ที่หนาตัดวิกฤตนี้
ตัวเลือก
(1) 6.0 ซม2
(2) 7.3 ซม2
(3) 8.5 ซม2
(4) 9.0 ซม2
แนวคิด
วิธี USD = Ultimate Strength Design => SDM = Strength Design Method
Mu 3500 × 100
Ru = = = 41.48148148
φbd 2
0.9 × 15 × 252
0.85f c' ⎡ 2R u ⎤
ρ= ⎢1 − 1 − ⎥
fy ⎣ 0.85f c' ⎦
0.85 × 200 ⎡ 2 × 41.48148148 ⎤
ρ= × ⎢1 − 1 − ⎥
3000 ⎣ 0.85 × 200 ⎦
ρ = 0.01611999
A s = ρbd = 0.01611999 × 15 × 25 = 6.044996559 cm 2
คําตอบ ขอ (1) 6.0 ซม2

314
คําถามขอที่ 137
คานยื่นรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด 0.20 × 0.35 ม เสริมเหล็กรับแรงดึงอยางเดียวที่ระยะ d = 0.30 ม
ถาใช f c' = 200 กก/ซม2 และ fy = 4000 กก/ซม2 เพื่อรับโมเมนตดัดประลัย (Mu) ที่หนาตัดวิกฤต
เทากับ 6000 กก.เมตร จงใชวธิ ี USD ประมาณปริมาณเหล็กเสริม As ที่หนาตัดวิกฤตนี้
ตัวเลือก
(1) 6.0 ซม2
(2) 6.5 ซม2
(3) 7.2 ซม2
(4) 7.8 ซม2
แนวคิด
วิธี USD = Ultimate Strength Design => SDM = Strength Design Method
Mu 6000 × 100
Ru = = = 37.03703704
φbd 2
0.9 × 20 × 302
0.85f c' ⎡ 2R u ⎤
ρ= ⎢1 − 1 − ⎥
fy ⎣ 0.85f c' ⎦
0.85 × 200 ⎡ 2 × 37.03703704 ⎤
ρ= × ⎢1 − 1 − ⎥
4000 ⎣ 0.85 × 200 ⎦
ρ = 0.010574885
A s = ρbd = 0.010574885 × 20 × 30 = 6.344931045 cm 2
คําตอบ ขอ (2) 6.5 ซม2

315
คําถามขอที่ 138
แผนพื้นตอเนือ่ งมีระยะศูนยถึงศูนยของที่รองรับ = 3.50 เมตร ตองรับน้ําหนักบรรทุกจรแบบแผ
สม่ําเสมอใชงานเทากับ 500 กก/ม2 ถาที่รองรับสามารถรับโมเมนตดัดไดเทากับ wL^2/24 จงใชวิธี
WSD หาขนาดและระยะเรียงของเหล็กเสริมที่ตองใชตรงกลางชวงพื้น สมมติใหแผนพื้นหนา 20
ซม เสริมเหล็กรับแรงดึงอยางเดียวที่ระยะ d = 15 ซม f c' = 150 กก/ซม2 และ f y = 3000 กก/ซม2
ตําแหนงแนวแกนสะเทิน kd = 5 ซม
ตัวเลือก
(1) เหล็ก 6 มม @ 8 ซม
(2) เหล็ก 6 มม @ 10 ซม
(3) เหล็ก 9 มม @ 12 ซม
(4) เหล็ก 9 มม @ 16 ซม
แนวคิด
ตัดพื้นกวาง 1.00 เมตร เสมือนคานตอเนื่องแบนๆ ความยาวชวง L = 3.50 m
น้ําหนักตัวพื้นเอง w G = 2400h = 2400 × 0.20 = 480 kg / m 2
น้ําหนักรวม w = w G + w L = 480 + 500 = 980 kg / m 2
wL2 980 × 3.502
ถาเปนพื้นชวงเดียว M1 = = = 1500.625 kg.m
8 8
wL2 980 × 3.50 2
โมเมนตที่จุดรองรับ M2 = − =− = −500.2083333 kg.m
24 24
โมเมนตบวกกลางชวงจะเหลือ M = M1 + M 2 = 1500.625 − 500.2083333 = 1000.416667
f s = 0.5f y = 0.5 × 3000 = 1500 ksc
kd = 15k = 5
5
k= = 0.333
15
k 0.333
j =1− =1− = 0.889
3 3
M = A s f s jd
M 1000.416667 × 100
As = = = 5.001458153 cm 2 / m
f s jd 1500 × 0.889 × 15

RB 6 mm ระยะเรียง = As1 = 0.283 = 0.0566 m


A s 5.001458153

RB 9 mm ระยะเรียง = As1 = 0.636 = 0.12716 m


A s 5.001458153
คําตอบ ขอ (3) เหล็ก 9 มม @ 12 ซม
เหล็ก RB 6 mm และ RB 9 mm เปน SR24 มี fy = 2400 ksc ไมใช SD30 ที่ fy = 3000 ksc

316
คําถามขอที่ 139
แผนพื้นตอเนือ่ งมีระยะศูนยถึงศูนยของที่รองรับ = 4.00 เมตร ตองรับน้ําหนักบรรทุกจรแบบแผ
สม่ําเสมอใชงานเทากับ 500 กก/ม2 ถาที่รองรับสามารถรับโมเมนตดัดไดเทากับ wL^2/24 จงใชวิธี
WSD หาขนาดและระยะเรียงของเหล็กเสริมที่ (ประหยัด) ตรงกลางชวงพื้น สมมติใหแผนพืน้ หนา
20 ซม เสริมเหล็กรับแรงดึงอยางเดียวที่ระยะ d = 15 ซม f c' = 150 กก/ซม2 และ f y = 3000 กก/ซม
2
ตําแหนงแนวแกนสะเทิน kd = 5 ซม
ตัวเลือก
(1) เหล็ก 12 มม @ 18 ซม
(2) เหล็ก 12 มม @ 16 ซม
(3) เหล็ก 12 มม @ 20 ซม
(4) เหล็ก 12 มม @ 30 ซม
แนวคิด
ตัดพื้นกวาง 1.00 เมตร เสมือนคานตอเนื่องแบนๆ ความยาวชวง L = 4.00 m
น้ําหนักตัวพื้นเอง w G = 2400h = 2400 × 0.20 = 480 kg / m 2
น้ําหนักรวม w = w G + w L = 480 + 500 = 980 kg / m 2
wL2 980 × 4.002
ถาเปนพื้นชวงเดียว M1 = = = 1960 kg.m
8 8
wL2 980 × 4.002
โมเมนตที่จุดรองรับ M2 = − =− = −653.3333333 kg.m
24 24
โมเมนตบวกกลางชวงจะเหลือ M = M1 + M 2 = 1960 − 653.3333333 = 1306.666667
f s = 0.5f y = 0.5 × 3000 = 1500 ksc
kd = 15k = 5
5
k= = 0.333
15
k 0.333
j =1− =1− = 0.889
3 3
M = A s f s jd
M 1306.666667 × 100
As = = = 6.532516769 cm 2 / m
f s jd 1500 × 0.889 × 15

DB 12 mm ระยะเรียง = As1 = 1.131 = 0.173133883 m


A s 6.532516769
คําตอบ ขอ (2) เหล็ก 12 มม @ 16 ซม

317
คําถามขอที่ 140
คานรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด 0.20 × 0.45 ม เสริมเหล็กรับแรงดึงอยางเดียวที่ระยะ d = 0.40 ม
โดยใช f c' = 200 กก/ซม2 และ fy = 2400 กก/ซม2 ซึง่ จากวิธี WSD พบวา คา k = 0.43 และโมเมนต
ตานทานโดยคอนกรีต = 5300 กก.เมตร ถาคานนี้ตองรับโมเมนตดัดใชงาน = 6000 กก.เมตร จงหา
ปริมาณของเหล็กเสริมรับแรงดึง (As) และรับแรงอัด (As' ) ที่ตอ งใชตามทฤษฎี สมมติระยะ d’ = 5
ซม
ตัวเลือก
(1) As' = 1.26 ซม2 As = 14.40 ซม2
(2) As' = 1.67 ซม2 As = 14.50 ซม2
(3) As' = 1.76 ซม2 As = 14.60 ซม2
(4) As' = 1.86 ซม2 As = 14.70 ซม2
แนวคิด
ขอมูล b = 20 cm, h = 45 cm, d = 40 cm , d’ = 5 cm, f c' = 200 ksc, fy = 2400 ksc, k= 0.43
Mc = 5300 kg.m , M =6000 kg.m หา As และ A s'
f c = 0.45f c' = 0.45 × 200 = 90 ksc
f s = 0.5f y = 0.5 × 2400 = 1200 ksc
k 0.43
j =1− =1− = 0.857
3 3
d' 5
k− 0.43 −
f s' = 2f s d = 2 × 1200 × 40 = 1284.21 ksc > f = 1200 ksc
1− k 1 − 0.43
s

f s' = 1200 ksc

As =
Mc M − Mc
+ =
5300 × 100
+
(6000 − 5300) × 100
f s jd f s (d − d') 1200 × 0.857 × 40 1200 × (40 − 5)
A s = 14.551 cm 2
M − M c (6000 − 5300) × 100
A s' = = = 1.667 cm 2
f s (d − d')
'
1200 × (40 − 5)
คําตอบ ขอ (2) A s' = 1.67 ซม2 As = 14.50 ซม2

318
คําถามขอที่ 141
คานรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด 0.20 × 0.45 ม เสริมเหล็กรับแรงดึงอยางเดียวที่ระยะ d = 0.40 ม
โดยใช f c' = 200 กก/ซม2 และ fy = 2400 กก/ซม2 ซึง่ จากวิธี WSD พบวา คา k = 0.43 และโมเมนต
ตานทานโดยคอนกรีต = 5300 กก.เมตร ถาคานนี้ตองรับโมเมนตดัดใชงาน = 6000 กก.เมตร จงหา
ปริมาณของเหล็กเสริมรับแรงดึง (As) และรับแรงอัด (As' ) ที่ตอ งใชตามทฤษฎี สมมติระยะ d’ = 3
ซม
ตัวเลือก
(1) As' = 1.26 ซม2 As = 14.10 ซม2
(2) As' = 1.42 ซม2 As = 14.30 ซม2
(3) As' = 1.50 ซม2 As = 14.35 ซม2
(4) As' = 1.58 ซม2 As = 14.40 ซม2
แนวคิด
ขอมูล b = 20 cm, h = 45 cm, d = 40 cm , d’ = 3 cm, f c' = 200 ksc, fy = 2400 ksc, k= 0.43
Mc = 5300 kg.m , M =6000 kg.m หา As และ A s'
f c = 0.45f c' = 0.45 × 200 = 90 ksc
f s = 0.5f y = 0.5 × 2400 = 1200 ksc
k 0.43
j =1− =1− = 0.857
3 3
d' 3
k− 0.43 −
f s' = 2f s d = 2 × 1200 × 40 = 1494.7 ksc > f = 1200 ksc
1− k 1 − 0.43
s

f s' = 1200 ksc

As =
Mc M − Mc
+ =
5300 × 100
+
(6000 − 5300) × 100
f s jd f s (d − d') 1200 × 0.857 × 40 1200 × (40 − 3)
A s = 14.46 cm 2
M − M c (6000 − 5300) × 100
A s' = = = 1.577 cm 2
f s (d − d')
'
1200 × (40 − 3)
คําตอบ ขอ (4) A s' = 1.58 ซม2 As = 14.40 ซม2

319
คําถามขอที่ 142
คานรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด 0.20 × 0.50 ม เสริมเหล็กรับแรงดึงอยางเดียวที่ระยะ d = 0.45 ม
โดยใช f c' = 200 กก/ซม2 และ fy = 3000 กก/ซม2 ซึง่ จากวิธี WSD พบวา คา k = 0.38 และโมเมนต
ตานทานโดยคอนกรีต = 6025 กก.เมตร ถาคานนี้ตองรับโมเมนตดัดใชงาน = 8025 กก.เมตร จงหา
ปริมาณของเหล็กเสริมรับแรงดึง (As) และรับแรงอัด (As' ) ที่ตอ งใชตามทฤษฎี สมมติระยะ d’ = 5
ซม
ตัวเลือก
(1) As' = 3.33 ซม2 As = 13.60 ซม2
(2) As' = 3.67 ซม2 As = 13.93 ซม2
(3) As' = 3.84 ซม2 As = 14.10 ซม2
(4) As' = 4.00 ซม2 As = 14.26 ซม2
แนวคิด
ขอมูล b = 20 cm, h = 50 cm, d = 45 cm , d’ = 5 cm, f c' = 200 ksc, fy = 3000 ksc, k= 0.38
Mc = 6025 kg.m , M =8025 kg.m หา As และ A s'
f c = 0.45f c' = 0.45 × 200 = 90 ksc
f s = 0.5f y = 0.5 × 3000 = 1500 ksc
k 0.38
j =1− =1− = 0.873
3 3
d' 5
k− 0.38 −
f s' = 2f s d = 2 × 1500 × 45 = 1301.075269 ksc < f = 1500 ksc
1− k 1 − 0.38
s

As = c +
M M − Mc
=
6025 × 100
+
(8025 − 6025) × 100
f s jd f s (d − d') 1500 × 0.873 × 45 1500 × (45 − 5)
A s = 13.558 cm 2

A s' =
M − Mc
=
(8025 − 6025) × 100 = 3.842975207 cm2
f s (d − d') 1301.075269 × (45 − 5)
'

คําตอบ ขอ (3) A s' = 3.84 ซม2 As = 14.10 ซม2

320
คําถามขอที่ 143
คานรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด 0.20 × 0.50 ม เสริมเหล็กรับแรงดึงอยางเดียวที่ระยะ d = 0.45 ม
โดยใช f c' = 200 กก/ซม2 และ fy = 3000 กก/ซม2 ซึง่ จากวิธี WSD พบวา คา k = 0.38 และโมเมนต
ตานทานโดยคอนกรีต = 6025 กก.เมตร ถาคานนี้ตองรับโมเมนตดัดใชงาน = 8025 กก.เมตร จงหา
ปริมาณของเหล็กเสริมรับแรงดึง (As) และรับแรงอัด (As' ) ที่ตอ งใชตามทฤษฎี สมมติระยะ d’ = 3
ซม
ตัวเลือก
(1) As' = 3.17 ซม2 As = 13.43 ซม2
(2) As' = 3.49 ซม2 As = 13.75 ซม2
(3) As' = 3.65 ซม2 As = 13.91 ซม2
(4) ไมมีขอใดถูก
แนวคิด
ขอมูล b = 20 cm, h = 50 cm, d = 45 cm , d’ = 3 cm, f c' = 200 ksc, fy = 3000 ksc, k= 0.38
Mc = 6025 kg.m , M =8025 kg.m หา As และ A s'
f c = 0.45f c' = 0.45 × 200 = 90 ksc
f s = 0.5f y = 0.5 × 3000 = 1500 ksc
k 0.38
j =1− =1− = 0.873
3 3
d' 3
k− 0.38 −
f s' = 2f s d = 2 × 1500 × 45 = 1516.129032 ksc > f = 1500 ksc
1− k 1 − 0.38
s

f s' = 1500 ksc

As =
Mc M − Mc
+ =
6025 × 100
+
(8025 − 6025) × 100
f s jd f s (d − d ') 1500 × 0.873 × 45 1500 × (45 − 3)
A s = 13.399 cm 2
M − M c (8025 − 6025) × 100
A s' = = = 3.1746 cm 2
f s (d − d ')
'
1500 × (45 − 3)
คําตอบ ขอ (1) A s' = 3.17 ซม2 As = 13.43 ซม2

321
คําถามขอที่ 144
ขอใดตอไปนีท้ ี่มิใชขอบขายของการออกแบบพื้น คสล. 2 ทาง ตามวิธีที่ 2 ของมาตรฐาน ว.ส.ท.
ตัวเลือก
(1) แผนพื้นอาจเปนแบบตันหรือครีบ
(2) แผนพื้นอาจตอเนื่องหรือไมก็ได และอาจมีหรือไมมีคานรองรับทั้งสี่ดาน
(3) น้ําหนักบรรทุกบนแผนพื้นตองเปนแบบแผสม่ําเสมอ
(4) น้ําหนักบรรทุกจรใชงานตองไมเกินกวาสามเทาของน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน
แนวคิด
ดู มาตรฐานสําหรับอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีหนวยแรงใชงาน ของ ว.ส.ท. ขอ 7102
ตองมีคานรองรับทั้งสี่ดาน
คําตอบ ขอ (2) แผนพืน้ อาจตอเนื่องหรือไมก็ได และอาจมีหรือไมมีคานรองรับทั้งสี่ดาน

322
คําถามขอที่ 145
ขอใดตอไปนีท้ ี่มิใชขอบขายของการออกแบบพื้น คสล. 2 ทาง ตามวิธีที่ 2 ของมาตรฐาน ว.ส.ท.
ตัวเลือก
(1) แผนพื้นอาจเปนแบบตันหรือครีบ
(2) แผนพื้นอาจตอเนื่องหรือไมก็ได และตองมีคานรองรับทั้งสี่ดาน
(3) น้ําหนักบรรทุกบนแผนพื้นตองเปนแบบแผสม่ําเสมอ
(4) น้ําหนักบรรทุกจรใชงานตองไมเกินกวาสี่เทาของน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน
แนวคิด
มาตรฐานสําหรับอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีหนวยแรงใชงาน ขอ 7102 น้าํ หนักบรรทุกจร
ไมเกิน 3 เทาของน้ํานักบรรทุกคงที่
คําตอบ ขอ (4)น้ําหนักบรรทุกจรใชงานตองไมเกินกวาสี่เทาของน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน

323
คําถามขอที่ 146
แผนพื้น คสล. 2 ทาง ชวงภายในทัว่ ไป มีขนาดที่วดั จากระยะศูนยถึงศูนยของที่รองรับ = 4.00 × 5.00
เมตร ดังนั้นแผนพื้นตองมีความหนาอยางนอยเทากับ
ตัวเลือก
(1) 6 ซม
(2) 8 ซม
(3) 10 ซม
(4) 12 ซม
แนวคิด
มาตรฐาน ว.ส.ท. สําหรับอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีหนวยแรงใชงาน 7102(จ) ความหนาไม
นอยกวา 8 ซม และไมนอยกวา เสนรอบรูปสวน 180
h ≥ 8 cm
2S + 2L S + L 4.00 + 5.00
h≥ = = = 0.10 m = 10 cm
180 90 90
คําตอบ ขอ (3) 10 ซม

324
คําถามขอที่ 147
แผนพื้น คสล. 2 ทาง ชวงภายในทัว่ ไป มีขนาดที่วดั จากระยะศูนยถึงศูนยของที่รองรับ = 4.50 × 6.00
เมตร ดังนั้นแผนพื้นตองมีความหนาอยางนอยเทากับ
ตัวเลือก
(1) 8 ซม
(2) 10 ซม
(3) 12 ซม
(4) 14 ซม
แนวคิด
มาตรฐาน ว.ส.ท. สําหรับอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีหนวยแรงใชงาน 7102(จ) ความหนาไม
นอยกวา 8 ซม และไมนอยกวา เสนรอบรูปสวน 180
h ≥ 8 cm
2S + 2L S + L 4.50 + 6.00
h≥ = = = 0.1167 m ⇒ 12 cm
180 90 90

คําตอบ ขอ (3) 12 ซม

325
คําถามขอที่ 148
แผนพื้น คสล. 2 ทาง ชวงภายในทัว่ ไป มีขนาดที่วดั จากระยะศูนยถึงศูนยของที่รองรับ = 5.00 × 5.00
เมตร ถาความกวางของคานรองรับแตละดานเทากับ 20 ซม และแผนพื้นหนา 12 ซม ดังนั้นความ
ยาวทางดานสัน้ (S) ที่ใชคํานวณหาคาโมเมนตดัด คือ
ตัวเลือก
(1) 4.80 เมตร
(2) 5.00 เมตร
(3) 5.05 เมตร
(4) 5.25 เมตร
แนวคิด
ดู การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีหนวยแรงใชงาน ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร บทที่ 6
หนา 162 ความยาวขอบสั้นของพื้น 2 ทางที่ใชออกแบบ พิจารณาจากคานอยของ
(ก) ระยะจากศูนยกลางคานถึงศูนยกลางคาน = 5.00 เมตร
(ข) ระยะชวงวาง + สองเทาความหนาพื้น = 5.00 − 0.20 − 0.20 + 2 × 0.12 = 5.04 เมตร
2 2
เลือกคานอยคือ 5.00 เมตร
คําตอบ ขอ (2) 5.00 เมตร

326
คําถามขอที่ 149
แผนพื้น คสล. 2 ทาง ชวงภายในทัว่ ไป มีขนาดที่วดั จากระยะศูนยถึงศูนยของที่รองรับ = 3.00 × 4.50
เมตร ถาความกวางของคานรองรับแตละดานเทากับ 15 ซม และแผนพื้นหนา 10 ซม ดังนั้นความ
ยาวทีจ่ ะนําไปใชคํานวณหาคาโมเมนตดัดที่ขนานกับดานยาว คือ
ตัวเลือก
(1) 3.00 เมตร
(2) 3.05 เมตร
(3) 4.50 เมตร
(4) 4.55 เมตร
แนวคิด
หมายถึงหาความยาวขอบสั้น
ดู การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีหนวยแรงใชงาน ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร บทที่ 6
หนา 162 ความยาวขอบสั้นของพื้น 2 ทางที่ใชออกแบบ พิจารณาจากคานอยของ
(ก) ระยะจากศูนยกลางคานถึงศูนยกลางคาน = 3.00 เมตร
(ข) ระยะชวงวาง + สองเทาความหนาพื้น = 3.00 − 0.15 − 0.15 + 2 × 0.10 = 3.05 เมตร
2 2
เลือกคานอยคือ 3.00 เมตร
คําตอบ ขอ (1) 3.00 เมตร

327
คําถามขอที่ 150
ตามวิธีที่ 2 ของมาตรฐาน ว.ส.ท. สําหรับแผนพื้น คสล. 2 ดาน ที่ไมตอเนื่องกันทั้งสี่ดา น จะพบวา
ตัวเลือก
(1) มีแตโมเมนตดดั ชนิดบวกอยางเดียวที่ขนานกับดานสั้น
(2) มีแตโมเมนตดดั ชนิดบวกอยางเดียวที่ขนานกับดานสั้นและดานยาว
(3) มีทั้งโมเมนตดดั ชนิดบวกและชนิดลบที่ขนานกับดานสั้นเพียงอยางเดียว
(4) มีทั้งโมเมนตดดั ชนิดบวกและชนิดลบที่ขนานกับดานสั้นและดานยาว
แนวคิด
ดู การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีหนวยแรงใชงาน ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร บทที่ 6
หนา 159 ตารางที่ 6.1 กรณีที่ 5 ไมตอเนือ่ งทั้งสี่ดาน จะมีทั้งสัมประสิทธิ์โมเมนตบวกโมเมนตลบ
ทั้งดานสั้นและดานยาว
คําตอบ ขอ (4) มีทั้งโมเมนตดัดชนิดบวกและชนิดลบที่ขนานกับดานสั้นและดานยาว

328
คําถามขอที่ 151
ตามวิธีที่ 2 ของมาตรฐาน ว.ส.ท. จะพบวาโมเมนตดดั ชนิดบวกที่กึ่งกลางชวงของแผนพื้น คสล. 2
ทาง แบบใดทีม่ ีคามากที่สุด
ตัวเลือก
(1) เมื่อแผนพื้นไมตอเนื่องกันทั้งสี่ดาน
(2) เมื่อแผนพื้นไมตอเนื่องกันสามดาน
(3) เมื่อแผนพื้นไมตอเนื่องกันสองดาน
(4) เมื่อแผนพื้นไมตอเนื่องกันดานเดียว
แนวคิด
ดู การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีหนวยแรงใชงาน ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร บทที่ 6
หนา 159 ตารางที่ 6.1 กรณีที่ 5 ไมตอเนื่องทั้งสี่ดาน สัมประสิทธิ์โมเมนตบวก 0.083 มากที่สุด
คําตอบ ขอ (1) เมื่อแผนพื้นไมตอเนือ่ งกันทั้งสี่ดาน

329
คําถามขอที่ 152
ตามวิธีที่ 2 ของมาตรฐาน ว.ส.ท. จะพบวาโมเมนตดัดชนิดลบที่ดานซึง่ ตอเนื่องของแผนพื้น คสล. 2
ทาง แบบใด ทีม่ ีคามากที่สุด
ตัวเลือก
(1) เมื่อแผนพื้นตอเนื่องกันทั้งสีด่ าน
(2) เมื่อแผนพื้นตอเนื่องกันสามดาน
(3) เมื่อแผนพื้นตอเนื่องกันสองดาน
(4) เมื่อแผนพื้นตอเนื่องกันเพียงดานเดียว
แนวคิด
ดู การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีหนวยแรงใชงาน ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร บทที่ 6
หนา 159 ตารางที่ 6.1 กรณีที่ 4 ไมตอเนือ่ งสามดาน สัมประสิทธิ์โมเมนตลบที่ดานซึ่งตอเนื่องกัน
0.098 มากที่สุด
คําตอบ ขอ (4) เมื่อแผนพื้นตอเนื่องกันเพียงดานเดียว

330
คําถามขอที่ 153
ตามวิธีที่ 2 ของมาตรฐาน ว.ส.ท. โมเมนตดัดในแถบเสาของแผนพื้น คสล. 2 ทาง มีคาเทากับ
ตัวเลือก
(1) หนึ่งในสามของโมเมนตดัดในแถบกลาง
(2) หนึ่งในสองของโมเมนตดัดในแถบกลาง
(3) สองในสามของโมเมนตดัดในแถบกลาง
(4) สามในสี่ของโมเมนตดัดในแถบกลาง
แนวคิด
ดู การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีหนวยแรงใชงาน ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร บทที่ 6
หนา 158 รูปที่ 6.4 โมเมนตในแถบเสา = 2M
3
คําตอบ ขอ (3) สองในสามของโมเมนตดัดในแถบกลาง

331
คําถามขอที่ 154
ตามวิธีที่ 2 ของมาตรฐาน ว.ส.ท. ถาแผนพื้น คสล. 2 ทาง มีขนาด S× L เทากับ 5.00 × 5.00 เมตร
รับน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงานเทากับ 350 กก/ม2 และน้ําหนักบรรทุกจรใชงานเทากับ 250 กก/ม2
ดังนั้น คานรองรับแตละดานตองรับน้ําหนักบรรทุกแผสม่ําเสมอเทียบเทาจากแผนพืน้ นี้เทากับ
ตัวเลือก
(1) 750 กก/เมตร
(2) 1000 กก/เมตร
(3) 1525 กก/เมตร
(4) 2000 กก/เมตร
แนวคิด
การกระจายน้าํ หนักจากพืน้ ลงคาน
w = DL + LL = 350 + 250 = 600 kg / m 2 = น้ําหนักแผบนพื้น
S 5.00
m= = = 1 = อัตราสวนดานสั้นตอดานยาว
L 5.00
wS 600 × 5.00
ws = = = 1000 kg / m = น้ําหนักลงคานขอบสั้น
3 3
wS 3 − m 2 600 × 5.00 3 − 12
wL = = × = 1000 kg / m = น้ําหนักลงคานขอบยาว
3 2 3 2
คําตอบ ขอ (2) 1000 กก/เมตร

332
คําถามขอที่ 155
ตามวิธีที่ 2 ของมาตรฐาน ว.ส.ท. ถาแผนพื้น คสล. 2 ทาง มีขนาด S× L เทากับ 5.00 × 6.00 เมตร
รับน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงานเทากับ 350 กก/ม2 และน้ําหนักบรรทุกจรใชงานเทากับ 250 กก/ม2
ดังนั้น คานรองรับทางดานสั้นตองรับน้ําหนักบรรทุกประลัยแบบแผสม่ําเสมอเทียบเทาจากแผนพืน้
นี้เทากับ
ตัวเลือก
(1) 750 กก/เมตร
(2) 1000 กก/เมตร
(3) 1525 กก/เมตร
(4) 2000 กก/เมตร
แนวคิด
การกระจายน้าํ หนักจากพืน้ ลงคาน
w = 1.4DL + 1.7 LL = 1.4 × 350 + 1.7 × 250 = 915 kg / m 2 = น้ําหนักแผบนพื้น
S 5.00
m= = = 0.833 = อัตราสวนดานสั้นตอดานยาว
L 6.00
wS 915 × 5.00
ws = = = 1525 kg / m = น้ําหนักลงคานขอบสั้น
3 3
wS 3 − m 2 915 × 5.00 3 − 0.8332
wL = = × = 1758 kg / m = น้ําหนักลงคานขอบยาว
3 2 3 2

คําตอบ ขอ (3) 1525 กก/เมตร

333
คําถามขอที่ 156
เสาสั้นปลอกเดี่ยวเสริมเหล็กยืน As = As' รับแรงอัดใชงานตามแนวแกนเนื่องจากน้ําหนักบรรทุก
คงที่และน้ําหนักบรรทุกจร ตามลําดับ ดังนี้ PD = 130 ตัน และ PL = 98.5 ตัน กําหนดให f c' = 280
กก/ซม2 และ fy = 4000 กก/ซม2 จงหาเนื้อทีห่ นาตัดเสาที่เล็กที่สุด โดยวิธี WSD
ตัวเลือก
(1) 1170 ตร.ซม
(2) 1250 ตร.ซม
(3) 1360 ตร.ซม
(4) 1500 ตร.ซม
แนวคิด
อัตราสวนเหล็กยืนตอหนาตัดคอนกรีตตองอยูระหวาง 1% ถึง 8% หากใหรับน้ําหนักเทากัน 1%
ตองใชหนาตัดเสาโตที่สุดและ 8% ใชหนาตัดเสาเล็กที่สุด
(
P = 0.85A g 0.25f c' + f sρg )
โดย Ag = เนื้อที่หนาตัดเสา
A st = เนื้อที่หนาตัดเหล็กยืน
A st
ρg = = อัตราสวนเนือ้ ที่หนาตัดเหล็กยืนตอหนาตัดเสา อยูระหวาง 0.01 ถึง 0.08
Ag
f s = 1200 ksc สําหรับเหล็ก SR24
f s = 0.4f y ≤ 2100 ksc สําหรับเหล็กขอออย
(130 + 98.5) × 1000 = 0.85A g (0.25 × 280 + 0.4 × 4000 × 0.08)
A g = 1357.694593 cm 2
คําตอบ ขอ (3) 1360 ตร.ซม

334
คําถามขอที่ 157
เสาสั้นปลอกเดี่ยวเสริมเหล็กยืน As = As' รับแรงอัดใชงานตามแนวแกนเนื่องจากน้ําหนักบรรทุก
คงที่และน้ําหนักบรรทุกจร ตามลําดับ ดังนี้ PD = 130 ตัน และ PL = 98.5 ตัน กําหนดให f c' = 280
กก/ซม2 และ fy = 4000 กก/ซม2 จงหาเนื้อที่หนาตัดเสาที่เล็กที่สุด โดยวิธี USD (SDM), U =
1.4D+1.7L
ตัวเลือก
(1) 725 ตร.ซม
(2) 1120 ตร.ซม
(3) 1360 ตร.ซม
(4) 1840 ตร.ซม
แนวคิด
ในวิธีกาํ ลัง เสาสั้นปลอกเดี่ยวจะรับน้ําหนักได
[ ] [
φPn = 0.8φ 0.85f c' A g + f y A st = 0.8 × 0.70 0.85f c' A g + f y A st ]
φPn = 0.56[0.85f A'
c g + f y A st ]
หนาตัดจะเล็กที่สุดเมื่อ ρt = A st = 0.08 หรือ Ast = 0.08A g
Ag
[
(1.4 × 130 + 1.7 × 98.5) × 1000 = 0.56 0.85 × 280A g + 4000 × 0.08A g ]
A g = 1118.311572 cm 2
คําตอบ ขอ (2) 1120 ตร.ซม

335
คําถามขอที่ 158
เสาสั้นปลอกเดี่ยวเสริมเหล็กยืน As = As' รับแรงอัดใชงานตามแนวแกนเนื่องจากน้ําหนักบรรทุก
คงที่และน้ําหนักบรรทุกจร ตามลําดับ ดังนี้ PD = 130 ตัน และ PL = 98.5 ตัน กําหนดให f c' = 280
กก/ซม2 และ fs = 1500 กก/ซม2 จงหาเนื้อทีห่ นาตัดเสาที่ใหญที่สุด โดยวิธี WSD ใช rho = 1%
ตัวเลือก
(1) 2700 ตร.ซม
(2) 3000 ตร.ซม
(3) 3130 ตร.ซม
(4) 3250 ตร.ซม
แนวคิด
อัตราสวนเหล็กยืนตอหนาตัดคอนกรีตตองอยูระหวาง 1% ถึง 8% หากใหรับน้ําหนักเทากัน 1%
ตองใชหนาตัดเสาโตที่สุดและ 8% ใชหนาตัดเสาเล็กที่สุด
(
P = 0.85A g 0.25f c' + f sρg )
โดย Ag = เนื้อที่หนาตัดเสา
A st = เนื้อที่หนาตัดเหล็กยืน
A st
ρg = = อัตราสวนเนือ้ ที่หนาตัดเหล็กยืนตอหนาตัดเสา อยูระหวาง 0.01 ถึง 0.08
Ag
f s = 1200 ksc สําหรับเหล็ก SR24
f s = 0.4f y ≤ 2100 ksc สําหรับเหล็กขอออย
(130 + 98.5) × 1000 = 0.85A g (0.25 × 280 + 1500 × 0.01)
A g = 3162.629758 cm 2

คําตอบ ขอ (3) 3130 ตร.ซม

336
คําถามขอที่ 159
เสาสั้นปลอกเดี่ยวเสริมเหล็กยืน As = As' รับแรงอัดใชงานตามแนวแกนเนื่องจากน้ําหนักบรรทุก
คงที่และน้ําหนักบรรทุกจร ตามลําดับ ดังนี้ PD = 130 ตัน และ PL = 98.5 ตัน กําหนดให f c' = 280
กก/ซม2 และ fy = 4000 กก/ซม2 จงหาเนื้อที่หนาตัดเสาที่ใหญที่สุด โดยวิธี USD (SDM), U =
1.7D+2.0L
ตัวเลือก
(1) 1500 ตร.ซม
(2) 1600 ตร.ซม
(3) 2100 ตร.ซม
(4) 2250 ตร.ซม
แนวคิด
ในวิธีกาํ ลัง เสาสั้นปลอกเดี่ยวจะรับน้ําหนักได
[ ] [
φPn = 0.8φ 0.85f c' A g + f y A st = 0.8 × 0.70 0.85f c' A g + f y A st ]
φPn = 0.56[0.85f A'
c g + f y A st ]
หนาตัดจะใหญที่สุดเมื่อ ρt = Ast = 0.01 หรือ Ast = 0.01A g
Ag
[
(1.7 × 130 + 2.0 × 98.5) × 1000 = 0.56 0.85 × 280A g + 4000 × 0.01A g ]
A g = 2684.994861 cm 2
ไมมีคําตอบใดถูกตองเลย หากเปลี่ยนตัวคูณเพิ่มน้ําหนักเปน U = 1.4D + 1.7L
[
(1.4 × 130 + 1.7 × 98.5) × 1000 = 0.56 0.85 × 280A g + 4000 × 0.01A g ]
A g = 2244.668551 cm 2
คําตอบ ขอ (4) 2250 ตร.ซม

337
คําถามขอที่ 160
เสาสั้นปลอกเดี่ยวเสริมเหล็กยืน As = As' รับแรงอัดใชงานตามแนวแกนเนื่องจากน้ําหนักบรรทุก
คงที่และน้ําหนักบรรทุกจร ตามลําดับ ดังนี้ PD = 130 ตัน และ PL = 98.5 ตัน กําหนดให f c' = 280
กก/ซม2 และ fs = 1500 กก/ซม2 ถาใหปริมาณเหล็กยืนเทากับ 4% จงหาเนื้อที่ของหนาตัดเสา โดยวิธี
WSD
ตัวเลือก
(1) 1800 ตร.ซม
(2) 1900 ตร.ซม
(3) 2000 ตร.ซม
(4) 2100 ตร.ซม
แนวคิด
อัตราสวนเหล็กยืนตอหนาตัดคอนกรีตตองอยูระหวาง 1% ถึง 8% หากใหรับน้ําหนักเทากัน 1%
ตองใชหนาตัดเสาโตที่สุดและ 8% ใชหนาตัดเสาเล็กที่สุด
(
P = 0.85A g 0.25f c' + f sρg )
โดย Ag = เนื้อที่หนาตัดเสา
A st = เนื้อที่หนาตัดเหล็กยืน
A st
ρg = = อัตราสวนเนือ้ ที่หนาตัดเหล็กยืนตอหนาตัดเสา อยูระหวาง 0.01 ถึง 0.08
Ag
f s = 1200 ksc สําหรับเหล็ก SR24
f s = 0.4f y ≤ 2100 ksc สําหรับเหล็กขอออย
(130 + 98.5) × 1000 = 0.85A g (0.25 × 280 + 1500 × 0.04)
A g = 2067.873303 cm 2
คําตอบ ขอ (3) 2000 ตร.ซม

338
คําถามขอที่ 161
เสาสั้นปลอกเดี่ยวเสริมเหล็กยืน As = As' รับแรงอัดใชงานตามแนวแกนเนื่องจากน้ําหนักบรรทุก
คงที่และน้ําหนักบรรทุกจร ตามลําดับ ดังนี้ PD = 130 ตัน และ PL = 98.5 ตัน กําหนดให f c' = 280
กก/ซม2 และ fy = 4000 กก/ซม2 ถาใหปริมาณเหล็กยืนเทากับ 3% จงหาเนื้อที่ของหนาตัดเสา โดยวิธี
USD
ตัวเลือก
(1) 1650 ตร.ซม
(2) 1750 ตร.ซม
(3) 1800 ตร.ซม
(4) 1850 ตร.ซม
แนวคิด
ในวิธีกาํ ลัง เสาสั้นปลอกเดี่ยวจะรับน้ําหนักได
[ ] [
φPn = 0.8φ 0.85f c' A g + f y A st = 0.8 × 0.70 0.85f c' A g + f y A st ]
φPn = 0.56[0.85f A '
c g + f y A st ]
กําหนดให ρt = Ast = 0.03 หรือ Ast = 0.03A g
Ag
[
(1.4 × 130 + 1.7 × 98.5) × 1000 = 0.56 0.85 × 280A g + 4000 × 0.03A g ]
A g = 1743.06664 cm 2
คําตอบ ขอ (2) 1800 ตร.ซม

339
คําถามขอที่ 162
เสาสั้นปลอกเกลียว รับแรงอัดใชงานตามแนวแกนเนื่องจากน้ําหนักบรรทุกคงที่และน้ําหนักบรรทุก
จร ตามลําดับดังนี้ PD = 150 ตัน และ PL =100 ตัน กําหนดให f c' = 250 กก/ซม2 และ fy = 3000 กก/
ซม2 จงประมาณขนาดเสนผาศูนยกลางของหนาตัดเสาที่เล็กที่สุด โดยวิธี WSD
ตัวเลือก
(1) 35 ซม
(2) 45 ซม
(3) 50 ซม
(4) 60 ซม
แนวคิด
อัตราสวนเหล็กยืนตอหนาตัดคอนกรีตตองอยูระหวาง 1% ถึง 8% หากใหรับน้ําหนักเทากัน 1%
ตองใชหนาตัดเสาโตที่สุดและ 8% ใชหนาตัดเสาเล็กที่สุด
(
P = A g 0.25f c' + f sρg )
โดย Ag = เนื้อที่หนาตัดเสา
A st = เนื้อที่หนาตัดเหล็กยืน
A st
ρg = = อัตราสวนเนือ้ ที่หนาตัดเหล็กยืนตอหนาตัดเสา อยูระหวาง 0.01 ถึง 0.08
Ag
f s = 1200 ksc สําหรับเหล็ก SR24
f s = 0.4f y ≤ 2100 ksc สําหรับเหล็กขอออย
(150 + 100) × 1000 = A g (0.25 × 280 + 0.4 × 3000 × 0.08)
A g = 1506.024096 cm 2
π 2
Ag = Dc = 1506.024096
4
Dc = 43.79 cm
คําตอบ ขอ (2) 45 ซม

340
คําถามขอที่ 163
เสาสั้นปลอกเกลียว รับแรงอัดใชงานตามแนวแกนเนื่องจากน้ําหนักบรรทุกคงที่และน้ําหนักบรรทุก
จร ตามลําดับดังนี้ PD = 150 ตัน และ PL =100 ตัน กําหนดให f c' = 250 กก/ซม2 และ fy = 3000 กก/
ซม2 จงประมาณขนาดเสนผาศูนยกลางของหนาตัดเสาที่เล็กที่สุด โดยวิธี USD
ตัวเลือก
(1) 35 ซม
(2) 45 ซม
(3) 50 ซม
(4) 60 ซม
แนวคิด
ในวิธีกาํ ลัง เสาสั้นปลอกเกลียวจะรับน้ําหนักได
[ ] [
φPn = 0.85φ 0.85f c' A g + f y A st = 0.85 × 0.75 0.85f c' A g + f y A st ]
[
φPn = 0.6375 0.85f c' A g + f y A st ]
เสาจะเล็กที่สดุ เมื่อ ρt = A st = 0.08 หรือ Ast = 0.08Ag
Ag
[
(1.4 × 150 + 1.7 × 1000) × 1000 = 0.6375 0.85 × 280A g + 3000 × 0.08A g ]
A g = 1247.026007 cm 2
π 2
Ag = Dc = 1247.026007
4
D c = 39.847 cm
คําตอบ ขอ (2) 45 ซม

341
คําถามขอที่ 164
เสาสั้นปลอกเกลียว รับแรงอัดใชงานตามแนวแกนเนื่องจากน้ําหนักบรรทุกคงที่และน้ําหนักบรรทุก
จร ตามลําดับดังนี้ PD = 150 ตัน และ PL =100 ตัน กําหนดให f c' = 250 กก/ซม2 และ fy = 3000 กก/
ซม2 จงประมาณขนาดเสนผาศูนยกลางของหนาตัดเสาที่ใหญที่สุด โดยวิธี WSD
ตัวเลือก
(1) 35 ซม
(2) 45 ซม
(3) 50 ซม
(4) 60 ซม
แนวคิด
อัตราสวนเหล็กยืนตอหนาตัดคอนกรีตตองอยูระหวาง 1% ถึง 8% หากใหรับน้ําหนักเทากัน 1%
ตองใชหนาตัดเสาโตที่สุดและ 8% ใชหนาตัดเสาเล็กที่สุด
(
P = A g 0.25f c' + f sρg )
โดย Ag = เนื้อที่หนาตัดเสา
A st = เนื้อที่หนาตัดเหล็กยืน
A st
ρg = = อัตราสวนเนือ้ ที่หนาตัดเหล็กยืนตอหนาตัดเสา อยูระหวาง 0.01 ถึง 0.08
Ag
f s = 1200 ksc สําหรับเหล็ก SR24
f s = 0.4f y ≤ 2100 ksc สําหรับเหล็กขอออย
(150 + 100) × 1000 = A g (0.25 × 280 + 0.4 × 3000 × 0.01)
A g = 3048.780488 cm 2
π 2
Ag = Dc = 3048.780488
4
Dc = 62.3 cm
คําตอบ ขอ (3) 65 ซม

342
คําถามขอที่ 165
เสาสั้นปลอกเกลียว รับแรงอัดใชงานตามแนวแกนเนื่องจากน้ําหนักบรรทุกคงที่และน้ําหนักบรรทุก
จร ตามลําดับดังนี้ PD = 150 ตัน และ PL =100 ตัน กําหนดให f c' = 250 กก/ซม2 และ fy = 3000 กก/
ซม2 จงประมาณขนาดเสนผาศูนยกลางของหนาตัดเสาที่ใหญที่สุด โดยวิธี USD, U=1.7D+2.0L
ตัวเลือก
(1) 55 ซม
(2) 60 ซม
(3) 65 ซม
(4) 70 ซม
แนวคิด
การคําน้ําหนักบรรทุกเพิ่มคาใชตาม วสท. คือ U = 1.4D + 1.7L
ในวิธีกาํ ลัง เสาสั้นปลอกเกลียวจะรับน้ําหนักได
[ ] [
φPn = 0.85φ 0.85f c' A g + f y A st = 0.85 × 0.75 0.85f c' A g + f y A st ]
[
φPn = 0.6375 0.85f c' A g + f y A st ]
เสาจะใหญที่สุดเมื่อ ρt = A st = 0.01 หรือ Ast = 0.01Ag
Ag
[
(1.4 × 150 + 1.7 × 1000) × 1000 = 0.6375 0.85 × 280A g + 3000 × 0.01A g ]
A g = 2224.173251 cm 2
π 2
Ag = Dc = 2224.173251
4
Dc = 53.21564937 cm
คําตอบ ขอ (1) 55 ซม

343
คําถามขอที่ 166
เสาสั้นปลอกเกลียว รับแรงอัดใชงานตามแนวแกนเนื่องจากน้ําหนักบรรทุกคงที่และน้ําหนักบรรทุก
จร ตามลําดับดังนี้ PD = 150 ตัน และ PL =100 ตัน กําหนดให f c' = 250 กก/ซม2 และ fy = 3000 กก/
ซม2 ถาใชปริมาณเหล็กยืนเทากับ 4% จงหาขนาดเสนผานศูนยกลางของหนาตัดเสา โดยวิธี WSD
ตัวเลือก
(1) 45 ซม
(2) 50 ซม
(3) 55 ซม
(4) 60 ซม
แนวคิด
อัตราสวนเหล็กยืนตอหนาตัดคอนกรีตตองอยูระหวาง 1% ถึง 8% หากใหรับน้ําหนักเทากัน 1%
ตองใชหนาตัดเสาโตที่สุดและ 8% ใชหนาตัดเสาเล็กที่สุด
(
P = A g 0.25f c' + f sρg )
โดย Ag = เนื้อที่หนาตัดเสา
A st = เนื้อที่หนาตัดเหล็กยืน
A st
ρg = = อัตราสวนเนือ้ ที่หนาตัดเหล็กยืนตอหนาตัดเสา อยูระหวาง 0.01 ถึง 0.08
Ag
f s = 1200 ksc สําหรับเหล็ก SR24
f s = 0.4f y ≤ 2100 ksc สําหรับเหล็กขอออย
(150 + 100) × 1000 = A g (0.25 × 250 + 0.4 × 3000 × 0.04)
A g = 2262.443439 cm 2
π 2
Ag = Dc = 2262.443439
4
Dc = 53.6715 cm
คําตอบ ขอ (3) 55 ซม

344
คําถามขอที่ 167
เสาสั้นปลอกเกลียว รับแรงอัดใชงานตามแนวแกนเนื่องจากน้ําหนักบรรทุกคงที่และน้ําหนักบรรทุก
จร ตามลําดับดังนี้ PD = 150 ตัน และ PL =100 ตัน กําหนดให f c' = 250 กก/ซม2 และ fy = 3000 กก/
ซม2 ถาใชปริมาณเหล็กยืนเทากับ 4% จงหาขนาดเสนผานศูนยกลางของหนาตัดเสา โดยวิธี
USD(SDM) , U = 1.7D+2.0L
ตัวเลือก
(1) 45 ซม
(2) 50 ซม
(3) 55 ซม
(4) 60 ซม
แนวคิด
การคําน้ําหนักบรรทุกเพิ่มคาใชตาม วสท. คือ U = 1.4D + 1.7L
ในวิธีกาํ ลัง เสาสั้นปลอกเกลียวจะรับน้ําหนักได
[ ] [
φPn = 0.85φ 0.85f c' A g + f y A st = 0.85 × 0.75 0.85f c' A g + f y A st ]
[
φPn = 0.6375 0.85f c' A g + f y A st ]
ใช ρt = Ast = 0.04 หรือ Ast = 0.04Ag
Ag
[
(1.4 × 150 + 1.7 × 1000) × 1000 = 0.6375 0.85 × 250A g + 3000 × 0.04A g ]
A g = 1792.717087 cm 2
π 2
Ag = Dc = 1792.717087
4
Dc = 47.77612675 cm
คําตอบ ขอ (2) 50 ซม

345
คําถามขอที่ 168
เสาสั้นปลอกเดี่ยว รับแรงอัดใชงานตามแนวแกนเนื่องจากน้ําหนักบรรทุกคงที่และน้ําหนักบรรทุก
จร ตามลําดับ ดังนี้ PD = 130 ตัน และ PL = 98.5 ตัน กําหนดให f c' = 280 กก/ซม2 และ fy = 4000
กก/ซม2 ถาเลือกใชขนาดเสาเทากับ 50 × 50 ซม ใหใช WSD หาเนื้อที่หนาตัดทั้งหมด (Ast) ของ
เหล็กยืน
ตัวเลือก
(1) 50 ตร.ซม
(2) 60 ตร.ซม
(3) 65 ตร.ซม
(4) 70 ตร.ซม
แนวคิด
อัตราสวนเหล็กยืนตอหนาตัดคอนกรีตตองอยูระหวาง 1% ถึง 8% หากใหรับน้ําหนักเทากัน 1%
ตองใชหนาตัดเสาโตที่สุดและ 8% ใชหนาตัดเสาเล็กที่สุด
(
P = 0.85A g 0.25f c' + f sρg )
โดย Ag = เนื้อที่หนาตัดเสา
A st = เนื้อที่หนาตัดเหล็กยืน
A st
ρg = = อัตราสวนเนือ้ ที่หนาตัดเหล็กยืนตอหนาตัดเสา อยูระหวาง 0.01 ถึง 0.08
Ag
f s = 1200 ksc สําหรับเหล็ก SR24
f s = 0.4f y ≤ 2100 ksc สําหรับเหล็กขอออย
(130 + 98.5) × 1000 = (50 × 50)(0.25 × 280 + 0.4 × 4000ρg )
ρg = 0.013375
A st = ρg A g = 0.013375 × (50 × 50 ) = 33.4375 cm 2
คําตอบ ไมมีขอใดถูกตองเลย
เฉลย ขอ (2) 60 ตร.ซม

346
คําถามขอที่ 169
เสาสั้นปลอกเดี่ยว รับแรงอัดใชงานตามแนวแกนเนื่องจากน้ําหนักบรรทุกคงที่และน้ําหนักบรรทุก
จร ตามลําดับ ดังนี้ PD = 130 ตัน และ PL = 98.5 ตัน กําหนดให f c' = 280 กก/ซม2 และ fy = 4000
กก/ซม2 ถาเลือกใชขนาดเสาเทากับ 50 × 50 ซม ใหใช USD(SDM) หาเนื้อทีห่ นาตัดทั้งหมด (Ast)
ของเหล็กยืน U = 1.7D + 2.0L
ตัวเลือก
(1) 10 ตร.ซม
(2) 20 ตร.ซม
(3) 25 ตร.ซม
(4) 30 ตร.ซม
แนวคิด
เสาสั้นปลอกเดี่ยวรับแรงตามแนวแกนอยางเดียว จะรับน้ําหนักได
ใฃการเพิ่มน้ําหนักตามมาตรฐาน ว.ส.ท. คือ U = 1.4DL + 1.7LL
(
φPn = 0.56 0.85f c' A g + f y A st )
(1.4 × 130 + 1.7 × 98.5) × 1000 = 0.56 × (0.85 × 280 × 50 × 50 + 4000A st )
A st = 7.25 cm 2
A st 7.25
ρt = = = 0.002 < 0.01 Use 0.01
A g 50 × 50
A st = ρ t A g = 0.01 × 50 × 50 = 25 cm 2
คําตอบ ขอ (3) 25 ตร.ซม

347
คําถามขอที่ 170
เสาสั้นปลอกเกลียวรับแรงอัดใชงานตามแนวแกนเนื่องจากน้ําหนักบรรทุกคงที่และน้ําหนักบรรทุก
จร ตามลําดับดังนี้ PD = 150 ตัน , PL = 100 ตัน กําหนดให f c' = 250 กก/ซม2 และ fy = 3000 กก/ซม2
ถาเลือกใชเสาขนาดเสนผาศูนยกลาง 50 ซม ใหใชวิธี WSD หาเนื้อที่หนาตัดทั้งหมด (Ast) ของเหล็ก
ยืน
ตัวเลือก
(1) 20 ตร.ซม
(2) 40 ตร.ซม
(3) 50 ตร.ซม
(4) 60 ตร.ซม
แนวคิด
เสาสั้นปลอกเกลียว รับน้ําหนักตามแนวแกน
(
P = A g 0.25f c' + f sρg )
(150 + 100) × 1000 = π × 502 × (0.25 × 250 + 0.4 × 3000ρg )
4
ρg = 0.054019962
π
A st = ρg A g = 0.054019962 × × 50 2 = 106.0679475 cm 2
4
คําตอบ ไมมีขอใดที่ถกู ตอง
เฉลย ขอ (2) 40 ตร.ซม

348
คําถามขอที่ 171
เสาสั้นปลอกเกลียวรับแรงอัดใชงานตามแนวแกนเนื่องจากน้ําหนักบรรทุกคงที่และน้ําหนักบรรทุก
จร ตามลําดับดังนี้ PD = 150 ตัน , PL = 100 ตัน กําหนดให f c' = 250 กก/ซม2 และ fy = 3000 กก/ซม2
ถาเลือกใชเสาขนาดเสนผาศูนยกลาง 50 ซม ใหใชวิธี USD หาเนื้อที่หนาตัดทั้งหมด (Ast) ของเหล็ก
ยืน U = 1.7D + 2.0L
ตัวเลือก
(1) 20 ตร.ซม
(2) 40 ตร.ซม
(3) 50 ตร.ซม
(4) 60 ตร.ซม
แนวคิด
ใชน้ําหนักเพิ่มคาตามมาตรฐาน ว.ส.ท
φPn = 0.6375(0.85f c' A g + f y A st )

(1.4 × 150 + 1.7 × 100) × 1000 = 0.6375 × ⎛⎜ 0.85 × 250 × π × 502 + 3000A st ⎞⎟
⎝ 4 ⎠
A st = 59.61 cm 2

คําตอบ ขอ (4) 60 ตร.ซม

349
คําถามขอที่ 172
ถาเสาสั้นปลอกเดีย่ วสี่เหลีย่ มจัตุรัสขนาดเทากับ h × h ซม สามารถรับแรงอัดตามแนวแกนไดตาม
มาตรฐานกําหนดของ WSD ซึ่งในที่นี้สมมติวามีคาเทากับ P ตัน จงหาคาโมเมนตดัดใชงาน (M)
มากที่สุดที่เสานี้สามารถรับได ซึ่งเสมือนวาเสานี้รับแรงอัดตามแนวแกนเพียงอยางเดียว
ตัวเลือก
(1) 0.0005hP ตัน.เมตร
(2) 0.001hP ตัน.เมตร
(3) 0.01hP ตัน.เมตร
(4) 0.05hP ตัน.เมตร
แนวคิด
ในชวงแรงอัดเปนหลัก แมวาจะคิดการรับน้าํ หนักตามแนวแกน แตก็จะคิดวามีโมเมนตดัดโดยระยะ
เยื้องศูนย 0.10h หากเปนเสาปลอกเดี่ยว และ 0.05h เมื่อเปนเสาปลอกเกลียว แตตองไมนอยกวา 2.5
ซม
ดังนั้นโมเมนตดัดที่เสาจะรับไดสูงสุด M = 0.10hP ตัน.ซม = 0.001hP ตัน.เมตร
คําตอบ ขอ (2) 0.001hP ตันเมตร

350
คําถามขอที่ 173
ถาเสาสั้นปลอกเกลียวขนาดเสนผานศูนยกลาง h ซม สามารถรับแรงอัดตามแนวแกนไดตาม
มาตรฐานของ WSD ซึ่งในทีน่ ี้สมมติวามีคา เทากับ P ตัน จงหาคาโมเมนตดัดใชงาน (M) มากที่สุดที่
เสานี้สามารถรับได ซึ่งเสมือนวาเสานี้รับแรงอัดตามแนวแกนอยางเดียว
ตัวเลือก
(1) 0.0005hP ตัน.เมตร
(2) 0.001hP ตัน.เมตร
(3) 0.01hP ตัน.เมตร
(4) 0.05hP ตัน.เมตร
แนวคิด
ในชวงแรงอัดเปนหลัก แมวาจะคิดการรับน้าํ หนักตามแนวแกน แตก็จะคิดวามีโมเมนตดัดโดยระยะ
เยื้องศูนย 0.10h หากเปนเสาปลอกเดี่ยว และ 0.05h เมื่อเปนเสาปลอกเกลียว แตตองไมนอยกวา 2.5
ซม
ดังนั้นโมเมนตดัดที่เสาจะรับไดสูงสุด M = 0.05hP ตัน.ซม = 0.0005hP ตัน.เมตร

คําตอบ ขอ (1) 0.0005hP ตัน.เมตร

351
คําถามขอที่ 174
การคํานวณออกแบบเสาในชวงแรงอัดเปนหลักตามวิธี WSD จะพบวา
ตัวเลือก
(1) เมื่อลดคาแรงอัดตามแนวแกนลง เสาจะสามารถรับโมเมนตดัดไดมากขึ้นและเปนสัดสวนกัน
(2) เมื่อลดคาแรงอัดตามแนวแกนลง เสาจะสามารถรับโมเมนตดัดไดเทาเดิม
(3) เมื่อลดคาแรงอัดตามแนวแกนลง เสาจะสามารถรับโมเมนตดัดไดนอยลง
(4) เมื่อเพิ่มคาแรงอัดตามแนวแกนมากขึ้น เสาจะสามารถรับโมเมนตดัดไดมากขึ้นกวาเดิม
แนวคิด
ดูกราฟออกแบบ เชนรูปที่ 8.12 หนา 241 การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีหนวย
แรงใชงาน ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร ในชวงแรงอัดเปนหลัก เสนกราฟจะเอียงลงทางขวา เมื่อลดแรงตาม
แนวแกน คาโมเมนตจะมากขึ้น

คําตอบ (4) เมื่อเพิ่มคาแรงอัดตามแนวแกนมากขึ้น เสาจะสามารถรับโมเมนตดัดไดมากขึ้น


กวาเดิม

352
คําถามขอที่ 175
การคํานวณออกแบบเสาในชวงแรงดึงเปนหลักตามวิธี WSD จะพบวา
ตัวเลือก
(1) เมื่อลดคาแรงอัดตามแนวแกนลง เสาจะรับโมเมนตดัดไดมากขึ้น
(2) เมื่อลดคาแรงอัดตามแนวแกนลง เสาจะรับโมเมนตดัดไดเทาเดิม
(3) เมื่อลดคาแรงอัดตามแนวแกนลง เสาจะรับโมเมนตดัดไดนอยลงและเปนสัดสวนกัน
(4) เมื่อเพิ่มคาแรงอัดตามแนวแกนมากขึ้น เสาจะรับโมเมนตดัดไดมากขึน้ แตไมเปนสัดสวนกัน
แนวคิด
ดูกราฟออกแบบ เชนรูปที่ 8.12 หนา 241 การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีหนวย
แรงใชงาน ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร ในชวงแรงดึงเปนหลัก เสนกราฟจะเอียงลงทางซาย เมื่อลดแรงตาม
แนวแกน คาโมเมนตจะนอยลง (ในความเปนจริงกราฟจะไมเปนเสนตรงหรือไมเปนสัดสวนกัน) ที่
เห็นเปนเสนตรงเพื่อสะดวกในการประมาณคา

คําตอบ ขอ (3)เมื่อลดคาแรงอัดตามแนวแกนลง เสาจะรับโมเมนตดัดไดนอยลงและเปน


สัดสวนกัน

353
คําถามขอที่ 176
พฤติกรรมจริงของเสาในชวงแรงอัดเปนหลัก จะพบวา
ตัวเลือก
(1) เมื่อลดคาแรงอัดตามแนวแกนลง เสาจะสามารถรับโมเมนตดัดไดมากขึ้นแตไมเปนสัดสวน
โดยตรง
(2) เมื่อลดคาแรงอัดตามแนวแกนลง เสาจะสามารถรับโมเมนตดัดไดเทาเดิม
(3) เมื่อลดคาแรงอัดตามแนวแกนลง เสาจะสามารถรับโมเมนตดัดตามแนวแกนไดนอยลง
(4) เมื่อเพิ่มคาแรงอัดตามแนวแกนมากขึ้น เสาจะสามารถรับโมเมนตดัดไดมากขึ้นกวาเดิม
แนวคิด
ดูกราฟออกแบบ เชนรูปที่ 8.12 หนา 226 การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีหนวย
แรงใชงาน ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร ในชวงแรงอัดเปนหลัก เสนกราฟจะเอียงลงทางขวา เมื่อลดแรงตาม
แนวแกน คาโมเมนตจะมากขึ้น แตเสนกราฟจะโคงนอยๆ จึงไมเปนสัดสวนกัน

คําตอบ ขอ (1) เมื่อลดคาแรงอัดตามแนวแกนลง เสาจะสามารถรับโมเมนตดัดไดมากขึ้นแตไม


เปนสัดสวนโดยตรง

354
คําถามขอที่ 177
พฤติกรรมจริงของเสาในชวงแรงดึงเปนหลัก จะพบวา
ตัวเลือก
(1) เมื่อลดคาแรงอัดตามแนวแกนลง เสาจะรับโมเมนตดัดไดมากขึ้น
(2) เมื่อลดคาแรงอัดตามแนวแกนลง เสาจะรับโมเมนตดัดไดเทาเดิม
(3) เมื่อลดคาแรงอัดตามแนวแกนลง เสาจะรับโมเมนตดัดไดนอยลงแตไมเปนสัดสวนโดยตรง
(4) เมื่อเพิ่มคาแรงอัดตามแนวแกนมากขึ้น เสาจะรับโมเมนตดัดไดมากขึ้นและเปนสัดสวน
โดยตรง
แนวคิด
ดูกราฟออกแบบ เชนรูปที่ 8.12 หนา 226 การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีหนวย
แรงใชงาน ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร ในชวงแรงดึงเปนหลัก เสนกราฟจะเอียงลงทางซาย เมื่อลดแรงตาม
แนวแกน คาโมเมนตจะลดลง แตเสนกราฟจะโคง จึงไมเปนสัดสวนกัน

คําตอบ ขอ (3) เมือ่ ลดคาแรงอัดตามแนวแกนลง เสาจะรับโมเมนตดัดไดนอยลงแตไมเปน


สัดสวนโดยตรง

355
คําถามขอที่ 178
เสาสั้นปลอกเดี่ยวขนาดเทากับ 50 × 50 ซม เสริมเหล็กยืนทั้งหมด 6 เสน ขนาด 25 มม (Ast = 29.45
ตร.ซม) โดยที่ As = As' และระยะคอนกรีตหุม = 5 ซม เสานี้ตองรับแรงอัดตามแนวแกน และ
โมเมนตดัดรอบ plastic centroid ใหใชวิธี WSD ประมาณคาหนวยแรงดัด (Fb) ที่ยอมใหของเสา
คอนกรีตที่จะใชในสมการ interaction กําหนดให f c' = 250 กก/ซม2 , fy = 3000 กก/ซม2 และ Es =
2 × 10^6 กก/ซม2
ตัวเลือก
(1) 100 กก/ตร.ซม
(2) 115 กก/ตร.ซม
(3) 130 กก/ตร.ซม
(4) 150 กก/ตร.ซม
แนวคิด
กรณีเสารับแรงตามแนวแกนและแรงดัดรวมกันนั้น
f a f bx f by
+ + ≤ 1.0
Fa Fbx Fby
โดยที่ Fb = Fbx = Fby = 0.45f c' = 0.45 × 250 = 112.5 ksc
คําตอบ ขอ (2) 115 กก/ตร.ซม

356
คําถามขอที่ 179
เสาสั้นปลอกเดี่ยวขนาดเทากับ 50 × 50 ซม เสริมเหล็กยืนทั้งหมด 6 เสน ขนาด 25 มม (Ast = 29.45
ตร.ซม) โดยที่ As = As' และระยะคอนกรีตหุม = 5 ซม เสานี้ตองรับแรงอัดตามแนวแกน และ
โมเมนตดัดรอบ plastic centroid ใหใชวิธี WSD ประมาณคาโมเมนตอินเนอรเชียของหนาตัดเสา
เมื่อแรงอัดเปนหลัก กําหนดให n = 9
ตัวเลือก
(1) 520000 ซม^4
(2) 580000 ซม^4
(3) 680000 ซม^4
(4) 720000 ซม^4
แนวคิด
ดู การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีหนวยแรงใชงาน ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร หนา
238
I =
bh 3
+ (2n − 1)A
(gh )
2

x st
12 4

Ix =
50 × 50 3
+ (2 × 9 − 1) × 29.45 ×
(50 − 5 − 5)2
12 4
I x = 721093.3333 cm 4

คําตอบ ขอ (4) 720000 ซม^4

357
คําถามขอที่ 180
เสาสั้นปลอกเดี่ยวขนาดเทากับ 50 × 50 ซม เสริมเหล็กยืนทั้งหมด 6 เสน ขนาด 25 มม (Ast = 29.45
ตร.ซม) โดยที่ As = As' และระยะคอนกรีตหุม = 5 ซม เสานี้ตองรับแรงอัดตามแนวแกน และ
โมเมนตดัดรอบ plastic centroid ใหใชวธิ ี USD ประมาณคาตําแหนงแกนสะเทินที่สภาวะสมดุล
(Balanced Condition) ซึ่งอยูห างจากดานรับแรงอัด กําหนดให f c' = 250 กก/ซม2 , fy = 3000 กก/
ซม2 และ Es = 2 × 10^6 กก/ซม2
ตัวเลือก
(1) 22 ซม
(2) 25 ซม
(3) 28 ซม
(4) 30 ซม
แนวคิด
ดู การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีกาํ ลัง ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร
ระยะ cb = ตําแหนงแกนสะเทินวัดจากผิวรับแรงอัด หาไดจาก
εu 0.003 0.003E s
cb = d= d= d
εu + ε y fy 0.003E s + f y
0.003 +
Es
0.003 × 2 × 10 6
6000
cb = d= d
0.003 × 2 × 10 + f y
6
6000 + f y

cb =
6000
(50 − 5) = 30 cm
6000 + 3000
คําตอบ ขอ (4) 30 ซม

358
คําถามขอที่ 181
เสาสั้นปลอกเดี่ยวขนาดเทากับ 25 × 45 ซม เสริมเหล็กยืน 6 เสน เสนละ 25 มม (Ast = 29.45 ตร.ซม)
โดยที่ As = As' และระยะคอนกรีตหุม = 3 ซม เสานี้ตองรับแรงอัดตามแนวแกน และโมเมนตดัด
รอบ plastic centroid .ใหใชวิธี USD ประมาณตําแหนงแกนสะเทินที่สภาวะสมดุล (Balanced
Condition) ซึ่งอยูหางจากดานรับแรงอัด กําหนดให f c' = 250 กก/ซม2 , fy = 3000 กก/ซม2 และ Es =
2 × 10^6 กก/ซม2
ตัวเลือก
(1) 22 ซม
(2) 25 ซม
(3) 28 ซม
(4) 30 ซม
แนวคิด
ดู การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีกาํ ลัง ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร
ระยะ cb = ตําแหนงแกนสะเทินวัดจากผิวรับแรงอัด หาไดจาก
εu 0.003 0.003E s
cb = d= d= d
εu + ε y fy 0.003E s + f y
0.003 +
Es
0.003 × 2 × 10 6
6000
cb = d= d
0.003 × 2 × 10 + f y
6
6000 + f y

cb =
6000
(45 − 3) = 28 cm
6000 + 3000

คําตอบ ขอ (3) 28 ซม

359
คําถามขอที่ 182
เสาสั้นปลอกเดี่ยวขนาดเทากับ 50 × 50 ซม เสริมเหล็กยืนทั้งหมด 6 เสน ขนาด 25 มม (Ast = 29.45
ตร.ซม) โดยที่ As = As' และระยะคอนกรีตหุม = 5 ซม เสานี้ตองรับแรงอัดตามแนวแกน และ
โมเมนตดัดรอบ plastic centroid ใหใชวิธี USD ประมาณคาหนวยการยืดหดตัวของเหล็กเสริมรับ
แรงอัด ณ สภาวะสมดุล (Balanced Condition) กําหนดให f c' = 250 กก/ซม2 , fy = 3000 กก/ซม2
และ Es = 2 × 10^6 กก/ซม2
ตัวเลือก
(1) 0.0015 มม/มม
(2) 0.0020 มม/มม
(3) 0.0025 มม/มม
(4) 0.0030 มม/มม
แนวคิด
ดู การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีกาํ ลัง ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร
ระยะ cb = ตําแหนงแกนสะเทินวัดจากผิวรับแรงอัด หาไดจาก
εu 0.003 0.003E s
cb = d= d= d
εu + ε y fy 0.003E s + f y
0.003 +
Es
0.003 × 2 × 10 6
6000
cb = d= d
0.003 × 2 × 10 + f y
6
6000 + f y

cb =
6000
(50 − 5) = 30 cm
6000 + 3000
จากสามเหลี่ยมคลาย
εu εs'
=
cb cb − d'
c b − d' ⎛ d' ⎞ ⎛ 5 ⎞
εs' = ε u = ⎜⎜1 − ⎟⎟ε u = ⎜1 − ⎟ × 0.003 = 0.0025 mm / mm
cb ⎝ cb ⎠ ⎝ 30 ⎠
คําตอบ ขอ (3) 0.0025 มม/มม

360
คําถามขอที่ 183
เสาสั้นปลอกเดี่ยวขนาดเทากับ 25 × 45 ซม เสริมเหล็กยืน 6 เสน เสนละ 25 มม (Ast = 29.45 ตร.ซม)
โดยที่ As = As' และระยะคอนกรีตหุม = 3 ซม เสานี้ตองรับแรงอัดตามแนวแกน และโมเมนตดัด
รอบ plastic centroid .ใหใชวิธี USD ประมาณคาหนวยการยืดหดตัวของเหล็กเสริมรับแรงอัด ณ
สภาวะสมดุล (Balanced Condition) กําหนดให f c' = 250 กก/ซม2 , fy = 3000 กก/ซม2 และ Es =
2 × 10^6 กก/ซม2
ตัวเลือก
(1) 0.0015 มม/มม
(2) 0.0020 มม/มม
(3) 0.0025 มม/มม
(4) 0.0030 มม/มม
แนวคิด
ดู การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีกาํ ลัง ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร
ระยะ cb = ตําแหนงแกนสะเทินวัดจากผิวรับแรงอัด หาไดจาก
εu 0.003 0.003E s
cb = d= d= d
εu + ε y fy 0.003E s + f y
0.003 +
Es
0.003 × 2 × 10 6
6000
cb = d= d
0.003 × 2 × 10 + f y
6
6000 + f y

cb =
6000
(45 − 3) = 28 cm
6000 + 3000
จากสามเหลี่ยมคลาย
εu εs'
=
cb cb − d'
c b − d' ⎛ d' ⎞ ⎛ 3 ⎞
εs' = ε u = ⎜⎜1 − ⎟⎟ε u = ⎜1 − ⎟ × 0.003 = 0.002678571 mm / mm
cb ⎝ cb ⎠ ⎝ 28 ⎠

คําตอบ ขอ (3) 0.0025 มม/มม ใกลเคียงที่สุด

361
คําถามขอที่ 184
เสาสั้นปลอกเดี่ยวขนาดเทากับ 50 × 50 ซม เสริมเหล็กยืนทั้งหมด 6 เสน ขนาด 25 มม (Ast = 29.45
ตร.ซม) โดยที่ As = As' และระยะคอนกรีตหุม = 5 ซม เสานี้ตองรับแรงอัดตามแนวแกน และ
โมเมนตดัดรอบ plastic centroid ใหใชวธิ ี USD ประมาณกําลังตานทานแรงอัดประลัย (Pnb) ณ
สภาวะสมดุล (Balanced Condition) กําหนดให f c' = 250 กก/ซม2 , fy = 3000 กก/ซม2 และ Es =
2 × 10^6 กก/ซม2
ตัวเลือก
(1) 225 ตัน
(2) 250 ตัน
(3) 270 ตัน
(4) 360 ตัน
แนวคิด
ดู การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีกาํ ลัง ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร
ระยะ cb = ตําแหนงแกนสะเทินวัดจากผิวรับแรงอัด หาไดจาก
εu 0.003 0.003E s
cb = d= d= d
εu + ε y fy 0.003E s + f y
0.003 +
Es
0.003 × 2 × 10 6
6000
cb = d= d
0.003 × 2 × 10 + f y
6
6000 + f y

cb =
6000
(50 − 5) = 30 cm
6000 + 3000
f c' = 250 ksc < 280 ksc ⇒ β1 = 0.85
a b = β1c b = 0.85 × 30 = 25.5 cm
⎛ d' ⎞ ⎛ d' ⎞ ⎛ 5 ⎞
f s' = 0.003E s ⎜⎜1 − ⎟⎟ = 6000⎜⎜1 − ⎟⎟ = 6000⎜1 − ⎟ = 5000 ksc > f y
⎝ cb ⎠ ⎝ cb ⎠ ⎝ 30 ⎠
f s' = f y = 3000 ksc
Pnb = 0.85f c' ba b + A s' f s' − A s f y
29.45 29.45
Pnb = 0.85 × 250 × 50 × 25.5 + × 3000 − × 3000
2 2
Pnb = 270937.5 kg = 271 tonne
คําตอบ ขอ (3) 270 ตัน

362
คําถามขอที่ 185
เสาสั้นปลอกเดี่ยวขนาดเทากับ 25 × 50 ซม เสริมเหล็กยืนทั้งหมด 6 เสน ขนาด 25 มม (Ast = 29.45
ตร.ซม) โดยที่ As = As' และระยะคอนกรีตหุม = 3 ซม เสานี้ตองรับแรงอัดตามแนวแกน และ
โมเมนตดัดรอบ plastic centroid ใหใชวธิ ี USD ประมาณกําลังตานทานแรงอัดประลัย (Pnb) ณ
สภาวะสมดุล (Balanced Condition) กําหนดให f c' = 280 กก/ซม2 , fy = 4000 กก/ซม2 และ Es =
2 × 10^6 กก/ซม2
ตัวเลือก
(1) 140 ตัน
(2) 180 ตัน
(3) 220 ตัน
(4) 260 ตัน
แนวคิด
ดู การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีกาํ ลัง ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร
ระยะ cb = ตําแหนงแกนสะเทินวัดจากผิวรับแรงอัด หาไดจาก
εu 0.003 0.003E s
cb = d= d= d
εu + ε y fy 0.003E s + f y
0.003 +
Es
0.003 × 2 × 10 6
6000
cb = d= d
0.003 × 2 × 10 + f y
6
6000 + f y

cb =
6000
(50 − 3) = 28.2 cm
6000 + 4000
f c' = 280 ksc ⇒ β1 = 0.85
a b = β1c b = 0.85 × 28.2 = 23.97 cm
⎛ d' ⎞ ⎛ d' ⎞ ⎛ 3 ⎞
f s' = 0.003E s ⎜⎜1 − ⎟⎟ = 6000⎜⎜1 − ⎟⎟ = 6000⎜1 − ⎟ = 5362 ksc > f y
⎝ c b ⎠ ⎝ c b ⎠ ⎝ 28 . 2 ⎠
f s' = f y = 4000 ksc
Pnb = 0.85f c' ba b + A s' f s' − A s f y
29.45 29.45
Pnb = 0.85 × 280 × 25 × 23.97 + × 4000 − × 4000
2 2
Pnb = 142621.5 kg = 143 tonne
คําตอบ ขอ (1) 140 ตัน ใกลเคียงที่สุด

363
คําถามขอที่ 186
เสาสั้นปลอกเดี่ยวขนาดเทากับ 50 × 50 ซม เสริมเหล็กยืนทั้งหมด 6 เสน ขนาด 25 มม (Ast = 29.45
ตร.ซม) โดยที่ As = As' และระยะคอนกรีตหุม = 5 ซม เสานี้ตองรับแรงอัดตามแนวแกน และ
โมเมนตดัดรอบ plastic centroid ใหใชวิธี USD ประมาณกําลังตานทานโมเมนตดดั ประลัย (Mnb) ณ
สภาวะสมดุล (Balanced Condition) กําหนดให f c' = 250 กก/ซม2 , fy = 3000 กก/ซม2 และ Es =
2 × 10^6 กก/ซม2
ตัวเลือก
(1) 40 ตัน.เมตร
(2) 45 ตัน.เมตร
(3) 50 ตัน.เมตร
(4) 55 ตัน.เมตร
แนวคิด
ดู การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีกาํ ลัง ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร
ระยะ cb = ตําแหนงแกนสะเทินวัดจากผิวรับแรงอัด หาไดจาก
εu 0.003 0.003E s
cb = d= d= d
εu + ε y fy 0.003E s + f y
0.003 +
Es
0.003 × 2 × 10 6
6000
cb = d= d
0.003 × 2 × 10 + f y
6
6000 + f y

cb =
6000
(50 − 5) = 30 cm
6000 + 3000
f c' = 250 ksc < 280 ksc ⇒ β1 = 0.85
a b = β1c b = 0.85 × 30 = 225.5 cm
⎛ d' ⎞ ⎛ d' ⎞ ⎛ 5 ⎞
f s' = 0.003E s ⎜⎜1 − ⎟⎟ = 6000⎜⎜1 − ⎟⎟ = 6000⎜1 − ⎟ = 5000 ksc > f y
⎝ cb ⎠ ⎝ cb ⎠ ⎝ 30 ⎠
f s' = f y = 3000 ksc
Pnb = 0.85f c' ba b + A s' f s' − A s f y
29.45 29.45
Pnb = 0.85 × 250 × 50 × 25.5 + × 3000 − × 3000
2 2
Pnb = 270,937.5 kg
⎛h a ⎞ ⎛h ⎞ ⎛ h⎞
M nb = Pnb e = 0.85f c' ba b ⎜ − b ⎟ + A s' f s' ⎜ − d' ⎟ + A s f y ⎜ d − ⎟
⎝2 2 ⎠ ⎝2 ⎠ ⎝ 2⎠

364
⎛ 50 25.5 ⎞ 29.45 ⎛ 50 ⎞
M nb = 0.85 × 250 × 50 × 25.5 × ⎜ − ⎟+ × 3000 × ⎜ − 5 ⎟
⎝ 2 2 ⎠ 2 ⎝ 2 ⎠
29.45 ⎛ 50 ⎞
+ × 3000 × ⎜ 45 − ⎟
2 ⎝ 2⎠
M nb = 5,085,984.375 kg.cm = 50,859.84375 kg.m = 50.9 t.m
คําตอบ ขอ (3) 50 ตัน.เมตร ใกลเคียงที่สุด

365
คําถามขอที่ 187
เสาสั้นปลอกเดี่ยวขนาดเทากับ 25 × 50 ซม เสริมเหล็กยืนทั้งหมด 6 เสน ขนาด 25 มม (Ast = 29.45
ตร.ซม) โดยที่ As = As' และระยะคอนกรีตหุม = 5 ซม เสานี้ตองรับแรงอัดตามแนวแกน และ
โมเมนตดัดรอบ plastic centroid ใหใชวิธี USD ประมาณกําลังตานทานโมเมนตดดั ประลัย (Mnb) ณ
สภาวะสมดุล (Balanced Condition) กําหนดให f c' = 250 กก/ซม2 , fy = 3000 กก/ซม2 และ Es =
2 × 10^6 กก/ซม2
ตัวเลือก
(1) 35 ตัน.เมตร
(2) 40 ตัน.เมตร
(3) 45 ตัน.เมตร
(4) 50 ตัน.เมตร
แนวคิด
ดู การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีกาํ ลัง ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร
ระยะ cb = ตําแหนงแกนสะเทินวัดจากผิวรับแรงอัด หาไดจาก
εu 0.003 0.003E s
cb = d= d= d
εu + ε y fy 0.003E s + f y
0.003 +
Es
0.003 × 2 × 10 6
6000
cb = d= d
0.003 × 2 × 10 + f y
6
6000 + f y

cb =
6000
(50 − 5) = 30 cm
6000 + 3000
f c' = 250 ksc < 280 ksc ⇒ β1 = 0.85
a b = β1c b = 0.85 × 30 = 225.5 cm
⎛ d' ⎞ ⎛ d' ⎞ ⎛ 5 ⎞
f s' = 0.003E s ⎜⎜1 − ⎟⎟ = 6000⎜⎜1 − ⎟⎟ = 6000⎜1 − ⎟ = 5000 ksc > f y
⎝ cb ⎠ ⎝ cb ⎠ ⎝ 30 ⎠
f s' = f y = 3000 ksc
Pnb = 0.85f c' ba b + A s' f s' − A s f y
29.45 29.45
Pnb = 0.85 × 250 × 25 × 25.5 + × 3000 − × 3000
2 2
Pnb = 135,468.75 kg
⎛h a ⎞ ⎛h ⎞ ⎛ h⎞
M nb = Pnb e = 0.85f c' ba b ⎜ − b ⎟ + A s' f s' ⎜ − d' ⎟ + A s f y ⎜ d − ⎟
⎝2 2 ⎠ ⎝2 ⎠ ⎝ 2⎠
⎛ 50 25.5 ⎞ 29.45 ⎛ 50 ⎞
M nb = 0.85 × 250 × 25 × 25.5 × ⎜ − ⎟+ × 3000 × ⎜ − 5 ⎟
⎝ 2 2 ⎠ 2 ⎝ 2 ⎠
29.45 ⎛ 50 ⎞
+ × 3000 × ⎜ 45 − ⎟
2 ⎝ 2⎠

366
M nb = 3,426,492.188 kg.cm = 34,264.92188 kg.m = 34.3 t.m
คําตอบ ขอ (1) 35 ตัน.เมตร ใกลเคียงที่สุด

367
คําถามขอที่ 188
เสาสั้นปลอกเดี่ยวขนาดเทากับ 50 × 50 ซม เสริมเหล็กยืนขนาด 25 มม โดยที่ As = As' ดังนั้นตอง
ใชเหล็กปลอกเดี่ยวสําหรับเสานี้คือ
ตัวเลือก
(1) 9 มม @ 0.40 ม
(2) 6 มม @ 0.40 ม
(3) 9 มม @ 0.45 ม
(4) 6 มม @ 0.30 ม
แนวคิด
มาตรฐาน ว.ส.ท. กําหนดระยะเรียงของเหล็กปลอกเดี่ยวในเสาวาไมเกินคาตอไปนี้
16 เทาของเหล็กยืน = 16 × 2.5 = 40 cm
48 เทาของเหล็กปลอก = 48 × 0.6 = 28.8 cm สําหรับเหล็กปลอก RB 6 mm
และ = 48 × 0.9 = 43.2 cm สําหรับเหล็กปลอก RB 9 mm
ดานแคบของหนาตัดเสา = 50 cm
ดูตามตัวเลือก ถาเปน RB 6 mm @ 0.288 m และถาเปน RB 9 mm @ 0.40 m ดังนั้น
คําตอบ ขอ (1) 9 มม @ 0.40 ม

368
คําถามขอที่ 189
เสาสั้นปลอกเดี่ยวขนาดเทากับ 45 × 45 ซม เสริมเหล็กยืนขนาด 28 มม โดยที่ As = As' ดังนั้นตอง
ใชเหล็กปลอกเดี่ยวสําหรับเสานี้คือ
ตัวเลือก
(1) 9 มม @ 0.40 ม
(2) 9 มม @ 0.45 ม
(3) 6 มม @ 0.30 ม
(4) 6 มม @ 0.45 ม
แนวคิด
มาตรฐาน ว.ส.ท. กําหนดระยะเรียงของเหล็กปลอกเดี่ยวในเสาวาไมเกินคาตอไปนี้
16 เทาของเหล็กยืน = 16 × 2.8 = 44.8 cm
48 เทาของเหล็กปลอก = 48 × 0.6 = 28.8 cm สําหรับเหล็กปลอก RB 6 mm
และ = 48 × 0.9 = 43.2 cm สําหรับเหล็กปลอก RB 9 mm
ดานแคบของหนาตัดเสา = 45 cm
ดูตามตัวเลือก ถาเปน RB 6 mm @ 0.288 m และถาเปน RB 9 mm @ 0.432 m ดังนั้น

คําตอบ ขอ (1) 9 มม @ 0.40 ม

369
คําถามขอที่ 190
เสาสั้นปลอกเดี่ยวขนาดเทากับ 30 × 40 ซม เสริมเหล็กยืนขนาด 20 มม โดยที่ As = As' ดังนั้นตอง
ใชเหล็กปลอกเดี่ยวสําหรับเสานี้คือ
ตัวเลือก
(1) 9 มม @ 0.30 ม
(2) 6 มม @ 0.30 ม
(3) 9 มม @ 0.40 ม
(4) 6 มม @ 0.25 ม
แนวคิด
มาตรฐาน ว.ส.ท. กําหนดระยะเรียงของเหล็กปลอกเดี่ยวในเสาวาไมเกินคาตอไปนี้
16 เทาของเหล็กยืน = 16 × 2.0 = 32 cm
48 เทาของเหล็กปลอก = 48 × 0.6 = 28.8 cm สําหรับเหล็กปลอก RB 6 mm
และ = 48 × 0.9 = 43.2 cm สําหรับเหล็กปลอก RB 9 mm
ดานแคบของหนาตัดเสา = 30 cm
ดูตามตัวเลือก ถาเปน RB 6 mm @ 0.288 m และถาเปน RB 9 mm @ 0.30 m ดังนั้น

คําตอบ ขอ (4) 6 มม @ 0.25 ม

370
คําถามขอที่ 191
เสาสั้นปลอกเดี่ยวขนาดเทากับ 30 × 30 ซม เสริมเหล็กยืนขนาด 15 มม โดยที่ As = As' ดังนั้นตอง
ใชเหล็กปลอกเดี่ยวสําหรับเสานี้คือ
ตัวเลือก
(1) 9 มม @ 0.25 ม
(2) 6 มม @ 0.20 ม
(3) 9 มม @ 0.30 ม
(4) 6 มม @ 0.30 ม
แนวคิด
มาตรฐาน ว.ส.ท. กําหนดระยะเรียงของเหล็กปลอกเดี่ยวในเสาวาไมเกินคาตอไปนี้
16 เทาของเหล็กยืน = 16 × 1.5 = 24 cm
48 เทาของเหล็กปลอก = 48 × 0.6 = 28.8 cm สําหรับเหล็กปลอก RB 6 mm
และ = 48 × 0.9 = 43.2 cm สําหรับเหล็กปลอก RB 9 mm
ดานแคบของหนาตัดเสา = 30 cm
ดูตามตัวเลือก ถาเปน RB 6 mm @ 0.24 m และถาเปน RB 9 mm @ 0.24 m ดังนั้น

คําตอบ ขอ (2) 6 มม @ 0.20 ม

371
คําถามขอที่ 192
เสาสั้นปลอกเกลียวขนาดเสนผานศูนยกลาง 25 ซม ระยะคอนกรีตหุม เทากับ 3 ซม กําหนดให f c' =
200 กก/ซม2 fy = 2400 กก/ซม2 ดังนั้นตองใชเหล็กปลอกเกลียวสําหรับเสานี้คือ
ตัวเลือก
(1) 9 มม @ 0.03 ม
(2) 6 มม @ 0.03 ม
(3) 9 มม @ 0.04 ม
(4) 6 มม @ 0.025 ม
แนวคิด
ดู การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็กโดยวิธีกําลัง ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร
4A sp f c' ⎡ Ag ⎤ f c' ⎡ D2 ⎤
ρs ≈ ≥ 0.45 ⎢ − 1⎥ = 0 . 45 ⎢ 2 − 1⎥
D cs f sy ⎣ Ac ⎦ f sy ⎣ Dc ⎦
โดยกําหนด D = 25 cm ระยะหุม 3 cm ดังนั้น Dc = 25 – 3 – 3 = 19 cm
เมื่อใช RB 6 mm มี Asp = 0.283 cm2 ดังนั้น
4 × 0.283 200 ⎡ 252 ⎤
≥ 0.45 × − 1⎥
19s 2400 ⎢⎣ 19 2 ⎦
s ≤ 2.17 cm
เมื่อใช RB 9 mm มี Asp = 0.636 cm2 ดังนั้น
4 × 0.636 200 ⎡ 252 ⎤
≥ 0.45 × −1
19s 2400 ⎢⎣ 192 ⎥⎦
s ≤ 4.88 cm
คําตอบ ขอ (3) 9 มม @ 0.04 ม
เฉลย ขอ (1) 9 มม @ 0.03 ม

372
คําถามขอที่ 193
เสาสั้นปลอกเกลียวขนาดเสนผานศูนยกลาง 40 ซม ระยะคอนกรีตหุม เทากับ 3 ซม กําหนดให f c' =
200 กก/ซม2 fy = 2400 กก/ซม2 ดังนั้นตองใชเหล็กปลอกเกลียวสําหรับเสานี้คือ
ตัวเลือก
(1) 9 มม @ 0.03 ม
(2) 6 มม @ 0.025 ม
(3) 9 มม @ 0.05 ม
(4) 6 มม @ 0.05 ม
แนวคิด
ดู การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็กโดยวิธีกําลัง ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร
4A sp f c' ⎡ Ag ⎤ f c' ⎡ D2 ⎤
ρs ≈ ≥ 0.45 ⎢ − 1⎥ = 0 . 45 ⎢ 2 − 1⎥
D cs f sy ⎣ Ac ⎦ f sy ⎣ Dc ⎦
โดยกําหนด D = 40 cm ระยะหุม 3 cm ดังนั้น Dc = 40 – 3 – 3 = 34 cm
เมื่อใช RB 6 mm มี Asp = 0.283 cm2 ดังนั้น
4 × 0.283 200 ⎡ 402 ⎤
≥ 0.45 × −1
34s 2400 ⎢⎣ 342 ⎥⎦
s ≤ 2.31 cm
เมื่อใช RB 9 mm มี Asp = 0.636 cm2 ดังนั้น
4 × 0.636 200 ⎡ 402 ⎤
≥ 0.45 × −1
34s 2400 ⎢⎣ 342 ⎥⎦
s ≤ 5.19 cm

คําตอบ ขอ (3) 9 มม @ 0.05 ม

373
คําถามขอที่ 194
เสาปลอกเดี่ยวขนาดเทากับ 30 × 30 ซม อยูในโครงเฟรมที่เซไมได จากผลของแรงอัดและโมเมนต
ดัด เสานี้จะโกงสองทาง และอยูในชวงแรงอัดเปนหลัก ถาชวงความยาวของเสาตนนี้ที่ปราศจากค้ํา
ยันเทากับ 6.00 ม ใหใชวิธี WSD ประมาณตัวคูณลดคา R
ตัวเลือก
(1) 0.90
(2) 0.92
(3) 0.94
(4) 0.96
แนวคิด
ดู การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็กโดยวิธีหนวยแรงใชงาน ศ.ดร.วินติ ชอวิเชียร
เสายาว กรณีแรงอัดเปนหลัก (ea < e < eb )
(ก) เสาในโครงเฟรมที่ไมยอมใหเซ (braced frames) นั่นคือ ปลายเสาไมเคลื่อนที่ ใชคา k = 1
- เมื่อเสาโกงสองทาง (double curvature)
lu
เมื่อ < 60 ตัวคูณลดกําลังเนื่องจากความชะลูด R = 1.00
r
l
เมื่อ 60 ≤ u ≤ 100 ตัวคูณลดกําลังเนื่องจากความชะลูด
r
l
R = 1.32 − 0.006 u ≤ 1.00
r
lu
เมื่อ > 100 ใหทําการวิเคราะหโดยคํานึงถึงผลของการโกงตัวทีม
่ ีตอโมเมนตดดั ใน
r
เสา
- เมื่อเสาโกงทางเดียว (single curvature)
lu
R = 1.07 − 0.008 ≤ 1.00
r
เสาสี่เหลี่ยมผืนผา r = 0.3h เสากลม r = 0.25D
ขอนี้กําหนด l u = 600 cm, h = 30 cm, r = 0.3 × 30 = 9 cm
l u 600
= = 66.67 อยูระหวาง 60 กับ 100 ดังนัน

r 9
l 600
R = 1.32 − 0.006 u = 1.32 − 0.006 × = 0.92
r 9
คําตอบ ขอ (2) 0.92

374
คําถามขอที่ 195
เสาปลอกเดี่ยวขนาดเทากับ 40 × 40 ซม อยูในโครงเฟรมที่เซไมได จากผลของแรงอัดและโมเมนต
ดัด เสานี้จะโกงสองทาง และอยูในชวงแรงอัดเปนหลัก ถาชวงความยาวของเสาตนนี้ที่ปราศจากค้ํา
ยันเทากับ 6.00 ม ใหใชวิธี WSD ประมาณตัวคูณลดคา R
ตัวเลือก
(1) 0.93
(2) 0.95
(3) 1.00
(4) 1.02
แนวคิด
ดู การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็กโดยวิธีหนวยแรงใชงาน ศ.ดร.วินติ ชอวิเชียร
เสายาว กรณีแรงอัดเปนหลัก (ea < e < eb )
(ก) เสาในโครงเฟรมที่ไมยอมใหเซ (braced frames) นั่นคือ ปลายเสาไมเคลื่อนที่ ใชคา k = 1
- เมื่อเสาโกงสองทาง (double curvature)
lu
เมื่อ < 60 ตัวคูณลดกําลังเนื่องจากความชะลูด R = 1.00
r
l
เมื่อ 60 ≤ u ≤ 100 ตัวคูณลดกําลังเนื่องจากความชะลูด
r
l
R = 1.32 − 0.006 u ≤ 1.00
r
lu
เมื่อ > 100 ใหทําการวิเคราะหโดยคํานึงถึงผลของการโกงตัวทีม
่ ีตอโมเมนตดดั ใน
r
เสา
- เมื่อเสาโกงทางเดียว (single curvature)
lu
R = 1.07 − 0.008 ≤ 1.00
r
เสาสี่เหลี่ยมผืนผา r = 0.3h เสากลม r = 0.25D
ขอนี้กําหนด l u = 600 cm, h = 40 cm, r = 0.3 × 40 = 12 cm
l u 600
= = 50 นอยกวา 60 ดังนั้น
r 12
R = 1.00
คําตอบ ขอ (3) 1.00

375
คําถามขอที่ 196
เสาปลอกเดี่ยวสี่เหลี่ยมจัตุรัสอยูในโครงเฟรมที่เซไมได จากผลของแรงอัดและโมเมนตดัด เสานีจ้ ะ
โกงสองทาง และอยูใ นชวงแรงอัดเปนหลัก ถาชวงความยาวของเสาตนนี้ที่ปราศจากค้ํายันเทากับ
8.00 ม ใหใชวธิ ี WSD ประมาณขนาดอยางนอยของเสาตนนี้ที่จะถือวาเปนเสาสั้น
ตัวเลือก
(1) 45 × 45 ซม
(2) 50 × 50 ซม
(3) 55 × 55 ซม
(4) 60 × 60 ซม
แนวคิด
ดู การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็กโดยวิธีหนวยแรงใชงาน ศ.ดร.วินติ ชอวิเชียร
เสายาว กรณีแรงอัดเปนหลัก (ea < e < eb )
(ก) เสาในโครงเฟรมที่ไมยอมใหเซ (braced frames) นั่นคือ ปลายเสาไมเคลื่อนที่ ใชคา k = 1
- เมื่อเสาโกงสองทาง (double curvature)
lu
เมื่อ < 60 ตัวคูณลดกําลังเนื่องจากความชะลูด R = 1.00 เปนเสาสั้น
r
l
เมื่อ 60 ≤ u ≤ 100 ตัวคูณลดกําลังเนื่องจากความชะลูด
r
l
R = 1.32 − 0.006 u ≤ 1.00 เปนเสายาว
r
lu
เมื่อ > 100 ใหทําการวิเคราะหโดยคํานึงถึงผลของการโกงตัวทีม
่ ีตอโมเมนตดดั ใน
r
เสา
- เมื่อเสาโกงทางเดียว (single curvature)
lu
R = 1.07 − 0.008 ≤ 1.00 เปนเสายาว
r
เสาสี่เหลี่ยมผืนผา r = 0.3h เสากลม r = 0.25D
ขอนี้กําหนด l u = 800 cm, h = ? cm, r = 0.3h cm
l u 800
= = 60
r 0.3h
800
h= = 44.44 cm
0.3 × 60
คําตอบ ขอ (1) 45 × 45 ซม
เฉลย ขอ (2) 50 × 50 ซม

376
คําถามขอที่ 197
เสาปลอกเดี่ยวขนาด 30 × 30 ซม อยูในโครงเฟรมแบบ Portal ชวงเดียวและชั้นเดียวซึ่งเซไมได โดย
ที่ปลายเสาเปนแบบยึดแนน (fixed) และที่หัวเสายึดติดกับคานซึ่งมีคา I/L = 200 ซม^3 จากผลของ
แรงอัดและโมเมนตดัด เสาตนนี้จะโกงสองทาง และอยูใ นชวงแรงอัดเปนหลัก ถาชวงความยาวของ
เสาตนนี้ที่ปราศจากค้ํายันเทากับ 8.00 เมตร จงใชวิธี WSD ประมาณคาความยาวประสิทธิผลของ
เสาตนนี้
ตัวเลือก
(1) 6.00 เมตร
(2) 8.00 เมตร
(3) 8.30 เมตร
(4) 8.50 เมตร
แนวคิด
ดู การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็กโดยวิธีหนวยแรงใชงาน ศ.ดร.วินติ ชอวิเชียร
ความยาวประสิทธิผล มาตรฐาน ACI หรือ ว.ส.ท. ใหพิจารณาความยาวประสิทธิผล (effective
length : k l u ) ของเสาดังนี้
(ก) เสาในโครงเฟรมที่ไมยอมใหเซ โดยมีสงิ่ ยันหรือยึดทางขางอยางพอเพียง เชน โดย
กําแพง คสล. รับแรงเฉือน ใหใชความยาวประสิทธิผล kl u เทากับความยาวอิสระ l u นั่นคือใชคา
k=1
(ข) เสาในโครงเฟรมที่เซได เนื่องจากไมมีสงิ่ ยันหรือยึดทางขางอยางพอเพียง ความยาว
ประสิทธิผล kl u จะขึ้นกับการยึดรางของปลายเสาซึ่งคํานวณจากตัวคูณของจุดตอ (Joint Factor :
rj' ) โดยที่ rj' เปนอัตราสวนระหวางผลรวมของสติฟเนสของเสา ∑ EIc ตอผลรวมของสติฟเนส
L c
EIg
ของคาน ∑ ที่จุดตอ j ใดๆ ในระนาบเดียวกันกับที่จะเกิดการโกงเดาะ นั่นคือ
Lg
EIc ⎛ EI ⎞
∑L ∑ ⎜⎝ L ⎟⎠
rj' = c
= column
EI ⎛ EI ⎞
∑ Lg ∑ ⎜⎝ L ⎟⎠
g beam

ทั้งนี้ใหพิจารณาหาความยาวประสิทธิผล kl u ทั้งสองระนาบ และใชคาที่มากกวา โดยมาตรฐาน


ACI หรือ ว.ส.ท. กําหนดวา
(1) ถาปลายเสาเปนแบบยึดหมุน (pinned end) ใหถือวา r’ เทากับ 25 หรือเมื่อคา r’ เกินกวา
25 ใหถือวาปลายเสาเปนแบบยึดหมุน
(2) ถาปลายเสาเปนแบบยึดแนน (fixed end) ใหถือวาคา r’ = 1.0

377
(3) ถาปลายเสาถูกยึดรั้งไมใหหมุนทั้งสองปลาย ความยาวประสิทธิผล
kl u = l u (0.78 + 0.22r ') ≥ l u
rT' + rB'
โดยที่ r' = = คาเฉลี่ยของอัตราสวนสติฟเนสของปลายบน rT' กับปลายลาง rB'
2
(4) ถาปลายเสาขางหนึ่งถูกยึดรั้งไมใหหมุน และอีกปลายหนึ่งเปนแบบยึดหมุน ความยาว
ประสิทธิผล
kl u = 2l u (0.78 + 0.22r ') ≥ 2l u
โดยที่ r’ เปนอัตราสวนสติฟเนสของปลายเสาที่ถูกยึดรั้งไว
(5) ถาปลายเสาขางหนึ่งเปนแบบยึดแนนไมใหหมุน และอีกปลายหนึ่งปลอยอิสระ (free
end) ความยาวประสิทธิผล kl u = 2l u นั่นคือใชคา k = 2

ยังหาเหตุผลไมไดวาเหตุใดจึงตอบ 8.30 เมตร

คําตอบ ขอ (3) 8.30 เมตร

378
คําถามขอที่ 198
เสาปลอกเดี่ยวขนาด 30 × 30 ซม อยูในโครงเฟรมแบบ Portal ชวงเดียวและชั้นเดียวซึ่งเซไมได โดย
ที่ปลายเสาเปนแบบยึดแนน (fixed) และที่หัวเสายึดติดกับคานซึ่งมีคา I/L = 200 ซม^3 จากผลของ
แรงอัดและโมเมนตดัด เสาตนนี้จะโกงสองทาง และอยูใ นชวงแรงอัดเปนหลัก ถาชวงความยาวของ
เสาตนนี้ที่ปราศจากค้ํายันเทากับ 6.00 เมตร จงใชวิธี WSD ประมาณคาตัวคูณลดคา R ของเสาตนนี้
ตัวเลือก
(1) 0.50
(2) 0.52
(3) 0.54
(4) 0.56
แนวคิด
ดู การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็กโดยวิธีหนวยแรงใชงาน ศ.ดร.วินติ ชอวิเชียร
เสายาว กรณีแรงอัดเปนหลัก (ea < e < eb )
(ก) เสาในโครงเฟรมที่ไมยอมใหเซ (braced frames) นั่นคือ ปลายเสาไมเคลื่อนที่ ใชคา k = 1
- เมื่อเสาโกงสองทาง (double curvature)
lu
เมื่อ < 60 ตัวคูณลดกําลังเนื่องจากความชะลูด R = 1.00 เปนเสาสั้น
r
l
เมื่อ 60 ≤ u ≤ 100 ตัวคูณลดกําลังเนื่องจากความชะลูด
r
l
R = 1.32 − 0.006 u ≤ 1.00 เปนเสายาว
r
lu
เมื่อ > 100 ใหทําการวิเคราะหโดยคํานึงถึงผลของการโกงตัวทีม
่ ีตอโมเมนตดดั ใน
r
เสา
- เมื่อเสาโกงทางเดียว (single curvature)
lu
R = 1.07 − 0.008 ≤ 1.00 เปนเสายาว
r
เสาสี่เหลี่ยมผืนผา r = 0.3h เสากลม r = 0.25D
ในโจทยขอนีจ้ ะเปนการโกงทางเดียว ไมใชโกงสองทาง
lu 600
R = 1.07 − 0.008 = 1.07 − 0.008 × = 0.537
r 0.3 × 30
คําตอบ ขอ (3) 0.54

379
คําถามขอที่ 199
เสาปลอกเดี่ยวขนาด 30 × 30 ซม อยูในโครงเฟรมแบบ Portal ชวงเดียวและชั้นเดียวซึ่งเซไมได โดย
ที่ปลายเสาเปนแบบยึดแนน (fixed) และที่หัวเสายึดติดกับคานซึ่งมีคา I/L = 200 ซม^3 จากผลของ
แรงอัดและโมเมนตดัด เสาตนนี้จะโกงสองทาง และอยูใ นชวงแรงอัดเปนหลัก ถาชวงความยาวของ
เสาตนนี้ที่ปราศจากค้ํายันเทากับ 8.00 เมตร จงใชวิธี WSD ประมาณคาตัวคูณลดคา R ของเสาตนนี้
ตัวเลือก
(1) 0.30
(2) 0.33
(3) 0.36
(4) 0.40
แนวคิด
ดู การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็กโดยวิธีหนวยแรงใชงาน ศ.ดร.วินติ ชอวิเชียร
เสายาว กรณีแรงอัดเปนหลัก (ea < e < eb )
(ก) เสาในโครงเฟรมที่ไมยอมใหเซ (braced frames) นั่นคือ ปลายเสาไมเคลื่อนที่ ใชคา k = 1
- เมื่อเสาโกงสองทาง (double curvature)
lu
เมื่อ < 60 ตัวคูณลดกําลังเนื่องจากความชะลูด R = 1.00 เปนเสาสั้น
r
l
เมื่อ 60 ≤ u ≤ 100 ตัวคูณลดกําลังเนื่องจากความชะลูด
r
l
R = 1.32 − 0.006 u ≤ 1.00 เปนเสายาว
r
lu
เมื่อ > 100 ใหทําการวิเคราะหโดยคํานึงถึงผลของการโกงตัวทีม
่ ีตอโมเมนตดดั ใน
r
เสา
- เมื่อเสาโกงทางเดียว (single curvature)
lu
R = 1.07 − 0.008 ≤ 1.00 เปนเสายาว
r
เสาสี่เหลี่ยมผืนผา r = 0.3h เสากลม r = 0.25D
ในโจทยขอนีจ้ ะเปนการโกงทางเดียว ไมใชโกงสองทาง และ kl u = 8.30 m ซึ่งยังไมทราบวามา
ไดอยางไรนั้น
kl u 830
R = 1.07 − 0.008 = 1.07 − 0.008 × = 0.33222
r 0.3 × 30
คําตอบ ขอ (2) 0.33

380
คําถามขอที่ 200
เสาปลอกเดี่ยวขนาด 50 × 50 ซม อยูในโครงเฟรมที่เซได ถาพบวาคา effective length factor เทากับ
1.5 ดังนั้น ชวงความยาวของเสาตนนี้ที่ปราศจากค้ํายันมีคาเทาใดตามวิธี USD จึงจะถือวาเปนเสาสัน้
ตัวเลือก
(1) 4.00 เมตร
(2) 3.00 เมตร
(3) 2.50 เมตร
(4) 2.00 เมตร
แนวคิด
ดู การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีกาํ ลัง ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร เปนเสาสั้นเมื่อ
(ก) เสาในโครงขอแข็งที่ไมมีการเซ
kl u M
< 34 − 12 1b
r M 2b
M1b
โดยที่ M1b ≤ M 2 b และ เปนบวกเมื่อโกงทางเดียว และเปนลบเมื่อโกงสองทาง
M2b
(ข) เสาในโครงขอแข็งที่เซได
kl u
< 22
r
ในกรณีนี้เปนโครงขอแข็งที่เซได k = 1.5 คา r = 0.3h = 0.3 × 50 = 15 ดังนั้น
1.5l u
< 22
15
15
l u < 22 × = 220 cm = 2.20 m
1.5
คําตอบ ขอ (4) 2.00 เมตร ใกลเคียงที่สุด

381
คําถามขอที่ 201
เสาปลอกเกลียวขนาดเสนผานศูนยกลางเทากับ 50 ซม อยูในโครงเฟรมที่เซได ถาพบวาคา effective
length factor เทากับ 1.50 ดังนั้น ชวงความยาวของเสาตนนี้ที่ปราศจากค้ํายันควรมีคาเทาใดตามวิธี
กําลัง (USD) จึงจะถือวาเปนเสาสั้น
ตัวเลือก
(1) 1.50 เมตร
(2) 1.80 เมตร
(3) 2.00 เมตร
(4) 2.50 เมตร
แนวคิด
ดู การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีกาํ ลัง ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร เปนเสาสั้นเมื่อ
(ก) เสาในโครงขอแข็งที่ไมมีการเซ
kl u M
< 34 − 12 1b
r M 2b
M1b
โดยที่ M1b ≤ M 2 b และ เปนบวกเมื่อโกงทางเดียว และเปนลบเมื่อโกงสองทาง
M2b
(ข) เสาในโครงขอแข็งที่เซได
kl u
< 22
r
ในกรณีนี้เปนโครงขอแข็งที่เซได k = 1.5 คา r = 0.25D = 0.25 × 50 = 12.5 ดังนั้น
1.5l u
< 22
12.5
12.5
l u < 22 × = 183.3 cm = 1.833 m
1.5
คําตอบ ขอ (2) 1.80 เมตร

382
คําถามขอที่ 202
ฐานรากขนาด 3 × 3 เมตร รองรับเสาตอมอขนาด 0.30 × 0.30 เมตร ถาความหนาของฐานรากเทากับ
40 ซม โดยมีความลึกสุทธิ d= 30 ซม และใหหนวยแรงกดใตฐานรากเทากับ 10 ตัน/เมตร^2 จงหา
จํานวนอยางนอยของเหล็กเสริม DB 25 มม ในแตละทิศทางเนื่องจากโมเมนตดัด โดยวิธหี นวยแรง
ใชงาน กําหนดคา j = 0.88 , fs = 1500 กก/ซม^2
ตัวเลือก
(1) 6 เสน
(2) 12 เสน
(3) 14 เสน
(4) 20 เสน
แนวคิด
โมเมนตที่ขอบตอมอ M = pB ⎛ A − a ⎞⎛ A − a ⎞
= pB
(A − a)
2

⎜ ⎟⎜ ⎟
⎝ 2 ⎠⎝ 4 ⎠ 8

M = 10 × 3 ×
(3 − 0.30) = 27.3375 t.m = 27,337.5 kg.m
2

8
M = 2,733,750 kg.cm
M 2,733,750
As = = = 69.034 cm 2
f s jd 1500 × 0.88 × 30
69.034
ใช DB 25 mm จํานวน = = 14.06 ⇒ 15 เสน
4.909
คําตอบ ใช 15-DB 25 mm
เฉลย ขอ (3) 14 เสน

383
คําถามขอที่ 203
ฐานรากขนาด 3 × 3 เมตร รองรับเสาตอมอขนาด 0.30 × 0.30 เมตร ถาใชความหนาของฐานราก
เทากับ 40 ซม โดยมีความลึกสุทธิ d= 30 ซม จงหาเนื้อทีข่ องหนาตัดวิกฤตสําหรับตานแรงเฉือนทาง
เดียวแบบคาน
ตัวเลือก
(1) 7500 ตร.ซม
(2) 9000 ตร.ซม
(3) 10000 ตร.ซม
(4) 12000 ตร.ซม
แนวคิด
หนาตัดวิกฤตของแรงเฉือนแบบคานหางจากขอบของเสาตอมอเทากับความลึกประสิทธิผล
เนื้อที่หนาตัดวิกฤต A vb = Bd = 300 × 30 = 9000 cm 2
คําตอบ ขอ (2) 9000 ตร.ซม

384
คําถามขอที่ 204
ฐานรากขนาด 3 × 3 เมตร รองรับเสาตอมอขนาด 0.30 × 0.30 เมตร ถาใชความหนาของฐานราก
เทากับ 40 ซม โดยมีความลึกสุทธิ d= 30 ซม จงหาเนื้อที่ของหนาตัดวิกฤตสําหรับตานแรงเฉือน
ทะลุ
ตัวเลือก
(1) 3600 ตร.ซม
(2) 5400 ตร.ซม
(3) 7200 ตร.ซม
(4) 10800 ตร.ซม
แนวคิด
หนาตัดวิกฤตของแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ จะหางจากขอบตอมอโดยรอบเทากับครึ่งหนึ่งของความ
ลึกประสิทธิผล
เนื้อที่รับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ
A vp = 2d(a + b + 2d ) = 2 × 30 × (30 + 30 + 2 × 30 ) = 7200 cm 2
คําตอบ ขอ (3) 7200 ตร.ซม

385
คําถามขอที่ 205
ฐานรากแผขนาด 3 × 3 เมตร รองรับแรงอัดประลัย Pu = 135 ตัน และโมเมนตดัดประลัย Mu = 22.5
ตัน.เมตร จากเสาตอมอขนาด 0.30 × 0.30 เมตร ถาใชความหนาของฐานรากเทากับ 40 ซม โดยมี
ความลึกสุทธิ d = 30 ซม จงประมาณหนวยแรงเฉือนประลัยแบบคานกวางตรงหนาตัดวิกฤต
ตัวเลือก
(1) 5.8 กก/ตร.ซม
(2) 6.0 กก/ตร.ซม
(3) 6.4 กก/ตร.ซม
(4) 6.8 กก/ตร.ซม
แนวคิด
แรงตานจากดินในฐานรากทีร่ ับโมเมนตจะสมมติใหกระจายแบบเชิงเสน
P Mc
σ= ±
A I
3
22.5 ×
135 2 = 15 ± 5
σ= ±
3× 3 3× 3 3

12
ใหขอบทางซายแรงตานนอย σ1 = 15-5 = 10 t/m2 และขอบทางขวาแรงตานมาก σ2 = 15+5 = 20
t/m2
หนาตัดวิกฤตแรงเฉือนแบบคานหางขอบซายฐานรากเปนระยะ
A−a 3 − 0.30
x= +a+d= + 0.30 + 0.30 = 1.95 m
2 2
ใชสามเหลี่ยมคลายหาแรงตานของดินตรงหนาตัดวิกฤต
σ x = 10 +
1.95
(20 − 10) = 16.5 t / m 2
3
แรงเฉิอนแบบคาน
σx + σ2 16.5 + 20
Vb = B(A − x ) = × 3 × (3 − 1.95) = 57.4875 t
2 2
A vb = Bd = 300 × 30 = 9000 cm 2
Vb 57.4875 × 1000
vb = = = 6.3875 ksc
A vb 9000
คําตอบ ขอ (3) 6.4 กก/ตร.ซม

386
คําถามขอที่ 206
ฐานรากแผขนาด 3 × 3 เมตร รองรับแรงอัดประลัย Pu = 135 ตัน และโมเมนตดัดประลัย Mu = 22.5
ตัน.เมตร จากเสาตอมอขนาด 0.30 × 0.30 เมตร ถาใชความหนาของฐานรากเทากับ 40 ซม โดยมี
ความลึกสุทธิ d = 30 ซม จงประมาณหนวยแรงเฉือนประลัยแบบทะลุตรงหนาตัดวิกฤต
ตัวเลือก
(1) 15 กก/ตร.ซม
(2) 18 กก/ตร.ซม
(3) 21 กก/ตร.ซม
(4) 24 กก/ตร.ซม
แนวคิด
แรงตานจากดินในฐานรากทีร่ ับโมเมนตจะสมมติใหกระจายแบบเชิงเสน
P Mc
σ= ±
A I
3
22.5 ×
135 2 = 15 ± 5
σ= ±
3× 3 3× 3 3

12
ใหขอบทางซายแรงตานนอย σ1 = 15-5 = 10 t/m2 และขอบทางขวาแรงตานมาก σ2 = 15+5 = 20
t/m2
หนาตัดวิกฤตแรงเฉือนแบบเจาะทะลุหางขอบตอมอระยะ d/2
ขอบซายของหนาตัดวิกฤติหางจากขอบซายฐานรากเปนระยะ
A − a d 3 − 0.30 0.30
x1 = − = − = 1.20 m
2 2 2 2
ขอบขวาของหนาตัดวิกฤตหางจากขอบซายของฐานรากเปนระยะ
A−a d 3 − 0.30 0.30
x2 = +a+ = + 0.30 + = 1.80 m
2 2 2 2
ใชสามเหลี่ยมคลายหาแรงตานของดินตรงหนาตัดวิกฤต
σ x1 = 10 +
1.20
(20 − 10) = 14 t / m 2
3
σx 2 = 10 +
1.80
(20 − 10) = 16 t / m 2
3
แรงตานของดินเต็มเนื้อที่ฐานราก
σ1 + σ 2 10 + 20
Vp1 = AB = × 3 × 3 = 135 tonne
2 2
แรงตานของดินภายในกรอบของหนาตัดวิกฤตที่ตองหักออก

387
σ x1 + σ x 2
Vp 2 = (a + d )(b + d ) = 14 + 16 × (0.30 + 0.30) × (0.30 + 0.30)
2 2
Vp 2 = 5.4 tonne
แรงเฉือนแบบเจาะทะลุ
Vp = Vp1 − Vp 2 = 135 − 5.4 = 129.6 tonne
A vp = 2d(a + b + 2d ) = 2 × 30 × (30 + 30 + 2 × 30) = 7200 cm 2
129.6 × 1000
vp = = 18 ksc
7200
สังเกตวาคาที่ไดนั้นเปนหนวยแรงเฉือนเฉลีย่ ตองนําผลของโมเมนตมาพิจารณาเพิ่มทางขวาและลด
ทางซาย
*** ยังไมสมบูรณ ***
คําตอบ ขอ (3) 21 กก/ตร.ซม

388
คําถามขอที่ 207
ฐานรากแผขนาด 3 × 3 เมตร รองรับแรงอัดประลัย Pu = 135 ตัน และโมเมนตดัดประลัย Mu = 22.5
ตัน.เมตร จากเสาตอมอขนาด 0.30 × 0.30 เมตร ถาใชความหนาของฐานรากเทากับ 40 ซม โดยมี
ความลึกสุทธิ d = 30 ซม จงประมาณคาโมเมนตดัดประลัยตรงหนาตัดวิกฤต
ตัวเลือก
(1) 40 ตัน.เมตร
(2) 50 ตัน.เมตร
(3) 60 ตัน.เมตร
(4) 70 ตัน.เมตร
แนวคิด
แรงตานจากดินในฐานรากทีร่ ับโมเมนตจะสมมติใหกระจายแบบเชิงเสน
P Mc
σ= ±
A I
3
22.5 ×
135 2 = 15 ± 5
σ= ±
3× 3 3× 3 3

12
ใหขอบทางซายแรงตานนอย σ1 = 15-5 = 10 t/m2 และขอบทางขวาแรงตานมาก σ2 = 15+5 = 20
t/m2 เขียนรูปหนวยแรงดันดินเปนรูปสี่เหลี่ยมคางหมู หา σ ที่ขอบตอมอซึ่งเปนหนาตัดวิกฤตของ
โมเมนตดัด โดยพิจารณาดานมาก จากสามเหลี่ยมคลาย
σ − 10 1.35 + 0.30
=
20 − 10 3.00
1.35 + 0.30
σ = 10 + (20 − 10) = 15.5 t / m 2
3.00
แบง σ เปนสี่เหลี่ยมผืนผากับสามเหลี่ยม แรงในสวนสี่เหลี่ยม
P1 = σ × 1.35 × 3.00 = 15.5 × 1.35 × 3.00 = 62.775 tonne

หางจากขอบตอมอ ระยะ x1 = 1.35 = 0.675 m


2
แรงในสวนสามเหลี่ยม
1
P2 = (20 − σ) × 1.35 × 3.00 = 1 × (20 − 15.5) × 1.35 × 3.00 = 9.1125 tonne
2 2
2
หางจากขอบตอมอ ระยะ x 2 = × 1.35 = 0.9 m
3
โมเมนตรอบขอบตอมอ
M = P1x1 + P2 x 2 = 62.775 × 0.675 + 9.1125 × 0.9 = 50.574375 t.m
คําตอบ ขอ (2) 50 ตัน.เมตร

389
คําถามขอที่ 208
ฐานรากเสาเข็มขนาด 2.70 × 3.60 ม รองรับแรงอัดใชงาน PD = 55 ตัน, PL =30 ตัน และโมเมนตดัด
ใชงาน MD = 10.5 ตัน.เมตร ML = 5.5 ตัน.เมตร จากเสาตอมอขนาด 0.30 × 0.30 เมตร สมมติใช
เสาเข็มขนาด φ 0.30 ม จํานวน 12 ตน เรียงเปน 3 แถว ขนานกับดานยาวของฐาน แตละแถวใช
เสาเข็ม 4 ตน โดยใหระยะหางระหวางศูนยกลางเสาเข็มเทากับ 90 ซม และระยะขอบของฐานรากที่
หางจากศูนยกลางเสาเข็มเทากับ 45 ซม สมมติความหนาของฐานรากเทากับ 70 ซม โดยมีระยะ d =
45 ซม ถาตองออกแบบตามวิธี USD จากการกระทําของแรงและโมเมนตดัดประลัย จงหาแรงตาน
สุทธิของเสาเข็มดานที่รับโมเมนตดัด
ตัวเลือก
(1) R3 = 12.6 ตัน R4 = 13.0 ตัน
(2) R3 = 11.6 ตัน R4 = 13.4 ตัน
(3) R3 = 12.6 ตัน R4 = 13.6 ตัน
(4) R3 = 11.6 ตัน R4 = 13.7 ตัน
แนวคิด
วิธี USD (Ultimate Strength Design) เปนชื่อเริ่มแรก ปจจุบันเรียก SDM (Strength Design Method)
แรงตานสุทธิหมายถึงแรงตานของเสาเข็มตานทานแรงและโมเมนตบนตอมอ ไมรวมถึงแรงตาน
จากน้ําหนักฐานราก ตอมอ ดินถม
กรณีฐานรากเสาเข็มที่รับโมเมนตดัดดวย หาแรงตานสุทธิไดจาก
P Md
Ri = ±
n ∑ d2
โดยที่ P = Pu = 1.4PD + 1.7PL = 1.4 × 55 + 1.7 × 30 = 128 tonne = น้ําหนักลงตอมอ
M = M u = 1.4M D + 1.7 M L = 1.4 × 10.5 + 1.7 × 5.5 = 24.05 t.m = โมเมนตดัด
n = 12 = จํานวนเสาเข็ม
0.9
d1 = d1 = d1 = d 4 = d 4 = d 4 = + 0.9 = 1.35 m เสาเข็มริมนอก
2
0.90
d 2 = d 2 = d 2 = d3 = d3 = d3 = = 0.45 m เสาเข็มชุดใน
2
∑ d 2 = 6 × 1.352 + 6 × 0.452 = 12.15
128 24.05 × 1.35
R1 = − = 7.994 tonne
12 12.15
128 24.05 × 0.45
R2 = − = 9.776 tonne
12 12.15

390
128 24.05 × 0.45
R3 = + = 11.557 tonne
12 12.15
128 24.05 × 1.35
R4 = + = 13.339 tonne
12 12.15
คําตอบ ขอ (2) R3 = 11.6 ตัน R4 = 13.4 ตัน

391
คําถามขอที่ 209
ฐานรากเสาเข็มขนาด 2.70 × 3.60 ม รองรับแรงอัดใชงาน PD = 55 ตัน, PL =30 ตัน และโมเมนตดัด
ใชงาน MD = 10.5 ตัน.เมตร ML = 5.5 ตัน.เมตร จากเสาตอมอขนาด 0.30 × 0.30 เมตร สมมติใช
เสาเข็มขนาด φ 0.30 ม จํานวน 12 ตน เรียงเปน 3 แถว ขนานกับดานยาวของฐาน แตละแถวใช
เสาเข็ม 4 ตน โดยใหระยะหางระหวางศูนยกลางเสาเข็มเทากับ 90 ซม และระยะขอบของฐานรากที่
หางจากศูนยกลางเสาเข็มเทากับ 45 ซม สมมติความหนาของฐานรากเทากับ 70 ซม โดยมีระยะ d =
45 ซม ถาตองออกแบบตามวิธี USD จากการกระทําของแรงและโมเมนตดัดประลัย ซึ่งพบวาแรง
ตานสุทธิของเสาเข็มดานที่รับโมเมนตมีคา R3 = 11.6 ตัน และ R4 = 13.4 ตัน จงประมาณคาแรง
เฉือนประลัยแบบคานกวาง (one-way shear) ที่หนาตัดวิกฤต
ตัวเลือก
(1) 39000 กก
(2) 40500 กก
(3) 41000 กก
(4) 41500 กก
แนวคิด
0.30
หนาตัดวิกฤตแบบคานกวางหางขอบตอมอ = d = 0.45 m หางศูนยกลางตอมอระยะ + 0.45 =
2
0.60 เมตร ดังนั้น x = 0.45 – 0.60 = - 0.15 m ดังนั้น แรงจาก R3 จะทําใหเกิดแรงเฉือน
⎛1 x ⎞
Vub = 3R 3 ⎜ + ⎟ = 3 × 11.6 × ⎛⎜ 1 + − 15 ⎞⎟ = 0
⎜2 D ⎟ ⎝ 2 30 ⎠
⎝ p ⎠

และ R4 จะหางจากหนาตัดวิกฤต x = 0.45 + 0.90 – 0.60 =0.75 m = 75 cm มากกวา


D p 30
= = 15 cm ดังนั้นผลของ R4 จึงมีเต็มที่
2 2
Vub = 3R 4 = 3 × 13.4 = 40.2 tonne = 40,200 kg
คําตอบ ขอ (2) 40500 กก

392
คําถามขอที่ 210
ฐานรากเสาเข็มขนาด 2.70 × 3.60 ม รองรับแรงอัดใชงาน PD = 55 ตัน, PL =30 ตัน และโมเมนตดัด
ใชงาน MD = 10.5 ตัน.เมตร ML = 5.5 ตัน.เมตร จากเสาตอมอขนาด 0.30 × 0.30 เมตร สมมติใช
เสาเข็มขนาด φ 0.30 ม จํานวน 12 ตน เรียงเปน 3 แถว ขนานกับดานยาวของฐาน แตละแถวใช
เสาเข็ม 4 ตน โดยใหระยะหางระหวางศูนยกลางเสาเข็มเทากับ 90 ซม และระยะขอบของฐานรากที่
หางจากศูนยกลางเสาเข็มเทากับ 45 ซม สมมติความหนาของฐานรากเทากับ 70 ซม โดยมีระยะ d =
45 ซม ถาตองออกแบบตามวิธี USD จากการกระทําของแรงและโมเมนตดัดประลัย ซึ่งพบวาแรง
ตานสุทธิของเสาเข็มดานที่รับโมเมนตมีคา R3 = 11.6 ตัน และ R4 = 13.4 ตัน จงประมาณคาหนวย
แรงเฉือนประลัยแบบทะลุทหี่ นาตัดวิกฤต
ตัวเลือก
(1) 8.50 กก/ตร.ซม
(2) 9.50 กก/ตร.ซม
(3) 10.5 กก/ตร.ซม
(4) 12.5 กก/ตร.ซม
แนวคิด
ในขั้นแรกตองหาแรงตานเสาเข็มอีกสองแนวทางดานนอย โดยใชสามเหลี่ยมคลาย
11.6 − R1 11.6 − R 2 13.4 − 11.6
tan θ = = =
1.80 0.90 0.90
R 2 = 11.6 + 11.6 − 13.4 = 9.8 tonne

R 1 = 11.6 −
1.80
(13.4 − 11.6) = 8 tonne
0.90
d 0.45
ใหเขียนแปลนฐานรากตากขอมูลที่ให หนาตัดวิกฤตรอบๆ ตอมอหางตอมอระยะ = =
2 2
0.225 เมตร จะพบวามีเสาเข็มสองตนที่ใกลหนาตัดวิกฤต ระยะหาง x = 0.45-0.15-0.225 = 0.075 m
D p 30 D p 30
= 7.5 cm < = = 15 cm ที่เหลืออีก 10 ตนหางหนาตัดวิกฤตเกิน = = 15 cm จึงคิด
2 2 2 2
เต็มที่
⎛1 x ⎞ ⎛ ⎞
Vup = 3R1 + 2R 2 + 2R 3 + 3R 4 + R 2 ⎜ + ⎟ + R3⎜ 1 + x ⎟
⎜ 2 Dp ⎟ ⎜2 D ⎟
⎝ ⎠ ⎝ p ⎠

⎛ 1 7.5 ⎞ ⎛ 1 7.5 ⎞
Vup = 3 × 8 + 2 × 9.8 + 2 × 11.6 + 3 × 13.4 + 9.8⎜ + ⎟ + 11.6⎜ + ⎟
⎝ 2 30 ⎠ ⎝ 2 30 ⎠
Vup = 123.05 tonne
หนวยแรงเฉือนแบบเจาะทะลุเฉลี่ย
Vup 123.05 × 1000
v up = = = 9.115 ksc
2d(a + b + 2d ) 2 × 45 × (30 + 30 + 2 × 45)

393
ซึ่งจะเห็นวาไมมีคําตอบที่ถูกตอง ดู การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธกี ําลัง ของ
ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร เรื่องแผนพื้นสองทาง
Vup M u c AB
หนวยแรงเฉือนดานมาก v uAB = +
Av Jc
V M c
หนวยแรงเฉือนดานนอย v uCD = up − u CD
Av Jc
โดยที่ Vup = 1.4DL + 1.7LL = 1.4 × 55 + 1.7 × 30 = 128 tonne = 128,000 kg
M u = 1.4M D + 1.7M L = 1.4 × 10.5 + 1.7 × 5.5 = 24.05 t.m
M u = 2,405,000 kg.cm
A v = 2d(a + b + 2d ) = 2 × 45 × (30 + 30 + 2 × 45) = 13,500 cm 2
a + d 30 + 45
c AB = cCD = = = 37.5 cm
2 2
2d(a + d ) 2(a + d )d 3 ⎛a +d⎞
3 2

Jc = + + 2d(b + d )⎜ ⎟
12 12 ⎝ 2 ⎠
2 × 45 × (30 + 45) 2 × (30 + 45) × 453
3
Jc = +
12 12
⎛ 30 + 45 ⎞
2

+ 2 × 45 × (30 + 45) × ⎜ ⎟
⎝ 2 ⎠
J c = 13,795,312.5 cm 4
หนวยแรงเฉือนทะลุสูงสุดคือ
Vup M u c AB 128,000 2,405,000 × 37.5
v uAB = + = +
Av Jc 13,500 13,795,312.5
v uAB = 16.0190282 ksc
คําตอบ ขอ (2) 9.50 กก/ตร.ซม

394
คําถามขอที่ 211
ฐานรากเสาเข็มขนาด 2.70 × 3.60 ม รองรับแรงอัดใชงาน PD = 55 ตัน, PL =30 ตัน และโมเมนตดัด
ใชงาน MD = 10.5 ตัน.เมตร ML = 5.5 ตัน.เมตร จากเสาตอมอขนาด 0.30 × 0.30 เมตร สมมติใช
เสาเข็มขนาด φ 0.30 ม จํานวน 12 ตน เรียงเปน 3 แถว ขนานกับดานยาวของฐาน แตละแถวใช
เสาเข็ม 4 ตน โดยใหระยะหางระหวางศูนยกลางเสาเข็มเทากับ 90 ซม และระยะขอบของฐานรากที่
หางจากศูนยกลางเสาเข็มเทากับ 45 ซม สมมติความหนาของฐานรากเทากับ 70 ซม โดยมีระยะ d =
45 ซม ถาตองออกแบบตามวิธี USD จากการกระทําของแรงและโมเมนตดัดประลัย ซึ่งพบวาแรง
ตานสุทธิของเสาเข็มดานที่รับโมเมนตมีคา R3 = 11.6 ตัน และ R4 = 13.4 ตัน จงประมาณคาแรง
เฉือนประลัยแบบทะลุที่หนาตัดวิกฤต
ตัวเลือก
(1) 85 ตัน
(2) 95 ตัน
(3) 105 ตัน
(4) 125 ตัน
แนวคิด
ในขั้นแรกตองหาแรงตานเสาเข็มอีกสองแนวทางดานนอย โดยใชสามเหลี่ยมคลาย
11.6 − R1 11.6 − R 2 13.4 − 11.6
tan θ = = =
1.80 0.90 0.90
R 2 = 11.6 + 11.6 − 13.4 = 9.8 tonne

R 1 = 11.6 −
1.80
(13.4 − 11.6) = 8 tonne
0.90
d 0.45
ใหเขียนแปลนฐานรากตากขอมูลที่ให หนาตัดวิกฤตรอบๆ ตอมอหางตอมอระยะ = =
2 2
0.225 เมตร จะพบวามีเสาเข็มสองตนที่ใกลหนาตัดวิกฤต ระยะหาง x = 0.45-0.15-0.225 = 0.075 m
D p 30 D p 30
= 7.5 cm < = = 15 cm ที่เหลืออีก 10 ตนหางหนาตัดวิกฤตเกิน = = 15 cm จึงคิด
2 2 2 2
เต็มที่
⎛1 x ⎞ ⎛ ⎞
Vup = 3R1 + 2R 2 + 2R 3 + 3R 4 + R 2 ⎜ + ⎟ + R3⎜ 1 + x ⎟
⎜2 D ⎟ ⎜2 D ⎟
⎝ p ⎠ ⎝ p ⎠

⎛ 1 7.5 ⎞ ⎛ 1 7.5 ⎞
Vup = 3 × 8 + 2 × 9.8 + 2 × 11.6 + 3 × 13.4 + 9.8⎜ + ⎟ + 11.6⎜ + ⎟
⎝ 2 30 ⎠ ⎝ 2 30 ⎠
Vup = 123.05 tonne

คําตอบ ขอ (4) 125 ตัน

395
คําถามขอที่ 212
ฐานรากเสาเข็มขนาด 2.70 × 3.60 ม รองรับแรงอัดใชงาน PD = 55 ตัน, PL =30 ตัน และโมเมนตดัด
ใชงาน MD = 10.5 ตัน.เมตร ML = 5.5 ตัน.เมตร จากเสาตอมอขนาด 0.30 × 0.30 เมตร สมมติใช
เสาเข็มขนาด φ 0.30 ม จํานวน 12 ตน เรียงเปน 3 แถว ขนานกับดานยาวของฐาน แตละแถวใช
เสาเข็ม 4 ตน โดยใหระยะหางระหวางศูนยกลางเสาเข็มเทากับ 90 ซม และระยะขอบของฐานรากที่
หางจากศูนยกลางเสาเข็มเทากับ 45 ซม สมมติความหนาของฐานรากเทากับ 70 ซม โดยมีระยะ d =
45 ซม ถาตองออกแบบตามวิธี USD จากการกระทําของแรงและโมเมนตดัดประลัย ซึ่งพบวาแรง
ตานสุทธิของเสาเข็มดานที่รับโมเมนตมีคา R3 = 11.6 ตัน และ R4 = 13.4 ตัน จงประมาณคาโมเมนต
ดัดประลัยทีห่ นาตัดวิกฤต
ตัวเลือก
(1) 45 ตัน.เมตร
(2) 50 ตัน.เมตร
(3) 55 ตัน.เมตร
(4) 60 ตัน.เมตร
แนวคิด
หนาตัดวิกฤตของโมเมนตอยูที่ขอบตอมอ
⎛ 0.30 ⎞ ⎛ 0.30 ⎞
M u = 3R 3 ⎜ 0.45 − ⎟ + 3R 4 ⎜ 0.90 + 0.45 − ⎟
⎝ 2 ⎠ ⎝ 2 ⎠
M u = 3 × 11.6 × 0.30 + 3 × 13.4 × 1.2
M u = 58.68 t.m
คําตอบ ขอ (4) 60 ตัน.เมตร

396
คําถามขอที่ 213
ฐานรากเสาเข็มขนาด 2.70 × 3.60 ม รองรับแรงอัดใชงาน P = 120 ตัน อยางเดียวจากเสาตอมอขนาด
0.30 × 0.30 เมตร สมมติใชเสาเข็มขนาด φ 0.30 ม จํานวน 12 ตน เรียงเปน 3 แถว ขนานกับดานยาว
ของฐาน แตละแถวใชเสาเข็ม 4 ตน โดยใหระยะหางระหวางศูนยกลางเสาเข็มเทากับ 90 ซม และ
ระยะขอบของฐานรากที่หางจากศูนยกลางเสาเข็มเทากับ 45 ซม สมมติความหนาของฐานราก
เทากับ 70 ซม โดยมีระยะ d = 45 ซม ดังนั้น ถาตองออกแบบตามวิธี WSD จงหาแรงตานสุทธิของ
เสาเข็ม
ตัวเลือก
(1) 10000 กก
(2) 11500 กก
(3) 12000 กก
(4) 12500 กก
แนวคิด
P 120
แรงตานสุทธิ R = = = 10 tonne = 10,000 kg
n p 12
คําตอบ ขอ (1) 10000 กก

397
คําถามขอที่ 214
ฐานรากเสาเข็มขนาด 2.70 × 3.60 ม รองรับแรงอัดใชงาน P = 120 ตันอยางเดียวจากเสาตอมอขนาด
0.30 × 0.30 เมตร สมมติใชเสาเข็มขนาด φ 0.30 ม จํานวน 12 ตน เรียงเปน 3 แถว ขนานกับดานยาว
ของฐาน แตละแถวใชเสาเข็ม 4 ตน โดยใหระยะหางระหวางศูนยกลางเสาเข็มเทากับ 90 ซม และ
ระยะขอบของฐานรากที่หางจากศูนยกลางเสาเข็มเทากับ 45 ซม สมมติความหนาของฐานราก
เทากับ 70 ซม โดยมีระยะ d = 45 ซม ดังนั้น ถาตองออกแบบตามวิธี WSD จงประมาณคาแรงเฉือน
แบบคานกวาง (one-way shear) ที่หนาตัดวิกฤต
ตัวเลือก
(1) 25000 กก
(2) 30000 กก
(3) 35000 กก
(4) 40000 กก
แนวคิด
เนื่องจากแรงตานเฉลี่ยของเสาเข็ม R = 120 = 10 t / pile = 10,000 kg / pile
12
เขียนแปลนฐานราก หนาตัดวิกฤตแบบคานกวางหางขอบตอมอ = d = 45 cm = 0.45 m
0.30
แนวเสาเข็มใกลหนาตัดวิกฤตที่สุดหาง x = 0.45 – 0.45 - = -0.15 m = -15 cm
2
Dp
เมื่อ x ≤ − แรงเฉือนจากเสาเข็มเปน 0
2
0.30
แนวเสาเข็มริมสุดหางหนาตัดวิกฤต x = 0.45 + 0.90 – 0.45 - = 0.75 m = 75 cm
2
Dp
เมื่อ x ≥ แรงเฉือนจากเสาเข็มคิดเต็มที่
2
Vb = 3R 4 = 3 × 10,000 = 30,000 kg
คําตอบ ขอ (2) 30000 กก

398
คําถามขอที่ 215
ฐานรากเสาเข็มขนาด 2.70 × 3.60 ม รองรับแรงอัดใชงาน P = 120 ตันอยางเดียวจากเสาตอมอขนาด
0.30 × 0.30 เมตร สมมติใชเสาเข็มขนาด φ 0.30 ม จํานวน 12 ตน เรียงเปน 3 แถว ขนานกับดานยาว
ของฐาน แตละแถวใชเสาเข็ม 4 ตน โดยใหระยะหางระหวางศูนยกลางเสาเข็มเทากับ 90 ซม และ
ระยะขอบของฐานรากที่หางจากศูนยกลางเสาเข็มเทากับ 45 ซม สมมติความหนาของฐานราก
เทากับ 70 ซม โดยมีระยะ d = 45 ซม ดังนั้น ถาตองออกแบบตามวิธี WSD จงประมาณคาแรงเฉือน
แบบทะลุที่หนาตัดวิกฤต
ตัวเลือก
(1) 100000 กก
(2) 115000 กก
(3) 120000 กก
(4) 125000 กก
แนวคิด
แรงตานทานเฉลี่ยของเสาเข็ม R1 = R 2 = R 3 = R 4 = 120 = 10 tonne = 10,000 kg
12
d 0.45
เขียนแปลนฐานราก หนาตัดวิกฤตแรงเฉือนแบบเจาะทะลุหางขอบตอมอระยะ = = 0.225
2 2
เมตร จะมีเสาเข็ม 2 ตนที่อยูใกลหนาตัดวิกฤต หาระยะหาง
0.90 − 0.30 − 0.45 D 30
x= = 0.075 m = 7.5 cm < p = = 15 cm
2 2 2
⎛ 1 7.5 ⎞
Vp = (12 − 2 ) × 10000 + 2 × 10000 × ⎜ + ⎟ = 115,000 kg
⎝ 2 30 ⎠
คําตอบ ขอ (2) 115000 กก

399
คําถามขอที่ 216
ฐานรากเสาเข็มขนาด 2.70 × 3.60 ม รองรับแรงอัดใชงาน P = 120 ตันอยางเดียวจากเสาตอมอขนาด
0.30 × 0.30 เมตร สมมติใชเสาเข็มขนาด φ 0.30 ม จํานวน 12 ตน เรียงเปน 3 แถว ขนานกับดานยาว
ของฐาน แตละแถวใชเสาเข็ม 4 ตน โดยใหระยะหางระหวางศูนยกลางเสาเข็มเทากับ 90 ซม และ
ระยะขอบของฐานรากที่หางจากศูนยกลางเสาเข็มเทากับ 45 ซม สมมติความหนาของฐานราก
เทากับ 70 ซม โดยมีระยะ d = 45 ซม ดังนั้น ถาตองออกแบบตามวิธี WSD จงประมาณคาโมเมนต
ดัดที่หนาตัดวิกฤต
ตัวเลือก
(1) 35 ตัน.เมตร
(2) 40 ตัน.เมตร
(3) 45 ตัน.เมตร
(4) 50 ตัน.เมตร
แนวคิด
แรงตานทานเฉลี่ยของเสาเข็ม R1 = R 2 = R 3 = R 4 = 120 = 10 tonne = 10,000 kg
12
เขียนแปลนฐานราก หนาตัดวิกฤตของโมเมนตอยูที่ขอบตอมอ
⎛ 0.30 ⎞ ⎛ 0.30 ⎞
M = 3R 3 ⎜ 0.45 − ⎟ + 3R 4 ⎜ 0.45 + 0.90 − ⎟ = 3R 3 × 0.30 + 3R 4 × 1.20
⎝ 2 ⎠ ⎝ 2 ⎠
M = 3 × 10000 × 0.30 + 3 × 10000 × 1.20 = 45000 kg.m = 45 t.m
คําตอบ ขอ (3) 45 ตัน.เมตร

400
คําถามขอที่ 217
เสาปลอกเดี่ยวตนหนึ่งอยูในโครงเฟรมที่เซไมได มีขนาด 35 × 35 ซม ยาวเทากับ 5 เมตร ตองรับ
แรงอัดตามแนวแกน PD = 15 ตัน PL = 8.5 ตัน และโมเมนตดัดรอบ plastic centroid โดยที่ปลาย
หนึ่งรับโมเมนต MD = 10 ตัน.เมตร ML = 6 ตัน.เมตร และอีกปลายหนึ่งรับโมเมนต MD = 5 ตัน.
เมตร ML = 3 ตัน.เมตร ซึ่งทําใหเสาโกงสองทาง ถาให effective length factor kb มีคาเทากับ 0.9 จง
หาอัตราสวนความชะลูดของเสาตนนี้ตามวิธี USD
ตัวเลือก
k bl u M1b
(1) = 43 > 34 − 12 = 28
r M 2b
k bl u M
(2) = 43 > 34 − 12 1b = 40
r M 2b
k bl u M
(3) = 51 > 34 − 12 1b = 28
r M 2b
k bl u M
(4) = 51 > 34 − 12 1b = 28
r M 2b
แนวคิด
ดู การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีกาํ ลัง ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร
มาตรฐาน ว.ส.ท. กําหนดวาเสาที่พิจารณาจะเปนเสาสั้นเมือ่
(ก) เสาในโครงขอแข็งที่ไมมีการเซ
Kl u M
< 34 − 12 1b
r M 2b
(ข) เสาในโครงขอแข็งที่มีการเซ
Kl u
< 22
r
โจทยกําหนด k b = 0.9 ความยาวที่ไมมีคานยึดรั้ง l u = 500 cm และรัศมีไจเรชัน r = 0.3h =
0.3 × 35 = 10.5 cm และไมมีการเซ
k b l u 0.9 × 500 M
= = 42.86 ⇒ 43 > 34 − 12 1b
r 10.5 M 2b
คา M1b = โมเมนตที่ปลายเสาคานอย
M 2 b = โมเมนตที่ปลายเสาคามาก
M1b
เปน+ เมื่อเสาโกงทางเดียว เปน – เมื่อเสาโกงสองทาง
M 2b
M1b
ถาปลายเสาไมมีโมเมนตเลย ใหใช = 1.0
M 2b
k bl u M
คําตอบ ขอ (2) = 43 > 34 − 12 1b = 40
r M 2b

401
คําถามขอที่ 218
เสาปลอกเดี่ยวตนหนึ่งอยูในโครงเฟรมที่เซไมได มีขนาด 35 × 35 ซม ยาวเทากับ 5 เมตร ตองรับ
แรงอัดตามแนวแกน PD = 15 ตัน PL = 8.5 ตัน และโมเมนตดัดรอบ plastic centroid โดยที่ปลาย
หนึ่งรับโมเมนต MD = 10 ตัน.เมตร ML = 6 ตัน.เมตร และอีกปลายหนึ่งรับโมเมนต MD = 5 ตัน.
เมตร ML = 3 ตัน.เมตร ซึ่งทําใหเสาโกงสองทาง จงหาคา creep factor βd ของเสาตนนี้ตามวิธี USD
ตัวเลือก
(1) 0.45
(2) 0.58
(3) 0.65
(4)
(5) 3
แนวคิด
ดู การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีกาํ ลัง ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร
คา creep factor βd = PDu มีคา 0 ≤ βd ≤ 1
Pu
โดย PDu = น้ําหนักบรรทุกคงที่สูงสุดเพิม่ คา
Pu = น้ําหนักบรรทุกรวมเพิ่มคา
ดังนั้น
PDu = 1.4PD = 1.4 × 15 = 21 tonne
Pu = 1.4PD + 1.7 PL = 1.4 × 15 + 1.7 × 8.5 = 35.45 tonne
PDu 21
βd = = = 0.5924
Pu 35.45
คําตอบ ขอ (2) 0.58 ใกลเคียงที่สุด

402
คําถามขอที่ 219
เสาปลอกเดี่ยวตนหนึ่งอยูในโครงเฟรมที่เซไมได มีขนาด 25 × 40 ซม ยาวเทากับ 7.20 เมตร ตองรับ
แรงอัดตามแนวแกน PD = 24 ตัน PL = 12 ตัน และโมเมนตดัดรอบ plastic centroid โดยที่ปลายหนึ่ง
รับโมเมนต MD = 4.70 ตัน.เมตร ML = 2.35 ตัน.เมตร และอีกปลายหนึ่งไมมีโมเมนตกระทํา ถาให
effective length factor kb มีคาเทากับ 1.0 จงหาอัตราสวนความชะลูดของเสาตนนี้ตามวิธี USD
ตัวเลือก
k bl u
(1) = 40
r
k bl u
(2) = 50
r
k bl u
(3) = 60
r
k bl u
(4) = 96
r
แนวคิด
kl u 1.0 × 720
อัตราสวนความชะลูด = = 60
r 0.3 × 40
k bl u
คําตอบ ขอ (3) = 60
r

403
คําถามขอที่ 220
เสาปลอกเดี่ยวตนหนึ่งอยูในโครงเฟรมที่เซไมได มีขนาด 25 × 40 ซม ยาวเทากับ 7.20 เมตร ตองรับ
แรงอัดตามแนวแกน PD = 24 ตัน PL = 12 ตัน และโมเมนตดัดรอบ plastic centroid โดยที่ปลายหนึ่ง
รับโมเมนต MD = 4.70 ตัน.เมตร ML = 2.35 ตัน.เมตร และอีกปลายหนึ่งไมมีโมเมนตกระทํา ถาให
effective length factor kb มีคาเทากับ 1.0 จงหา creep factor βd ของเสาตนนี้ตามวิธี USD
ตัวเลือก
(1) 0.50
(2) 0.55
(3) 0.62
(4) 0.65
แนวคิด
ดู การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีกาํ ลัง ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร
คา creep factor βd = PDu มีคา 0 ≤ βd ≤ 1
Pu
โดย PDu = น้ําหนักบรรทุกคงที่สูงสุดเพิม่ คา
Pu = น้ําหนักบรรทุกรวมเพิ่มคา
ดังนั้น
PDu = 1.4PD = 1.4 × 24 = 33.6 tonne
Pu = 1.4PD + 1.7PL = 1.4 × 24 + 1.7 × 12 = 54 tonne
PDu 33.6
βd = = = 0.622
Pu 54
คําตอบ ขอ (3) 0.62

404
คําถามขอที่ 221
เสาปลอกเดี่ยวตนหนึ่งอยูในโครงเฟรมที่เซไมได มีขนาด 35 × 35 ซม ยาวเทากับ 5 เมตร ตองรับ
แรงอัดตามแนวแกน PD = 15 ตัน PL = 8.5 ตัน และโมเมนตดัดรอบ plastic centroid โดยที่ปลาย
หนึ่งรับโมเมนต MD = 10 ตัน.เมตร ML = 6 ตัน.เมตร และอีกปลายหนึ่งรับโมเมนต MD = 5 ตัน.
เมตร ML = 3 ตัน.เมตร ซึ่งทําใหเสาโกงสองทาง ถาให effective length factor kb มีคาเทากับ 0.9 คา
creep factor βd เทากับ 0.58 และให Ec = 2.5 × 105 กก/ซม2 จงหาคาแรงอัดวิกฤต (critical load : Pc)
ของเสาตนนี้ตามวิธี USD
ตัวเลือก
(1) 380 ตัน
(2) 420 ตัน
(3) 510 ตัน
(4) 610 ตัน
แนวคิด
ดู การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีกาํ ลัง ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร
π2 EI
แรงอัดวิกฤต Pc =
(kl u )2
ประมาณวามีเหล็กเสริมนอย เพราะไมทราบเลย ดังนั้น
35 × 353
E c Ig 2.5 × 105 ×
EI = = 12 = 7,914,688,819
2.5(1 + βd ) 2.5(1 + 0.58)
π2 × 7,914,688,819
Pc = = 385,752.3338 kg = 385.8 tonne
(0.9 × 500)2
คําตอบ ขอ (1) 380 ตัน

405
คําถามขอที่ 222
เสาปลอกเดี่ยวตนหนึ่งอยูในโครงเฟรมที่เซไมได มีขนาด 35 × 35 ซม ยาวเทากับ 5 เมตร ตองรับ
แรงอัดตามแนวแกน PD = 15 ตัน PL = 8.5 ตัน และโมเมนตดัดรอบ plastic centroid โดยที่ปลาย
หนึ่งรับโมเมนต MD = 10 ตัน.เมตร ML = 6 ตัน.เมตร และอีกปลายหนึ่งรับโมเมนต MD = 5 ตัน.
เมตร ML = 3 ตัน.เมตร ซึ่งทําใหเสาโกงสองทาง ถาใหแรงอัดวิกฤต (critical load : Pc) มีคาเทากับ
380 ตัน จงหาคา moment magnification factor δb สําหรับใชออกแบบเสาตนนี้ตามวิธี USD
ตัวเลือก
(1) 0.46
(2) 1.00
(3) 1.15
(4) 1.30
แนวคิด
ดู การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีกาํ ลัง ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร
Cm
δb = ≥ 1.0
Pu
1−
φPc
1.4 × 5 + 1.7 × 3
C m = 0.6 + 0.4 1b = 0.6 + 0.4 × (− )
M
= 0.4
M 2b 1.4 × 10 + 1.7 × 6
Pu = 1.4 × 15 + 1.7 × 8.5 = 35.45 tonne
0.4
δb = = 0.556598564 < 1.0 Use δ b = 1.0
35.45
1−
0.7 × 180
คําตอบ ขอ (2) 1.00

406
คําถามขอที่ 223
เสาปลอกเดี่ยวตนหนึ่งอยูในโครงเฟรมที่เซไมได มีขนาด 25 × 40 ซม ยาวเทากับ 7.20 เมตร ตองรับ
แรงอัดตามแนวแกน PD = 24 ตัน PL = 12 ตัน และโมเมนตดัดรอบ plastic centroid โดยที่ปลายหนึ่ง
รับโมเมนต MD = 4.70 ตัน.เมตร ML = 2.35 ตัน.เมตร และอีกปลายหนึ่งไมมีโมเมนตกระทํา ถาให
effective length factor kb มีคาเทากับ 1.0 คา creep factor βd เทากับ 0.6 และให Ec = 2.4 × 105 กก/
ซม2 จงหาคาแรงอัดวิกฤต (critical load : Pc) ของเสาตนนี้ตามวิธี USD
ตัวเลือก
(1) 125 ตัน
(2) 150 ตัน
(3) 170 ตัน
(4) 200 ตัน
แนวคิด
ดู การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีกาํ ลัง ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร
π 2 EI
แรงอัดวิกฤต Pc =
(kl u )2
ประมาณวามีเหล็กเสริมนอย เพราะไมทราบเลย ดังนั้น
25 × 403
E c Ig 2.4 × 10 ×5

EI = = 12 = 8,000,000,000
2.5(1 + βd ) 2.5(1 + 0.6)
π2 × 8,000,000,000
Pc = = 152,308.7099 kg = 152.3 tonne
(1.0 × 720)2
คําตอบ ขอ (2) 150 ตัน

407
คําถามขอที่ 224
เสาปลอกเดี่ยวตนหนึ่งอยูในโครงเฟรมที่เซไมได มีขนาด 25 × 40 ซม ยาวเทากับ 7.20 เมตร ตองรับ
แรงอัดตามแนวแกน PD = 24 ตัน PL = 12 ตัน และโมเมนตดัดรอบ plastic centroid โดยที่ปลายหนึ่ง
รับโมเมนต MD = 4.70 ตัน.เมตร ML = 2.35 ตัน.เมตร และอีกปลายหนึ่งไมมีโมเมนตกระทํา ถาให
แรงอัดวิกฤต (critical load : Pc) มีคาเทากับ 150 ตัน จงหาคา moment magnification factor δb
สําหรับใชออกแบบเสาตนนี้ตามวิธี USD
ตัวเลือก
(1) 0.65
(2) 1.00
(3) 1.12
(4) 1.24
แนวคิด
ดู การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีกาํ ลัง ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร
Cm
δb = ≥ 1.0
Pu
1−
φPc
M 1.4 × 0 + 1.7 × 0
C m = 0.6 + 0.4 1b = 0.6 + 0.4 × = 0.6
M 2b 1.4 × 4.70 + 1.7 × 2.35
Pu = 1.4 × 24 + 1.7 × 12 = 54 tonne
0.6
δb = = 1.235
54
1−
0.7 × 150
คําตอบ ขอ (4) 1.24

408
คําถามขอที่ 225
เสาปลอกเดี่ยวขนาด 50 × 50 ซม เสริมเหล็กยืนทั้งหมด 6 φ 25 มม (Ast = 29.45 ตร.ซม) โดยที่
A s = A s' และระยะคอนกรีตหุม = 5 ซม เสานี้ตองรับแรงอัดตามแนวแกน และโมเมนตดด ั รอบ
plastic centroid ใหใชวิธี WSD ประมาณคาหนวยแรงอัด (Fa) ที่ยอมใหของเสาคอนกรีตที่จะใชใน
สมการ interaction กําหนดให f c' = 250 กก/ซม2 fy = 3000 กก/ซม2 และ Es = 2 × 106 กก/ซม2
สูตร Fa = 0.34(1 + ρg m )f c'
ตัวเลือก
(1) 100 กก/ตร.ซม
(2) 125 กก/ตร.ซม
(3) 150 กก/ตร.ซม
(4) 200 กก/ตร.ซม
แนวคิด
A st 29.45
ρg = = = 0.01178
bh 50 × 50
fy 3000
m= = = 14.11764706
0.85f c 0.85 × 250
'

Fa = 0.34 × (1 + 0.01178 × 14.11764706 ) × 250


Fa = 99.136 ksc
คําตอบ ขอ (1) 100 กก/ตร.ซม

409
คําถามขอที่ 226
เสาปลอกเดี่ยวขนาด 50 × 50 ซม เสริมเหล็กยืนทั้งหมด 6 φ 25 มม (Ast = 29.45 ตร.ซม) โดยที่
A s = A s' และระยะคอนกรีตหุม = 5 ซม เสานี้ตองรับแรงอัดตามแนวแกน และโมเมนตดด ั รอบ
plastic centroid ใหใชวิธี WSD ประมาณคาโมเมนตดัดปลอดภัยทีย่ อมใหของเสา กําหนดให f c' =
250 กก/ซม2 fy = 3000 กก/ซม2 และ Es = 2 × 106 กก/ซม2
สูตร M 0 = 0.4Asf y (d − d')
ตัวเลือก
(1) 10000 กก.ม
(2) 9000 กก.ม
(3) 8000 กก.ม
(4) 7000 กก.ม
แนวคิด
M 0 = 0.4A s f y (d − d ') = 0.4 ×
× 3000 × (45 − 5)
29.45
2
M 0 = 706,800 kg.cm = 7068 kg.m
คําตอบ ขอ (4) 7000 กก.ม

410
คําถามขอที่ 227
เสาปลอกเดี่ยวขนาด 50 × 50 ซม เสริมเหล็กยืนทั้งหมด 6 φ 25 มม (Ast = 29.45 ตร.ซม) โดยที่
A s = A s' และระยะคอนกรีตหุม = 5 ซม เสานี้ตองรับแรงอัดตามแนวแกน และโมเมนตดด ั รอบ
plastic centroid ใหใชวิธี WSD ประมาณคาระยะเยื้องศูนยสมดุล กําหนดให f c' = 250 กก/ซม2 fy =
3000 กก/ซม2 และ Es = 2 × 106 กก/ซม2
สูตร eb = (0.67ρg m + 0.17 )(h − d')
ตัวเลือก
(1) 10 ซม
(2) 12 ซม
(3) 13 ซม
(4) 15 ซม
แนวคิด
A st 29.45
ρg = = = 0.01178
bh 50 × 50
fy 3000
m= = = 14.11764706
0.85f c 0.85 × 250
'

e b = (0.67ρg m + 0.17 )(h − d')


e b = (0.67 × 0.01178 × 14.11764706 + 0.17 ) × (50 − 5)
e b = 12.66412235 cm
คําตอบ ขอ (3) 13 ซม

411
คําถามขอที่ 228
เสาปลอกเดี่ยวขนาด 50 × 50 ซม เสริมเหล็กยืนทั้งหมด 6 φ 25 มม (Ast = 29.45 ตร.ซม) โดยที่
A s = A s' และระยะคอนกรีตหุม = 5 ซม ใหใชวิธี WSD ประมาณกําลังตานแรงอัดใชงาน (Pb) ที่
สภาวะสมดุล (Balanced condition) สมมติคาหนวยแรงอัดที่ยอมใหของเสาคอนกรีต = 100 กก/ซม2
หนวยแรงดัดที่ยอมใหของเสา = 115 กก/ซม2 ระยะเยื้องศูนยสมดุล = 12.7 ซม และโมเมนตอิน
เนอรเชียของหนาตัด = 720000 ซม4
ตัวเลือก
(1) 170 ตัน
(2) 190 ตัน
(3) 210 ตัน
(4) 230 ตัน
แนวคิด
fa f b
หาคา Pb จากความสัมพันธ + =1
Fa Fb
Pb Pb ec
นั่นคือ A + I = Pb + Pb ec = P ⎛⎜ 1 + ec ⎞⎟ = 1
b⎜ ⎟
Fa Fb AFa IFb ⎝ AFa IFb ⎠
โดยที่ A = 50 × 50 = 2500 cm 2
e = 12.7 cm
Fa = 100 ksc
Fb = 115 ksc
50
c= = 25 cm
2
I=
bh 3
+ (2n − 1)A st
(gh )2
12 4
I = 720000 cm 4

แทนคาได
⎛ 1 12.7 × 25 ⎞
Pb ⎜ + ⎟ =1
⎝ 2500 × 100 720000 × 115 ⎠
Pb = 127,639.8952 kg = 127.6398952 tonne
คําตอบ 128 ตัน
เฉลย ขอ (1) 170 ตัน

412
คําถามขอที่ 229
เสาปลอกเดี่ยวขนาด 25 × 25 ซม เสริมเหล็กยืนทั้งหมด 6 φ 20 มม (Ast = 18.84 ตร.ซม) โดยที่
A s = A s' และระยะคอนกรีตหุม = 4 ซม ใหใชวิธี WSD ประมาณกําลังตานแรงอัดใชงาน (Pb) ที่
สภาวะสมดุล (Balanced condition) สมมติคาหนวยแรงอัดที่ยอมใหของเสาคอนกรีต = 120 กก/ซม2
หนวยแรงดัดที่ยอมใหของเสา = 112.5 กก/ซม2 ระยะเยื้องศูนยสมดุล = 8.50 ซม และโมเมนตอนิ
เนอรเชียของหนาตัด = 55700 ซม4
ตัวเลือก
(1) 33 ตัน
(2) 47 ตัน
(3) 60 ตัน
(4) 75 ตัน
แนวคิด
fa f b
หาคา Pb จากความสัมพันธ + =1
Fa Fb
Pb Pb ec
นั่นคือ A + I = Pb + Pb ec = P ⎛⎜ 1 + ec ⎞⎟ = 1
b⎜ ⎟
Fa Fb AFa IFb ⎝ AFa IFb ⎠
โดยที่ A = 25 × 25 = 625 cm 2
e = 8.50 cm
Fa = 120 ksc
Fb = 112.5 ksc
25
c= = 12.5 cm
2
I=
bh 3
+ (2n − 1)A st
(gh )2
12 4
I = 55700 cm 4

แทนคาได
⎛ 1 8.50 × 12.5 ⎞
Pb ⎜ + ⎟ =1
⎝ 625 × 120 55700 × 112.5 ⎠
Pb = 33,015.01581 kg = 33.01501581 tonne
คําตอบ ขอ (1) 33 ตัน

413
คําถามขอที่ 230
เสาปลอกเดี่ยวขนาด 50 × 50 ซม เสริมเหล็กยืนทั้งหมด 6 φ 25 มม (Ast = 29.45 ตร.ซม) โดยที่
A s = A s' และระยะคอนกรีตหุม = 5 ซม ใหใชวิธี WSD ประมาณกําลังตานโมเมนตดัดใชงาน (Mb)
ที่สภาวะสมดุล (Balanced condition) สมมติคาหนวยแรงอัดที่ยอมใหของเสาคอนกรีต = 100 กก/
ซม2 หนวยแรงดัดที่ยอมใหของเสา = 115 กก/ซม2 ระยะเยื้องศูนยสมดุล = 12.7 ซม และโมเมนต
อินเนอรเชียของหนาตัด = 720000 ซม4
ตัวเลือก
(1) 20 ตัน.เมตร
(2) 22 ตัน.เมตร
(3) 25 ตัน.เมตร
(4) 30 ตัน.เมตร
แนวคิด
fa f b
หาคา Pb จากความสัมพันธ + =1
Fa Fb
Pb Pb ec
นั่นคือ A + I = Pb + Pb ec = P ⎛⎜ 1 + ec ⎞⎟ = 1
b⎜ ⎟
Fa Fb AFa IFb ⎝ AFa IFb ⎠
โดยที่ A = 50 × 50 = 2500 cm 2
e = 12.7 cm
Fa = 100 ksc
Fb = 115 ksc
50
c= = 25 cm
2
I=
bh 3
+ (2n − 1)A st
(gh )2
12 4
I = 720000 cm 4

แทนคาได
⎛ 1 12.7 × 25 ⎞
Pb ⎜ + ⎟ =1
⎝ 2500 × 100 720000 × 115 ⎠
Pb = 127,639.8952 kg = 127.6398952 tonne
12.7
M b = Pb e b = 127.6398952 × = 16.21026669 t.m
100
คําตอบ 16.21 ตัน.เมตร
เฉลย ขอ (2) 22 ตัน.เมตร

414
คําถามขอที่ 231
คานรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด 0.15 × 0.30 ม เสริมเหล็กรับแรงดึงที่ระยะ d = 0.25 ม โดยใช
2 2
f c' = 200 กก/ซม และ fy = 3000 กก/ซม ตองรับโมเมนตดด ั ประลัย (Mu) ที่หนาตัดวิกฤตเทากับ
3500 กก.เมตร ซึ่งสามารถหาปริมาณเหล็กเสริมรับแรงดึงไดทันทีตามวิธี USD แตในที่นี้ตองการ
เพิ่มความเหนียวและลดระยะโกงตัวของคาน จึงพิจารณาออกแบบคานนี้ใหมีเหล็กเสริมรับแรงอัด
ดวย โดยสมมติวาใชอัตราสวน ρ − ρ'= 0.01 ซึ่งมีคากําลังรับโมเมนตดัดประลัย (Mu) เทากับ 2300
กก.เมตร ดังนัน้ จงหาปริมาณเหล็กเสริมรับแรงดึง (As) และรับแรงอัด (As' ) ที่ตองใชตามทฤษฎี
สําหรับคานนี้ สมมติใหระยะ d’ = 5 ซม
ตัวเลือก
(1) As' = 2.00 ซม^2 As = 5.75 ซม^2
(2) As' = 2.22 ซม^2 As = 5.97 ซม^2
(3) As' = 2.50 ซม^2 As = 6.25 ซม^2
(4) As' = 3.00 ซม^2 As = 6.75 ซม^2
แนวคิด
กําหนด M u = 3500 kg.m = 350,000 kg.cm
f c' = 200 ksc < 280 ksc ⇒ β1 = 0.85
f y = 3000 ksc
0.85f c' 6120 0.85 × 200 6120
ρb = β1 = 0.85 × × = 0.032181222
f y 6120 + f y 3000 6120 + 3000
ρmax = 0.75ρ b = 0.024135917
14 14
ρmin = = = 0.00466666667
f y 3000
ให ρ = 0.75ρb = 0.024135917
⎛ f ⎞
R u = ρf y ⎜⎜1 − 0.59ρ y' ⎟⎟
⎝ fc ⎠
⎛ 3000 ⎞
R u = 0.024135917 × 3000 × ⎜1 − 0.59 × 0.024135917 × ⎟
⎝ 200 ⎠
R u = 56.94124796
M R = φR u bd 2 = 0.9 × 56.94124796 × 15 × 252
M R = 480,441.7796 kg.cm = 4804.417796 kg.m > M u = 3500 kg.m
แสดงวาหนาตัดนี้สามารถรับโมเมนตดัดโดยตองการเฉพาะเหล็กรับแรงดึงเทานั้น
A s − A s' A s − A s' A s − A s'
เมื่อกําหนด ρ − ρ' = = = = 0.01 ดังนั้น
bd 15 × 25 375
A s − A s' = 3.75 cm 2

415
สมมติให fs' = f y = 3000 ksc
(ρ − ρ')f yd 0.01 × 3000 × 25
a= = = 4.411764706 cm
0.85f '
c 0.85 × 200
⎛ a⎞
M n = 0.85f c' ba ⎜ d − ⎟ + A s' f s' (d − d ')
⎝ 2⎠
350000 ⎛ 4.411764706 ⎞
= 0.85 × 200 × 15 × 4.411764706 × ⎜ 25 − ⎟
0.9 ⎝ 2 ⎠
A s' × 3000 × (25 − 5)
A s' = 2.2 cm 2
A s = 2.2 + 3.75 = 5.95 cm 2
คําตอบ A s' = 2.2 cm 2 , A s = 5.95 cm 2
เฉลย ขอ (1) A s' = 2.00 ซม^2 As = 5.75 ซม^2

416
คําถามขอที่ 232
คานรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด 0.20 × 0.35 ม เสริมเหล็กรับแรงดึงที่ระยะ d = 0.30 ม โดยใช
2 2
f c' = 200 กก/ซม และ fy = 4000 กก/ซม ตองรับโมเมนตดด ั ประลัย (Mu) ที่หนาตัดวิกฤตเทากับ
6000 กก.เมตร ซึ่งสามารถหาปริมาณเหล็กเสริมรับแรงดึงไดทันทีตามวิธี USD แตในที่นี้ตองการ
เพิ่มความเหนียวและลดระยะโกงตัวของคาน จึงพิจารณาออกแบบคานนี้ใหมีเหล็กเสริมรับแรงอัด
ดวย โดยสมมติวาใชอัตราสวน ρ − ρ'= 0.006 ซึ่งมีคากําลังรับโมเมนตดัดประลัย (Mu) เทากับ
3610 กก.เมตร ดังนั้น จงหาปริมาณเหล็กเสริมรับแรงดึง (As) และรับแรงอัด (As' ) ที่ตองใชตาม
ทฤษฎี สําหรับคานนี้ สมมติใหระยะ d’ = 3 ซม
ตัวเลือก
(1) As' = 1.50 ซม^2 As = 5.10 ซม^2
(2) As' = 2.00 ซม^2 As = 5.60 ซม^2
(3) As' = 2.50 ซม^2 As = 6.10 ซม^2
(4) As' = 2.75 ซม^2 As = 6.35 ซม^2
แนวคิด
กําหนด M u = 6000 kg.m = 600,000 kg.cm
f c' = 200 ksc < 280 ksc ⇒ β1 = 0.85
f y = 4000 ksc
0.85f c' 6120 0.85 × 200 6120
ρb = β1 = 0.85 × × = 0.021846343
f y 6120 + f y 4000 6120 + 4000
ρmax = 0.75ρb = 0.016384757
14 14
ρmin = = = 0.0035
f y 4000
ให ρ = 0.75ρb = 0.016384757
⎛ f ⎞
R u = ρf y ⎜⎜1 − 0.59ρ y' ⎟⎟
⎝ fc ⎠
⎛ 4000 ⎞
R u = 0.016384757 × 4000 × ⎜1 − 0.59 × 0.016384757 × ⎟
⎝ 200 ⎠
R u = 52.86770586
M R = φR u bd 2 = 0.9 × 52.86770586 × 20 × 30 2
M R = 856,456.8349 kg.cm = 8564.568349 kg.m > M u = 6000 kg.m
แสดงวาหนาตัดนี้สามารถรับโมเมนตดัดโดยตองการเฉพาะเหล็กรับแรงดึงเทานั้น
A s − A s' A s − A s' A s − A s'
เมื่อกําหนด ρ − ρ' = = = = 0.006 ดังนั้น
bd 20 × 30 600
A s − A s' = 3.6 cm 2

417
สมมติให f s' = f y = 4000 ksc
(ρ − ρ')f yd 0.006 × 4000 × 30
a= = = 4.235294118 cm
0.85f c' 0.85 × 200
⎛ a⎞
M n = 0.85f c' ba ⎜ d − ⎟ + A s' f s' (d − d ')
⎝ 2⎠
600000 ⎛ 4.235294118 ⎞
= 0.85 × 200 × 20 × 4.235294118 × ⎜ 30 − ⎟
0.9 ⎝ 2 ⎠
A s' × 4000 × (30 − 3)
A s' = 2.455192447 cm 2
A s = 2.46 + 3.6 = 6.055 cm 2

คําตอบ ขอ (3) A s' = 2.50 ซม^2 As = 6.10 ซม^2

418
คําถามขอที่ 233
คานรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด 0.20 × 0.45 ม เสริมเหล็กรับแรงดึงที่ระยะ d = 0.40 ม โดยใช
2 2
f c' = 200 กก/ซม และ fy = 3000 กก/ซม ตองรับโมเมนตดด ั ประลัย (Mu) ที่หนาตัดวิกฤตเทากับ
15000 กก.เมตร ซึ่งสามารถหาปริมาณเหล็กเสริมรับแรงดึงไดทันทีตามวิธี USD แตในที่นี้ตองการ
เพิ่มความเหนียวและลดระยะโกงตัวของคาน จึงพิจารณาออกแบบคานนี้ใหมีเหล็กเสริมรับแรงอัด
ดวย โดยสมมติวาใชอัตราสวน ρ − ρ'= 0.016 ซึ่งมีคากําลังรับโมเมนตดัดประลัย (Mu) เทากับ
11800 กก.เมตร ดังนั้น จงหาปริมาณเหล็กเสริมรับแรงดึง (As) และรับแรงอัด (As' ) ที่ตองใชตาม
ทฤษฎี สําหรับคานนี้ สมมติใหระยะ d’ = 3 ซม
ตัวเลือก
(1) As' = 3.20 ซม^2 As = 16.0 ซม^2
(2) As' = 3.77 ซม^2 As = 15.8 ซม^2
(3) As' = 4.20 ซม^2 As = 17.0 ซม^2
(4) As' = 5.74 ซม^2 As = 15.3 ซม^2
แนวคิด
กําหนด M u = 15000 kg.m = 1,500,000 kg.cm
f c' = 200 ksc < 280 ksc ⇒ β1 = 0.85
f y = 3000 ksc
0.85f c' 6120 0.85 × 200 6120
ρb = β1 = 0.85 × × = 0.032181222
f y 6120 + f y 3000 6120 + 3000
ρmax = 0.75ρ b = 0.024135917
14 14
ρmin = = = 0.00466666667
f y 3000
ให ρ = 0.75ρb = 0.024135917
⎛ f ⎞
R u = ρf y ⎜⎜1 − 0.59ρ y' ⎟⎟
⎝ fc ⎠
⎛ 3000 ⎞
R u = 0.024135917 × 3000 × ⎜1 − 0.59 × 0.024135917 × ⎟
⎝ 200 ⎠
R u = 56.94124796
M R = φR u bd 2 = 0.9 × 56.94124796 × 20 × 40 2
M R = 1,639,907.941 kg.cm = 16,399.07941 kg.m > M u = 15,000 kg.m
แสดงวาหนาตัดนี้สามารถรับโมเมนตดัดโดยตองการเฉพาะเหล็กรับแรงดึงเทานั้น
A s − A s' A s − A s' A s − A s'
เมื่อกําหนด ρ − ρ' = = = = 0.016 ดังนั้น
bd 20 × 40 800
A s − A s' = 12.8 cm 2

419
สมมติให fs' = f y = 3000 ksc
(ρ − ρ')f yd 0.016 × 3000 × 40
a= = = 11.29411765 cm
0.85f '
c 0.85 × 200
⎛ a⎞
M n = 0.85f c' ba ⎜ d − ⎟ + A s' f s' (d − d ')
⎝ 2⎠
1500000 ⎛ 11.29411765 ⎞
= 0.85 × 200 × 20 × 11.29411765 × ⎜ 40 − ⎟
0.9 ⎝ 2 ⎠
A s' × 3000 × (40 − 3)
A s' = 3.130754284 cm 2
A s = 3.13 + 12.8 = 15.93 cm 2

คําตอบ ขอ (1) A s' = 3.20 ซม^2 As = 16.0 ซม^2

420
คําถามขอที่ 234
ฐานรากแผขนาด 3 × 3 เมตร รองรับแรงอัดตามแนวแกนจากเสาตอมอขนาด 0.30 × 0.30 เมตร ถาใช
ความหนาของฐานรากเทากับ 70 ซม โดยมีความลึกสุทธิ d = 60 ซม จงหากําลังรับแรงเฉือนประลัย
สูงสุด (φVc ) แบบทะลุตรงหนาตัดวิกฤต ถาคอนกรีตของฐานรากมีคา f c' = 150 กก/ตร.ซม
ตัวเลือก
(1) 100 ตัน
(2) 150 ตัน
(3) 200 ตัน
(4) 240 ตัน
แนวคิด
ดู การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีกาํ ลัง ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร
b 30
βc = = =1< 2
a 30
α s = 40
b o = 2(a + b + 2d ) = 2 × (30 + 30 + 2 × 60 ) = 360 cm
ทุกคาของ βc
⎛α d ⎞ ⎛ 40 × 60 ⎞
Vc = 0.27⎜⎜ s + 2 ⎟⎟ f c' b o d = 0.27⎜ + 2 ⎟ 150 × 360 × 60
⎝ bo ⎠ ⎝ 360 ⎠
Vc = 619,035.0478 kg
เมื่อ βc < 2
Vc = 1.06 f c' bo d = 1.06 150 × 360 × 60 = 280,417.5858 kg
เลือกคานอยแลวคูณดวยตัวคูณลดกําลัง
φVc = 0.85 × 280,417.5858 = 238,354.9479 kg ⇒ 238 tonne
คําตอบ ขอ (4) 240 ตัน

421
คําถามขอที่ 235
ฐานรากแผขนาด 3 × 3 เมตร รองรับแรงอัดตามแนวแกนจากเสาตอมอขนาด 0.30 × 0.30 เมตร ถาใช
ความหนาของฐานรากเทากับ 70 ซม โดยมีความลึกสุทธิ d = 60 ซม จงหากําลังรับแรงเฉือนประลัย
สูงสุด (φVc ) แบบคานกวางตรงหนาตัดวิกฤต ถาคอนกรีตของฐานรากมีคา f c' = 150 กก/ตร.ซม
ตัวเลือก
(1) 100 ตัน
(2) 150 ตัน
(3) 200 ตัน
(4) 240 ตัน
แนวคิด
ดู การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีกาํ ลัง ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร
Vc = 0.53 f c' Bd = 0.53 150 × 300 × 60 = 116,840.6607 kg
φVc = 0.85 × 116,840.6607 = 99,314.56162 kg = 99.3 tonne
คําตอบ ขอ (1) 100 ตัน

422
คําถามขอที่ 236
ฐานรากแผขนาด 3 × 3 เมตร รองรับแรงอัดตามแนวแกนจากเสาตอมอขนาด 0.30 × 0.30 เมตร ถาใช
ความหนาของฐานรากเทากับ 40 ซม โดยมีความลึกสุทธิ d = 30 ซม คา f c' ของฐานราก = 150 กก/
ตร.ซม จงประมาณคาแรงอัดประลัยตามแนวแกนสูงสุด (Pu) ที่เสาตอมอจะถายใหฐานราก หากฐาน
รากนี้ถูกควบคุมดวยแรงเฉือนประลัยสูงสุด (φVc ) แบบคานกวางตรงหนาตัดวิกฤต
ตัวเลือก
(1) 80 ตัน
(2) 100 ตัน
(3) 120 ตัน
(4) 140 ตัน
แนวคิด
ดู การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีกาํ ลัง ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร
Vc = 0.53 f c' Bd = 0.53 150 × 300 × 30 = 58,420.33037 kg
φVc = 0.85 × 58,420.33037 = 49,657.28081 kg = 49.6 tonne
⎛L a ⎞
แต Vub = qB⎜ − − d ⎟
⎝2 2 ⎠
⎛ 3.00 0.30 ⎞
49,657.28081 = q × 3.00 × ⎜ − − 0.30 ⎟
⎝ 2 2 ⎠
q = 15,764.21613 kg / m 2

P = qBL = 15,764.21613 × 3.00 × 3.00 = 141,877.9452 kg = 142 tonne


คําตอบ ขอ (4) 140 ตัน

423
คําถามขอที่ 237
ฐานรากแผขนาด 3 × 3 เมตร รองรับแรงอัดตามแนวแกนจากเสาตอมอขนาด 0.30 × 0.30 เมตร ถาใช
ความหนาของฐานรากเทากับ 40 ซม โดยมีความลึกสุทธิ d = 30 ซม คา f c' ของฐานราก = 150 กก/
ตร.ซม จงประมาณคาแรงอัดประลัยตามแนวแกนสูงสุด (Pu) ที่เสาตอมอจะถายใหฐานราก หากฐาน
รากนี้ถูกควบคุมดวยแรงเฉือนประลัยสูงสุด (φVc ) แบบทะลุตรงหนาตัดวิกฤต
ตัวเลือก
(1) 80 ตัน
(2) 100 ตัน
(3) 120 ตัน
(4) 140 ตัน
แนวคิด
ดู การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีกาํ ลัง ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร
b 30
βc = = =1< 2
a 30
α s = 40
b o = 2(a + b + 2d ) = 2 × (30 + 30 + 2 × 30 ) = 240 cm
ทุกคาของ βc
⎛α d ⎞ ⎛ 40 × 30 ⎞
Vc = 0.27⎜⎜ s + 2 ⎟⎟ f c' b o d = 0.27⎜ + 2 ⎟ 150 × 240 × 30
⎝ bo ⎠ ⎝ 240 ⎠
Vc = 166,663.2821 kg
เมื่อ βc < 2
Vc = 1.06 f c' bo d = 1.06 150 × 240 × 30 = 93,472.52858 kg
เลือกคานอยแลวคูณดวยตัวคูณลดกําลัง
φVc = 0.85 × 93,472.52858 = 79,451.6493 kg
Vup = q[BL − (a + d )(b + d )]
79,451.6493 = q[3.00 × 3.00 − (0.30 + 0.30 )(0.30 + 0.30 )]
q = 9,195.792743 kg / m 2
P = qBL = 9,195.792743 × 3.00 × 3.00 = 82,762.13468 kg = 82.8 tonne
คําตอบ ขอ (1) 80 ตัน

424
คําถามขอที่ 238
คานคอนกรีตเสริมเหล็กหนาตัดสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด 25 × 50 cm ซึ่ง d = 41 cm จงหา 75% ของ
โมเมนตที่สภาวะสมดุล (0.75Mnb) เมื่อ f c' = 350 ksc และ fy = 4000 ksc
ตัวเลือก
(1) 20.47 t.m
(2) 27.25 t.m
(3) 30.24 t.m
(4) 37.04 t.m
(5) 45.22 t.m
แนวคิด
f c' = 350 ksc > 280 ksc

β1 = 0.85 −
70
(f c − 280) = 0.85 −
0.05 ' 0.05
70
(350 − 280) = 0.80
0.85f c' 6120
ρb = β1
f y 6120 + f y
0.85 × 350 6120
ρb = 0.80 × × = 0.038231101
4000 6120 + 4000
⎛ f ⎞
R u = ρf y ⎜⎜1 − 0.59ρ y' ⎟⎟
⎝ fc ⎠
⎛ 4000 ⎞
R u = 0.038231101 × 4000 × ⎜1 − 0.59 × 0.038231101 × ⎟
⎝ 350 ⎠
R u = 113.5025047
M nb = R u bd 2 = 113.5025047 × 25 × 412 = 4,769,942.762 kg.cm
0.75M nb = 0.75 × 4,769,942.762 = 3,577,457.071 kg.m
0.75M nb = 35,774.57071 kg.m = 35.775 t.m
คําตอบ ขอ (4) 37.04 t.m ใกลเคียงที่สุด

425
สาขา: โยธา วิชา: CE22 Timber and Steel Design

ขอที่ : 1
ในกรณีใชเหล็กประกับ (Gusset Plate) ในการตอองคอาคารไม คาแรงตานทานขนานเสี้ยนของตัวสลักเกลียวเพิ่มขึ้นกี่เปอรเซ็นต
คําตอบ 1 : 10 %
คําตอบ 2 : 15 %
คําตอบ 3 : 25 %
คําตอบ 4 : 35 %

ขอที่ : 2
ในการคํานวณองคอาคารรับแรงดึงตรงบริเวณที่มิไดทํารอยตอ คา Maximum Allowable Tensile Stress บนหนาตัดทั้งหมดของเหล็กรูปพรรณคือ

คําตอบ 1 : 0.40Fy
คําตอบ 2 : 0.50Fy
คําตอบ 3 : 0.60Fy
คําตอบ 4 : 0.75Fy

ขอที่ : 3
สําหรับโครงสรางหลัก(Main member) ขององคอาคารเหล็กรูปพรรณรับแรงดึง คา Slenderness ratio ใชไมเกินกวา
คําตอบ 1 : 120
คําตอบ 2 : 240
คําตอบ 3 : 300
คําตอบ 4 : 360

ขอที่ : 4
พื้นที่หนาตัดสุทธิ (Anet) ของแผนเหล็กประกับ สําหรับองคอาคารเหล็กรูปพรรณที่รับแรงดึงจะตองไมเกินรอยละเทาใดของพื้นที่ทั้งหมด
คําตอบ 1 : 50%
คําตอบ 2 : 65%
คําตอบ 3 : 80%
คําตอบ 4 : 85%

1 of 130
ขอที่ : 5
ในการคํานวณองคอาคารเหล็กรูปพรรณรับแรงอัดที่มีหนาตัดแบบคอมแพค และสมมาตรสองแกน เมื่ออัตราสวนความชะลูด KL/r < Cc เสาจะพังแบบใด
คําตอบ 1 : Yielding
คําตอบ 2 : Buckling
คําตอบ 3 : Crippling
คําตอบ 4 : Yielding + Buckling

ขอที่ : 6
ในการคํานวณองคอาคารเหล็กรูปพรรณรับแรงอัดที่มีหนาตัดแบบคอมแพค และสมมาตรสองแกนเมื่ออัตราสวนความชะลูด KL/r > Cc เสาจะพังแบบใด
คําตอบ 1 : Yielding
คําตอบ 2 : Buckling
คําตอบ 3 : Crippling
คําตอบ 4 : Yielding + Buckling

ขอที่ : 7
ถาหนาตัดเหล็กสี่เหลี่ยมตันขนาด 50 x100 mm จงหาคา radius of gyration ที่นอยที่สุด
คําตอบ 1 : 1.44 cm
คําตอบ 2 : 2.89 cm
คําตอบ 3 : 5.78 cm
คําตอบ 4 : 11.54 cm

ขอที่ : 8
การวิบัติแบบ Block Shear ของโครงสรางเหล็กเกิดจากสาเหตุใด
คําตอบ 1 : เกิดจากแรงเฉือนและแรงดัด
คําตอบ 2 : เกิดจากแรงอัดและแรงดัด
คําตอบ 3 : เกิดจากแรงดึงและแรงเฉือน
คําตอบ 4 : เกิดจากแรงดึงและแรงดัด

ขอที่ : 9
หนาตัดสุทธิ หมายความวาอยางไร
คําตอบ 1 : เนื้อที่หนาตัดทั้งหมดของสวนโครงสราง 2 of 130
คําตอบ 2 : เนื้อที่หนาตัดของสวนโครงสรางที่อยูในแนวที่ตั้งฉากกับแรงดึงที่กระทํา เมื่อหักเนื้อที่สวนที่เปนรูเจาะออกแลว
คําตอบ 3 : เนื้อที่หนาตัดสวนที่ถูกเจาะ
คําตอบ 4 : เนื้อที่หนาตัดสวนที่ถูกเจาะรูบวกกับเนื้อที่หนาตัดที่ตั้งฉากกับแรงดึง

ขอที่ : 10
ในการออกแบบองคอาคารไมทั่วไปที่รับแรงดึงในแนวขนานเสี้ยน พื้นที่หนาตัดสุทธิที่ระนาบวิกฤตตองมีคามากกวาหรือเทากับรอยละเทาใดของพื้นที่รับแรงกด
ของสลักเกลียวทุกตัวที่รอยตอ
คําตอบ 1 : รอยละ 50
คําตอบ 2 : รอยละ 60
คําตอบ 3 : รอยละ 75
คําตอบ 4 : รอยละ 80

ขอที่ : 11
ในการคํานวณออกแบบองคอาคารไมรับแรงดึง ถาไมที่ใชมีตาไมที่ระนาบวิกฤต ผูออกแบบควรทําเชนไร
คําตอบ 1 : นําพื้นที่หนาตัดทั้งหมดมาใชในการคํานวณ
คําตอบ 2 : นําพื้นที่ตาไมหักออกจากพื้นที่หนาตัดทั้งหมด
คําตอบ 3 : นําพื้นที่ตาไมหักออกจากพื้นที่หนาตัดสุทธิ
คําตอบ 4 : นําพื้นที่หนาตัดสุทธิมาคํานวณ

ขอที่ : 12
เสาไมขนาด 5 นิ้ว x 5 นิ้ว มีความยาว 3 เมตร จะสามารถรับน้ําหนักไดประมาณเทาไร
เมื่อกําหนดให P/A = Fc// (1.33 - L/(35d))
โดยที่หนวยแรงอัดขนานเสี้ยนที่ยอมให (Fc//) เทากับ 90 ksc
คํานวณโดยใช nominal size
คําตอบ 1 : 9,000 kg
คําตอบ 2 : 11,500 kg
คําตอบ 3 : 13,000 kg
คําตอบ 4 : 15,000 kg

ขอที่ : 13
น้ําหนักบรรทุกจรใด (ในประเทศไทย)ตอไปนี้นาจะมีคามากที่สุด
คําตอบ 1 : หลังคาคอนกรีต 3 of 130
คําตอบ 2 : ที่พักอาศัย
คําตอบ 3 : หองสมุด
คําตอบ 4 : ธนาคาร

ขอที่ : 14
น้ําหนักบรรทุกคงที่ใด (ในประเทศไทย) ตอไปนี้นาจะมีคามากที่สุด
คําตอบ 1 : พื้นไมเนื้อแข็ง
คําตอบ 2 : กําแพงอิฐมอญ
คําตอบ 3 : วัสดุมุงหลังคา
คําตอบ 4 : กําแพงอิฐบล็อก

ขอที่ : 15
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
คําตอบ 1 : ไมมีคุณสมบัติดานกําลังเทาๆ กันทุกดาน (Isotropic)
คําตอบ 2 : ไมมีคุณสมบัติไมเทากันในแตละดาน (Non-Isotropic)
คําตอบ 3 : ตําหนิของไมมักจะไมมีผลตอกําลังรับแรงดึง
คําตอบ 4 : ความชื้นไมมีผลกระทบตอการหดตัว (Shrinkage) ของไม

ขอที่ : 16
คาอัตราสวนของกําลังที่เสานั้นรับไดตอน้ําหนักเสา เรียงลําดับจากนอยไปมาก
คําตอบ 1 : เสาตัน, เสาประกอบตัน, เสาประกอบไมแผน
คําตอบ 2 : เสาประกอบไมแผน, เสาตัน, เสาประกอบตัน
คําตอบ 3 : เสาประกอบตัน, เสาตัน, เสาประกอบไมแผน
คําตอบ 4 : รับน้ําหนักไดเทากัน

ขอที่ : 17
หนวยแรงใดคือหนวยแรงที่สูงที่สุดในเหล็ก
คําตอบ 1 : Yield strength
คําตอบ 2 : Ultimate strength
คําตอบ 3 : Proof strength
คําตอบ 4 : Allowable stress
4 of 130
ขอที่ : 18
สําหรับเหล็กที่มีกําลังจุดคราก (Yield strength) สูงมาก ตําแหนงจุดครากไมปรากฏชัดเจน มาตรฐาน ASTM ใหพิจารณาหนวยแรงจุดคราก ณ หนวยการยืด
(Strain) ตัวใด
คําตอบ 1 : 0.02
คําตอบ 2 : 0.05
คําตอบ 3 : 0.002
คําตอบ 4 : 0.005

ขอที่ : 19
ขอใดไมใชความสําคัญของอัตราสวนความชะลูด (Slenderness ratio) ตอชิ้นสวนที่รับแรงดึง
คําตอบ 1 : การโกงเดาะ (Buckling)
คําตอบ 2 : การโกงทางขาง (Lateral deflection)
คําตอบ 3 : การสั่น (Vibration)
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 20
กําลังรับแรงอัดของเสาแตละตนซึ่งขนาดหนาตัด และความยาวเทากัน ปลายเสาแบบใดมีความสามารถรับแรงไดสูงที่สุด
คําตอบ 1 : หมุนทั้งสองปลาย (pin-ended)
คําตอบ 2 : ปลายหนึ่งยึดแนน และ อีกปลายหนึ่งยึดหมุน (Fixed-Pin Ended)
คําตอบ 3 : แบบยึดแนนทั้งสองปลาย (Fixed-Fixed Ended)
คําตอบ 4 : ไมสามารถบอกไดเพราะตองทราบวาเสาแตละตนดังกลาวมีการเซหรือไม

ขอที่ : 21
กําลังรับแรงอัดของเสาแตละตนซึ่งไมมีการเซ และ ขนาดหนาตัด, ความยาวเทากัน ปลายเสาแบบใดมีความสามารถรับแรงไดสูงที่สุด
คําตอบ 1 : หมุนทั้งสองปลาย (Pin-Ended)
คําตอบ 2 : ปลายหนึ่งยึดแนน และ อีกปลายหนึ่งยึดหมุน (Fixed-Pin Ended)
คําตอบ 3 : แบบยึดแนนทั้งสองปลาย (Fixed-Fixed Ended)
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 22
กําลังรับแรงอัดของเสาแตละตนซึ่งไมมีการเซ ขนาดหนาตัดเทากัน ความยาวเสาใดสามารถรับแรงไดสูงที่สุด โดยมีการยึดปลายเสาเหมือนกัน 5 of 130
คําตอบ 1 : เสายาว 3.00 เมตร
คําตอบ 2 : เสายาว 3.50 เมตร
คําตอบ 3 : เสายาว 3.70 เมตร
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 23
ในสภาวะปกติที่ไมมีแรงลมกระทํา โครงสรางชนิดใดรับแรงดึง
คําตอบ 1 : ตัวยึดแป (Sag rod)
คําตอบ 2 : แป (Purlin)
คําตอบ 3 : จันทัน (Rafter)
คําตอบ 4 : ดั้ง (King Post)

ขอที่ : 24
ในสภาวะปกติที่ไมมีแรงลมกระทํา โครงสรางชนิดใดรับแรงอัด
คําตอบ 1 : ตัวยึดแป (Sag rod)
คําตอบ 2 : แป (Purlin)
คําตอบ 3 : ขื่อ (Tie Beam)
คําตอบ 4 : ดั้ง (King Post)

ขอที่ : 25
หากเหล็กมีพฤติกรรม Strain Hardening แลว และยังไมถึงจุดที่มีแรงดึงมากที่สุด เหล็กนี้จะมีคุณสมบัติตามขอใด
คําตอบ 1 : มีกําลังรับแรงดึงต่ําลงนอยกวา Yield Stress
คําตอบ 2 : มีคาความเหนียว (Ductility) ต่ําลงกวากอนเกิด Strain Hardening
คําตอบ 3 : มีคาโมดูลัสของความยืดหยุน (Young’s Modulus) ลดลง
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 26
หากนําแผนเหล็กหนา 10 ม.ม.กวาง 20 ซ.ม.ยาว 1 ม. มามวนขึ้นรูปเปนหนาตัดเสายาว 1 ม. หนาตัดรูปแบบใดรับแรงไดนอยที่สุด

คําตอบ 1 : ทอหนาตัดสี่เหลี่ยมจัตุรัส
คําตอบ 2 : ทอหนาตัดวงกลม
คําตอบ 3 : เหล็กฉาก 6 of 130
คําตอบ 4 : รับแรงไดเทากันเพราะมีพื้นที่หนาตัดเทากัน

ขอที่ : 27
เสาเหล็กหนาตัดวงกลม ยาว 3 เมตร ปลายทั้งสองเปนแบบหมุน และไมมีการเซ หากมีการค้ํายันตรงกลางไมใหโกงได (โกงไมไดทุกทิศทาง, หมุนได) เสาจะ
สามารถรับน้ําหนักเพิ่มขึ้นกี่เทา
คําตอบ 1 : เทาเดิม
คําตอบ 2 : 2 เทา
คําตอบ 3 : 3 เทา
คําตอบ 4 : 4 เทา

ขอที่ : 28
เสาเหล็กหนาตัดวงกลม ยาว 3 เมตร ปลายทั้งสองเปนแบบยืดแนน และไมมีการเซ หากมีการค้ํายันตรงกลางไมใหโกงได (โกงไมไดทุกทิศทาง, หมุนได) เสา
จะสามารถรับน้ําหนักเพิ่มขึ้นกี่เทา
คําตอบ 1 : เทาเดิม
คําตอบ 2 : ประมาณ 2 เทา
คําตอบ 3 : ประมาณ 4 เทา
คําตอบ 4 : ประมาณ 8 เทา

ขอที่ : 29
ในโครงเฟรมขอแข็ง ถาคาสติฟเนสของเสานอยมากเมื่อเทียบกับ คาสติฟเนสของคาน ดังนั้น ตรงรอยตอของเสากับคาน
คําตอบ 1 : อาจสมมติใหปลายของเสาเปนแบบหมุน (Pinned End)
คําตอบ 2 : อาจสมมติใหปลายของเสาเปนแบบยืดแนน (Fixed End)
คําตอบ 3 : อาจสมมติใหปลายของเสาเปนแบบฟรี (Free End)
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูกตอง

ขอที่ : 30
โครงสรางแบบใดที่ไมตองคํานึงถึงผลกระทบของการโกงในแนวขวาง (P-Delta Effect)
คําตอบ 1 : เสารับแรงในแนวดิ่ง (Column)
คําตอบ 2 : คานรับแรงดัดและแรงในแนวแกน (Beam-Column)
คําตอบ 3 : คานรับเฉพาะแรงดัด (Beam)
คําตอบ 4 : ไมมีคําตอบที่ถูก
7 of 130
ขอที่ : 31
หนวยแรงดึงที่ยอมใหสําหรับทอนเหล็กหรือเคเบิ้ล มีคาเทากับขอใด
คําตอบ 1 : 0.30 Fu
คําตอบ 2 : 0.33 Fu
คําตอบ 3 : 0.50 Fu
คําตอบ 4 : 0.75 Fu

ขอที่ : 32
ตามมาตรฐานของ ว.ส.ท.กําหนดใหเนื้อที่หนาตัดสุทธิมากที่สุดขององคอาคารเหล็กรับแรงดึงที่มีรูเจาะมีคาไมเกินกี่เปอรเซนตของเนื้อที่หนาตัดทั้งหมด
คําตอบ 1 : 50%
คําตอบ 2 : 60%
คําตอบ 3 : 75%
คําตอบ 4 : 85%

ขอที่ : 33
ไมแดงขนาด 2"x4"เจาะรูเพื่อยึดสลักเกลียวขนาดเสนผานศูนยกลาง 3/4" แถวเดียว จะรับแรงดึงไดประมาณเทาไร กําหนดใหเพิ่มขนาดรูเจาะ 1/16" และมี
หนวยแรงดึงขนานเสี้ยนที่ยอมใหเทากับ 120 ksc คํานวณโดยใช Nominal size
คําตอบ 1 : 4750 kg
คําตอบ 2 : 5000 kg
คําตอบ 3 : 5400 kg
คําตอบ 4 : 6000 kg

ขอที่ : 34
ไมกอสรางที่จะนํามาใชงาน ควรมีความชื้นใกลเคียงหรือเทากับ
คําตอบ 1 : ความชื้นอบแหง
คําตอบ 2 : ความชื้นในบรรยากาศ
คําตอบ 3 : ความชื้นสมดุลย (Equilibrium Moisture Content)
คําตอบ 4 : ความชื้นที่จุดเสี้ยนไมอิ่มตัว (Fiber Saturation Point)

ขอที่ : 35
8 of 130
ไมใดตองคํานวณแรงตานทานของอุปกรณยึด ดวยสูตรฮันกินสัน
คําตอบ 1 : ไม ก.
คําตอบ 2 : ไม ข.
คําตอบ 3 : ไม ค.
คําตอบ 4 : ไมทุกชิ้น

ขอที่ : 36
โครงถักรับน้ําหนักดังรูป จงประมาณเนื้อที่หนาตัดของไม ค.
กําหนดให หนวยแรงดึงของไมเนื้อแข็งที่ยอมให = 120 ksc.

20 cm2
คําตอบ 1 :

40 cm2
คําตอบ 2 :

45 cm2
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 : ไมมีคําตอบที่ถูก

9 of 130
ขอที่ : 37
โครงถักดังรูป ขอใดกลาวผิด

คําตอบ 1 : ชิ้นสวน A รับแรงอัด


คําตอบ 2 : ชิ้นสวน B รับแรงอัด
คําตอบ 3 : ชิ้นสวน C รับแรงอัด
คําตอบ 4 : ไมมีคําตอบที่ถูก

ขอที่ : 38
ในการคํานวณออกแบบโครงถัก ขอใดกลาวผิด
คําตอบ 1 : หนวยแรงดึงที่ยอมใหเปนคาคงที่
คําตอบ 2 : หนวยแรงอัดที่ยอมใหเปนคาคงที่
คําตอบ 3 : ถาแรงดึงเทากับแรงอัด ชิ้นสวนรับแรงอัดจะออกแบบไดพื้นที่หนาตัดใหญกวา
คําตอบ 4 : วิเคราะหโครงถักดีเทอมิเนทภายใตน้ําหนักบรรทุกเทาเดิม ไดแรงภายในชิ้นสวนคงเดิม แมวาชิ้นสวนจะเปลี่ยนขนาดพื้นที่หนาตัด

ขอที่ : 39
โครงถักดังรูป ถาเกณฑคาระยะโกงสูงสุดในแนวดิ่งเทากับ L/360 โครงถักนี้ควรมีระยะโกงตัวไมเกินเทาใด

คําตอบ 1 : 0.277 cm.


คําตอบ 2 : 0.833 cm. 10 of 130
คําตอบ 3 : 1.667 cm.
คําตอบ 4 : ไมมีคําตอบที่ถูก

ขอที่ : 40
โครงถักดังรูป ถาเกณฑคาระยะโกงสูงสุดในแนวดิ่งเทากับ L/240 โครงถักนี้ควรมีระยะโกงตัวไมเกินเทาใด

คําตอบ 1 : 0.625 cm.


คําตอบ 2 : 1.25 cm.
คําตอบ 3 : 2.50 cm.
คําตอบ 4 : ไมมีคําตอบที่ถูก

ขอที่ : 41
โครงถักดังรูป ขอใดกลาวถูกตอง

คําตอบ 1 : ชิ้นสวน A รับแรงดึง


คําตอบ 2 : ชิ้นสวน B รับแรงดึง
คําตอบ 3 : ชิ้นสวน C รับแรงดึง
คําตอบ 4 : ไมมีคําตอบที่ถูก

11 of 130
ขอที่ : 42
ขอใด ไมใช เหล็กรีดรอน (Hot rolled)
คําตอบ 1 : S 150 x 17.1
คําตอบ 2 : W 150 x 14.0
คําตอบ 3 : WT 150 x 47

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 43
เหล็กโครงสราง ASTM A36 จัดอยูในประเภทใด
คําตอบ 1 : เหล็กกลาคารบอน (Carbon steel)
คําตอบ 2 : เหล็กกลาประสมบาง - กําลังสูง (High Strength Low - Alloy Steel)
คําตอบ 3 : เหล็กกลาประสม - ชุบแข็ง (Heat - treated Constructional Alloy Steel)
คําตอบ 4 : ไมมีคําตอบที่ถูก

ขอที่ : 44
ในการออกแบบโดยวิธีหนวยแรงใชงาน (Allowable Stress Design) หากตองพิจารณาถึงแรงลมที่กระทําตอโครงสรางโดยไมเพิ่มคาหนวยแรงที่ยอมให จะ
คํานวณหาน้ําหนักบรรทุกใชงานสูงสุดจาก
เมื่อ D = Dead Load, L = Live Load และ W = Wind Load
คําตอบ 1 : D+L+W
คําตอบ 2 : 0.75 (D + L + W)
คําตอบ 3 : 1.2 D + 0.8 W

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 45

12 of 130
จงประมาณกําลังรับน้ําหนักของเสา มีมิติดังรูป โดยวิธี ASD เสายาว 3.0 เมตร ปลายทั้งสองขางเปนแบบยึดหมุน
คําตอบ 1 : 70 ตัน
คําตอบ 2 : 77 ตัน
คําตอบ 3 : 86 ตัน
คําตอบ 4 : ไมมีคําตอบที่ถูก

ขอที่ : 46 13 of 130
จงประมาณกําลังรับแรงอัดประลัยของเสา เสายาว 3.0 เมตร ปลายทั้งสองขางยึดหมุน

เมื่อ ≤ 1.5

เมื่อ > 1.5

คําตอบ 1 : 110 ตัน


คําตอบ 2 : 120 ตัน
คําตอบ 3 : 130 ตัน
คําตอบ 4 : ไมมีคําตอบที่ถูก

ขอที่ : 47
พฤติกรรมการวิบัติของเสายาวปานกลาง สอดคลองกับทฤษฎีใดมากที่สุด
คําตอบ 1 : ทฤษฎีของออยเลอร (Euler's Theory)
14 of 130
คําตอบ 2 : ทฤษฎีโมดูลัสลด (Reduced Modulus Theory)
คําตอบ 3 : ทฤษฎีโมดูลัสสัมผัส (Tangent Modulus Theory)
คําตอบ 4 : ไมมีคําตอบที่ถูก

ขอที่ : 48
เสาเหล็กรูปพรรณตนหนึ่ง ยาว L เมตร ปลายทั้งสองขางยึดหมุน (k = 1) รับน้ําหนักได 100 ตัน ถาเปลี่ยนการยึดจับเปนยึดแนนทั้งสองขาง (k = 0.5) จะรับ
น้ําหนักวิกฤตไดกี่ตัน
คําตอบ 1 : 100 ตัน
คําตอบ 2 : 200 ตัน
คําตอบ 3 : 400 ตัน
คําตอบ 4 : ไมมีคําตอบที่ถูก

ขอที่ : 49
เสาเหล็กรูปพรรณตนหนึ่ง ยาว L เมตร ปลายทั้งสองขางยึดหมุน (k = 1) รับน้ําหนักได 100 ตัน ถาเปลี่ยนการยึดจับปลายเปนยึดแนนขางเดียว อีกขางปลอย
อิสระ (k = 2) จะรับน้ําหนักวิกฤตไดเทาใด
คําตอบ 1 : 25 ตัน
คําตอบ 2 : 50 ตัน
คําตอบ 3 : 100 ตัน
คําตอบ 4 : ไมมีคําตอบที่ถูก

ขอที่ : 50
ในการคํานวณองคอาคารรับแรงดึง ขอมูลเกี่ยวกับคา U = Reduction Factor ขอใดไมถูกตอง
คําตอบ 1 : ใชคํานวณเฉพาะวิธี LRFD
คําตอบ 2 : ถาเปนการยึดตอโดยการเชื่อมตลอดหนาตัด U = 1
คําตอบ 3 : เปนตัวลดประสิทธิภาพเนื่องจากชิ้นสวนเกิด Shear lag
คําตอบ 4 : ใชเพื่อคํานวณหาพื้นที่หนาตัดสุทธิประสิทธิผล

ขอที่ : 51
ในการคํานวณออกแบบองคอาคารรับแรงดึง ขอมูลเกี่ยวกับ Block Shear ขอใดไมถูกตอง
คําตอบ 1 : คํานวณทั้งวิธี ASD และ LRFD
คําตอบ 2 : พื้นที่รับแรงดึงตั้งฉากกับแนวแรง
คําตอบ 3 : พื้นที่รับแรงเฉือนขนานกับแนวแรง 15 of 130
คําตอบ 4 : รอยตอแบบเชื่อมไมวิบัติดวย Block Shear

ขอที่ : 52
จงประมาณความยาวสูงสุดที่ยอมใหไดตามขอกําหนดของ AISC สําหรับองคอาคารรับแรงดึงซึ่งมีหนาตัดเปนเหล็กแบนหนา 25 มม.
คําตอบ 1 : 2.15 m
คําตอบ 2 : 2.25 m
คําตอบ 3 : 2.35 m
คําตอบ 4 : 2.45 m

ขอที่ : 53
โครงสรางหนาตัดรูป W ยาว 7.50 เมตร รับแรงดึงตามแนวแกนเทากับ 200 ตัน สมมุติวา จะตองเจาะรูสําหรับใสสลักเกลียวขนาดเสนผานศูนยกลาง 22 มม. บน
ปกคาน (flange) ทั้งสองดานจํานวน 2 แถว และในแตละแถวมีสลักเกลียวอยางนอย 3 ตัว เหล็ก W นี้เปนเหล็กชนิด A36 มีคา Fy เทากับ2,500 ksc. และมีคา
Fu เทากับ 4,000 ksc. จงประมาณเนื้อหนาที่หนาตัดทั้งหมด (Gross Area) ที่ตองการโดยพิจารณาจากขอกําหนดของ AISC/ASD เมื่อจะวิบัติแบบ yielding
failure
คําตอบ 1 : 100 cm2
คําตอบ 2 : 125 cm2
คําตอบ 3 : 135 cm2
คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

ขอที่ : 54
โครงสรางหนาตัดรูป W ยาว 7.50 เมตร รับแรงดึงตามแนวแกนเทากับ 200 ตัน สมมุติวาจะตองเจาะรูสําหรับใสสลักเกลียวขนาดเสนผานศูนยกลาง 22 มม. บน
ปกคาน (flange) ทั้งสองดานจํานวน 2 แถว และในแตละแถวมีสลักเกลียวอยางนอย 3 ตัว ใหเหล็ก W นี้เปนเหล็กชนิด A36 มีคา Fy เทากับ 2,500 ksc. และ
มีคา Fu เทากับ 4,000 ksc. จงประมาณเนื้อที่หนาตัดสุทธิประสิทธิผล (Ae) ที่ตองการโดยพิจารณาจากขอกําหนดของ AISC-ASD เมื่อจะวิบัติแบบ fracture
failure
คําตอบ 1 : 100 cm2
คําตอบ 2 : 125 cm2
คําตอบ 3 : 135 cm2
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 55
โครงสรางหนาตัดรูป W มีอัตราสวน bf/d เทากับ 2/3 รับแรงดึงใชงานตามแนวแกนเทากับ 250 ตัน สมมุติวาจะตองเจาะรูสําหรับใสสลักเกลียวขนาดเสนผาน
ศูนยกลาง 22 มม. บนปกคาน (flange) ทั้งสองดานจํานวน 2 แถว และในแตละแถวมีสลักเกลียวอยางนอย 3 ตัว ใหเหล็ก W นี้เปนเหล็กชนิด A36 มีคา Fy 16 of 130
เทากับ 2,500 ksc. และมีคา Fu เทากับ 4,000 ksc. จงประมาณเนื้อที่หนาตัดสุทธิ (An) ที่ตองการโดยพิจารณาจากขอกําหนดของ AISC/ASD เมื่อจะวิบัติ
แบบ Fracture Failure
คําตอบ 1 : 125 cm2
คําตอบ 2 : 140 cm2
คําตอบ 3 : 150 cm2
คําตอบ 4 : 170 cm2

ขอที่ : 56
โครงสรางหนาตัดรูป W ยาว 7.50 เมตร รับแรงดึงตามแนวแกนเทากับ 200 ตัน สมมุติวาจะตองเจาะรูสําหรับใสสลักเกลียวขนาดเสนผานศูนยกลาง 22 มม.บน
ปกคาน(flange)ทั้งสองดานจํานวน 2 แถว และในแตละแถวมีสลักเกลียวอยางนอย 3 ตัว ใหเหล็ก W นี้เปนเหล็กชนิด A36 มีคา Fy เทากับ 2500 ksc.และมี
คา Fu เทากับ 4,000 ksc.จงหารัศมีไจเรชั่นที่นอยที่สุด ตามขอกําหนดของ AISC/ASD
คําตอบ 1 : 2.25 cm
คําตอบ 2 : 2.50 cm
คําตอบ 3 : 2.75 cm
คําตอบ 4 : 3.00 cm

ขอที่ : 57
ทอนเหล็กกลมชนิด A36 ใชรับแรงดึงใชงาน 4 ตัน ถาตองเผื่อทําเกลียวประมาณ 1/16 นิ้ว ดังนั้น ตองใชทอนเหล็กขนาดเสนผาศูนยกลางเทากับ
คําตอบ 1 : 15 มม.
คําตอบ 2 : 20 มม.
คําตอบ 3 : 22 มม.
คําตอบ 4 : 25 มม.

ขอที่ : 58
แผนเหล็กชนิด A36 ใชรับแรงดึงใชงาน 32 ตัน ถาเผื่อทํารอยตอดวยสลักเกลียวขนาด 20 มม. อยางนอย 3 ตัวในหนึ่งแถว และสมมติวาไมเกิดการวิบัติที่ตัว
สลักเกลียว หรือวิบัติแบบ block-shear ดังนั้น ตองใชแผนเหล็กขนาดเทากับ
คําตอบ 1 : 20x100 มม.
คําตอบ 2 : 20x120 มม.
คําตอบ 3 : 20x125 มม.
คําตอบ 4 : 20x150 มม.

ขอที่ : 59 17 of 130
เสาที่มีคา E, I และ L เหมือนกันทุกตน เสาแบบใดมีกําลังรับแรงอัดตามแนวแกนไดสูงสุด
คําตอบ 1 : เสาที่มีปลายทั้งสองขางเปนแบบยึดหมุน
คําตอบ 2 : เสาที่มีปลายขางหนึ่งเปนแบบยึดหมุน และปลายอีกขางหนึ่งเปนแบบยึดแนน
คําตอบ 3 : เสาที่มีปลายทั้งสองขางเปนแบบยึดแนน และเซได
คําตอบ 4 : เสาที่มีปลายทั้งสองขางเปนแบบยึดแนน แตไมเซ

ขอที่ : 60
จงหาคาอัตราสวนความชะลูด ของเสาเหล็กรูปพรรณ เมื่อหนวยแรงวิกฤต (critical stress) มีคาเทากับครึ่งหนึ่งของกําลังจุดคราก
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 61
ตามวิธี ASD อัตราสวนความปลอดภัยของเสาที่โกงเดาะในชวงอิลาสติก(elastic buckling) มีคาเทากับ
คําตอบ 1 : 5/3
คําตอบ 2 : 21/12
คําตอบ 3 : 23/12
คําตอบ 4 : 2

ขอที่ : 62
เสาที่มีปลายทั้งสองขางเปนแบบยึดหมุน และมีคา Ix= 4Iy ถาเสาตนนี้มีค้ํายันที่กึ่งกลางเสาเพื่อกันการโกงรอบแกน y ในทางทฤษฎี จะพบวา

คําตอบ 1 : เสาโกงเดาะรอบแกน x และรอบแกน y พรอมกัน


คําตอบ 2 : เสาโกงเดาะรอบแกน y กอน
คําตอบ 3 : เสาโกงเดาะรอบแกน x กอน
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 63
มีเสา 2 ตน คือ เสา “ก” และเสา “ข” ตางมีปลายทั้งสองขางเปนแบบยึดหมุน และมีคา Ix , Iyและยาวเทากัน ถาเสา “ก” เปนเสาเหล็กรูปพรรณ และเสา “ข”
เปนเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก จะพบวา
18 of 130
คําตอบ 1 : เสา “ก” รับแรงอัดวิกฤตไดเทากับเสา “ข”
คําตอบ 2 : เสา “ก” รับแรงอัดวิกฤตไดนอยกวาเสา “ข”
คําตอบ 3 : เสา “ก” รับแรงอัดวิกฤตไดมากกวาเสา “ข”
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูกตอง เนื่องจากตองมีขอมูลเพิ่มเติม

ขอที่ : 64
กําลังรับแรงอัดของเสาเหล็กรูปพรรณขึ้นกับ
คําตอบ 1 : ความยาวของเสา
คําตอบ 2 : ลักษณะการยึดปลายเสา และค้ํายันทางขาง
คําตอบ 3 : อัตราสวนระหวางความกวางตอความหนาของแตละชิ้นสวน
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 65
เสาเหล็ก W344x115 (Ag = 146 ซม.2 rmin = 8.78 ซม.) รูปตัดแบบคอมแพค ทําดวยเหล็กชนิด A36 (Fy=2500 ksc, E=2x106 ksc) มีปลายทั้งสองขาง
เปนแบบยึดหมุน ยาว 5.0 เมตร จงประมาณกําลังรับแรงอัดที่ใชออกแบบ (design strength)

กําหนดสูตรที่ใชคํานวณ เมื่อ : หนวยแรงวิกฤต


เมื่อ : หนวยแรงวิกฤต

ในที่นี้ = slenderness parameter =

คําตอบ 1 : 200 ตัน


คําตอบ 2 : 240 ตัน
คําตอบ 3 : 280 ตัน
คําตอบ 4 : 330 ตัน

ขอที่ : 66

เสาเหล็ก W390x107 (Ag = 136 ซม.2 rmin = 7.28 ซม.) รูปตัดแบบคอมแพค ทําดวยเหล็กชนิด A36 (Fy=2500 ksc, E=2x106 ksc) มีปลายทั้งสองขาง
เปนแบบยึดแนนและไมเซ ยาว 5.0 เมตร จงประมาณกําลังรับแรงอัดที่ใชออกแบบ (design strength)
19 of 130
กําหนดสูตรที่ใชคํานวณ
เมื่อ : หนวยแรงวิกฤต

เมื่อ : หนวยแรงวิกฤต

ในที่นี้ = slenderness parameter =


คําตอบ 1 : 270 ตัน
คําตอบ 2 : 280 ตัน
คําตอบ 3 : 315 ตัน
คําตอบ 4 : 325 ตัน

ขอที่ : 67
เสาเหล็กมีรูปตัดแบบคอมแพค ทําดวยเหล็กชนิด A36 (Fy=2500 ksc, E=2x106 ksc) มีปลายทั้งสองขางเปนแบบยึดแนนและไมเซ จงหาความยาวของเสา
เมื่อหนวยแรงวิกฤต Fcr = Fy/2 สมมติใหเสามี rmin = 2.06 ซม.
กําหนดสูตรที่ใชคํานวณ

เมื่อ : หนวยแรงวิกฤต

เมื่อ : หนวยแรงวิกฤต

ในที่นี้ = slenderness parameter =


คําตอบ 1 : 3 เมตร
คําตอบ 2 : 4 เมตร
คําตอบ 3 : 5 เมตร
คําตอบ 4 : 6 เมตร

ขอที่ : 68

เสาเหล็กมีรูปตัดแบบคอมแพค ทําดวยเหล็กชนิด A36 (Fy=2500 ksc, E=2x106 ksc) มีปลายขางหนึ่งเปนแบบยึดแนนและปลายอีกขางหนึ่งเปนแบบยึดหมุน


ไมเซ ยาว 6.0 เมตร จงหาคา rmin ของเสาเพื่อใหหนวยแรงวิกฤต Fcr ไมเกินกวา 900 กก./ ซม.2
20 of 130
กําหนดสูตรที่ใชคํานวณ
เมื่อ : หนวยแรงวิกฤต

เมื่อ : หนวยแรงวิกฤต

ในที่นี้ = slenderness parameter =


คําตอบ 1 : rmin = 2.83 ซม.
คําตอบ 2 : rmin = 3.24 ซม.
คําตอบ 3 : rmin = 4.05 ซม.
คําตอบ 4 : rmin = 4.86 ซม.

ขอที่ : 69
เสาเหล็ก W350x136 (Ag = 174 ซม.2 rmin = 8.84 ซม.) รูปตัดแบบคอมแพค ทําดวยเหล็กชนิด A36 (Fy=2500 ksc, E=2x106 ksc) มีปลายทั้งสองขาง
เปนแบบยึดหมุน ยาว 6.0 เมตร จงหากําลังรับแรงอัดปลอดภัย

คําตอบ 1 : 200 ตัน


คําตอบ 2 : 210 ตัน
คําตอบ 3 : 220 ตัน
คําตอบ 4 : 230 ตัน

ขอที่ : 70

เสาเหล็ก W350x136 (Ag = 174 ซม.2 rx = 15.2 ซม. ry = 8.84 ซม.) รูปตัดแบบคอมแพค ทําดวยเหล็กชนิด A36 (Fy=2500 ksc, E=2x106 ksc) มีปลาย 21 of 130
ทั้งสองขางเปนแบบยึดหมุนและมีค้ํายันที่กึ่งกลางเสา ดังนั้น ถาสมมติใหความยาวประสิทธิผลแตละแกนมีคาดังรูป จงประมาณกําลังรับแรงอัดปลอดภัย

คําตอบ 1 : 200 ตัน


คําตอบ 2 : 185 ตัน
คําตอบ 3 : 175 ตัน
คําตอบ 4 : 165 ตัน

ขอที่ : 71

เสาซึ่งไดจากทอเหล็กขนาด 60x60 มม. (Ag = 7 ซม.2 r = 2.30 ซม.) รูปตัดแบบคอมแพค ทําดวยเหล็กชนิด A36 (Fy = 2500 ksc. E = 2x106 ksc.)มี
22 of 130
ปลายทั้งสองขางเปนแบบยึดแนนและไมเซ ยาว 5.0 เมตร กําลังรับแรงอัดปลอดภัยประมาณ เทากับ
คําตอบ 1 : 5.75 ตัน
คําตอบ 2 : 3.50 ตัน
คําตอบ 3 : 3.00 ตัน
คําตอบ 4 : 2.50 ตัน

ขอที่ : 72
ถาโครงเฟรม “ก” และโครงเฟรม “ข“ ทําดวยวัสดุชนิดเดียวกัน มีขนาดของคานและเสาเหมือนกัน ตางกันที่จุดรองรับ ดังแสดง ดังนั้น

คําตอบ 1 : เสาในโครงเฟรม “ก” รับแรงอัดไดมากกวาเสาในโครงเฟรม “ข“


คําตอบ 2 : เสาในโครงเฟรม “ก” รับแรงอัดไดเทากับเสาในโครงเฟรม “ข“
คําตอบ 3 : เสาในโครงเฟรม “ก” รับแรงอัดไดนอยกวาเสาในโครงเฟรม “ข“
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูกตอง เพราะตองคิดวาเสาในโครงเฟรมเซไดหรือไม

ขอที่ : 73 23 of 130
จงหาแรงอัดปลอดภัยของเสาในโครงเฟรมที่เซได (unbraced frame) ดังแสดง ถาใชเสาเหล็ก W300x94 (Ag = 120 ซม.2 rx = 13.1 ซม.) รูปตัดแบบ
คอมแพค ทําดวยเหล็กชนิด A36 (Fy=2500 ksc, E=2x106 ksc) สมมติวามีค้ํายันทางขางกันการโกงรอบแกน y และให Kx = 2.0

คําตอบ 1 : 140 ตัน


คําตอบ 2 : 125 ตัน
คําตอบ 3 : 115ตัน
คําตอบ 4 : 100 ตัน

ขอที่ : 74

จงประมาณกําลังตานทานแรงดึงปลอดภัยของไมขนาด 1.5นิ้วx6นิ้ว ที่ไมตองไส เมื่อทํารอยตอที่ปลายไมดังแสดง กําหนดใหหนวยแรงดึงที่ยอมใหของไมเทา


24 of 130
กับ 100 กก./ตร.ซม. และสมมติวาไมเกิดการวิบัติที่ตัวสลักเกลียวหรือที่แผนเหล็กประกับ
คําตอบ 1 : 4000 กก.
คําตอบ 2 : 4200 กก.
คําตอบ 3 : 4875 กก.
คําตอบ 4 : 5625 กก.

ขอที่ : 75
เสาไมตันขนาด 12.5x12.5 ซม. ยาว 2.50 เมตร ปลายทั้งสองขางเปนแบบยึดหมุน จงประมาณกําลังรับแรงอัดปลอดภัยของเสา กําหนดใหหนวยแรงอัดขนาน
เสี้ยนที่ยอมให Fc = 90 กก./ตร.ซม.

คําตอบ 1 : 6.8 ตัน


คําตอบ 2 : 8.5 ตัน
คําตอบ 3 : 10.5 ตัน
คําตอบ 4 : 14.0 ตัน
25 of 130
ขอที่ : 76
เสาไมตันขนาด 15x15 ซม. (ไมไส) เปนเสายื่น ตองรับแรงอัดปลอดภัยเทากับ 10 ตัน จงประมาณความยาวมากที่สุดของเสาที่ยอมใหใช กําหนดให หนวยแรง
อัดขนานเสี้ยนที่ยอมให Fc = 90 กก./ตร.ซม.

คําตอบ 1 : 4 เมตร
คําตอบ 2 : 3 เมตร
คําตอบ 3 : 2 เมตร
คําตอบ 4 : 1.50 เมตร

ขอที่ : 77
ถาคํานวณโดยใชไมไมตองไส จะบากตงไมไดเหลือเทาใดจึงจะปลอดภัย กําหนดใหหนวยแรงเฉือนในแนวนอนที่ยอมใหเทากับ 12 กก./ตร.ซม.

คําตอบ 1 : 8 ซม.
คําตอบ 2 : 10 ซม.
คําตอบ 3 : 10.5 ซม.
คําตอบ 4 : 12 ซม.

ขอที่ : 78 26 of 130
สวนใดของไมที่จะนํามาใชเปนไมกอสราง
คําตอบ 1 : กระพี้ไม
คําตอบ 2 : แกนไม
คําตอบ 3 : ไสไม
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูกตอง

ขอที่ : 79
ไมที่นํามาใชเปนสวนโครงสราง (structural members) ที่สําคัญ เชน คานไม เสาไม ตองใชความถวงจําเพาะไมนอยกวา
คําตอบ 1 : 0.9
คําตอบ 2 : 0.8
คําตอบ 3 : 0.7
คําตอบ 4 : 0.6

ขอที่ : 80
ควรเลื่อยไมทอนซุงอยางไร จึงจะทําใหไมแปรรูปมีกําลังตานทานแรงดัดสูงมากขึ้น
คําตอบ 1 : เลื่อยแบบสัมผัสกับเสนวงป
คําตอบ 2 : เลื่อยแบบขนานกับเสนรัศมี
คําตอบ 3 : เลื่อยแบบสัมผัสกับเสนวงป แตใหมีแนวเยื้องบาง
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูกตอง

ขอที่ : 81
พบวา ไมแปรรูปจะหดตัว
คําตอบ 1 : ทางดานที่สัมผัสกับเสนวงปนอยกวาดานที่ขนานกับเสื้ยนไม
คําตอบ 2 : ทางดานที่ตั้งฉากกับเสนวงปมากกวาดานที่สัมผัสกับเสนวงป
คําตอบ 3 : ทางดานที่ตั้งฉากกับเสนวงปนอยกวาดานที่ขนานกับเสื้ยนไม
คําตอบ 4 : ทางดานที่ตั้งฉากกับเสนวงปมีคานอยที่สุด

ขอที่ : 82
เมื่อนําไมแปรรูปมาอาบหรืออัดน้ํายา จะพบวา
คําตอบ 1 : ไมมีกลสมบัติตานแรงอัดไดมากขึ้น
คําตอบ 2 : ไมมีกลสมบัติตานแรงดัดไดมากขึ้น 27 of 130
คําตอบ 3 : ไมมีกลสมบัติตานแรงอัดไดมากขึ้น แตตานแรงดัดไดเทาเดิม
คําตอบ 4 : ไมมีกลสมบัติตานแรงกระทําตางๆไดใกลเคียงกับไมที่ไมอาบหรืออัดน้ํายา เพียงแตมีความคงทนดีขึ้น

ขอที่ : 83
ไมในสภาพธรรมชาติ สามารถตานแรงกระทํา ไดดังนี้
คําตอบ 1 : ตานแรงกระทําขนานเสี้ยนไมไดเพียงอยางเดียว
คําตอบ 2 : ตานแรงกระทําขนานเสี้ยนไม และแรงกระทําตั้งฉากกับผิวที่สัมผัสกับเสนวงป
คําตอบ 3 : ตานแรงกระทําตั้งฉากกับผิวที่สัมผัสกับเสนวงป และแรงกระทําตั้งฉากกับผิวที่ตั้งฉากกับเสนวงป
คําตอบ 4 : ตานไดทั้งแรงกระทําขนานเสี้ยนไม แรงกระทําตั้งฉากกับผิวที่สัมผัสกับเสนวงป และแรงกระทําตั้งฉากกับผิวที่ตั้งฉากกับเสนวงป

ขอที่ : 84
ในการคํานวณออกแบบไมแปรรูป จะพิจารณาวาไมแปรรูปนั้นมี
คําตอบ 1 : กําลังตานแรงตั้งฉากกับผิวที่สัมผัสกับเสนวงป มากกวาคาแรงตานทานตั้งฉากกับผิวที่ตั้งฉากกับเสนวงป
คําตอบ 2 : กําลังตานแรงตั้งฉากกับผิวที่สัมผัสกับเสนวงป นอยกวาคาแรงตานทานตั้งฉากกับผิวที่ตั้งฉากกับเสนวงป
คําตอบ 3 : กําลังตานแรงตั้งฉากกับผิวที่สัมผัสกับเสนวงป เทากับคาแรงตานตั้งฉากกับผิวที่ตั้งฉากกับเสนวงป
คําตอบ 4 : กําลังตานแรงตั้งฉากกับผิวที่สัมผัสกับเสนวงป กับแรงตานตั้งฉากกับผิวที่ตั้งฉากกับเสนวงป มีคาเทากับศูนย

ขอที่ : 85
พ.ร.บ. ควบคุมอาคารฯ แบงชนิดไมออกเปน
คําตอบ 1 : 5 ชนิด คือ ไมเนื้อออนมาก ไมเนื้อออน ไมเนื้อแข็งปานกลาง ไมเนื้อแข็ง และไมเนื้อแข็งมาก
คําตอบ 2 : 4 ชนิด คือ ไมเนื้อออนมาก ไมเนื้อออน ไมเนื้อแข็ง และไมเนื้อแข็งมาก
คําตอบ 3 : 3 ชนิด คือ ไมเนื้อออน ไมเนื้อแข็งปานกลาง และไมเนื้อแข็ง
คําตอบ 4 : 2 ชนิด คือ ไมเนื้อออน และไมเนื้อแข็ง

ขอที่ : 86
ไมมีความตานทานตอแรงชนิดใดนอยที่สุด
คําตอบ 1 : แรงดัด
คําตอบ 2 : แรงเฉือน
คําตอบ 3 : แรงอัด
คําตอบ 4 : แรงดึง

28 of 130
ขอที่ : 87
กรมปาไมกําหนดชั้นคุณภาพของไมแปรรูปไว 4 ชั้นคุณภาพ โดยถือเอา
คําตอบ 1 : ไมกอสรางชั้นที่ 1 เปนเกณฑ และใหเปรียบเทียบไมกอสรางชั้นอื่นจากไมกอสรางชั้นที่ 1
คําตอบ 2 : ไมกอสรางชั้นที่ 2 เปนเกณฑ และใหเปรียบเทียบไมกอสรางชั้นอื่นจากไมกอสรางชั้นที่ 2
คําตอบ 3 : ไมกอสรางชั้นที่ 3 เปนเกณฑ และใหเปรียบเทียบไมกอสรางชั้นอื่นจากไมกอสรางชั้นที่ 3
คําตอบ 4 : ไมกอสรางชั้นดอยคุณภาพ เปนเกณฑ และใหเปรียบเทียบไมกอสรางชั้นอื่นจากไมกอสรางชั้นดอยคุณภาพ

ขอที่ : 88
กําลังตานทานแรงดึงปลอดภัยของไมแปรรูปที่ทํารอยตอดวยสลักเกลียว พิจารณาจาก
คําตอบ 1 : เนื้อที่หนาตัดทั้งหมดของไม
คําตอบ 2 : เนื้อที่หนาตัดสุทธิของไม จากการทํารอยตอ
คําตอบ 3 : เนื้อที่หนาตัดสุทธิและเนื้อที่รับแรงกดของไม จากการทํารอยตอ
คําตอบ 4 : เนื้อที่หนาตัดทั้งหมดของไม และจากความยาวของชิ้นสวน

ขอที่ : 89
ในการตอชิ้นสวนรับแรงดึงแบบตอชน โดยนําแตละชิ้นสวนมาชนกันแลวใชไมชนิดเดียวกันซึ่งมีความกวางขนาดเดียวกันกับชิ้นสวนที่รับแรงดึงมาประกบหรือ
ประกับแตละขาง ความหนาอยางนอยของไมประกับขาง คือ
คําตอบ 1 : เทากับความหนาของชิ้นสวนที่รับแรงดึง
คําตอบ 2 : เทากับสามในสี่ของความหนาของชิ้นสวนที่รับแรงดึง
คําตอบ 3 : เทากับครึ่งหนึ่งของความหนาของชิ้นสวนที่รับแรงดึง
คําตอบ 4 : เทากับหนึ่งในสามของความหนาของชิ้นสวนที่รับแรงดึง

ขอที่ : 90
ในการออกแบบรอยตอของชิ้นสวนรับแรงดึงที่เปนไมโดยใชสลักเกลียว ใหพิจารณาจาก
คําตอบ 1 : กําลังตานทานแรงเฉือนแตละระนาบของตัวสลักเกลียว ตลอดจนกําลังตานทานแรงกดบนตัวสลักเกลียว
คําตอบ 2 : กําลังตานทานแรงกดระหวางชิ้นสวนกับตัวสลักเกลียว
คําตอบ 3 : กําลังตานทานแรงเฉือนแตละระนาบของตัวสลักเกลียวอยางเดียว แตตองคํานึงถึงพื้นที่รับแรงกดบนตัวสลักเกลียวทุกตัว
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 91
ปกติ คาความตานทานแรงเฉือนทางขาง P และ Q ของสลักเกลียวที่ใหไวในตารางออกแบบ เปนคา
29 of 130
คําตอบ 1 : เมื่อสลักเกลียวรับแรงเฉือนระนาบเดียว
คําตอบ 2 : เมื่อสลักเกลียวรับแรงเฉือนสองระนาบ
คําตอบ 3 : เมื่อสลักเกลียวรับแรงเฉือนสองระนาบ โดยขึ้นกับขนาดเสนผาศูนยกลางของตัวสลักเกลียว
คําตอบ 4 : เมื่อสลักเกลียวรับแรงเฉือนสองระนาบ โดยขึ้นกับขนาดเสนผาศูนยกลางของตัวสลักเกลียว และระยะฝงของสลักเกลียวในชิ้นสวนหลัก

ขอที่ : 92
จงประมาณกําลังตานทานแรงดึงของไมขนาด 2" x 4" (ไมไส) ถาตองทํารอยตอที่ปลายไมโดยใชสลักเกลียวขนาด ¾" เปนจํานวน 2 แถว กําหนดให คา Ft
= 120 กก./ซม.2
คําตอบ 1 : 6000 กก.
คําตอบ 2 : 4750 กก.
คําตอบ 3 : 3500 กก.
คําตอบ 4 : 2250 กก.

ขอที่ : 93
เสาไมตันรูปตัด bxd (b > d) ยาวเทากับ L มีปลายทั้งสองขางเปนแบบยึดหมุน รับแรงอัดตามแนวแกน หากคาโมดูลัสยืดหยุนของไมเทากับ E ดังนั้น จง
ประมาณคาหนวยแรงอัดวิกฤตของเสาตามสมการของออยเลอร

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 94
เสาไมตันรูปตัด bxd (b > d) ยาวเทากับ L มีปลายทั้งสองขางเปนแบบยึดหมุน รับแรงอัดตามแนวแกน หากใชอัตราสวนความปลอดภัยเทากับ 3 และคาโมดูลัส
ยืดหยุนของไมเทากับ E ดังนั้น จงประมาณคาหนวยแรงอัดปลอดภัยของเสาตามสมการของออยเลอร

คําตอบ 1 : 0.3E/(L/d)2
30 of 130
คําตอบ 2 : 0.3E/(L/b)2
คําตอบ 3 : 0.75E/(L/d)2
คําตอบ 4 : 0.75E/(L/b)2

ขอที่ : 95
เสาไมตันรูปตัด bxd (b > d) เปนเสายื่น ยาวเทากับ L รับแรงอัดตามแนวแกน หากใชอัตราสวนความปลอดภัยเทากับ 3 และคาโมดูลัสยืดหยุนของไมเทากับ E
ดังนั้น จงประมาณคาหนวยแรงอัดปลอดภัยของเสาตามสมการของออยเลอร
คําตอบ 1 : 0.07E/ (L/d)2
คําตอบ 2 : 0.07E/ (L/b)2
คําตอบ 3 : 0.75E/ (L/d)2
คําตอบ 4 : 0.75E/ (L/b)2

ขอที่ : 96
เสาไมตันรูปตัด bxd (b>d) ปลายทั้งสองขางเปนแบบยึดหมุน หากมีค้ํายันขางเสาตรงกึ่งกลางชวงความยาว ในทิศทางที่ตั้งฉากกับระยะ d จะพบวา
คําตอบ 1 : เสานี้มีกําลังรับแรงอัดปลอดภัยเทาเดิม
คําตอบ 2 : เสานี้มีกําลังรับแรงอัดปลอดภัยมากขึ้นกวาเดิม
คําตอบ 3 : เสานี้มีกําลังรับแรงอัดปลอดภัยนอยลงกวาเดิม
คําตอบ 4 : ยังไมสามารถตอบได เพราะตองทราบชนิดของไม หรือคา E ของไม กอน

ขอที่ : 97
เสาไมตันรูปตัด bxd (โดยที่ b=2d) ยาวเทากับ L มีปลายทั้งสองขางเปนแบบยึดหมุน รับแรงอัดตามแนวแกน หากทําค้ํายันขางเสาตรงกึ่งกลางชวงความยาว
ในทิศทางที่ตั้งฉากกับระยะ d และใชอัตราสวนความปลอดภัยเทากับ 3 จงประมาณคาหนวยแรงอัดปลอดภัยของเสาตามสมการของออยเลอร กําหนดใหโมดูลัส
ยืดหยุนของไมเทากับ E
คําตอบ 1 : 0.3E/ (L/d)2
คําตอบ 2 : 0.75E/ (L/d)2
คําตอบ 3 : 1.20E/ (L/d)2
คําตอบ 4 : 1.50E/ (L/d)2

ขอที่ : 98

เสาไมตันขนาด 12.5x12.5 ซม. เปนเสายื่น ตองรับแรงอัดปลอดภัยเทากับ 9 ตัน จงหาความยาวมากที่สุดของเสาที่ยอมใหใช กําหนดให หนวยแรงอัดขนาน


เสี้ยนที่ยอมให Fc = 90 kg/cm2 31 of 130
คําตอบ 1 : 4 เมตร
คําตอบ 2 : 3 เมตร
คําตอบ 3 : 2 เมตร
คําตอบ 4 : 1.50 เมตร

ขอที่ : 99
เสาไมตันขนาด 12.5x12.5 ซม. มีปลายทั้งสองขางของเสาเปนแบบยึดหมุน และรับแรงอัดตามแนวแกน จงหาความยาวของเสาที่พอดีใหคาหนวยแรงอัดวิกฤต
เทากับ 125 กก./ซม.2 กําหนดใหโมดูลัสยึดหยุน E = 120,000 กก./ซม.2
คําตอบ 1 : 2.50 เมตร
คําตอบ 2 : 3.00 เมตร
คําตอบ 3 : 3.50 เมตร
คําตอบ 4 : 4.00 เมตร

ขอที่ : 100
ใหออกแบบเสาประกับพุก (spaced column) โดยใชไมหนา 2" (ไมไส) ปลายทั้งสองดานเปนแบบยึดหมุนยาว 3.00 เมตร เพื่อรับแรงอัดตามแนวแกนเทากับ
3.75 ตัน กําหนดให หนวยแรงอัดขนานเสี้ยนที่ยอมให Fc = 90 กก./ซม.2, E = 120000 กก./ซม.2 และใหการยึดปลายเสาเปนแบบ "ก"

สูตรคํานวณ เมื่อ L/d > : คา


คําตอบ 1 : ใชไมขนาด 2” x 4” (ไมไส) สองแผน
คําตอบ 2 : ใชไมขนาด 2” x 6” (ไมไส) สองแผน
คําตอบ 3 : ใชไมขนาด 2” x 8” (ไมไส) สองแผน
คําตอบ 4 : ใชไมขนาด 2” x 10” (ไมไส) สองแผน

ขอที่ : 101
ใหออกแบบเสาประกับพุก (spaced column) โดยใชไมหนา 1½" (ไมไส) ปลายทั้งสองดานเปนแบบยึดหมุนยาว 2.00 เมตร เพื่อรับแรงอัด
ตามแนวแกนเทากับ 2.5 ตัน กําหนดให หนวยแรงอัดขนานเสี้ยนที่ยอมให Fc = 90 กก./ซม.2, E = 120000 กก./ซม.2 และใหการยึดปลาย
32 of 130
เสาเปนแบบ "ก"
สูตรคํานวณ เมื่อ L/d > : คา
คําตอบ 1 : ใชไมขนาด 1½" x 3" (ไมไส) สองแผน
คําตอบ 2 : ใชไมขนาด 1½" x 4" (ไมไส) สองแผน
คําตอบ 3 : ใชไมขนาด 1½" x 5" (ไมไส) สองแผน
คําตอบ 4 : ใชไมขนาด 1½" x 6" (ไมไส) สองแผน

ขอที่ : 102
หากเปรียบเทียบคา Elastic modulus : E ของเหล็กที่มีกําลังจุดครากสูงกับเหล็กที่มีกําลังจุดครากทั่วไป เชน เหล็ก A36 เปนตน จะพบวา
คําตอบ 1 : เหล็กทั้งสองมีคา E ใกลเคียงกัน
คําตอบ 2 : เหล็กที่มีกําลังจุดครากสูงยอมมีคา E สูงกวา
คําตอบ 3 : เหล็กที่มีกําลังจุดครากสูงยอมมีคา E นอยกวา
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก เพราะตองคิดสวนผสมและวิธี heat treated ของเหล็กเสียกอน

ขอที่ : 103
ขอใดตอไปนี้ มิใชการวิบัติของชิ้นสวนโครงสรางเหล็กที่รับแรงดึง
คําตอบ 1 : เกิดการครากตรงบริเวณรอยตอ
คําตอบ 2 : เกิดการราวและฉีกขาดตรงบริเวณรอยตอ
คําตอบ 3 : เกิดการเฉือนขาดที่ตัวยึด
คําตอบ 4 : เกิดการการดึงและเฉือนขาดรวมกันตรงบริเวณรอยตอ

ขอที่ : 104
เมื่อทํารอยตอดวยตัวยึด เชน ใชสลักเกลียว ถาสมมติไมเกิดการวิบัติที่ตัวยึดหรือแบบ Block Shear กําลังตานแรงดึงของชิ้นสวนเหล็กโครงสรางโดยทั่วไป จะ
ขึ้นกับ
คําตอบ 1 : เนื้อที่หนาตัดทั้งหมด
คําตอบ 2 : เนื้อที่หนาตัดสุทธิ
คําตอบ 3 : เนื้อที่หนาตัดสุทธิประสิทธิผล
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 105

เหล็กฉากขาไมเทากัน ขาขางหนึ่งกวาง w1 ขาอีกขางหนึ่งกวาง w2 มีความหนาเทากับ t หากทํารอยตอดวยตัวยึดเพื่อรับแรงดึง ความกวางทั้งหมดที่นํามาใช 33 of 130


เพื่อคํานวณหาความกวางสุทธิ คือ
คําตอบ 1 : w1/2 + w2 – t
คําตอบ 2 : w1 + w 2 – t
คําตอบ 3 : w1/2 + w2/2 – t
คําตอบ 4 : w1 + w2 – t/2

ขอที่ : 106
ทอนเหล็กกลมชนิด A36 ใชรับแรงดึงใชงาน 1 ตัน ถาตองเผื่อทําเกลียวที่ปลายอีกประมาณ 1 มม. ดังนั้น ตองใชทอนเหล็กขนาดเสนผาศูนยกลางประมาณ
คําตอบ 1 : 15 มม.
คําตอบ 2 : 20 มม.
คําตอบ 3 : 22 มม.
คําตอบ 4 : 25 มม.

ขอที่ : 107
เมื่อนําแผนเหล็กชนิด A 36 ขนาด 10x240 มม. 2 แผน มาวางทาบกัน และตอยึดเพื่อถายแรงดึงใชงานดวยสลักเกลียว ซึ่งจะใชสลักเกลียว 3 แถว ระยะหาง
ของแตละแถว (ซึ่งตั้งฉากกับแนวแรง) มีคาเทากับ 8 ซม. ระยะเรียง (ซึ่งขนานกับแนวแรง) ของสลักเกลียวแถวที่ 2 จะหางจากสลักเกลียวแถวที่ 1 หรือแถวที่ 3
เปนระยะเทากับ 6 ซม. ถาให รูเจาะของสลักเกลียวเทากับ 23 มม. และสมมติวาไมเกิดการวิบัติที่ตัวสลักเกลียว หรือวิบัติแบบ block-shear จงประมาณคาแรง
ดึงใชงาน (service load) ของรอยตอนี้

กําหนดหนวยแรงดึงที่ยอมให Ft = 0.6Fy และ Ft = 0.5Fu

คําตอบ 1 : T = 36 ตัน
คําตอบ 2 : T = 39.2 ตัน 34 of 130
คําตอบ 3 : T = 39.3 ตัน
คําตอบ 4 : T = 41.5 ตัน

ขอที่ : 108
ชิ้นสวนรับแรงดึงในโครงถักเปนเหล็กฉากเดี่ยว ยาว 1.75 เมตร จงประมาณคาอยางนอยของรัศมีไจเรชั่นที่ตองใชเพื่อใหคาอัตราสวนความชะลูดไมเกินกวา
มาตรฐานกําหนด
คําตอบ 1 : 0.058 ซม.
คําตอบ 2 : 0.087 ซม.
คําตอบ 3 : 0.58 ซม.
คําตอบ 4 : 0.87 ซม.

ขอที่ : 109
ชิ้นสวนรับแรงดึงรูปตัด W 250 x 44.1 (A = 56.24 ซม.2 d = 244 มม. bf = 175 มม. tf = 11 มม.) ทํารอยตอที่ปลายชิ้นสวนตรงแผนปก (flange) แตละขาง
โดยใชสลักเกลียว 2 แถวๆ ละ 3 ตัว จงประมาณคาแรงดึงใชงานของชิ้นสวนนี้ สมมติหนาตัดวิกฤตตั้งฉากกับแรงดึงที่กระทําโดยผานรูเจาะ 2 รู ใหขนาดเสนผา
ศูนยกลางของรูเจาะ = 25 มม. และใชเหล็กชนิด A36
คําตอบ 1 : 77.90 ตัน
คําตอบ 2 : 82.50 ตัน
คําตอบ 3 : 84.40 ตัน
คําตอบ 4 : 91.60 ตัน

ขอที่ : 110
จงหาขนาดของชิ้นสวนรูปตัด W ที่มีกําลังรับแรงดึงใชงานใกลเคียงกับคา 90.5 ตัน ถาตองทํารอยตอที่ปลายชิ้นสวนตรงแผนปก (flange) แตละขางโดยใชสลัก
เกลียว 2 แถวๆ ละ 3 ตัว สมมติหนาตัดวิกฤตตั้งฉากกับแรงดึงที่กระทําโดยผานรูเจาะ 2 รู ใหขนาดเสนผาศูนยกลางของรูเจาะ = 25 มม. และใชเหล็กชนิด A36

คําตอบ 1 : W400 x 66 (A = 84.12 ซม.2 d = 400 มม. bf = 200 มม. tf = 13 มม.)


คําตอบ 2 : W350 x 49.6 (A = 63.14 ซม.2 d = 350 มม. bf = 175 มม. tf = 11 มม.)
คําตอบ 3 : W300 x 56.8 (A = 72.38 ซม.2 d = 294 มม. bf = 200 มม. tf = 12 มม.)
คําตอบ 4 : W200 x 49.9 (A = 63.53 ซม.2 d = 200 มม. bf = 200 มม. tf = 12 มม.)

ขอที่ : 111
ชิ้นสวนรับแรงดึงรูปตัด W 250 x 44.1 (A = 56.24 ซม.2 d = 244 มม. bf = 175 มม. tf = 11 มม.) ทํารอยตอที่ปลายชิ้นสวนตรงแผนปก (flange) แตละขาง
35 of 130
โดยใชสลักเกลียว 2 แถวๆ ละ 3 ตัว จงประมาณคาแรงดึงประลัยของชิ้นสวนนี้ สมมติหนาตัดวิกฤตตั้งฉากกับแรงดึงที่กระทําโดยผานรูเจาะ 2 รู ใหขนาดเสนผา
ศูนยกลางของรูเจาะ = 25 มม. และใชเหล็กชนิด A36
คําตอบ 1 : 110 ตัน
คําตอบ 2 : 120 ตัน
คําตอบ 3 : 130 ตัน
คําตอบ 4 : 140 ตัน

ขอที่ : 112
จงหาขนาดของชิ้นสวนรูปตัด W ที่มีกําลังรับแรงดึงประลัยใกลเคียงกับคา 130 ตัน ถาตองทํารอยตอที่ปลายชิ้นสวนตรงแผนปก (flange) แตละขางโดยใชสลัก
เกลียว 2 แถวๆ ละ 3 ตัว สมมติหนาตัดวิกฤตตั้งฉากกับแรงดึงที่กระทําโดยผานรูเจาะ 2 รู ใหขนาดเสนผาศูนยกลางของรูเจาะ = 25 มม. และใชเหล็กชนิด A36
คําตอบ 1 : W400 x 66 (A = 84.12 ซม.2 d = 400 มม. bf = 200 มม. tf = 13 มม.)
คําตอบ 2 : W350 x 49.6 (A = 63.14 ซม.2 d = 350 มม. bf = 175 มม. tf = 11 มม.)
คําตอบ 3 : W300 x 56.8 (A = 72.38 ซม.2 d = 294 มม. bf = 200 มม. tf = 12 มม.)
คําตอบ 4 : W200 x 49.9 (A = 63.53 ซม.2 d = 200 มม. bf = 200 มม. tf = 12 มม.)

ขอที่ : 113
การโกงเดาะของเสาเหล็กรูปพรรณที่มีหนาตัดแบบคอมแพค และสมมาตรสองแกน ซึ่งมีจําหนายในทองตลาด สวนใหญเกิดจาก
คําตอบ 1 : ผลของโมเมนตดัด
คําตอบ 2 : ผลของโมเมนตบิด
คําตอบ 3 : ผลของโมเมนตดัดและโมเมนตบิด
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 114
ชิ้นสวนรับแรงอัดตามแนวแกนที่มีแกนสมมาตรเพียงแกนเดียว หรือไมมีแกนสมมาตรเลย การโกงเดาะสวนใหญของชิ้นสวนนี้จะเกิดจาก
คําตอบ 1 : ผลของโมเมนตดัด
คําตอบ 2 : ผลของโมเมนตบิด
คําตอบ 3 : ผลของโมเมนตดัดและโมเมนตบิด
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 115
เสาที่มีคา E, I และ L เหมือนกันทุกตน เสาแบบใดมีกําลังรับแรงอัดตามแนวแกนนอยที่สุด
36 of 130
คําตอบ 1 : เสาที่มีปลายทั้งสองขางเปนแบบยึดหมุน และไมเซ
คําตอบ 2 : เสาที่มีปลายขางหนึ่งเปนแบบยึดหมุน และปลายอีกขางหนึ่งเปนแบบยึดแนน และเซได
คําตอบ 3 : เสาที่มีปลายทั้งสองขางเปนแบบยึดแนน แตปลายหนึ่งเซได
คําตอบ 4 : เสาที่มีปลายทั้งสองขางเปนแบบยึดแนน แตไมเซ

ขอที่ : 116
เสาที่มีปลายทั้งสองขางเปนแบบยึดหมุน และมีคาโมเมนตอินเนอรเชีย Ix = 2Iy ถาเสาตนนี้มีค้ํายันที่กึ่งกลางเสาเพื่อกันการโกงรอบแกน y ในทางทฤษฎี จะพบ
วา
คําตอบ 1 : เสาโกงเดาะรอบแกน x และรอบแกน y พรอมกัน
คําตอบ 2 : เสาโกงเดาะรอบแกน y กอน
คําตอบ 3 : เสาโกงเดาะรอบแกน x กอน
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 117
เสาในโครงเฟรมที่เซไมได มีรูปตัดตัว W ชวงยาว 3.50 เมตร ปลายลางยึดหมุน ปลายบนยึดแนน และจะโกงเดาะรอบแกนหลักอยางเดียว จงประมาณคาอยาง
นอยของรัศมีไจเรชั่นที่ตองใชเพื่อใหคาอัตราสวนความชะลูดไมเกินกวามาตรฐานกําหนด
คําตอบ 1 : 1.20 ซม.
คําตอบ 2 : 1.35 ซม.
คําตอบ 3 : 1.75 ซม.
คําตอบ 4 : 2.00 ซม.

ขอที่ : 118
เสาในโครงเฟรมที่เซได มีรูปตัดตัว W ชวงยาว 3.50 เมตร ปลายลางยึดแนน ปลายบนยึดแนน และจะโกงเดาะรอบแกนหลักอยางเดียว จงประมาณคาอยางนอย
ของรัศมีไจเรชั่นที่ตองใชเพื่อใหคาอัตราสวนความชะลูดไมเกินกวามาตรฐานกําหนด
คําตอบ 1 : 0.83 ซม.
คําตอบ 2 : 2.00 ซม.
คําตอบ 3 : 2.50 ซม.
คําตอบ 4 : 3.35 ซม.

ขอที่ : 119
เสาในโครงเฟรมที่เซไมได มีรูปตัดตัว W ชวงยาว 6.00 เมตร ปลายลางและปลายบนเปนแบบยึดหมุน แตที่กึ่งกลางเสามีค้ํายันกันการโกงเดาะรอบแกนรอง จง
ประมาณคาอยางนอยของรัศมีไจเรชั่นที่ตองใชเพื่อใหคาอัตราสวนความชะลูดไมเกินกวามาตรฐานกําหนด 37 of 130
คําตอบ 1 : rx = 1.50 ซม. ry = 1.50 ซม.
คําตอบ 2 : rx = 3.00 ซม. ry = 3.00 ซม.
คําตอบ 3 : rx = 1.50 ซม. ry = 3.00 ซม.
คําตอบ 4 : rx = 3.00 ซม. ry = 1.50 ซม.

ขอที่ : 120
มีเสา 2 ตน คือ เสา “ก” และเสา “ข” ตางมีปลายทั้งสองขางเปนแบบยึดหมุน และมีคา Ix , Iy และยาวเทากัน ถาเสา “ก” เปนเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก และเสา
“ข” เปนเสาเหล็กรูปพรรณ จะพบวา
คําตอบ 1 : เสา “ก” รับแรงอัดวิกฤตไดเทากับเสา “ข”
คําตอบ 2 : เสา “ก” รับแรงอัดวิกฤตไดนอยกวาเสา “ข”
คําตอบ 3 : เสา “ก” รับแรงอัดวิกฤตไดมากกวาเสา “ข”
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูกตอง เนื่องจากตองทราบเปอรเซ็นตของเหล็กในเสา คสล. กอน

ขอที่ : 121
ถาโครงเฟรม portal “ก” และโครงเฟรม portal “ข“ ทําดวยวัสดุชนิดเดียวกัน มีขนาดของคานและเสาเหมือนกันหมด แตตางกันตรงจุดรองรับกลาวคือ โครง
เฟรม portal “ก” มีจุดรองรับทั้งสองขางเปนแบบ fixed สวนโครงเฟรม portal “ข” มีจุดรองรับทั้งสองขางเปนแบบ hinged ดังนั้น จะพบวา
คําตอบ 1 : เสาในโครงเฟรม portal “ก” รับแรงอัดไดมากกวาเสาในโครงเฟรม portal “ข“
คําตอบ 2 : เสาในโครงเฟรม portal “ก” รับแรงอัดไดนอยกวาเสาในโครงเฟรม portal “ข“
คําตอบ 3 : เสาในโครงเฟรม portal “ก” รับแรงอัดไดเทากับเสาในโครงเฟรม portal “ข“
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูกตอง

ขอที่ : 122
จงหาคาอัตราสวนความชะลูดของเสาเหล็กรูปพรรณ เมื่อหนวยแรงอัดวิกฤต (critical stress) ตามสมการของออยเลอรมีคาเทากับหนึ่งในสามของกําลังจุดคราก
(Fy)

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

38 of 130
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 123
เสาซึ่งไดจากทอเหล็กกลมกลวงขนาด 4 นิ้ว (Ag = 7.56 ซม.2 r = 3.78 ซม.) รูปตัดแบบคอมแพค ทําดวยเหล็กชนิด A36 มีปลายทั้งสองขางเปนแบบยึด
หมุน ยาว 5.00 เมตร จงประมาณกําลังรับแรงอัดปลอดภัยตามแนวแกน กําหนดให E = 2x106 กก./ซม.2

กําหนดสูตรที่ใชคํานวณ เมื่อ KL/r ≤ Cc :

เมื่อ KL/r > Cc :

ในที่นี้
คําตอบ 1 : 2240 กก.
คําตอบ 2 : 3340 กก.
คําตอบ 3 : 4440 กก.
คําตอบ 4 : 5540 กก.

ขอที่ : 124

จงประมาณคาแรงอัดปลอดภัยของเสาในโครงเฟรมที่เซได (unbraced frame) ถาใชเสาเหล็ก W 125x23.8 (Ag = 30.31 ซม.2 rx = 5.29 ซม.) รูปตัดแบบ
คอมแพค ยาว 4.00 เมตร ทําดวยเหล็กชนิด A36 สมมติวามีค้ํายันทางขางกันการโกงรอบแกน y ให Kx = 1.8 และให E = 2x106 กก./ซม.2

39 of 130
กําหนดสูตรที่ใชคํานวณ
เมื่อ KL/r < Cc : Fa =

เมื่อ KL/r > Cc : Fa =

ในที่นี้ Cc =

คําตอบ 1 : 16.0 ตัน


คําตอบ 2 : 16.8 ตัน
คําตอบ 3 : 17.4 ตัน
คําตอบ 4 : 18.8 ตัน

ขอที่ : 125

เสาซึ่งไดจากทอเหล็กกลมกลวงขนาด 4 นิ้ว (Ag = 7.56 ซม.2 r = 3.78 ซม.) รูปตัดแบบคอมแพค ทําดวยเหล็กชนิด A36 มีปลายทั้งสองขางเปนแบบยึด
หมุน ยาว 5.00 เมตร จงประมาณกําลังรับแรงอัดประลัยตามแนวแกน กําหนดให E = 2x106 กก./ซม.2

กําหนดสูตรที่ใชคํานวณ

เมื่อ : หนวยแรงวิกฤต

40 of 130
เมื่อ : หนวยแรงวิกฤต
ในที่นี้ = slenderness parameter =
คําตอบ 1 : 5350 กก.
คําตอบ 2 : 6300 กก.
คําตอบ 3 : 7500 กก.
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 126
จงประมาณกําลังรับแรงอัดประลัยของเสาในโครงเฟรมที่เซได (unbraced frame) ถาใชเสาเหล็ก W125x23.8 (Ag = 30.31 ซม.2 rx = 5.29 ซม.) รูปตัดแบบ
คอมแพค ยาว 4.00 เมตร ทําดวยเหล็กชนิด A36 สมมติวามีค้ํายันทางขางกันการโกงรอบแกน y ให Kx = 1.8 และให E = 2x106 กก./ซม.2

กําหนดสูตรที่ใชคํานวณ

เมื่อ : หนวยแรงวิกฤต

เมื่อ : หนวยแรงวิกฤต

ในที่นี้ = slenderness parameter =


คําตอบ 1 : 22.0 ตัน
คําตอบ 2 : 24.0 ตัน
คําตอบ 3 : 26.0 ตัน
คําตอบ 4 : 28.0 ตัน

ขอที่ : 127

เสาซึ่งไดจากทอเหล็กขนาด 60x60 มม. (Ag = 7 ซม.2 r = 2.30 ซม.) รูปตัดแบบคอมแพค ทําดวยเหล็กชนิด A36 มีปลายทั้งสองขางเปนแบบยึดหมุน ยาว
2.50 เมตร จงประมาณกําลังรับแรงอัดปลอดภัย กําหนดให E = 2x106 กก./ซม.2
41 of 130
กําหนดสูตรที่ใชคํานวณ
เมื่อ :

เมื่อ :

ในที่นี้

คําตอบ 1 : 6.30 ตัน


คําตอบ 2 : 5.70 ตัน
คําตอบ 3 : 5.30 ตัน
คําตอบ 4 : 5.00 ตัน

ขอที่ : 128
เสาซึ่งไดจากทอเหล็กขนาด 90x90 มม. (Ag = 10.85 ซม.2 r = 3.51 ซม.) รูปตัดแบบคอมแพค ทําดวยเหล็กชนิด A36 มีปลายขางหนึ่งเปนแบบยึดหมุนและ
ปลายอีกขางหนึ่งเปนแบบยึดแนนยาว 2.00 เมตร จงประมาณกําลังรับแรงอัดปลอดภัย กําหนดให E = 2x106 ซม.2
กําหนดสูตรที่ใชคํานวณ

เมื่อ :

เมื่อ :

ในที่นี้
คําตอบ 1 : 16.50 ตัน
คําตอบ 2 : 14.20 ตัน
คําตอบ 3 : 13.25 ตัน
คําตอบ 4 : 11.60 ตัน
42 of 130
ขอที่ : 129
จงประมาณคาแรงอัดปลอดภัยของเสาในโครงเฟรมที่เซได (unbraced frame) ถาใชเสาเหล็ก W300x94 (Ag = 120 ซม.2 rx = 13.1 ซม.) รูปตัดแบบ
คอมแพค ยาว 5.00 เมตร ทําดวยเหล็กชนิด A36 สมมติวามีค้ํายันทางขางกันการโกงรอบแกน y ให Kx = 1.8 และให E = 2x106 กก./ซม.2
กําหนดสูตรที่ใชคํานวณ

เมื่อ :

เมื่อ :

ในที่นี้
คําตอบ 1 : 180 ตัน
คําตอบ 2 : 160 ตัน
คําตอบ 3 : 140 ตัน
คําตอบ 4 : 120 ตัน

ขอที่ : 130
จงประมาณคาแรงอัดปลอดภัยของเสาในโครงเฟรมที่เซได (unbraced frame) ถาใชเสาเหล็ก W600x106 (Ag = 134.4 ซม.2 rx = 24.0 ซม.) รูปตัดแบบ
คอมแพค ยาว 4.00 เมตร ทําดวยเหล็กชนิด A36 สมมติวามีค้ํายันทางขางกันการโกงรอบแกน y ให Kx = 1.8 และให E = 2x106 กก./ซม.2
กําหนดสูตรที่ใชคํานวณ

เมื่อ KL/r <Cc : Fa =

เมื่อ KL/r >Cc : Fa =

ในที่นี้ Cc =
43 of 130
คําตอบ 1 : 185 ตัน
คําตอบ 2 : 170 ตัน
คําตอบ 3 : 150 ตัน
คําตอบ 4 : 140 ตัน

ขอที่ : 131
จงประมาณคาแรงอัดปลอดภัยของเสาในโครงเฟรมที่เซไมได (braced frame) ถาใชเสาเหล็ก W600x106 (Ag = 134.4 ซม.2 rmin = 4.12
ซม.) รูปตัดแบบคอมแพค ยาว 4.50 เมตร ทําดวยเหล็กชนิด A36 สมมติวามีค้ํายันทางขางกันการโกงรอบแกน y ให K = 0.80 และให E
= 2x106 กก./ซม.2
กําหนดสูตรที่ใชคํานวณ

เมื่อ :

เมื่อ :

ในที่นี้
คําตอบ 1 : 150 ตัน
คําตอบ 2 : 135 ตัน
คําตอบ 3 : 120 ตัน
คําตอบ 4 : 100 ตัน

ขอที่ : 132

เสาเหล็ก W344x115 (Ag = 146 ซม.2 rmin = 8.78 ซม.) รูปตัดแบบคอมแพค ทําดวยเหล็กชนิด A36 มีปลายทั้งสองขางเปนแบบยึดแนน
ยาว 6.0 เมตร จงประมาณกําลังรับแรงอัดที่ใชออกแบบ (design strength) กําหนดให E = 2x106 กก./ซม.2

กําหนดสูตรที่ใชคํานวณ

44 of 130
เมื่อ : หนวยแรงวิกฤต
เมื่อ : หนวยแรงวิกฤต

ในที่นี้ = slenderness parameter =


คําตอบ 1 : 340 ตัน
คําตอบ 2 : 290 ตัน
คําตอบ 3 : 240 ตัน
คําตอบ 4 : 200 ตัน

ขอที่ : 133
เสาเหล็กมีรูปตัดแบบคอมแพค ทําดวยเหล็กชนิด A36 มีปลายทั้งสองขางเปนแบบยึดหมุน จงประมาณคาความยาวของเสาเมื่อหนวยแรงอัดใชงานที่ยอมให Fa
= 400 กก./ซม.2 สมมติใหเสามีคา rmin = 2.06 ซม. K = 0.8 และ E = 2x106 กก./ซม.2

กําหนดสูตรที่ใชคํานวณ

เมื่อ :

เมื่อ :

ในที่นี้
คําตอบ 1 : 3.00 เมตร
คําตอบ 2 : 4.00 เมตร
คําตอบ 3 : 5.00 เมตร
คําตอบ 4 : 6.00 เมตร

ขอที่ : 134

เสาเหล็กมีรูปตัดแบบคอมแพค ทําดวยเหล็กชนิด A36 มีปลายทั้งสองขางเปนแบบยึดหมุน จงประมาณคาความยาวของเสาเมื่อหนวยแรงอัดประลัยที่ยอม


ให = 700 กก./ซม.2 สมมติใหเสามีคา rmin = 2.06 ซม. K = 0.8 และ E = 2x106 กก./ซม.2 45 of 130
กําหนดสูตรที่ใชคํานวณ

เมื่อ : หนวยแรงวิกฤต

เมื่อ : หนวยแรงวิกฤต

ในที่นี้ = slenderness parameter =


คําตอบ 1 : 3.50 เมตร
คําตอบ 2 : 4.50 เมตร
คําตอบ 3 : 5.50 เมตร
คําตอบ 4 : 6.00 เมตร

ขอที่ : 135
เสาเหล็กมีรูปตัดแบบคอมแพค ทําดวยเหล็กชนิด A36 มีปลายทั้งสองขางเปนแบบยึดหมุน จงประมาณคาความยาวของเสาเมื่อหนวยแรงอัด
วิกฤต Fcr = Fy/2 สมมติใหเสามี rmin = 2.06 ซม. และให E = 2x106 กก./ซม.2
กําหนดสูตรที่ใชคํานวณ

เมื่อ : หนวยแรงวิกฤต

เมื่อ : หนวยแรงวิกฤต

ในที่นี้ = slenderness parameter =


คําตอบ 1 : 3.20 เมตร
คําตอบ 2 : 2.70 เมตร
คําตอบ 3 : 2.30 เมตร
คําตอบ 4 : 2.00 เมตร

ขอที่ : 136

จงออกแบบเสาเหล็ก A36 รูปตัดกลมกลวง มีปลายทั้งสองขางเปนแบบยึดหมุน ยาว 5.00 เมตร รับแรงอัดใชงานเทากับ 4 ตัน สมมติรูปตัดเปนแบบคอมแพค
46 of 130
และให E = 2x106 กก./ซม.2
กําหนดสูตรที่ใชคํานวณ

เมื่อ :

เมื่อ :

ในที่นี้

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

ตองใชทอเหล็กกลมกลวงขนาดโตกวา 4 นิ้ว
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 137

จงออกแบบเสาเหล็ก A36 รูปตัด W มีปลายขางหนึ่งยึดแนนและปลายอีกขางหนึ่งเปนแบบยึดหมุน ยาว 4.00 เมตร รับแรงอัดใชงานเทากับ 13


ตัน สมมติรูปตัดเปนแบบคอมแพค และให E = 2x106 กก./ซม.2

กําหนดสูตรที่ใชคํานวณ

เมื่อ :

47 of 130
เมื่อ :
ในที่นี้
คําตอบ 1 : W100x9.30 ( Ag = 11.85 ซม.2 rmin = 1.12 ซม.)
คําตอบ 2 : W100x17.2 ( Ag= 21.90 ซม.2 rmin = 2.47 ซม.)
คําตอบ 3 : W150x14.0 ( Ag= 17.85 ซม.2 rmin= 1.66 ซม.)
คําตอบ 4 : W175x18.1 ( Ag = 23.04 ซม.2 rmin = 2.06 ซม.)

ขอที่ : 138
จงออกแบบหาขนาดของเสาปลายยื่น ยาว 4.00 เมตร ทําดวยเหล็กชนิด A36 รับแรงอัดประลัยตามแนวแกนอันเนื่องมาจาก PD = 15 ตัน และ
PL = 9.5 ตัน กําหนดให E = 2x106 กก./ซม.2
กําหนดสูตรที่ใชคํานวณ

เมื่อ : หนวยแรงวิกฤต

เมื่อ : หนวยแรงวิกฤต

ในที่นี้ = slenderness parameter =


คําตอบ 1 : W300x94 (Ag = 119.80 ซม.2 rmin = 7.51 ซม.)
คําตอบ 2 : W250x72.4 (Ag = 92.18 ซม.2 rmin = 6.29 ซม.)
คําตอบ 3 : W300x56.8 (Ag = 72.38 ซม.2 rmin = 4.71 ซม.)
คําตอบ 4 : W300x36.7 (Ag = 46.78 ซม.2 rmin = 3.29 ซม.)

ขอที่ : 139

เสาเหล็กรูปพรรณขนาด W350x136 (A = 173.9 ซม. d = bf = 350 มม.) รับแรงอัดตามแนวแกนที่เกิดจากน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 100


ตัน และจากน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 60 ตัน จงออกแบบแผนเหล็กรองใตเสาขนาดสี่เหลี่ยมจตุรัสที่ทําดวยเหล็กชนิด A36 เพื่อกระจายแรงอัด
ลงสูตอมอคอมกรีต สมมติแผนเหล็กรองคลุมเต็มเนื้อที่ของเสาตอมอคอมกรีตซึ่งมีหนวยแรงอัดประลัย 200 กก./ตร.ซม.

48 of 130
กําหนด หนวยแรงกดใชงานของคอนกรีตที่ยอมให (เมื่อแผนเหล็กคลุมเต็มเนื้อที่) :
ความยาวของแผนเหล็ก ในเมื่อ
คําตอบ 1 : 450 x 450 x 36 มม.
คําตอบ 2 : 450 x 450 x 40 มม.
คําตอบ 3 : 500 x 500 x 34 มม.
คําตอบ 4 : 500 x 500 x 36 มม.

ขอที่ : 140
ขอใดไมใชวิธีการออกแบบโครงสรางเหล็ก
คําตอบ 1 : วิธี Plastic Design
คําตอบ 2 : วิธี Allowable Stress Design
คําตอบ 3 : วิธี Ultimate Strength Design
คําตอบ 4 : วิธี Load and Resistance Factor Design

ขอที่ : 141
จากพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ขอใด ใชคาแรงลม ไมถูกตอง
คําตอบ 1 : อาคารที่สูงไมเกิน 10 เมตร ไมตองคิดแรงลม
คําตอบ 2 : อาคารสูงกวา 10 เมตร แตไมเกิน 20 เมตร คิดแรงลม 80 ksm.
คําตอบ 3 : อาคารสูงกวา 20 เมตร แตไมเกิน 40 เมตร คิดแรงลม 120 ksm.
คําตอบ 4 : อาคารสูงกวา 40 เมตร คิดแรงลม 160 ksm.

ขอที่ : 142
ในการออกแบบโครงสรางไม ตามปกติ คาใดตอไปนี้มักไมนํามาใช
คําตอบ 1 : โมดูลัสแตกหัก (Modulus of Rupture)
คําตอบ 2 : โมดูลัสยืดหยุน (Modulus of Elasticity)
คําตอบ 3 : ความแข็ง (Hardness)
คําตอบ 4 : กําลังรับแรงอัด (Compressive strength)

ขอที่ : 143
ปกติการใชไมในกรณีใด ควรใชคาสวนความปลอดภัย (safety factor) มากที่สุด

คําตอบ 1 : งานในรม
คําตอบ 2 : งานกลางแจง 49 of 130
คําตอบ 3 : งานในที่เปยกชื้น
คําตอบ 4 : ใชเทากันทุกกรณี

ขอที่ : 144
การลดระดับพื้น โดยการบากปลายตงไม สิ่งที่ตองคํานึงถึงจากการบากปลายตงคือ
คําตอบ 1 : ความตานทานแรงกดที่ปลายตงไม
คําตอบ 2 : ความตานทานแรงเฉือนที่ปลายตงไม
คําตอบ 3 : ความตานทานแรงดัดที่ปลายตงไม
คําตอบ 4 : ความตานทานแรงดึงที่ปลายตงไม

ขอที่ : 145
ตรงรอยตอเชื่อมระหวางเสาเหล็กกับคานเหล็กที่ใชคานและเสาขนาดเทาๆ กัน อาจสมมติใหตรงรอยตอนั้นเปนแบบใด
คําตอบ 1 : เปนแบบหมุน (Pinned End)
คําตอบ 2 : เปนแบบยืดแนน (Fixed End)
คําตอบ 3 : เปนแบบฟรี (Free End)
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก เพราะตองพิจารณาเกี่ยวกับคาสตีฟเนสของเสาและคาน

ขอที่ : 146
หากนําแผนเหล็กหนา 10 ม.ม.กวาง 20 ซ.ม.ยาว 1 ม. มามวนขึ้นรูปเปนหนาตัดเสายาว 1 ม. หนาตัดรูปแบบใดรับแรงไดมากที่สุด
คําตอบ 1 : ทอหนาตัดสี่เหลี่ยมจัตุรัส
คําตอบ 2 : ทอหนาตัดวงกลม
คําตอบ 3 : เหล็กฉาก
คําตอบ 4 : รับแรงไดเทากันเพราะมีพื้นที่หนาตัดเทากัน

ขอที่ : 147
กําลังรับแรงอัดของเสาแตละตนซึ่งไมมีการเซ ขนาดหนาตัดเทากัน ความยาวเสาใดสามารถรับแรงไดสูงที่สุด
คําตอบ 1 : เสายาว 3.00 เมตร
คําตอบ 2 : เสายาว 3.50 เมตร
คําตอบ 3 : เสายาว 3.70 เมตร
คําตอบ 4 : ไมสามารถบอกได

50 of 130
ขอที่ : 148
เสามีคาสติฟเนสนอย ในขณะที่คานทั้งสองปลายของเสามีคาสติฟเนสมาก เปรียบไดกับปลายเสาชนิดใด
คําตอบ 1 : หมุนทั้งสองปลาย (pin-ended)
คําตอบ 2 : ยึดแนน และ แบบหมุน (Fixed-Pin Ended)
คําตอบ 3 : แบบยึดแนนทั้งสองปลาย (Fixed-Ended)
คําตอบ 4 : แบบยึดแนนทั้งสองปลาย (Fixed-Free Ended)

ขอที่ : 149
เสามีคาสติฟเนสมาก ในขณะที่คานทั้งสองปลายของเสามีคาสติฟเนสนอย เปรียบไดกับปลายเสาชนิดใด
คําตอบ 1 : หมุนทั้งสองปลาย (pin-ended)
คําตอบ 2 : ยึดแนน และ แบบหมุน (Fixed-Pin Ended)
คําตอบ 3 : แบบยึดแนนทั้งสองปลาย (Fixed-Ended)
คําตอบ 4 : แบบยึดแนน และปลอยปลาย(Fixed-Free Ended)

ขอที่ : 150
ปจจัยอะไรที่มีผลใหกําลังของเสาลดลง
คําตอบ 1 : initial curvature
คําตอบ 2 : สภาพการยึดรั้งที่ปลายเสา
คําตอบ 3 : residual stress
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 151
เสาเหล็กตนหนึ่งทําจากเหล็ก ที่มีกําลังจุดคราก Fy=3000 ksc. จงประมาณคาอัตราสวนความชะลูด Cc ที่ทําใหเสาเปลี่ยนจากการโกงเดาะในชวงอีลาสติกเปน
การโกงเดาะในชวงอินอิลาสติก กําหนดใหโมดูลัสยื่ดหยุน E = 2 x 106 ksc.
คําตอบ 1 : 110
คําตอบ 2 : 115
คําตอบ 3 : 125
คําตอบ 4 : 150

ขอที่ : 152

51 of 130
คา KL/r ของแกนที่แข็งแรง และแกนที่ออนแอของหนาตัดเสาเหล็กรูปพรรณ W200 x 21.3 ที่มีคํายันบนแกนที่แข็งแรงเทากับ 6 ม. และบนแกนที่ออนแอเทา
กับ 4 ม. มีคาเทาไร เมื่อ Ix = 1840 cm4 Iy = 134 cm4 rx = 8.24 cm ry = 2.22 cm และจุดยึดรั้งเปน Pinned

คําตอบ 1 : 49 และ 270


คําตอบ 2 : 73 และ 180
คําตอบ 3 : 60 และ 223
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 153
เสาเหล็กรูปพรรณ W250 x 72.4 rx = 10.8 cm ry = 6.29 cm A = 92.18 cm2 เปนเหล็กชนิด A36 (Fy = 2500 ksc) ปลายทั้งสองขางเปนแบบยึดหมุน จง
ประมาณความยาวสูงสุดของเสา โดยที่เสายังคงโกงเดาะในชวงอินอีลาสติก ตามวิธี ASD
คําตอบ 1 : 4.00 ม.
คําตอบ 2 : 8.00 ม.
คําตอบ 3 : 10.00 ม.
คําตอบ 4 : 13.50 ม.

ขอที่ : 154
คานเหล็กรูปพรรณรูปตัด w ในทองตลาด มี bf = 15 ซม. และ tf = 0.9 ซม. ปกคานเหล็กนี้มีหนาตัดแบบใด (กําหนดให E=2.0x106 ksc และ Fy=2500 ksc)

คําตอบ 1 : Partially compact section


คําตอบ 2 : Compact section
คําตอบ 3 : Noncompact section
คําตอบ 4 : Slender section

ขอที่ : 155
ความยาวประสิทธิผลทางทฤษฎีของเสาความยาว L ที่ปลายดานหนึ่งเปนแบบยึดแนนและอีกปลายหนึ่งเปนแบบยึดหมุนซึ่งเซไมได จะมีคาเทาใด
คําตอบ 1 : 2L
คําตอบ 2 : L
คําตอบ 3 : 0.7L
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 156
อาคารไมหลังหนึ่งมีหอง 1 หองดานกวาง 3.00 เมตร ดานยาว 4.00 เมตร ตองรับน้ําหนักบรรทุกใชงานทั้งหมดเทากับ 200 kg/m2 อยากทราบวาหากตองใชตง
ไมยาว 3.00 เมตร วางหางกันประมาณ 0.50 เมตร ตงไมแตละตัว ตองมีกําลังตานแรงดัดใชงานอยางนอยประมาณ 52 of 130
คําตอบ 1 : 115 กก.-เมตร
คําตอบ 2 : 200 กก.-เมตร
คําตอบ 3 : 230 กก.-เมตร
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูกตอง

ขอที่ : 157
ในการคํานวณออกแบบจันทันเอกของโครงหลังคาตองพิจารณาหนวยแรงใดบาง หากสมมติวาน้ําหนักบรรทุกกระทําผาน shear center
คําตอบ 1 : หนวยแรงดัดอยางเดียว
คําตอบ 2 : หนวยแรงอัดรวมกับแรงดัด
คําตอบ 3 : หนวยแรงเฉือนและหนวยแรงดัด
คําตอบ 4 : หนวยแรงอัดรวมกับแรงดัด และหนวยแรงเฉือน

ขอที่ : 158
ในการออกแบบคานเหล็กรูปพรรณ ที่มีระยะค้ํายันเพียงพอ และรูปตัดเปนแบบคอมแพค จะมีคาหนวยแรงดัดสูงสุดที่ยอมใหรอบแกนหลัก ตามวิธี ASD เทากับ
เทาใด
คําตอบ 1 : Fb = 0.5Fy
คําตอบ 2 : Fb = 0.6Fy
คําตอบ 3 : Fb = 0.66Fy
คําตอบ 4 : Fb = 0.75Fy

ขอที่ : 159
คานหนาตัดขนาด W500x89.7 จะสามารถตานทานโมเมนตดัดใชงานสูงสุดไดประมาณเทาใด เมื่อหนาตัดนี้มี bf = 200 mm, tf = 16 mm, Sx = 1910 cm3,
Fy = 2500 ksc, E = 2x106 ksc สมมติมีการค้ํายันดานขางคานเพียงพอ
คําตอบ 1 : 27300 kg-m
คําตอบ 2 : 29300 kg-m
คําตอบ 3 : 30100 kg-m
คําตอบ 4 : 31500 kg-m

ขอที่ : 160

เสาเหล็กตนหนึ่งมีคา Fy = 2500 ksc, E = 2x106 ksc ถาเสาตนนี้เปนเสาสั้นมากคือ เกือบเปนศูนย หนวยแรงอัดใชงานตามแนวแกนสูงสุดมีคาประมาณ 53 of 130


กําหนดให

เมื่อ :

เมื่อ :

คําตอบ 1 : Fy
คําตอบ 2 : 0.6Fy
คําตอบ 3 : 0.39Fy
คําตอบ 4 : 0.26Fy

ขอที่ : 161

เสาเหล็กตนหนึ่งมีคา Fy = 2500 ksc, E = 2x106 ksc ถาเสาตนนี้มีคา =Cc หนวยแรงอัดใชงานตามแนวแกนสูงสุดมีคาประมาณ

กําหนดให

เมื่อ : 54 of 130
เมื่อ :

คําตอบ 1 : Fy
คําตอบ 2 : 0.6Fy
คําตอบ 3 : 0.39Fy
คําตอบ 4 : 0.26Fy

ขอที่ : 162
การโกงของคานไมในแนวดิ่ง (Deflection) หากมีมากเกินไป สามารถแกไขโดยวิธีใดที่ถูกตองในแงของวิศวกรรมโยธา
คําตอบ 1 : เปลี่ยนขนาดของคานไมใหมีพื้นหนาตัดคานมากขึ้น
คําตอบ 2 : เพิ่มความกวางของหนาไม
คําตอบ 3 : ลดความลึกของไมใหมีความลึกลดลง
คําตอบ 4 : เพิ่มคาโมเมนตความเฉื่อย (Moment of Inertia) ของหนาตัดคาน

ขอที่ : 163
ถาพบวาการโกงของคานไมในแนวดานขาง (Lateral Deflection) มีคามากจนทําใหไมสามารถรับโมเมนตดัดไดตามตองการ สามารถแกไขไดโดยวิธีใด
คําตอบ 1 : ลดความลึกของไมใหมีความลึกลดลง
คําตอบ 2 : เสริมค้ํายันทางขางเปนระยะๆ
คําตอบ 3 : เพิ่มความลึกของไมใหมีความลึกมากขึ้น
คําตอบ 4 : ลดความกวางของหนาไม

ขอที่ : 164
การลดระดับพื้นหองโดยการบากปลายตงไม จากเดิม 2"x4" เหลือเพียง 2"x3" ดังนั้น หนวยแรงเฉือนที่ยอมใหตรงรอยบาก จะมีคาลดลงกี่เปอรเซนต
55 of 130
คําตอบ 1 : 25 %
คําตอบ 2 : 40 %
คําตอบ 3 : 50 %
คําตอบ 4 : 75 %

ขอที่ : 165
ในสภาวะปกติไมมีแรงลมกระทํา โครงสรางชนิดใดที่มีโอกาสรับทั้งแรงบิด (Torsion) และแรงดัด (Bending Moment)
คําตอบ 1 : ตัวยึดแป (Sag rod)
คําตอบ 2 : แป (Purlin)
คําตอบ 3 : จันทัน (Rafter)
คําตอบ 4 : ขื่อ (Tie Beam)

ขอที่ : 166
คานเหล็กรูปพรรณที่มีจําหนายในทองตลาด ปจจัยสําคัญที่มีผลตอหนวยแรงดัดที่ยอมใหไดแก
คําตอบ 1 : คุณสมบัติของเหล็ก
คําตอบ 2 : ความกวางของปกคาน
คําตอบ 3 : ความหนาของปกคาน
คําตอบ 4 : คุณสมบัติของเหล็ก ประเภทของหนาตัดและระยะค้ํายันทางขาง

ขอที่ : 167
จงคํานวณหาความหนาของแผนเหล็กรองใตเสา(Column base plate)ขนาด 360x360 mm เพื่อกระจายน้ําหนักลงบนฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก สําหรับเสา
ซึ่งใชเหล็ก A36 (กําลังจุดครากเทากับ 2520 ksc)มีหนาตัด W200x200x8x12mm รับน้ําหนัก 75 ตัน กําหนดใหหนวยแรงกด(bearing stress)บนฐานราก ค.
ส.ล.ที่ยอมใหเทากับ 60 ksc.โดยวิธี Allowable stress design
คําตอบ 1 : 15 mm
คําตอบ 2 : 20 mm
คําตอบ 3 : 25 mm
คําตอบ 4 : 30 mm

ขอที่ : 168
หนวยแรงดัด (Bending stress)ที่ยอมใหของแผนเหล็กรองใตเสา ตามมาตรฐานของ AISC-ASD กําหนดใหมีคาเทากับขอใด

คําตอบ 1 : 0.375Fy
56 of 130
คําตอบ 2 : 0.40Fy
คําตอบ 3 : 0.60Fy
คําตอบ 4 : 0.75Fy

ขอที่ : 169
คานเหล็กหนาตัดขนาด W 600x106 จะสามารถตานทานโมเมนตดัดปลอดภัยไดประมาณเทาใด โดยใชวิธี Allowable stress design สมมติมีการค้ํายันดาน
ขางอยางเพียงพอ
กําหนดให bf = 200 mm., tf = 17 mm., Sx = 2590 cm3 Fy = 2520 ksc.

คําตอบ 1 : 31500 kg-m


คําตอบ 2 : 43000 kg-m
คําตอบ 3 : 53400 kg-m
คําตอบ 4 : 61300 kg-m

ขอที่ : 170
จงประมาณคาการโกงตัวสูงสุดของคานหนาตัดขนาด W400x107 ที่มีชวงความยาว 10 เมตรปลายทั้งสองมีการรองรับแบบธรรมดา(Simple support) มี
น้ําหนักกระจายสม่ําเสมอตลอดความยาวมีคาเทากับ 2 ตัน/เมตร(รวมน้ําหนักของตัวคาน) และคานมีการค้ํายันดานขางตลอดความยาวคานโดยพื้นคอนกรีต

คําตอบ 1 : 2.80 cm
คําตอบ 2 : 3.20 cm
คําตอบ 3 : 4.20 cm
คําตอบ 4 : 5.00 cm

ขอที่ : 171
คานไมแดงขนาด 2 นิ้ว x 8 นิ้ว จะตานทานโมเมนตดัดปลอดภัยไดประมาณเทาใด กําหนดใหหนวยแรงดัดที่ยอมใหเทากับ 120 ksc คํานวณโดยใช Nominal
size
57 of 130
คําตอบ 1 : 400 kg-m
คําตอบ 2 : 420 kg-m
คําตอบ 3 : 460 kg-m
คําตอบ 4 : 500 kg-m

ขอที่ : 172
โครงสรางไมชนิดใด ตองตรวจสอบหนวยแรงกดตั้งฉากเสี้ยน
คําตอบ 1 : เสา
คําตอบ 2 : โครงถัก
คําตอบ 3 : ตงวางบนคาน
คําตอบ 4 : ไมมีคําตอบที่ถูก

ขอที่ : 173
ขอใดตอไปนี้ที่มิใชการปองกันการโกงดานขาง (Lateral Deflection) ของคานไม

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 174
คานไมกรณีใดตองตรวจสอบ สัมประสิทธิ์ของรูปตัด (Form Factor)

คําตอบ 1 : คานไมทุกชนิด
คําตอบ 2 : คานไมรูปตัวไอ
58 of 130
คําตอบ 3 : คานไมรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส
คําตอบ 4 : คานไมที่มีความลึกมากกวา 30 cm.

ขอที่ : 175
พฤติกรรมของแมบันไดไมรับลูกตั้งและลูกนอนไม ตองตรวจสอบอะไร
คําตอบ 1 : แรงดัดรอบแกนหลัก, แรงเฉือน, ระยะโกง
คําตอบ 2 : แรงดัดรอบแกนรอง, แรงเฉือน, ระยะโกง
คําตอบ 3 : แรงดัดรอบแกนหลักและแกนรอง, แรงเฉือน, ระยะโกง
คําตอบ 4 : แรงดัดรวมกับแรงอัด, แรงเฉือน, ระยะโกง

ขอที่ : 176

59 of 130
คําตอบ 1 : ระยะค้ํายันพอเพียง
คําตอบ 2 : ระยะค้ํายันพอเพียงบางสวน
คําตอบ 3 : ระยะค้ํายันไมพอเพียง
คําตอบ 4 : ไมมีคําตอบที่ถูก

ขอที่ : 177
จงประมาณคาโมเมนตที่คานตองรับโดยวิธี AISC-LRFD

1700 kg.m
คําตอบ 1 :

4860 kg.m
คําตอบ 2 :

7630 kg.m
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 : ไมมีคําตอบที่ถูก

ขอที่ : 178
จงคํานวณหาคาโมเมนตใชงานโดยวิธี AISC-ASD

คําตอบ 1 : 60 of 130
1700 kg.m
4860 kg.m
คําตอบ 2 :

7630 kg.m
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 : ไมมีคําตอบที่ถูก

ขอที่ : 179
จากรูป เปนคานที่มีระยะค้ํายันเพียงพอ และเปน Compact Section หนวยแรงดัดที่ยอมใหเทากับ 0.66 Fy จงประมาณกําลังรับโมเมนตดัดรอบแกนหลักโดยวิธิ
AISC-ASD

1,440 kg.m
คําตอบ 1 :

1,650 kg.m
คําตอบ 2 :
61 of 130
3,030 kg.m
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 : ไมมีคําตอบที่ถูก

ขอที่ : 180
คาโมดูลัสยืดหยุนของไม (E) มีนัยสําคัญตอการออกแบบชิ้นสวนโครงสรางตอไปนี้
คําตอบ 1 : ชิ้นสวนโครงสรางรับแรงดึง
คําตอบ 2 : ชิ้นสวนโครงสรางรับแรงอัด
คําตอบ 3 : ชิ้นสวนโครงสรางรับแรงดัด
คําตอบ 4 : ชิ้นสวนโครงสรางรับแรงอัดและแรงดัด

ขอที่ : 181
ขอใดมีผลตอคาหนวยแรงดัดที่ยอมใหในการออกแบบคานเหล็ก
คําตอบ 1 : ระยะค้ํายันดานขาง
คําตอบ 2 : ระยะหางระหวางคาน
คําตอบ 3 : น้ําหนักบรรทุกที่กระทํา
คําตอบ 4 : ไมมีขอไดถูก

ขอที่ : 182
คาสัมประสิทธิ์โมเมนตของ Cb ตามขอกําหนด AISC/ASD จะตองไมเกินเทาใด

คําตอบ 1 : 1.00
คําตอบ 2 : 1.50
คําตอบ 3 : 2.30
คําตอบ 4 : 3.00

ขอที่ : 183
ถาโมเมนตดัดในชวงที่ไมมีการค้ํายันมีคามากกวาโมเมนตดัดตรงจุดที่ทําค้ํายัน ใหใชคา Cb เทาใด

คําตอบ 1 : 1.00
คําตอบ 2 : 1.50
คําตอบ 3 : 2.30
คําตอบ 4 : 3.00 62 of 130
ขอที่ : 184
กําลังตานทานแรงเฉือนของคานเหล็กรูปพรรณ นอกจากจะขึ้นกับโมดูลัสยืดหยุน E ยังมีคาขึ้นอยูกับ

คําตอบ 1 : กําลังจุดคราก (Fy)


คําตอบ 2 : ความลึกของรูปตัด (h)
คําตอบ 3 : ความหนาของแผนเอว (tw)
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 185
ในการออกแบบคานตอเนื่องที่มีหนาตัดแบบคอมแพค คาโมเมนตลบใชกี่เปอรเซนตของคาโมเมนตลบสูงสุด
คําตอบ 1 : 60 %
คําตอบ 2 : 70 %
คําตอบ 3 : 80 %
คําตอบ 4 : 90 %

ขอที่ : 186
จงหาคาโมเมนตบวกที่ใชออกแบบคานตอเนื่อง ที่มีหนาตัดแบบ compact และรับแรงโนมถวง เมื่อคาโมเมนตบวกเทากับ 4,000 kg.m และคาโมเมนตลบเทา
กับ 7,000 kg.m
คําตอบ 1 : 4,600 kg.m
คําตอบ 2 : 4,500 kg.m
คําตอบ 3 : 4,350 kg.m
คําตอบ 4 : 3,600 kg.m

ขอที่ : 187
การวิบัติของคานเหล็กเนื่องจากโมเมนตดัด อาจเปนเพราะ
คําตอบ 1 : สวนที่อยูใตแกนสะเทินถูกดึงจนคราก
คําตอบ 2 : สวนที่อยูเหนือแกนสะเทินถูกอัดจนโกงเดาะ
คําตอบ 3 : เกิดการบิดและโกงออกทางขาง เพราะค้ํายันทางขางไมเพียงพอ
คําตอบ 4 : อาจเกิดไดทุกกรณีที่กลาวขางตน

ขอที่ : 188 63 of 130


หนวยแรงดัดที่ยอมใหตามวิธี ASD ขึ้นกับ
คําตอบ 1 : ประเภทของรูปตัดคาน (คอมแพค, ไมคอมแพค)
คําตอบ 2 : ระยะค้ํายันทางขาง
คําตอบ 3 : คา rT ซึ่งเปนรัศมีไจเรชั่นรอบแกนในระนาบของแผน web
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 189
ถาคานเหล็กรูปพรรณมีรูปตัดแบบคอมแพคบางสวน และมีค้ํายันทางขางพอเพียง หนวยแรงดัดที่ยอมใหรอบแกนหลัก ตามวิธี ASD คือ

คําตอบ 1 : 0.75Fy
คําตอบ 2 : 0.66Fy
คําตอบ 3 : 0.66Fy ถึง 0.60Fy
คําตอบ 4 : นอยกวา 0.60Fy

ขอที่ : 190
คานเหล็กรูปพรรณมีรูปตัดแบบคอมแพค และมีค้ํายันทางขางพอเพียง เมื่อตองรับน้ําหนักหรือแรงใชงาน ดังรูป คาโมดูลัสอิลาสติก (Sx) ที่ตองการ คือ

คําตอบ 1 : 410 ซม.3


คําตอบ 2 : 385 ซม.3
คําตอบ 3 : 370 ซม.3
คําตอบ 4 : 360 ซม.3

ขอที่ : 191
คานเหล็กรูปพรรณ W300x36.7 (Sx = 481 ซม.3) ยาว 6.00 เมตร มีรูปตัดแบบคอมแพค และมีค้ํายันทางขางพอเพียง ถาปลายคานทั้งสองเปนแบบยึดแนน
และหนวยแรงดัดที่ยอมใหรอบแกนหลัก = 1500 กก./ซม.2 ดังนั้น น้ําหนักบรรทุกแผสม่ําเสมอที่คานสามารถรับได ตามวิธี ASD คือ
64 of 130
คําตอบ 1 : 24.0 ตัน/เมตร
คําตอบ 2 : 16.0 ตัน/เมตร
คําตอบ 3 : 2.40 ตัน/เมตร
คําตอบ 4 : 1.60 ตัน/เมตร

ขอที่ : 192
คานเหล็กรูปพรรณ W300x36.7 (Sx = 481 ซม.3) ยาว 6.00 เมตร มีรูปตัดแบบคอมแพค และมีค้ํายันทางขางพอเพียง ถาปลายคานขางหนึ่งเปนแบบยึดแนน
และอีกขางหนึ่งเปนแบบยึดหมุน และหนวยแรงดัดที่ยอมใหรอบแกนหลัก = 1500 กก./ซม.2 ดังนั้นน้ําหนักบรรทุกแผสม่ําเสมอที่คานสามารถรับได ตามวิธี
ASD คือ
คําตอบ 1 : 24.0 ตัน/เมตร
คําตอบ 2 : 16.0 ตัน/เมตร
คําตอบ 3 : 2.40 ตัน/เมตร
คําตอบ 4 : 1.60 ตัน/เมตร

ขอที่ : 193
ในการออกแบบคานเหล็ก ถาไดคาสัมประสิทธิ์ Cb > 1.0 นั่นคือ

คําตอบ 1 : ใหนําคา Cb ที่ได มารวมพิจารณาดวย ซึ่งขนาดหนาตัดคานที่ไดจะเล็กลง

คําตอบ 2 : ใหนําคา Cb ที่ได มารวมพิจารณาดวย เพราะขนาดหนาตัดคานที่ไดตองใหญขึ้น

คําตอบ 3 : ใหใชคา Cb = 1 เพื่อใหงายตอการคํานวณ ซึ่งขนาดหนาตัดคานที่ไดจะเล็กลง


คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูกตอง

ขอที่ : 194
คานเหล็กชวงเดี่ยวธรรมดา ยาว 8.0 เมตร ทําดวยเหล็กชนิด A36 ( Fy = 2500 ksc E = 2x106 ksc )เมื่อมีน้ําหนักบรรทุกใชงาน D + L กระทําชนิดแผสม่ํา
เสมอเทากับ 1500 กก./เมตร ถาตองการไมใหคานโกงตัวเกินกวา 1/360 ของชวงความยาว ตองใชคานเหล็กที่มีโมเมนตอินเนอรเชียรอบแกนหลักไมนอยกวา
คําตอบ 1 : 2255 ซม.4
คําตอบ 2 : 3600 ซม.4
คําตอบ 3 : 18020 ซม.4
คําตอบ 4 : 36040 ซม.4

ขอที่ : 195 65 of 130


คานเหล็กชวงเดี่ยวธรรมดา ยาว 8.0 เมตร ทําดวยเหล็กชนิด A36 ( Fy = 2500 ksc E = 2x106 ksc )น้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน D = 1500 กก./เมตร น้ําหนัก
บรรทุกคงที่ใชงาน L = 3150 กก./เมตร และน้ําหนักแบบจุดใชงานที่กลางชวงคานอันเนื่องจากน้ําหนักบรรทุกจร = 4000 กก. ถาสมมติวาคานนี้มีรูปตัดแบบ
คอมแพคและมีค้ํายันทางขางพอเพียง ดังนั้น โมดูลัสพลาสติก (Zx) ที่ตองการคือ

คําตอบ 1 : 3000 ซม.3


คําตอบ 2 : 2435 ซม.3
คําตอบ 3 : 2300 ซม.3
คําตอบ 4 : 2255 ซม.3

ขอที่ : 196
คานเหล็กชวงเดี่ยวธรรมดา ยาว 8.0 เมตร ทําดวยเหล็กชนิด A36 ( Fy = 2500 ksc E = 2x106 ksc ) รับน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน D = 1500 กก./เมตร
น้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน L = 3150 กก./เมตร และน้ําหนักแบบจุดใชงานที่กลางชวงคาน = 4000 กก. ถาสมมติวาคานนี้มีรูปตัดแบบคอมแพคและมีค้ํายันทาง
ขางพอเพียง ดังนั้น โมดูลัสอิลาสติก (Sx) ที่ตองการคือ

คําตอบ 1 : 2255 ซม.3


คําตอบ 2 : 2300 ซม.3
คําตอบ 3 : 2480 ซม.3
คําตอบ 4 : 2740 ซม.3

ขอที่ : 197
แปเหล็กชวงเดี่ยวธรรมดา W300x36.7 (Sx=481 ซม.3,Sy=68 ซม.3) ยาว 6.0 เมตร ทําดวยเหล็กชนิด A36 มีรูปตัดแบบคอมแพค รับน้ําหนักบรรทุกใชงาน ดัง
แสดง ใหหาน้ําหนักบรรทุกปลอดภัยแบบจุด P ซึ่งกระทําในแนวเอียงผานศูนยถวงของรูปตัด กําหนดให หนวยแรงดัด Fbx ที่ยอมให = 1300 กก./ซม.2 และ
หนวยแรงดัด Fby ที่ยอมให = 1875 กก./ซม2

66 of 130
คําตอบ 1 : 1.33 กก.
คําตอบ 2 : 13.3 กก.
คําตอบ 3 : 133 กก.
คําตอบ 4 : 150 กก.

ขอที่ : 198
คาน-เสาตัวหนึ่ง รับแรงอัดประลัย Pu = 120 ตัน และโมเมนตดัดประลัย Mux ตรงกลางชวง (ซึ่งปรับเพิ่มคาดวยตัวคูณประกอบขยายคาโมเมนตดัด B1 แลว) =
10 ตัน-เมตร ดังแสดง ใหพิจารณาความปลอดภัยของเสาตนนี้ ตามวิธี LRFD

คําตอบ 1 : แรงอัดมีคานอย แตปลอดภัย


คําตอบ 2 : แรงอัดมีคานอย แตไมปลอดภัย
คําตอบ 3 : แรงอัดมีคามาก แตปลอดภัย
67 of 130
คําตอบ 4 : แรงอัดมีคามาก แตไมปลอดภัย

ขอที่ : 199
เสาตนหนึ่งในโครงเฟรมที่ไมเซ รับแรงอัดใชงาน P และโมเมนตดัด M ดังแสดง เสานี้มีค้ํายันทางขางเพื่อกันการโกงรอบแกน y ใหพิจารณาความปลอดภัยของ
เสาตนนี้ ตามวิธี ASD กําหนดให Fa = 1370 กก./ซม.2 Fbx = 1500 กก./ซม.2 และตัวคูณประกอบขยายคาโมเมนตดัด = 1.20

คําตอบ 1 : แรงอัดมีคานอย แตปลอดภัย


คําตอบ 2 : แรงอัดมีคานอย แตไมปลอดภัย
คําตอบ 3 : แรงอัดมีคามาก แตปลอดภัย
คําตอบ 4 : แรงอัดมีคามาก แตไมปลอดภัย

ขอที่ : 200

จงประมาณคาแรงอัดประลัยสูงสุด (Pu) ตามวิธี LRFD


68 of 130
คําตอบ 1 : 200 ตัน
คําตอบ 2 : 170 ตัน
คําตอบ 3 : 130 ตัน
คําตอบ 4 : 110 ตัน

ขอที่ : 201
ใหหาหนวยแรงกด (bearing stress) ในฐานราก เมื่อมีแรงกระทํา ดังรูป

คําตอบ 1 : 25 กก./ซม.2 (หนวยแรงอัด) และ 9 กก./ซม.2 (หนวยแรงดึง)


คําตอบ 2 : 27 กก./ซม.2(หนวยแรงอัด) และ 7 กก./ซม.2 (หนวยแรงดึง)
คําตอบ 3 : 30 กก./ซม.2 (หนวยแรงอัด) และ 4 กก./ซม.2 (หนวยแรงดึง)
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

69 of 130
ขอที่ : 202
ใหหาตําแหนงที่หนวยแรงกด (bearing stress) ในฐานราก มีคาเปนศูนย

คําตอบ 1 : 25 ซม. จากจุด A หรือ B


คําตอบ 2 : 40 ซม. จากจุด B
คําตอบ 3 : 43.5 ซม. จากจุด B
คําตอบ 4 : 7.5 ซม. จากจุด A

ขอที่ : 203

ใหหาความหนาอยางนอยของแผนเหล็กรองใตคาน เมื่อคาน W500x89.7 ถายแรงปฏิกิริยาใชงาน 22.5 ตัน สูหัวเสา คสล.ขนาด 30x40 ซม. (หมายเหตุ :
W500x89.7 มีขนาด d = 500 มม. bf = 200 มม. tw = 10 มม. tf = 16 มม. r = 20 มม.) 70 of 130
คําตอบ 1 : 10 มม.
คําตอบ 2 : 20 มม.
คําตอบ 3 : 25 มม.
คําตอบ 4 : 30 มม.

ขอที่ : 204
คานไมชวงเดี่ยวธรรมดายาว 4.00 เมตร รับน้ําหนักบรรทุกใชงานแบบสม่ําเสมอเทากับ 140 กก./เมตร ถาการโกงตัวในแนวดิ่งของคานตองไมเกิน 1/300 ของ
ชวงความยาว ดังนั้นตองเลือกใชคานไมที่มีโมเมนตความเฉื่อยอยางนอยเทาใด กําหนดใหโมดูลัสยืดหยุน E=140,000 กก./ตร.ซม.

คําตอบ 1 : 2500 ซม.4


คําตอบ 2 : 3000 ซม.4 71 of 130
คําตอบ 3 : 4445 ซม.4
คําตอบ 4 : 4645 ซม.4

ขอที่ : 205
แปไมขนาด 1.5 นิ้ว x 3 นิ้ว วางอยูบนจันทันไมซึ่งหางกัน 1.50 เมตร จงประมาณน้ําหนักแผสม่ําเสมอ w ที่แปไมจะรับได กําหนดใหหนวยแรงดัดที่ยอมให Fbx
= Fby = 150 กก./ตร.ซม.

คําตอบ 1 : 80 กก./เมตร
คําตอบ 2 : 90 กก./เมตร
คําตอบ 3 : 100 กก./เมตร
คําตอบ 4 : 180 กก./เมตร

ขอที่ : 206 72 of 130


คานไมชวงเดี่ยวธรรมดา รูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผา bxh เซนติเมตร รับน้ําหนักบรรทุกจรและน้ําหนักของตัวคานเอง ซึ่งเปนแบบแผสม่ําเสมอเทากับ w กก./ม.
กําหนดใหหนวยแรงเฉือนปลอดภัยเทากับ 15 กก./ตร.ซม. และหนวยแรงดัดปลอดภัยเทากับ 150 กก./ตร.ซม. จงหาความยาว L ของคาน (หนวยเปนเมตร) ที่
พอดีทําใหทั้งหนวยแรงเฉือนและหนวยแรงดัดที่เกิดขึ้นมีคาเทากับหนวยแรงปลอดภัยที่กําหนดให

คําตอบ 1 : L = h/5 เมตร


คําตอบ 2 : L = h/10 เมตร
คําตอบ 3 : L = h/15 เมตร
คําตอบ 4 : L = h/20 เมตร

ขอที่ : 207
เสาไมตันขนาด 10x10 ซม.(ไมไส) มีปลายทั้งสองขางเปนแบบยึดหมุน และรับแรงอัดตามแนวแกน จงหาความยาวของเสาที่พอดีใหคาหนวยแรงดัดเทากับ
110 กก./ตร.ซม. กําหนดใหโมดูลัสยืดหยุน E = 120,000 กก./ตร.ซม.
คําตอบ 1 : 2.50 เมตร
คําตอบ 2 : 2.75 เมตร
คําตอบ 3 : 3.00 เมตร
คําตอบ 4 : 3.25 เมตร

ขอที่ : 208
คานไมคูขนาด 1.5"x6" ชวงเดี่ยวยาว 5.00 เมตร จะรับน้ําหนักบรรทุกแบบแผสม่ําเสมอ w ไดเทาใด ถากําหนดใหหนวยแรงดัดที่ยอมให = 120 กก./ตร.ซม.
และหนวยแรงเฉือนในแนวนอนที่ยอมใหเทากับ 10 กก./ตร.ซม. (คํานวณโดยใชไมไมตองไส)
73 of 130
คําตอบ 1 : 54 กก./เมตร
คําตอบ 2 : 60 กก./เมตร
คําตอบ 3 : 108 กก./เมตร
คําตอบ 4 : 120 กก./เมตร

ขอที่ : 209
คาน “ก” และคาน “ข” ทําดวยวัสดุชนิดเดียวกัน ตางมีพื้นที่หนาตัดและความยาวเทากัน ใหเปรียบเทียบกําลังตานทานโมเมนตดัดในชวงอิลาสติกระหวางคานไม
ทั้งสอง

คําตอบ 1 : คาน “ก” ตานทานโมเมนตเปนสองเทาของคาน “ข”


คําตอบ 2 : คาน “ก” ตานทานโมเมนตเปนสามเทาของคาน “ข”
คําตอบ 3 : คาน “ก” ตานทานโมเมนตเปนสี่เทาของคาน “ข”
คําตอบ 4 : คาน “ก” ตานทานโมเมนตเปนหาเทาของคาน “ข”

ขอที่ : 210
คาน “ก” และคาน “ข” ทําดวยวัสดุชนิดเดียวกัน ตางมีพื้นที่หนาตัดและความยาวเทากัน ใหเปรียบเทียบกําลังตานทานแรงเฉือนในชวงอิลาสติกระหวางคานทั้ง
สอง

คําตอบ 1 : คาน “ก” ตานทานแรงเฉือนไดเทากับคาน “ข” 74 of 130


คําตอบ 2 : คาน “ก” ตานทานแรงเฉือนไดนอยกวาคาน “ข”
คําตอบ 3 : คาน “ก” ตานทานแรงเฉือนไดมากกวาคาน “ข”
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 211
จุดศูนยกลางแรงเฉือน (shear center) ของหนาตัด หมายถึง
คําตอบ 1 : จุดที่โมเมนตกระทําและไมทําใหเกิดการเฉือน
คําตอบ 2 : จุดที่แรงเฉือนกระทําและไมทําใหเกิดการดัด
คําตอบ 3 : จุดที่แรงเฉือนกระทําและไมทําใหเกิดการบิด
คําตอบ 4 : จุดที่แรงบิดกระทําและไมทําใหเกิดการเฉือน

ขอที่ : 212
โมดูลัสยืดหยุนของไมเนื้อแข็งมีคา
คําตอบ 1 : นอยกวาโมดูลัสยืดหยุนของเหล็กโครงสรางประมาณ 30 เทา
คําตอบ 2 : นอยกวาโมดูลัสยืดหยุนของเหล็กโครงสรางประมาณ 15 เทา
คําตอบ 3 : นอยกวาโมดูลัสยืดหยุนของเหล็กโครงสรางประมาณ 10 เทา
คําตอบ 4 : ใกลเคียวกับโมดูลัสยืดหยุนของเหล็กโครงสราง

ขอที่ : 213
ปจจัยที่มีผลกระทบตอหนวยแรงดัดที่ยอมใหของคานไม คือ
คําตอบ 1 : ความลึกของคาน
คําตอบ 2 : รูปหนาตัดของคาน
คําตอบ 3 : การค้ํายันทางขางของคาน
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 214
เมื่อบากหรือหยักปลายคานไมทางดานรับแรงดึง มีผลให
คําตอบ 1 : คานไมมีกําลังตานทานแรงดัดนอยลง
คําตอบ 2 : คานไมมีกําลังตานทานแรงเฉือนนอยลง
คําตอบ 3 : คานไมโกงตัวมากขึ้น
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูกตอง
75 of 130
ขอที่ : 215
ถาทําค้ํายันขางคานชวงเดี่ยวตรงดานที่รับแรงดึง คานจะมีกําลังตานทานแรงดัดรอบแกนหลัก
คําตอบ 1 : มากขึ้น
คําตอบ 2 : เทาเดิม
คําตอบ 3 : นอยลง
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 216
มีคานชวงเดียวธรรมดายาว 4.00 เมตร 2 ตัว คาน “ก” มีขนาด 2” x 8” และคาน “ข” มีขนาด 4” x 4” (สังเกตวาคานทั้งสองมีเนื้อที่หนาตัดเทากัน) จงเปรียบ
เทียบกําลังตานทานโมเมนตดัดระหวาง คาน “ก” กับคาน “ข” ถาคานทั้งสองใชไมชนิดเดียวกัน และสมมติวาคานทั้งสองมีคาหนวยแรงดัดที่ยอมใหเทากัน
คําตอบ 1 : คาน “ก” มีกําลังตานโมเมนตดัด เทากับ คาน “ข”
คําตอบ 2 : คาน “ก” มีกําลังตานโมเมนตดัด มากกวา คาน “ข” ถึงสองเทา
คําตอบ 3 : คาน “ก” มีกําลังตานโมเมนตดัด มากกวา คาน “ข” เพียงเล็กนอย
คําตอบ 4 : คาน “ก” มีกําลังตานโมเมนตดัด นอยกวา คาน “ข” เพียงเล็กนอย

ขอที่ : 217
ตงไมชวงเดี่ยวธรรมดายาว 4.00 เมตร วางหางกันทุกระยะ 50 ซม. เพื่อรองรับพื้นและน้ําหนักบรรทุกจรใชงานรวมทั้งน้ําหนักของตงเองเทากับ 200 กก./ม.2 ถา
กําหนดหนวยแรงดัดที่ยอมใหเทากับ 150 กก./ซม.2 จงหาขนาดที่ประหยัดของตงไม (ไมไส)

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 218
76 of 130
คานไมชวงเดี่ยวธรรมดา รูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผา bxh เซนติเมตร รับน้ําหนักบรรทุกจรและน้ําหนักของตัวคานเอง ซึ่งเปนแบบแผสม่ําเสมอเทากับ w กก./ม. ถา
หนวยแรงดัดที่ยอมใหมีคาเปน 10 เทาของหนวยแรงเฉือนที่ยอมใหจงหาความยาว L ของคาน (หนวยเปนเซนติเมตร) ที่พอดีทําใหทั้งหนวยแรงเฉือนและหนวย
แรงดัดที่เกิดขึ้นมีคาเทากับหนวยแรงที่ยอมให
คําตอบ 1 : L = 5h เซนติเมตร
คําตอบ 2 : L = 10h เซนติเมตร
คําตอบ 3 : L = 12h เซนติเมตร
คําตอบ 4 : L = 20h เซนติเมตร

ขอที่ : 219
คานไมชวงเดี่ยวธรรมดา รูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผา bxh เซนติเมตร (ไมไส) รับน้ําหนักบรรทุกจรและน้ําหนักของตัวคานเอง ซึ่งเปนแบบแผสม่ําเสมอเทากับ w กก./
ม. ถาหนวยแรงดัดที่ยอมใหมีคาเปน 12 เทาของหนวยแรงเฉือนที่ยอมให ความยาว L ของคาน (หนวยเปนเซนติเมตร) ตองมีคาอยางนอยมากกวาเทาไหร จึง
จะทําใหโมเมนตดัดเปนตัวควบคุมในการออกแบบ
คําตอบ 1 : 8h เซนติเมตร
คําตอบ 2 : 10h เซนติเมตร
คําตอบ 3 : 12h เซนติเมตร
คําตอบ 4 : 20h เซนติเมตร

ขอที่ : 220
คานไมชวงเดี่ยวธรรมดา ยาว 4.00 เมตร รับน้ําหนักบรรทุกใชงานแบบแผสม่ําเสมอ (รวมน้ําหนักของคานแลว) = 400 กก./เมตร ถาตองการใหการโกงตัวของ
คานไมเกินกวา 1/300 ของชวงความยาว ดังนั้น ตองใชคานไมที่มีโมเมนตอินเนอรเชียอยางนอยเทาใด กําหนดให โมดูลัสยืนหยุน E = 150,000 กก./ซม.2
คําตอบ 1 : 4300 ซม.4
คําตอบ 2 : 5500 ซม.4
คําตอบ 3 : 6000 ซม.4
คําตอบ 4 : 6700 ซม.4

ขอที่ : 221

คานชวงเดียวธรรมดายาว 4.00 เมตร มีค้ํายันทางขางเฉพาะที่ปลายคานเทานั้น จงเปรียบเทียบกําลังตานทานโมเมนตดัดระหวางคาน "ก" ขนาด 2"x8" หนึ่ง


ทอน กับคาน "ข" ขนาด 4"x4" หนึ่งทอน โดยพิจารณาจากสูตรคํานวณเกี่ยวกับ lateral stability ตามมาตรฐานกําหนด ทั้งนี้ คาน "ก" และคาน "ข" ใชไม
ชนิดเดียวกัน โดยมีคาหนวยแรงดัดที่ยอมให = 150 กก./ซม.2 และโมดูลัสยืดหยุน = 120000 กก./ซม.2 (สังเกตวาคานทั้งสองมีเนื้อที่หนาตัดเทากัน)

สูตรคํานวณเกี่ยวกับ lateral stability คือ

คานสั้น ( เมื่อ 0 < RB ≤ 10 ) : Fb' = Fb 77 of 130


คานยาวปานกลาง (เมื่อ 10 < RB ≤ KB) : Fb' = Fb

คานยาว (เมื่อ KB < RB ≤ 50) : Fb' =

ในที่นี้ , RB = ความชะลูดของคาน =
คําตอบ 1 : คาน “ก” มีกําลังตานโมเมนตดัด เทากับ คาน “ข”
คําตอบ 2 : คาน “ก” มีกําลังตานโมเมนตดัด มากกวา คาน “ข” ถึงสองเทา
คําตอบ 3 : คาน “ก” มีกําลังตานโมเมนตดัด มากกวา คาน “ข” เพียงเล็กนอย
คําตอบ 4 : คาน “ก” มีกําลังตานโมเมนตดัด นอยกวา คาน “ข” เพียงเล็กนอย

ขอที่ : 222
ไมทอนหนึ่งขนาด 2”x4” ชวงเดี่ยว ยาว 2.00 เมตร รับแรงดึงที่ปลายชิ้นสวน = 3000 กก. และน้ําหนักบรรทุกแบบแผสม่ําเสมอ = w กก./เมตร (รวมน้ําหนักของ
ตัวเองแลว) หากสมมติวาไมทอนนี้มีค้ํายันทางขางอยางพอเพียง จงประมาณคาของ w ที่ไมทอนนี้จะรับไดโดยปลอดภัย กําหนดให Ft = 120 กก./ซม.2 Fb =
150 กก./ซม.2 และ E = 140000 กก./ซม.2
คําตอบ 1 : w = 100 กก./เมตร
คําตอบ 2 : w = 125 กก./เมตร
คําตอบ 3 : w = 150 กก./เมตร
คําตอบ 4 : w = 175 กก./เมตร

ขอที่ : 223
ลักษณะวิบัติของคานเหล็กรูปพรรณตอไปนี้ ขอใดไมถูกตอง
คําตอบ 1 : หนาตัดแบบคอมแพค จะเกิดการคราก เมื่อระยะค้ํายันทางขางพอเพียง
คําตอบ 2 : หนาตัดแบบคอมแพค จะเกิดการบิดและโกงออกทางขาง เมื่อระยะค้ํายันทางขางไมพอเพียง
คําตอบ 3 : หนาตัดแบบคอมแพค จะเกิดการบิดและโกงออกทางขาง เมื่อระยะค้ํายันทางขางพอเพียง
คําตอบ 4 : หนาตัดแบบไมคอมแพค จะเกิดการโกงเดาะเฉพาะที่ และเกิดการบิดและโกงออกทางขาง

ขอที่ : 224
ถาให Sx เปน elastic section modulus และให Zx เปน plastic section modulus จะพบวาคานเหล็กรูปพรรณรูปตัดตัว I หรือตัว C

คําตอบ 1 : มีคา Sxมากกวาคา Zx โดยขึ้นกับประเภทของหนาตัดคาน และระยะค้ํายันทางขาง 78 of 130


คําตอบ 2 : มีคา Sx มากกวาคา Zx โดยขึ้นกับประเภทของหนาตัดคาน แตไมขึ้นกับระยะค้ํายันทางขาง

คําตอบ 3 : มีคา Sx นอยกวาคา Zxโดยขึ้นกับประเภทของหนาตัดคาน และระยะค้ํายันทางขาง

คําตอบ 4 : มีคา Sx นอยกวาคา Zx โดยขึ้นกับประเภทของหนาตัดคาน แตไมขึ้นกับระยะค้ํายันทางขาง

ขอที่ : 225
คานเหล็กรูปพรรณที่มีหนาตดแบบคอมแพค แตมีระยะค้ํายันที่ปกรับแรงอัดไมพอเพียง ถาคานนี้รับน้ําหนักบรรทุกใชงาน คาหนวยแรงดัดสูงสุดรอบแกนหลักที่
ยอมให คือ
คําตอบ 1 : 0.75Fy
คําตอบ 2 : 0.66Fy
คําตอบ 3 : 0.60Fy
คําตอบ 4 : 0.40Fy

ขอที่ : 226
คานเหล็กรูปพรรณที่มีหนาตดแบบคอมแพคบางสวน และมีระยะค้ํายันที่ปกรับแรงอัดพอเพียง ถาคานนี้รับน้ําหนักบรรทุกใชงาน คาหนวยแรงดัดสูงสุดรอบแกน
รองที่ยอมให คือ
คําตอบ 1 : 0.75Fy
คําตอบ 2 : 0.66Fy
คําตอบ 3 : 0.60Fy
คําตอบ 4 : 0.40Fy

ขอที่ : 227
คานเหล็กรูปพรรณที่มีหนาตดแบบคอมแพคบางสวน และมีระยะค้ํายันที่ปกรับแรงอัดพอเพียง ถาคานนี้รับน้ําหนักบรรทุกใชงาน คาหนวยแรงดัดรอบแกนหลักที่
ยอมให คือ
คําตอบ 1 : 0.75Fy
คําตอบ 2 : 0.66Fy
คําตอบ 3 : 0.60Fy
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูกตอง

ขอที่ : 228
79 of 130
คานเหล็กรูปพรรณที่มีหนาตดแบบคอมแพคบางสวน และมีระยะค้ํายันที่ปกรับแรงอัดไมพอเพียง ถาคานนี้รับน้ําหนักบรรทุกใชงาน คาหนวยแรงดัดสูงสุดรอบ
แกนรองที่ยอมให คือ
คําตอบ 1 : 0.75Fy
คําตอบ 2 : 0.66Fy
คําตอบ 3 : 0.60Fy
คําตอบ 4 : 0.40Fy

ขอที่ : 229
คานเหล็กรูปพรรณที่มีหนาตดแบบคอมแพค และมีระยะค้ํายันที่ปกรับแรงอัดอยางพอเพียง ถาคานนี้รับน้ําหนักบรรทุกประลัย คากําลังรับโมเมนตดัดประลัยสูง
สุดรอบแกนหลัก คือ
คําตอบ 1 : 0.85ZxFy
คําตอบ 2 : 0.90ZxFy
คําตอบ 3 : ZxF y
คําตอบ 4 : ZyF y

ขอที่ : 230
คานเหล็กรูปพรรณที่มีหนาตดแบบคอมแพค และมีระยะค้ํายันที่ปกรับแรงอัดไมพอเพียง ถาคานนี้รับน้ําหนักบรรทุกประลัย คากําลังรับโมเมนตดัดประลัยสูง
สุดรอบแกนรอง คือ
คําตอบ 1 : 0.85ZyFy
คําตอบ 2 : 0.90ZyFy
คําตอบ 3 : ZxF y
คําตอบ 4 : ZyF y

ขอที่ : 231
คานเหล็กรูปพรรณ รูปตัด W มีหนาตดแบบคอมแพค และมีระยะค้ํายันที่ปกรับแรงอัดอยางพอเพียง ถาคานนี้รับน้ําหนักบรรทุกประลัย กําลังตานทานโมเมนตดัด
ประลัย (nominal strength) สูงสุดรอบแกนหลักจะมากกวากําลังตานทานโมเมนตดัดปลอดภัยที่รับน้ําหนักบรรทุกใชงานรอบแกนหลัก ประมาณ
คําตอบ 1 : 8%
คําตอบ 2 : 10 %
คําตอบ 3 : 12 %
คําตอบ 4 : 20 %
80 of 130
ขอที่ : 232
คาน "ก" มีรูปตัดตัวที ประกอบดวยปกคานขนาด 20 x 40 มม. และเหล็กแผนตั้งหนา 20 มม. กวาง 40 มม. สวนคาน "ข" มีรูปตัดตัวไอ ประกอบดวยปกคานแต
ละดานขนาด 10 x 40 มม. และเหล็กแผนตั้งหนา 20 มม. กวาง 40 มม. ถาคานทั้งสองทําดวยเหล็กชนิดเดียวกัน ตอยึดกันโดยการเชื่อมตลอดความยาวคาน จง
เปรียบเทียบกําลังตานทานโมเมนตดัดพลาสติกของคานทั้งสองนี้
คําตอบ 1 : คาน “ก” ตานทานโมเมนตไดเทากับ 0.5 เทาของคาน “ข”
คําตอบ 2 : คาน “ก” ตานทานโมเมนตไดเทากับ 0.75 เทาของคาน “ข”
คําตอบ 3 : คาน “ก” ตานทานโมเมนตไดเทากับ 0.85 เทาของคาน “ข”
คําตอบ 4 : คาน “ก” ตานทานโมเมนตไดเทากันกับของคาน “ข”

ขอที่ : 233
คาน “ก” มีรูปตัดตัวไอ ประกอบดวยปกคานแตละดานขนาดกวาง b หนา t และเหล็กแผนตั้งหนา 2t กวาง h สวนคาน “ข” มีรูปตัดแบบกลองกลวง ประกอบดวย
ปกคานแตละดานขนาดกวาง b หนา t และเหล็กแผนตั้ง 2 แผน แตละแผนหนา t กวาง h คานทั้งสองทําดวยเหล็กชนิดเดียวกัน ตางมีพื้นที่หนาตัดและความยาว
เทากัน ใหเปรียบเทียบกําลังตานทานแรงเฉือนในชวงอิลาสติกระหวางคานทั้งสอง

คําตอบ 1 : คาน “ข” ตานทานแรงเฉือนไดใกลเคียงกับคาน “ก”


คําตอบ 2 : คาน “ก” ตานทานแรงเฉือนไดประมาณ 1.5 เทาคาน “ข”
คําตอบ 3 : คาน “ช” ตานทานแรงเฉือนไดประมาณ 1.5 เทาคาน “ก”
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก เพราะตองนําการกระจายของหนวยแรงเฉือนมารวมพิจารณาดวย

ขอที่ : 234
ถาคานเหล็กรูปพรรณรับน้ําหนักกระทําแบบจุดบนหลังคาน ขอใดตอไปนี้ ไมถูกตอง
คําตอบ 1 : เหล็กแผนตั้งอาจเกิดการคราก
81 of 130
คําตอบ 2 : เหล็กแผนตั้งอาจเกิดการยู
คําตอบ 3 : ปกคานดานรับแรงอัดอาจเกิดการคราก หรือ ยู
คําตอบ 4 : ปกคานดานรับแรงดึงอาจเซออกทางขาง เมื่อมีค้ํายันทางขางที่ปกคานดานรับแรงอัดอยางเดียว

ขอที่ : 235
การออกแบบแผนเหล็กรองใตเสา ตางจากการออกแบบแผนเหล็กรองใตคาน ตรงที่
คําตอบ 1 : ไมคํานึงกําลังรับแรงกดของวัสดุที่รองรับ
คําตอบ 2 : ไมคํานึงโมเมนตดัดที่ตองรับหรือตานทาน
คําตอบ 3 : ไมคํานึงการวิบัติของเหล็กแผนตั้ง
คําตอบ 4 : ไมคํานึงกําลังจุดครากของแผนเหล็กรอง

ขอที่ : 236
ในการออกแบบคานเหล็กรูปพรรณตองนําระยะค้ํายันทางขางมาพิจารณาดวย ฉะนั้น ถาคานชวงเดียวมีค้ํายันทางขางที่ปลายทั้งสองและที่กึ่งกลางคาน โดยมี
แรงกระทําแบบจุดที่กึ่งกลางคาน

จงหาคาสัมประสิทธิ์โมเมนตดัด Cb จากสูตรคํานวณ

คําตอบ 1 : Cb = 1.0
คําตอบ 2 : Cb = 1.5
คําตอบ 3 : Cb = 1.75
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 237
คานชวงเดียวยาว 5.0 เมตร รับน้ําหนักแบบแผใชงานทั้งหมด = 1400 กก./เมตร (รวมน้ําหนักคานแลว) ตลอดความยาวคาน และรับโมเมนตดัดชนิดลบที่ปลาย
ขางหนึ่งซึ่งเคลื่อนที่ไมได = 1460 กก.-เมตร ถาพิจารณาใชคานเหล็กรูปพรรณชนิด A36 มีรูปตัดแบบคอมแพค และมีค้ํายันทางขางพอเพียง จงประมาณคาโม
ดูลัสอิลาสติก (Sx) ที่ตองการ สมมติให Fb = 1500 กก./ ซม.2

คําตอบ 1 : 300 ซม.3


คําตอบ 2 : 275 ซม.3
คําตอบ 3 : 250 ซม.3
คําตอบ 4 : 225 ซม.3
82 of 130
ขอที่ : 238
คานเหล็กชวงเดี่ยวธรรมดา ยาว 6.0 เมตร ทําดวยเหล็กชนิด A36 เมื่อมีน้ําหนักบรรทุกใชงาน D + L กระทําแบบแผสม่ําเสมอเทากับ 1500 กก./เมตร ถาตอง
การไมใหคานโกงตัวเกินกวา 1/300 ของชวงความยาว จงประมาณคาโมเมนตอินเนอรเชียรอบแกนหลักของคานเหล็กรูปพรรณที่ตองใช กําหนดให E = 2 x 106
กก./ ซม.2
คําตอบ 1 : 8200 ซม.4
คําตอบ 2 : 7020 ซม.4
คําตอบ 3 : 6050 ซม.4
คําตอบ 4 : 5070 ซม.4

ขอที่ : 239
แผนเหล็กขนาด BxN ซม. รองใตคานเหล็กรูปพรรณ โดยที่ความกวาง B ของแผนเหล็กขนานกับความกวางของคานเหล็ก ถาใหแรงปฏิกิริยาที่ปลายคานเหล็ก
(อันเนื่องมาจากน้ําหนักบรรทุกใชงาน) เทากับ R กก. และใหระยะ n ซม. เปนระยะยื่นของแผนเหล็กรองใตคานถึงหนาตัดวิกฤต จงประมาณคาความหนาของ
แผนเหล็กรองนี้ กําหนดให Fy เปนกําลังจุดครากของแผนเหล็กหนวยเปน กก./ ซม.2

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :
83 of 130
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 240
คานเหล็กรูปพรรณชนิด A36 ขนาด W500x89.7 (tf = 1.6 ซม. r = 2.0 ซม.) ถายแรงปฏิกิริยา 27.5 ตันอันเนื่องมาจากน้ําหนักบรรทุกใชงาน ใหกับหัวเสา
คสล. โดยใชแผนเหล็กชนิด A36 ขนาด BxN = 25x40 ซม. รองใตคานซึ่งคลุมเต็มเนื้อที่ของหัวเสา จงประมาณความหนาของแผนเหล็กรองนี้
คําตอบ 1 : 20 มม.
คําตอบ 2 : 22 มม.
คําตอบ 3 : 25 มม.
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูกตอง

ขอที่ : 241

เสาเหล็กรูปพรรณขนาด W300x94 (d = bf = 30 ซม.) ถายแรงอัดใชงานตามแนวแกน100 ตัน ลงสูตอมอคอนกรีต โดยใชแผนเหล็กรองใตเสาชนิด A36


84 of 130
ขนาด 40x40 ซม. ซึ่งคลุมเต็มเนื้อที่ของเสาตอมอ จงประมาณความหนาของแผนเหล็กรองนี้
คําตอบ 1 : 10 มม.
คําตอบ 2 : 12 มม.
คําตอบ 3 : 14 มม.
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูกตอง

ขอที่ : 242
ปกติ เมื่อใชแผนเหล็กรองใตเสา โดยจัดวางใหมีศูนยรวมเดียวกันกับเสาที่ตองรองรับ ถาเสาเหล็กรูปพรรณรูปตัด W มีความกวาง = bf ความลึก = d ดังนั้น ใน
การพิจารณาหาความหนาของแผนเหล็กรองใตเสา มักสมมติวาแรงกดอัดจากเสากระทําบนพื้นที่สี่เหลี่ยม ซึ่งมีขนาดเทากับ
คําตอบ 1 : 0.80bf x 0.90d
คําตอบ 2 : 0.80bf x 0.95d
คําตอบ 3 : 0.85bf x 0.95d
คําตอบ 4 : 0.85bfx 0.90d
85 of 130
ขอที่ : 243
คานเหล็กชวงเดี่ยวธรรมดา ยาว L เซนติเมตร รับน้ําหนักบรรทุกใชงานแบบแผสม่ําเสมอเทากับ w กก./เซนติเมตร ถาตองการไมใหคานโกงตัวที่กึ่งกลางคาน
เกินกวา 1/300 ของชวงความยาว จงประมาณคาอยางนอยของอัตราสวนระหวางความลึกตอของชวงความยาว กําหนดให E เปนโมดูลัสยืดหยุนหนวยเปน กก./
ซม.2 และ 0.6Fy เปนหนวยแรงดัดที่ยอมใหหนวยเปน กก./ ซม.2

คําตอบ 1 : d/L = 22.5Fy/E


คําตอบ 2 : d/L = 30Fy/E
คําตอบ 3 : d/L = 37.5Fy/E
คําตอบ 4 : d/L = 45Fy/E

ขอที่ : 244
คานเหล็กชวงเดี่ยวธรรมดา ยาว L เซนติเมตร รับน้ําหนักบรรทุกใชงานแบบแผสม่ําเสมอเทากับ w กก./เซนติเมตร ถาตองการไมใหคานโกงตัวที่กึ่งกลางคาน
เกินกวา 1/240 ของชวงความยาว จงประมาณคาอยางนอยของอัตราสวนระหวางความลึกตอของชวงความยาว กําหนดให E เปนโมดูลัสยืดหยุนหนวยเปน กก./
ซม.2 และ 0.6Fy เปนหนวยแรงดัดที่ยอมใหหนวยเปน กก./ ซม.2

คําตอบ 1 : d/L = 22.5Fy/E


คําตอบ 2 : d/L = 30Fy/E
คําตอบ 3 : d/L = 37.5Fy/E
คําตอบ 4 : d/L = 45Fy/E

ขอที่ : 245
คานเหล็กชวงเดี่ยวธรรมดา ยาว L เซนติเมตร รับน้ําหนักบรรทุกใชงานแบบแผสม่ําเสมอเทากับ w กก./เซนติเมตร ถาตองการไมใหคานโกงตัวที่กึ่งกลางคาน
เกินกวา 1/360 ของชวงความยาว จงประมาณคาอยางนอยของอัตราสวนระหวางความลึกตอของชวงความยาว กําหนดให E เปนโมดูลัสยืดหยุนหนวยเปน กก./
ซม.2 และ 0.6 Fy เปนหนวยแรงดัดที่ยอมใหหนวยเปน กก./ ซม.2

คําตอบ 1 : d/L = 22.5 Fy/E


คําตอบ 2 : d/L = 30 Fy/E
คําตอบ 3 : d/L = 37.5 Fy/E
คําตอบ 4 : d/L = 45 Fy/E

ขอที่ : 246
86 of 130
คานเหล็กยื่นชวงยาว L เซนติเมตร รับน้ําหนักบรรทุกแบบจุดเทากับ W กก.ที่ปลายคาน ถาตองการไมใหปลายคานโกงตัวเกินกวา1/200 ของชวงความยาว จง
ประมาณคาอยางนอยของอัตราสวนระหวางความลึกตอของชวงความยาว กําหนดให E เปนโมดูลัสยืดหยุนหนวยเปน กก./ซม.2และ0.6Fyเปนหนวยแรงดัดที่
ยอมใหหนวยเปน กก./ซม.2และไมคิดน้ําหนักของคาน(คาการโกงตัวที่ปลายคาน = WL3/3EI)
คําตอบ 1 : d/L = 72Fy/E
คําตอบ 2 : d/L = 80Fy/E
คําตอบ 3 : d/L = 96Fy/E
คําตอบ 4 : d/L = 120Fy/E

ขอที่ : 247
คานเหล็กยื่นชวงยาว L ซม. รับน้ําหนักบรรทุกแบบจุดเทากับ W กก. ที่ปลายคาน ถาตองการไมใหปลายคานโกงตัวเกินกวา 1/240 ของชวงความยาว จง
ประมาณคาอยางนอยของอัตราสวนระหวางความลึกตอของชวงความยาว กําหนดให E เปนโมดูลัสยืดหยุนหนวยเปน กก./ซม.2 และ 0.6Fy เปนหนวยแรงดัดที่
/3EI)
ยอมใหหนวยเปน กก./ซม.2 และไมคิดน้ําหนักของคาน (คาการโกงตัวที่ปลายคาน = WL3
คําตอบ 1 : d/L = 72Fy/E
คําตอบ 2 : d/L = 80Fy/E
คําตอบ 3 : d/L = 96Fy/E
คําตอบ 4 : d/L = 120Fy/E

ขอที่ : 248
คานเหล็กรูปพรรณทําดวยเหล็กชนิด A36 ยาว 5.00 เมตร ปลายคานทั้งสองเปนแบบยึดแนน และมีค้ํายันทางขางตรงกึ่งกลางคาน ถาเลือกใชหนาตัดแบบ
คอมแพคและระยะค้ํายัน Lb นั้นพอดีเทากับระยะ Lp ที่ทําใหคานสามารถตานโมเมนตไดถึงโมเมนตดัดพลาสติก (Mp) จงหาน้ําหนักบรรทุกประลัย wu แบบแผ
สม่ําเสมอ (รวมน้ําหนักคานแลว) ที่สามารถรับได

คําตอบ 1 : wu = 12.0(Zx) กก./เมตร


คําตอบ 2 : wu = 10.8(Zx) กก./เมตร
คําตอบ 3 : wu = 8.0(Zx) กก./เมตร
คําตอบ 4 : wu = 7.2(Zx) กก./เมตร

ขอที่ : 249
คานตอเนื่อง 2 ชวง ยาวชวงละ L เมตร รับน้ําหนักบรรทุกแผใชงานสม่ําเสมอตลอดความยาวเทากับ w กก./เมตร ถาใหหนวยแรงดัดที่ยอมใหเทากับ 0.6Fy
กก./ซม.2 จงประมาณคาโมดูลัสหนาตัด Sx ที่ตองการ (ไมปรับคาโมเมนตดัดที่กระทํา)

คําตอบ 1 : 87 of 130
15wL2/Fy ซม.3
คําตอบ 2 : 17wL2/Fy ซม.3
คําตอบ 3 : 19wL2/Fy ซม.3
คําตอบ 4 : 21wL2/Fy ซม.3

ขอที่ : 250
คานตอเนื่อง 2 ชวง รูปตัดแบบคอมแพค ยาวชวงละ L เมตร รับน้ําหนักบรรทุกแผใชงานสม่ําเสมอตลอดความยาวเทากับ w กก./เมตร ถาใหหนวยแรงดัดที่ยอม
ใหเทากับ 0.6Fy กก./ ซม.2 จงประมาณคาโมดูลัสหนาตัด Sx ที่ตองการ (ตองปรับคาโมเมนตดัดที่กระทําตามขอกําหนดมาตรฐาน)

คําตอบ 1 : 15wL2/Fy ซม.3


คําตอบ 2 : 17wL2/Fy ซม.3
คําตอบ 3 : 19wL2/Fy ซม.3
คําตอบ 4 : 21wL2/Fy ซม.3

ขอที่ : 251
คานตอเนื่อง 2 ชวง ยาวชวงละ L เมตร รับน้ําหนักบรรทุกแผใชงานสม่ําเสมอตลอดความยาวเทากับ w กก./เมตร ถาใหหนวยแรงดัดที่ยอมใหเทากับ 2Fy/3
กก./ ซม.2 จงประมาณคาโมดูลัสหนาตัด Sx ที่ตองการ (ไมปรับคาโมเมนตดัดที่กระทํา)

คําตอบ 1 : 12.5wL2/Fy ซม.3


คําตอบ 2 : 15wL2/Fy ซม.3
คําตอบ 3 : 17wL2/Fy ซม.3
คําตอบ 4 : 19wL2/Fy ซม.3

ขอที่ : 252
คานตอเนื่อง 2 ชวง รูปตัดแบบคอมแพค ยาวชวงละ L เมตร รับน้ําหนักบรรทุกแผใชงานสม่ําเสมอตลอดความยาวเทากับ w กก./เมตร ถาใหหนวยแรงดัดที่ยอม
ใหเทากับ 2Fy/3 กก./ ซม.2 จงประมาณคาโมดูลัสหนาตัด Sxที่ตองการ (ตองปรับคาโมเมนตดัดที่กระทําตามขอกําหนดมาตรฐาน)

คําตอบ 1 : 12.5wL2/Fy ซม.3


คําตอบ 2 : 15wL2/Fy ซม.3
คําตอบ 3 : 17wL2/Fy ซม.3 88 of 130
คําตอบ 4 : 19wL2/Fy ซม.3

ขอที่ : 253
คานเหล็กรูปพรรณรูปตัด W ชวงเดียว ยาวเทากับ L เมตร รับน้ําหนักบรรทุกแบบแผใชงาน w กก./เมตร (รวมน้ําหนักคานแลว) ตลอดความยาวคาน และรับ
โมเมนตดัดใชงานชนิดลบ M = wL2 /18 กก.-เมตร ตรงปลายคานที่เคลื่อนที่ไมได ถาคานนี้มีพื้นที่หนาตัดของแผน Web เทากับ Aw ซม.2 และมีคา elastic
section modulus : Sx เทากับ 4Aw ซม.3 หากสมมุติวาหนาตัดคานเปนแบบคอมแพคและถือวามีค้ํายันทางขางพอเพียง จงหาความยาว L ของคานนี้ เพื่อให
หนวยแรงดัดที่เกิดขึ้นมีคาพอดีเทากับหนวยแรงดัดที่ยอมให และหนวยแรงเฉือนที่เกิดขึ้นมีคาพอดีเทากับหนึ่งในแปดของหนวยแรงเฉือนที่ยอมให

คําตอบ 1 : L = 2.75 เมตร


คําตอบ 2 : L = 3.00 เมตร
คําตอบ 3 : L = 3.25 เมตร
คําตอบ 4 : L = 3.50 เมตร

ขอที่ : 254
ลักษณะวิบัติของสวนโครงสราง คาน-เสา คือ
คําตอบ 1 : อาจเกิดการโกงเดาะเฉพาะแหงของแตละชิ้นสวนที่ประกอบเปนหนาตัด
คําตอบ 2 : อาจเกิดจากสวนโครงสรางโกงเดาะทางขางอยางเดียว
คําตอบ 3 : อาจเกิดการบิดและโกงทางขาง
คําตอบ 4 : อาจเกิดการโกงเดาะเฉพาะแหง การโกงเดาะทางขางหรือชิ้นสวนโครงสรางถูกบิดและโกงทางขาง

ขอที่ : 255
ชิ้นสวนโครงสราง คาน-เสา ปลายทั้งสองขางยึดหมุน รับแรงอดและโมเมนตดัดรอบแกนหลัก ถาพบวาคา fa/Fa = 0.12 จงประมาณคาหนวยแรงดัดสูงสุดที่ชิ้น
สวนนี้สามารถรับได กําหนดให Fbx = 1500 กก./ซม.2 89 of 130
คําตอบ 1 : fbx = 1400 กก./ ซม.2
คําตอบ 2 : fbx = 1300 กก./ ซม.2
คําตอบ 3 : fbx = 1200 กก./ ซม.2
คําตอบ 4 : fbx = 1100 กก./ ซม.2

ขอที่ : 256
ชิ้นสวนโครงสราง คาน-เสา ปลายทั้งสองขางยึดหมุน รับแรงอดและโมเมนตดัดรอบแกนหลัก ถาพบวาคา fa/Fa = 0.50 และตัวประกอบขยายคาโมเมนตดัดรอบ
แกนหลัก = 1.20 จงประมาณคาหนวยแรงดัดสูงสุดที่ชิ้นสวนนี้สามารถรับได กําหนดให Fbx = 1350 กก./ ซม.2

คําตอบ 1 : fbx = 560 กก./ ซม.2


คําตอบ 2 : fbx = 620 กก./ ซม.2
คําตอบ 3 : fbx = 680 กก./ ซม.2
คําตอบ 4 : fbx = 750 กก./ ซม.2

ขอที่ : 257
ชิ้นสวนโครงสราง คาน-เสา ปลายทั้งสองขางยึดหมุน รับแรงอดและโมเมนตดัดรอบแกนหลักและแกนรอง พบวาคา fbx/Fbx = 0.60 และคา fby/Fby = 0.20
โดยที่ตัวประกอบขยายคาโมเมนตดัดรอบแกนหลักและแกนรอง = 1.00 จงประมาณคาหนวยแรงอัดสูงสุดที่ชิ้นสวนนี้สามารถรับได กําหนดให Fa = 1000 กก./
ซม.2

คําตอบ 1 : fa = 150 กก./ ซม.2


คําตอบ 2 : fa = 200 กก./ ซม.2
คําตอบ 3 : fa = 300 กก./ ซม.2
คําตอบ 4 : fa = 600 กก./ ซม.2

ขอที่ : 258
คาน-เสา ชวงเดียวยาว 4.50 เมตร ปลายทั้งสองขางเปนแบบยึดหมุน มีแรงอัดใชงานกระทําที่ปลายทั้งสองขางๆละเทากับ 50 ตัน และมีโมเมนตดัดใช
งานกระทําที่ปลายขางใดขางหนึ่งอยางเดียว ถาเลือกใชเหล็กรูปพรรณชนิด A36 รูปตัด W 300x94 (A = 120 ซม.2 rx = 13 ซม. Sx = 1360 ซม.3)
จงประมาณคาโมเมนตดัดใชงานสูงสุดที่จะรับได สมมติให E = 2x106 กก./ซม.2 อัตราสวนของ fa/Fa = 0.33 ตัวประกอบขยายคาโมเมนตดัด (amplification
factor) = 1.00 หนวยแรงดัดที่ยอมให Fb = 1500 กก./ซม.2
90 of 130
คําตอบ 1 : 9.0 ตัน-เมตร
คําตอบ 2 : 10.5 ตัน-เมตร
คําตอบ 3 : 12.0 ตัน-เมตร
คําตอบ 4 : 13.5 ตัน-เมตร

ขอที่ : 259
คานชวงเดี่ยวธรรมดา รับน้ําหนักแบบจุดซึ่งกระทําบนหลังคานและมีแนวเอียงกับแกนหลักของคาน ฉะนั้น
คําตอบ 1 : คานตองรับโมเมนตดัดรอบแกนหลัก และโมเมนตบิด
คําตอบ 2 : คานตองรับโมเมนตดัดรอบแกนหลัก และรอบแกนรอง
คําตอบ 3 : คานตองรับโมเมนตดัดรอบแกนรอง และโมเมนตบิด
คําตอบ 4 : คานตองรับโมเมนตดัดรอบแกนหลักและรอบแกนรอง รวมทั้งโมเมนตบิด

ขอที่ : 260
คานชวงเดี่ยวธรรมดา รับน้ําหนักแบบจุดซึ่งกระทําผานศูนยกลางแรงเฉือน (shear center) แตมีแนวเอียงกับแกนหลักของคาน ฉะนั้น
คําตอบ 1 : คานตองรับโมเมนตดัดรอบแกนหลัก และโมเมนตบิด
คําตอบ 2 : คานตองรับโมเมนตดัดรอบแกนหลัก และรอบแกนรอง
คําตอบ 3 : คานตองรับโมเมนตดัดรอบแกนรอง และโมเมนตบิด
คําตอบ 4 : คานตองรับโมเมนตดัดรอบแกนหลักและรอบแกนรอง รวมทั้งโมเมนตบิด

ขอที่ : 261
คานชวงเดี่ยวธรรมดา ยาว 5.00 เมตร รับน้ําหนักใชงานแบบแผสม่ําเสมอตลอดความยาวคานในแนวดิ่ง = 500 กก./เมตร (รวมน้ําหนักคานแลว) ซึ่งกระทําผาน
ศูนยกลางแรงเฉือน (shear center) และรับน้ําหนักแบบจุด = 1 ตัน ซึ่งกระทําผานศูนยกลางแรงเฉือนเชนกัน แตน้ําหนักแบบจุดนี้มีแนวเอียงโดยที่อัตราสวน
ระหวางแนวตั้งตอแนวนอน = 2 : 1 จงประมาณคาโมเมนตดัดใชงานที่คานนี้ตองรับ

คําตอบ 1 : Mx = 1120 กก.-เมตร My = 2120 กก.-เมตร


คําตอบ 2 : Mx = 1565 กก.-เมตร My = 1680 กก.-เมตร
คําตอบ 3 : Mx = 2120 กก.-เมตร My = 1120 กก.-เมตร
คําตอบ 4 : Mx = 2680 กก.-เมตร My = 560 กก.-เมตร

ขอที่ : 262
คานชวงเดี่ยวธรรมดาทําดวยเหล็กชนิด A36 ขนาด W 300x36.7 (Sx = 481 ซม.3 Sy = 68 ซม.3)ตองรับโมเมนตดัดใชงานสองทาง จงประมาณคาโมเมนตดัด
ใชงาน My สูงสุด ที่คานนี้สามารถรับได สมมติให fbx/Fbx = 0.65 91 of 130
คําตอบ 1 : My = 360 กก.-เมตร
คําตอบ 2 : My = 450 กก.-เมตร
คําตอบ 3 : My = 830 กก.-เมตร
คําตอบ 4 : My = 2525 กก.-เมตร

ขอที่ : 263
แปชวงเดี่ยวธรรมดาทําดวยเหล็กชนิด A36 ขนาด I 100x12.9 (Sx=56 ซม.3 Sy=12.6 ซม.3) วางอยูบนจันทันของโครงหลังคา ซึ่งโครงหลังคาหางกันชวงละ
5.00 เมตร ถาวิเคราะหไดวาแปเหล็กนี้ตองรับโมเมนตดัดใชงานสองทาง คือ Mx= 300 กก.-เมตร และ My = 100 กก.-เมตร จงตรวจสอบความปลอดภัยของ
แปนี้โดยใชสมการ interaction ตามมาตรฐานกําหนด ทั้งนี้ สมมติใหหนวยแรง Fbx ของแปนี้ = 1300 กก./ซม.2

คําตอบ 1 : จากสมการ interaction ตามมาตรฐานกําหนด ไดคานอยกวาหนึ่งเล็กนอย


คําตอบ 2 : จากสมการ interaction ตามมาตรฐานกําหนด ไดคาพอดีเทากับหนึ่ง
คําตอบ 3 : จากสมการ interaction ตามมาตรฐานกําหนด ไดคามากกวาหนึ่งเล็กนอย พออนุโลมใชได
คําตอบ 4 : จากสมการ interaction ตามมาตรฐานกําหนด ไดคานอยกวาหนึ่งมาก ควรเลือกใชรูปตัดใหม

ขอที่ : 264
วิธีลดปญหาการโกงของคานไมทางดานขาง (Lateral Deflection) คือ
คําตอบ 1 : ลดความลึกของคานไม
คําตอบ 2 : ใสค้ํายันทางขางเปนระยะ ๆ
คําตอบ 3 : ลดความกวางของหนาไม
คําตอบ 4 : ไมมีขอใด แกปญหานี้ได

ขอที่ : 265
คานไมประกอบหนาตัดรูปไอ ซึ่งประกอบจากไมขนาด 2 x 6 นิ้ว 3-ชิ้น-และใชตะปูเปนอุปกรณยึดไมทั้งสามชิ้นเขาดวยกัน ตะปูใชรับแรงใดตอไปนี้
คําตอบ 1 : แรงดึงระหวางชิ้นไมของคาน
คําตอบ 2 : แรงอัดระหวางชิ้นไมของคาน
คําตอบ 3 : แรงเฉือนระหวางชิ้นไมของคาน
คําตอบ 4 : ไมรับแรงใด

ขอที่ : 266
92 of 130
คานเหล็กซึ่งเปนเหล็กโครงสราง A36 เมื่อทําการตรวจสอบแลวพบวาเปนหนาตัดอัดแนนและมีค้ํายันดานขางเพียงพอ ตองรับโมเมนตกระทําเทากับ 18000
kg-m ทานจะใชหนาตัดขนาดเทาไหรจึงจะปลอดภัยและประหยัดที่สุด ตามวิธี ASD
คําตอบ 1 : W250 x 72.4, Sx = 867 ซม.3
คําตอบ 2 : W300 x 94, Sx = 1360 ซม.3
คําตอบ 3 : W350 x 49.6, Sx = 775 ซม.3
คําตอบ 4 : W400 x 66, Sx = 1190 ซม.3

ขอที่ : 267
คานเหล็กโครงสรางชนิด A36 เปนหนาตัดอัดแนน ปกรับแรงอัดมีคํายันเพียงพอ หนาตัดคานนี้ มีคา Sx = 1670 ซม.3 ถามวาคานนี้จะสามารถรับโมเมนตสูงสุด
ไดเทาไหร ตามวิธี ASD
คําตอบ 1 : 23545 kg-m
คําตอบ 2 : 25050 kg-m
คําตอบ 3 : 27555 kg-m
คําตอบ 4 : 28835 kg-m

ขอที่ : 268
คานเหล็กรับแรงเฉือนขนาด 35000 kg หนวยแรงเฉือนที่ยอมใหของหนาตัดคานนี้เทากับ 0.4Fy ถามวาคานเหล็กนี้จะสามารถรับแรงเฉือนไดอยางปลอดภัยหรือ
ไม และแรงเฉือนที่ยอมใหมีขนาดเทาไร เมื่อ Fy = 2500 ksc d = 300 มม. bf = 300 มม. tw = 10 มม. tf = 15 มม. A = 119.8 ซม.2 ตามวิธี ASD

คําตอบ 1 : ปลอดภัย และ V = 119800 kg


คําตอบ 2 : ปลอดภัย และ V = 52000 kg
คําตอบ 3 : ไมปลอดภัย และ V = 45000 kg
คําตอบ 4 : ไมปลอดภัย และ V = 30000 kg

ขอที่ : 269
ขอใดไมใชหนาที่ของเหล็กเสริมขางคาน Stiffenersของคานเหล็กประกอบ
คําตอบ 1 : เพื่อปองกันการโกงงอ (Buckling) ของเหล็กปกคาน (Flange)
คําตอบ 2 : เพื่อปองกันการโกงงอ (Buckling) ของเหล็กแผนตั้ง (Web)
คําตอบ 3 : เพื่อเพิ่มความสามารถในการรับแรงของจุดรองรับ (Support)
คําตอบ 4 : เพื่อรองรับและกระจายน้ําหนักแบบจุด (Point Load) ลงบนตัวคาน

ขอที่ : 270 93 of 130


หนาที่สําคัญของเหล็กเสริมขางคานแบบไมรับแรงกด (Intermediate stiffeners) ในคานเหล็กประกอบคือ
คําตอบ 1 : เพื่อปองกันการโกงงอ (Buckling) ของเหล็กปกคาน (Flange)
คําตอบ 2 : เพื่อปองกันการโกงงอ (Buckling) ของเหล็กแผนตั้ง (Web)
คําตอบ 3 : เพื่อเพิ่มความสามารถในการรับแรงเฉือนของเหล็กแผนตั้ง (web)
คําตอบ 4 : เพื่อรองรับและกระจายน้ําหนักแบบจุด (Point Load)

ขอที่ : 271
ขอใดไมใชลักษณะการวิบัติของคานเหล็ก
คําตอบ 1 : การบิดและโกงตัวทางขาง
คําตอบ 2 : การโกงเดาะบริเวณปกดานที่รับแรงอัด
คําตอบ 3 : การโกงเดาะบริเวณปกดานที่รับแรงดึง
คําตอบ 4 : การโกงเดาะบริเวณแผนตั้งที่รับแรงอัด

ขอที่ : 272
เสาประกอบ แบบ Solid core ดังรูป เสาแกน 4 นิ้ว x 4 นิ้ว (ไมไส)
ไมปดรอบขนาด 2 นิ้ว x 6 นิ้ว (ไมไส) ถาเสานี้มีปลายทั้งสองเปนแบบยึดหมุนยาวเทากับ 3.0 ม.
ใหหากําลังรับแรงอัดปลอดภัยของเสาประกอบตนนี้
สมมติหนวยแรงอัดขนานเสี้ยนที่ยอมให = 90 ksc
และใหตัวคูณประกอบสําหรับเสาประกอบตนนี้เทากับ 0.71

คําตอบ 1 : 12 ตัน
คําตอบ 2 : 22 ตัน
คําตอบ 3 : 32 ตัน
คําตอบ 4 : ไมมีคําตอบที่ถูก 94 of 130
ขอที่ : 273
จงคํานวณหาความกวางของแผนเหล็กซึ่งหนา 10 มม.ที่ใชเชื่อมเสริมปกคาน W 300x87 ทั้งสองดาน เพื่อใหสามารถรับกําลังดัดไดเทากับคาน W350x131
และเหล็กทั้งสองชนิดเปนเหล็ก ASTM A36

คําตอบ 1 : 30 cm.
คําตอบ 2 : 32.5 cm.
คําตอบ 3 : 35 cm.
คําตอบ 4 : 37.5 cm.

ขอที่ : 274
ในการออกแบบคานเหล็กประกอบขนาดใหญ (Plate Girder) เพื่อตานทานแรงกดแบบจุดที่กระทํา จะตองทําอยางไร
คําตอบ 1 : เสริมเหล็กปกบน
คําตอบ 2 : เสริมเหล็กปกลาง
คําตอบ 3 : เสริมเหล็กขางคานแบบ bearing stiffener
คําตอบ 4 : เสริมเหล็กขางคานแบบ non-bearing stiffener

ขอที่ : 275
ในการออกแบบคานเหล็กประกอบขนาดใหญ (Plate Girder) กรณีจํากัดความลึก จะตองทําอยางไร
คําตอบ 1 : เสริมเหล็กปกบนและลาง
คําตอบ 2 : เสริมเหล็กแผนตั้ง
คําตอบ 3 : เสริมเหล็กขางคานเปนระยะ ๆ
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

95 of 130
ขอที่ : 276
หนวยแรงกดที่กระทําตอเหล็กเสริมขางคานของคานเหล็กประกอบขนาดใหญตามวิธี AISC/ASD ตองมีคาไมเกินเทาใด

คําตอบ 1 : 0.50Fy
คําตอบ 2 : 0.60Fy
คําตอบ 3 : 0.70Fy
คําตอบ 4 : 0.90Fy

ขอที่ : 277
พฤติกรรมสมมุติที่ใหเหล็กแผนตั้งรับเฉพาะแรงดึงในแนวทแยงภายหลังการโกงงอ เรียกวา
คําตอบ 1 : Compression field action
คําตอบ 2 : Tension field action
คําตอบ 3 : Torsion field action
คําตอบ 4 : Bending field action

ขอที่ : 278
จุดประสงคของการเสริมเหล็กขางคานแบบไมรับแรงกด (non-bearing stiffener) คือ
คําตอบ 1 : เพิ่มสติฟเนสใหกับคาน ชวยลดการโกงตัว
คําตอบ 2 : เพิ่มกําลังรับโมเมนตใหมากขึ้น
คําตอบ 3 : เพิ่มกําลังรับแรงเฉือนใหมากขึ้น
คําตอบ 4 : เพิ่มกําลังรับแรงกดใหมากขึ้น

ขอที่ : 279

ในการออกแบบคานเหล็กประกอบธรรมดา (built-up beams) เพื่อรับโมเมนตดัด M อาจประมาณเนื้อที่หนาตัดของแผนเหล็กปกคาน (A f) แตละดาน ตามวิธี


ASD โดยพิจารณาจาก (ให Fb เปนหนวยแรงดัดที่ยอมให) 96 of 130
คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 280

ในการตอแผนเหล็กปกคานกับเหล็กฉากปกคาน ถาแตละขางของปกคานใชตัวยึด 2 ตัว ให R เปนกําลังรับแรงเฉือนของตัวยึดหนึ่งตัว หากหนวยแรงเฉือนใน


97 of 130
แนวนอน = VQ/I กก./ซม. ดังนั้น ระยะหางของตัวยึดตลอดความยาว คือ
คําตอบ 1 : 2RI/VQ
คําตอบ 2 : RI/VQ
คําตอบ 3 : RI/2VQ
คําตอบ 4 : 4RI/VQ

ขอที่ : 281
ในการตอเหล็กแผนตั้งกับเหล็กฉากปกคาน โดยใชตัวยึดทุกระยะ s ดังรูป ถาน้ําหนักแผบนปกคาน = w กก./ซม. และให R เปนกําลังรับแรงเฉือนของตัวยึดหนึ่ง
ตัว ดังนั้น ระยะ s เทากับ

คําตอบ 1 :

98 of 130
คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 282
คานชวงเดี่ยวธรรมดายาว 1.80 เมตร ประกอบขึ้นจากไม 3 แผน (แตละแผนมีขนาด 5x10 ซม.) และตอยึดกันดวยกาว ซึ่งหนวยแรงเฉือนปลอดภัยของกาวเทา
กับ 3.5 กก./ตร.ซม. จงหาแรงแบบจุด P ที่ปลอดภัยซึ่งกระทําที่กึ่งกลางชวงคาน (ไมคิดน้ําหนักของคาน)

คําตอบ 1 : P = 850 กก.


คําตอบ 2 : P = 825 กก.
คําตอบ 3 : P = 800 กก.
คําตอบ 4 : P = 785 กก.

ขอที่ : 283 99 of 130


คานชวงเดี่ยวธรรมดายาว 1.80 เมตร รับแรงแบบจุด P กระทําที่กึ่งกลางชวงคาน ถาคานนี้มีรูปตัดเปนกลองสี่เหลี่ยมซึ่งประกอบขึ้นจากไมและยึดติดกันดวยตะปู
เกลียวดังแสดง ถาใหหนวยแรงดัดที่ยอมใหเทากับ 70 กก./ตร.ซม. แรงเฉือนที่ยอมใหของตะปูเกลียวแตละตัวเทากับ 280 กก. จงหาระยะหาง e ของตะปูเกลียว
ที่ตองใชตามแนวยาวของคาน

คําตอบ 1 : ระยะหาง e = 16 ซม.


คําตอบ 2 : ระยะหาง e = 18 ซม.
คําตอบ 3 : ระยะหาง e = 20 ซม.
คําตอบ 4 : ระยะหาง e = 22 ซม.

ขอที่ : 284

ถาหนาตัดของคานประกอบดวยไมแปรรูป A สี่เหลี่ยมผืนผาขนาด 5x10 ซม. และมีแผนไมอัด B ขนาด 1.2x25 ซม. ประกบติดทั้งสองขางของคานไมแปรรูปดัง


แสดง จงหากําลังตานโมเมนตดัดปลอดภัย กําหนดใหหนวยแรงใชงานปลอดภัยของไม A = 120 กก./ตร.ซม. EA= 8x104 กก./ตร.ซม. และหนวยแรงใชงาน
ปลอดภัยของไม B = 140 กก./ตร.ซม. EB= 1x104 กก./ตร.ซม. 100 of 130
คําตอบ 1 : M = 1265 กก.-เมตร
คําตอบ 2 : M = 1300 กก.-เมตร
คําตอบ 3 : M = 1355 กก.-เมตร
คําตอบ 4 : M = 1400 กก.-เมตร

ขอที่ : 285

คานไมประกอบรูปกลองกลวงชวงเดียวธรรมดายาว 5.00 เมตร มีขนาดหนาตัดคานทั้งหมดเทากับ 6"x10" ซึ่งประกอบขึ้นจากไมขนาด 2"x6" ไมไส สี่ทอน


โดยวางทางตั้ง 2 ทอนใหมีชองวาง = 2" (จะไดความกวางทั้งหมด = 6") แลวปดดานบนและดานลางดวยไมแผนที่เหลือ (จะไดความลึกทั้งหมด = 10") คาน
ไมประกอบรูปกลองนี้ตอยึดกันดวยตะปู หากคานประกอบนี้รับน้ําหนักบรรทุกแบบแผสม่ําเสมอ (รวมน้ําหนักของคานแลว) = 500 กก./ม. จงหาระยะหางอยาง
101 of 130
นอยของตะปูที่ตองใชตลอดความยาวคาน กําหนดใหตะปูมีแรงตานทางขางตัวละ 150 กก.
คําตอบ 1 : 5.75 ซม.
คําตอบ 2 : 7.50 ซม.
คําตอบ 3 : 11.50 ซม.
คําตอบ 4 : 12.50 ซม.

ขอที่ : 286
ถาคานประกอบกลวง ประกอบดวยไมแปรรูปขนาด 5x10 ซม. จํานวน 2 ชิ้นที่ดานบนและดานลาง และมีแผนไมอัดกวาง 25 ซม. ประกบติดทั้งสองขางของไม
แปรรูป 2 ชิ้นดังกลาว ซึ่งจะไดรูปตัดกลวงขนาด 10x15 ซม. ถาคานประกอบกลวงนี้ตอยึดกันดวยกาวสังเคราะหอยางดี สมมติวาคานประกอบนี้ตองรับโมเมนต
ดัดปลอดภัย = 1250 กก.- เมตร. จงประมาณความหนาอยางนอยของแผนไมอัดที่ตองใชประกบติดดานขางไมแปรรูป กําหนดให หนวยแรงดัดใชงานของไมแปร
รูป = 120 กก./ซม.2 และคา E = 8x104 กก./ซม.2 สวนแผนไมอัดมีหนวยแรงดัดใชงาน = 140 กก./ซม.2 และคา E = 1x105 กก./ซม.2

คําตอบ 1 : 24 มม.
102 of 130
คําตอบ 2 : 20 มม.
คําตอบ 3 : 12 มม.
คําตอบ 4 : 10 มม.

ขอที่ : 287
การนําเหล็กเสริมขางคานแบบไมรับแรงกด (intermediate stiffeners) มาใชเพิ่มในคานเหล็กรูปพรรณ หรือในคานเหล็กประกอบ (plate girders) ซึ่งมีเหล็ก
เสริมขางคานแบบรับแรงกดอยูแลว โดยมีขนาดตามมาตรฐานกําหนด มีจุดประสงคเพื่อใหคานนั้น
คําตอบ 1 : รับโมเมนตดัดไดมากขึ้น
คําตอบ 2 : รับแรงเฉือนไดมากขึ้น
คําตอบ 3 : โกงตัวนอยลง
คําตอบ 4 : รับโมเมนตดัดและโมเนตบิดไดมากขึ้น

ขอที่ : 288
เหล็กเสริมขางคานแบบไมรับแรงกด (intermediate stiffeners) ที่นํามาใชในคานเหล็กประกอบ (plate girders) ชวงในๆ โดยมีขนาดตามมาตรฐานกําหนด
หากนําพฤติกรรมของ Tension Field Action มาพิจารณาดวย จะพบวา คานเหล็กประกอบมีกําลังตานทานแรงเฉือน
คําตอบ 1 : ลดลง
คําตอบ 2 : เทาเดิม
คําตอบ 3 : มากขึ้น
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูกตอง

ขอที่ : 289
การนําเหล็กเสริมขางคานแบบรับแรงกด (bearing stiffeners) มาใชในคานเหล็กรูปพรรณ หรือคานเหล็กประกอบ (plate girders) โดยมีขนาดตามมาตรฐาน
กําหนด มีจุดประสงคเพื่อใหคานนั้น
คําตอบ 1 : รับโมเมนตดัดไดมากขึ้น
คําตอบ 2 : รับแรงเฉือนไดมากขึ้น
คําตอบ 3 : โกงตัวนอยลง
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูกตอง

ขอที่ : 290
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ (plate girders) มีรูปตัดตัว W ประกอบดวยแผนเหล็กปกคานขนาด 15x450 มม. ที่แตละดาน และเหล็กแผนตั้งขนาด 10x1700
มม. ซึ่งทําดวยเหล็กชนิด A36 และยึดตอกันโดยการเชื่อม จงประมาณคาโมเมนตดัดใชงานสูงสุดของคานนี้ สมมติให คา Rpg = 1 และ Fb = 1400 กก./ซม.2

คําตอบ 1 : 200 ตัน-เมตร 103 of 130


คําตอบ 2 : 225 ตัน-เมตร
คําตอบ 3 : 250 ตัน-เมตร
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 291
ถา Plate Girder ประกอบดวยแผนเหล็กปกคานแตละดานขนาด 40x400 มม. และเหล็กแผนตั้ง 1 แผนขนาดความลึกเทากับ 1440 มม. ตอกันโดยการเชื่อม
ถาโมเมนตดัดใชงานสูงสุดที่ plate girder สามารถรับได เทากับ 385 ตัน-เมตร จงหาความหนาของเหล็กแผนตั้งที่ตองใช สมมติวา Rpg = 1 และ Fb = 1500
กก./ซม.2
คําตอบ 1 : 6 มม.
คําตอบ 2 : 8 มม.
คําตอบ 3 : 10 มม.
คําตอบ 4 : 12 มม.

ขอที่ : 292
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ(plate girders)ยาวมากมีรูปตัดตัว W ประกอบดวยแผนเหล็กปกคานขนาด 15x450 มม. ที่แตละดาน และเหล็กแผนตั้งขนาด
10x1700 มม. ซึ่งทําดวยเหล็กชนิด A36 และยึดตอกันโดยการเชื่อม ถาคานเหล็กประกอบนี้รับน้ําหนักแผใชงานสม่ําเสมอและไมใช intermediate stiffener
เลย จงประมาณคาแรงเฉือนใชงานสูงสุดที่ plate girder สามารถรับได โดยอาศัยคาหนวยแรงเฉือนใชงานที่กําหนดไวในตารางขางลางนี้

คําตอบ 1 : 30 ตัน
คําตอบ 2 : 33 ตัน
คําตอบ 3 : 38 ตัน
คําตอบ 4 : 40 ตัน
104 of 130
ขอที่ : 293
ถาตองการให plate girder ซึ่งประกอบดวยแผนเหล็กปกคานแตละดานขนาด 40x400 มม. และเหล็กแผนตั้ง 1 แผนขนาด 8x1440 มม. ตอกันโดยการเชื่อม
รับแรงเฉือนใชงานที่ปลายคานเทากับ 50 ตัน จงใชตารางขางลางนี้ประมาณตําแหนงของ intermediate stiffener ตัวแรกวาจะอยูหางจากปลายคานไดมากที่
สุดเทาไร

คําตอบ 1 : 125 ซม.


คําตอบ 2 : 120 ซม.
คําตอบ 3 : 110 ซม.
คําตอบ 4 : 105 ซม.

ขอที่ : 294
Plate Girder ประกอบดวยแผนเหล็กปกคานแตละดานขนาด 40x400 มม. และเหล็กแผนตั้ง 1 แผนขนาด 8x1440 มม. ตอกันโดยการเชื่อม แรงเฉือนใชงานที่
ปลายคานมีคาเทากับ 50 ตัน

ถาพิจารณาให intermediate stiffener ตัวแรกอยูหางจากปลายคานเปนระยะประมาณ 1 เมตร นั่นคือ อัตราสวน a/h มีคาประมาณ 0.7 จงประมาณเนื้อที่หนาตัด
อยางนอย (min Ast) ของ intermediate stiffener ตัวนี้ สมมติใช intermediate stiffener เปนแบบคู (double plate) เหล็กชนิด A36 และใหคา Cv = 0.57

สูตรคํานวณ
คําตอบ 1 : 18.0 ซม.2
คําตอบ 2 : 13.5 ซม.2
คําตอบ 3 : 7.5 ซม.2
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก 105 of 130
ขอที่ : 295
Plate Girder ชวงเดี่ยวยาว 20 เมตร รับน้ําหนักบรรทุกใชงานแบบแผสม่ําเสมอเทากับ 3 ตัน/เมตร (รวมน้ําหนักคานแลว) และรับน้ําหนักบรรทุกใชงานแบบจุด
เทากับ 20 ตัน หางจากจุดรองรับแตละขางเปนระยะเทากับ 7.00 เมตร

ถา Plate Girder ประกอบดวยแผนเหล็กปกคานแตละดานขนาด 40x400 มม. และเหล็กแผนตั้ง 1 แผนขนาด 8x1440 มม. ตอกันโดยการเชื่อม
และมี bearing stiffener ตรงจุดที่รับน้ําหนักแบบจุด จงใชตารางขางลางนี้หาระยะของ intermediate stiffener ที่ตองใชระหวางจุดที่รับแรงแบบ
จุดตรงบริเวณกลางคาน

คําตอบ 1 : ใชทุกระยะ 3 เมตร


คําตอบ 2 : ใชทุกระยะ 2 เมตร
คําตอบ 3 : ใชทุกระยะ 1.5 เมตร
106 of 130
คําตอบ 4 : ไมตองใชเลย เพราะเหล็กแผนตั้งมีกําลังตานแรงเฉือนพอเพียง

ขอที่ : 296
Plate Girder ประกอบดวยแผนเหล็กปกคานแตละดานขนาด 40x400 มม. และเหล็กแผนตั้ง 1 แผนขนาด 8x1440 มม. ตอกันโดยการเชื่อม จงประมาณคา
เนื้อที่หนาตัดอยางนอย (min Apb) ของ bearing stiffener ที่ตองการตรงปลายคาน สมมติใหแรงปฏิกิริยาที่ปลายคานเทากับ 50 ตัน และเหล็กชนิด A36

คําตอบ 1 : 25.0 ซม.2


คําตอบ 2 : 22.5 ซม.2
คําตอบ 3 : 22.0 ซม.2
คําตอบ 4 : 18.5 ซม.2

ขอที่ : 297
Plate Girder ทําดวยเหล็กชนิด A36 ประกอบดวยแผนเหล็กปกคานแตละดานขนาด 40x400 มม. และเหล็กแผนตั้ง 1 แผนขนาด 8x1440 มม. ตอกันโดยการ
เชื่อม และมี bearing stiffener ตรงจุดที่รับน้ําหนักแบบจุด

ถาจุดที่รับแรงแบบจุดตรงบริเวณกลางคานใชแผนเหล็ก 1 คู ขนาดแผนละ 10x150 มม. เปน bearing stiffener แตบากตรงมุมออกไป 1.5 ซม. เผื่อสําหรับการ
เชื่อมตอ ดังนั้น จงประมาณกําลังรับแรงกดใชงานของ bearing stiffener นี้

คําตอบ 1 : 60.5 ตัน


คําตอบ 2 : 64.5 ตัน
107 of 130
คําตอบ 3 : 67.5 ตัน
คําตอบ 4 : 70.5 ตัน

ขอที่ : 298
Plate Girder ทําดวยเหล็กชนิด A36 ประกอบดวยแผนเหล็กปกคานแตละดานขนาด 50x350 มม. และเหล็กแผนตั้ง 1 แผนขนาด 10x1700 มม. ตอกันโดย
การเชื่อม และมี bearing stiffener ขนาด 12x150 มม. 1 คู ตรงบริเวณกลางคานที่รับน้ําหนักแบบจุด ตามขอกําหนดมาตรฐานยอมใหตรวจสอบกําลังรับแรงกด
ตรงบริเวณนี้โดยพิจารณาวาเนื้อที่สวนหนึ่งของแผนปกคานรวมกับเนื้อที่ของ bearing stiffener เสมือนเปนเนื้อที่หนาตัดเสาที่รับแรงอัดตามแนวแกน โดยมี
อัตราสวนความชะลูดเทากับ KL/r ฉะนั้น จงหาคา KL/r สําหรับกรณีนี้
คําตอบ 1 : 17
คําตอบ 2 : 19
คําตอบ 3 : 21
คําตอบ 4 : 25

ขอที่ : 299
อุปกรณยึดไมชนิดใดที่ใชรับไดทั้งแรงดานขางและแรงถอน
คําตอบ 1 : แหวนยึด
คําตอบ 2 : ตะปู
คําตอบ 3 : สลักเกลียว
คําตอบ 4 : สลักไม

ขอที่ : 300
อุปกรณยึดไมชนิดใดที่ใชรับแรงดานขางอยางเดียว
คําตอบ 1 : ตะปู
คําตอบ 2 : ตะปูเกลียว
คําตอบ 3 : สลักเกลียว
คําตอบ 4 : ลิ่มเหล็ก

ขอที่ : 301
จงประมาณคาแรงเฉือน 2 ระนาบของสลักเกลียวขนาด 16 mm ถาหนวยแรงเฉือนที่ยอมใหเทากับ 1,470 kg/cm2
คําตอบ 1 : 2,950 kg
คําตอบ 2 : 5,900 kg
คําตอบ 3 : 11,800 kg 108 of 130
คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

ขอที่ : 302
ในการเชื่อมออมปลาย (End return) ใหใชความยาวอยางนอยเทาใด
คําตอบ 1 : 1 เทาขนาดการเชื่อม
คําตอบ 2 : 2 เทาขนาดการเชื่อม
คําตอบ 3 : 3 เทาขนาดการเชื่อม
คําตอบ 4 : 4 เทาขนาดการเชื่อม

ขอที่ : 303
จะตองใชขาเชื่อมขนาดเทาใด เพื่อใหรับแรงดึง 26,000 kg โดยเชื่อมแบบฟลเลทยาวดานละ 20 cm ทั้ง 2 ดาน เมื่อใชลวดเชื่อม E60 (กําลังรับแรงดึงประลัย
ของลวดเชื่อม FEXX เทากับ 4200 ksc)

คําตอบ 1 : 5 mm
คําตอบ 2 : 6 mm
คําตอบ 3 : 7 mm
คําตอบ 4 : 8 mm

ขอที่ : 304
กําหนดให กําลังของรอยเชื่อมเทากับ 450 kg/ความยาว 1 cm ถามีแรงดึงกระทําเทากับ 2000 kg และไมมีการเชื่อมออมปลาย จงหาความยาวทั้งหมดของรอย
เชื่อม
คําตอบ 1 : 3.5 cm
คําตอบ 2 : 4.5 cm
คําตอบ 3 : 5.5 cm
คําตอบ 4 : 6.5 cm

ขอที่ : 305
แรงดึงในองคอาคารของเหล็กฉากเดี่ยวใชเหล็กประกับหนา 6 mm มีคาเทากับ 4000 kg จงหาจํานวนของหมุดย้ําขนาดเสนผานศูนยกลาง 12 mm ชนิด A502
G1 เมื่อหนวยแรงเฉือนที่ยอมใหเทากับ 1225 ksc และหนวยแรงดึงประลัย(Fu) เทากับ 4070 ksc.

คําตอบ 1 : 2 ตัว
คําตอบ 2 : 3 ตัว
คําตอบ 3 : 4 ตัว
109 of 130
คําตอบ 4 : 5 ตัว

ขอที่ : 306
องคอาคารตอโดยใชเหล็กฉากเดี่ยว ขนาด 50 x 50 x 6 mm มีพื้นที่หนาตัดเทากับ 5.64 ตร.ซม. ใชสลักเกลียวแถวเดียวขนาดเสนผานศูนยกลาง 12 mm เผื่อ
รูเจาะ 3 mm ยึดกับเหล็กประกับหนา 6 mm เพียงขาเดียว จงหาพื้นที่หนาตัดสุทธิประสิทธิผลของเหล็กฉาก
คําตอบ 1 : 4.74 ตร.ซม.
คําตอบ 2 : 4.50 ตร.ซม.
คําตอบ 3 : 4.03 ตร.ซม.
คําตอบ 4 : 3.55 ตร.ซม.

ขอที่ : 307
ถาตองการตอองคอาคารไมเพื่อรับแรงดึงเทากับ 3000 kg โดยการตอชนและใชแผนเหล็กประกับขาง จงหา จํานวนของสลักเกลียว สมมติใหสลักเกลียวมีแรง
ตานทานดานขางที่ยอมใหขนานเสี้ยน 450 กก./ตัว (ยังไมรวมผลจากแผนเหล็กประกับ)
คําตอบ 1 : 4 ตัว
คําตอบ 2 : 5 ตัว
คําตอบ 3 : 6 ตัว
คําตอบ 4 : 7 ตัว

ขอที่ : 308
ขอใดมีผลกระทบตอกําลังยึดที่จุดตอของตะปู
คําตอบ 1 : คุณสมบัติของไม, ความชื้นในไม
คําตอบ 2 : ระยะฝงของตะปู
คําตอบ 3 : ขนาดเสนผานศูนยกลางของตะปู
คําตอบ 4 : มีผลกระทบทุกขอ

ขอที่ : 309
แผนเหล็กปะกับดานขางของชิ้นไมจะเพิ่มความสามารถของสลักเกลียวในการรับแรงดานใดมากที่สุด
คําตอบ 1 : แรงขนานเสี้ยน
คําตอบ 2 : แรงที่ทํามุม 30 องศา กับแนวเสี้ยน
คําตอบ 3 : แรงที่ทํามุม 45 องศา กับแนวเสี้ยน
คําตอบ 4 : แรงตั้งฉากเสี้ยน
110 of 130
ขอที่ : 310
ในการเชื่อมเหล็ก วิธีใดสามารถใชเพื่อลดจุดแรงวิกฤต (High Stress Concentration) ได
คําตอบ 1 : ใชลวดเชื่อมขนาดเล็กกวาความหนาของเหล็ก
คําตอบ 2 : การเชื่อมออมปลาย (End Return)
คําตอบ 3 : ไมใชขนาดรอยเชื่อมเกิน 6 ม.ม.
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 311
การวิบัติของรอยตอที่ตอดวยสลักเกลียว แบบใด ที่สามารถแกไขไดโดยเพิ่มจํานวนสลักเกลียว
คําตอบ 1 : การวิบัติโดยแรงดึงที่แผนเหล็ก
คําตอบ 2 : การวิบัติโดยแรงกดที่แผนเหล็ก
คําตอบ 3 : การวิบัติโดยแรงดึง และแรงกดที่แผนเหล็ก
คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

ขอที่ : 312

จงประมาณขนาดของรอยเชื่อมของรอยตอสําหรับฐานรองรับคานดังแสดงในรูป เพื่อรับแรงปฏิกริยา 5 ตัน สมมุติวาฐานรองรับคานมีความแข็งแรงพอ ใชลวด


111 of 130
เชื่อมชนิด E70 และการเชื่อมแบบพอก(fillet weld) ตามขอกําหนดของ AISC(allowable stress design)
คําตอบ 1 : 3 mm
คําตอบ 2 : 4 mm
คําตอบ 3 : 5 mm
คําตอบ 4 : 6 mm

ขอที่ : 313

จงคํานวณหาเนื้อที่หนาตัดสุทธิขององคอาคารรับแรงดึงซึ่งเจาะรูขนาด 24 mm.ดังแสดงในรูป กําหนดใหพื้นที่หนาตัดทั้งหมด(Ag)ของL150x100x12 mm


112 of 130
เทากับ 26.58 cm2
คําตอบ 1 : 20.40 cm2
คําตอบ 2 : 22.80 cm2
คําตอบ 3 : 24.08 cm2
คําตอบ 4 : 25.40 cm2

ขอที่ : 314
ตามมาตรฐาน AISC(1963) กําหนดหนวยแรงเฉือนที่ยอมใหสําหรับรอยเชื่อมแบบพอก(Fillet weld)ของลวดเชื่อม AWS A5.1E60xx เทากับเทาใด
คําตอบ 1 : 1140 ksc
คําตอบ 2 : 1260 ksc
คําตอบ 3 : 1470 ksc
คําตอบ 4 : 1520 ksc

ขอที่ : 315

จงประมาณคาที่ยอมใหของการตอเชื่อม ถาเหล็กที่ใชเปนเหล็ก A36 ลวดเชื่อมเปนชนิด E70 และการเชื่อมเปนการเชื่อมทาบโดยใชขนาดของรอยเชื่อม 12


113 of 130
mm ดังแสดงในรูป
คําตอบ 1 : 19,000 kg
คําตอบ 2 : 28,700 kg
คําตอบ 3 : 38,000 kg
คําตอบ 4 : 48,880 kg

ขอที่ : 316

จากรูปจงคํานวณหาระยะระหวางสลักเกลียว(pitch)ซึ่งจะทําใหเนื้อที่หนาตัดสุทธิเทากับเนื้อที่หนาตัดสุทธิของการเจาะรูขนาดเสนผานศูนยกลาง 19 mm แถว
114 of 130
เดียว โดยกําหนดใหเพิ่มขนาดของรูเจาะเทากับ 3 mm
คําตอบ 1 : 3.53 cm
คําตอบ 2 : 4.83 cm
คําตอบ 3 : 5.43 cm
คําตอบ 4 : 6.63 cm

ขอที่ : 317
การวิบัติของรอยตอ กรณีใดวิบัติที่ตัวยึด
คําตอบ 1 : Block Shear Failure
คําตอบ 2 : Cracking Failure
คําตอบ 3 : Tear out Failure
คําตอบ 4 : Single Shear or Double Shear Failure

ขอที่ : 318

115 of 130
สัญลักษณของการเชื่อมดังรูป หมายถึง
คําตอบ 1 : เชื่อมทาบดานใกล ขนาดรอยเชื่อม 6 mm. เชื่อมยาว 50 mm. เวนระยะ 100 mm.
คําตอบ 2 : เชื่อมทาบดานไกล ขนาดรอยเชื่อม 6 mm. เชื่อมยาว 100 mm. เวนระยะ 50 mm.
คําตอบ 3 : เชื่อมทาบดานใกล ขนาดรอยเชื่อม 6 mm. เชื่อมยาว 100 mm. เวนระยะ 50 mm.
คําตอบ 4 : เชื่อมทาบสลับดาน ขนาดรอยเชื่อม 6 mm. เชื่อมยาว 50 mm. เวนระยะ 100 mm.

ขอที่ : 319
จงหาแรงสูงสุดที่ยอมให(P)ขององคอาคารรับแรงดึงที่ตอทาบเขาดวยกันโดยการเชื่อมทาบดังแสดงในรูป ใหใชขอกําหนดของ AISC กําหนดใหลวดเชื่อมเปน
ชนิด E70 มีหนวยแรงเฉือนที่ยอมให 1040 ksc เชื่อมหนา 10 mm และเหล็ก plate เปนเหล็กชนิด ASTM A36 มีความหนา 12 mm

คําตอบ 1 : 10,800 kg
คําตอบ 2 : 16,800 kg
คําตอบ 3 : 20,800 kg
คําตอบ 4 : 26,800 kg

ขอที่ : 320 116 of 130


จงคํานวณหาความสามารถในการรับแรงดึงของแผนเหล็กขนาด
250 mm x 12 mm ดังแสดงในรูป ถาแผนเหล็กเปนเหล็กชนิด ASTM A36 และหมุดย้ําชนิด A502 เกรด 1และใชขอกําหนดของ AISC กําหนดใหหนวยแรง
เฉือนที่ยอมใหของหมุดย้ําเทากับ 1050 ksc.และหนวยแรงแบกทานที่ยอมใหเทากับ 3400 ksc.

คําตอบ 1 : 12,450 kg
คําตอบ 2 : 17,870 kg
คําตอบ 3 : 24,380 kg
คําตอบ 4 : 26,130 kg

ขอที่ : 321

117 of 130
เมื่อทํารอยตอรับแรงดึงในโครงเหล็ก ดังรูป จงประมาณหนวยแรงเฉือนที่เกิดขึ้นในสลักเกลียว ตามวิธี ASD
คําตอบ 1 : 8830 กก./ซม.2
คําตอบ 2 : 4420 กก./ซม.2
คําตอบ 3 : 2210 กก./ซม.2
คําตอบ 4 : 1105 กก./ซม.2

ขอที่ : 322
เมื่อทํารอยตอรับแรงดึงในโครงสราง ดังรูป จงประมาณหนวยแรงเฉือนที่เกิดขึ้นในสลักเกลียว ตามวิธี LRFD

คําตอบ 1 : 2210 กก./ซม.2


คําตอบ 2 : 2930 กก./ซม.2
คําตอบ 3 : 3200 กก./ซม.2
คําตอบ 4 : 3500 กก./ซม.2

ขอที่ : 323

118 of 130
เมื่อทํารอยตอรับแรงดึงในโครงสรางเหล็ก ดังรูป จงประมาณหนวยแรงกดที่เกิดขึ้นในสลักเกลียว ตามวิธี ASD
คําตอบ 1 : 1303 กก./ซม.2
คําตอบ 2 : 2605 กก./ซม.2
คําตอบ 3 : 3780 กก./ซม.2
คําตอบ 4 : 4135 กก./ซม.2

ขอที่ : 324
เมื่อทํารอยตอรับแรงดึงในโครงสรางเหล็ก ดังรูป จงประมาณหนวยแรงกดที่เกิดขึ้นในสลักเกลียว ตามวิธี LRFD

คําตอบ 1 : 3780 กก./ซม.2


คําตอบ 2 : 3450 กก./ซม.2
คําตอบ 3 : 2605 กก./ซม.2
คําตอบ 4 : 1303 กก./ซม.2

ขอที่ : 325

ในโครงสรางเหล็กถาหนวยแรงเฉือนที่ยอมใหของสลักเกลียว A325-x = 2100 กก./ซม.2 จงประมาณแรงดึงปลอดภัยที่คิดจากหนวยแรงเฉือนของสลักเกลียว


119 of 130
อยางเดียว
คําตอบ 1 : 9500 กก.
คําตอบ 2 : 19000 กก.
คําตอบ 3 : 37200 กก.
คําตอบ 4 : 38000 กก.

ขอที่ : 326
ในโครงสรางเหล็กเมื่อทํารอยตอรับแรงดึง ดังรูป ถาแผนเหล็กเปนชนิด A36 (สมมติ Fy = 2500 กก./ซม.2 Fu = 4050 กก./ซม.2) และทํารูเจาะแบบมาตรฐาน
(standard hole) จงประมาณคาแรงดึงที่คิดจากหนวยแรงกดระหวางแผนเหล็กกับตัวสลักเกลียว

คําตอบ 1 : 18600 กก.


คําตอบ 2 : 37200 กก.
คําตอบ 3 : 62200 กก.
คําตอบ 4 : 74600 กก.

ขอที่ : 327

120 of 130
เมื่อทํารอยตอแบบมีแรงฝด (friction-type connection) ดังรูป จงประมาณคาแรงดึงประลัย ตามวิธี LRFD (ถาแผนเหล็กไมวิบัติจากการครากหรือฉีกขาด)
กําหนดให หนวยแรงเฉือนประลัยของสลักเกลียว A 325-x = 4140 กก./ซม.2

คําตอบ 1 : 21200 กก.


คําตอบ 2 : 56200 กก.
คําตอบ 3 : 75000 กก.
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูกตอง

ขอที่ : 328
ถาตองทํารอยตอที่ปลายคาน รูปตัด W กับชิ้นรองรับ โดยใชสลักเกลียวขนาด 22 มม จํานวน 3 ตัวและทํารูเจาะแบบมาตรฐาน(standard hole) โดยใหขนาดรู
เจาะ = db+2 มม ดังรูป ใหประมาณกําลังรับแรงเฉือนรวมกับแรงดึง (block-shear strength) ตามวิธี ASD (สูตร Tbs = 0.5FuAnt + 0.3FuAnv)

คําตอบ 1 : 25000 กก.


คําตอบ 2 : 21650 กก.
คําตอบ 3 : 21450 กก.
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก
121 of 130
ขอที่ : 329
เมื่อทํารอยเชื่อมตอระหวางเหล็กฉากกับแผนเหล็กประกับ ดังรูป ถาตองการใหศูนยถวงของรอยเชื่อม อยูในแนวเดียวกันกับแรงกระทํา P หากใหกําลังรับแรงของ
รอยเชื่อมตอหนวยความยาว =PW ดังนั้น ระยะเชื่อมที่แตละขางของแผนเหล็กประกับ คือ

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 330

จงหาความยาวทั้งหมดของรอยเชื่อมเพื่อรับแรงดึงใชงาน = 30 ตัน สมมติใชเหล็กชนิด A36 และลวดเชื่อมขนาด 8 มม. ชนิด E70 (FEXX = 4900 กก./ ซม.2) 122 of 130
คําตอบ 1 : 40 ซม.
คําตอบ 2 : 36 ซม.
คําตอบ 3 : 20 ซม.
คําตอบ 4 : 18 ซม.

ขอที่ : 331
จงหาความยาวทั้งหมดของรอยเชื่อมเพื่อรับแรงดึงประลัย = 45 ตัน สมมติใชเหล็กชนิด A36 และลวดเชื่อมขนาด 8 มม. ชนิด E70 (FEXX = 4900 กก./ ซม.2)

คําตอบ 1 : 40 ซม.
คําตอบ 2 : 36 ซม. 123 of 130
คําตอบ 3 : 20 ซม.
คําตอบ 4 : 18 ซม.

ขอที่ : 332
ในการตอคานกับเสา ถาใชเหล็กฉาก 1 คูชนิด A36 ยาว = 25 ซม. เพื่อชวยถายแรงปฏิกิริยาใชงานจากคานซึ่งมีคา = 40 ตัน ใหกับเสา แลวเชื่อมติดกับเหล็ก
แผนตั้งและหนาเสา ดังแสดง ใหหาความหนาอยางนอยของเหล็กฉากที่ตองใช

คําตอบ 1 : 7 มม.
คําตอบ 2 : 8 มม.
คําตอบ 3 : 9 มม.
คําตอบ 4 : 10 มม.

ขอที่ : 333

124 of 130
ในการทํารอยตอเชื่อมบาเสา เพื่อถายแรงใชงาน 13 ตัน ซึ่งกระทําหางจากหนาเสา 3 ซม. ดังรูป จงหาหนวยแรงลัพธสูงสุดที่รอยเชื่อมตองรับ
คําตอบ 1 : fr = 433.5 กก./ตร.ซม.
คําตอบ 2 : fr = 511.5 กก./ตร.ซม.
คําตอบ 3 : fr = 670.5 กก./ตร.ซม.
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 334

ในการทํารอยตอเชื่อมบาเสา เพื่อถายแรงใชงาน 13 ตัน ซึ่งกระทําหางจากหนาเสา 3 ซม. ดังรูป ถาใชลวดเชื่อมชนิด E70 (FEXX = 4900 กก./ ซม.2) จง
125 of 130
ประมาณขนาดของขาเชื่อม
คําตอบ 1 : 7 มม.
คําตอบ 2 : 8 มม.
คําตอบ 3 : 9 มม.
คําตอบ 4 : 10 มม.

ขอที่ : 335
ถากําลังตานทานแรงขนานเสี้ยนระหวางไมกับไมของสลักเกลียว = 1170 กก./ตัว กําลังตานทานแรงตั้งฉากเสี้ยนระหวางไมกับไมของสลักเกลียว = 510 กก./
ตัว จงหากําลังตานทานแรงระหวางไมกับไมของสลักเกลียวเมื่อมีแรงกระทําเปนมุม 60 องศากับแนวเสี้ยนไม
คําตอบ 1 : 840 กก./ตัว
คําตอบ 2 : 670 กก./ตัว
คําตอบ 3 : 590 กก./ตัว
คําตอบ 4 : 450 กก./ตัว

ขอที่ : 336

ในการตอปลายคานกับเสารองรับเพื่อถายแรงปฏิกิริยาใชงานเทากับ 26 ตัน โดยใชเหล็กฉาก 1 คูยึดติดกับแผน web ของคานและกับแผน flange ของเสา ถา


126 of 130
ใชเหล็กฉากยาว 22.5 ซม. จงหาความหนาของเหล็กฉากนั้น สมมติใชเหล็กชนิด A36
คําตอบ 1 : 3 มม.
คําตอบ 2 : 6 มม.
คําตอบ 3 : 8 มม.
คําตอบ 4 : 12 มม.

ขอที่ : 337
ในการตอปลายคานกับเสารองรับแบบงาย เพื่อถายแรงปฏิกิริยาใชงานจากคานเทากับ 13 ตัน โดยใชเหล็กฉากขนาด 150x100 มม. ยาว 25 ซม. รองใตคาน
(seated beam connection) โดยยึดขาเหล็กฉากดานยาว 150 มม. ติดกับแผน flange ของเสาดวยตัวยึด เชน สลักเกลียว จงประมาณคาความหนาของเหล็ก
ฉากที่ตองนํามาใช ถาสมมติวา แรงปฏิกิริยาใชงานทําใหขาเหล็กฉากดานสั้นที่ยื่นออกตองรับโมเมนตดัดที่หนาตัดวิกฤตเทากับ 100 กก.-ม

คําตอบ 1 : 9 มม.
คําตอบ 2 : 10 มม.
คําตอบ 3 : 12 มม.
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 338 127 of 130


สําหรับรอยเชื่อมตอทุกประเภท คาหนวยแรงเฉือนใชงานที่ยอมใหของลวดเชื่อมชนิด E70 คือ
คําตอบ 1 : 1260 กก./ซม.2
คําตอบ 2 : 1470 กก./ซม.2
คําตอบ 3 : 1800 กก./ซม.2
คําตอบ 4 : 2100 กก./ซม.2

ขอที่ : 339
ในการตอแผนเหล็กรับแรงกด(bearing stiffener) 2แผน กับเหล็กแผนตั้งของคานประกอบ(plate girder)โดยการเขื่อมทั้งสี่ดานของแผนเหล็กรับแรงกด ถาพบ
วาคาแรงกดทั้งหมดในแนวตั้งอันเนื่องมาจากน้ําหนักใชงานมีคาเทากับ 500 กก./ซม. และกําลังรับแรงของรอยเชื่อมใชงานแตละดานแบบเชื่อมเวนระยะครั้งละ
50 มม. มีคาเทากับ 1335 กก. จงประมาณคาระยะหางจากศูนยถึงศูนยของรอยเชื่อมแตละดานของเหล็กแผนตั้ง (ทางทฤษฎี)

คําตอบ 1 : 10 ซม.
คําตอบ 2 : 20 ซม.
คําตอบ 3 : 25 ซม.
คําตอบ 4 : 30 ซม.
128 of 130
ขอที่ : 340
อุปกรณยึดไมในขอใดรับกําลังทางขาง (แรงเฉือนของจุดตอ) ไดนอยที่สุด
คําตอบ 1 : ตะปู
คําตอบ 2 : ชุดแหวนยึดไม
คําตอบ 3 : ตะปูเกลียว
คําตอบ 4 : สลักเกลียว

ขอที่ : 341
ในการเชื่อมเหล็ก จุดประสงคหลักของการเชื่อมออมปลาย (End Return) คือ
คําตอบ 1 : ลดความยาวของรอยเชื่อม
คําตอบ 2 : ลดจุดแรงวิกฤต (High Stress Concentration)
คําตอบ 3 : ทําใหรอยเชื่อมแลดูสวยงามขึ้น
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 342
ถารอยเชื่อมตองรับแรงดึงได 12 ตัน หากใชรอยเชื่อม 6 มม. ตองเชื่อมยาวทั้งหมดเทาใด (ลวดเชื่อมมีกําลัง 1470 ksc)
คําตอบ 1 : 5 ซม.
คําตอบ 2 : 10 ซม.
คําตอบ 3 : 15 ซม.
คําตอบ 4 : 20 ซม.

ขอที่ : 343
ขนาดใหญที่สุดของขาเชื่อมแบบตอทาบ เทากับความหนาของแผนเหล็กที่หนาไมเกิน 6 มม. สําหรับแผนเหล็กที่หนาเทากับ 6 มม. หรือมากกวา จะมีขนาดของ
ขาเชื่อมเทากับเทาไร
คําตอบ 1 : ความหนาของแผนเหล็ก ลบ 2 มม.
คําตอบ 2 : ความหนาของแผนเหล็ก ลบ 2.5 มม.
คําตอบ 3 : ความหนาของแผนเหล็ก ลบ 3 มม.
คําตอบ 4 : ความหนาของแผนเหล็ก ลบ 4 มม.

ขอที่ : 344
ระยะทาบของแผนเหล็กที่นํามาตอ อยางนอยเทากับ 5 เทาของความหนาของแผนเหล็กที่บางกวา แตตองไมนอยกวากี่มิลลิเมตร 129 of 130
คําตอบ 1 : 20 มม.
คําตอบ 2 : 25 มม.
คําตอบ 3 : 30 มม.
คําตอบ 4 : 40 มม.

130 of 130
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

สาขา : โยธา
วิ
ชา : Reinforced Concrete Design
เนื
อหาวิ
้ ชา : 539 : Fundamental behavior in thrust, flexure, torsion, shear, bond and interaction among these forces

ข
อที

1 : คอนกรี
ตหล
อในที

ตามข
อกํ
าหนด วสท.3408 คอนกรี
ตที
หล
่ อติ
ดกับดิ
น และผิ
วคอนกรี
ตสัมผัส กับดิ
น ตลอดเวลา ให
มี
ระยะหุ
มต่
 าสุ
ํ ดสํ
าหรับเหล็
กเสริ
ม เท
ากับกี

ซม.

1 : 3.0 ซม.
2 : 3.5 ซม.
3 : 5.0 ซม.
4 : 7.5 ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

2 : น้
าหนักบบรรทุ
ํ กจร ของอาคาร ตามข
อบัญญัติ
กทม.พ.ศ.2522 ข
อใด มี
น้
าหนักมากที
ํ สุ
่ด

1 : ห
องเก็
บหนังสื
อของหอสมุ
ดกลาง
2 : ภัตตาคารใหญ
3 : หอประชุมแห
งชาติ
4 : ทีจอดหรื
่ อเก็
บรถยนต
บรรทุ
กเปล
าและรถอื
นๆ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

3 : เหล็
กข
ออ
อย ที
ใช
่ ในประเทศไทย จะมี
คุ
ณสมบัติ
ดี
กว
าเหล็
กกลมอย
างไร

1 : รับแรงดึงไดมากกวา
2 : มีแรงยึดเกาะดีกว

3 : ทั้
งรับแรงดึ
งและมี แรงยึ
ดเกาะได
ดี
กว

4 : ราคาถู กกว

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

4 : คานยื
น cantilever beam เหล็
่ กเสริ
มที
อยู
่ ในคาน เหล็
 กใดเป
น เหล็
กเสริ
มที
สํ
่าคัญที
สุ
่ด

1 : เหล็
กเสริ
มดานล
างสุ
ดของคาน
2 : เหล็
กเสริ
มดานกลางของคาน
3 : เหล็
กเสริ
มดานบนคาน
4 : เหล็
กคอมา

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

5 : การถอดค้
ายัน ใต
ํ ท
องคานยื
น ที
่ มี
่ความยาวมาก ควรจะถอดอย
างไร

1 : ถอดไลจากด านเสาทีรองรับออกไป

2 : ถอดไลจากด านปลายคานยื น เข
่ ามา
3 : ถอดตรงกลางก อนแล
วไล
ออกสองด าน
4 : ถอดอัน เว
น อัน จากด
านในออกไป

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

6 : กํ
าลังอัดคอนกรี
ต เท
ากับ 210 กก./ตร.ซม. ชนิ
ดทรงกระบอก ที
อายุ
่ 28 วัน จะเท
ากับกํ
าลังอัดของคอนกรี
ตชนิ
ดลู
กบาศก
ประมาณเท
าใด

1 : 180 กก./ตร.ซม.
2 : 210 กก./ตร.ซม.
3 : 240 กก./ตร.ซม.
4 : 280 กก./ตร.ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

7 : ถ
ากํ
าหนดให
ใช
คอนกรี
ตกํ
าลังอัดประลัยที

240 กก./ตร.ซม. สํ
าหรับออกแบบในมาตรฐาน ว.ส.ท.จะหมายถึ
งแท
งตัวอย
างคอนกรี
ตรู
ปร
างใด ที
อายุ
่ กี
วัน ?

1 : ชนิ
ดลู
กบาศกขนาด 15 x15x15 ซม. ที
อายุ
่ 14 วัน
2 : ชนิ
ดลู
กบาศกขนาด 15 x15x15 ซม. ที
อายุ
่ 28 วัน
3 : ชนิ
ดทรงกระบอกขนาด 6"x12" ที
อายุ
่ 7 วัน
4 : ชนิ
ดทรงกระบอกขนาด 6"x12" ที
อายุ
่ 28 วัน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

8 : รอยแตกร
าวในคานต
อเนื
องซึ
่ ง ถ
่ ามี
แนวเอี
ยงหรื
อเฉี
ยงทแยง ซึ
งเรี
่ ยกทั่
วไปว
า เกิ
ดจากแรงดึ
งทแยง (diagonal tension) มักจะพบในบริ
เวณใดของคาน

1 : ด
านลางของคาน บริ
เวณกึ
งกลางคาน

2 : ด
านบนของคาน บริเวณกึ
งกลางคาน

3 : ที
ข อบของหัวเสา

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 1/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
4 : ใกล
บริ
เวณโคนเสา ห
างจากเสาประมาณเท
ากับความลึ
กของคาน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

9 : พื
น คสล. กว
้ าง 3.00 ม. ยาว 5.00 ม. รับน้
าหนักจร 350 กก./ตร.ม. หนา 0.15 ม. จะมี
ํ น้
าหนักลงคานด
ํ านยาวเท
าไร (วิ
ธี
WSD)

1 : 710 กก./ม.
2 : 937.2 กก./ม.
3 : 1420 กก./ม.
4 : 1775 กก./ม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ขอที
่10 : พื
น คสล. กว
้ าง 3.00 ม. ยาว 5.00 ม. รับน้
าหนักจร 350 กก./ตร.ม. หนา 0.15 ม. จะมี
ํ น้
าหนักลงคานด
ํ านยาวเท
าไร และใช
เกณฑ
มาตรฐานของ ว.ส.ท.ในการออกแบบ
ธี
(วิ SDM)

1 : 1450 กก./ม.
2 : 1775 กก./ม.
3 : 1099 กก./ม.
4 : 1237.2 กก./ม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที
่11 : เสาเข็มสี
เหลี
่ ยมตัน ขนาด 0.15x0.15x 4.50 ม. มี
่ จะกํ
าลังรับน้
าหนักปลอดภัยของเสาเข็
ํ มเท
าไร เมื
อคํ
่ านวนโดยใช
ความฝ
ดของดิ
น ที
ยอมให
่ ตามข
อบัญญัติ
กทม. ข
อ 67
กํ
าหนดให ต เสาเข็
fc’ของคอนกรี ม = 210 ksc; fc’ของคอนกรี
ต ฐานราก = 180 ksc วิ
ธี
WSD

1 : 1620 กก.
2 : 1890 กก.
3 : 2160 กก.
4 : 17718 กก.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที่12 : การรับแรงในแนวแกนของเสาคอนกรี
ตเสริ
มเหล็
ก ส
วนที
เป
่ น เนื
อคอนกรี
้ ตถู
กกํ
าหนดให
รับความเค
น สู
งสุ
ดไม
เกิ
น กี
เปอร
่ เซ็
น ของความเค
น สู
งสุ
ดที
คอนกรี
่ ตรับไดสํ
าหรับ
การออกแบบด วยวิธี
กํ
าลัง

1 : 60%
2 : 75%
3 : 80%
4 : 85%

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

13 : เหล็
กปลอกในเสาทํ
าหน
าที
อะไร เมื
่ อเสารับแรงในแนวแกน

1 : เพื
อยึ
่ ดเหล็กยืน ไว
ให
อยู ตามตํ
 าแหนงที
ต
่ องการ
2 : เพื
อให
่ ระยะหุม (Covering) ถู
 กตองตามต
องการ
3 : เพื
อช
่ วยเสริมใหเสามี
คุ ณสมบัติเหนี
ยว (ductility)
4 : เพื
อช
่ วยใหเสารับแรงดึ งไดดี
ขึ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

14 : มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
กํ
าลัง (USD)กํ
าหนดให
ใช
หน
วยการยื
ดหดตัวประลัยของคอนกรี
ตมี
ค
าเท
ากับเท
าใด

1 : 0.001 มม./มม.
2 : 0.002 มม./มม.
3 : 0.003 มม./มม.
4 : 0.004 มม./มม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

15 : ฐานรากเดี
ยว (Isolated Footing) มี
่ ความลึ
กประสิ
ทธิ
ผลเท
ากับ d จะเกิ
ดการวิ
บัติ
เนื
องจากโมเมนต
่ ดัดที
บริ
่ เวณใด

1 : บริ
เวณขอบเสาตอม อ
2 : ที
ระยะ d/4 จากขอบเสาตอม
่ อ
3 : ที
ระยะ d/2 จากขอบเสาตอม
่ อ
4 : ที
ระยะ d จากขอบเสาตอม
่ อ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

16 : ฐานรากเดี
ยว (Isolated Footing) มี
่ ความลึ
กประสิ
ทธิ
ผลเท
ากับ d จะเกิ
ดการวิ
บัติ
เนื
องจากแรงเฉื
่ อนทางเดี
ยว(ฺ
Beam Shear) ที
บริ
่ เวณใด

1 : บริ
เวณขอบเสาตอม อ
2 : ที
ระยะ d/4 จากขอบเสาตอม
่ อ
3 : ที
ระยะ d/2 จากขอบเสาตอม
่ อ
4 : ที
ระยะ d จากขอบเสาตอม
่ อ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 2/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

ข
อที

17 : ฐานรากเดี
ยว (Isolated Footing) มี
่ ความลึ
กประสิ
ทธิ
ผลเท
ากับ d จะมี
การวิ
บัติ
เนื
องจากแรงเฉื
่ อนทะลุ
(Punching Shear) ที
บริ
่ เวณใด

1 : บริ
เวณขอบเสาตอม อ
2 : ที
ระยะ d/4 จากขอบเสาตอม
่ อ
3 : ที
ระยะ d/2 จากขอบเสาตอม
่ อ
4 : ที
ระยะ d จากขอบเสาตอม
่ อ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

18 : การจัดน้
าหนักบรรทุ
ํ กจรในคานต
อเนื
อง 3 ช
่ วงเท
าๆกัน และมี
น้
าหนักบรรทุ
ํ กคงที
ของคานเท
่ ากัน ตลอด ข
อใดให
แรงดัดลบมากที
สุ
่ด

1:

2:

3:

4:

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

19 : การจัดน้
าหนักบรรทุ
ํ กจรในคานต
อเนื
องที
่ มี
่ความยาวช
วงเท
ากัน และมี
น้
าหนักบรรทุ
ํ กจรคงที
เท
่ ากัน ตลอดข
อใดให
ผลของแรงดัดบวกมากที
สุ
่ด

1:

2:

3:

4:

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

20 : คอนกรี
ตของคานขนาด 0.20 x 0.50 เมตร สามารถรับแรงเฉื
อนได
เท
าใดตามวิ
ธี
หน
วยแรงใช
งาน (WSD) ถ
า fc’=240 ksc, d = 0.45 เมตร

1 : 2043 kg
2 : 4043 kg
3 : 11084 kg
4 : 18404 kg

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที่21 : ถ
าไม
ทํา “ของอมาตรฐาน” ระยะที ต
่องฝ
งเหล็
กกลมเรี
ยบ (RB 15 มม.) จากหน
าตัดวิ
กฤต (critical section) มี
ค
าประมาณเท
าใด กํ
าหนดให
หน
วยแรงยึ
ดเหนี
ยวที
่ ยอมให
่ u
= 11 กก./ตร.ซม. (สู
ตรคํานวณ L = dbfs /4u)

1 : 40 ซม.
2 : 35 ซม.
3 : 50 ซม.
4 : 30 ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

22 : ข
อความใดต
อไปนี
ที
้มิ
่ใช
มาตรฐานกํ
าหนดของ ว.ส.ท. (หมายเหตุ
d = ความลึ
กประสิ
ทธิ
ผล, d b = ขนาดเส
น ผ
าศู
น ย
กลางของเหล็
กเสริ
ม)

1 : ต
องยื
น เหล็
่ กเสริ
มที
ใช
่ รับโมเมนตดัดให
เลยจากจุดที
ไม
่ ตองการทางทฤษฏีออกไปอี
กอย
างน
อยเทากับ d หรื
อ 12 d b โดยใชคาที
มากกว
่ า
2 : ต
องยื
น เหล็
่ กเสริ
มอย
างนอย 1 ใน 3 ของเหล็
กเสริ
มที
ใช
่ รับโมเมนต
บวกทั้
งหมดในคานช
วงเดี
ยว เลยเข
่ าไปในฐานรองรับเป น ระยะไมน
อยกวา 15 ซม.
3 : ต
องยื
น เหล็
่ กเสริ
มอย
างนอย 1 ใน 4 ของเหล็
กเสริ
มที
ใช
่ รับโมเมนต
บวกทั้
งหมดในคานต
อเนื
อง เลยเข
่ าไปในฐานรองรับเป น ระยะไมน
อยกวา 15 ซม.
4 : ต
องยื
น เหล็
่ กเสริ
มอย
างนอย 1 ใน 3 ของเหล็
กเสริ
มที
ใช
่ รับโมเมนต
ลบทั้
งหมดเลยจากตํ
าแหนงของจุดดัดกลับเปน ระยะไม
นอยกวา d หรื
อ 12 d b หรือ 1/18 ของระยะช
วงว
างของ
คาน โดยใช
ค
าที
มากกว
่ า

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

23 : บัน ไดพาดทางช
วงกว
างกับแม
บัน ไดทั้
งสองข
าง ถ
าให
ช
วงกว
างระหว
างแม
บัน ได = 2.50 เมตร ขั้
น บัน ไดกว
าง = 25 ซม. ส
วนยก = 15 ซม. ความหนาของพื
น บัน ได = 7.5

ซม. น้
าหนักบรรทุ
ํ งาน = 500 กก./ ม.2 จงประมาณค
กจรใช าน้
าหนักบรรทุ
ํ กใช
งานทั้
งหมดในทางราบ

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 3/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1 : 700 กก./ม. 2
2 : 800 กก./ม. 2
3 : 900 กก./ม. 2
4 : 1000 กก./ม. 2

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

24 : บัน ไดพาดทางช
วงกว
างกับแม
บัน ไดทั้
งสองข
าง ถ
าให
ช
วงกว
างระหว
างแม
บัน ได = 2.50 เมตร ขั้
น บัน ไดกว
าง = 30 ซม. ส
วนยก = 15 ซม. ความหนาของพื
น บัน ได = 7.5

ซม. น้
าหนักบรรทุ
ํ งาน = 400 กก./ ม.2 จงประมาณค
กจรใช าน้
าหนักบรรทุ
ํ กใช
งานทั้
งหมดในทางราบ

1 : 600 กก./ม. 2
2 : 700 กก./ม. 2
3 : 800 กก./ม. 2
4 : 900 กก./ม. 2

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

25 : บัน ไดพาดทางช
วงกว
างกับแม
บัน ไดทั้
งสองข
าง ถ
าให
ช
วงกว
างระหว
างแม
บัน ได = 1.50 เมตร ขั้
น บัน ไดกว
าง = 25 ซม. ส
วนยก = 15 ซม. ความหนาของพื
น บัน ได = 7.5

ซม. น้
าหนักบรรทุ
ํ งาน = 400 กก./ม.2 จงประมาณค
กจรใช าน้
าหนักบรรทุ
ํ กประลัยทั้
งหมดในทางราบ กํ
าหนดให
Factored Load = 1.4D + 1.7L

1 : 1000 กก./ม. 2
2 : 1150 กก./ม. 2
3 : 1250 กก./ม. 2
4 : 1500 กก./ม. 2

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

26 : บัน ไดพาดทางช
วงกว
างกับแม
บัน ไดทั้
งสองข
าง ถ
าให
ช
วงกว
างระหว
างแม
บัน ได = 2.50 เมตร ขั้
น บัน ไดกว
าง = 25 ซม. ส
วนยก = 15 ซม. ความหนาของพื
น บัน ได = 7.5

ซม. น้
าหนักบรรทุ
ํ งาน = 500 กก./ ม.2 จงประมาณค
กจรใช าน้
าหนักบรรทุ
ํ กประลัยทั้
งหมดในทางราบ กํ
าหนดให
Factored load = 1.4D + 1.7L

1 : 1150 กก./ม. 2
2 : 1250 กก./ม. 2
3 : 1300 กก./ม. 2
4 : 1400 กก./ม. 2

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที
่27 : คานรู
ปตัดสี
เหลี
่ ยมผื
่ น ผ
าขนาด 0.20x0.50 ม. เสริ
มเหล็
กรับแรงดึ
งอย
างเดี
ยวที
ระยะ d = 0.45 ม. โดยใช
่ As = 7.07 ซม. 2 fc‘ = 100 กก./ซม. 2 และ fy = 2400 กก./ซม. 2

จงประมาณค าโมเมนต
ดัดที
ทาํ
่ ใหคานร
าว (cracking moment) สมมติไม
คิดผลของเหล็
กเสริ
มทีใช

1 : 1650 กก.-เมตร
2 : 1880 กก.-เมตร
3 : 2000 กก.-เมตร
4 : 2080 กก.-เมตร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที
่28 : คานรู
ปตัดสี
เหลี
่ ยมผื
่ น ผ
าขนาด 0.15x0.45 ม. เสริ
มเหล็
กรับแรงดึ
งอย
างเดี
ยวที
ระยะ d = 0.40 ม. โดยใช
่ As = 5.30 ซม. 2 fc‘ = 200 กก./ซม. 2 และ fy = 2400 กก./ซม. 2

จงประมาณค าโมเมนต
ดัดที
ทาํ
่ ใหคานร
าว (cracking moment) สมมติไม
คิดผลของเหล็
กเสริ
มทีใช

1 : 1450 กก.-เมตร
2 : 1550 กก.-เมตร
3 : 1600 กก.-เมตร
4 : 1700 กก.-เมตร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที่
29 : คานรู
ปตัดสี
เหลี
่ ยมผื
่ น ผ
าขนาด 0.20x0.50 ม. เสริ
มเหล็
กรับแรงดึ
งอย
างเดี
ยวทีระยะ d = 0.45 ม. โดยใช
่ As = 5.30 ซม. 2 fc‘ = 100 กก./ซม. 2 และ fy = 2400 กก./ซม. 2

จงใช
วิ
ธีWSD ประมาณกํ าลังรับโมเมนต
ดัดใชงาน สมมติ ให
ตํ
าแหนงแนวแกนสะเทิน kd = 15 ซม.

1 : 2400 กก.-เมตร
2 : 2500 กก.-เมตร
3 : 2650 กก.-เมตร
4 : 2700 กก.-เมตร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที่
30 : คานรู
ปตัดสี
เหลี
่ ยมผื
่ น ผ
าขนาด 0.20x0.50 ม. เสริ
มเหล็
กรับแรงดึ
งอย
างเดี
ยวทีระยะ d = 0.45 ม. โดยใช
่ As = 7.07 ซม. 2 fc‘ = 100 กก./ซม. 2 และ fy = 2400 กก./ซม. 2

จงใช
วิ
ธีWSD ประมาณกํ าลังรับโมเมนต
ดัดใชงาน สมมติ ให
ตํ
าแหนงแนวแกนสะเทิน kd = 15 ซม.

1 : 2650 กก.-เมตร
2 : 2950 กก.-เมตร

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 4/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
3 : 3400 กก.-เมตร
4 : 3550 กก.-เมตร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที่
31 : คานรู
ปตัดสี
เหลี
่ ยมผื
่ น ผ
าขนาด 0.15x0.45 ม. เสริ
มเหล็กรับแรงดึงอยางเดี
ยวที
ระยะ d = 0.39 ม. โดยใช
่ As = 9.36 ซม. 2 fc‘ = 200 กก./ซม. 2 และ fy = 3000 กก./ซม. 2

จงใช
วิ
ธีUSD ประมาณกํ าลังรับโมเมนตดัดประลัย (Mu) สมมติค
า jd = 33.5 ซม.

1 : 8000 กก.-เมตร
2 : 8450 กก.-เมตร
3 : 9400 กก.-เมตร
4 : 9900 กก.-เมตร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที่
32 : คานรู
ปตัดสี
เหลี
่ ยมผื
่ น ผ
าขนาด 0.25x0.60 ม. เสริ
มเหล็กรับแรงดึงอย
างเดี
ยวที
ระยะ d = 0.50 ม. โดยใช
่ As = 12.5 ซม. 2 fc‘ = 250 กก./ซม. 2 และ fy = 4000 กก./ซม. 2

จงใช
วิ
ธีUSD ประมาณกํ าลังรับโมเมนตดัดประลัย (Mu) สมมติค
า jd = 45 ซม.

1 : 19120 กก.-เมตร
2 : 20250 กก.-เมตร
3 : 22500 กก.-เมตร
4 : 24250 กก.-เมตร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที
่33 : คานรู
ปตัดสี
เหลี
่ ยมผื
่ น ผ
าขนาด 0.20x0.50 ม. เสริ
มเหล็
กรับแรงดึ
งอย
างเดี
ยวที As = 36 ซม. 2 fc‘ = 200 กก./ซม. 2 และ fy = 2400 กก./ซม. 2
ระยะ d = 0.45 ม. โดยใช

ตามวิ
ธีUSD พบวา คานนีเป
้ น แบบ

1 : over-reinforced
2 : balanced-reinforcement
3 : under-reinforced
4 : lightly-reinforcement

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที
่34 : คานรู
ปตัดสี
เหลี
่ ยมผื
่ น ผ
าขนาด 0.15x0.35 ม. เสริ
มเหล็
กรับแรงดึ
งอย
างเดี
ยวที
ระยะ d = 0.30 ม. โดยใช
่ As = 6.75 ซม. 2 fc‘ = 150 กก./ซม. 2 และ fy = 2400 กก./ซม. 2
ตามวิ
ธีWSD เมือให
่ n = 11 พบว
า คานนี
เป
้ น แบบ

1 : over-reinforced
2 : balanced-reinforcement
3 : under-reinforced
4 : lightly-reinforcement

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที่
35 : คานรองรับแผน พื
น ช
้ วงภายในทั่
วไปซึ
งหล
่ อเปน เนื
อเดี
้ ยวกัน กับแผ
น พื
น นั้
้ น ถ
าพืน หนา = 10 ซม. ตัวคานกว
้ าง = 15 ซม. ระยะห
างจากศู
น ย
ถึ
งศู
น ย
ของคานข
างเคี
ยงแต
ละ
ข
าง = 4 เมตร และชวงคานยาว = 5 เมตร จงหาความกวางประสิทธิผลของป กคานรู ปตัดตัวที

1 : 1.25 เมตร
2 : 1.50 เมตร
3 : 1.75 เมตร
4 : 2.00 เมตร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

36 : คานรู
ปตัดตัวที
โดดๆ มี
ป
กคานกว
าง = 75 ซม. หนา = 10 ซม. ตัวคานกว
าง = 25 ซม. เสริ
มเหล็
กรับแรงดึ
งอย ยว As = 11.30 ซม. 2 ที
างเดี ความลึ
่ กประสิ
ทธิ
ผล d = 40
ซม. ถ fc = 45 กก./ซม.2 และ fs = 1200 กก./ซม. 2 จงประมาณค
าใช าโมเมนต
ต
านทานปลอดภัยของคานนี

สมมติ
ตํ
าแหน
งแนวแกนสะเทิ
น = 10 ซม.

1 : 4500 กก.-เมตร
2 : 5000 กก.-เมตร
3 : 6000 กก.-เมตร
4 : 6500 กก.-เมตร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

37 : คานรู
ปตัดตัวที
โดดๆ มี
ป
กคานกว
าง = 75 ซม. หนา = 10 ซม. ตัวคานกว
าง = 25 ซม. เสริ
มเหล็
กรับแรงดึ
งอย
างเดี
ยว As ที
ความลึ
่ กประสิ
ทธิ
ผล d = 45 ซม. ถ
าใช
fc‘ =
200 กก./ซม.2 และ fy = 4000 กก./ซม. 2 จงประมาณค
า min As ที
ต
่องใช
ตามมาตรฐานกํ
าหนด

1 : As = 3.0 ซม. 2
2 : As = 4.0 ซม. 2
3 : As = 5.0 ซม. 2
4 : As = 6.0 ซม. 2

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

38 : แผ
น พื
น ช
้ วงเดี
ยวหนา 18 ซม. เสริ
มเหล็
กรับแรงดึ
งอย
างเดี
ยวที
ระยะ d = 15 ซม. โดยใช
่ เหล็
ก9 มม. @12 ซม. (As = 5.30 ซม. 2/เมตร) fc‘ = 150 กก./ซม. 2 และ fy =

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 5/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
2400 กก./ซม.2 จงประมาณค
าโมเมนต
ดัดต
านทานปลอดภัย สมมติ
ให
ตํ
าแหน
งแนวแกนสะเทิ
น kd = 5 ซม.

1 : 748 กก.-เมตร/เมตร
2 : 848 กก.-เมตร/เมตร
3 : 948 กก.-เมตร/เมตร
4 : 1048 กก.-เมตร/เมตร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

39 : ในการออกแบบชิ
น ส
้ วนรับโมเมนต
ดัด ถ
าให
ระยะ b, d มี
ค
าคงที

และให
กํ
าลังจุ
ดครากมี
ค
าคงที

ครั้
น เมื
อให
่ กํ
าลังรับแรงอัดของคอนกรี
ตมี
ค
าเพิ
มขึ
่ น จะพบว
้ า

1 : โมเมนต
ต
านทานมี
ค
าลดลง
2 : โมเมนต
ต
านทานมี
ค
าเท
าเดิ

3 : โมเมนต
ต
านทานมี
ค
าเพิ
มขึ
่ น

4 : แรงเฉื
อนต
านทานมี
ค
าลดลง

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

40 : ในการออกแบบชิ
น ส
้ วนรับโมเมนต
ดัด ถ
าให
ระยะ b, d มี
ค
าคงที

และให
กํ
าลังรับแรงอัดของคอนกรี
ตมี
ค
าคงที

ครั้
น เมื
อให
่ กํ
าลังจุ
ดครากมี
ค
าเพิ
มขึ
่ น จะพบว
้ า

1 : โมเมนต
ต
านทานมี
ค
าลดลง
2 : โมเมนต
ต
านทานมี
ค
าเท
าเดิ

3 : โมเมนต
ต
านทานมี
ค
าเพิ
มขึ
่ น

4 : แรงเฉื
อนต
านทานมี
ค
าลดลง

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที
่41 : ในการออกแบบชิน ส
้ วนรับโมเมนตดัดทีเสริ
่ มเหล็
กรับแรงดึ
ง ถ
าให
ระยะ b, d มี
ค
าคงที

และให
กํ
าลังรับแรงอัดของคอนกรี
ตมี
ค
าคงที

ครั้
น เมื
อกํ
่ าลังจุ
ดครากมี
ค
าเพิ
มขึ
่ น จะ

พบว
าตํ
าแหน งแกนสะเทิ
น ที
หา
่ งจากดานรับแรงอัด มี
ค

1 : มากขึน ตามกํ
้ าลังจุ
ดครากที
เพิ
่ มขึ
่ น

2 : เท
าเดิมตามกําลังจุ
ดครากทีเพิ
่ มขึ
่ น

3 : ลดลงตามกํ าลังจุดครากที
เพิ
่ มขึ
่ น

4 : ไม
มี
ขอใดถูก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

42 : ปริ
มาณอย
างน
อยของเหล็
กเสริ
มทางขวาง (min Av) ในคาน คสล. ตามวิ
ธี
WSD คื

1 : 0.0010 bws ตร.ซม.


2 : 0.0015 bws ตร.ซม.
3 : 0.0020 bws ตร.ซม.
4 : 0.0025 bws ตร.ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที ่
43 : คาน คสล. รู
ปตัดสีเหลี
่ ยมผื
่ น ผ
าขนาด 0.15x0.35 ม. ระยะ d = 0.30 ม. ตามวิ
ธีWSD เมื
อแรงเฉื
่ อน V = Vc จะต
องเสริ
มเหล็
กทางขวางออกไปอี
กเป
น ระยะเท
ากับ d ดัง
นั้
น ถ
าใชเหล็
ก RB 6 มม. (สองขา) จงหาระยะเรี
ยงห
างมากทีสุ
่ ด ตามมาตรฐานกํ าหนด

1 : 25 ซม.
2 : 20 ซม.
3 : 15 ซม.
4 : 5 ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

44 : คานต
อเนื
องช
่ วงในๆ มี
รู
ปตัดสี
เหลี
่ ยมผื
่ น ผ
าขนาด 0.20x0.50 ม. เสริ
มเหล็
กรับแรงดึ
งที
ระยะ d = 0.43 ม. ถ
่ าแรงเฉื
อนที
หน
่ าตัดวิ
กฤตอัน เนื
องมาจากน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กใช
งาน
มี
ค
า = 6800 กก. จงหาระยะเรี
ยงห
างมากที
สุ
่ดของเหล็
กลู
กตั้
ง 9 มม. (สองขา) ซึ
งมี
่ า fy = 2400 กก./ซม.2 สมมติ
ค ว
าคอนกรี
ตมีา fc ‘ = 200 กก./ซม. 2
ค

1 : 20 ซม.
2 : 25 ซม.
3 : 30 ซม.
4 : 40 ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที่45 : คานช
วงเดี
ยว มี
รู
ปตัดสี
เหลี
่ ยมผื
่ น ผ
าขนาด 0.40x0.65 ม. เสริมเหล็
กรับแรงดึ งที
ระยะ d = 0.55 ม. ถ
่ าแรงเฉื
อนทีหน
่ าตัดวิ
กฤตอัน เนื
องมาจากน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กประลัยมี
ค
า =
22500 กก. จงหาระยะเรี
ยงห
างมากทีสุ
่ดของเหล็
กลู
กตั้
ง 9 มม. (สองขา) ซึงมี
่ ค
า fy = 3000 กก./ซม.2 สมมติว
าคอนกรีตมี
ค
า fc ‘ = 200 กก./ซม.^2

1 : 25 ซม.
2 : 15 ซม.
3 : 17.5 ซม.
4 : 20 ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

46 : คาน คสล. รู
ปตัดตัวที
โดดๆ ขนาดความกว
างของตัวคาน = 30 ซม. เสริ
มเหล็
กรับแรงดึ
งที
ระยะ d = 50 ซม. ถ
่ าแรงเฉื
อนที
หน
่ าตัดวิ
กฤตอัน เนื
องมาจากน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กใช

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 6/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
งานมี
ค
า = 12000 กก. จงหาขนาดและระยะเรี
ยงห
างมากที
สุ
่ดของเหล็
กลู
กตั้
ง (สองขา) ซึ
งมี
่ ค
า fy = 2400 กก./ซม.^2 สมมติ
ว
าคอนกรี
ตมี
ค
า fc ‘ = 200 กก./ซม.^2

1 : 6 มม. @ 7.50 ซม.


2 : 6 มม. @ 10.0 ซม.
3 : 9 มม. @ 12.5 ซม.
4 : 9 มม. @ 25.0 ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที่47 : คานช
วงเดี
ยว มี
รู
ปตัดสี
เหลี
่ ยมผื
่ น ผ
าขนาด 0.40x0.60 ม. เสริ
มเหล็กรับแรงดึ งทีระยะ d = 0.50 ม. ถ
่ าแรงเฉื
อนทีหน
่ าตัดวิ กฤตอัน เนื
องมาจากน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กประลัยมี
ค
า =
25000 กก. จงหาขนาดและระยะเรียงห
างมากทีสุ
่ดของเหล็กลูกตั้
ง (สองขา) ซึ
งมี
่ ค า fy = 3000 กก./ซม.^2 สมมติว
าคอนกรีตมี
ค
า fc ‘ = 200 กก./ซม.^2

1 : 6 มม. @ 7.00 ซม.


2 : 6 มม. @ 10.0 ซม.
3 : 12 มม. @ 20.0 ซม.
4 : 12 มม. @ 27.5 ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

48 : ข
อความใดต
อไปนี
ที
้มิ
่ใช
มาตรฐานกํ
าหนดของ ว.ส.ท. (หมายเหตุ
d = ความลึ
กประสิ
ทธิ
ผล, db = ขนาดเส
น ผ
าศู
น ย
กลางของเหล็
กเสริ
ม)

1 : ต
องยื
น เหล็
่ กเสริ
มอยางนอย 1 ใน 3 ของเหล็
กเสริมทีใช
่ รับโมเมนตลบทั้
งหมดเลยจากตํ
าแหนงของจุ ดดัดกลับเปน ระยะไม
นอยกวา d หรื
อ 12 db หรือ 1/18 ของระยะช
วงว
างของ
คาน โดยใช ค
าทีมากกว
่ า
2 : ต
องยื
น เหล็
่ กเสริ
มทีใช
่ รับโมเมนตดัดให
เลยจากจุดทีไม
่ ต องการทางทฤษฏี ออกไปอี
กอย
างน
อยเทากับ d หรื
อ 12 db โดยใช คาที
มากกว
่ า
3 : ต
องยื
น เหล็
่ กเสริ
มอยางนอย 1 ใน 3 ของเหล็
กเสริ
มทีใช
่ รับโมเมนต
บวกทั้
งหมดในคานชวงเดี
ยว เลยเข
่ าไปในฐานรองรับเป น ระยะไม
นอยกว
า 15 ซม.
4 : ต
องยื
น เหล็
่ กเสริ
มอยางนอย 1 ใน 4 ของเหล็
กเสริ
มทีใช
่ รับโมเมนต
บวกทั้
งหมดในคานตอเนื
อง เลยเข
่ าไปในฐานรองรับเป น ระยะไม
นอยกว
า 15 ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

49 : ระยะต
อทาบเหล็
กข
ออ
อย (ขนาดเส
น ผ
าศู
น ย
กลางที
เล็
่ กกว
า 36 มม.) ซึ
งรับแรงดึ
่ งและที
รับแรงอัดต
่ องไม
น
อยกว

1 : 25 ซม.
2 : 30 ซม.
3 : 36 ซม.
4 : 40 ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที่50 : ถ
าระยะฝ
งยึ
ดของเหล็
กเสริ
มรับแรงดึ
ง (ที
มิ
่ใช
เหล็
กบน) ถู
กจํ
ากัดไม
ให
เกิ
น กว
า 120 ซม. จงใช
วิ
ธี
WSD หาขนาดโตสุ
ดของเหล็
กกลมเรี
ยบที
ส ามารถนํ
่ ามาใช
กํ
าหนดให
fc‘
= 150 กก./ซม.2

1 : 12 มม.
2 : 15 มม.
3 : 19 มม.
4 : 25 มม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที
่51 : คานยื
น ตัวหนึ
่ งต
่ องเสริ
มเหล็
ก RB 25 มม. (As = 4.91 ซม.^2) จํ านวนหนึงเพื
่ อรับโมเมนต
่ ดัด จงประมาณค
าระยะฝ
งที
ต
่ องฝ
งยึ
ดทอนเหล็กตรงจากหน าตัดวิ
กฤตเข
าไปใน
ส
วนโครงสรางที
รองรับนี
่ ้ตามวิ
ธีWSD กํ
าหนดให fc‘ = 150 กก./ซม. ^2 fy = 2400 กก./ซม.2 และหน
วยแรงยึดเหนี
ยวที
่ ยอมให
่ ของเหล็
กเสริ
ม RB 25 มม. = 7.91 กก./ตร.ซม.

1 : 70 ซม.
2 : 80 ซม.
3 : 90 ซม.
4 : 100 ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที่52 : จงประมาณระยะฝ งยึ
ดจากหน
าตัดวิ
กฤตถึ งตํ
าแหน
งทีจะเริ
่ มดัดงอเหล็
่ กเสริ
มเพื
อทํ
่ าเปน “ของอมาตรฐาน“ สํ าหรับเหล็
กเสริม DB 25 มม. (As = 4.91 ซม.2) ที
รับแรงดึ
่ ง ซึ


วิ
ธีWSD กํ าหนดวา “ของอมาตรฐาน“ มี
กํ
าลังรับแรงดึ
งได
เท
ากับ 700 กก./ซม.2 กํ
าหนดใหfc‘ = 200 กก./ซม. ^2 fy = 3000 กก./ซม.^2 และหนวยแรงยึดเหนียวที
่ ยอมให
่ ข องเหล็

เสริ
ม DB 25 มม. = 13 กก./ตร.ซม.

1 : 30 ซม.
2 : 40 ซม.
3 : 50 ซม.
4 : 60 ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที
่53 : จงใช วิ
ธีUSD ประมาณระยะฝ งยึดจากหนาตัดวิ
กฤตถึ
งตําแหน งโคงงอเหล็ กเสริ
มเมื
อทํ
่ าเป
น “ของอมาตรฐาน“ สํ
าหรับเหล็
ก RB 25 มม. (As = 4.91 ซม.^2) ที
รับแรงดึ
่ ง
กํ
าหนดให fc‘ = 150 กก./ซม. ^2 fy = 2400 กก./ซม.^2 และให
modifation factor = 1.0

1 : 30 ซม.
2 : 40 ซม.
3 : 50 ซม.
4 : 60 ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 7/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
ข
อที่54 : ในการออกแบบคานต อเนือง คสล. โดยใช
่ ค
าสัมประสิทธิ
ข องโมเมนต
์ ดัดซึ
งมี
่ คาทั้
งโมเมนต
บวกและลบที มากที
่ สุ
่ดอัน เนื
องมาจากการจัดวางน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กจร ถาคานต อ
เนื
องมี
่ ระยะช
วงว
างเทากับ L เมตร รับนําหนักบรรทุ
กแผส ม่
าเสมอเท
ํ ากับ w กก./เมตร และออกแบบให คานรับโมเมนต
ดัดชนิ
ดบวก ซึ งค
่ าสัมประสิ
ทธิ
ของโมเมนต
์ บวก = 1/16 ดังนั้

ตํ
าแหน งทางทฤษฎี (โดยประมาณ) ซึ งห
่ างมาจากจุ
ดรองรับ ทีจะหยุ
่ ด ตัด หรื
อดัดเหล็กเสริ
มรับโมเมนต
ดัดบวก คือ

1 : 0.15L
2 : 0.25L
3 : 0.30L
4 : 0.35L

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที่55 : ในการออกแบบคานต อเนือง คสล. โดยใช
่ คาสัมประสิ
ทธิ ข องโมเมนต
์ ดัดซึ
งมี
่ คาทั้
งโมเมนต
บวกและลบทีมากที
่ สุ
่ดอัน เนื
องมาจากการจัดวางน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กจร ถ
าคานต อ
เนื
องมี
่ ระยะชวงว
างเท
ากับ L เมตร รับนําหนักบรรทุ
กแผ
ส ม่าเสมอเท
ํ ากับ w กก./เมตร และออกแบบให คานรับโมเมนต
ดัดชนิ
ดลบ ซึ งค
่ าสัมประสิ
ทธิของโมเมนต
์ ลบ = 1/11 ดังนั้

ตํ
าแหนงทางทฤษฎี (โดยประมาณ) ซึ งห
่ างมาจากจุดรองรับ ที
จะหยุ
่ ด ตัด หรื
อดัดเหล็กเสริ
มรับโมเมนต
ดัดลบ คื

1 : 0.15L
2 : 0.25L
3 : 0.30L
4 : 0.35L

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

56 : ตามมาตรฐานการออกแบบโดยวิ
ธี
หน
วยแรงใช
งาน หน
วยแรงเฉื
อนบิ
ดที
ยอมให
่ ของคอนกรี
ตตามลํ
าพัง หรื
อของคาน คสล. ที
ไม
่ มี
เหล็
กเสริ
มเหล็
กทางขวาง คื

1:
2:

3:

4:

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที่
57 : คานกลวงมี
ขนาดกว
าง 30 ซม. ลึ
ก 40 ซม. ผนังด
านข
างหนา 10 ซม. ผนังด
านบนและด านลางหนา 12.5 ซม. ถ
าคานนี
รับโมเมนต
้ บิ
ดเพี
ยงอย
างเดี
ยว (pure torsion) จง
ใช
วิ
ธีWSD ประมาณคาโมเมนต
บิ
ดใชงานสู
งสุ
ดทีได
่ จากคอนกรีตเพี
ยงอย
างเดี
ยว กํ
าหนดใหfc‘ = 150 กก./ตร.ซม.

1 : 150 กก.-เมตร
2 : 300 กก.-เมตร
3 : 360 กก.-เมตร
4 : 660 กก.-เมตร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที
่58 : คานกลวงมี ขนาดกวาง 30 ซม. ลึ
ก 40 ซม. ผนังด
านข
างหนา 10 ซม. ผนังด
านบนและด
านล
างหนา 12.5 ซม. ถ
าคานนี รับโมเมนต
้ บิดเพี
ยงอย
างเดียว (pure torsion)
มาตรฐาน ว.ส.ท. (วิ
ธี
หน
วยแรงใช
งาน) กํ
าหนดว
าเมื
อเสริ
่ มเหล็กทางขวางและทางยาว โมเมนต
บิ
ดใช
งานสู
งสุ
ดทีคานกลวงนี
่ ส ามารถรับได
้ เทากับ (กํ
าหนดใหfc‘ = 150 กก./ตร.ซม.)

1 : 1460 กก.-เมตร
2 : 1560 กก.-เมตร
3 : 1660 กก.-เมตร
4 : 1760 กก.-เมตร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที่
59 : คานกลวงมี
ขนาดกว าง 30 ซม. ลึ
ก 40 ซม. ผนังด
านข
างหนา 10 ซม. ผนังด
านบนและด านลางหนา 12.5 ซม. ถ
าคานนี
รับโมเมนต
้ บิ
ดเพี
ยงอย
างเดี
ยว (pure torsion) จง
ใช
วิ
ธีUSD ประมาณกําลังรับโมเมนตบิดประลัยที
ได
่ จากคอนกรีตเพี
ยงอย
างเดียว กํ
าหนดใหfc‘ = 150 กก./ตร.ซม.

1 : 660 กก.-เมตร
2 : 780 กก.-เมตร
3 : 930 กก.-เมตร
4 : 1080 กก.-เมตร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที
่60 : คานชวงเดียวรู
่ ปตัดตัน สี
เหลี
่ ยมผื
่ น ผ
า ขนาด 0.25 x 0.60 เมตร ระยะ d = 50 ซม. ใชfc‘ = 200 กก./ตร.ซม. เพื
อต
่ านทาน M ที
กลางช
่ วงคาน และ V = 1875 กก. กับ T
ที
หน
่ าตัดวิกฤต อัน เนื
องมาจากน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กใชงาน จะพบวาหนวยแรงเฉือนทีเกิ
่ ดขึ
น เนื
้ องจากโมเมนต
่ ดัดมี
ค

1 : น
อยกวาหน
วยแรงเฉื
อนที
ยอมให
่ ข องคอนกรี

2 : เท
ากับหน
วยแรงเฉื
อนที
ยอมให
่ ของคอนกรีต
3 : มากกวาหน
วยแรงเฉื
อนที
ยอมให
่ ข องคอนกรี
ต แต
ไม
เกิน กว
าค
าสู
งสุ
ดที
ยอมให

4 : มากกวาหน
วยแรงเฉื
อนที
ยอมให
่ ข องคอนกรี
ต และเกิ
น กวาค
าสู
งสุ
ดที
ยอมให

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ขอที
่61 : คานชวงเดี
ยวรู
่ ปตัดตัน สี
เหลี
่ ยมผื
่ น ผ
า ขนาด 0.25 x 0.60 เมตร ระยะ d = 50 ซม. ใชfc‘ = 200 กก./ตร.ซม. เพื
อต
่ านทาน M ที
กลางช
่ วงคาน และ V กับ T = 1125 กก.-
เมตร ที
หน
่ าตัดวิ
กฤต อัน เนื
องมาจากน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กใช
งาน จะพบว าหนวยแรงเฉือนทีเกิ
่ ดขึน เนื
้ องจากโมเมนต
่ บิดมีค

1 : น
อยกว
าหน
วยแรงเฉื
อนที
ยอมให
่ ข องคอนกรี

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 8/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
2 : เท
ากับหน
วยแรงเฉื
อนที
ยอมให
่ ของคอนกรีต
3 : มากกวาหน
วยแรงเฉื
อนที
ยอมให
่ ข องคอนกรี
ต แต
ไม
เกิน กว
าค
าสู
งสุ
ดที
ยอมให

4 : มากกวาหน
วยแรงเฉื
อนที
ยอมให
่ ข องคอนกรี
ต และเกิ
น กวาค
าสู
งสุ
ดที
ยอมให

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

62 : คานช
วงเดี
ยวรู
่ ปตัดตัน สี
เหลี
่ ยมผื
่ น ผ f c' = 155 กก./ตร.ซม. f y = 3000 กก./ตร.ซม. (สํ
า ขนาด 0.30 x 0.50 เมตร ระยะ d = 45 ซม. ใช าหรับเหล็
กตามยาว) f y = 2400 กก./
ซม. (สํ
าหรับเหล็
กปลอกทางขวาง) เพื
อต
่ านทาน M ที
กลางช
่ วงคาน และ V = 4940 กก. กับ T = 1450 กก.-เมตร ที
หน
่ าตัดวิ
กฤต อัน เนื
องมาจากน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กใช
งาน ถ
าให
ระยะ x1
= 24 ซม. y1 = 42 ซม. ดังนั้
น ต
องการปริ
มาณเหล็
กปลอก (ขาเดี
ยว) สํ
าหรับโมเมนต
บิ
ด A t/s เท
ากับ

1 : 0.000 ตร.ซม. ต
อ ซม.
2 : 0.040 ตร.ซม. ต
อ ซม.
3 : 0.060 ตร.ซม. ต
อ ซม.
4 : 0.065 ตร.ซม. ต
อ ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที่63 : คาน คสล. รู
ปตัดสี
เหลี
่ ยมผื
่ น ผ
า กว
าง 30 ซม. เสริ
มเหล็
กรับแรงดึ
ง 3-DB 28 มม. ชั้
น เดี
ยว และใช
เหล็
กลู
กตั้
ง RB 9 มม. จงหาจํ
านวนเหล็
กเสริ
มที
เที
่ ยบเท
า (equivalent
no. of bars) n

1:5
2:4
3:3
4 : ไม
มี
ข
อใดถู

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที่64 : คาน คสล. รู
ปตัดสี
เหลี
่ ยมผื
่ น ผ
า กว
าง 30 ซม. เสริ
มเหล็
กรับแรงดึ
งสองชั้
น ชั้
น ล
างสุ
ดใช 2-DB 25 มม. ชั้น บนถัดขึน มาใช
้ 2-DB 25 มม. โดยมีระยะช
องว
างระหว
างชั้
น =
5 ซม. ถ
าใชเหล็
กลู
กตั้
ง RB 9 มม. และระยะคอนกรีตหุมจากผิ
 วล
างของคานถึงผิ
วของเหล็ กลู
กตั้
ง = 4.0 ซม. ดังนั้
น ตําแหนง c.g. ของเหล็
กรับแรงดึงจะอยูห
างจากผิ
วลางของคาน
ประมาณ

1 : 9.0 ซม.
2 : 9.5 ซม.
3 : 10.0 ซม.
4 : ไมมี
ข
อใดถู

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที
่65 : แผ
น พื
น ทางเดี
้ ยวชวงเดียว หนา 12 ซม. ใช
่ เหล็กเสริ
มกํ
าลังจุดคราก 4000 กก./ซม.2 ให
ระยะ covering (clear) เท
ากับ 3 ซม. ถ
าใช
เหล็
กเสริ
มขนาด 16 มม. และให
ดัชนี
ความกว
างของรอยร าว (index of crack width) , Z ไม
เกิ
น กว
า 23100 กก./ซม. จงหาระยะห
างมากที สุ
่ดของเหล็ กเสริม

1 : 45 ซม.
2 : 40 ซม.
3 : 35 ซม.
4 : 30 ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

66 : คานช
วงเดี
ยวยาวเท
่ ากับ 6.00 เมตร มี
ข นาด 0.25 x 0.35 เมตร เสริ
มเหล็
กรับแรงดึ
ง 3- 25 มม. (As = 14.73 ซม.2 ) ที
ความลึ
่ กประสิ
ทธิ
ผลเท
ากับ 30 ซม. เพื
อรับน้
่ า

หนักบรรทุ
กแผ
ใช
งาน wD = 1240 กก./ม. (รวมน้
าหนักของคานแล
ํ ว) และ wL = 620 กก./ม. จงประมาณค
าการโก
งตัวทัน ที
ของคาน สมมติ Ec = 2.5 x 105 กก./ตร.ซม. และ
ให
โมเมนต
อิ
น เนอร
เชี
ยประสิ ผล (Ie ) = 56000 ซม.4
ทธิ

1 : 2.00 ซม.
2 : 2.25 ซม.
3 : 2.30 ซม.
4 : 2.50 ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

67 : คานช
วงเดี
ยวยาวเท
่ ากับ 6.00 เมตร มี
ข นาด 0.25 x 0.35 เมตร เสริ
มเหล็
กรับแรงดึ
ง 3- 25 มม. (As = 14.73 ซม.2 ) ที
ความลึ
่ กประสิ
ทธิ
ผลเท
ากับ 30 ซม. เพื
อรับน้
่ า

หนักบรรทุ
กแผ
ใช
งาน wD = 1240 กก./ม. (รวมน้
าหนักของคานแล
ํ ว) และ wL = 620 กก./ม. จงประมาณค
าการโก
งตัวทั้
งหมดในระยะยาว ซึ
งมากกว
่ า 5 ป
ขึ
น ไป สมมติ
้ ให
Ec = 2.5
x 105 กก./ตร.ซม. และโมเมนต
อิ
น เนอร
เชี
ยประสิ ผล (Ie ) = 56000 ซม.4
ทธิ

1 : 7.50 ซม.
2 : 7.00 ซม.
3 : 6.75 ซม.
4 : 6.00 ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

68 :
บันไดแบบพื
นตันที
้ พาดทางช
่ วงยาวระหว างคานรองรับทั้
งสองข
าง ถ
าความหนาของพืนบันได = 10 ซม. ขั้
้ นบันไดกว
าง = 30 ซม. ส
วนยก = 15 ซม. น้


หนักบรรทุ งาน = 300 กก./ ม.2 จงประมาณค
กจรใช าน้ าหนักบรรทุ
ํ กใช
งานทั้
งหมดในทางราบ
1:

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 9/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

700 กก./ม.2
2:
750 กก./ม.2
3:
800 กก./ม.2
4:
825 กก./ม.2
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

69 :
บันไดแบบพืนตันที
้ พาดทางช
่ วงยาวระหว างคานรองรับทั้
งสองข
าง ถ
าความหนาของพืนบันได = 12 ซม. ขั้
้ นบันไดกว
าง = 27.5 ซม. ส
วนยก = 17.5 ซม.
น้าหนักบรรทุ
ํ งาน = 400 กก./ ม.2 จงประมาณค
กจรใช าน้
าหนักบรรทุ
ํ กใช
งานทั้
งหมดในทางราบ
1:
850 กก./ม.2
2:
800 กก./ม.2
3:
950 กก./ม.2
4:
1000 กก./ม.2
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

70 :
บันไดพับผ
าที
พาดทางช
่ วงยาวระหว
างคานรองรับทั้
งสองข
าง ถ
าแตละขั้
นบันไดหนา 12 ซม. ลู
กนอนกว
าง = 25 ซม. ลู
กตั้
งสู
ง = 15 ซม. น้
าหนักบรรทุ
ํ ก
งาน = 300 กก./ ม.2 จงประมาณค
จรใช าน้
าหนักบรรทุ
ํ กใช
งานทั้
งหมดในทางราบ
1:
650 กก./ม.2
2:
690 กก./ม.2
3:
760 กก./ม.2
4:
810 กก./ม.2
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

71 :
บันไดพับผ
าที
พาดทางช
่ วงยาวระหว
างคานรองรับทั้
งสองข
าง ถ
าแต
ละขั้
นบันไดหนา 10 ซม. ลู
กนอนกว
าง = 27.5 ซม. ลู
กตั้
งสู
ง = 15 ซม. น้
าหนักบรรทุ
ํ ก
งาน = 200 กก./ ม.2 จงประมาณค
จรใช าน้
าหนักบรรทุ
ํ กใช
งานทั้
งหมดในทางราบ
1:
540 กก./ม.2
2:
570 กก./ม.2
3:
600 กก./ม.2
4:
640 กก./ม.2
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

72 :
คานยืนจากหน
่ าเสา ยาว 1.50 เมตร เสริมหล็กรับแรงดึ ง 4 - RB 15 มม. ที
ระระยะ d = 35 ซม. เพื
่ อรับน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กใช
งานแบบแผ
สม่
าเสมอ = 4000 กก/

เมตร (รวมน้าหนักคานแล
ํ ว) จงใช มาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิ ธี
หนวยแรงใชงาน หาหน วยแรงยึดเหนียวที
่ เกิ
่ ดจากการเปลี
ยนแปลงโมเมนต
่ ดัด (flexural
bond stress : u) กํ
าหนดให fc‘ = 200 กก./ซม.2 j = 0.857

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 10/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
1:
u = 8.40 กก./ซม. 2
2:
u = 10.60 กก./ซม. 2
3:
u = 11.25 กก./ซม. 2
4:
u = 11.40 กก./ซม. 2
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

73 :
คานยืนจากขอบรองรับ ยาว 1.50 เมตร เสริ
่ มหล็กรับแรงดึ
ง RB 15 มม. จากหน
าตัดวิ
กฤตเขาไปในที
รองรับเป
่ นระยะ = 0.40 เมตร จงใช มาตรฐานของ
ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
หน
วยแรงใช
งาน หาหนวยแรงยึดเหนียวที
่ เกิ
่ ดจากการฝ
งยึ
ดเหล็
กเสริ
ม (anchorage bond stress : u) สมมติา fS = 1200 กก./ซม.2
ว

1:
u = 8.40 กก./ซม. 2
2:
u = 10.60 กก./ซม. 2
3:
u = 11.25 กก./ซม. 2
4:
u = 15.00 กก./ซม. 2
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

74 :
มาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิ ธี
หน
วยแรงใช
งาน กําหนดว
า ไม
จํ
าเป
นตองตรวจสอบหนวยแรงยึ
ดเหนี
ยวที
่ เกิ
่ ดจากการเปลี
ยนแปลงโมเมนต
่ ดัด (flexural
bond stress) หากหน
วยแรงยึ
ดเหนี
ยวที
่ เกิ
่ ดขึนจากการฝ
้ งยึ
ดเหล็
กเสริ
มนั้
นมี
ค
าไม
เกิ
นเท
าใดของหน
วยแรงยึดเหนี
ยวที
่ ยอมให

1:
0.75
2:
0.80
3:
0.85
4:
0.90
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

75 :
คาน คสล. ช
วงเดี
ยว เสริ
มเหล็
กรับแรงดึ
ง RB 25 มม. จงใช
มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิ ธี
หนวยแรงใช งาน หาระยะอย างน
อยทีต
่องฝงยึ
ดเหล็
กเสริ
มนี

เพื
อที
่ จะ

ได
ไม
ตรวจสอบหน วยแรงยึ
ดเหนี
ยวที
่ เกิ
่ ดจากการเปลี
ยนแปลงโมเมนต
่ ดัด (flexural bond stress) กํ
าหนดใหfc‘ = 150 กก./ซม.2

1:
80 ซม.
2:
100 ซม.
3:
120 ซม.
4:
150 ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

76 :
คาน คสล. ช
วงเดี
ยว เสริ
มเหล็
กรับแรงดึ
ง DB 25 มม. จงใช
มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิ ธี
หนวยแรงใช งาน หาระยะอย างน
อยทีต
่องฝงยึ ดเหล็กเสริ
มนี้
เพือที
่ จะ

ได
ไม
ตรวจสอบหน วยแรงยึ
ดเหนี
ยวที
่ เกิ
่ ดจากการเปลี
ยนแปลงโมเมนต
่ ดัด (flexural bond stress) กํ
าหนดใหfc‘ = 150 กก./ซม..2 fy = 3000 กก./ซม.2

1:
www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 11/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

75 ซม.
2:
90 ซม.
3:
120 ซม.
4:
125 ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

77 :
เมื
อจะไม
่ ตรวจสอบหน วยแรงยึดเหนียวที
่ เกิ
่ ดจากการเปลียนแปลงโมเมนต
่ ดัด (flexural bond stress) ดังนั้
น หากพบวาระยะฝ
งยึ
ดของเหล็
กเสริ
มรับแรงดึง
(ที
ไม
่ ใช
เหล็กบน) เท
ากับ 1.00 ม. จงใช
มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
หน
วยแรงใช
งาน ประมาณขนาดโตสุ ดของเหล็ กกลมเรี
ยบทีสามารถนํ
่ ามาใชกํ
าหนดให fc‘
= 200 กก./ซม.2
1:
f12 มม.
2:
f15 มม.
3:
f19 มม.
4:
f25 มม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

78 :
เมื
อจะไม
่ ตรวจสอบหน วยแรงยึดเหนียวที
่ เกิ
่ ดจากการเปลียนแปลงโมเมนต
่ ดัด (flexural bond stress) ดังนั้
น หากพบว าระยะฝ
งยึ
ดของเหล็
กเสริ
มรับแรงดึง
(ที
ไม
่ ใช
เหล็กบน) เท
ากับ 65 ซม. จงใช
มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
หน
วยแรงใช
งาน หาขนาดโตสุ ดของเหล็ กขอออย (SD 30) ที
สามารถนํ
่ ามาใชกํ
าหนดให fc‘
= 200 กก./ซม.2
1:
f16 มม.
2:
f20 มม.
3:
f25 มม.
4:
f28 มม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

79 :
เมื
อจะไม
่ ตรวจสอบหน วยแรงยึดเหนี ยวที
่ เกิ
่ ดจากการเปลี ยนแปลงโมเมนต
่ ดัด (flexural bond stress) ดังนั้
น หากพบวาระยะฝ
งยึ
ดของเหล็
กเสริ
มรับแรงดึง
(ที
เป
่ นเหล็
กบน) เท
ากับ 1.75 ม. จงใช
มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
หนวยแรงใชงาน หาขนาดโตสุ ดของเหล็ กขออ
อย (SD 30) ที
สามารถนํ
่ ามาใชกํ
าหนดให fc‘
= 150 กก./ซม.2
1:
f32 มม.
2:
f28 มม.
3:
f25 มม.
4:
f20 มม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

80 :
เมื
อจะไม
่ ตรวจสอบหน วยแรงยึดเหนี ยวที
่ เกิ
่ ดจากการเปลี ยนแปลงโมเมนต
่ ดัด (flexural bond stress) ดังนั้
น หากพบวาระยะฝ
งยึ
ดของเหล็
กเสริ
มรับแรงดึง
(ที
เป
่ นเหล็
กบน) เท
ากับ 1.30 ม. จงใช
มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
หนวยแรงใชงาน หาขนาดโตสุ ดของเหล็ กขออ
อย (SD 40) ที
สามารถนํ
่ ามาใชกํ
าหนดให fc‘
www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 12/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

= 200 กก./ซม.2
1:
f32 มม.
2:
f28 มม.
3:
f25 มม.
4:
f20 มม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

81 :
เมื
อจะไม
่ ตรวจสอบหน วยแรงยึดเหนี ยวที
่ เกิ
่ ดจากการเปลี ยนแปลงโมเมนต
่ ดัด (flexural bond stress) ดังนั้
น หากพบวาระยะฝ
งยึ
ดของเหล็
กเสริ
มรับแรงดึ ง
(ที
เป
่ นเหล็กบน) เท
ากับ 0.85 ม. จงใช
มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
หน
วยแรงใช
งาน ประมาณขนาดโตสุ ดของเหล็ กกลมเรี
ยบทีสามารถนํ
่ ามาใชกํ
าหนดให fc‘ =
200 กก./ซม.2
1:
f12 มม.
2:
f15 มม.
3:
f19 มม.
4:
f25 มม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

82 :
หากดัดปลายเหล็
กเสริ
มเอกให เป
น “ของอครึ
งวงกลม” โดยมี
่ ขนาดเส
นผาศู
นย
กลางภายในวงโคงเป
น 6 เท
าของขนาดเสนผ าศูนย
กลางของเหล็ กเสริม และ
ให
มีส
วนทียื
่นต
่ อออกไปอีกเปนระยะไมน
อยกวา 4 เท
าของขนาดเสนผ
าศูนย
กลางของเหล็
กเสริ
ม แต
ไม
นอยกว
า 6 ซม. จงใชมาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิ ธี
หนวย
แรงใช
งาน ประมาณกําลังรับแรงดึ
งตรงตําแหนงที
จะเริ
่ มดัดงอเหล็
่ กเสริ
ม ขนาด DB 25 มม. (ที
ไม
่ ใช
เหล็
กบน) กําหนดให fc‘ = 150 กก./ซม. 2 fy = 3000
กก./ซม.2

1: 780 กก./ซม.2
2: 950 กก./ซม.2
3 : 980 กก./ซม.2
4 : 1090 กก./ซม.2

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

83 :
หากดัดปลายเหล็
กเสริ
มเอกให เป
น “ของอครึ
งวงกลม” โดยมี
่ ขนาดเส
นผาศู
นย
กลางภายในวงโคงเป
น 6 เท
าของขนาดเสนผ าศูนย
กลางของเหล็ กเสริม และ
ให
มีส
วนทียื
่นต
่ อออกไปอีกเปนระยะไมน
อยกว
า 4 เท
าของขนาดเส นผ
าศูนย
กลางของเหล็
กเสริ
ม แต
ไม
นอยกว
า 6 ซม. จงใชมาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิ ธี
หนวย
แรงใช
งาน ประมาณกําลังรับแรงดึ
งตรงตําแหน
งทีจะเริ
่ มดัดงอเหล็
่ กเสริ
ม ขนาด DB 28 มม. (ที
เป
่ นเหล็
กบน) กําหนดให fc‘ = 200 กก./ซม. 2 fy = 3000
กก./ซม.2

1 : 695 กก./ซม.2
2 : 780 กก./ซม.2
3 : 810 กก./ซม.2
4 : 980 กก./ซม.2

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

84 :
หากดัดปลายเหล็ กเสริ
มเอกใหเป
น “ของอมุมฉาก” โดยมี
ขนาดเสนผาศู
นยกลางภายในวงโค
งเป
น 6 เทาของขนาดเส นผาศู นยกลางของเหล็กเสริม และให
มี
ส
วนที ยื
่ นต
่ อออกไปอีกเป
นระยะไมนอยกวา 12 เท
าของขนาดเสนผาศู
นยกลางของเหล็
กเสริ
ม จงใชมาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิ ธี
หนวยแรงใช งาน ประมาณ
กํ
าลังรับแรงดึ
งตรงตําแหน
งทีจะเริ
่ มดัดงอเหล็
่ กเสริม ขนาด DB 28 มม. (ที
เป
่ นเหล็
กบน) กํ
าหนดใหfc‘ = 200 กก./ซม. 2 fy = 3000 กก./ซม.2

1 : 695 กก./ซม.2
2 : 780 กก./ซม.2
3 : 810 กก./ซม.2

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 13/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

4 : 995 กก./ซม.2

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

85 :
หากดัดปลายเหล็ กเสริ
มเอกใหเป
น “ของอมุมฉาก” โดยมี
ขนาดเสนผาศู
นยกลางภายในวงโคงเป
น 6 เท าของขนาดเสนผ าศูนยกลางของเหล็กเสริ
ม และให
มี
ส
วนที ยื
่ นต
่ อออกไปอีกเป
นระยะไมนอยกวา 12 เท
าของขนาดเสนผาศู
นยกลางของเหล็
กเสริม จงใชมาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิ ธี
หน
วยแรงใชงาน ประมาณ
กํ
าลังรับแรงดึ
งตรงตําแหน
งทีจะเริ
่ มดัดงอเหล็
่ กเสริม ขนาด DB 32 มม. (ที
ไม
่ ใช
เหล็
กบน) กํ
าหนดให fc‘ = 150 กก./ซม. 2 fy = 3000 กก./ซม.2

1 : 705 กก./ซม.2
2 : 780 กก./ซม.2
3 : 865 กก./ซม.2
4 : 995 กก./ซม.2

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

86 :
มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธี
หนวยแรงใช
งาน กํ
าหนดวา “ของอมาตรฐาน“ มีกํ
าลังรับแรงดึ
งได ากับ 700 กก./ซม.2 ดังนั้
เท น จงประมาณระยะฝ งยึ
ดจากหนาตัด
วิ
กฤตถึงตํ
าแหนงทีจะเริ
่ มดัดงอเหล็
่ กเสริ
ม DB 20 มม. (ที
ไม
่ ใช
เหล็
กบน) เมื
อทํ
่ าเป
น “ของอมาตรฐาน“ กําหนดให fc‘ = 150 กก./ซม. 2 fy = 3000 กก./ซม.2

1:
20 ซม.
2:
30 ซม.
3: 40 ซม.
4: 50 ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

87 :
มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธี
หนวยแรงใช
งาน กํ
าหนดวา “ของอมาตรฐาน“ มี
กํ
าลังรับแรงดึงได ากับ 700 กก./ซม.2 ดังนั้
เท น จงประมาณระยะฝ งยึ
ดจากหนาตัด
วิ
กฤตถึงตํ
าแหนงทีจะเริ
่ มดัดงอเหล็
่ กเสริ
ม DB 28 มม. (ที
เป
่ นเหล็
กบน) เมื
อทํ
่ าเป น “ของอมาตรฐาน“ กําหนดให fc‘ = 200 กก./ซม. 2 fy = 3000 กก./ซม.2

1:
40 ซม.
2:
45 ซม.
3:
50 ซม.
4:
55 ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

88 :
คาน คสล. ช
วงเดี
ยวยาว 4.00 เมตร เสริ
่ มเหล็
ก 4-RB 15 มม. ที
กึ
่ งกลางคาน พอดี
่ เพื
อรับโมเมนต
่ ดัดชนิ
ดบวกอันเนื
องมาจากน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กแผ
สม่
าเสมอ

ให
หาตําแหน
ง (ทางทฤษฎี) ซึ
งห
่ างมาจากจุดรองรับ ที
จะหยุ
่ ด ดัด หรือตัดเหล็
กเสริ
มออกไป 2 เสน โดยเหลื
อเหล็กเสริ
ม 2 เส
นที
ปล
่ อยเลยเข
าไปในจุ

รองรับนั้

1:
45 ซม.
2: 55 ซม.
3: 65 ซม.
4: 75 ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

89 :
คาน คสล. ช
วงเดี
ยวยาว 5.50 เมตร เสริ
่ มเหล็
ก 6-RB 15 มม. ที
กึ
่ งกลางคาน พอดี
่ เพื
อรับโมเมนต
่ ดัดชนิ
ดบวกอันเนื
องมาจากน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กแผ
สม่
าเสมอ

ให
หาตําแหน
ง (ทางทฤษฎี) ซึ
งห
่ างมาจากจุดรองรับ ที
จะหยุ
่ ด ดัด หรือตัดเหล็
กเสริ
มออกไป 4 เสน โดยเหลื
อเหล็กเสริ
ม 2 เส
นที
ปล
่ อยเลยเข
าไปในจุ

รองรับนั้

1:
40 ซม.
2: 50 ซม.
3: 60 ซม.
4: 70 ซม.
www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 14/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

90 :
คานยืน คสล. ยาว 1.50 เมตร เสริ
่ มเหล็
ก 4-RB 12 มม. พอดี เพื
อรับโมเมนต
่ ดัดชนิ
ดลบอันเนื
องมาจากน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กแผ
สม่
าเสมอ ให
ํ ประมาณตํ
าแหน

(ทางทฤษฎี) ซึ
งห
่ างจากขอบรองรับ ทีจะหยุ
่ ด ดัด หรื
อตัดเหล็
กเสริ
มออกไป 2 เส
น โดยปล
อยเหล็กเสริ
มที
เหลื
่ ออี
ก 2 เส
นไปจนถึ
งปลายคาน
1:
35 ซม.
2: 45 ซม.
3: 65 ซม.
4: 75 ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

91 :
คานยืน คสล. ยาว 2.00 เมตร เสริ
่ มเหล็
ก 6-DB 16 มม. พอดี เพื
อรับโมเมนต
่ ดัดชนิ
ดลบอันเนื
องมาจากน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กแผ
สม่
าเสมอ ให
ํ ประมาณตํ
าแหน

(ทางทฤษฎี) ซึ
งห
่ างจากขอบรองรับ ทีจะหยุ
่ ด ดัด หรื
อตัดเหล็
กเสริ
ม 2 เส
นแรกออกไป
1:
55 ซม.
2: 70 ซม.
3: 85 ซม.
4: 100 ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

92 :
จงประมาณค าโมเมนต
บิดตรงหน
าตัดวิ
กฤตของคานรองรับบันไดพับผ
าแบบยื
น ดังแสดง ถ
่ าบันไดกวาง = 1.50 เมตร ระยะช
วงว
างระหว
างเสา (ตามแนว
ราบ) = 2.50 เมตร คานเสริ
มเหล็
กที
ระยะ d = 45 ซม. สมมติ
่ น้
าหนักบรรทุ
ํ กจรใช
งาน = 500 กก./ตร. เมตร

1:
550 กก.-เมตร
2:
640 กก.-เมตร
3:
820 กก.-เมตร
4:
910 กก.-เมตร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

93 :
จงประมาณค าโมเมนต
บิดตรงหน
าตัดวิ
กฤตของคานรองรับบันไดพับผ
าแบบยื
น ดังแสดง ถ
่ าบันไดกวาง = 1.50 เมตร ระยะช
วงว
างระหว
างเสา (ตามแนว
ราบ) = 2.50 เมตร คานเสริ
มเหล็
กที
ระยะ d = 45 ซม. สมมติ
่ น้
าหนักบรรทุ
ํ กจรใช
งาน = 300 กก./ตร. เมตร

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 15/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1:
640 กก.-เมตร

2:
730 กก.-เมตร

3:
910 กก.-เมตร

4:
550 กก.-เมตร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

94 :
จงประมาณค าโมเมนต
บิดตรงหน
าตัดวิ
กฤตของคานรองรับบันไดพับผ
าแบบยื
น ดังแสดง ถ
่ าบันไดกวาง = 1.50 เมตร ระยะช
วงว
างระหว
างเสา (ตามแนว
ราบ) = 2.50 เมตร คานเสริ
มเหล็
กที
ระยะ d = 45 ซม. สมมติ
่ น้
าหนักบรรทุ
ํ กจรใช
งาน = 600 กก./ตร. เมตร

1:
550 กก.-เมตร
2:
640 กก.-เมตร
3:
730 กก.-เมตร
4:
910 กก.-เมตร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

95 :
จงประมาณค าโมเมนต
บิดตรงหน
าตัดวิ
กฤตของคานรองรับบันไดพับผ
าแบบยื
น ดังแสดง ถ
่ าบันไดกวาง = 1.25 เมตร ระยะช
วงว
างระหว
างเสา (ตามแนว
ราบ) = 2.50 เมตร คานเสริ
มเหล็
กที
ระยะ d = 45 ซม. สมมติ
่ น้
าหนักบรรทุ
ํ กจรใช
งาน = 300 กก./ตร. เมตร

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 16/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1:
380 กก.-เมตร
2:
445 กก.-เมตร
3:
510 กก.-เมตร
4:
570 กก.-เมตร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

96 :
จงประมาณค าโมเมนต
บิดตรงหน
าตัดวิ
กฤตของคานรองรับบันไดพับผ
าแบบยื
น ดังแสดง ถ
่ าบันไดกวาง = 1.50 เมตร ระยะช
วงว
างระหว
างเสา (ตามแนว
ราบ) = 2.50 เมตร คานเสริ
มเหล็
กที
ระยะ d = 45 ซม. สมมติ
่ น้
าหนักบรรทุ
ํ กจรใช
งาน = 200 กก./ตร. เมตร

1:
380 กก.-เมตร

2:
250 กก.-เมตร

3:
570 กก.-เมตร

4:
445 กก.-เมตร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

97 :
จงประมาณค าโมเมนต
บิดตรงหน
าตัดวิ
กฤตของคานรองรับบันไดพับผ
าแบบยื
น ดังแสดง ถ
่ าบันไดกวาง = 1.50 เมตร ระยะช
วงว
างระหว
างเสา (ตามแนว
ราบ) = 3.00 เมตร คานเสริ
มเหล็
กที
ระยะ d = 45 ซม. สมมติ
่ น้
าหนักบรรทุ
ํ กจรใช
งาน = 300 กก./ตร. เมตร

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 17/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1:
730 กก.-เมตร
2:
840 กก.-เมตร
3:
960 กก.-เมตร
4:
1080 กก.-เมตร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

98 :
จงประมาณค าโมเมนต
บิดตรงหน
าตัดวิ
กฤตของคานรองรับบันไดพับผ
าแบบยื
น ดังแสดง ถ
่ าบันไดกวาง = 1.50 เมตร ระยะช
วงว
างระหว
างเสา (ตามแนว
ราบ) = 3.00 เมตร คานเสริ
มเหล็
กที
ระยะ d = 45 ซม. สมมติ
่ น้
าหนักบรรทุ
ํ กจรใช
งาน = 400 กก./ตร. เมตร

1:
730 กก.-เมตร
2:
840 กก.-เมตร
3:
960 กก.-เมตร
4:
1080 กก.-เมตร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

99 :
มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
หนวยแรงใช
งาน กํ
าหนดวา ผลรวมของหน
วยแรงเฉื
อนที
เกิ
่ ดจากโมเมนต
ดัดและโมเมนต
บิ
ด ของคานที
เสริ
่ มเหล็
กทางขวาง ต
อง
ไม
เกิ
นกว
าค
าตอไปนี้
มิ
ฉะนั้
นต
องเปลียนขนาดรู
่ ปตัดคาน

1 : 0.29 กก./ตร. ซม.

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 18/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

2 : 0.53 กก./ตร. ซม.


3 : 1.32 กก./ตร. ซม.
4 : 1.65 กก./ตร. ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

100 :
มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธี
กํ
าลัง กํ
าหนดว
า ส
วนโครงสรางที
รับทั้
่ งโมเมนตดัด MU แรงเฉื
อน VU และโมเมนต
บิ
ด TU ถ
ากํ
าลังรับโมเมนต
บิ
ดประลัยของ
คอนกรี
ต = f TC ค
าโมเมนต
บิ
ดประลัยที
กระทํ
่ า TU ต
อส
วนโครงสรางนี้ต
องไมเกิ
นว
าข
อใด

1:
3(f TC)
2:
4(f TC)
3:
5(f TC)
4:
6(f TC)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

101 :
จงใช
มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิ ธี
กํ
าลัง ประมาณกํ
าลังรับโมเมนตบิ
ดประลัยที ได
่ จากคอนกรี ต (f TC) ถ
าคานมี
รู
ปตัดตันสีเหลี
่ ยมผื
่ นผ
า ขนาด 0.25 x 0.60 เมตร
ต
องรับทั้
ง โมเมนต
ดัด MU แรงเฉื
อน VU และโมเมนต บิ
ด TU กํ
าหนดใหfc‘ = 200 กก./ตร.ซม. อัตราสวนของ TU/VU = 0.6 เมตร และค
า 1/Ct = 30 ซม.

1:
800 กก.-เมตร
2:
900 กก.-เมตร
3:
1100 กก.-เมตร
4:
1300 กก.-เมตร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

102 :
จงใช
มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิ ธี
กํ
าลัง ประมาณกํ
าลังรับโมเมนตบิ
ดประลัยที ได
่ จากคอนกรี ต (f TC) ถ
าคานมี
รู
ปตัดตันสีเหลี
่ ยมผื
่ นผ
า ขนาด 0.30 x 0.60 เมตร
ต
องรับทั้
ง โมเมนต
ดัด MU แรงเฉื
อน VU และโมเมนต บิ
ด TU กํ
าหนดใหfc‘ = 300 กก./ตร.ซม. อัตราสวนของ TU/VU = 0.5 เมตร และค
า 1/Ct = 36 ซม.

1:
1900 กก.-เมตร
2:
1600 กก.-เมตร
3:
1300 กก.-เมตร
4:
1000 กก.-เมตร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

103 :
จงใช
มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
กํ
าลัง ประมาณกํ
าลังรับแรงเฉื
อนประลัยที
ได
่ จากคอนกรี
ต (f VC) ถ
าคานมี
รู
ปตัดตันสี
เหลี
่ ยมผื
่ นผ
า ขนาด 0.25 x 0.60 เมตร
www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 19/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

ระยะ d = 50 ซม. ต
องรับทั้
ง โมเมนต
ดัด MU แรงเฉื
อน VU และโมเมนต
บิ
ด TU กํ
าหนดให
fc‘ = 200 กก./ตร.ซม. อัตราส
วนของ TU/VU = 0.6 เมตร และค

1/Ct = 30 ซม.

1:
1400 กก.
2:
1550 กก.
3:
1850 กก.
4:
2000 กก.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

104 :
จงใชมาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธี
กํ
าลัง ประมาณกํ าลังรับแรงเฉื
อนประลัยที
ได
่ จากคอนกรีต (f VC) ถาคานมี
รูปตัดตันสีเหลี
่ ยมผื
่ นผ
า ขนาด 0.30 x 0.60 เมตร
ระยะ d = 50 ซม. ต
องรับทั้
ง โมเมนตดัด MU แรงเฉือน VU และโมเมนตบิ
ด TU กํ
าหนดให fc‘ = 300 กก./ตร.ซม. อัตราส
วนของ TU/VU = 0.5 เมตร และค

1/Ct = 36 ซม.

1:
2500 กก.
2:
2800 กก.
3:
3200 กก.
4:
3800 กก.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

105 :
จงใชมาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธี
กํ
าลัง ประมาณกํ าลังรับโมเมนตบิดประลัยสูงสุ
ด (f Tn) ของคานรู
ปตัดตันสี
เหลี
่ ยมผื
่ นผ
า ขนาด 0.30 x 0.60 เมตร (ซึ
งต
่ องรับ
ทั้
ง โมเมนตดัด MU แรงเฉื อน VU และโมเมนต บิด TU) ที เสริ
่ มเหล็กปลอกเกลี ยวแบบวงป ดและเหล็กเสริ
มตามยาว กํ
าหนดให fc‘ = 300 กก./ตร.ซม.
อัตราส
วนของ TU/VU = 0.5 เมตร คา 1/Ct = 36 ซม. และให f TS = 4(f TC)

1:
5000 กก.-เมตร
2:
6500 กก.-เมตร
3:
8000 กก.-เมตร
4:
9500 กก.-เมตร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

106 :
เมื
อคานรู
่ ปตัดตันสี
เหลี
่ ยมผื
่ นผ
า ต
องรับทั้ง โมเมนต
ดัด M แรงเฉื
อน V และโมเมนต บิ
ด T อันเนืองมาจากน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กใช
งาน พบว
าเหล็
กปลอก (ขาเดี
ยว)
ทีต
่องการสํ
าหรับตานโมเมนต
บิ
ด (At/s) และแรงเฉื
อน (AV/s) มี
ค
าเท
ากับ 0.059 ซม. ดังนั้
น จงหาขนาดเหล็
กปลอกและระยะเรี
ยงที
ต
่องใช
www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 20/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1:
f 9 มม. @ 12.5 ซม.
2:
f 9 มม. @ 15 ซม.
3:
f 12 มม. @ 15 ซม.
4:
f 12 มม. @ 17.5 ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

107 :
พื
นช
้ วงเดี
ยว หนา 12 ซม. เสริ
่ มเหล็กขนาด 16 มม.ทางเดี ยว ทีมี
่กํ
าลังจุ
ดคราก 4000 กก./ซม.2 ระยะ clear covering เท
ากับ 3 ซม. หากกําหนดให
ดัชนี
ความกวางของรอยร
าว (index of crack width) , Z ไม
เกิ
นกว
า 23100 กก./ซม. จงประมาณระยะเรี ยงห
างมากที สุ
่ด (ทางทฤษฎี ) ของเหล็
กเสริ
มนี

1:
45 ซม.
2:
40 ซม.
3:
35 ซม.
4:
30 ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

108 :
พืนยื
้ น หนา 10 ซม. เสริ
่ มเหล็
ก SR 24 ขนาด 9 มม. จํ านวน 9 เสนทุกระยะ 1 เมตร ถ
าระยะ clear covering เท
ากับ 2.5 ซม. และสมมติ
ให
fs = 0.6fy ดัง
นั้
น ดัชนี
ความกวางของรอยร
าว (index of crack width : Z) มี
ค
าประมาณ

1:
8300 กก./ซม.
2:
9300 กก./ซม.
3:
11200 กก./ซม.
4:
12500 กก./ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

109 :
คานรูปตัดตันสี
เหลี
่ ยมผื
่ นผา ขนาด 0.25 x 0.35 เมตร เสริมเหล็ ง As = 14.73 ซม.2 ที
กรับแรงดึ ระยะ d = 30 ซม. จงหาตํ
่ าแหน
งแนวแกนสะเทิ
น (kd) เมื


รับน้
าหนักบรรทุ
ํ กแผ
ใช
งาน กําหนดใหfc‘ = 300 กก./ตร.ซม. fy = 4000 กก./ตร.ซม. n = 8

1:
12.0 ซม.
2:
13.5 ซม.
3:
15.0 ซม.
4:
18.0 ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

110 :
คานรู
ปตัดตันสี
เหลี
่ ยมผื
่ นผ
า ขนาด 0.25 x 0.35 เมตร เสริ มเหล็กรับแรงดึ ง As = 12.32 ซม.2 ที
ความลึ
่ กประสิทธิผลเท
ากับ 30 ซม. จงประมาณค
าโมเมนต
อิ
นเนอร
เชี
ยของหนาตัดแปลงร
าว (Icr) กํ
าหนดใหfc‘ = 200 กก./ตร.ซม. fy = 3000 กก./ตร.ซม. n = 10 และ k = 0.375
www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 21/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1:
43500 ซม.4
2:
55000 ซม.4
3:
56000 ซม.4
4:
65500 ซม.4
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

111 :
คานรู
ปตัดตันสี
เหลี
่ ยมผื
่ นผ
า ขนาด 0.20 x 0.40 เมตร เสริ มเหล็กรับแรงดึ ง As = 9.42 ซม.2 ที
ความลึ
่ กประสิ ทธิผลเท
ากับ 35 ซม. จงประมาณค
าโมเมนต
อิ
นเนอร
เชี
ยของหนาตัดแปลงร
าว (Icr) กํ
าหนดให
fc‘ = 200 กก./ตร.ซม. fy = 3000 กก./ตร.ซม. n = 10 และ k = 0.375

1:
45000 ซม.4
2:
52500 ซม.4
3:
60100 ซม.4
4:
75000 ซม.4
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

112 :
คานรู
ปตัดตันสี
เหลี
่ ยมผื
่ น ผ
า ขนาด 0.25 x 0.35 เมตร เสริ
มเหล็
กรับแรงดึ
งอย
างเดี
ยว จงประมาณค
าโมเมนต
ดัดที
ทํ
่าให
คานเริ
มร
่ าว (Mcr) กํ
าหนดให
modulus of rupture fr = 2.0 กก./ ซม.2

1:
1100 กก.-เมตร
2:
1200 กก.-เมตร
3:
1450 กก.-เมตร
4:
1600 กก.-เมตร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

113 :
คานรู
ปตัดตันสี
เหลี
่ ยมผื
่ นผ
า ขนาด 0.20 x 0.40 เมตร เสริ มเหล็กรับแรงดึ งอย ยว As = 6.03 ซม.2 ที
างเดี ความลึ
่ กประสิ
ทธิ
ผลเท
ากับ 35 ซม. จงประมาณ
ค
าโมเมนต
ดัดทีทํ
่าให
คานเริ
มคราก (My) กํ
่ าหนดให fc‘ = 200 กก./ตร.ซม. fy = 3000 กก./ตร.ซม. n = 10 และ j = 7/8

1:
2750 กก.-เมตร
2:
4450 กก.-เมตร
3:
5540 กก.-เมตร
4:
6200 กก.-เมตร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

114 :
คานยื
นยาว 1.50 เมตร มี
่ ขนาด 0.25 x 0.35 เมตร เสริมเหล็
กรับแรงดึ
งอย
างเดี
ยว ถ
าคานนี
น้
้าหนักบรรทุ
ํ กแผใช
งานทั้
งหมด = 6000 กก./ม. (รวมน้าหนัก

ของคานแล
ว) จงใช
มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
กําลัง ประมาณคาโมเมนตอิ
นเนอร
เชี
ยประสิ
ทธิ
ผลของคาน (Ie) เพื
อนํ
่ าไปคํ
านวณหาค าการโก
งตัวต อไป สมมติ
www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 22/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

Mcr = 1400 กก.-เมตร Icr = 55900 ซม.4


ให

1:
55500 ซม.4
2:
56200 ซม.4
3:
57000 ซม.4
4:
57800 ซม.4
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

115 :
คานช วงเดี
ยว มี
ขนาด 0.25 x 0.35 เมตร เสริ
มเหล็กรับแรงดึ
งอยางเดี
ยว ถ
าคานนี
น้
้าหนักบรรทุ
ํ กแผ
ใชงานทั้
งหมด และพบว าอัตราส
วน Mcr/Ma = 0.20
จงใชมาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
กํ
าลัง ประมาณคาโมเมนต อิ
นเนอร
เชี
ยประสิทธิ
ผลของคาน (Ie) เพื
อนํ
่ าไปคํานวณหาค าการโก
งตัวตอไป สมมติใหIcr = 55900
ซม.4

1:
45500 ซม.4
2:
54500 ซม.4
3:
55000 ซม.4
4:
ไม
มี
ข
อใดถู

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

116 :
คานยื
นยาว 1.50 เมตร มี
่ ขนาด 0.25 x 0.35 เมตร เสริ ก 3-f 25 มม. (As = 14.73 ซม.2) ที
มเหล็ ความลึ
่ กประสิทธิ
ผลเท ากับ 30 ซม. เพื
อรับน้
่ าหนัก

บรรทุ
กแผ
ใช
งาน wD = 5000 กก./ม. (รวมน้
าหนักของคานแล
ํ ว) และ wL = 1250 กก./ม. จงใช
มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
กํ
าลัง ประมาณค าการโก
งตัวทันที
ที่
ปลายคานยื
น สมมติ
่ ให 4 5
Ie = 56050 ซม. และ EC = 2.5x10 กก./ตร.ซม. [สู านวณ Di = wL /(8EcIe) ]
ตรคํ 4

1:
0.30 ซม.
2:
0.35 ซม.
3:
0.40 ซม.
4:
0.50 ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

117 :
คานยืนยาว 1.50 เมตร มี
่ ขนาด 0.25 x 0.35 เมตร เสริ ก 3-f 25 มม. (As = 14.73 ซม.2) ที
มเหล็ ความลึ
่ กประสิ ทธิผลเท
ากับ 30 ซม. เพือรับน้
่ าหนัก

บรรทุกแผใช
งาน wD = 5000 กก./ม. (รวมน้าหนักของคานแล
ํ ว) และ wL = 2500 กก./ม. จงประมาณค 3
าของ (Mcr/Ma) เพือนํ
่ าไปหาค า Ie ตามมาตรฐาน
ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
กํ
าลัง ต
อไป สมมติ
ใหMcr = 1400 กก.-เมตร

1:
0.0042
2:
0.0045
3:
0.0047
www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 23/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

4:
0.0050
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

118 :
คานยืนยาว 1.50 เมตร มี
่ ขนาด 0.25 x 0.35 เมตร เสริ
มเหล็ก 3-f 25 มม. (As = 14.73 ซม.2) ที
ความลึ
่ กประสิทธิผลเท
ากับ 30 ซม. เมื
อคานรับน้
่ าหนัก

บรรทุกแผ
ใช
งาน wD = 5000 กก./ม. (รวมน้
าหนักของคานแล
ํ ว) และ wL = 2500 กก./ม. จงใชมาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธี
กํ
าลัง ประมาณคาของโมเมนต
อิ

เนอร
เชี
ยประสิทธิ
ผลของคานยืน (Ie) สมมติ
่ ใหMcr = 1400 กก.-เมตร

1:
55950 ซม.4
2:
56050 ซม.4
3:
56500 ซม.4
4:
56800 ซม.4
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

119 :
พื
นยื
้ นยาว 1.80 เมตร หนา 10 ซม. เสริ
่ มเหล็กรับแรงดึ
งอยางเดี
ยว ทีความลึ
่ กประสิทธิผลเท
ากับ 7.5 ซม. เมื
อพื
่ นนี
้ รับน้
้ าหนักบรรทุ
ํ กแผ
ใช
งาน wD = 240
กก./ตร.ม. (รวมน้
าหนักของพื
ํ นแล
้ ว) และ wL = 100 กก./ตร.ม. จงใช
มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
กํ
าลัง ประมาณค าของโมเมนตอิ
นเนอร
เชี
ยประสิ
ทธิ
ผลของพื น

ยื
น (Ie) สมมติ
่ ให
Mcr = 470 กก.-เมตร/เมตร

1:
5170 ซม.4
2:
5870 ซม.4
3:
6200 ซม.4
4:
6570 ซม.4
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

120 :
คานยื
นยาว 1.50 เมตร มี
่ ขนาด 0.25 x 0.35 เมตร เสริ มเหล็ก 3-f 25 มม. (As = 14.73 ซม.2) ทีความลึ
่ กประสิทธิ
ผลเท ากับ 30 ซม. ตองรับน้
าหนัก

บรรทุ
กแผ
ใช
งาน wD = 5000 กก./ม. (รวมน้าหนักของคานแล
ํ ว) และ wL = 1250 กก./ม. จงใช
มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
กํ
าลัง ประมาณค าการโก
งตัวทั้
งหมด
ที
ปลายคานยื
่ นนี
่ ้เมื
อรับน้
่ าหนักมากกว
ํ า 5 ป
ขึ
นไป สมมติ
้ ให 4 5
Ie = 55950 ซม. และ EC = 2.5x10 กก./ตร.ซม. [สู านวณ Di = wL /(8EcIe) ]
ตรคํ 4

1:
0.60 ซม.
2:
0.90 ซม.
3:
1.00 ซม.
4:
1.20 ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

121 :
คานยื นยาว 1.50 เมตร มี
่ ขนาด 0.20 x 0.40 เมตร เสริมเหล็
กรับแรงดึ
งอยางเดี
ยวชนิด SD30 As = 9.42 ซม.2 ที
ความลึ
่ กประสิทธิ
ผลเท
ากับ 35 ซม. เพื


รับโมเมนตดัดใช
งานทีหน
่ าตัดวิ
กฤต = 4875 กก.-ม. จงใชมาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิ
ธีหน
วยแรงใช
งาน ประมาณค าการโก
งตัวทันที
ที
ปลายคานยื
่ นนี
่ ้สมมติให
ICR = 60150 ซม.4 และ EC = 2.0x105 กก./ตร.ซม. [สู านวณ Di = ML2/(4EcIe) ]
ตรคํ
www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 24/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1:
0.10 ซม.
2:
0.18 ซม.
3:
0.23 ซม.
4:
0.30 ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

122 :
คานยื นยาว 1.50 เมตร มี
่ ขนาด 0.20 x 0.40 เมตร เสริ
มเหล็กรับแรงดึงอยางเดี
ยวชนิด SD30 As = 9.42 ซม.2 ที
ความลึ
่ กประสิ ทธิ
ผลเท
ากับ 35 ซม. เพื


รับโมเมนต
ดัดใช
งานที หน
่ าตัดวิ
กฤต = 5850 กก.-ม. จงใช มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิ ธี
หนวยแรงใชงาน ประมาณคาการโก งตัวทั้
งหมดที
ปลายคานยื
่ นนี
่ ้เมื


รับน้
าหนักมากกว
ํ า 1 ป
ขึ
นไป สมมติ
้ ใหICR = 60150 ซม.4 และ EC = 2.0x105 กก./ตร.ซม. [สู านวณ Di = ML2/(4EcIe) ]
ตรคํ

1:
0.46 ซม.
2:
0.55 ซม.
3:
0.65 ซม.
4:
ไม
มี
ข
อใดถู

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

123 :
คานชวงเดี
ยวยาวเท
่ ากับ 6.00 เมตร มี
ขนาด 0.25 x 0.35 เมตร เสริมเหล็
กรับแรงดึง 3-f 25 มม. (As = 14.73 ซม.2) ทีความลึ
่ กประสิ ทธิ
ผลเท
ากับ 30 ซม.
เมื
อคานรับน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กแผใชงาน wD = 1240 กก./ม. (รวมน้
าหนักของคานแล
ํ ว) และ wL = 620 กก./ม. จงประมาณค 3
าของ (Mcr/Ma) กําหนดให fc‘ = 300
กก./ตร.ซม. fy = 4000 กก./ตร.ซม. และสมมติ ให
โมเมนต ดัดที
ทํ
่าให
คานเริมร
่ าว (Mcr) = 1400 กก.-เมตร

1:
0.0042
2:
0.0045
3:
0.0048
4:
0.0053
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

124 :
คานชวงเดี
ยวยาวเท
่ ากับ 6.00 เมตร มีขนาด 0.25 x 0.35 เมตร เสริ
มเหล็ ง 3-f 25 มม. (As = 14.73 ซม.2) ที
กรับแรงดึ ความลึ
่ กประสิ
ทธิผลเท ากับ 30 ซม.
จงใช
มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธี
กํ
าลัง ประมาณคาของโมเมนต อิ
นเนอร
เชี
ยประสิทธิ
ผลของคานนี ้(Ie) ถ
าสมมติ า (Mcr/Ma)3 = 0.0048 และ Icr = 55900 ซม.4
ค

1:
56000 ซม.4
2:
56250 ซม.4
3:
56500 ซม.4
4:
56800 ซม.4
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 25/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

ข
อที

125 :
คานชวงเดียวยาวเท
่ ากับ 6.00 เมตร มี
ขนาด 0.25 x 0.35 เมตร เสริ
มเหล็
กรับแรงดึง 3-f 25 มม. (As = 14.73 ซม.2) ที
ความลึ
่ กประสิ
ทธิ
ผลเทากับ 30 ซม.
เพื
อรับน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กแผใช
งาน wD = 1240 กก./ม. (รวมน้
าหนักของคานแล
ํ ว) และ wL = 310 กก./ม. จงใชมาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
กํ
าลัง ประมาณค าการ
โก
งตัวทันทีสมมติใหEC = 2.5x105 กก./ตร.ซม. และโมเมนต
อิ
นเนอรเชี
ยประสิ ผล (Ie) = 56040 ซม.4
ทธิ

1:
2.00 ซม.
2:
1.95 ซม.
3:
1.85 ซม.
4:
1.75 ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

126 :
คานชวงเดียวยาวเท
่ า กั บ 6.00 เมตร มี ขนาด 0.25 x 0.40 เมตร เสริมเหล็
กรับแรงดึ งอย
าง
ดี
ยว ที
ความลึ
่ กประสิ ทธิ
ผลเท
ากับ 34 ซม. เพื อรับน้
่ าหนัก

บรรทุ
กแผ ใช
งาน wD = 3000 กก./ม. (รวมน้ าหนักของคานแล
ํ ว) และ wL = 3900 กก./ม. จงประมาณค
าการโก
งตัวทันทีสมมติ
ให EC = 2.0x105 กก./ตร.ซม.
และโมเมนต อิ
นเนอร
เชียประสิ ทธิผล (Ie) = 86540 ซม.4

1:
1.00 ซม.
2:
1.25 ซม.
3:
1.50 ซม.
4:
ไม
มี
ข
อใดถู

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

127 :
คานชวงเดียวยาวเท
่ ากับ 6.00 เมตร มีขนาด 0.25 x 0.40 เมตร เสริมเหล็กรับแรงดึ
งอย ยว 3-f 25 มม. (As = 14.73 ซม.2) ที
างเดี ความลึ
่ กประสิ
ทธิ
ผล
เท
ากับ 34 ซม. เพื
อรับน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กแผ
ใช
งาน wD = 3000 กก./ม. (รวมน้าหนักของคานแล
ํ ว) และ wL = 3900 กก./ม. จงใชมาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
หน
วย
แรงใชงาน ประมาณค าการโกงตัวทั้
งหมด เมื
อเวลาผ
่ านไป 1 ป สมมติ ให 5
EC = 2.0x10 กก./ตร.ซม. และ ICR = 84750 ซม.4

1:
3.05 ซม.
2:
4.60 ซม.
3:
5.80 ซม.
4:
ไม
มี
ข
อใดถู

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

128 :
คาน คสล. ชวงเดี
ยวยาวเท
่ ากับ 6.00 เมตร รับน้
าหนักบรรทุ
ํ กแผ
ใช
งานทั้
งหมด w = 1860 กก./ม. (รวมน้
าหนักของคานแล
ํ ว) จงใช
มาตรฐาน ว.ส.ท. โดย
วิ
ธี
กํ
าลัง ประมาณคาการโก
งตัวทั้
งหมดทีกึ
่งกลางคาน เมื
่ อเวลาผ
่ านไป 5 ปสมมติ EC = 2.5x105 กก./ตร.ซม. และโมเมนต
ให อิ
นเนอร
เชี
ยประสิทธิ
ผล (Ie) =
56000 ซม.4
1:
7.50 ซม.
2:
7.00 ซม.
3:
6.75 ซม.
4:
www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 26/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

6.00 ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

129 :
คาน คสล. ช
วงเดี
ยวยาวเท
่ ากับ 6.00 เมตร รับน้
าหนักบรรทุ
ํ กแผ
ใช
งานทั้
งหมด w = 1860 กก./ม. (รวมน้ าหนักของคานแล
ํ ว) จงประมาณค
าการโก
งตัว
ทันที
ที
กึ
่งกลางคาน สมมติ
่ EC = 2.5x105 กก./ตร.ซม. และโมเมนต
ให อิ
นเนอรเชี
ยประสิ ผล (Ie) = 56000 ซม.4
ทธิ

1:
2.00 ซม.
2:
2.25 ซม.
3:
2.30 ซม.
4:
2.50 ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

130 :
กันสาดยืนออกจากคานรองรับเป
่ นระยะ = 1.50 ม. ถ
ากันสาดหนา 10 ซม. เสริ ก f 9 มม. จํ
มเหล็ านวน 9 เสนทุ กระยะ 1.00 ม. (As = 5.73 ซม.2/ม.) ที

ความลึกประสิ
ทธิผลเท
ากับ 7.5 ซม. จงประมาณคาโมเมนตอิ
นเนอร
เชี
ยของหนาคัดแปลงร
าว (Icr) กําหนดใหfc‘ = 200 กก./ตร.ซม. fy = 2400 กก./ตร.ซม.
และ n = 10
1:
1850 ซม.4/ม.
2:
1900 ซม.4/ม.
3:
1960 ซม.4/ม.
4:
2050 ซม.4/ม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

131 :
กันสาดยื
นออกจากคานรองรับเป
่ นระยะ = 1.50 ม. หนา 10 ซม. จงประมาณค
าโมเมนต
ดัดที
ทํ
่าให
กันสาดเริ
มร
่ าว (Mcr) สมมติ
ให
modulus of rupture fr =
2.0 กก./ ซม.2 และ fc‘ = 200 กก./ตร.ซม.

1:
470 กก.-เมตร/ม.
2:
500 กก.-เมตร/ม.
3:
530 กก.-เมตร/ม.
4:
560 กก.-เมตร/ม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

132 :
กันสาดยื
นออกจากคานรองรับเป
่ นระยะ = 1.50 ม. หนา 10 ซม. จงใชมาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
กํ
าลัง ประมาณคาโมเมนต
อิ
นเนอร เชี
ยประสิทธิผลของ
กันสาดยื
น (Ie) เมื
่ อกันสาดรับน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กคงทีของตัวมันเองและน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กจรใช
งานแบบแผ= 150 กก./ม.2 สมมติ (Mcr/Ma)3 = 1.25 และ Icr =
ให
1960 ซม.4/ม.

1:
9000 ซม.4/ม.
2:
9500 ซม.4/ม.
www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 27/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

3:
9900 ซม.4/ม.
4:
10200 ซม.4/ม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

133 :
กันสาดยื นออกจากคานรองรับเป
่ นระยะ = 1.50 ม. หนา 10 ซม. จงประมาณค าการโก งตัวทันที
ที
ปลายยื
่ นอันเนื
่ องมาจากน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กจรใช งานแบบแผ
= 150 กก./ม.2 กํ
าหนดให EC = 15100 กก./ตร.ซม. (Ie)DL + LL = 9900 ซม.4/ม. (เนื
องจากน้
่ าหนักของกันสาด + น้
ํ าหนักจร) และให
ํ (Ie)DL = 35900
4
ซม. /ม. (เนื
องจากน้
่ าหนักของกันสาดอย
ํ างเดี
ยว) และ fc‘ = 200 กก./ตร.ซม.

1:
0.06 ซม.
2:
0.07 ซม.
3:
0.08 ซม.
4:
0.10 ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

134 :
คานชวงเดี
ยวมี
่ รู
ปตัดตันสี
เหลี
่ ยมผื
่ นผาขนาด 0.25 x 0.50 เมตร ระยะ d = 0.45 เมตร (ให
x1 = 19 ซม. y1 = 40 ซม.) ต
องรับ M = 5030 กก.-เมตร ที
กลาง

ช
วงคาน และ V = 4200 กก. กับ T = 1200 กก.-เมตร ที หน
่ าตัดวิ
กฤต จงใชวิ WSD หาระยะห
ธี างของเหล็ กปลอก RB 9 มม. แบบวงป ดเพือต
่ านแรงเฉื
อน
และโมเมนตบิ
ด กํ
าหนดให fc‘ = 150 กก./ตร.ซม.

1:
8.50 ซม.
2:
9.25 ซม.
3:
10.25 ซม.
4:
11.25 ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

135 :
คานช
วงเดี
ยวมี
่ รู
ปตัดตันสี
เหลี
่ ยมผื
่ นผ
าขนาด 0.25 x 0.50 เมตร ระยะ d = 0.45 เมตร (ให x1 = 19 ซม. y1 = 40 ซม.) ต
องรับ M = 5030 กก.-เมตร ที
กลาง

ช
วงคาน และ V = 4200 กก. กับ T = 1200 กก.-เมตร ที หน
่ าตัดวิ
กฤต จงใช วิ
ธี WSD หาปริ มาณเหล็ กเสริมชนิด SD 30 ที ต
่องใชตรงกลางชวงคาน เพื


ต
านโมเมนต
ดัดและโมเมนต บิ
ด กํ
าหนดใหfc‘ = 150 กก./ตร.ซม. ค
า k = 0.331, j = 0.89 และ R = 9.941 กก./ตร.ซม.

1:
AS‘ = 0.00 ตร.ซม. AS = 14.50 ตร.ซม.
2:
AS‘ = 2.00 ตร.ซม. AS = 13.50 ตร.ซม.
3:
AS‘ = 2.50 ตร.ซม. AS = 12.50 ตร.ซม.
4:
AS‘ = 3.10 ตร.ซม. AS = 11.50 ตร.ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

136 :
คานยืนรู
่ ปตัดตันสี เหลี
่ ยมผื
่ นผาขนาด 0.25 x 0.50 เมตร ระยะ d = 0.45 เมตร (ใหx1 = 20 ซม. y1 = 40 ซม.) ต
องรับโมเมนต
ดัด MU แรงเฉื
อน VU = 4500
กก. และโมเมนต บิด TU = 1800 กก.-เมตร ที หน
่ าตัดวิกฤต จงใช วิUSD หาระยะห
ธี างของเหล็กปลอก RB 9 มม. แบบวงป ดเพือต
่ านแรงเฉือนและโมเมนต
บิ
ด กําหนดใหfc‘ = 200 กก./ตร.ซม. Ct = 0.036 ซม.-1 a t = 1.36

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 28/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1:
7.50 ซม.
2:
8.75 ซม.
3:
10.00 ซม.
4:
15.00 ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

เนื
อหาวิ
้ ชา : 540 : Design of reinforced concrete structural components by working stress and strength design concepts

ข
อที
่137 : โดยวิ
ธี
Strength design : คานคอนกรี
ตสี
เหลี
่ ยมผื
่ น ผ
า 0.20x0.50 เมตร(d=0.45) มี
เหล็
กเสริ
มรับแรงดึ
งด
านล
าง จํ
านวน 3–DB20 จงหาโมเมนต
ที
คํ
่านวณได
จริ

(Nominal flexural moment หรื
อ ideal strength) ของหน
าตัดนี

ถ
ากํ
าหนดให
คอนกรี
ตมีาลังอัดประลัย 180 กก./ซม2 และใช
กํ เหล็
กเสริ
ม SD30

1 : 11,410 กก.-ม.
2 : 12,410 กก.-ม.
3 : 13,410 กก.-ม.
4 : 10,410 กก.-ม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

138 : ค
ากํ
าลังอัดประลัยของคอนกรี
ตที
ใช
่ ในการออกแบบโครงสร
างคอนกรี
ตเสริ
มเหล็
กตามมาตราฐานวสท.ตรงกับข
อใด

1 : ผลการทดสอบตัวอย
างรู
ปทรงกระบอกที
่ 7 วัน
2 : ผลการทดสอบตัวอย
างรู
ปทรงกระบอกที
่ 28 วัน
3 : ผลการทดสอบตัวอย
างรู
ปลู
กบาศกที

7 วัน
4 : ผลการทดสอบตัวอย
างรู
ปลู
กบาศกที

28 วัน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

139 : เหล็
กข
อใดไม
มี
ขายในท
องตลาด

1 : DB 10
2 : DB 16
3 : DB 19
4 : DB 20

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

140 : ในคานคอนกรี
ตเสริ
มเหล็
กการเสริ
มเหล็
กแบบใดมี
การเตื
อนล
วงหน
าก
อนการวิ
บัติ

1 : เสริ
มเหล็
กเกิน สมดุ

2 : เสริ
มเหล็
กสมดุ ล
3 : เสริ
มเหล็
กต่ากว
ํ าสมดุ

4 : ไม
เสริ
มเหล็

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

141 : เหล็
กกลมรับแรงดึ
งในคานคอนกรี
ตเสริ
มเหล็
กตามทฤษฎี
หน
วยแรงใช
งานสามารถรับแรงดึ
งได
เท
าใด

1 : 0.375 fy
2 : 0.40 fy
3 : 0.45 fy
4 : 0.50 fy

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

142 : เหล็
กในเสาสั้
น คอนกรี
ตเสริ
มเหล็
กตามทฤษฎี
หน
วยแรงใช
งานสามารถรับหน
วยแรงอัดปลอดภัยได
เท
าใด

1 : 0.375 fy
2 : 0.40 fy
3 : 0.45 fy
4 : 0.50 fy

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 29/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

ข
อที

143 : ข
อใดไม
ใช
ส มการที
ใช
่ ในทฤษฎี
หน
วยแรงใช
งาน

1:

2:

3:

4:

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

144 : จงใช
ทฤษฎี
หน
วยแรงใช
งานหาค
า k สํ
าหรับการออกแบบ เมื
อกํ
่ าหนดให
fc=65ksc. fs=1200ksc. และ n=10

1 : 0.245
2 : 0.302
3 : 0.351
4 : 0.368

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที่145 : คานคอนกรี
ตเสริมเหล็
กกว
าง 25 cm.หนา 50 cm.พื
น ที
้ เหล็
่ กเสริ
ม 12sq.cm. เหล็
กอยู
ห
างจากผิ
วด
านแรงดึ
ง 5 cm. ถ
า fc =65ksc. fs=1200ksc. และ n=10 จงหา
โมเมนต
ดัดสูงสุ
ดที
คานจะรับได
่ โดยใช
ทฤษฎีหน
วยแรงใช
งาน

1 : 5099 kg-m
2 : 6099 kg-m
3 : 7099 kg-m
4 : 8099 kg-m

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที
่146 :
คาน คสล. มีหนาตัดกว
าง b และความลึกประสิ
ทธิ
ผล d กํ
าหนดให
fc’ = 225 ksc; fy = 2400 ksc และใช
เกณฑ
มาตรฐานของ ว.ส.ท.ในการออกแบบ จงหาโมเมนต
ต
านทานของ
คอนกรี
ต (Mc )(วิ
ธี
หนวยแรงใชงาน) กํ
าหนดใหn=9

1 : 15.59 bd2
2 : 17.102 bd2
3 : 18.7 bd2
4 : 25.14 bd2

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที่147 : ในการออกแบบเสา คสล. ปลอกเดี
ยว ซึ
่ งมี
่ ขนาด 0.30x0.50 ม. ใช
เหล็
กเสริ
มหลัก 10-DB 25 มม. และใช
เหล็
กปลอก RB 6 มม. จะต
องเรี
ยงเหล็
กปลอกห
างไม
เกิ

เท
าไร (วิ
ธีWSD)

1 : 40 ซม.
2 : 28.8 ซม.
3 : 30 ซม.
4 : 25 ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

148 : แผ
น พื
น หนา 0.15 ซม. หาพื
้ น ที
้ เหล็
่ กเสริ
มได
2.25 ตร.ซม./ม. ต
องการใช
เหล็
กเสริ
ม 12 มม. จะต
องเรี
ยงเหล็
กห
างกัน เท
าไรจึ
งเป
น ไปตามมาตรฐาน ว.ส.ท. (วิ
ธี
SDM)

1 : 40 ซม.
2 : 45 ซม.
3 : 50 ซม.
4 : 60 ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

149 : เสาปลอกเดี
ยวขนาด 0.40x0.40 ม. เสริ
่ มเหล็
ก 8-RB 12 มม. เหล็
กปลอก RB 6 @ 0.25 จะรับน้
าหนักได
ํ เท
าไร ถ
า fc’ = 240 ksc; fy = 3000 ksc (วิ
ธี
WSD)

1 : 93 ตัน
2 : 90.5 ตัน
3 : 106.5 ตัน
4 : 95.5 ตัน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที
่150 : จงหาว
าเสาสั้
น ปลอกเกลี
ยวขนาดเส
น ผ
านศู
น ย
กลาง 30 ซม. มี
เหล็
กเสริ
มยื
น 6-DB 20 มม. fc’ = 210 ksc; fy = 3000 ksc รับน้
าหนักประลัยตามแนวแกนได
ํ เท
าไร เมื


คํ
านวนตามข อกํ
าหนดของวสท.และการก อสร
างมี
การควบคุมงานเป
น อย
างดี

1 : 105 ตัน
2 : 114 ตัน
3 : 150 ตัน
www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 30/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
4 : 190 ตัน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที
่151 : จงหาคํ
านวนกํ
าลังรับน้
าหนักที
ํ ส ถาวะประลัยของเสาสั้
่ น ปลอกเดี
ยวขนาด 40x40 ซม. มี
่ เหล็
กเสริ
มยื
น 6-DB 20 มม. เมื
อกํ
่ าหนด fc’ = 210 ksc; fy = 3000 ksc คํ
านวน
ตามมาตราฐาน วสท. กรณี
การก อสร
างมี
การควบคุมงานเปน อย
างดี

1 : 190 ตัน
2 : 201 ตัน
3 : 203 ตัน
4 : 216 ตัน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที
่152 :
จงออกแบบเพื
อหาขนาดและระยะเรี
่ ยงของเหล็ กปลอกเดี ยวที
่ มี
่ปริมาณเหล็
กปลอกต่ าสุ
ํ ดในเสาสั้น ขนาด 20x30 sq.cm.เสริ
มเหล็กตามแนวแกน 6-DB20 โดยทฤษฎี
กํ
าลังประลัย
ตามมาตราฐานวสท. เมื
อกํ
่ าหนดเสารับแรงอัดประลัย 50 Tons ถ
าใช
เหล็
กกลม fy = 2400 ksc เปน เหล็
กปลอก คอนกรี
ตมีกํ
าลังประลัย 240 ksc.

1 :6 mm.@ 0.18 m.
2 :6 mm.@ 0.20 m.
3 :6 mm.@ 0.28 m.
4 :6 mm.@ 0.32 m.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

153 : เหล็
กยื
น ในเสาควรมี
เนื
อที
้ หน
่ าตัดไม
เกิ
น กี
เปอร
่ เซ็
น ของเนื
อที
้ หน
่ าตัดทั้
งหมดของคอนกรี

1 : 1%
2 : 3%
3 : 5%
4 : 8%

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที่
154 :
จงใช
วิ
ธี
กํ
าลังหาระยะเรี
ยงของเหล็
กปลอก (RB 6 mm. เกรด SR 24)แบบลู
กตั้
งของคานคอนกรี
ต กว
าง 20 cm ความลึ
กประสิ
ทธิ
ผลเท
ากับ 40 cmเมื
อมี
่ แรงเฉื
อนกระทํ
า Vu=1600
kg ความตานทานแรงเฉือนของคอนกรี
ต Vc= 2000 kg

1 : 15
2 : 20
3 : 27.5
4 : 33.9

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที่155 : พื
น S1 ขนาด 5x5 เมตร หนา 12 ซม. เหล็
้ กเสริ
มโมเมนต
บวก(เสริ
มล
าง) กลางแผ
น พื
น กํ
้ าหนดให
เท
ากับ RB12@0.15# ถ
าต
องการเป
ดช
องโล
งกลางแผ
น พื
น นี
้ ้
ขนาด
0.80x0.80 เมตร ต
องเสริ
มเหล็
กทดแทนอยางนอยเทาไร?

1 : เสริ
ม 2-RB9 ทั้
งสองข
าง (รวมสี
ด
่าน)
2 : เสริ
ม 2-RB12 ทั้
งสองข
าง (รวมสี
ด
่าน)
3 : เสริ
ม 2-DB16 ทั้
งสองข
าง (รวมสี
ด
่าน)
4 : เสริ
ม 2-DB20 ทั้
งสองข
าง (รวมสี
ด
่าน)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

156 : พื
น ยื
่ น ในข
่ อใดมี
การเสริ
มเหล็
กที
ถู
่กต
อง

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 31/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1:

2:

3:

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 32/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

4:

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

157 : คอนกรี
ตมีาลัง ( fc , ) รู
กํ ปทรงกระบอก 300 kg/cm 2 ควรมี
ค
าโมดู
ลัส ยื
ดหยุ
น เท
 าใด

1 : 3.0 x 106 กก/ซม2


2 : 2.6 x 106 กก/ซม2
3 : 2.6 x 105 กก/ซม2
4 : 3.0 x 105 กก/ซม2

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

158 : เมื
อกํ
่ f’c = 200 ksc และ Es = 2.04 x 10 6 ksc ค
าหนดให าสัดส
วนโมดู
ลัส ของเหล็
กเสริ
มต
อของคอนกรี
ต (n) มี
ค

1 :8
2 :9
3 : 10
4 : 11

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

159 : จงเรี
ยงลํ
าดับขนาดของน้
าหนักบรรทุ
ํ กจรจากมากไปน
อย ของส
วนต
างๆในโรงเรี
ยนแห
งหนึ

1 : ห
องประชุ ม > ห
องน้า > ห
ํ องสมุ

2 : ห
องสมุ ด > ห
องประชุ ม > ห
องน้


3 : เท
ากัน ทุ
กสวนของโรงเรี ยน
4 : ห
องสมุ ด > ห
องน้า > ห
ํ องประชุ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

160 : โมดู
ลัส ของการแตกร
าว (Modulus of rupture) ของคอนกรี
ตที
มี
่กํ
าลังอัด 210 ksc มี
ค
าเท
ากับเท
าไร

1 : 22.98 ksc
2 : 25.89 ksc
3 : 28.98 ksc
4 : 31.89 ksc

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที่161 : คานยืน ขนาด 25 cm. x 50 cm. (ความลึ
่ กประสิ
ทธิ
ผล d = 42.5 cm.) กํ
าหนดให
f’c = 210 ksc , fy = 3000 ksc ควรมี
การเสริ
มเหล็
กตามข
อใด เพื
อใช
่ ต
านทานโมเมนต
ดัดประลัย Mu = 22,000 kg.m

1 : เหล็
กบน 3-DB25
2 : เหล็
กล
าง 3-DB25
3 : เหล็
กบน 5-DB25
4 : เหล็
กล
าง 5-DB25

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที่
162 : คานขนาด 20 cm. x 45 cm. (ความลึ
กประสิ
ทธิ
ผล d = 40 cm.) ควรมี
ปริ
มาณเหล็
กเสริ
มน
อยที
สุ
่ดไม
น
อยกว
าข
อใดต
อไปนี

เมื
อกํ
่ าหนดให
f’c = 210 ksc และ fy = 3000
ksc

1 : 2-DB12
2 : 3-DB12
3 : 2-DB16

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 33/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
4 : 3-DB16

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที่163 : จงคํ
านวณความลึกประสิทธิผลของเหล็ กเสริ
มรับแรงดึ
งของคานยื
น ที
่ มี
่หน
าตัดขนาด 20 cm. x 50 cm. เหล็
กเสริ
มบน 2-DB20 เหล็
กเสริ
มล
าง 2-DB16 ใช
เหล็
กปลอก
าหนดให
RB-6 @ 0.15 m. (กํ ใช
covering = 3.0 cm.)

1 : 44.6 cm.
2 : 45.4 cm.
3 : 45.6 cm.
4 : 46.4 cm.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

164 : จากรู
ปตัดของบัน ได จะต
องใช
ค
าความยาวค
าใดในการออกแบบบัน ไดแบบพาดช
วงยาว เมื
อคํ
่ านวณโดยพิ
จารณาจากน้
าหนักบรรทุ
ํ กกระทํ
าบนพื
น ราบ

1 : 2.0 m.
2 : 3.0 m.
3 : 3.2 m.
4 : 4.2 m.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

165 : ปริ
มาณเหล็
กเสริ
มยื
น ในเสาคอนกรี
ตเสริ
มเหล็
ก 20 x 120 ตร.ซม. ควรพิ
จารณาใช
เป
น เหล็
กน
อยสุ

1 :4 DB 12
2 :6 DB 10
3 :6 DB 12
4 :8 DB 20

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที่166 : จงคํ
านวณจํานวนเสาเข็
มที ต
่องใชสําหรับฐานรากเสาเข็มซึ
งรับแรงตามแนวแกนประกอบด
่ วยน้
าหนักบรรทุ
ํ กคงที่(Dead Load) = 60 ตัน น้ าหนักบรรทุ
ํ กจร (Live Load)
= 40 ตัน โดยฐานรากมี
น้
าหนักของตัวเอง = 5.5 ตัน เมื
ํ อเลื
่ อกใช
เสาเข็
มขนาด 30 cm. x 30 cm. ซึ
งสามารถรับน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กใชงานได
เท
ากับ 30 ตัน /ต

1 : 3 ต

2 : 4 ต

3 : 5 ต

4 : 6 ต

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที่
167 : แผ
น พื
น หล
้ อในที
ขนาด 2.00 x 5.00 m. ไม
่ ต
อเนื อง 4 ด
่ าน มีความหนาแผ น พื
น 0.08 m. รับน้
้ าหนักบรรทุ
ํ กจร 300kg/m 2.ตามข อกํ
าหนดมาตราฐานว.ส.ท.โดยวิ
ธี
หน
วย
แรงใช
งาน(WSD)ใช เหล็
กเสริ
มชนิ
ด SR24 fs = 1200 ksc, j = 0.88 , R = 10.1 ksc. และความลึกประสิ ทธิ
ผล (d) = 5 cm. จะต
องใช
เหล็
กเสริ
มไม
น
อยกว

1 : 2.83 cm.2/m.
2 : 3.71 cm.2/m.
3 : 4.66 cm.2/m.
4 : 8.15 cm.2/m.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที่
168 : ฐานรากเสาเข็
มหน
าตัดรู
ปสี
เหลี
่ ยมจัตุ
่ รัส ใช
เสาเข็
มขนาด 0.20 x 0.20 x 9.00 m. จํ
านวน 4 ต
น ซึ
งเสาเข็
่ มแต
ละต
น กํ
าหนดให อยู
ในตํ
 าแหนงที
ส มมาตรเมื
่ อพิ
่ จารณาจาก
หน
าตัดฐานราก จงคํานวณหาขนาดของฐานรากที ยังไม
่ พิ
จารณาถึงแรงที
กระทํ
่ า สมมติ ศูน ย
กลางเสาเข็
มอยู
ห
างจากขอบของฐานรากเปน ระยะเท
ากับขนาดเสน ผ
าศู
น ย
กลางของเสา
เข็

1 : 1.00 x 1.00 m.
2 : 1.20 x 1.20 m.
3 : 1.30 x 1.30 m.
4 : 1.50 x 1.50 m.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที
่169 : ฐานแผ
(Spread Footing) บนดิ
น ขนาด 1.50 x 2.00 ม. มีความหนา 0.40 ม. รองรับเสาตอม
อขนาดหนาตัด 0.20 x 0.20 ม. วางที
ตํ
่าแหนงกึ
งกลางฐานราก ถ
่ าน้
าหนัก

ฐานรากรวมกับน้
าหนักที
ํ กระทํ
่ าตามแนวแกนเท ากับ 25,000 kg. จงคํ
านวณหาค
าหนวยแรงเฉือนทางเดี ยวทางยาวที
หน
่ าตัดวิกฤติกําหนดความลึ กประสิ
ทธิผล (d) = 35 cm.

1 : 2.38ksc.

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 34/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
2 : 2.14ksc.
3 : 1.72 ksc.
4 : 1.31 ksc.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที
่170 : ฐานแผวางบนดิน ขนาด 1.5 x 2.0 m.หนา 0.40 m. รองรับเสาตอม
อขนาดหน าตัด 0.2 x 0.2 m. วาง ณ กึงกลางฐานราก ถ
่ าน้
าหนักฐานรากรวมกับแรงที
ํ กระทํ
่ าตามแนว
แกนบนเสาตอม อเทากับ 25,000 kg. จงคํ
านวณหาค าปริมาณเหล็กเสริมทางยาวต านทานโมเมนต ดัดสู
งสุดโดยวิ
ธี
หนวยแรงใช งาน(WSD)ตามมาตราฐานว.ส.ท. กํ าหนดความหนา
ฐานรากสามารถรับแรงเฉือนแบบคานกว างและแบบทะลุ ไดความลึกประสิ ทธิ
ผล (d) = 35 cm. , j = 0.88 และใช
เหล็
กเสริ
ม fy = 2400 ksc

1 : 7.1 cm2.
2 : 9.1 cm2.
3 : 13.7 cm2.
4 : 15.0 cm2.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที
่171 : คานขนาด 0.20 x 0.50 มี ความยาวช วง 5 ม. รับน้
าหนักบรรทุ
ํ กรวมน้
าหนักคานทั้
ํ งหมด 2000 kg/m ต
องเสริ
มเหล็
กรับแรงดึ
งเท
าใด ถ
าออกแบบด
วยวิ
ธห
ีน
วยแรงใช
งาน
(WSD), fc’=240 ksc, fy = 3000 ksc, d = 0.45 m, k = 0.39

1 : 2-DB25
2 : 3-DB25
3 : 4-DB25
4 : 5-DB25

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ขอที่172 : คานขนาด 0.20 x 0.50 มี ความยาวช


วง 5 ม. รับน้
าหนักบรรทุ
ํ กรวมน้
าหนักคานทั้
ํ งหมด 2000 kg/m ออกแบบด
วยวิ
ธี
หน
วยแรงใช
งาน (WSD)หาปริ
มาณเหล็
กปลอก,
fc’=240 ksc,fy = 2400 ksc , d = 0.45 m

1 : RB6@0.10
2 : RB6@0.20
3 : RB6@0.30
4 : RB6@0.40

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที่ 173 : จงออกแบบเหล็ กเสริมโดยวิธี
หน วยแรงใชงาน (WSD) ของพื
น คอนกรี
้ ตเสริ
มเหล็
กทางเดี
ยว (one-way slab) ช
วงยาว 2 ม. หนา 10 ซม. รับน้
าหนักบรรทุ
ํ กจร 200 กก./
ตร.ม. กํ
าหนด fc’=200 ksc, fy = 2400 ksc, d = 0.07 m, k = 0.40

1 : RB6@0.10
2 : RB6@0.20
3 : RB9@0.10
4 : RB9@0.20

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

174 : เสาสั้
น ขนาด 0.25 x 0.25 สามารถรับน้
าหนักบรรทุ
ํ กได
ต่
าสุ
ํ ดเท
าใด โดยวิ
ธี
หน
วยแรงใช
งาน (WSD) กํ
าหนด fc’=240 ksc, fy = 3000 ksc

1 : 38.2 ตัน
2 : 39.8 ตัน
3 : 82.9 ตัน
4 : 95.6 ตัน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

175 : จงหาโมเมนต
ดัดเพื
อออกแบบฐานรากแผ
่ ข นาด 2.0 x 2.0 หนา 0.40 ซม. รับเสาขนาด 0.40 x 0.40 น้
าหนักฐานราก และแรงถ
ํ ายลงเสาตอม
อรวม 40 ตัน

1 : 1152 kg-m/m
2 : 2048 kg-m/m
3 : 3200 kg-m/m
4 : 5000 kg-m/m

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

176 : ในการออกแบบพื
น S1โดยวิ
้ ธี
กํ
าลังประลัย โดยมี
แปลนพื
น -คาน และข
้ อมู
ลสํ
าหรับการออกแบบแสดงดังรู
ป การเสริ
มเหล็
กที
รู
ปตัด1-1ในข
อใดเป
น คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 35/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1 : A: RB6@0.15 B: RB6@0.25
2 : A: RB6@0.25 B: RB6@0.15
3 : A: RB9@0.15 B: RB9@0.20
4 : A: RB9@0.20 B: RB9@0.15

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

177 : พ.ร.บ. ควบคุ
มอาคาร กํ
าหนดหน
วยแรงใช
งานสํ
าหรับคอนกรี
ตและเหล็
กเสริ
มในคาน คสล. ที
รับโมเมนต
่ ดัด ดังต
อไปนี

ข
อใดที
ถู
่กต
อง

1 : fc = 0.375fc’ กก./ตร.ซม. ไม


เกิ
น 60 กก./ตร.ซม.
2 : fs (เหล็กกลม) = 1200 กก./ตร.ซม.
กข
3 : fs (เหล็ ออ
อยซึ
ง fy ไม
่ เกิ
น 4200 กก./ตร.ซม.) = 0.5f y กก./ตร.ซม.
กข
4 : fs (เหล็ ออ
อยซึ
ง fy มากกว
่ า 4200 กก./ตร.ซม.) = 1700 กก./ตร.ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

178 : พ.ร.บ. ควบคุ
มอาคาร กํ
าหนดหน
วยแรงใช
งานสํ
าหรับคอนกรี
ตและเหล็
กเสริ
มในเสา คสล. ดังต
อไปนี

ข
อใดที
ไม
่ ถู
กต
อง

กกลมในเสาปลอกเกลี
1 : fs (เหล็ ยว) = 1200 กก./ตร.ซม.
กข
2 : fs (เหล็ ออ
อยในเสาปลอกเกลี
ยว) = 0.4f y ไม
เกิ
น 2100 กก./ตร.ซม.
3 : fs ในเสาปลอกเดี
ยว = 0.85 เท
่ าของค
าที
กํ
่าหนดของเสาปลอกเกลี
ยว แต
ไม
เกิ
น 1750 กก./ตร.ซม.
4 : fc = 0.375fc’ กก./ตร.ซม. ไม
เกิ
น 60 กก./ตร.ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

179 : มาตรฐาน ว.ส.ท. กํ
าหนดหน
วยแรงใช
งานสํ
าหรับคอนกรี
ต ดังต
อไปนี

ข
อใดไม
ถู
กต
อง

1 : fc เมื
อรับแรงอัดหรื
่ อแรงดัด = 0.45f c’ กก./ตร.ซม.
2 : fv เมื
อคานไม
่ มี
เหล็ อน = 0.29 f c’ 1/2 กก./ตร.ซม.
กรับแรงเฉื
3 : fv เมื
อคานมี
่ เหล็ อน = 1.36 f c’ 1/2 กก./ตร.ซม.
กรับแรงเฉื
4 : fv เมื
อแผ
่ น พื
น หรื
้ อฐานรากรับแรงเฉื = 0.53 f c’ 1/2 กก./ตร.ซม.
อนทะลุ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

180 : มาตรฐาน ว.ส.ท. กํ
าหนดหน
วยแรงใช
งานสํ
าหรับเหล็
กเสริ
ม ดังต
อไปนี

ข
อใดไม
ถู
กต
อง

กกลม) = 1200 กก./ตร.ซม.


1 : fs (เหล็

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 36/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
กข
2 : fs (เหล็ ออ
อยซึ
ง fy ไม
่ เกิ
น 4000 กก./ตร.ซม.) = 0.5fy แต
ไม
เกิ
น 1500 กก./ตร.ซม.
กข
3 : fs (เหล็ ออ อยซึง fy มากกว
่ า 4000 กก./ตร.ซม.) = 0.5f y แต
ไม
เกิ
น 1700 กก./ตร.ซม.
กขวัน
4 : fs (เหล็ ้) = 0.5 เทาของกํ
าลังพิ
สูจนแตไม
เกิน 2500 กก./ตร.ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

181 : สมมติ
ฐานข
อใดต
อไปนี

ที
ไม
่ มี
อยู
ในการออกแบบ คสล. โดยวิ
 ธี
กํ
าลัง (Strength design)

1 : หนวยการยื ด-หดตัวบนหน
าตัดเปน สัดสวนโดยตรงกับระยะที
ห
่างจากแนวแกนสะเทิน
2 : ความสัมพัน ธระหว
างหน
วยแรงกับหน วยการยืด-หดตัวของคอนกรี
ตและเหล็
กเสริ
ม เปน สัดส
วนโดยตรง
3 : การยึดเหนี ยวระหว
่ างคอนกรี
ตกับเหล็ กเสริ
มเป
น ไปอย
างสมบู
รณ
4 : ไม
คิดกําลังตานทางแรงดึ
งของคอนกรี ตใต
แนวแกนสะเทิ น

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

182 : ในการจัดวางเหล็
กเสริ
ม ข
อใดต
อไปนี
ที
้ไม
่ ถู
กต
อง

1 : ระยะช
องว
างของเหล็
กเสริ
มในเสาต องไม น
อยกว
า 4 ซม. หรือ 1.34 เทาของขนาดโตสุดของหิ น
2 : ระยะช
องว
างของเหล็
กเสริ
มในแผน พืน ทั่
้ วไป ต
องไมเกิ
น กว
า 3 เทาของความหนาของแผ น พื
น หรื
้ อ 45 ซม.
3 : ระยะช
องว
างของเหล็
กเสริ
มในชั้
น เดี
ยวกัน ของคานต องไมแคบกว าเสน ผ
าศู
น ย
กลางของเหล็กเสริม หรื
อ 1.34 เท
าของขนาดโตสุ
ดของหิ
น หรื
อ 2.5 ซม.
4 : ระยะช
องว
างของเหล็
กเสริ
มแต
ละชั้น สํ
าหรับคาน ตองไม เกิ
น กว
า 2.5 ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

183 :
ในวิ
ธี
WSD ถ
าให เป
น อัตราส
วนของเหล็
กเสริ
มรับแรงดึ
งในคาน คสล. Ms เป
น โมเมนต
ต
านทานโดยเหล็
กเสริ
ม, Mc เป
น โมเมนต
ต
านทานโดยคอนกรี
ต ข
อใดไม
ถู
กต
อง

ก) รู
ปตัดคาน ข) การกระจายของ ค) การกระจายของหน
วยแรง
หนวยการยืดหดตัว และแรงภายในบนหน าตัด

1 : ถ
า = b แสดงว
า Ms = Mc
2 : ถ
า < b แสดงว
า Ms < Mc
3 : ถ
า < b แสดงว
า Ms > Mc
4 : ถ
า > b แสดงว
า Mc < Ms

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที่
184 :
ในวิ
ธีWSD ถ
าให
n = Es /Ec, = As /bd ข
อใดไม
ถู
ต
อง

ก) รู
ปตัดคาน ข) การกระจายของ ค) การกระจายของหน
วยแรง
หนวยการยื
ดหดตัว และแรงภายในบนหนาตัด

1:

2:

3:

4:

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

185 : โมเมนต
ลบที
พื
่น ยื
้ น ต
่ องรับ M =215 กก.-เมตร/เมตร หน
วยแรงใช
งานที
ยอมใหf c = 65 กก./ตร.ซม., f s = 1200 กก./ตร.ซม. และ n = 11 ถ
่ าใช
แผ
น พื
น หนา 10 ซม.

ความลึ
กประสิ
ทธิ
ผล d = 7.5 ซม. ต
องการปริ
มาณเหล็
กเสริ
มเอกต
อความกว
างหนึ
งเมตร เท
่ ากับ

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 37/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
1 : 2.05 ตร.ซม.
2 : 2.50 ตร.ซม.
3 : 2.75 ตร.ซม.
4 : 3.00 ตร.ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที่186 : คาน คสล. รูปตัดขนาด 20x45 ซม. (d = 40 ซม., d’ = 5 ซม.) ต
องรับโมเมนต
ดัดทั้
งหมด M = 5850 กก.-เมตร หน
วยแรงใช
งานที
ยอมให
่ f c = 90 กก./ตร.ซม., f s =
1200 กก./ตร.ซม. และ n = 10 ปริ
มาณเหล็
กเสริ
มรับแรงดึงทีต
่ องการอย างน
อยเท
ากับ

1 : 15.25 ตร.ซม.
2 : 14.25 ตร.ซม.
3 : 13.93 ตร.ซม.
4 : 12.90 ตร.ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที
่187 : คานรู
ปตัวที
โดดๆ เสริ
มเหล็
กรับแรงดึ
ง (A s = 14.73 ตร.ซม.) ดังรู
ป ถ
าหน
วยแรงใช
งานที
ยอมให
่ f c = 45 กก./ตร.ซม., f s = 1200 กก./ตร.ซม. และ n = 14 จงประมาณ
ค
าโมเมนตตานทานโดยปลอดภัยของคานนี ้

1 : 6000 กก.-เมตร
2 : 6360 กก.-เมตร
3 : 7000 กก.-เมตร
4 : 7240 กก.-เมตร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

188 : คาน คสล. ช
วงเดี
ยวธรรมดารับน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กใช
งานแบบแผ
w = 6.5 ตัน /เมตร (รวมน้
าหนักของคานแล
ํ ว) ถ
าคานมี
รู
ปตัดดังแสดง โดยที

f c’ = 100 กก./ตร.ซม. และ
สมมติ
ใช
เหล็
กปลอก (SR24) ขนาด 9 มม. จงหาระยะเรี
ยงของเหล็
กปลอก

1 : 4 ซม.
2 : 6 ซม.
3 : 8 ซม.

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 38/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
4 : 12 ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ขอที

189 : เสาสั้
น สี
เหลี
่ ยมจตุ
่ รัส ขนาด 30x30 ซม. ต
องรับแรงอัดใช
งานตามแนวแกน = 54 ตัน ถ
ากํ
าหนดให
f c’ = 100 กก./ตร.ซม., f y = 3000 กก./ตร.ซม. และเหล็
กปลอกเดี
ยว

(SR24) ขนาด 6 มม. จงหาเหล็
กยื น และระยะห
างของเหล็กปลอกเดี ยวที
่ ควรใช

1 : เหล็
กยื
น 8-DB 20 มม. เหล็
กปลอก RB 6 มม. @ 32 ซม.
2 : เหล็
กยื
น 8-DB 20 มม. เหล็
กปลอก RB 6 มม. @ 30 ซม.
3 : เหล็
กยื
น 8-DB 20 มม. เหล็
กปลอก RB 6 มม. @ 29 ซม.
4 : เหล็
กยื
น 8-DB 20 มม. เหล็
กปลอก RB 6 มม. @ 25 ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที
่190 : จงประมาณเหล็ กยื
น ทีต
่ องใชในเสาปลอกเดี ยวจัตุ
่ รัส ขนาด 25x25 ซม. เพื
อรับน้
่ าหนักใช
ํ งาน P = 40 ตัน , M = 2 ตัน -เมตร โดยพิ
จารณาจากกราฟออกแบบที
แสดง

กํ
าหนดให fc’ = 250 กก./ตร.ซม., f y = 3000 กก./ตร.ซม.

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 39/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1 : ใช
เหล็
กยื
น 6-DB 16 มม.
2 : ใช
เหล็
กยื
น 6-DB 20 มม.
3 : ใช
เหล็
กยื
น 4-DB 28 มม.
4 : ไม
มี
ข
อใดทีเหมาะสม

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที
่191 : ถ
า P เสายาว และ Mเสายาว เป
น แรงอัดและโมเมนต
ดัดที
กระทํ
่ าต
อเสายาวซึ
งมี
่ อัตราส
วนความชะลู
ดค
าหนึ
ง และ R เป
่ น ตัวคู
ณลดกํ
าลังของเสาตามมาตรฐาน วสท.
กํ
าหนดในวิ
ธี
หน
วยแรงใช
งาน ดังนั้
น แรงอัดและโมเมนต
ดัดที
จะนํ
่ ามาพิ
จารณาออกแบบ คื

1 : P = (1/R)Pเสายาว อย
างเดี
ยว

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 40/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
2 : M = (1/R)Mเสายาว อย
างเดี
ยว
3 : P = (1/R)Pเสายาว และ M = (1/R)M เสายาว
4 : P = Pเสายาว และ M = (1/R)M เสายาว

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

192 : ในการออกแบบฐานรากแบบวางบนเสาเข็
ม ตามรู
ป แรงอัดสู
งสุ
ดที
เสาเข็
่ มต
องรับพิ
จารณาได
จากค

1 : R1
2 : R2
3 : R3
4 : R4

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

193 : ป
จจัยสํ
าคัญในการหาขนาดความลึ
กของฐานรากทั่
วไป คื

1 : ระยะถ
ายแรงจากเหล็ กยื
น สู
ฐานราก

2 : โมเมนตดัด
3 : แรงเฉื
อนทางเดียวแบบคานและแรงเฉือนทะลุ
4 : แรงกดอัดระหว
างตัวเสากับฐานราก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

194 : พ.ร.บ. ควบคุ
มอาคารข
อบัญญัติ
ข องกรุ
งเทพมหานคร กํ
าหนดหน
วยแรงสู
งสุ
ดของคอนกรี
ตและเหล็
กเสริ
มสํ
าหรับการออกแบบโดยวิ
ธี
กํ
าลังดังต
อไปนี

ข
อใดไม
ถู
กต
อง

1 : หน
วยแรงสู
งสุ
ดของคอนกรี
ต = 150 กก./ตร.ซม.
2 : หน
วยแรงสู
งสุ
ดของเหล็
กเสริ
มธรรมดา เมือไม
่ มีผลการทดสอบ ให ใช
ไมเกิ
น 2400 กก./ตร.ซม.
3 : หน
วยแรงสู
งสุ
ดของเหล็
กเสริ
มอื
น ให
่ ใช
เทากับ 0.85f y แต
ไม
เกิ
น 4200 กก./ตร.ซม.
4 : ไม
มี
ข
อใดถู
กต
อง

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

195 : การต
อทาบเหล็
กข
ออ
อย (ขนาดเส
น ผ
าศู
น ย
กลางที
เล็
่ กกว
า 36 มม.) ซึ
งรับแรงดึ
่ งและที
รับแรงอัดต
่ องไม
น
อยกว

1 : 25 ซม.
2 : 30 ซม.
3 : 36 ซม.
4 : 40 ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

196 : ข
อปฏิ
บัติ
ในการเสริ
มเหล็
กต
านการยื
ดหดในแผ
น พื
น ขนาด bxh ข
้ อใดไม
ถู
กต
อง

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 41/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
1 : min. As สํ
าหรับเหล็
ก SR24 ต
องไม
น
อยกว
า 0.0025bh
2 : min. As สํ
าหรับเหล็
ก SD30 ต
องไม
น
อยกว
า 0.0020bh
3 : min. As สํ
าหรับเหล็
ก SR40 ต
องไม
น
อยกว
า 0.0018bh
4 : เรี
ยงเหล็
กต
านการยื
ดหดห
างกัน ไม
เกิ
น 5 เท
าของความหนาของแผ
น พื
น หรื
้ อไม
เกิ
น 40 ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

197 : ข
อความใดต
อไปนี

ไม
ถู
กต
องตามหลักวิ
ชา

1 : คาน คสล. ที
เสริ
่ มเหล็
กรับแรงดึ
งพอดีเทากับอัตราส
วนทีส ภาวะสมดุ
่ ล เหล็กเสริ
มจะถู
กดึงถึ
งจุ
ดคราก และคอนกรี
ตจะถู
กอัดแตกพร
อมๆ กัน
2 : คาน คสล. ที
เสริ
่ มเหล็
กรับแรงดึ
งนอยกว
าอัตราส วนที
ส ภาวะสมดุ
่ ล เหล็กเสริ
มจะถูกดึ
งถึ
งจุ
ดคราก ก
อนทีคอนกรี
่ ตจะถู
กอัดแตก
3 : คาน คสล. ที
เสริ
่ มเหล็
กรับแรงดึ
งมากกวาอัตราสวนทีส ภาวะสมดุ
่ ล ย
อมโกงตัวได
มากกว

4 : คอนกรี
ตจะถูกอัดแตกเมื
อหน
่ วยการหดตัวมี
ค าสู
งสุดประมาณ 0.003-0.004 มม./มม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที่
198 :
เพื
อให
่ การคํานวณออกแบบโดยวิ ธี
กํ
าลังง
ายขึ

้ จึงสมมติใหหนวยแรงอัดในคอนกรีตทีส ภาวะวิ
่ บัติ
กระจายเป
น รู
ปสี
เหลี
่ ยมผื
่ น ผ
าเที
ยบเท
าดังแสดง โดยให
หน
วยแรงอัดสู
งสุ
ดใน
คอนกรี
ตมีคาเท
ากับ 0.85fc ' และแผ
ส ม่
าเสมอบนพื
ํ น ที
้ รับแรงอัดเที
่ ยบเทา ดังรู
ป ทั้
งนี
ค
้ า คื

(ก) รู
ปตัดคาน (ข) การกระจายของ (ค) การกระจายของ (ง) แรงภายใน
หนวยการยืดหดตัว หนวยแรง บนหนาตัด

1: = 0.85 เมื

่ ≤ 280 กก./ซม.2
2: = = 0.85 - 0.05( อ 280 กก./ซม.2 <
- 280)/70 เมื
่ ≤ 560 กก./ซม.2
3: = 0.65 เมื

่ > 560 กก./ซม.2
4 : ถู
กทุ
กขอ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

199 : เพื
อให
่ การวิ
บัติ
เป
น แบบ yielding failure มาตรฐาน วสท. กํ
าหนดให
ใช
อัตราส
วนของเหล็
กเสริ
มรับแรงดึ
งสู
งสุ
ด ดังนี

1:

2:

3:

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 42/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

4:

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

200 : คาน คสล. ช
วงเดี
ยวธรรมดา รับน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กแบบแผ
ที
เพิ
่ มค
่ าแล
ว w u = 9.5 ตัน /เมตร (รวมน้
าหนักของคานแล
ํ ว) ถ
าคานมี
รู
ปตัดดังแสดง โดยที

f c’ = 200 กก./ตร.ซม.
และสมมติ
ใช
เหล็
กปลอก (SR24) ขนาด 9 มม. จงประมาณหาระยะเรี
ยงของเหล็
กปลอก

1 : 8 ซม.
2 : 9 ซม.
3 : 15 ซม.
4 : 18 ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที่201 : ถาเสาสั้
น ปลอกเดียวต
่ องรับ P u = 131.25 ตัน และ M u = 22.3 ตัน -เมตร หากพิจารณาใช
เสารู
ปตัด b = 25 ซม., h = 50 ซม., d = 45 ซม. โดยที
่f c’ = 300 กก./
ตร.ซม., fy = 3000 กก./ตร.ซม. จงประมาณหาปริ มาณเหล็ กยืน ทั้
งหมด (A st) ที
ต
่องใชโดยพิจารณาจากกราฟออกแบบเสา

1 : 20 ตร.ซม.
2 : 22 ตร.ซม.

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 43/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
3 : 25 ตร.ซม.
4 : 28 ตร.ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ขอที่202 : ชิ
น ส
้ วนรับแรงอัดตามแนวแกนและโมเมนต
ดัด มี
รู
ปแสดงการกระจายของหน
วยการยื
ด-หดตัว (strain distribution) ที
ส ภาวะต
่ างๆ ดังที
แสดง รู
่ ปใดแสดงถึ
งสภาวะสมดุ

(balanced condition) ตามวิ
ธี
กาํ
ลัง

1 : รู
ป (ก)
2 : รู
ป (ข)
3 : รู
ป (ค)
4 : รู
ป (ง)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

203 : จากรู
ปตัดคานคอนกรี
ตที
เสริ
่ มเหล็
กรับแรงดึ
งอย
างเดี
ยว โมเมนต
ดัดที
ใช
่ ออกแบบ (design strength) เมื
อคานวิ
่ บัติ
ที
ด
่านรับแรงดึ
ง (yielding failure) คื

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 44/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1:

2:

3:

4:

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

204 : จงหาปริ
มาณเหล็
กเสริ
มรับแรงดึ
งที
มากที
่ สุ
่ด (As max) ที
ยอมให
่ ใช
ตามข
อกํ
าหนดในวิ
ธี
กํ
าลัง

1:

2:

3:

4:

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที่
205 : คานรู
ปตัดสี
เหลี
่ ยมผื
่ น ผ
าขนาด 0.15x0.35 ม. เสริ
มเหล็
กรับแรงดึ
งอย
างเดี
ยวทีระยะ d = 0.30 ม. ถ
่ าใช
fc‘ = 200 กก./ซม. 2 และ fy = 3000 กก./ซม. 2 จงใช
วิ
ธี
WSD
ประมาณอัตราสวนของเหล็
กเสริ
มทีส ภาวะสมดุ
่ ล สมมติใหตํ
าแหนงแนวแกนสะเทิน kd = 11.25 ซม.

1 : 0.0161
2 : 0.0113
3 : 0.0092
4 : 0.0074

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

206 : แผ
น พื
น ต
้ อเนื
องมี
่ ระยะศู
น ย
ถึ
งศู
น ย
ของที
รองรับ = 3.50 เมตร ต
่ องรับน้
าหนักบรรทุ
ํ กจรแบบแผ
ส ม่
าเสมอใช
ํ ากับ 500 กก./ม. 2 ถ
งานเท าที
รองรับสามารถรับโมเมนต
่ ดัดได
ากับ wL2/24 จงใช
เท วิ
ธี
WSD หาขนาดและระยะเรี
ยงของเหล็
กเสริ
มที
ต
่องใช
ตรงกลางช
วงพื
น สมมติ
้ ให
แผ
น พื
น หนา 20 ซม. เสริ
้ มเหล็
กรับแรงดึ
งอย
างเดี
ยวที
ระยะ d = 15 ซม. fc'

= 150 กก./ซม.2 และ fy = 3000 กก./ซม. 2 ตํ
าแหน
งแนวแกนสะเทิ
น kd = 5 ซม.

1 : เหล็
ก 6 มม. @ 8 ซม.
2 : เหล็
ก 6 มม. @ 10 ซม.
3 : เหล็
ก 9 มม. @ 12 ซม.
4 : เหล็
ก 9 มม. @ 16 ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

207 : แผ
น พื
น ต
้ อเนื
องมี
่ ระยะศู
น ย
ถึ
งศู
น ย
ของที
รองรับ = 4.00 เมตร ต
่ องรับน้
าหนักบรรทุ
ํ กจรแบบแผ
ส ม่
าเสมอใช
ํ ากับ 500 กก./ม. 2 ถ
งานเท าที
รองรับสามารถรับโมเมนต
่ ดัดได
ากับ wL2/24 จงใช
เท วิ
ธี
WSD หาขนาดและระยะเรี
ยงของเหล็
กเสริ
มที

“ประหยัด” ตรงกลางช
วงพื
น สมมติ
้ ให
แผ
น พื
น หนา 20 ซม. เสริ
้ มเหล็
กรับแรงดึ
งอย
างเดี
ยวที
ระยะ d = 15 ซม.

fc‘ = 150 กก./ซม.2 และ fy = 3000 กก./ซม. 2 ตํ
าแหน
งแนวแกนสะเทิ
น kd = 5 ซม.

1 : เหล็
ก 12 มม. @ 18 ซม.
2 : เหล็
ก 12 มม. @ 16 ซม.
3 : เหล็
ก 12 มม. @ 20 ซม.

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 45/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
4 : เหล็
ก 12 มม. @ 30 ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที่208 : คานรูปตัดสีเหลี
่ ยมผื
่ น ผ
าขนาด 0.20x0.45 ม. เสริมเหล็
กรับแรงดึงอย
างเดี
ยวที
ระยะ d = 0.40 ม. โดยใช
่ fc‘ = 200 กก./ซม. 2 และ fy = 2400 กก./ซม. 2 ซึ
งจากวิ
่ ธี
WSD พบว า คา k = 0.43 และโมเมนตต
านทานโดยคอนกรี ต = 5300 กก.-เมตร ถ
าคานนีต
้องรับโมเมนตดัดใช
งาน = 6000 กก.-เมตร จงหาปริ
มาณของเหล็ กเสริ
มรับแรงดึ
ง (As)
และรับแรงอัด (As‘) ที
ต
่องใชตามทฤษฏี สมมติระยะ d’ = 3 ซม.

1 : As‘ = 1.26 ซม. 2 As = 14.10 ซม. 2


2 : As‘ = 1.42 ซม. 2 As = 14.30 ซม. 2
3 : As‘ = 1.50 ซม. 2 As = 14.35 ซม. 2
4 : As‘ = 1.58 ซม. 2 As = 14.40 ซม. 2

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที่209 : คานรูปตัดสีเหลี
่ ยมผื
่ น ผ
าขนาด 0.20x0.50 ม. เสริมเหล็
กรับแรงดึงอย
างเดี
ยวที
ระยะ d = 0.45 ม. โดยใช
่ fc‘ = 200 กก./ซม. 2 และ fy = 3000 กก./ซม. 2 ซึ
งจากวิ
่ ธี
WSD พบว า คา k = 0.38 และโมเมนตต
านทานโดยคอนกรี ต = 6025 กก.-เมตร ถ
าคานนีต
้องรับโมเมนตดัดใช
งาน = 8025 กก.-เมตร จงหาปริ
มาณของเหล็ กเสริ
มรับแรงดึ
ง (As)
และรับแรงอัด (As‘) ที
ต
่องใชตามทฤษฏี สมมติระยะ d’ = 5 ซม.

1 : As‘ = 3.33 ซม. 2 As = 13.60 ซม. 2


2 : As‘ = 3.67 ซม. 2 As = 13.93 ซม. 2
3 : As‘ = 3.84 ซม. 2 As = 14.10 ซม. 2
4 : As‘ = 4.00 ซม. 2 As = 14.26 ซม. 2

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที่210 : คานรูปตัดสีเหลี
่ ยมผื
่ น ผ
าขนาด 0.20x0.50 ม. เสริมเหล็
กรับแรงดึงอย
างเดี
ยวที
ระยะ d = 0.45 ม. โดยใช
่ fc‘ = 200 กก./ซม. 2 และ fy = 3000 กก./ซม. 2 ซึ
งจากวิ
่ ธี
WSD พบว า คา k = 0.38 และโมเมนตต
านทานโดยคอนกรี ต = 6025 กก.-เมตร ถ
าคานนีต
้องรับโมเมนตดัดใช
งาน = 8025 กก.-เมตร จงหาปริ
มาณของเหล็ กเสริ
มรับแรงดึ
ง (As)
และรับแรงอัด (As‘) ที
ต
่องใชตามทฤษฏี สมมติระยะ d’ = 3 ซม.

1 : As‘ = 3.17 ซม. 2 As = 13.43 ซม. 2


2 : As‘ = 3.49 ซม. 2 As = 13.75 ซม. 2
3 : As‘ = 3.65 ซม. 2 As = 13.91 ซม. 2
4 : ไม
มีข
อใดถู ก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

211 : ข
อใดต
อไปนี
ที
้มิ
่ใช
ขอบข
ายของการออกแบบพื
น คสล. 2 ทาง ตามวิ
้ ธี
ที
่2 ของมาตรฐาน ว.ส.ท.

1 : แผ
น พื
น อาจเป
้ น แบบตัน หรือครี

2 : แผ
น พื
น อาจต
้ อเนืองหรื
่ อไม ก็
ไดและอาจมีหรือไม
มี
คานรองรับทั้
งสี
ด
่าน
3 : น้
าหนักบรรทุ
ํ กบนแผน พืน ต
้ องเปน แบบแผ
ส ม่
าเสมอ

4 : น้
าหนักบรรทุ
ํ กจรใช
งานต องไมเกิ
น กว
าสามเทาของน้
าหนักบรรทุ
ํ กคงทีใช
่ งาน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

212 : แผ
น พื
น คสล. 2 ทาง ช
้ วงภายในทั่
วไป มี
ข นาดที
วัดจากระยะศู
่ น ย
ถึ
งศู
น ย
ของที
รองรับ = 4.00x5.00 เมตร ดังนั้
่ น แผ
น พื
น ต
้ องมี
ความหนาอย
างน
อยเท
ากับ

1 : 6 ซม.
2 : 8 ซม.
3 : 10 ซม.
4 : 12 ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

213 : แผ
น พื
น คสล. 2 ทาง ช
้ วงภายในทั่
วไป มี
ข นาดที
วัดจากระยะศู
่ น ย
ถึ
งศู
น ย
ของที
รองรับ = 4.50x6.00 เมตร ดังนั้
่ น แผ
น พื
น ต
้ องมี
ความหนาอย
างน
อยเท
ากับ

1 : 8 ซม.
2 : 10 ซม.
3 : 12 ซม.
4 : 14 ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที่214 : แผ
น พื
น คสล. 2 ทาง ช
้ วงภายในทั่
วไป มี
ขนาดที วัดจากระยะศู
่ น ย
ถึ
งศู
น ย
ของทีรองรับ = 5.00x5.00 เมตร ถ
่ าความกว
างของคานรองรับแต
ละด
านเท
ากับ 20 ซม. และ
แผ
น พื
น หนาเท
้ ากับ 12 ซม. ดังนั้
น ความยาวทางดานสั้
น (S) ที
ใช
่ คํานวณหาคาโมเมนตดัด คื

1 : 4.80 เมตร
2 : 5.00 เมตร
3 : 5.05 เมตร
4 : 5.25 เมตร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

215 : แผ
น พื
น คสล. 2 ทาง ช
้ วงภายในทั่
วไป มี
ขนาดที
วัดจากระยะศู
่ น ย
ถึ
งศู
น ย
ของที
รองรับ = 3.00x4.50 เมตร ถ
่ าความกว
างของคานรองรับแต
ละด
านเท
ากับ 15 ซม. และ

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 46/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
แผ
น พื
น หนาเท
้ ากับ 10 ซม. ดังนั้
น ความยาวที
จะนํ
่ าไปใช
คํ
านวณหาค
าโมเมนต
ดัดที
ขนานกับด
่ านยาว คื

1 : 3.00 เมตร
2 : 3.05 เมตร
3 : 4.50 เมตร
4 : 4.55 เมตร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

216 : ตามวิ
ธี
ที
่2 ของมาตรฐาน ว.ส.ท. สํ
าหรับแผ
น พื
น คสล. 2 ทาง ที
้ ไม
่ ต
อเนื
องกัน ทั้
่ งสี
ด
่าน จะพบว

1 : มี
แตโมเมนต
ดัดชนิ
ดบวกอย
างเดี
ยวที
ข นานกับด
่ านสั้

2 : มี
แตโมเมนต
ดัดชนิ
ดบวกอย
างเดี
ยวที
ข นานกับด
่ านสั้
น และดานยาว
3 : มี
ทั้
งโมเมนต
ดัดชนิ
ดบวกและชนิดลบทีขนานกับด
่ านสั้น เพี
ยงอย
างเดี
ยว
4 : มี
ทั้
งโมเมนต
ดัดชนิ
ดบวกและชนิดลบทีขนานกับด
่ านสั้น และด
านยาว

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

217 : ตามวิ
ธี
ที
่2 ของมาตรฐาน ว.ส.ท. จะพบว
าโมเมนต
ดัดชนิ
ดบวกที
กึ
่งกลางช
่ วงของแผ
น พื
น คสล. 2 ทาง แบบใด ที
้ มึ
่ค
ามากที
สุ
่ด

1 : เมื
อแผ
่ น พื
น ไม
้ ต
อเนื
องกัน ทั้
่ งสี
ด
่าน
2 : เมื
อแผ
่ น พื
น ไม
้ ต
อเนื
องกัน สามด
่ าน
3 : เมื
อแผ
่ น พื
น ไม
้ ต
อเนื
องกัน สองด
่ าน
4 : เมื
อแผ
่ น พื
น ไม
้ ต
อเนื
องกัน ด
่ านเดียว

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

218 : ตามวิ
ธี
ที
่2 ของมาตรฐาน ว.ส.ท. จะพบว
าโมเมนต
ดัดชนิ
ดลบที
ด
่านซึ
งต
่ อเนื
องของแผ
่ น พื
น คสล. 2 ทาง แบบใด ที
้ มึ
่ค
ามากที
สุ
่ด

1 : เมื
อแผ
่ น พื
น ต
้ อเนื
องกัน ทั้
่ งสี
ด
่ าน
2 : เมื
อแผ
่ น พื
น ต
้ อเนื
องกัน สามด
่ าน
3 : เมื
อแผ
่ น พื
น ต
้ อเนื
องกัน สองด
่ าน
4 : เมื
อแผ
่ น พื
น ต
้ อเนื
องกัน เพี
่ ยงดานเดี
ยว

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

219 : ตามวิ
ธี
ที
่2 ของมาตรฐาน ว.ส.ท. โมเมนต
ดัดในแถบเสาของแผ
น พื
น คสล. 2 ทาง มี
้ ค
าเท
ากับ

1 : หนึ
งในสามของโมเมนต
่ ดัดในแถบกลาง
2 : หนึ
งในสองของโมเมนต
่ ดัดในแถบกลาง
3 : สองในสามของโมเมนตดัดในแถบกลาง
4 : สามในสี
ของโมเมนต
่ ดัดในแถบกลาง

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที่220 : เสาสั้
น ปลอกเดี ยว เสริ
่ มเหล็กยืน As = As‘ รับแรงอัดใช งานตามแนวแกนเนื
องจากน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กคงที
และน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กจร ตามลํ
าดับ ดังนี

PD = 130 ตัน และ PL =
98.5 ตัน กํ
าหนดให fc‘ = 280 กก./ซม.^ 2 และ fy = 4000 กก./ซม. ^2 จงหาเนื
อที
้ ของหน
่ าตัดเสาที
เล็
่ กทีสุ
่ด โดยวิ
ธี
WSD

1 : 1170 ตร.ซม.
2 : 1250 ตร.ซม.
3 : 1360 ตร.ซม.
4 : 1500 ตร.ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

221 : เสาสั้
น ปลอกเดี
ยว เสริ
่ มเหล็
กยื
น As = As‘ รับแรงอัดใช
งานตามแนวแกนเนื
องจากน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กคงที
และน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กจร ตามลํ
าดับ ดังนี

PD = 130 ตัน และ PL =
98.5 ตัน กํ fc‘ = 280 กก./ซม.2 และ fy = 4000 กก./ซม.2 จงหาเนื
าหนดให อที
้ ของหน
่ าตัดเสาที
ใหญ
่ ที
สุ
่ด โดยวิ
ธี
WSD

1 : 2700 ตร.ซม.
2 : 3000 ตร.ซม.
3 : 3130 ตร.ซม.
4 : 3250 ตร.ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

222 : เสาสั้
น ปลอกเดี
ยว เสริ
่ มเหล็
กยื
น As = As‘ รับแรงอัดใช
งานตามแนวแกนเนื
องจากน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กคงที
และน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กจร ตามลํ
าดับ ดังนี

PD = 130 ตัน และ PL =
98.5 ตัน กํ fc‘ = 280 กก./ซม.2 และ fy = 4000 กก./ซม. 2 จงหาเนื
าหนดให อที
้ ของหน
่ าตัดเสาที
ใหญ
่ ที
สุ
่ด โดยวิ
ธี
USD(SDM), U = 1.4D + 1.7L

1 : 1500 ตร.ซม.
2 : 1600 ตร.ซม.
3 : 2100 ตร.ซม.
4 : 2250 ตร.ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

223 : เสาสั้
น ปลอกเดี
ยว เสริ
่ มเหล็
กยื
น As = As‘ รับแรงอัดใช
งานตามแนวแกนเนื
องจากน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กคงที
และน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กจร ตามลํ
าดับ ดังนี

PD = 130 ตัน และ PL =
98.5 ตัน กํ fc‘ = 280 กก./ซม.2 และ fy = 4000 กก./ซม. 2 ถ
าหนดให าใช
ปริ
มาณเหล็
กยื
น เท
ากับ 4% จงหาเนื
อที
้ ของหน
่ าตัดเสา โดยวิ
ธี
WSD

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 47/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1 : 1800 ตร.ซม.
2 : 1900 ตร.ซม.
3 : 2000 ตร.ซม.
4 : 2100 ตร.ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที่224 : เสาสั้
น ปลอกเดี ยว เสริ
่ มเหล็กยืน As = As‘ รับแรงอัดใช งานตามแนวแกนเนื
องจากน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กคงที
และน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กจร ตามลํ
าดับ ดังนี

PD = 130 ตัน และ PL =
98.5 ตัน กํ
าหนดให fc‘ = 280 กก./ซม. ^2 และ fy = 4000 กก./ซม. ^2 ถ
าใช
ปริ
มาณเหล็
กยื
น เท
ากับ 3% จงหาเนื
อที
้ ของหน
่ าตัดเสา โดยวิ
ธี
USD

1 : 1650 ตร.ซม.
2 : 1750 ตร.ซม.
3 : 1800 ตร.ซม.
4 : 1850 ตร.ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที่225 : เสาสั้
น ปลอกเกลียว รับแรงอัดใชงานตามแนวแกนเนื
องจากน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กคงทีและน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กจร ตามลํ
าดับ ดังนี

PD = 150 ตัน และ PL = 100 ตัน กํ
าหนดให
fc‘ =
250 กก./ซม. ^2 และ fy = 3000 กก./ซม. ^2 จงประมาณขนาดเส
น ผ
าศู
น ย
กลางของหนาตัดเสาที
เล็
่ กที สุ
่ด โดยวิ
ธีWSD

1 : 35 ซม.
2 : 45 ซม.
3 : 50 ซม.
4 : 60 ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที่226 : เสาสั้
น ปลอกเกลียว รับแรงอัดใชงานตามแนวแกนเนื
องจากน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กคงทีและน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กจร ตามลํ
าดับ ดังนี

PD = 150 ตัน และ PL = 100 ตัน กํ
าหนดให
fc‘ =
250 กก./ซม. ^2 และ fy = 3000 กก./ซม.^ 2 จงประมาณขนาดเส
น ผ
าศู
น ย
กลางของหนาตัดเสาที
เล็
่ กที สุ
่ด โดยวิ
ธีUSD

1 : 35 ซม.
2 : 45 ซม.
3 : 50 ซม.
4 : 60 ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที่227 : เสาสั้
น ปลอกเกลียว รับแรงอัดใชงานตามแนวแกนเนื
องจากน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กคงทีและน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กจร ตามลํ
าดับ ดังนี

PD = 150 ตัน และ PL = 100 ตัน กํ
าหนดให
fc‘ =
250 กก./ซม. ^2 และ fy = 3000 กก./ซม. ^2 จงประมาณขนาดเส
น ผ
าศู
น ย
กลางของหนาตัดเสาที
ใหญ
่ ทีสุ
่ด โดยวิ
ธีWSD

1 : 55 ซม.
2 : 60 ซม.
3 : 65 ซม.
4 : 70 ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที่228 : เสาสั้
น ปลอกเกลียว รับแรงอัดใชงานตามแนวแกนเนื
องจากน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กคงที
และน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กจร ตามลําดับ ดังนี
้PD = 150 ตัน และ PL = 100 ตัน กํ
าหนดให
fc‘ =
250 กก./ซม.^ 2 และ fy = 3000 กก./ซม. ^2 ถ
าใช
ปริ
มาณเหล็
กยื
น เท
ากับ 4% จงหาขนาดเส
น ผ
าศู
น ย
กลางของหน
าตัดเสา โดยวิ ธี
WSD

1 : 45 ซม.
2 : 50 ซม.
3 : 55 ซม.
4 : 60 ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

229 : เสาสั้
น ปลอกเดี
ยว รับแรงอัดใช
่ งานตามแนวแกนเนื
องจากน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กคงที
และน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กจร ตามลํ
าดับ ดังนี

PD = 130 ตัน และ PL = 98.5 ตัน กํ
าหนดให
fc‘ =
280 กก./ซม. 2 และ fy = 3000 กก./ซม. 2 ถ
าเลื
อกใช
ข นาดเสาเท
ากับ 50 x 50 ซม. ให
ใช
วิ
ธี
USD(SMD) หาเนื
อที
้ หน
่ าตัดทั้
งหมด (Ast) ของเหล็
กยื
น U = 1.4D + 1.7L

1 : 10 ตร.ซม.
2 : 20 ตร.ซม.
3 : 25 ตร.ซม.
4 : 30 ตร.ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที่230 : เสาสั้
น ปลอกเกลียว รับแรงอัดใช
งานตามแนวแกนเนืองจากน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กคงที และน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กจร ตามลํ
าดับ ดังนี

PD = 150 ตัน และ PL = 100 ตัน กํ
าหนดให
fc‘ =
250 กก./ซม. ^2 และ fy = 3000 กก./ซม.^2 ถ
าเลื
อกใช
เสาขนาดเส
น ผ
าศู
น ย
กลางเท
ากับ 50 ซม. ให
ใชวิ
ธี
WSD หาเนือที
้ หน
่ าตัดทั้
งหมด (Ast) ของเหล็
กยื

1 : 20 ตร.ซม.
2 : 40 ตร.ซม.
3 : 50 ตร.ซม.
4 : 60 ตร.ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

231 : ถ
าเสาสั้
น ปลอกเดี
ยวสี
่ เหลี
่ ยมจัตุ
่ รัส ขนาดเท
ากับ h x h ซม. สามารถรับแรงอัดตามแนวแกนได
ตามมาตรฐานกํ
าหนดของ WSD ซึ
งในที
่ นี
่ส มมติ
้ ว
ามี
ค
าเท
ากับ P ตัน จงหา

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 48/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
ค
าโมเมนต
ดัดใช
งาน (M) มากที
สุ
่ดที
เสานี
่ ส ามารถรับได
้ ซึ
งเสมื
่ อนว
าเสานี
รับแต
้ แรงอัดตามแนวแกนเพี
ยงอย
างเดี
ยว

1 : 0.0005hP ตัน -เมตร


2 : 0.001hP ตัน -เมตร
3 : 0.01hP ตัน -เมตร
4 : 0.05hP ตัน -เมตร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที
่232 : ถ
าเสาสั้
น ปลอกเกลี
ยวขนาดเส
น ผ
าศูน ย
กลางเท
ากับ h ซม. สามารถรับแรงอัดตามแนวแกนได
ตามมาตรฐานกํ
าหนดของ WSD ซึ
งในที
่ นี
่ส มมติ
้ ว
ามี
ค
าเท
ากับ P ตัน จง
หาค
าโมเมนตดัดใช
งาน (M) มากที
สุ
่ดที
เสานี
่ ส ามารถรับได
้ ซึงเสมื
่ อนว
าเสานีรับแรงอัดตามแนวแกนอย
้ างเดี
ยว

1 : 0.0005hP ตัน -เมตร


2 : 0.001hP ตัน -เมตร
3 : 0.01hP ตัน -เมตร
4 : 0.05hP ตัน -เมตร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

233 : การคํ
านวณออกแบบเสาในช
วงแรงอัดเป
น หลักตามวิ
ธี
WSD จะพบว

1 : เมื
อลดค
่ าแรงอัดตามแนวแกนลง เสาจะสามารถรับโมเมนต
ดัดได
มากขึ น และเป
้ น สัดส
วนกัน
2 : เมื
อลดค
่ าแรงอัดตามแนวแกนลง เสาจะสามารถรับโมเมนต
ดัดได
เทาเดิ

3 : เมื
อลดค
่ าแรงอัดตามแนวแกนลง เสาจะสามารถรับโมเมนต
ดัดได
นอยลง
4 : เมื
อเพิ
่ มค
่ าแรงอัดตามแนวแกนมากขึ
น เสาจะสามารถรับโมเมนต
้ ดัดได
มากขึ น กว
้ าเดิม

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

234 : การคํ
านวณออกแบบเสาในช
วงแรงดึ
งเป
น หลักตามวิ
ธี
WSD จะพบว

1 : เมื
อลดค
่ าแรงอัดตามแนวแกนลง เสาจะรับโมเมนต
ดัดได
มากขึ น

2 : เมื
อลดค
่ าแรงอัดตามแนวแกนลง เสาจะรับโมเมนต
ดัดได
เทาเดิ

3 : เมื
อลดค
่ าแรงอัดตามแนวแกนลง เสาจะรับโมเมนต
ดัดได
นอยลงและเปน สัดสวนกัน
4 : เมื
อเพิ
่ มค
่ าแรงอัดตามแนวแกนมากขึ
น เสาจะรับโมเมนต
้ ดัดได
มากขึ
น แต
้ ไมเป
น สัดส
วนกัน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

235 : พฤติ
กรรมจริ
งของเสาในช
วงแรงอัดเป
น หลัก จะพบว

1 : เมื
อลดค
่ าแรงอัดตามแนวแกนลง เสาจะสามารถรับโมเมนต
ดัดได
มากขึ น แต
้ ไมเป
น สัดส
วนโดยตรง
2 : เมื
อลดค
่ าแรงอัดตามแนวแกนลง เสาจะสามารถรับโมเมนต
ดัดได
เทาเดิ

3 : เมื
อลดค
่ าแรงอัดตามแนวแกนลง เสาจะสามารถรับโมเมนต
ดัดได
นอยลง
4 : เมื
อเพิ
่ มค
่ าแรงอัดตามแนวแกนมากขึ
น เสาจะสามารถรับโมเมนต
้ ดัดได
มากขึ น กว
้ าเดิม

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

236 : พฤติ
กรรมจริ
งของเสาในช
วงแรงดึ
งเป
น หลัก จะพบว

1 : เมื
อลดค
่ าแรงอัดตามแนวแกนลง เสาจะรับโมเมนต
ดัดได
มากขึ น

2 : เมื
อลดค
่ าแรงอัดตามแนวแกนลง เสาจะรับโมเมนต
ดัดได
เทาเดิ

3 : เมื
อลดค
่ าแรงอัดตามแนวแกนลง เสาจะรับโมเมนต
ดัดได
นอยลงแตไมเป
น สัดสวนโดยตรง
4 : เมื
อเพิ
่ มค
่ าแรงอัดตามแนวแกนมากขึ
น เสาจะรับโมเมนต
้ ดัดได
มากขึน และเป
้ น สัดส
วนโดยตรง

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที
่ 237 : เสาสั้
น ปลอกเดี
ยวขนาดเท
่ ากับ 50 x 50 ซม. เสริ
มเหล็
กยื
น ทั้
งหมด 6เส
น เส
น ละ25 มม. (Ast = 29.45 ตร.ซม.) โดยที่As = As‘ และระยะคอนกรี
ตหุม = 5 ซม. เสานี
 ้
ต
องรับแรงอัดตามแนวแกน และโมเมนต ดัดรอบ plastic centroid ให
ใชวิ
ธ ีUSD ประมาณหน วยการยืดหดตัวของเหล็ กเสริ
มรับแรงอัด ณ สภาวะสมดุ ล (Balanced Condition)
กํ fc‘ = 250 กก./ซม.2 fy = 3000 กก./ซม. 2 และ ES = 2x10^6 กก./ซม. 2
าหนดให

1 : 0.0015 มม./มม.
2 : 0.0020 มม./มม.
3 : 0.0025 มม./มม.
4 : 0.0030 มม./มม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที
่ 238 : เสาสั้
น ปลอกเดี
ยวขนาดเท
่ ากับ 25 x 45 ซม. เสริ
มเหล็กยื
น ทั้
งหมด 6 เส
น เส
น ละ25 มม. (Ast = 29.45 ตร.ซม.) โดยที่As = As‘ และระยะคอนกรี
ตหุม = 3 ซม. เสานี
 ้
ต
องรับแรงอัดตามแนวแกน และโมเมนต ดัดรอบ plastic centroid ใหใชวิ
ธ ีUSD ประมาณหน วยการยืดหดตัวของเหล็ กเสริ
มรับแรงอัด ณ สภาวะสมดุ ล (Balanced Condition)
กํ fc‘ = 250 กก./ซม.2 fy = 3000 กก./ซม. 2 และ ES = 2x10^6 กก./ซม. 2
าหนดให

1 : 0.0015 มม./มม.
2 : 0.0020 มม./มม.
3 : 0.0025 มม./มม.
4 : 0.0030 มม./มม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 49/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

ข
อที

239 : เสาสั้
น ปลอกเดี
ยวขนาดเท
่ ากับ 50 x 50 ซม. เสริ
มเหล็
กยื
น ขนาด 25 มม. โดยที

As = As‘ ดังนั้
น ต
องใช
เหล็
กปลอกเดี
ยวสํ
่ าหรับเสานี
คื
้อ

1 : 9 มม. @ 0.40 ม.
2 : 6 มม. @ 0.40 ม.
3 : 9 มม. @ 0.45 ม.
4 : 6 มม. @ 0.30 ม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

240 : เสาสั้
น ปลอกเดี
ยวขนาดเท
่ ากับ 45 x 45 ซม. เสริ
มเหล็
กยื
น ขนาด 28 มม. โดยที

As = As‘ ดังนั้
น ต
องใช
เหล็
กปลอกเดี
ยวสํ
่ าหรับเสานี
คื
้อ

1 : 9 มม. @ 0.40 ม.
2 : 9 มม. @ 0.45 ม.
3 : 6 มม. @ 0.30 ม.
4 : 6 มม. @ 0.45 ม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

241 : เสาสั้
น ปลอกเดี
ยวขนาดเท
่ ากับ 30 x 40 ซม. เสริ
มเหล็
กยื
น ขนาด 20 มม. โดยที

As = As‘ ดังนั้
น ต
องใช
เหล็
กปลอกเดี
ยวสํ
่ าหรับเสานี
คื
้อ

1 : 9 มม. @ 0.30 ม.
2 : 6 มม. @ 0.30 ม.
3 : 9 มม. @ 0.40 ม.
4 : 6 มม. @ 0.25 ม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

242 : เสาสั้
น ปลอกเดี
ยวขนาดเท
่ ากับ 30 x 30 ซม. เสริ
มเหล็
กยื
น ขนาด 15 มม. โดยที

As = As‘ ดังนั้
น ต
องใช
เหล็
กปลอกเดี
ยวสํ
่ าหรับเสานี
คื
้อ

1 : 9 มม. @ 0.25 ม.
2 : 6 มม. @ 0.20 ม.
3 : 9 มม. @ 0.30 ม.
4 : 6 มม. @ 0.30 ม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที
่243 : เสาสั้
น ปลอกเกลี
ยวขนาดเสัน ผ
าศู
น ย
กลางเท
ากับ 40 ซม. ระยะคอนกรี
ตหุ
มเท
 ากับ 3 ซม. กํ
าหนดใหfc‘ = 200 กก./ซม.2 fy = 2400 กก./ซม.2 ดังนั้
น ต
องใช
เหล็

ปลอกเกลี
ยวสําหรับเสานี
คื
้ อ

1 : 9 มม. @ 0.03 ม.
2 : 6 มม. @ 0.025 ม.
3 : 9 มม. @ 0.05 ม.
4 : 6 มม. @ 0.05 ม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที่
244 : เสาปลอกเดียวขนาดเท
่ ากับ 30 x 30 ซม. อยู
ในโครงเฟรมที
 เซไม
่ ได จากผลของแรงอัดและโมเมนต
ดัด เสานี
จะโก
้ งสองทาง และอยู
ในช
 วงแรงอัดเป
น หลัก ถ
าช
วงความ
ยาวของเสาต น นี
ที
้ปราศจากค้
่ ายัน เท
ํ ากับ 6.00 ม. ให
ใช
วิ
ธี
WSD ประมาณค าตัวคู
ณลดคาR

1 : 0.90
2 : 0.92
3 : 0.94
4 : 0.96

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที่
245 : เสาปลอกเดียวขนาดเท
่ ากับ 40 x 40 ซม. อยู
ในโครงเฟรมที
 เซไม
่ ได จากผลของแรงอัดและโมเมนต
ดัด เสานี
จะโก
้ งสองทาง และอยู
ในช
 วงแรงอัดเป
น หลัก ถ
าช
วงความ
ยาวของเสาต น นี
ที
้ปราศจากค้
่ ายัน เท
ํ ากับ 6.00 ม. ให
ใช
วิ
ธี
WSD ประมาณค าตัวคู
ณลดคาR

1 : 0.93
2 : 0.95
3 : 1.00
4 : 1.02

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที่
246 : เสาปลอกเดี ยวสี
่ เหลี
่ ยมจัตุ
่ รัส อยู
ในโครงเฟรมที
 เซไม
่ ได
จากผลของแรงอัดและโมเมนต
ดัด เสานีจะโก
้ งสองทาง และอยู
ในช
 วงแรงอัดเป
น หลัก ถ
าช
วงความยาวของเสา
ต
น นี
ที
้ปราศจากค้
่ ายัน เท
ํ ากับ 8.00 ม. ให ใช
วิ
ธีWSD ประมาณขนาดอยางน
อยของเสาต
น นี
ที
้จะถื
่ อว
าเป
น เสาสั้

1 : 45 x 45 ซม.
2 : 50 x 50 ซม.
3 : 55 x 55 ซม.
4 : 60 x 60 ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที
่247 : เสาปลอกเดี ยวขนาดเท
่ ากับ 30 x 30 ซม. อยู
ในโครงเฟรมแบบ Portal ช
 วงเดี
ยวและชั้
น เดี
ยวซึ
งเซได
่ โดยที ปลายเสาเป
่ น แบบยึ
ดแน
น (fixed) และที
หัวเสายึ
่ ดติดกับ
คานซึ
งมี
่ คา I/L = 200 ซม.^3 จากผลของแรงอัดและโมเมนต ดัด เสาต
น นี
จะโก
้ งสองทาง และอยู
ในช
 วงแรงอัดเป
น หลัก ถ
าช
วงความยาวของเสาต
น นี
ที
้ ปราศจากค้
่ ายัน เท
ํ ากับ 6.00

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 50/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
เมตร จงใช
วิ
ธี
WSD ประมาณค
าตัวคู
ณลดค
า R ของเสาต
น นี

1 : 0.50
2 : 0.52
3 : 0.54
4 : 0.56

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ขอที
่248 : เสาปลอกเดี ยวขนาดเท
่ ากับ 30 x 30 ซม. อยู
ในโครงเฟรมแบบ Portal ช
 วงเดี
ยวและชั้
น เดี
ยวซึ
งเซได
่ โดยที ปลายเสาเป
่ น แบบยึ
ดแน
น (fixed) และที
หัวเสายึ
่ ดติดกับ
คานซึงมี
่ คา I/L = 200 ซม.^3 จากผลของแรงอัดและโมเมนต ดัด เสาต
น นี
จะโก
้ งสองทาง และอยู
ในช
 วงแรงอัดเป
น หลัก ถ
าช
วงความยาวของเสาต
น นี
ที
้ ปราศจากค้
่ ายัน เท
ํ ากับ 8.00
เมตร จงใชวิ
ธีWSD ประมาณค าตัวคู
ณลดค า R ของเสาตน นี

1 : 0.30
2 : 0.33
3 : 0.36
4 : 0.40

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที่249 : ฐานรากแผ ขนาด 3x3 เมตร รองรับเสาตอม
อขนาด 0.30x0.30 เมตร ถ
าความหนาของฐานรากเท
ากับ 40 ซม. โดยมี
ความลึ
กสุ
ทธิd = 30 ซม. และใหหนวยแรงกดใต
ฐาน เทากับ 10 ตัน /เมตร^2 จงหาจํ
านวนอยางนอยของเหล็
กเสริ
ม DB25 มม. ในแตละทิ
ศทางเนื
องจากโมเมนต
่ ดัด โดยวิ
ธี
หน
วยแรงใช
งาน กํ
าหนดค
า j = 0.88, fs = 1500 กก/
ซม^2

1 : 6 เส

2 : 12 เส

3 : 14 เส

4 : 20 เส

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที่250 : ฐานรากแผ
ขนาด 3x3 เมตร รองรับแรงอัดตามแนวแกนจากเสาตอม
อขนาด 0.30x0.30 เมตร ถ
าใช
ความหนาของฐานรากเท
ากับ 40 ซม. โดยมี
ความลึ
กสุ
ทธิd = 30
ซม. จงหาเนือที
้ ของหน
่ าตัดวิ
กฤตสํ
าหรับต
านแรงเฉือนทางเดี
ยวแบบคาน

1 : 7500 ตร.ซม.
2 : 9000 ตร.ซม.
3 : 10000 ตร.ซม.
4 : 12000 ตร.ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที่251 : ฐานรากแผ
ขนาด 3x3 เมตร รองรับแรงอัดตามแนวแกนจากเสาตอม
อขนาด 0.30x0.30 เมตร ถ
าใช
ความหนาของฐานรากเท
ากับ 40 ซม. โดยมี
ความลึ
กสุ
ทธิd = 30
ซม. จงหาเนือที
้ ของหน
่ าตัดวิ
กฤตสํ
าหรับต
านแรงเฉือนทะลุ

1 : 3600 ตร.ซม.
2 : 5400 ตร.ซม.
3 : 7200 ตร.ซม.
4 : 10800 ตร.ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที่252 : ฐานรากเสาเข็
มขนาด 2.70 x 3.60 ม. รองรับแรงอัดใช
งาน P = 120 ตัน อย
างเดี
ยวจากเสาตอม อขนาด 0.30 x 0.30 เมตร โดยใช เสาเข็
มขนาด 0.30 ม. จํ
านวน 12
ต
น เรี ยงเป
น 3 แถว ขนานกับด านยาวของฐาน แต ละแถวใช เสาเข็
ม 4 ต น โดยใหระยะหางระหว
างศู
น ย
กลางของเสาเข็มเท า กั บ 90 ซม. และระยะขอบของฐานรากที ห
่างจาก
ศู
น ย
กลางของเสาเข็มเทากับ 45 ซม. ถ
าให
ความหนาของฐานรากเท ากับ 70 ซม. โดยมีระยะ d = 45 ซม. ดังนั้
น ถ
าต
องออกแบบตามวิ ธีWSD จงประมาณคาแรงเฉือนแบบทะลุ ที่
หนาตัดวิ
กฤต

1 : 125000 กก.
2 : 100000 กก.
3 : 115000 กก.
4 : 120000 กก.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

253 : เสาสั้
น ปลอกเดี
ยวขนาดเท
่ ากับ 25 x 25 ซม. เสริ
มเหล็
กยื
น ทั้
งหมด 6-DB20 มม. ( A st = 18.84 ตร.ซม.) โดยที

A s = As ' และระยะคอนกรี
ตหุ
ม = 4 ซม. ให
 ใช
วิ
ธี
WSD
ประมาณกํ
าลังต
านแรงอัดใช
งาน ( Pb ) ที
ส ภาวะสมดุ
่ ล (Balanced Condition ) สมมติ
ค
า หน
วยแรงอัดที
ยอมให
่ ของเสา = 120 กก./ซม. 2 หน
วยแรงดัดที
ยอมให
่ ข องเสา = 112.5
กก./ซม.2 ระยะเยื
องศู
้ น ย
ส มดุ
ล = 8.50 ซม. และโมเมนต
อิ
น เนอร
เชี าตัด = 55700 ซม. 4
ยของหน

1 : 33 ตัน
2 : 47 ตัน
3 : 60 ตัน
4 : 75 ตัน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

254 :
คานรู
ปตัดสี
เหลี
่ ยมผื
่ นผ
าขนาด 0.15x0.45 ม. เสริ
มเหล็
กรับแรงดึ
งอย ยว AS = 9.36 ซม.2 ที
างเดี ระยะ d = 0.39 ม. จงใช
่ มาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
กํ
าลัง

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 51/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

ประมาณค
าโมเมนต
ดัดประลัย (MU) ที
คานสามารถรับได
่ กํ fc‘ = 200 กก./ซม.2 fy = 3000 กก./ซม.2 และ jUd = 33.5 ซม.
าหนดให

1:
9400 กก.-เมตร
2:
8450 กก.-เมตร
3:
8000 กก.-เมตร
4:
7450 กก.-เมตร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

255 :
คานรูปตัดสี
เหลี
่ ยมผื
่ นผ
าขนาด 0.25x0.60 ม. เสริ
มเหล็
กรับแรงดึ
งอย ยว AS = 12.50 ซม.2 ที
างเดี ระยะ d = 0.50 ม. จงใช
่ มาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
กํ
าลัง ประมาณคาโมเมนต
ดัดประลัย (MU) ที
คานสามารถรับได
่ กํ
าหนดให 2 2
fc‘ = 250 กก./ซม. fy = 4000 กก./ซม. และ jUd = 45 ซม.

1:
25000 กก.-เมตร
2:
22500 กก.-เมตร
3:
20250 กก.-เมตร
4:
19250 กก.-เมตร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

256 :
คานรู
ปตัดสี
เหลี
่ ยมผื
่ นผ
าขนาด 0.25x0.40 ม. เสริ
มเหล็
กรับแรงดึ
งอย ยว AS = 0.01bd ซม.2 ที
างเดี ระยะ d = 0.35 ม. จงใช
่ มาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
หน
วยแรงใชงาน ประมาณค
าโมเมนตดัดใช
งาน (M) ของคานนี้กํ
าหนดให 2 2
fc‘ = 200 กก./ซม. fy = 3000 กก./ซม. และ n = 10

1:
4340 กก.-เมตร
2:
4040 กก.-เมตร
3:
3740 กก.-เมตร
4:
3540 กก.-เมตร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

257 :
คานรู
ปตัดสี
เหลี
่ ยมผื
่ นผาขนาด 0.15x0.35 ม. เสริ
มเหล็
กรับแรงดึ งอย
างเดียว ที ระยะ d = 0.30 ม. ให
่ หาปริมาณเหล็ กเสริ
มมากที
สุ
่ดสํ
าหรับคานนี

ตาม
มาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
หน
วยแรงใชงาน กําหนดใหfc‘ = 200 กก./ซม.2 fy = 3000 กก./ซม.2 และ kd = 11.25 ซม.

1:
0.0161bd ซม.2
2:
0.0113bd ซม.2
3:
0.0092bd ซม.2
4:
0.0074bd ซม.2
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

258 :

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 52/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

คานรู
ปตัดสี
เหลี
่ ยมผื
่ นผ
าขนาด 0.20x0.50 ม. เสริ
มเหล็
กรับแรงดึ
งอย ยว As = 14.73 ซม.2 ที
างเดี ระยะ d = 0.45 ม. จงใช
่ มาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
กํ
าลัง
ประมาณค
าโมเมนต
ดัดประลัย (MU)ที
คานสามารถรับได
่ กํ fc ‘ = 200 กก./ซม.2 และ fy = 2400 กก./ซม.2
าหนดให

1:
12650 กก.-เมตร

2:
13360 กก.-เมตร

3:
14060 กก.-เมตร

4:
12000 กก.-เมตร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

259 :
พื
น คสล. หนา 8 ซม. เสริ
้ มเหล็
กรับแรงดึงอยางเดียว As = 2.83 ซม.2/เมตร ที
ระยะ d = 6 ซม. จงใช
่ มาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิ
ธหี
น
วยแรงใช
งาน
ประมาณคาโมเมนต
ดัด M ของพื
นนี
้ ้ สมมติให 2
fy = 2400 กก./ซม. และ ตํ
าแหนงแนวแกนสะเทิน kd = 2.58 ซม.

1:
150 กก.-เมตร/เมตร
2:
175 กก.-เมตร/เมตร
3:
200 กก.-เมตร/เมตร
4:
250 กก.-เมตร/เมตร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

260 :
พื
น คสล. หนา 8 ซม. เสริ
้ มเหล็
กรับแรงดึงอย ยว As = 4.87 ซม.2/เมตร ที
างเดี ระยะ d = 6 ซม. จงใช
่ มาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
กาํ
ลัง ประมาณค

โมเมนต
ดัด MU ของพื
นนี
้ ้
สมมติให 2
fy = 3000 กก./ซม. และค
า jU = 0.92

1:
850 กก.-เมตร/เมตร
2:
800 กก.-เมตร/เมตร
3:
725 กก.-เมตร/เมตร
4:
650 กก.-เมตร/เมตร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

261 :
แผ
นพื
นช
้ วงเดี
ยวหนา 8 ซม. เสริ
มเหล็
กรับแรงดึ
งอย ยว As = 2.83 ซม.2/เมตร ที
างเดี ระยะ d = 6 ซม. ถ
่ าระยะศู
นย
ถึ
งศู
นย
ของที
รองรับเท
่ ากับ 1.75 เมตร จงใช
มาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
หน
วยแรงใช
งาน ประมาณค
าน้
าหนักบรรทุ
ํ กจรแบบแผ
สม่
าเสมอใช
ํ งานสู
งสุ าหนดใหfc ‘ = 150 กก./ซม.2 fy = 2400 กก./
ด กํ
ซม.2 และค
า j = 7/8

1:
320 กก./เมตร 2

2:
225 กก./เมตร 2

3:
250 กก./เมตร 2

4:
275 กก./เมตร 2

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 53/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

262 :
แผนพืนช
้ วงเดี
ยวหนา 15 ซม. เสริ มเหล็
กรับแรงดึ งอย ยว As = 5.30 ซม.2/เมตร ที
างเดี ระยะ d = 12 ซม. ถ
่ าแผ
นพืนนี
้ รับน้
้ าหนักบรรทุ
ํ กจรแบบแผ
สม่าเสมอใช
ํ งานเท ากับ 500 กก./ม.2 จงใช
มาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิธี
หนวยแรงใชงาน ประมาณระยะหางระหว
างศู
นย
ถึ
งศู
นยของที
รองรับ กํ
่ าหนดใหfc‘
= 200 กก./ซม.2 fy = 2400 กก./ซม.2 และคา jd = 10.28 ซม.

1:
2.00 เมตร
2:
2.50 เมตร
3:
3.00 เมตร
4:
3.50 เมตร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

263 :
แผ
นพืนช
้ วงเดี
ยวหนา 15 ซม. เสริ มเหล็กรับแรงดึ
งอย ยว As = 5.65 ซม.2/เมตร ที
างเดี ระยะ d = 12 ซม. ถ
่ าแผ
นพืนนี
้ รับน้
้ าหนักบรรทุ
ํ กจรแบบแผ
สม่
าเสมอใช
ํ ากับ 500 กก./ม.2 จงใช
งานเท มาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
กํ
าลัง ประมาณระยะห
างระหว
างศู
นย
ถึ
งศูนย
ของที
รองรับ กํ
่ าหนดให fc‘ = 200 กก./
2 2
ซม. fy = 3000 กก./ซม. และคา jUd = 11.50 ซม.

1:
2.90 เมตร
2:
3.20 เมตร
3:
3.50 เมตร
4:
3.80 เมตร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

264 :
พืน คสล. ต
้ อเนื
อง 2 ช
่ วง โดยมี
ระยะศู นย
ถึ
งศูนย
ของทีรองรับช
่ วงละ 3.00 เมตร รับน้ าหนักบรรทุ
ํ กแบบแผ สม่าเสมอใช
ํ งานทั้
งหมดเทากับ 500 กก./ม.2
(รวมน้าหนักพื
ํ นแลัว) ถ
้ าโมเมนต
ดัดชนิดลบตรงทีรองรับตัวในมี
่ ค ากับ wL2/9 จงใช
าเท มาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิ ธี
หนวยแรงใชงาน หาปริ มาณเหล็กเสริ

ทีต
่องใชสมมติให
พืนหนา 10 ซม. เสริ
้ มเหล็
กรับแรงดึ
งอยางเดี
ยวทีระยะ d = 7.5 ซม. fc‘ = 150 กก./ซม.2 fy = 2400 กก./ซม.2 และค
่ า j = 7/8

1:
As = 2.50 ซม.2/เมตร.
2:
As = 4.10 ซม.2/เมตร
3:
As = 5.55 ซม.2/เมตร
4:
As = 6.35 ซม.2/เมตร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

265 :
พื
น คสล. ต
้ อเนือง 2 ช
่ วง โดยมีระยะศูนย
ถึ
งศู
นยของที รองรับช
่ วงละ 3.00 เมตร รับน้ าหนักบรรทุ
ํ กแบบแผ สม่าเสมอใช
ํ งานทั้งหมดเทากับ 500 กก./ม.2 (รวมน้


หนักพื
นแลัว) ถ
้ าโมเมนตดัดชนิดลบตรงที รองรับตัวนอกมี
่ ค
าเท 2
ากับ wL /24 จงใช มาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิ ธีหน
วยแรงใชงาน หาปริมาณเหล็ กเสริมที ต
่องใช
สมมติให
พื
นหนา 10 ซม. เสริ
้ มเหล็กรับแรงดึ
งอยางเดี
ยวทีระยะ d = 7.5 ซม. fc ‘ = 150 กก./ซม.2 fy = 2400 กก./ซม.2 และค
่ า j = 7/8

1:
As = 4.10 ซม. 2/เมตร

2:

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 54/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
As = 5.55 ซม. 2/เมตร

3:
As = 6.35 ซม. 2/เมตร

4:
As = 2.50 ซม. 2/เมตร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

266 :
พื
น คสล. ต
้ อเนื
อง 2 ช
่ วง โดยมีระยะศูนย
ถึ
งศู
นย
ของทีรองรับช
่ วงละ 3.00 เมตร รับน้ าหนักบรรทุ
ํ กแบบแผ สม่าเสมอใช
ํ งานทั้งหมดเทากับ 500 กก./ม.2 (รวมน้


หนักพื
นแลัว) ถ
้ าโมเมนตดัดชนิ
ดบวกตรงกลางช วงพืนมี
้ ค
าเทากับ wL2/14 จงใช มาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิ ธี
หนวยแรงใชงาน หาปริมาณเหล็ กเสริมที ต
่องใช
สมมติให
พื
นหนา 10 ซม. เสริ
้ มเหล็กรับแรงดึ
งอย
างเดี ระยะ d = 7.5 ซม. fc ‘ = 150 กก./ซม.2 fy = 2400 กก./ซม.2 และค
ยวที
่ า j = 7/8

1:
As = 2.50 ซม.2/เมตร
2:
As = 4.10 ซม.2/เมตร
3:
As = 5.55 ซม.2/เมตร
4:
As = 6.35 ซม.2/เมตร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

267 :
พื
นยื
้ นจากขอบที
่ รองรับ = 1.50 เมตร ต
่ องรับน้
าหนักบรรทุ
ํ กจรแบบแผ สม่ งาน = 150 กก./ม.2 จงใช
าเสมอใช
ํ มาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิ ธี
หนวยแรงใชงาน หา
ปริ
มาณเหล็
กเสริ
มที
ต
่ องใช สมมติให
พืนหนา 10 ซม. เสริ
้ มเหล็
กรับแรงดึ
งอย
างเดี ระยะ d = 8 ซม. fc ‘ = 150 กก./ซม.2 fy = 2400 กก./ซม.2 และค
ยวที
่ า j = 7/8

1:
As = 6.36 ซม. 2/เมตร

2:
As = 5.22 ซม. 2/เมตร

3:
As = 4.54 ซม. 2/เมตร

4:
As = 3.98 ซม. 2/เมตร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

268 :
พื
นยื
้ นจากขอบที
่ รองรับ = 2.00 เมตร ถ
่ าพื
นหนา 15 ซม. เสริ
้ มเหล็
กรับแรงดึ
งอย ยว As = 5.65 ซม.2/เมตร ที
างเดี ระยะ d = 12 ซม. จงใช
่ มาตรฐานของ
ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
กํ
าลัง ประมาณน้
าหนักบรรทุ
ํ กจรแบบแผ
สม่
าเสมอใช
ํ งานสํ
าหรับพื
นนี
้ ้
กํ fc ‘ = 200 กก./ซม.2 fy = 3000 กก./ซม.2 และค
าหนดให า jUd = 11.50 ซม.

1:
340 กก./เมตร2
2:
280 กก./เมตร2
3:
220 กก./เมตร2
4:
200 กก./เมตร2
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

269 :

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 55/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

คานยื
นจากขอบที
่ รองรับ = 2.00 เมตร ถ
่ าคานกว
าง 25 ซม. เสริ
มเหล็
กรับแรงดึ
งอย
างเดี
ยวที AS = 0.01bd ซม.2 จงใช
ระยะ d = 35 ซม โดยใช
่ มาตรฐานของ
ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
หน
วยแรงใช
งาน ประมาณน้
าหนักบรรทุ
ํ กจรแบบแผ
สม่
าเสมอใช
ํ งานสํ
าหรับคานนี

กํ fc ‘ = 200 กก./ซม.2 fy = 3000 กก./ซม.2 และค
าหนดให าn=
10

1:
1780 กก./เมตร

2:
2010 กก./เมตร

3:
2170 กก./เมตร

4:
2270 กก./เมตร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

270 :
คาน คสล. ขนาด 0.20x0.45 ม. ต องรับโมเมนต ดัดใช
งาน = 6000 กก.-เมตร จงใชมาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิ ธีหน
วยแรงใช
งาน หาปริมาณของเหล็กเสริ
มรับ
แรงดึ
ง (As ) และรับแรงอัด (As ‘) กํ
าหนดให fc ‘ = 200 กก./ซม.2 fy = 2400 กก./ซม.2 ระยะ d = 40 ซม. d’ = 5 ซม. ค
า k = 0.43 และโมเมนต
ต
านทานโดย
คอนกรีต (MC) = 5300 กก.-เมตร

1:
As ‘ = 1.47 ซม. 2 As = 13.50 ซม. 2

2:
As ‘ = 1.67 ซม. 2 As = 14.50 ซม. 2

3:
As ‘ = 1.87 ซม. 2 As = 15.50 ซม. 2

4:
As ‘ = 2.07 ซม. 2 As = 17.50 ซม. 2

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

271 :
คาน คสล. ขนาด 0.25x0.60 ม. ต องรับโมเมนต ดัดใช
งาน = 21505 กก.-เมตร จงใชมาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิ ธี
หน
วยแรงใช งาน หาปริ
มาณของเหล็กเสริ
มรับ
แรงดึ
ง (As ) และรับแรงอัด (As ‘) กํ
าหนดให fc ‘ = 250 กก./ซม.2 fy = 3000 กก./ซม.2 ระยะ d = 54 ซม. d’ = 6 ซม. ค
า j = 0.866 และโมเมนต
ต
านทานโดย
คอนกรีต (MC) = 14305 กก.-เมตร

1:
As ‘ = 12.00 ซม. 2 As = 29.30 ซม. 2

2:
As ‘ = 11.50 ซม. 2 As = 32.50 ซม. 2

3:
As ‘ = 11.40 ซม. 2 As = 32.40 ซม. 2

4:
As ‘ = 10.25 ซม. 2 As = 30.40 ซม. 2

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

272 :
คาน คสล. ขนาด 0.15x0.30 ม. ต
องรับโมเมนต
ดัดประลัย (MU) ที
หน
่ าตัดวิ
กฤต = 3500 กก.-เมตร จงใช
มาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
กํ
าลัง หาปริ
มาณของเหล็

เสริ
มรับแรงดึ ง (As ) และรับแรงอัด (As ‘) กําหนดให fc ‘ = 200 กก./ซม.2 fy = 3000 กก./ซม.2 ระยะ d = 25 ซม. d’ = 5 ซม. และกํ
าลังต
านทานโมเมนต
ดัดประลัย
เมื
อ ใช
่ อ ัตราสวนเหล็ กเสริม r - r‘ = 0.01 มี
ค
าเท
ากับ 2300 กก.-เมตร

1:

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 56/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
As ‘ = 2.00 ซม. 2 As = 5.75 ซม. 2

2:
As ‘ = 2.22 ซม. 2 As = 5.97 ซม. 2

3:
As ‘ = 2.50 ซม. 2 As = 6.25 ซม. 2

4:
As ‘ = 3.00 ซม. 2 As = 6.75 ซม. 2

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

273 :
คาน คสล. ขนาด 0.20x0.35 ม. ต
องรับโมเมนต
ดัดประลัย (MU) ที
หน
่ าตัดวิ
กฤต = 6000 กก.-เมตร จงใช
มาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
กํ
าลัง หาปริ
มาณของเหล็

เสริ
มรับแรงดึ ง (As ) และรับแรงอัด (As ‘) กําหนดใหfc ‘ = 200 กก./ซม.2 fy = 4000 กก./ซม.2 ระยะ d = 30 ซม. d’ = 3 ซม. และกํ
าลังต
านทานโมเมนต
ดัดประลัย
เมื
อ ใช
่ อ ัตราสวนเหล็ กเสริม r - r‘ = 0.006 มี
ค
าเท
ากับ 3610 กก.-เมตร

1:
As ‘ = 2.75 ซม. 2 As = 6.35 ซม. 2

2:
As ‘ = 1.50 ซม. 2 As = 5.10 ซม. 2

3:
As ‘ = 2.00 ซม. 2 As = 5.60 ซม. 2

4:
As ‘ = 2.50 ซม. 2 As = 6.10 ซม. 2

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

274 :
คาน คสล. ขนาด 0.20x0.45 ม. ต
องรับโมเมนต
ดัดประลัย (MU) ที
หน
่ าตัดวิ
กฤต = 15000 กก.-เมตร จงใช
มาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
กํ
าลัง หาปริ
มาณของ
เหล็
กเสริมรับแรงดึง (As ) และรับแรงอัด (As ‘) กําหนดใหfc ‘ = 200 กก./ซม.2 fy = 3000 กก./ซม.2 ระยะ d = 40 ซม. d’ = 3 ซม. และกํ
าลังต
านทานโมเมนต
ดัด
ประลัยเมื
อ ใช
่ อัตราสวนเหล็ กเสริม r - r‘ = 0.016 มี
ค
าเท
ากับ 11800 กก.-เมตร

1:
As ‘ = 3.20 ซม. 2 As = 16.0 ซม. 2

2:
As ‘ = 3.77 ซม. 2 As = 15.8 ซม. 2

3:
As ‘ = 4.20 ซม.2 As = 17.0 ซม.2

4:
As ‘ = 5.74 ซม. 2 As = 15.3 ซม. 2

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

275 :
คานรองรับแผ
นพื นช
้ วงภายในทั่
วไปซึ
งหล
่ อเปนเนือ เดี
้ ยวกันกับแผ
นพื
นนั้
้ น ถ
าพื
นหนา = 12 ซม. ตัวคานกว
้ าง = 20 ซม. ระยะห
างจากศู
นย
ถึ
งศู
นย
ของคานข
าง
เคี
ยงแต
ละขาง = 4.50 เมตร และช
วงคานยาว = 6 เมตร จงหาความกว างประสิ
ทธิ
ผลของปกคานรูปตัดตัวที
ตามมาตรฐานของ ว.ส.ท.

1:
0.80 เมตร

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 57/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
2:
1.50 เมตร

3:
2.10 เมตร

4:
2.45 เมตร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

276 :
คานรองรับแผ
นพื นช
้ วงภายในทั่
วไปซึ
งหล
่ อเปนเนือ เดี
้ ยวกันกับแผ
นพื
นนั้
้ น ถ
าพื
นหนา = 15 ซม. ตัวคานกว
้ าง = 20 ซม. ระยะห
างจากศู
นย
ถึ
งศู
นย
ของคานข
าง
เคี
ยงแต
ละขาง = 5 เมตร และช
วงคานยาว = 8 เมตร จงหาความกว างประสิทธิ
ผลของป
กคานรูปตัดตัวทีตามมาตรฐานของ ว.ส.ท.

1:
2.75 เมตร

2:
2.50 เมตร

3:
2.00 เมตร

4:
1.25 เมตร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

277 :
คานขอบตัวริมที
รองรับแผ
่ นพื
นและหล
้ อเปนเนื
อเดี
้ ยวกันกับแผ
นพื
นนั้
้ น ถ
าพื
นหนา = 12 ซม. ตัวคานกว
้ าง = 20 ซม. จงหาความกว
างประสิ
ทธิ
ผลของป

คานรู
ปตัดตัวทีตามมาตรฐานของ ว.ส.ท. ถ
าระยะห
างจากศูนย
ถึ
งศู
นยของคานข
างเคี
ยง = 4.50 เมตร และช
วงคานยาว = 6 เมตร
1:
0.90 เมตร
2:
0.80 เมตร
3:
0.70 เมตร
4:
ไม
มี
ข
อใดถู

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

278 :
คานขอบตัวริมที
รองรับแผ
่ นพื
นและหล
้ อเปนเนื
อเดี
้ ยวกันกับแผ
นพื
นนั้
้ น ถ
าพื
นหนา = 10 ซม. ตัวคานกว
้ าง = 15 ซม. จงหาความกว
างประสิ
ทธิ
ผลของป

คานรู
ปตัดตัวทีตามมาตรฐานของ ว.ส.ท. ถ
าระยะห
างจากศูนย
ถึ
งศู
นยของคานข
างเคี
ยง = 4 เมตร และช
วงคานยาว = 4 เมตร
1:
0.60 เมตร
2:
0.75 เมตร
3:
2.15 เมตร
4:
ไม
มี
ข
อใดถู

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

279 :
คานรู
ปตัดตัวที
มี
ความกว
างประสิ
ทธิ
ผลของป
กคาน = 125 ซม. หนา = 8 ซม. ตัวคานกว
าง = 25 ซม. เสริ
มเหล็
กรับแรงดึ
งอย ยว As = 48.24 ซม.2 ที
างเดี ระยะ d

= 40 ซม. จงใช
มาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
กํ
าลัง ประมาณกํ
าลังรับโมเมนต
ดัดประลัย (MU) กํ fc ‘ = 200 กก./ซม.2 และ fy = 3000 กก./ซม.2
าหนดให

1:
50 ตัน -เมตร

2:
53 ตัน -เมตร

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 58/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

3:
45 ตัน -เมตร

4:
48 ตัน -เมตร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

280 :
คานรู
ปตัดตัวที
โดดๆ มี
ปกคานกวาง = 75 ซม. หนา = 10 ซม. ตัวคานกวาง = 25 ซม. เสริ
มเหล็
กรับแรงดึ
งอย ยว As = 9.82 ซม.2 ที
างเดี ระยะ d = 40 ซม.

จงใช
มาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
หนวยแรงใชงาน ประมาณโมเมนต ดัดใช
งาน (M) ของคานนี ้
กํ
าหนดให fc‘ = 200 กก./ซม. fy = 3000 กก./ซม.2 และ n =
2
10
1:
4.35 ตัน-เมตร
2:
5.45 ตัน-เมตร
3:
7.50 ตัน-เมตร
4:
11.3 ตัน-เมตร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

281 :
คานรูปตัดตัวที
โดดๆ มีป
กคานกวาง = 75 ซม. หนา = 12 ซม. ตัวคานกว าง = 25 ซม. เสริมเหล็กรับแรงดึ
งอยางเดี
ยว ทีระยะ d = 30 ซม. จงใช
่ มาตรฐาน
ของ ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
หนวยแรงใช
งาน หาปริ มาณเหล็
กเสริม กํ
าหนดให fc‘ = 200 กก./ซม.2 fy = 3000 กก./ซม.2 และ n = 10

1:
As = 26.50 ซม.2
2:
As = 21.20 ซม.2
3:
As = 18.00 ซม.2
4:
As = 17.60 ซม.2

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

282 :
ถ
าแผนพืน คสล. 2 ทาง มี
้ ขนาด S x L เทากับ 5.00x5.00 เมตร รับน้
าหนักบรรทุ
ํ กคงที
ใช
่ งานเทากับ 350 กก./ ม.2 และน้าหนักบรรทุ
ํ กจรใช
งานเท
ากับ
250 กก./ ม.2 ให
ใช
มาตรฐาน ว.ส.ท. ตามวิ
ธี
ที่2 ของการออกแบบพื น คสล. 2 ทาง ว
้ าคานรองรับแตละด
านตองรับน้าหนักบรรทุ
ํ กแผ
สม่
าเสมอเที
ํ ยบเทา
จากแผนพืนนี
้ เท
้ าใด
1:
750 กก./เมตร
2:
1000 กก./เมตร
3:
1525 กก./เมตร
4:
2000 กก./เมตร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

283 :
คานรูปตัดคัวที
โดดๆ ตัวคานกว
าง 30 ซม. เสริ
มเหล็
กรับแรงดึ
งทีระยะ d = 0.50 ม. ถ
่ าแรงเฉื
อนที
หน
่ าตัดวิกฤตอันเนื
องมาจากน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กใช
งานมี คา
= 12000 กก. จงใช
มาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิธี
หน
วยแรงใชงาน หาระยะเรี
ยงหางมากทีสุ
่ดของเหล็
กลู
กตั้
ง (SR24) ขนาด f9 มม. (สองขา) สมมติ
ใหfc ‘ =
200 กก./ซม.2
1:

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 59/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

7.5 ซม.
2:
10.0 ซม.
3:
12.5 ซม.
4:
20.0 ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

284 :
คานกวาง 25 ซม. เสริ
มเหล็
กรับแรงดึงทีระยะ d = 40 ซม. ถ
่ าแรงเฉื
อนประลัยที
หน
่ าตัดวิ
กฤต = 14150 กก. จงใช
มาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
กํ
าลัง หา
ระยะเรี
ยงหางมากทีสุ
่ดของเหล็กลู
กตั้
ง (SD30) ขนาด f10 มม. (สองขา) สมมติ fc ‘ = 200 กก./ซม.2
ให

1:
15 ซม.
2:
17.5 ซม.
3:
20 ซม.
4:
25 ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

285 :
คานกว าง 25 ซม. เสริ
มเหล็
กรับแรงดึ
งที
ระยะ d = 50 ซม. ถ
่ าเหล็กลู
กตั้
ง (SD30) ขนาด f10 มม. (สองขา) มี
ระยะเรี
ยงห
าง = 20 ซม. จงใช
มาตรฐานของ
ว.ส.ท. โดยวิธี
กํ
าลัง หาความตานทานแรงเฉื
อนประลัยทีหน
่ าตัดวิ
กฤต สมมติ fc ‘ = 200 กก./ซม.2
ให

1:
14100 กก.
2:
15900 กก.
3:
16100 กก.
4:
16900 กก.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

286 :
คานกว าง 20 ซม. เสริ
มเหล็กรับแรงดึ
งที
ระยะ d = 35 ซม. ถ
่ าเหล็
กลู
กตั้
ง (SR24) ขนาด f6 มม. (สองขา) มี ระยะเรี
ยงห
าง = 14 ซม. จงใช
มาตรฐานของ
ว.ส.ท. โดยวิ
ธีหน
วยแรงใชงาน หาความตานทานแรงเฉือ นใช
งานทีหน
่ าตัดวิ
กฤต สมมติ fc ‘ = 150 กก./ซม.2
ให

1:
4175 กก.

2:
4500 กก.

3:
5150 กก.

4:
3825 กก.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

287 :
คาน คสล. ชวงเดี
ยวธรรมดา ยาว 5.00 เมตร เสริ
มเหล็กรับแรงดึ งที
ระยะ d = 40 ซม. ถ
่ าคานนี
ต
้องรับน้
าหนักบรรทุ
ํ กใช
งานแบบแผสม่
าเสมอทั้
ํ งหมด w =
2000 กก./เมตร (รวมน้
าหนักคานแล
ํ ว) โดยคอนกรี ตมีกํ
าลังต
านทานแรงเฉื อนปลอดภัย = 3300 กก. จงใช
มาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
หน
วยแรงใชงาน
ประมาณระยะ (ทางทฤษฎี ) จากจุ
ดรองรับที
ต
่องเสริมเหล็
กลู กตั้

1:
1.00 เมตร
www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 60/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

2:
1.25 เมตร
3:
1.50 เมตร
4:
2.00 เมตร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

288 :
คานยืน คสล. ยาว 2.00 เมตร เสริ
่ มเหล็กรับแรงดึงที
ระยะ d = 40 ซม. ถ
่ าคานนี
ต
้องรับน้
าหนักบรรทุ
ํ กใช
งานแบบแผ สม่
าเสมอทั้
ํ งหมด w = 2500 กก./
เมตร (รวมน้
าหนักคานแล
ํ ว) โดยคอนกรี ตมีกํ
าลังต
านทานแรงเฉื
อนปลอดภัย = 3000 กก. จงใชมาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิธี
หน
วยแรงใช
งาน ประมาณ
ระยะ (ทางทฤษฎี) จากขอบรองรับที
ต
่ องเสริมเหล็กลู
กตั้

1:
1.00 เมตร
2:
1.20 เมตร
3:
1.40 เมตร
4:
1.60 เมตร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

289 :
คาน คสล. ช วงเดี
ยวธรรมดา ยาว 6.00 เมตร เสริ
มเหล็
กรับแรงดึงที
ระยะ d = 55 ซม. ถ
่ าคานนีต
้ องรับน้
าหนักบรรทุ
ํ กประลัยแบบแผสม่
าเสมอทั้
ํ งหมด wU
= 11.5 ตัน/เมตร (รวมน้าหนักคานแล
ํ ว) โดยคอนกรีตมี
กําลังต
านทานแรงเฉือนประลัย = 14 ตัน จงใชมาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
กํ
าลัง ประมาณระยะ
(ทางทฤษฎี ) จากจุดรองรับที
ต
่องเสริ
มเหล็
กลู
กตั้

1:
1.20 เมตร
2:
1.80 เมตร
3:
2.40 เมตร
4:
3.00 เมตร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

290 :
เสาสั้
นปลอกเดี ยวขนาดเท
่ ากับ 50 x 50 ซม. เสริ
มเหล็กยื งหมด 6 f25 มม. (Ast = 29.45 ตร.ซม.) โดยที
นทั้ ่
As = As‘ และระยะคอนกรี
ตหุม = 5 ซม. เสานี
 ้
ตองรับแรงอัดตามแนวแกน และโมเมนต ดัดรอบ plastic centroid ให
ใช
วิWSD ประมาณค
ธี าหนวยแรงอัด Fa ที
ยอมให
่ ของคอนกรีต กํ
าหนดให fc‘ = 250
กก./ซม.2 fy = 3000 กก./ซม.2 และ ES = 2x106 กก./ซม.2

1:
100 กก./ตร.ซม.
2:
125 กก./ตร.ซม.
3:
150 กก./ตร.ซม.
4:
200 กก./ตร.ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

291 :
เสาสั้
นปลอกเดี ยวขนาดเท
่ ากับ 50 x 50 ซม. เสริ
มเหล็กยื งหมด 6 f25 มม. (Ast = 29.45 ตร.ซม.) โดยที
นทั้ ่
As = As‘ และระยะคอนกรี
ตหุม = 5 ซม. เสานี
 ้
ตองรับแรงอัดตามแนวแกน และโมเมนต ดัดรอบ plastic centroid ให
ใช
วิWSD ประมาณค
ธี าหนวยแรงดัด Fb ที
ยอมให
่ ของคอนกรีต กํ
าหนดให fc‘ = 250
กก./ซม.2 fy = 3000 กก./ซม.2 และ ES = 2x106 กก./ซม.2

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 61/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1:
100 กก./ตร.ซม.
2:
115 กก./ตร.ซม.
3:
130 กก./ตร.ซม.
4:
150 กก./ตร.ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

292 :
เสาสั้
นปลอกเดี
ยวขนาดเท
่ ากับ 50 x 50 ซม. เสริ
มเหล็
กยื งหมด 6 f25 มม. (Ast = 29.45 ตร.ซม.) โดยที
นทั้ ่ As = As‘ และระยะคอนกรี
ตหุ
ม = 5 ซม. ให
 ใช
วิ
ธีWSD ประมาณค าโมเมนต ดัด M0 ที
ยอมให
่ ของเสาเมื
อไม
่ มี
แรงอัดตามแนวแกน กํ าหนดให fc‘ = 250 กก./ซม. fy = 3000 กก./ซม. และ ES = 2x106
2 2
กก./ซม.2
1:
10000 กก.-ม.
2:
9000 กก.-ม.
3:
8000 กก.-ม.
4:
7000 กก.-ม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

293 :
เสาสั้
นปลอกเดียวขนาด 50 x 50 ซม. เสริ
่ มเหล็กยื งหมด 6 f25 มม. (Ast = 29.45 ตร.ซม.) โดยที
นทั้ ่
As = As‘ และระยะคอนกรีตหุม = 5 ซม. จงใช
 วิ
ธี
WSD ประมาณค าแรงอัดใช
งานที
สภาวะสมดุ
่ ล (Pb) สมมติ
ใหหนวยแรงอัดที
ยอมให
่ ของคอนกรี 2
ต = 100 กก./ ซม. หน วยแรงดัดที
ยอมให
่ ของคอนกรีต=
115 กก./ ซม.2 ระยะเยื
องศู
้ นย
สมดุ
ล = 12.7 ซม. และโมเมนตอิ
นเนอร
เชี
ยของหน าตัด = 720000 ซม.4
1:
170 ตัน
2:
190 ตัน
3:
210 ตัน
4:
230 ตัน
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

294 :
เสาสั้
นปลอกเกลี ยวรู
ปตัดกลม ขนาดเสนผ
าศู
นย กลาง 50 ซม. จงใช
วิ
ธีWSD ประมาณค าแรงอัดใช
งานที
สภาวะสมดุ
่ ล (Pb) กํ
าหนดใหหน
วยแรงอัดที
ยอม

ให
ของคอนกรี ต = 115 กก./ ซม.2 หน
วยแรงดัดทียอมให
่ ของคอนกรีต = 112.5 กก./ ซม.2 ระยะเยื
องศู
้ นย
สมดุ
ล = 13 ซม. และโมเมนต
อิ
นเนอร
เชี
ยของ
หนาตัด = 465300 ซม.4
1:
85 ตัน
2:
95 ตัน
3:
100 ตัน
4:
105 ตัน
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

295 :
เสาสั้
นปลอกเดี
ยวขนาด 30 x 30 ซม. เสริ
่ มเหล็
กยื งหมด 6 f25 มม. (Ast = 29.45 ตร.ซม.) โดยที
นทั้ ่
As = As‘ และระยะคอนกรี
ตหุ
ม = 5 ซม. รับโมเมนต

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 62/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

ดัดใช
งาน = 5000 กก.-เมตร จงใช
วิWSD ประมาณค
ธี าแรงอัดใช
งานที
เสาสามารถรับได
่ ในช
วงแรงอัดเป
นหลัก สมมติ fC‘ = 200 กก./ ซม.2 fY = 3000
ให
กก./ ซม.2 และโมเมนต
อินเนอร
เชี าตัด = 123470 ซม.4
ยของหน
1:
18 ตัน
2:
22 ตัน
3:
26 ตัน
4:
30 ตัน
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

296 :
เสาสั้
นปลอกเดี
ยวขนาด 25 x 25 ซม. เสริ
่ มเหล็
กยื
นโดยที

As = As ‘ รับแรงอัดใช
งาน = 50 ตัน จงใช
วิ
ธี
WSD ประมาณค
าโมเมนต
ดัดใช
งานที
เสาสามารถรับได

ในช
วงแรงอัดเป
นหลัก กําหนดให
หน วยแรงอัดที
ยอมให
่ ต = 120 กก./ ซม.2 หน
ของคอนกรี วยแรงดัดที
ยอมให
่ ต = 112.5 กก./ ซม.2 และโมเมนต
ของคอนกรี อิ

เนอร
เชี
ยของหนาตัด = 55700 ซม.4

1:
2.00 ตัน-ม.

2:
2.55 ตัน-ม.

3:
3.00 ตัน-ม.

4:
1.65 ตัน-ม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

297 :
เสาสั้
นปลอกเดี
ยวขนาด 25 x 25 ซม. เสริ
่ มเหล็กยื
นโดยที่As = As‘ รับแรงอัดใช
งาน = 45 ตัน จงใช
วิWSD ประมาณค
ธี าโมเมนตดัดใช
งานที
เสาสามารถ

รับได
ในช
วงแรงอัดเป
นหลัก กํ
าหนดให หน
วยแรงอัดทียอมให
่ ของคอนกรี 2
ต = 120 กก./ ซม. หน วยแรงดัดที
ยอมให
่ ของคอนกรีต = 112.5 กก./ ซม.2 และ
โมเมนตอิ
นเนอร
เชียของหนาตัด = 55700 ซม.4

1:
1.65 ตัน-ม.
2:
2.00 ตัน-ม.
3:
2.55 ตัน-ม.
4:
3.00 ตัน-ม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

298 :
เสาสั้
นปลอกเดี
ยวขนาด 25 x 25 ซม. เสริ
่ มเหล็
กยื
นโดยที่As = As‘ จงใช
วิWSD ประมาณค
ธี าโมเมนตดัดใช
งานทีสภาวะสมดุ
่ ล (Mb) กํ
าหนดให หนวยแรง
อัดที
ยอมให
่ ต = 120 กก./ ซม.2 หน
ของคอนกรี วยแรงดัดทียอมให
่ ต = 112.5 กก./ ซม.2 แรงอัดใช
ของคอนกรี งานที
สภาวะสมดุ
่ ล (Pb) = 33 ตัน และ
โมเมนตอิ
นเนอร
เชี าตัด = 55700 ซม.4
ยของหน
1:
2.0 ตัน-ม.
2:
2.4 ตัน-ม.
3:
2.8 ตัน-ม.

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 63/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
4:
3.0 ตัน-ม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

299 :
เสาสั้
นปลอกเดี
ยวขนาดเท
่ ากับ 50 x 50 ซม. เสริ
มเหล็
กยื งหมด 6 f25 มม. (Ast = 29.45 ตร.ซม.) โดยที
นทั้ ่As = As‘ และระยะคอนกรี
ตหุ
ม = 5 ซม. จงใช

วิ
ธีWSD ประมาณค าโมเมนต ดัดใช
งานที
สภาวะสมดุ
่ ล (Mb) กําหนดให หนวยแรงอัดที
ยอมให
่ ของคอนกรี 2
ต = 100 กก./ ซม. หน วยแรงดัดที
ยอมให
่ ของ
คอนกรีต = 115 กก./ ซม.2 แรงอัดใชงานที
สภาวะสมดุ
่ ล (Pb) = 170 ตัน และค
าn=9

1:
20 ตัน-ม.
2:
22 ตัน-ม.
3:
25 ตัน-ม.
4:
30 ตัน-ม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

300 :
เสาสั้
นปลอกเกลี ยวรูปตัดกลม ขนาดเสนผาศู
นยกลาง 50 ซม. รับโมเมนต
ดัดใช
งาน MX = 6.3 ตัน-เมตร MY = 3.15 ตัน-เมตร จงใช
วิWSD ประมาณ
ธี
คาแรงอัดใช
งานทีเสาสามารถรับได
่ ในช
วงแรงอัดเป
นหลัก กําหนดใหหน วยแรงอัดที
ยอมให
่ ของคอนกรี ต = 92 กก./ ซม.2 หน วยแรงดัดที
ยอมให
่ ของ
คอนกรี ต = 90 กก./ ซม.2 และโมเมนต
อิ
นเนอรเชี
ยของหนาตัด = 456150 ซม.4
1:
75 ตัน
2:
90 ตัน
3:
100 ตัน
4:
105 ตัน
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

301 :
เสาสั้
นปลอกเกลี ยวรูปตัดกลม ขนาดเสนผาศู
นยกลาง 50 ซม. รับโมเมนต
ดัดใช
งาน MX = 8.5 ตัน-เมตร MY = 4.25 ตัน-เมตร จงใช
วิWSD ประมาณ
ธี
คาแรงอัดใช
งานทีเสาสามารถรับได
่ ในช
วงแรงอัดเป
นหลัก กําหนดใหหน วยแรงอัดที
ยอมให
่ ของคอนกรี 2
ต = 92 กก./ ซม. หน วยแรงดัดที
ยอมให
่ ของ
คอนกรี ต = 90 กก./ ซม.2 และโมเมนต
อิ
นเนอรเชี
ยของหนาตัด = 456150 ซม.4
1:
75 ตัน
2:
60 ตัน
3:
55 ตัน
4:
40 ตัน
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

302 :
เสาสั้
นปลอกเกลียวรู ปตัดกลม ขนาดเสนผ าศู
นยกลาง 50 ซม. รับแรงอัดใช
งาน = 80 ตัน จงใชวิWSD ประมาณค
ธี าโมเมนต
ดัดใช
งาน MX ที
เสาสามารถ

รับได
ในชวงแรงอัดเปนหลัก กําหนดใหหน วยแรงอัดที
ยอมให
่ ของคอนกรี ต = 92 กก./ ซม.2 หน
วยแรงดัดที
ยอมให
่ ต = 90 กก./ ซม.2 โมเมนต
ของคอนกรี
อินเนอร
เชียของหน าตัด = 456150 ซม.4 และใหMX = 2MY

1:
MX = 8.25 ตัน-เมตร
2:

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 64/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

MX = 7.30 ตัน-เมตร
3:
MX = 6.30 ตัน-เมตร
4:
MX = 6.10 ตัน-เมตร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

303 :
เสาสั้
นปลอกเกลี
ยวขนาดเสันผาศู
นยกลางเท
ากับ 25 ซม. ระยะคอนกรี
ตหุ
มเท
 ากับ 3 ซม. กํ fc‘ = 100 กก./ซม.2 fsy = 2400 กก./ซม.2 ดังนั้
าหนดให น ต
อง
ใช
เหล็กปลอกเกลี
ยวสํ
าหรับเสานีคื
้อ
1:
f9 มม. @ 0.03 ม.
2:
f6 มม. @ 0.03 ม.
3:
f9 มม. @ 0.04 ม.
4:
f6 มม. @ 0.025 ม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

304 :
เสาสั้
นปลอกเกลี
ยวขนาดเสันผาศู
นยกลางเท
ากับ 25 ซม. ระยะคอนกรี
ตหุ
มเท
 ากับ 3 ซม. กํ fc‘ = 200 กก./ซม.2 fsy = 2400 กก./ซม.2 ดังนั้
าหนดให น ต
อง
ใช
เหล็กปลอกเกลี
ยวสํ
าหรับเสานีคื
้อ
1:
f9 มม. @ 0.03 ม.
2:
f6 มม. @ 0.03 ม.
3:
f9 มม. @ 0.04 ม.
4:
f6 มม. @ 0.025 ม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

305 :
เสาสั้
นปลอกเกลี
ยวขนาดเสันผาศู
นยกลางเท
ากับ 40 ซม. ระยะคอนกรี
ตหุ
มเท
 ากับ 3 ซม. กํ fc‘ = 200 กก./ซม.2 fsy = 2400 กก./ซม.2 ดังนั้
าหนดให น ต
อง
ใช
เหล็กปลอกเกลี
ยวสํ
าหรับเสานีคื
้อ
1:
f9 มม. @ 0.03 ม.
2:
f6 มม. @ 0.025 ม.
3:
f9 มม. @ 0.05 ม.
4:
f6 มม. @ 0.05 ม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

306 :
เสาปลอกเดียวขนาด 30 x 30 ซม. อยู
่ ในโครงเฟรมแบบ Portal ช
 วงเดี
ยวและชั้
นเดี
ยวซึงเซได
่ โดยทีปลายเสาเป
่ นแบบยึดแน
น (fixed) และที
หัวเสายึ
่ ดติด
กับคานซึงมี
่ า I/L = 200 ซม.3 ถ
ค าเสาต
นนีโก
้ งสองทาง และสมมติ ว
าอยู
ในช
 วงแรงอัดเปนหลัก หากช
วงความยาวของเสาต
นนี ที
้ปราศจากค้
่ ายันเท
ํ ากับ
6.00 เมตร จงใช
วิธีWSD ประมาณค าความยาวประสิทธิ
ผลของเสาตนนี้
1:
www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 65/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

5.70 เมตร
2:
6.00 เมตร
3:
6.20 เมตร
4:
6.50 เมตร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

307 :
เสาปลอกเดียวขนาดเท
่ ากับ 30 x 30 ซม. อยู
ในโครงเฟรมแบบ Portal ช
 วงเดี
ยวและชั้
นเดี
ยวซึงเซได
่ โดยที
ปลายเสาเป
่ นแบบยึ
ดแน
น (fixed) และทีหัวเสา

ยึดติ
ดกับคานซึงมี
่ า I/L = 75 ซม.3 ถ
ค าเสาต
นนีโก
้ งสองทาง และสมมติ ว
าอยู
ในช
 วงแรงอัดเป
นหลัก ถ
าช
วงความยาวของเสาต
นนี
ที
้ปราศจากค้
่ ายันเท
ํ ากับ
4.25 เมตร จงใช
วิ
ธี
WSD ประมาณค าความยาวประสิ ทธิ
ผลของเสาตนนี้
1:
4.25 เมตร
2:
4.75 เมตร
3:
5.00 เมตร
4:
5.50 เมตร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

308 :
เสาปลอกเดี ยวขนาดเท
่ า กั บ 30 x 50 ซม. โดยมี โมเมนต
ดัดกระทํ
าขนานกับด
านที
ยาวเท
่ ากับ 50 ซม. ถาเสานี
อยู
้ ในโครงเฟรมที
 เซไดและพบว
่ าค

effective length factor เทากับ 1.50 ดังนั้
น ช
วงความยาวของเสาต
นนีที
้ปราศจากค้
่ ายันควรมี
ํ คาเท
าใดตามวิ
ธีUSD จึ
งจะถื
อว
าเป
นเสาสั้

1:
4.00 เมตร
2:
3.00 เมตร
3:
2.50 เมตร
4:
2.00 เมตร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

309 :
เสาปลอกเดี ยวขนาดเท
่ า กั บ 30 x 50 ซม. โดยมี โมเมนต
ดัดกระทํ
าขนานกับด
านที
ยาวเท
่ ากับ 50 ซม. ถาเสานี
อยู
้ ในโครงเฟรมที
 เซไดและพบว
่ าค

effective length factor เทากับ 1.70 ดังนั้
น ช
วงความยาวของเสาต
นนีที
้ปราศจากค้
่ ายันควรมี
ํ คาเท
าใดตามวิ
ธีUSD จึ
งจะถื
อว
าเป
นเสาสั้

1:
1.90 เมตร
2:
2.10 เมตร
3:
2.20 เมตร
4:
2.30 เมตร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

310 :
เสาปลอกเกลี
ยวขนาดเสนผ
าศู
นย
กลางเทากับ 35 ซม. อยู
ในโครงเฟรมที
 เซได
่ ถ
าพบว
าค
า effective length factor เท
ากับ 1.80 ดังนั้
น ช
วงความยาวของ
เสาต
นนี
ที
้ ปราศจากค้
่ ายันควรมี
ํ ค
าเท
าใดตามวิธีUSD จึงจะถื
อว
าเป
นเสาสั้

1:
1.00 เมตร
2:

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 66/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1.50 เมตร
3:
2.00 เมตร
4:
2.50 เมตร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

311 :
เสาปลอกเดี ยวขนาด 35 x 35 ซม. ยาว 5.00 เมตร อยู
่ ในโครงเฟรมที
 เซไม
่ ไดรับแรงอัดตามแนวแกน PD = 15 ตัน PL = 8.5 ตัน และโมเมนต ดัดรอบ
plastic centroid โดยที ปลายหนึ
่ งรับโมเมนต
่ MD = 10 ตัน-ม. ML = 6 ตัน-ม. และอีกปลายหนึงรับโมเมนต
่ MD = 5 ตัน-ม. ML = 3 ตัน-ม. ซึ
งทํ
่ าให
เสาโก

สองทาง ถ าให effective length factor kb มี
ค
าเท
ากับ 0.9 จงหาอัตราสวนความชะลู ดของเสาต
นนี โดยเปรี
้ ยบเที
ยบกับคาในวิธีUSD

1:
kblu/r = 43 > 34 – 12(M1b/M2b) = 28
2:
kblu/r = 43 > 34 – 12(M1b/M2b) = 40
3:
kblu/r = 51 > 34 – 12(M1b/M2b) = 28
4:
kblu/r = 51 > 34 – 12(M1b/M2b) = 40

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

312 :
เสาปลอกเดี ยวขนาด 35 x 35 ซม. ยาว 5.00 เมตร อยู
่ ในโครงเฟรมที
 เซไม
่ ไดรับแรงอัดตามแนวแกน PD = 15 ตัน PL = 8.5 ตัน และโมเมนต ดัดรอบ
plastic centroid โดยที
ปลายหนึ
่ งรับโมเมนต
่ MD = 10 ตัน-ม. ML = 6 ตัน-ม. และอีกปลายหนึงรับโมเมนต
่ MD = 5 ตัน-ม. ML = 3 ตัน-ม. ซึ
งทํ
่ าให
เสาโก

สองทาง จงใช วิ
ธีUSD หาค
า creep factor b d ของเสาต
นนี เพื
้ อนํ
่ าไปหาค า moment magnifier factor ต
อไป

1:
0
2:
0.45
3:
0.58
4:
0.65
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

313 :
เสาปลอกเดี ยวขนาด 25 x 40 ซม. ยาวเท
่ ากับ 7.20 เมตร อยู
ในโครงเฟรมที
 เซไม
่ ไดตองรับแรงอัดตามแนวแกน PD = 24 ตัน PL = 12 ตัน และโมเมนต ดัด
รอบ plastic centroid โดยที
ปลายหนึ
่ งรับโมเมนต
่ MD = 4.70 ตัน-ม. ML = 2.35 ตัน-ม. และอี
กปลายหนึ งไม
่ มี
โมเมนต
กระทํา ถาให effective length factor
kb มี
ค
าเท
ากับ 1.0 จงหาอัตราส
วนความชะลูดของเสาต นนีตามวิ
้ ธีUSD

1:
kblu/r = 40
2:
kblu/r = 50
3:
kblu/r = 60
4:
kblu/r = 96

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

314 :
เสาปลอกเดี ยวขนาด 25 x 40 ซม. ยาวเท
่ ากับ 7.20 เมตร อยู
ในโครงเฟรมที
 เซไม
่ ไดตองรับแรงอัดตามแนวแกน PD = 24 ตัน PL = 12 ตัน และโมเมนตดัด
รอบ plastic centroid โดยที
ปลายหนึ
่ งรับโมเมนต
่ MD = 4.70 ตัน-ม. ML = 2.35 ตัน-ม. และอีกปลายหนึงไม
่ มี
โมเมนตกระทํา จงใชวิ
ธีUSD หาค า creep
www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 67/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

factor b d ของเสาต
นนี
เพื
้ อนํ
่ าไปหาค
า moment magnifier factor ต
อไป

1:
0.50
2:
0.55
3:
0.62
4:
0.65
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

315 :
เสาปลอกเดี ยวขนาด 35 x 35 ซม. ยาวเท
่ ากับ 5.00 เมตร อยูในโครงเฟรมที
 เซไม
่ ไดตองรับแรงอัดตามแนวแกน PD = 15 ตัน PL = 8.5 ตัน และโมเมนต ดัด
รอบ plastic centroid โดยที ปลายหนึ
่ งรับโมเมนต
่ MD = 10 ตัน-ม. ML = 6 ตัน-ม. และอี กปลายหนึ งรับโมเมนต
่ MD = 5 ตัน-ม. ML = 3 ตัน-ม. ซึ
งทํ
่ าให
เสา
โกงสองทาง ถ าใหeffective length factor kb มี
คาเท
ากับ 0.9 ค
า creep factor b d เทากับ 0.58 และให ากับ 2.5x105 กก./ซม.2 จงใช
Ec เท วิ
ธีUSD หา
คาแรงอัดวิ
กฤต (critical load : PC) ของเสาตนนี้

1:
380 ตัน
2:
420 ตัน
3:
510 ตัน
4:
610 ตัน
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

316 :
เสาปลอกเดี ยวขนาด 35 x 35 ซม. ยาวเท
่ ากับ 5.00 เมตร อยูในโครงเฟรมที
 เซไม
่ ไดต
องรับแรงอัดตามแนวแกน PD = 15 ตัน PL = 8.5 ตัน และโมเมนต ดัด
รอบ plastic centroid โดยที
ปลายหนึ
่ งรับโมเมนต
่ MD = 10 ตัน-ม. ML = 6 ตัน-ม. และอีกปลายหนึ งรับโมเมนต
่ MD = 5 ตัน-ม. ML = 3 ตัน-ม. ซึ งทํ
่ าให
เสา
โก
งสองทาง จงใช วิ
ธีUSD หาค
า moment magnification factor d b สํ
าหรับใชออกแบบเสาตนนี้
สมมติ ใหแรงอัดวิ
กฤต (critical load : PC) = 380 ตัน

1:
0.46
2:
1.00
3:
1.15
4:
1.30
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

317 :
เสาปลอกเดี ยวขนาด 25 x 40 ซม. ยาว 7.20 เมตร อยู
่ ในโครงเฟรมที
 เซไม
่ ได ต
องรับแรงอัดตามแนวแกน PD = 24 ตัน PL = 12 ตัน และโมเมนต ดัดรอบ
plastic centroid โดยทีปลายหนึ
่ งรับโมเมนต
่ MD = 4.70 ตัน-ม. ML = 2.35 ตัน-ม. และอี
กปลายหนึ งไม
่ มี
โมเมนตกระทํ
า ถาให effective length factor kb มี
คาเท
ากับ 1.0 คา creep factor b d เท
ากับ 0.6 และให ากับ 2.4x105 กก./ซม.2 จงใช
Ec เท วิธีUSD หาคาแรงอัดวิ
กฤต (critical load : PC) ของเสาตนนี ้

1:
125 ตัน
2:
150 ตัน
3:
170 ตัน
4:
200 ตัน

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 68/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

318 :
เสาปลอกเดี ยวขนาด 25 x 40 ซม. ยาว 7.20 เมตร อยู
่ ในโครงเฟรมที
 เซไม
่ ได ตองรับแรงอัดตามแนวแกน PD = 24 ตัน PL = 12 ตัน และโมเมนตดัดรอบ
plastic centroid โดยที ปลายหนึ
่ งรับโมเมนต
่ MD = 4.70 ตัน-ม. ML = 2.35 ตัน-ม. และอี กปลายหนึ งไม
่ มี
โมเมนต
กระทํ
า จงใช
วิ
ธี
USD หาคา moment
magnification factor d b สํ
าหรับใชออกแบบเสาต
นนี
้สมมติ ใหแรงอัดวิ
กฤต (critical load : PC) = 150 ตัน

1:
0.65
2:
1.00
3:
1.12
4:
1.24
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

319 :
เสาปลอกเดียว ขนาด 25 x 25 ซม. เสริ
่ มเหล็
กยื
น As = As‘ เพื
อรับแรงอัดใช
่ งาน P = 39 ตัน และโมเมนต ดัดใช
งาน M = 1.95 ตัน-เมตร ถาใหอัตราส
วน d/h
= 0.9 จงหาเหล็
กยื
นทั้
งหมดทีต
่ องใชตามวิ
ธีWSD โดยพิ จารณาจากกราฟออกแบบที แสดง กํ
่ าหนดให fC‘ = 250 กก./ตร.ซม. fY = 3000 กก./ตร.ซม.

1:
4-DB 16 มม.
2:
4-DB 20 มม.
3:

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 69/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

4-DB 25 มม.
4:
4-DB 28 มม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

320 :
เสาปลอกเดียว ขนาด 30 x 30 ซม. เสริ
่ มเหล็
กยื
น As = As‘ เพื
อรับแรงอัดใช
่ งาน P = 78 ตัน และโมเมนต ดัดใช
งาน M = 4.0 ตัน-เมตร ถาใหอัตราส
วน d/h
= 0.9 จงหาเหล็
กยื
นทั้
งหมดทีต
่ องใช
ตามวิธี
WSD โดยพิ จารณาจากกราฟออกแบบที แสดง กํ
่ าหนดใหfC‘ = 250 กก./ตร.ซม. fY = 3000 กก./ตร.ซม.

1:
6-DB 20 มม.
2:
6-DB 25 มม.
3:
6-DB 28 มม.
4:
6-DB 32 มม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

321 :
เสาปลอกเดียว ขนาด 25 x 40 ซม. เสริ
่ มเหล็
กยื
น As = As‘ เพื
อรับแรงอัดใช
่ งาน P = 50 ตัน และโมเมนต ดัดใช
งาน M = 8.0 ตัน-เมตร ถาใหอัตราส
วน d/h
= 0.9 จงหาเหล็
กยื
นทั้
งหมดทีต
่ องใช
ตามวิธี
WSD โดยพิ จารณาจากกราฟออกแบบที แสดง กํ
่ าหนดใหfC‘ = 250 กก./ตร.ซม. fY = 3000 กก./ตร.ซม.

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 70/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1:
6-DB 20 มม.
2:
6-DB 25 มม.
3:
4-DB 28 มม.
4:
4-DB 32 มม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

322 :
เสาปลอกเดียว ขนาด 25 x 50 ซม. เสริ
่ มเหล็
กยื
น As = As‘ เพื
อรับแรงอัดประลัย PU = 157.5 ตัน และโมเมนต
่ ดัดประลัย MU = 26.25 ตัน-เมตร ถ าให
อัตราส
วน d/h = 0.9 จงหาปริ
มาณเหล็กยื
นทั้
งหมดที
ต
่ องใช
ตามวิธี USD โดยพิ จารณาจากกราฟออกแบบที แสดง กํ
่ าหนดให fC‘ = 300 กก./ตร.ซม. fY =
3000 กก./ตร.ซม.

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 71/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1:
42.5 ตร. ซม.
2:
45.5 ตร. ซม.
3:
50.5 ตร. ซม.
4:
62.5 ตร. ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

323 :
เสาปลอกเดียว ขนาด 25 x 50 ซม. เสริ
่ มเหล็
กยื
น As = As‘ เพื
อรับแรงอัดประลัย PU = 131.25 ตัน และโมเมนต
่ ดัดประลัย MU = 22.3 ตัน-เมตร ถ าให
อัตราส
วน d/h = 0.9 จงหาปริ
มาณเหล็กยื
นทั้
งหมดที
ต
่ องใช
ตามวิธี USD โดยพิ จารณาจากกราฟออกแบบที แสดง กํ
่ าหนดให fC‘ = 300 กก./ตร.ซม. fY =
4000 กก./ตร.ซม.

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 72/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1:
12.5 ตร. ซม.
2:
16.0 ตร. ซม.
3:
20.0 ตร. ซม.
4:
24.5 ตร. ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

324 :
เสาปลอกเดียว ขนาด 25 x 50 ซม. เสริ
่ มเหล็
กยื
น As = As‘ = 9.42 ตร. ซม. ถาเสารับแรงอัดประลัย PU = 105 ตัน จงใชวิ
ธี USD หาวา เสารับโมเมนต
ดัด
ประลัย MU ได
เท
าใด ทั้
งนี
ให
้ พิ
จารณาจากกราฟออกแบบที แสดง กํ
่ าหนดให fC‘ = 200 กก./ตร.ซม. fY = 3000 กก./ตร.ซม. อัตราส
วน d/h = 0.9

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 73/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1:
8.5 ตัน-เมตร
2:
10.5 ตัน-เมตร
3:
13.0 ตัน-เมตร
4:
15.5 ตัน-เมตร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

325 :
เสาปลอกเดียว ขนาด 30 x 50 ซม. เสริ
่ มเหล็กยื
น As = As‘ = 13.39 ตร. ซม. ถาเสารับแรงอัดประลัย โดยมี
ระยะเยื
องศู
้ นยe จากแกนศู นยถ
วงพลาสติ ก
เท
ากับ 35 ซม. จงใช
วิธีUSD หาวา เสารับโมเมนต
ดัดประลัย MU ไดเท
าใด ทั้
งนี
ให
้ พิ
จารณาจากกราฟออกแบบที แสดง กํ
่ าหนดใหfC‘ = 350 กก./ตร.ซม. fY
= 5000 กก./ตร.ซม. อัตราส
วน d/h = 0.9

1:
30.5 ตัน-เมตร
2:
36.0 ตัน-เมตร
3:
40.5 ตัน-เมตร
4:
50.0 ตัน-เมตร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

326 :
เสาปลอกเดียว ขนาด 50 x 50 ซม. เสริ
่ มเหล็กยืน As = As‘ ถ
าเสารับแรงอัดประลัย โดยมี
ระยะเยื
องศู
้ นย
e จากแกนศู นยถ
วงพลาสติ กเทากับ 20 ซม. จงใช
วิธี
USD หาว า เสารับโมเมนต
ดัดประลัย MU ได
เท
าใด ทั้
งนี ให
้ พิจารณาจากกราฟออกแบบที แสดง กํ
่ าหนดใหfC‘ = 300 กก./ตร.ซม. fY = 3000 กก./ตร.ซม.
อัตราส
วน d/h = 0.9 และให
ค
า rtm = 0.3

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 74/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1:
36.5 ตัน-เมตร
2:
42.5 ตัน-เมตร
3:
52.5 ตัน-เมตร
4:
60.5 ตัน-เมตร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

327 :
เสาปลอกเดียว ขนาด 50 x 50 ซม. เสริ
่ มเหล็กยื
น As = As‘ ถ
าเสารับแรงอัดประลัย โดยมี
ระยะเยื
องศู
้ นยe จากแกนศู นย
ถวงพลาสติ กเท
ากับ 20 ซม. จงใช
วิธีUSD หาวา เสารับแรงอัดประลัย PU ได
เท
าใด ทั้
งนีให
้ พิ
จารณาจากกราฟออกแบบที แสดง กํ
่ าหนดใหfC‘ = 200 กก./ตร.ซม. fY = 3000 กก./ตร.ซม.
อัตราส
วน d/h = 0.9 และให
ค
า rtm = 0.3

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 75/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1:
155 ตัน

2:
175 ตัน

3:
190 ตัน

4:
210 ตัน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

328 :
เสาปลอกเดียว ขนาด 30 x 50 ซม. เสริ
่ มเหล็กยื
น As = As‘ = 13.39 ตร. ซม. ถ
าเสารับแรงอัดประลัย โดยมี
ระยะเยื
องศู
้ นยe จากแกนศู นยถวงพลาสติ ก
เท
ากับ 35 ซม. จงใชวิ
ธีUSD หาว า เสารับแรงอัดประลัย PU ได
เท
าใด ทั้
งนี
ให
้ พิ
จารณาจากกราฟออกแบบที แสดง กํ
่ าหนดใหfC‘ = 200 กก./ตร.ซม. fY =
3000 กก./ตร.ซม. อัตราส
วน d/h = 0.9

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 76/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1:
54.5 ตัน
2:
58.5 ตัน
3:
64.5 ตัน
4:
68.5 ตัน
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

329 :
เสาปลอกเกลี
ยว ขนาดเส
นผ
าศู
นย
กลาง D = 50 ซม. รับแรงอัดประลัย PU = 70 ตัน และโมเมนต ดัดประลัย MU = 23 ตัน-เมตร จงหาปริ มาณเหล็กยื

ทั้
งหมดที
ต
่องใช
ตามวิ
ธี
USD โดยพิ
จารณาจากกราฟออกแบบที แสดง กํ
่ าหนดใหfC‘ = 250 กก./ตร.ซม. fY = 4000 กก./ตร.ซม. อัตราส
วน d/D = 0.8

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 77/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1:
26.0 ตร. ซม.
2:
31.5 ตร. ซม.
3:
35.5 ตร. ซม.
4:
40.0 ตร. ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

330 :
เสาปลอกเกลียว ขนาดเสนผาศู
นยกลาง D = 40 ซม. เสริ
มเหล็
กยื
นทั้
งหมด = 18.7 ตร. ซม. ถ าเสารับแรงอัดประลัย PU = 84 ตัน จงใช
วิ
ธีUSD หาว
า เสา
รับโมเมนต
ดัดประลัย MU ได
เท
าใด ทั้
งนี
ให
้ พิ
จารณาจากกราฟออกแบบที แสดง กํ
่ าหนดให fC‘ = 350 กก./ตร.ซม. fY = 4000 กก./ตร.ซม. อัตราส
วน d/D =
0.8

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 78/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1:
15.5 ตัน-เมตร

2:
17.5 ตัน-เมตร

3:
12.5 ตัน-เมตร

4:
14.0 ตัน-เมตร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

331 :
เสาปลอกเกลียว ขนาดเส นผาศูนยกลาง D = 45 ซม. ถาเสารับแรงอัดประลัย โดยมี
ระยะเยื
องศู
้ นยe จากแกนศู นย
ถวงพลาสติ กเทากับ 11.25 ซม. จงใช
วิธีUSD หาวา เสารับแรงอัดประลัย PU ไดเท
าใด ทั้
งนี
ให
้ พิ
จารณาจากกราฟออกแบบที แสดง กํ
่ าหนดใหfC‘ = 250 กก./ตร.ซม. fY = 3000 กก./ตร.ซม.
อัตราส
วน d/D = 0.8 และให
คา rtm = 0.2

1:
135 ตัน
2:
145 ตัน
3:
155 ตัน
4:
190 ตัน
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

332 :
พฤติกรรมของเสาที รับแรงอัดและโมเมนต
่ ดัดตามวิ
ธี
USD พิ
จารณาได
จากการกระจายของหน
วยการยื
ด-หดตัว (strain distribution) รู
ปใดแสดงพฤติ
กรรม
ที
เสารับแรงอัดกระทํ
่ าผ
าน plastic centroid

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 79/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1:
รู
ป (ก)
2:
รู
ป (ข)
3:
รู
ป (ค)
4:
รู
ป (ง)
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

333 :
พฤติ
กรรมของเสาทีรับแรงอัดและโมเมนต
่ ดัดตามวิ
ธี
USD พิ
จารณาได
จากการกระจายของหน
วยการยื
ด-หดตัว (strain distribution) รู
ปใดแสดงพฤติ
กรรม
ที
สภาวะสมดุ
่ ล (balanced condition)

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 80/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1:
รู
ป (ก)
2:
รู
ป (ข)
3:
รู
ป (ค)
4:
รู
ป (ง)
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

334 :
พฤติกรรมของเสาที รับแรงอัดและโมเมนต
่ ดัดตามวิ
ธี
USD พิ
จารณาได
จากการกระจายของหน
วยการยื
ด-หดตัว (strain distribution) รู
ปใดแสดงพฤติ
กรรม
ที
เสารับแรงอัด โดยที
่ ระยะเยื
่ องศู
้ นย
มีค
าน
อย

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 81/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1:
รู
ป (ง)
2:
รู
ป (ค)
3:
รู
ป (ข)
4:
รู
ป (ก)
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

335 :
พฤติกรรมของเสาที รับแรงอัดและโมเมนต
่ ดัดตามวิ
ธี
USD พิ
จารณาได
จากการกระจายของหน
วยการยื
ด-หดตัว (strain distribution) รู
ปใดแสดงพฤติ
กรรม
ที
เสารับแรงอัด โดยที
่ ระยะเยื
่ องศู
้ นย
มีค
ามากๆ

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 82/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1:
รู
ป (ง)
2:
รู
ป (ค)
3:
รู
ป (ข)
4:
รู
ป (ก)
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

336 :
ฐานรากแผรองรับกําแพง คสล. ตรงกึ งกลางฐาน ถ
่ ากํ
าแพงหนา 15 ซม. ถ
ายน้
าหนักปรรทุ
ํ กใช
งานทั้
งหมด = 4.25 ตัน/เมตร ให
ฐานรากแผ
นี ้และฐานราก
กว
าง 1.50 เมตร จงหาความลึ กสุทธิd อย
างน
อย ของฐานราก เพื
อให
่ ปลอดภัยทั้
งจากโมเมนตดัดและแรงเฉื
อนแบบคานกว าง กํ
าหนดใหfc‘ = 144 กก./
ตร.ซม. และคา R = 10.57 กก./ตร.ซม.
1:
4 ซม.
2:
6 ซม.
3:
8 ซม.
4:
10 ซม.

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 83/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

337 :
ฐานรากแผรองรับกําแพง คสล. ตรงกึ งกลางฐาน ถ
่ ากํ
าแพงหนา 15 ซม. ถ
ายน้
าหนักปรรทุ
ํ กใช
งานทั้
งหมด = 5.4 ตัน/เมตร ให
ฐานรากแผ
นี้ และฐานราก
กว
าง 1.80 เมตร จงหาความลึ กสุทธิd อย
างน
อย ของฐานราก เพื
อให
่ ปลอดภัยทั้
งจากโมเมนต
ดัดและแรงเฉื
อนแบบคานกว าง กํ
าหนดใหfc‘ = 144 กก./
ตร.ซม. และคา R = 10.57 กก./ตร.ซม.

1:
4 ซม.
2:
6 ซม.
3:
8 ซม.
4:
10 ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

338 :
ฐานรากแผ ขนาด 1.80x1.80 เมตร รองรับเสาตอมอขนาด 0.30x0.30 เมตร ตรงกึ
งกลางฐานราก ซึ
่ งถ
่ ายแรงอัด P = 16.20 ตัน และโมเมนต
ดัด M = 1.40
ตัน-เมตร ให
กับฐานราก จงหาวาดิ
นใต
ฐานต องรับหน
วยแรงกดอัดสุทธิมากที
สุ
่ดเท
าใด
1:
max. qnet = 5880 กก./ตารางเมตร
2:
max. qnet = 6440 กก./ตารางเมตร
3:
max. qnet = 6880 กก./ตารางเมตร
4:
max. qnet = 7440 กก./ตารางเมตร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

339 :
ฐานรากแผ ข นาด 3x3 เมตร รองรับแรงอัดตามแนวแกนจากเสาตอม
อขนาด 0.30x0.30 เมตร ซึ งอยู
่ ตรงกึ
 งกลางฐานราก ถ
่ าใช
ความหนาของฐานราก
เท
ากับ 70 ซม. โดยมี
ความลึกสุ
ทธิ d = 60 ซม. จงใช
วิUSD หากํ
ธี าลังรับแรงเฉื
อนประลัยแบบทะลุ
(fVc) ตรงหน
าตัดวิ
กฤต ถ
าให
ฐานรากมี
ค
า fc‘ = 150
กก./ตร.ซม.

1:
100 ตัน
2:
150 ตัน
3:
200 ตัน
4:
240 ตัน
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

340 :
ฐานรากแผ ข นาด 3x3 เมตร รองรับแรงอัดตามแนวแกนจากเสาตอม
อขนาด 0.30x0.30 เมตร ซึ งอยู
่ ตรงกึ
 งกลางฐานราก ถ
่ าใช
ความหนาของฐานราก
เท
ากับ 70 ซม. โดยมี
ความลึกสุ
ทธิ d = 60 ซม. จงใช
วิ
ธี
USD หากํ
าลังรับแรงเฉื
อนประลัยแบบคานกวาง (fVc) ตรงหน
าตัดวิ
กฤต ถ
าให
ฐานรากมี
ค
า fc‘ =
150 กก./ตร.ซม.
1:
100 ตัน
2:
150 ตัน
3:
200 ตัน

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 84/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
4:
240 ตัน
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

341 :
ฐานรากตัวหนึง รองรับแรงอัดใช
่ งานตามแนวแกน P จากเสาตอม อซึ
งอยู
่ ตรงกึ
 งกลางฐานราก ถ
่ าเนื
อที
้ หน
่ าตัดวิ
กฤตของแรงเฉื
อนแบบทะลุ
เท
ากับ 7000
ตร.ซม. จงใช
วิ
ธี
WSD ประมาณค าแรงอัด P ที
กระทํ
่ า กํ
าหนดให
ฐานรากมี
ค
า fc‘ = 200 กก./ตร.ซม.

1:
30 ตัน
2:
50 ตัน
3:
65 ตัน
4:
70 ตัน
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

342 :
ฐานรากแผขนาด 3x3 เมตร รองรับแรงอัดตามแนวแกน PU จากเสาตอม อขนาด 0.30x0.30 เมตร ซึงอยู
่ ตรงกึ
 งกลางฐานราก ถ
่ าฐานรากหนา = 40 ซม.
ความลึกสุ
ทธิd = 30 ซม. หากคิดวาฐานรากนี ถู
้กควบคุมโดยแรงเฉื อนประลัยแบบคานกวาง (fVc) ตรงหนาตัดวิ
กฤต จงใช
วิUSD ประมาณค
ธี าแรงอัด
ประลัยตามแนวแกน (PU) ที
เสาตอม
่ อถ
ายใหกับฐานราก สมมติ
ใหfc‘ ของฐานราก = 150 กก./ตร.ซม.

1:
80 ตัน
2:
100 ตัน
3:
120 ตัน
4:
140 ตัน
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

343 :
ฐานรากแผ
ขนาด 3x3 เมตร รองรับแรงอัดตามแนวแกน PU จากเสาตอม อขนาด 0.30x0.30 เมตร ซึ งอยู
่ ตรงกึ
 งกลางฐานราก ถ
่ าฐานรากหนา = 40 ซม.
ความลึ
กสุ
ทธิd = 30 ซม. หากคิดว
าฐานรากนี ถู
้กควบคุ
มโดยแรงเฉือนประลัยแบบทะลุ (fVc) ตรงหนาตัดวิ
กฤต จงใช
วิ
ธี
USD ประมาณคาแรงอัดประลัย
ตามแนวแกน (PU) ที
เสาตอม
่ อถ
ายใหกับฐานราก สมมติ
ให
fc‘ ของฐานราก = 150 กก./ตร.ซม.

1:
80 ตัน
2:
100 ตัน
3:
120 ตัน
4:
140 ตัน
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

344 :
ฐานรากเสาเข็มขนาด 2.70x3.60 ม. หนา = 70 ซม. รองรับแรงอัดใช
งาน P = 120 ตันอย
างเดียวจากเสาตอมอขนาด 0.30x0.30 เมตร ซึงอยู
่ ตรงกึ
 งกลาง

ฐานราก ถาใชเสาเข็มขนาด f 0.30 ม. จํ
านวน 12 ต
น เรียงเป
น 3 แถวๆละ 4 ตน ที ขนานกับด
่ านยาวของฐานราก โดยให ระยะหางระหว างศู
นย
กลาง
ของเสาเข็
มเทากับ 90 ซม. และระยะขอบของฐานรากที ห
่างจากศูนยกลางของเสาเข็
มเทากับ 45 ซม. จงหาว
าเสาเข็
มแต
ละต
นตองรับแรงอัดทั้
งหมดเท
าใด
1:
10.00 ตัน
2: 11.50 ตัน
3:
13.00 ตัน

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 85/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
4:
14.50 ตัน
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

345 :
ฐานรากเสาเข็มขนาด 2.70x3.60 ม. มี
เสาตอมอขนาด 0.30x0.30 เมตร อยู
ตรงกึ
 งกลางฐานราก ใช
่ มขนาด f 0.30 ม. จํ
เสาเข็ านวน 12 ต น เรี
ยงเป
น3
แถวๆละ 4 ต น ที ขนานกับด
่ านยาวของฐานราก โดยให ระยะห
างระหวางศู
นยกลางของเสาเข็
มเทากับ 90 ซม. และระยะขอบของฐานรากที ห
่างจาก
ศู
นย กลางของเสาเข็
มเท
ากับ 45 ซม. ถ
าเสาตอม
อถ
ายแรงอัดใช
งาน PD = 55 ตัน PL = 30 ตัน และโมเมนตดัดใช
งาน MD = 10.5 ตัน-เมตร ML = 5.5
ตัน-เมตร จงหาว
าเสาเข็
มตองต
านแรงสุทธิ
ที
มากที
่ สุ
่ดเท
าใด เมื
อจะออกแบบฐานรากตามวิ
่ ธีUSD

1:
11.5 ตัน
2:
12.5 ตัน
3:
13.5 ตัน
4:
14.5 ตัน
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

346 :
ฐานรากเดี
ยวรองรับเสาตอม
่ อขนาด 0.30x0.30 เมตร ตรงกึ งกลางฐานราก ซึ
่ งถ
่ ายแรงอัดและโมเมนต
ดัดประลัย PU = 128 ตัน MU = 24.05 ตัน-เมตร ในที่
นี
้พิ
จารณาใช มขนาด f 0.30 ม. จํ
เสาเข็ านวน 12 ตน เรี
ยงเป
น 3 แถวๆละ 4 ต
น ระยะ c to c ของเสาเข็ม = 90 ซม. และระยะขอบของฐานรากถึ ง
ศู
นย
กลางของเสาเข็มเท
ากับ 45 ซม. ดังนั้
น จะได
ฐานรากขนาด 2.70x3.60 ม. หากให
ระยะ d ของฐานราก = 45 ซม. จงประมาณค าแรงเฉื
อนประลัยแบบ
คานกว
าง (one-way shear) ที
หน
่ าตัดวิกฤต
1:
39000 กก.
2:
40500 กก.
3:
42000 กก.
4:
43500 กก.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

347 :
ฐานรากเดี
ยวรองรับเสาตอม
่ อขนาด 0.30x0.30 เมตร ตรงกึ งกลางฐานราก ซึ
่ งถ
่ ายแรงอัดและโมเมนต
ดัดประลัย PU = 128 ตัน MU = 24.05 ตัน-เมตร ในที่
นี
้พิ
จารณาใช มขนาด f 0.30 ม. จํ
เสาเข็ านวน 12 ตน เรี
ยงเป
น 3 แถวๆละ 4 ต
น ระยะ c to c ของเสาเข็ม = 90 ซม. และระยะขอบของฐานรากถึ ง
ศู
นย
กลางของเสาเข็ มเทากับ 45 ซม. ดังนั้
น จะได
ฐานรากขนาด 2.70x3.60 ม. หากให
ระยะ d ของฐานราก = 45 ซม. จงประมาณค าแรงเฉื
อนประลัยแบบ
ทะลุ(punching shear) ที
หน
่ าตัดวิ
กฤต
1:
8.00 กก./ตร.ซม.
2:
9.50 กก./ตร.ซม.
3:
11.0 กก./ตร.ซม.
4:
12.5 กก./ตร.ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

348 :
ฐานรากเดียวรองรับเสาตอม
่ อ ขนาด 0.30x0.30 เมตร ตรงกึงกลางฐานราก ซึ
่ งถ
่ ายแรงอัดและโมเมนต ดัดประลัย PU = 128 ตัน MU = 24.05 ตัน-เมตร ในที
นี
่ ้
พิจารณาใช เสาเข็
มขนาด f 0.30 ม. จํานวน 12 ตน เรี
ยงเป
น 3 แถวๆละ 4 ตน ระยะ c to c ของเสาเข็
ม = 90 ซม. และระยะขอบของฐานรากถึ งศู
นย กลางของเสา
เข็
มเท
ากับ 45 ซม. ดังนั้
น จะไดฐานรากขนาด 2.70x3.60 ม. หากให ระยะ d ของฐานราก = 45 ซม. จงประมาณค าโมเมนต
ดัดประลัยที
หน
่ าตัดวิ
กฤต

1:
40 ตัน - เมตร

2:
60 ตัน - เมตร
www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 86/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

3:
50 ตัน - เมตร

4:
45 ตัน - เมตร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

349 :
ฐานรากเดี ยวรองรับเสาตอม
่ อขนาด 0.30x0.30 เมตร ตรงกึ
งกลางฐานราก ซึ
่ งถ
่ ายแรงอัดใช
งาน P = 120 ตันอย
างเดี
ยว ในทีนี
่้พิจารณาใชเสาเข็มขนาด
f 0.30 ม. จํานวน 12 ตน เรี
ยงเป
น 3 แถวๆละ 4 ต
น ระยะ c to c ของเสาเข็
ม = 90 ซม. และระยะขอบของฐานรากถึ งศูนยกลางของเสาเข็
มเทากับ 45
ซม. ดังนั้
น จะได
ฐานรากขนาด 2.70x3.60 ม. หากใหระยะ d ของฐานราก = 45 ซม. จงประมาณค าแรงเฉื
อนแบบคานกว าง (one-way shear) ที
หน
่ าตัด
วิ
กฤต
1:
25000 กก.
2:
30000 กก.
3:
35000 กก.
4:
40000 กก.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

350 :
ฐานรากเดี ยวรองรับเสาตอม
่ อขนาด 0.30x0.30 เมตร ตรงกึ
งกลางฐานราก ซึ
่ งถ
่ ายแรงอัดใช
งาน P = 120 ตันอย
างเดี
ยว ในทีนี
่้พิ
จารณาใช เสาเข็มขนาด
f 0.30 ม. จํานวน 12 ตน เรี
ยงเป
น 3 แถวๆละ 4 ต
น ระยะ c to c ของเสาเข็
ม = 90 ซม. และระยะขอบของฐานรากถึ งศูนยกลางของเสาเข็
มเทากับ 45
ซม. ดังนั้
น จะได
ฐานรากขนาด 2.70x3.60 ม. หากให
ระยะ d ของฐานราก = 45 ซม. จงประมาณค าแรงเฉื
อนแบบทะลุ ที
หน
่ าตัดวิ
กฤต
1:
100000 กก.
2:
115000 กก.
3:
120000 กก.
4:
125000 กก.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

351 :
ฐานรากเดี ยวรองรับเสาตอม
่ อขนาด 0.30x0.30 เมตร ตรงกึ
งกลางฐานราก ซึ
่ งถ
่ ายแรงอัดใช
งาน P = 120 ตันอยางเดี
ยว ในที
นี
่ ้
พิ
จารณาใช เสาเข็มขนาด
f 0.30 ม. จํานวน 12 ตน เรี
ยงเป
น 3 แถวๆละ 4 ต
น ระยะ c to c ของเสาเข็
ม = 90 ซม. และระยะขอบของฐานรากถึ งศู
นย
กลางของเสาเข็
มเทากับ 45
ซม. ดังนั้
น จะได
ฐานรากขนาด 2.70x3.60 ม. หากให
ระยะ d ของฐานราก = 45 ซม. จงประมาณค าโมเมนตดัด ที
หน
่ าตัดวิ
กฤต
1:
45 ตัน - เมตร
2:
40 ตัน - เมตร
3:
35 ตัน - เมตร
4:
30 ตัน - เมตร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

352 :
ฐานรากแผขนาด 2.0x2.0 เมตร รองรับเสาตอม
อ ขนาด 0.30x0.30 ม. ตรงกึ
งกลางฐาน ถ
่ าเสาตอมอถ
ายแรงอัด P = 18 ตัน และโมเมนต ดัด M = 2000
กก.-เมตร ใหฐานรากแผ
นี
้ จงหาความลึ กสุ
ทธิd ที
ต
่องการเพื
อให
่ ฐานรากนีปลอดภัยจากโมเมนต
้ ดัด กํ
าหนดให fc‘ = 200 กก./ตร.ซม. fy = 3000 กก./
ตร.ซม. และ n = 10
1:
www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 87/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

11.0 ซม.
2:
11.5 ซม.
3:
12.5 ซม.
4:
13.5 ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

353 :ฐานรากแผ ขนาด 2.0x2.0 เมตร รองรับเสาตอมอ ขนาด 0.30x0.30 ม. ตรงกึ
งกลางฐาน ถ
่ าเสาตอม
อถ
ายแรงอัด P = 18 ตัน และโมเมนต ดัด M =
2000 กก.-เมตร ให
ฐานรากแผ นี
้จงหาความลึกสุ ทธิd ที
ต
่องการเพือให
่ ฐานรากนี ปลอดภัยจากแรงเฉื
้ อนแบบคานกวาง กําหนดให fc‘ = 200 กก./ตร.ซม. fy
= 3000 กก./ตร.ซม. และ n = 10
1:
11.0 ซม.
2:
11.5 ซม.
3:
12.5 ซม.
4:
13.5 ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

354 :
ฐานรากแผขนาด 2.0x2.0 เมตร รองรับเสาตอม
อ ขนาด 0.30x0.30 ม. ตรงกึ
งกลางฐาน ถ
่ าเสาตอม
อถ
ายแรงอัด P = 18 ตัน และโมเมนต ดัด M = 2000
กก.-เมตร ใหฐานรากแผ นี

จงหาความลึ กสุ
ทธิd ที
ต
่องการเพื
อให
่ ฐานรากนีปลอดภัยจากแรงเฉื
้ อนแบบทะลุกํ
าหนดให fc‘ = 200 กก./ตร.ซม. fy = 3000
กก./ตร.ซม. และ n = 10
1:
11.0 ซม.
2:
11.5 ซม.
3:
12.5 ซม.
4:
13.5 ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

355 :
ฐานรากแผขนาด 2.0x2.0 เมตร รองรับเสาตอม
อ ขนาด 0.30x0.30 ม. ตรงกึ
งกลางฐาน ถ
่ าเสาตอม
อ ถ
ายแรงอัด P = 18 ตัน และโมเมนต ดัด M = 2000 กก.-
เมตร ให
ฐานรากแผ นี
้จงใช
วิ
ธี
WSD ประมาณปริ มาณเหล็
กเสริมอย
างนอ ยที
ควรใช
่ สมมติ
ใหความลึ
กสุทธิd = 15 ซม. fc ‘ = 150 กก./ตร.ซม. fy = 2400 กก./
ตร.ซม. และ j = 0.873

1:
26 ตร. ซม.

2:
28 ตร. ซม.

3:
30 ตร. ซม.

4:
24 ตร. ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

356 :
ฐานรากเดียวรองรับเสาตอม
่ อขนาด 0.20x0.20 เมตร ตรงกึงกลางฐานราก ซึ
่ งถ
่ ายแรงอัดใช
งาน P = 8 ตันและโมเมนตดัด M = 1.20 ตัน-เมตร ถ
าใช
เสา
เข็
มจํ
านวน 4 ต น โดยใหระยะ c to c ของเสาเข็
ม = 60 ซม. และระยะขอบของฐานรากถึงศูนย
กลางของเสาเข็ มเท
ากับ 20 ซม. ซึ
งจะได
่ ฐานรากขนาด
1.00x1.00 ม. หากให
ความลึ
กสุทธิ d ของฐานราก = 15 ซม. จงใช
วิ
ธี
WSD ประมาณคาแรงเฉือนแบบคานกว าง ที
หน
่ าตัดวิ
กฤต
1:

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 88/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

2000 กก.
2:
3000 กก.
3:
4000 กก.
4: 6000 กก.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

357 :
ฐานรากเดียวรองรับเสาตอม
่ อขนาด 0.20x0.20 เมตร ตรงกึ งกลางฐานราก ซึ
่ งถ
่ ายแรงอัดใช
งาน P = 8 ตันและโมเมนต
ดัดใช งาน M = 1.20 ตัน-เมตร ถาใช
เสาเข็
มจํานวน 4 ตน โดยให ระยะ c to c ของเสาเข็
ม = 60 ซม. และระยะขอบของฐานรากถึ งศู
นยกลางของเสาเข็มเท
ากับ 20 ซม. ซึ งจะได
่ ฐานรากขนาด
1.00x1.00 ม. จงใช
วิ
ธีWSD หาความลึ กสุทธิอย
างน
อย d ทีต
่องการเพือให
่ ฐานรากนี
ปลอดภัยจากโมเมนต
้ ดัด กํ
าหนดให fc‘ = 150 กก./ตร.ซม. fy = 2400
กก./ตร.ซม. และ R = 11.25 กก./ตร.ซม.
1:
10.5 ซม.
2:
12.5 ซม.
3:
13.5 ซม.
4:
15.0 ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

358 :
ฐานรากเดียวรองรับเสาตอม
่ อ ขนาด 0.20x0.20 เมตร ตรงกึ
งกลางฐานราก ซึ
่ งถ
่ ายแรงอัดใช
งาน P = 8 ตันและโมเมนตดัดใช งาน M = 1.60 ตัน-เมตร ถาใชเสา
เข็
มจํ
านวน 4 ต น โดยใหระยะ c to c ของเสาเข็ ม = 80 ซม. และระยะขอบของฐานรากถึ งศู
นยกลางของเสาเข็ มเท
ากับ 20 ซม. ซึ งจะได
่ ฐานรากขนาด
1.20x1.20 ม. จงใช
วิ
ธีWSD หาความลึ กสุ
ทธิอยางน
อย d ที
ต
่องการเพื
อ ให
่ ฐานรากนี
ปลอดภัยจากโมเมนต
้ ดัด กํ
าหนดใหfc ‘ = 150 กก./ตร.ซม. fy = 2400 กก./
ตร.ซม. และ R = 11.25 กก./ตร.ซม.

1:
15.0 ซม.

2:
10.0 ซม.

3:
12.0 ซม.

4:
13.5 ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

359 :
ฐานรากเดียวรองรับเสาตอม
่ อขนาด 0.20x0.20 เมตร ตรงกึ งกลางฐานราก ซึ
่ งถ
่ ายแรงอัดใช
งาน P = 8 ตันและโมเมนตดัดใช
งาน M = 1.60 ตัน-เมตร ถ
าใช
เสาเข็
มจํานวน 4 ต
น โดยใหระยะ c to c ของเสาเข็
ม = 80 ซม. และระยะขอบของฐานรากถึ งศู
นยกลางของเสาเข็มเทากับ 20 ซม. ซึ
งจะได
่ ฐานรากขนาด
1.20x1.20 ม. หากให
ความลึ
กสุทธิd ของฐานราก = 15 ซม. จงใช วิ
ธีWSD ประมาณคาแรงเฉือนแบบคานกว าง ที
หน
่ าตัดวิกฤต
1:
2000 กก.
2:
3000 กก.
3:
4000 กก.
4:
6000 กก.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

360 :
ฐานรากเดี ยวขนาด 1.20x1.20 เมตร ใข
่ รองรับเสาตอมอ ขนาด 0.20x0.20 ม. ตรงกึ
งกลางฐาน ถ
่ าเสาตอม อถายแรงอัด P = 10 ตัน และโมเมนต ดัด M =
1.40 ตัน-เมตร และฐานรากนีใช
้ เสาเข็
มจํ
านวน 4 ตน โดยใหระยะ c to c ของเสาเข็
ม = 80 ซม. และระยะขอบของฐานรากถึ งศูนย กลางของเสาเข็มเทากับ
20 ซม. จงใชวิ
ธีWSD ประมาณปริ มาณเหล็กเสริมอย
างนอยที
ควรใช
่ สมมติให
ความลึกสุทธิd = 15 ซม. fc‘ = 150 กก./ตร.ซม. fy = 2400 กก./ตร.ซม. และ
j = 0.873
www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 89/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1:
10.5 ตร. ซม.
2:
12.5 ตร. ซม.
3:
15.0 ตร. ซม.
4:
ไม
มี
ข
อใดถู

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

361 :
คานรูปตัด 0.25x0.45 ม. เสริ
มเหล็ กรับแรงดึ
งอย
างเดี ยว โดยใชr = 0.5rb ทีระยะ d = 0.40 ม. จงใช
่ มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
กํ
าลัง ประมาณโมเมนต
ดัด
ประลัยของคานนี ้กํ
าหนดให fc‘ = 250 กก./ตร.ซม. fy = 3000 กก./ตร.ซม. และ jU = 0.857

1:
18.7 ตัน-เมตร
2:
20.5 ตัน-เมตร
3:
24.7 ตัน-เมตร
4:
27.5 ตัน-เมตร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

362 :
คานรูปตัด 0.30x0.60 ม. เสริ
มเหล็ กรับแรงดึ
งอย
างเดี ยว โดยใชr = 0.5rb ทีระยะ d = 0.50 ม. จงใช
่ มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
กํ
าลัง ประมาณโมเมนต
ดัด
ประลัยของคานนี ้กํ
าหนดให fc‘ = 300 กก./ตร.ซม. fy = 4000 กก./ตร.ซม. และ ES = 2.04x106 กก./ตร.ซม.

1:
35.0 ตัน-เมตร
2:
38.0 ตัน-เมตร
3:
41.5 ตัน-เมตร
4:
42.0 ตัน-เมตร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

363 :
คานรูปตัด 0.25x0.60 ม. เสริ
มเหล็ กรับแรงดึ
งอย
างเดี ยว โดยใชr = 0.5rb ทีระยะ d = 0.50 ม. จงใช
่ มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
กํ
าลัง ประมาณโมเมนต
ดัด
ประลัยของคานนี ้กํ
าหนดให 6
fc‘ = 200 กก./ตร.ซม. fy = 4000 กก./ตร.ซม. และ ES = 2.04x10 กก./ตร.ซม.

1:
17.5 ตัน-เมตร
2:
21.0 ตัน-เมตร
3:
24.0 ตัน-เมตร
4:
29.0 ตัน-เมตร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

364 :
คานรูปตัด 0.20x0.55 ม. เสริ
มเหล็ กรับแรงดึ
งอย
างเดี ยว โดยใชr = 0.75rb ทีระยะ d = 0.45 ม. จงใช
่ มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
กํ
าลัง ประมาณโมเมนต
ดัด
ประลัยของคานนี ้กํ
าหนดให 6
fc‘ = 300 กก./ตร.ซม. fy = 3000 กก./ตร.ซม. และ ES = 2.04x10 กก./ตร.ซม.

1:

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 90/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

20.0 ตัน-เมตร
2:
22.5 ตัน-เมตร
3:
23.5 ตัน-เมตร
4:
25.0 ตัน-เมตร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

365 :
คานรูปตัด 0.25x0.45 ม. เสริ
มเหล็
กรับแรงดึ
งอย
างเดี
ยวที ระยะ d = 0.40 ม. รับโมเมนต
่ ดัดประลัย MU = 10800 กก.- เมตร จงใชมาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
กํ
าลัง ประมาณปริ มาณเหล็ กเสริ
มที
ต
่องใช กํ
าหนดใหfc‘ = 200 กก./ตร.ซม. fy = 3000 กก./ตร.ซม. และ ES = 2.04x106 กก./ตร.ซม.

1:
9.0 ตร.ซม.
2:
11.0 ตร.ซม.
3:
12.0 ตร.ซม.
4:
14.0 ตร.ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

366 :
คานรูปตัด 0.25x0.55 ม. เสริ
มเหล็
กรับแรงดึ
งอย
างเดี
ยวที ระยะ d = 0.45 ม. รับโมเมนต
่ ดัดประลัย MU = 22750 กก.- เมตร จงใชมาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
กํ
าลัง ประมาณปริ มาณเหล็ กเสริ
มที
ต
่องใช กํ
าหนดใหfc‘ = 300 กก./ตร.ซม. fy = 4000 กก./ตร.ซม. และ ES = 2.04x106 กก./ตร.ซม.

1:
11.3 ตร.ซม.
2:
13.5 ตร.ซม.
3:
15.5 ตร.ซม.
4:
18.0 ตร.ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

367 :
คานรูปตัด 0.30x0.60 ม. เสริ
มเหล็
กรับแรงดึ
งอย
างเดี
ยวที ระยะ d = 0.50 ม. รับโมเมนต
่ ดัดประลัย MU = 27000 กก.- เมตร จงใชมาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
กํ
าลัง ประมาณปริ มาณเหล็ กเสริ
มที
ต
่องใช กํ
าหนดใหfc‘ = 250 กก./ตร.ซม. fy = 3000 กก./ตร.ซม. และ ES = 2.04x106 กก./ตร.ซม.

1:
22.5 ตร.ซม.
2:
24.0 ตร.ซม.
3:
25.5 ตร.ซม.
4:
27.0 ตร.ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

368 :
คานรู
ปตัด 0.30x0.55 ม. เสริ
มเหล็ กรับแรงดึ
ง AS = 36.96 ตร.ซม. ที
ระยะ d = 0.45 ม. และเสริ
่ มเหล็กรับแรงอัด AS‘ = 9.82 ตร.ซม. ที
ระยะ d’ = 4.5 ซม. จงใช

มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธี
กาํลัง ประมาณโมเมนต ดัดประลัย MU ของคานนี ้กํ
าหนดให fc ‘ = 300 กก./ตร.ซม. fy = 4000 กก./ตร.ซม. และ ES = 2.04x106 กก./
ตร.ซม.

1:

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 91/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
53.5 ตัน-เมตร

2:
55.0 ตัน-เมตร

3:
49.0 ตัน-เมตร

4:
51.0 ตัน-เมตร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

369 :
คานรูปตัด 0.25x0.60 ม. เสริ
มเหล็
กรับแรงดึ
ง AS = 24.42 ตร.ซม. ที
ระยะ d = 0.50 ม. และเสริ
่ มเหล็
กรับแรงอัด AS‘ = 9.42 ตร.ซม. ที
ระยะ d’ = 5.0 ซม.

จงใช
มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิ ธี
กํ
าลัง ประมาณโมเมนต ดัดประลัย MU ของคานนี ้กําหนดให fc‘ = 200 กก./ตร.ซม. fy = 4000 กก./ตร.ซม. และ ES =
2.04x106 กก./ตร.ซม.
1:
30.0 ตัน-เมตร
2:
35.5 ตัน-เมตร
3:
38.5 ตัน-เมตร
4:
45.0 ตัน-เมตร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

370 :
คานรูปตัด 0.20x0.50 ม. เสริ
มเหล็
กรับแรงดึ
ง AS = 21.70 ตร.ซม. ที
ระยะ d = 0.42 ม. และเสริ
่ มเหล็
กรับแรงอัด AS‘ = 8.25 ตร.ซม. ที
ระยะ d’ = 4.5 ซม.

จงใช
มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิ ธี
กํ
าลัง ประมาณโมเมนต ดัดประลัย MU ของคานนี ้กําหนดให fc‘ = 250 กก./ตร.ซม. fy = 3000 กก./ตร.ซม. และ ES =
2.04x106 กก./ตร.ซม.
1:
18.5 ตัน-เมตร
2:
22.0 ตัน-เมตร
3:
25.5 ตัน-เมตร
4:
30.0 ตัน-เมตร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

371 :
คานรูปตัด 0.30x0.55 ม. ตองรับโมเมนตดัดประลัย MU = 51.0 ตัน-เมตร ถ
าพิ จารณาใช
ค
า r - r‘ = 0.02 โดยเสริ
มเหล็กรับแรงดึ
งที
ระยะ d = 0.45 ม. และ

เสริ
มเหล็กรับแรงอัดทีระยะ d’ = 4.5 ซม. จงใช
่ มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิ ธี
กํ
าลัง ประมาณปริมาณเหล็ กเสริม AS และ AS‘ สํ
าหรับคานนี
้กํ
าหนดให fc‘ = 300
กก./ตร.ซม. fy = 4000 กก./ตร.ซม. และ ES = 2.04x106 กก./ตร.ซม.

1:
AS = 36.82 ตร.ซม. AS‘ = 9.82 ตร.ซม.
2:
AS = 35.82 ตร.ซม. AS‘ = 10.32 ตร.ซม.
3:
AS = 36.82 ตร.ซม. AS‘ = 10.32 ตร.ซม.
4:
AS = 39.82 ตร.ซม. AS‘ = 12.82 ตร.ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

372 :
คานรู
ปตัด 0.25x0.60 ม. ต
องรับโมเมนต
ดัดประลัย MU = 38.0 ตัน-เมตร ถ
าพิ
จารณาใช
ค
า r - r‘ = 0.012 โดยเสริ
มเหล็
กรับแรงดึ
งที
ระยะ d = 0.50 ม.

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 92/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

และเสริมเหล็กรับแรงอัดที
ระยะ d’ = 5 ซม. จงใช
่ มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
กํ
าลัง ประมาณปริ
มาณเหล็
กเสริ
ม AS และ AS‘ สํ
าหรับคานนี

กํ
าหนดให
fc‘ = 200
กก./ตร.ซม. fy = 4000 กก./ตร.ซม. และ ES = 2.04x106 กก./ตร.ซม.

1:
AS = 22.25 ตร.ซม. AS‘ = 7.25 ตร.ซม.
2:
AS = 23.25 ตร.ซม. AS‘ = 7.25 ตร.ซม.
3:
AS = 24.25 ตร.ซม. AS‘ = 9.25 ตร.ซม.
4:
AS = 26.25 ตร.ซม. AS‘ = 9.25 ตร.ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

373 :
คานรูปตัด 0.20x0.50 ม. ตองรับโมเมนตดัดประลัย MU = 20.0 ตัน-เมตร ถ
าพิ
จารณาใชค
า r - r‘ = 0.016 โดยเสริ
มเหล็กรับแรงดึงที
ระยะ d = 0.42 ม.

และเสริ
มเหล็กรับแรงอัดทีระยะ d’ = 4.5 ซม. จงใช
่ มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธี
กํ
าลัง ประมาณปริมาณเหล็ กเสริม AS และ AS‘ สํ
าหรับคานนี้กํ
าหนดให fc‘ =
250 กก./ตร.ซม. fy = 3000 กก./ตร.ซม. และ ES = 2.04x106 กก./ตร.ซม.

1:
AS = 13.50 ตร.ซม. AS‘ = 5.26 ตร.ซม.
2:
AS = 19.70 ตร.ซม. AS‘ = 6.26 ตร.ซม.
3:
AS = 21.70 ตร.ซม. AS‘ = 8.25 ตร.ซม.
4:
AS = 26.25 ตร.ซม. AS‘ = 9.25 ตร.ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

374 :
คานรูปตัด 0.30x0.60 ม. ตองรับโมเมนตดัดประลัย MU = 46.0 ตัน-เมตร ถาพิจารณาใช
ค
า r - r‘ = 0.016 โดยเสริมเหล็กรับแรงดึ
งที
ระยะ d = 0.50 ม.

และเสริมเหล็กรับแรงอัดที
ระยะ d’ = 5 ซม. จงใช
่ มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิ
ธี
กําลัง ประมาณปริ
มาณเหล็ กเสริม AS และ AS‘ สํ
าหรับคานนี้
กํ
าหนดให fc‘ = 300
กก./ตร.ซม. fy = 4000 กก./ตร.ซม. และ ES = 2.04x106 กก./ตร.ซม.

1:
AS = 24.20 ตร.ซม. AS‘ = 4.95 ตร.ซม.
2:
AS = 27.40 ตร.ซม. AS‘ = 3.25 ตร.ซม.
3:
AS = 27.80 ตร.ซม. AS‘ = 3.65 ตร.ซม.
4:
AS = 29.10 ตร.ซม. AS‘ = 4.95 ตร.ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที
่375 :ฐานรากตี นเป
ดแบบแผขนาด 1.50x1.50 เมตร รองรับเสาตอมอขนาดเส นผ
าศูนยกลาง 30 ซม. ซึ
งศู
่ นย
เสาตอมออยู
ห
างจากศู
นย
ฐานรากเป

ระยะ = 45 ซม. ถ
าเสาตอม
อถ
ายแรงอัดใช
งาน = 9 ตัน และโมเมนต
ดัดใช
งาน = 4.725 ตัน-เมตร จงหาแรงต
านสุ
ทธิ
ของดินใต
ฐานราก

1: max. qnet = 7.60 ตัน/ตารางเมตร min. qnet = 0.40 ตัน/ตารางเมตร


2: max. qnet = 7.70 ตัน/ตารางเมตร min. qnet = 7.70 ตัน/ตารางเมตร
3 : max. qnet = 8.40 ตัน/ตารางเมตร min. qnet = 0.80 ตัน/ตารางเมตร
4 : ไม
มี
ขอใดถู ก
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที
่376 :ฐานรากตี นเป
ดแบบแผขนาด 1.50x1.50 เมตร รองรับเสาตอมอขนาดเสนผาศูนยกลาง 30 ซม. ซึ
งศู
่ นย
เสาตอม
ออยู
ห
างจากศู
นย
ฐานรากเป น
ระยะ = 45 ซม. ถ
าเสาตอม
อถ
ายแรงอัดใช
งาน = 9 ตัน และโมเมนต
ดัดใช
งาน = 4.725 ตัน-เมตร จงใช
วิ
ธี
WSD หาความลึ กประสิ
ทธิ
ผลอย
างน
อย (d) เพื


www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 93/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

ให
ฐานรากนี
ปลอดภัยจากแรงเฉื
้ อนแบบทะลุ
กํ fc ‘ = 144 กก./ซม.2
าหนดให

1 : d = 7.5 ซม.
2 : d = 8.6 ซม.
3 : d = 9.7 ซม.
4 : d = 10.8 ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

377 :
ฐานรากเสาเข็ มขนาด 1.20x1.80 เมตร รองรับน้
าหนัก PU = 90 ตัน และโมเมนต
ํ MU = 18 ตัน-เมตร จากเสาตอมอขนาด 0.30x0.40 เมตร ซึ งอยู
่ ตรง

กึงกลางของฐานราก ถ
่ าใช
เสาเข็
มขนาด f 30 ซม. จํ
านวน 6 ตน โดยเรี
ยงเป
น 2 แถวทีขนานกับด
่ านยาวของฐานราก แถวละ 3 ตน โดยให c to c ของเสา
เข็มหางกัน = 60 ซม. และระยะขอบของฐานรากห างจากศู
นยเสาเข็
ม = 30 ซม. ถ
าความลึกประสิทธิผล d ของฐานราก = 35 ซม. จงใชมาตรฐาน ว.ส.ท.
โดยวิ ธี
กํ
าลัง ตรวจสอบความปลอดภัยของฐานรากทั้ งจากแรงเฉือนแบบคานกว าง (beam shear) และจากแรงเฉื
อนแบบทะลุ (punching shear) กําหนดให
fc‘ ของฐานราก = 200 กก./ซม.2

1:
ปลอดภัยจากแรงเฉื
อนแบบคานกว
าง และจากแรงเฉื
อนแบบทะลุ
2:
ปลอดภัยจากแรงเฉื
อนแบบคานกว
าง แต
ไม
ปลอดภัยจากแรงเฉื
อนแบบทะลุ
3:
ไม
ปลอดภัยจากแรงเฉื
อนแบบคานกว
าง แต
ปลอดภัยจากแรงเฉื
อนแบบทะลุ
4:
ไม
ปลอดภัยทั้
งจากแรงเฉื
อนแบบคานกว
าง และจากแรงเฉื
อนแบบทะลุ
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

378 :
ฐานรากเสาเข็ มขนาด 1.20x1.80 เมตร รองรับน้
าหนัก PU = 90 ตัน และโมเมนต
ํ MU = 18 ตัน-เมตร จากเสาตอมอขนาด 0.30x0.40 เมตร ซึ งอยู
่ ตรง

กึงกลางของฐานราก ถ
่ าใช
เสาเข็
มขนาด f 30 ซม. จํ
านวน 6 ตน โดยเรี
ยงเป
น 2 แถวทีขนานกับด
่ านยาวของฐานราก แถวละ 3 ตน โดยให c to c ของเสา
เข็มหางกัน = 60 ซม. และระยะขอบของฐานรากห างจากศู
นยเสาเข็
ม = 30 ซม. ถ
าความลึกประสิทธิผล d ของฐานราก = 35 ซม. จงใชมาตรฐาน ว.ส.ท.
โดยวิ ธี
กํ
าลัง ตรวจสอบความปลอดภัยของฐานรากทั้ งจากแรงเฉือนแบบคานกว าง (beam shear) และจากแรงเฉื
อนแบบทะลุ (punching shear) กําหนดให
fc‘ ของฐานราก = 400 กก./ซม.2

1:
ปลอดภัยทั้
งจากแรงเฉื
อนแบบคานกว
าง และจากแรงเฉื
อนแบบทะลุ
2:
ปลอดภัยจากแรงเฉื
อนแบบคานกว
าง แต
ไม
ปลอดภัยจากแรงเฉื
อนแบบทะลุ
3:
ไม
ปลอดภัยจากแรงเฉื
อนแบบคานกว
าง แต
ปลอดภัยจากแรงเฉื
อนแบบทะลุ
4:
ไม
ปลอดภัยทั้
งจากแรงเฉื
อนแบบคานกว
าง และจากแรงเฉื
อนแบบทะลุ
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

379 :
ฐานรากเสาเข็ มขนาด 1.20x1.80 เมตร รองรับน้
าหนัก PU = 90 ตัน และโมเมนต
ํ MU = 18 ตัน-เมตร จากเสาตอมอขนาด 0.30x0.40 เมตร ซึ งอยู
่ ตรง

กึงกลางของฐานราก ถ
่ าใช
เสาเข็
มขนาด f 30 ซม. จํ
านวน 6 ตน โดยเรี
ยงเป
น 2 แถวทีขนานกับด
่ านยาวของฐานราก แถวละ 3 ตน โดยให c to c ของเสา
เข็มหางกัน = 60 ซม. และระยะขอบของฐานรากห างจากศู
นยเสาเข็
ม = 30 ซม. ถ
าความลึกประสิทธิผล d ของฐานราก = 40 ซม. จงใชมาตรฐาน ว.ส.ท.
โดยวิ ธี
กํ
าลัง ตรวจสอบความปลอดภัยของฐานรากทั้ งจากแรงเฉือนแบบคานกว าง (beam shear) และจากแรงเฉื
อนแบบทะลุ (punching shear) กําหนดให
fc‘ ของฐานราก = 250 กก./ซม.2

1:
ปลอดภัยจากแรงเฉื
อนแบบคานกว
าง แต
ไม
ปลอดภัยจากแรงเฉื
อนแบบทะลุ
2:
ไม
ปลอดภัยจากแรงเฉื
อนแบบคานกว
าง แต
ปลอดภัยจากแรงเฉื
อนแบบทะลุ
3:
ไม
ปลอดภัยทั้
งจากแรงเฉื
อนแบบคานกว
าง และจากแรงเฉื
อนแบบทะลุ
4:
ปลอดภัยทั้
งจากแรงเฉื
อนแบบคานกว
าง และจากแรงเฉื
อนแบบทะลุ
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

380 :
ฐานรากเสาเข็
มขนาด 1.20x1.80 เมตร รองรับน้
าหนัก PU = 90 ตัน และโมเมนต
ํ MU = 18 ตัน-เมตร จากเสาตอม
อขนาด 0.30x0.40 เมตร ซึ
งอยู
่ ตรง

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 94/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

กึงกลางของฐานราก ถ
่ าใช
เสาเข็
มขนาด f 30 ซม. จํานวน 6 ตน โดยเรี
ยงเป
น 2 แถวที ขนานกับด
่ านยาวของฐานราก แถวละ 3 ต น โดยให c to c ของเสา
เข็มหางกัน = 60 ซม. และระยะขอบของฐานรากห างจากศูนยเสาเข็
ม = 30 ซม. ถ
าความลึกประสิทธิ
ผล d ของฐานราก = 45 ซม. จงใช มาตรฐาน ว.ส.ท.
โดยวิ ธี
กํ
าลัง หาปริมาณเหล็กเสริ
มที
เรี
่ ยงขนานกับด านยาวของฐานราก กํ าหนดใหfc‘ ของฐานราก = 200 กก./ซม.2 fy = 3000 กก./ซม.2 และประมาณค า
ju = 0.85

1:
7.00 ตร.ซม.
2:
9.20 ตร.ซม.
3:
16.60 ตร.ซม.
4:
25.20 ตร.ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

381 :
ฐานรากเสาเข็ มขนาด 1.20x1.80 เมตร รองรับน้
าหนัก PU = 90 ตัน และโมเมนต
ํ MU = 18 ตัน-เมตร จากเสาตอม อขนาด 0.30x0.40 เมตร ซึ งอยู
่ ตรง

กึงกลางของฐานราก ถ
่ าใช
เสาเข็
มขนาด f 30 ซม. จํ
านวน 6 ตน โดยเรี
ยงเป
น 2 แถวที ขนานกับด
่ านยาวของฐานราก แถวละ 3 ต น โดยให c to c ของเสา
เข็มหางกัน = 60 ซม. และระยะขอบของฐานรากห างจากศูนย
เสาเข็
ม = 30 ซม. ถ
าความลึ กประสิทธิผล d ของฐานราก = 45 ซม. จงใช มาตรฐาน ว.ส.ท.
โดยวิ ธี
กํ
าลัง หาปริมาณเหล็กเสริ
มทีเรี
่ ยงขนานกับดานสั้
นของฐานราก กําหนดให fc‘ ของฐานราก = 200 กก./ซม.2 fy = 3000 กก./ซม.2 และประมาณค า
ju = 0.85

1:
7.00 ตร.ซม.
2:
9.20 ตร.ซม.
3:
16.60 ตร.ซม.
4:
25.20 ตร.ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

382 :
เสาปลอกเดี ยว ขนาด 0.30x0.60 ม. เสริ
่ มเหล็ น As = 12.56 ซม.2 และ As‘ = 6.28 ซม.2 และมี
กยื ระยะคอนกรีตหุมถึ
 ง c.g. ของเหล็ก = 5 ซม. จงใช
มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิ ธีกํ
าลัง ประมาณตํ
าแหน
ง plastic centroid ของเสาต
นนี

ว
าห
างจาก c.g. ของเหล็
กที
รับแรงดึ
่ งเท
าไร กํ
าหนดให fc‘ = 250 กก./ซม.2
และ fy = 3000 กก./ซม.2

1:
18.50 ซม.
2:
23.95 ซม.
3:
24.20 ซม.
4:
25.40 ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

383 :
เสาปลอกเดี ยว ขนาด 0.40x0.60 ม. เสริ
่ มเหล็ น As = 12.56 ซม.2 และ As‘ = 6.28 ซม.2 และมี
กยื ระยะคอนกรีตหุมถึ
 ง c.g. ของเหล็ก = 5 ซม. จงใช
มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิ ธีกํ
าลัง ประมาณตํ
าแหน
ง plastic centroid ของเสาต
นนี

ว
าห
างจาก c.g. ของเหล็
กที
รับแรงดึ
่ งเท
าไร กํ
าหนดให fc‘ = 200 กก./ซม.2
และ fy = 2400 กก./ซม.2

1:
18.50 ซม.
2:
23.95 ซม.
3:

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 95/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

24.20 ซม.
4:
25.40 ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

384 :
เสาปลอกเดี ยว ขนาด 0.20x0.50 ม. เสริ
่ มเหล็ น As = 12.56 ซม.2 และ As‘ = 6.28 ซม.2 และมี
กยื ระยะคอนกรีตหุมถึ
 ง c.g. ของเหล็ก = 5 ซม. จงใช
มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิ ธีกํ
าลัง ประมาณตํ
าแหน
ง plastic centroid ของเสาต
นนี

ว
าห
างจาก c.g. ของเหล็
กที
รับแรงดึ
่ งเท
าไร กํ
าหนดให fc‘ = 300 กก./ซม.2
และ fy = 4000 กก./ซม.2

1:
18.50 ซม.
2:
23.95 ซม.
3:
24.20 ซม.
4:
25.40 ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=76&aMajid=1 96/96
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

สาขา : โยธา
วิ
ชา : Timber and Steel Design
เนื
อหาวิ
้ ชา : 541 : Design of timber and steel structures, tension and compression members

ข
อที

1 : คานไม
ที
มี
่ความลึ
กมากว
าเท
าใดจึ
งจํ
าเป
น ต
องลดหน
วยแรงดัดลง

1 : 20 cm
2 : 30 cm
3 : 40 cm
4 : 50 cm

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

2 : ในการคํ
านวณองค
อาคารรับแรงดึ
งตรงบริ
เวณที
มิ
่ได
ทํ
ารอยต
อ ค
า Maximum Allowable Tensile Stress บนหน
าตัดทั้
งหมดของเหล็
กรู
ปพรรณคื

1 : 0.40F y
2 : 0.50F y
3 : 0.60F y
4 : 0.75F y

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

3 : สํ
าหรับโครงสร
างหลัก(Main member) ขององค
อาคารเหล็
กรู
ปพรรณรับแรงดึ
ง ค
า Slenderness ratio ใช
ไม
เกิ
น กว

1 : 120
2 : 240
3 : 300
4 : 360

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

4 : ถ
าหน
าตัดเหล็
กสี
เหลี
่ ยมตัน ขนาด 50 x100 mm จงหาค
่ า radius of gyration ที
น
่อยที
สุ
่ด

1 : 1.44 cm
2 : 2.89 cm
3 : 5.78 cm
4 : 11.54 cm

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

5 : เสาประกอบกรณี
เสากว
างเกิ
น กี
เซนติ
่ เมตร จึ
งจะต
องใช
Lacing คู

1 : 25 cm
2 : 35 cm
3 : 50 cm
4 : 80 cm

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

6 : การวิ
บัติ
แบบ Block Shear ของโครงสร
างเหล็
กเกิ
ดจากสาเหตุ
ใด

1 : เกิ
ดจากแรงเฉือนและแรงดัด
2 : เกิ
ดจากแรงอัดและแรงดัด
3 : เกิ
ดจากแรงดึงและแรงเฉือน
4 : เกิ
ดจากแรงดึงและแรงดัด

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

7 : ในการคํ
านวณออกแบบองค
อาคารไม
รับแรงดึ
ง ถ
าไม
ที
ใช
่ มี
ตาไม
ที
ระนาบวิ
่ กฤต ผู
ออกแบบควรทํ
 าเช
น ไร

1 : นํ
าพื
น ที
้ หน
่ าตัดทั้
งหมดมาใชในการคํ
านวณ
2 : นํ
าพื
น ที
้ ตาไม
่ หักออกจากพืน ที
้ หน
่ าตัดทั้
งหมด
3 : นํ
าพื
น ที
้ ตาไม
่ หักออกจากพืน ที
้ หน
่ าตัดสุ
ทธิ
4 : นํ
าพื
น ที
้ หน
่ าตัดสุ
ทธิมาคํ
านวณ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ขอที่
8 : เสาไม
ข นาด 5 นิ ว x 5 นิ
้ ว มี
้ ความยาว 3 เมตร จะสามารถรับน้
าหนักได
ํ ประมาณเท
าไร
เมือกํ
่ าหนดให P/A = F c// (1.33 - L/(35d))
โดยที
หน
่ วยแรงอัดขนานเสี
ยนที
้ ยอมให
่ (F c//) เท
ากับ 90 ksc
คํ
านวณโดยใช
nominal size

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 1/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1 : 9,000 kg
2 : 11,500 kg
3 : 13,000 kg
4 : 15,000 kg

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

9 : น้
าหนักบรรทุ
ํ กจรใด (ในประเทศไทย)ต
อไปนี
น
้าจะมี
ค
ามากที
สุ
่ด

1 : หลังคาคอนกรี

2 : ที
พักอาศัย

3 : ห
องสมุด
4 : ธนาคาร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

10 : ค
าอัตราส
วนของกํ
าลังที
เสานั้
่ น รับได
ต
อน้
าหนักเสา เรี
ํ ยงลํ
าดับจากน
อยไปมาก

1 : เสาตัน , เสาประกอบตัน , เสาประกอบไม แผน


2 : เสาประกอบไม แผ
น , เสาตัน , เสาประกอบตัน
3 : เสาประกอบตัน , เสาตัน , เสาประกอบไม แผน
4 : รับน้
าหนักได
ํ เท
ากัน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

11 : สํ
าหรับเหล็
กที
มี
่กํ
าลังจุ
ดคราก (Yield strength) สู
งมาก ตํ
าแหน
งจุ
ดครากไม
ปรากฏชัดเจน มาตรฐาน ASTM ให
พิ
จารณาหน
วยแรงจุ
ดคราก ณ หน
วยการยื
ด (Strain) ตัว
ใด

1 : 0.02
2 : 0.05
3 : 0.002
4 : 0.005

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

12 : กํ
าลังรับแรงอัดของเสาแต
ละต
น ซึ
งขนาดหน
่ าตัด และความยาวเท
ากัน ปลายเสาแบบใดมี
ความสามารถรับแรงได
สู
งที
สุ
่ด

1 : หมุ
น ทั้
งสองปลาย (pin-ended)
2 : ปลายหนึ งยึ
่ ดแน น และ อี
กปลายหนึ งยึ
่ ดหมุน (Fixed-Pin Ended)
3 : แบบยึดแนน ทั้
งสองปลาย (Fixed-Fixed Ended)
4 : ไม
ส ามารถบอกได เพราะตองทราบวาเสาแตละตน ดังกล
าวมี
การเซหรื
อไม

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

13 : กํ
าลังรับแรงอัดของเสาแต
ละต
น ซึ
งไม
่ มี
การเซ และ ขนาดหน
าตัด, ความยาวเท
ากัน ปลายเสาแบบใดมี
ความสามารถรับแรงได
สู
งที
สุ
่ด

1 : หมุ
น ทั้
งสองปลาย (Pin-Ended)
2 : ปลายหนึ งยึ
่ ดแน น และ อี
กปลายหนึ งยึ
่ ดหมุน (Fixed-Pin Ended)
3 : แบบยึดแนน ทั้
งสองปลาย (Fixed-Fixed Ended)
4 : ไม
มี
ขอใดถูก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

14 : กํ
าลังรับแรงอัดของเสาแต
ละต
น ซึ
งไม
่ มี
การเซ ขนาดหน
าตัดเท
ากัน ความยาวเสาใดสามารถรับแรงได
สู
งที
สุ
่ด โดยมี
การยึ
ดปลายเสาเหมื
อนกัน

1 : เสายาว 3.00 เมตร


2 : เสายาว 3.50 เมตร
3 : เสายาว 3.70 เมตร
4 : ไม
มี
ข
อใดถู ก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที่15 : เสาเหล็กหน
าตัดวงกลม ยาว 3 เมตร ปลายทั้
งสองเป
น แบบหมุ
น และไม
มี
การเซ หากมี
การค้
ายัน ตรงกลางไม
ํ ให
โก
งได งไม
(โก ได
ทุ
กทิ
ศทาง, หมุ
น ได
) เสาจะสามารถรับน้


หนักเพิ
มขึ
่ น กี
้ เท
่ า

1 : เทาเดิม
2 : 2 เทา
3 : 3 เทา
4 : 4 เทา

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ขอที
่16 : เสาเหล็กหนาตัดวงกลม ยาว 3 เมตร ปลายทั้
งสองเป
น แบบยื
ดแน
น และไม
มี
การเซ หากมี
การค้
ายัน ตรงกลางไม
ํ ให
โก
งได งไม
(โก ได
ทุ
กทิ
ศทาง, หมุ
น ได
) เสาจะสามารถ
รับน้
าหนักเพิ
ํ มขึ
่ น กี
้ เท
่ า

1 : ประมาณ 8 เท

2 : เท
าเดิ

3 : ประมาณ 2 เท

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 2/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
4 : ประมาณ 4 เท

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

17 : โครงสร
างแบบใดที
ไม
่ ต
องคํ
านึ
งถึ
งผลกระทบของการโก
งในแนวขวาง (P-Delta Effect)

1 : เสารับแรงในแนวดิ
ง (Column)

2 : คานรับแรงดัดและแรงในแนวแกน (Beam-Column)
3 : คานรับเฉพาะแรงดัด (Beam)
4 : ไม
มี
คํ าตอบทีถู
่ก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

18 : หน
วยแรงดึ
งที
ยอมให
่ สํ
าหรับท
อนเหล็
กหรื
อเคเบิ
ล มี
้ ค
าเท
ากับข
อใด

1 : 0.30 Fu
2 : 0.33 Fu
3 : 0.50 Fu
4 : 0.75 Fu

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

19 : ตามมาตรฐานของ ว.ส.ท.กํ
าหนดให
เนื
อที
้ หน
่ าตัดสุ
ทธิ
มากที
สุ
่ดขององค
อาคารเหล็
กรับแรงดึ
งที
มี
่รู
เจาะมี
ค
าไม
เกิ
น กี
เปอร
่ เซนต
ข องเนื
อที
้ หน
่ าตัดทั้
งหมด

1 : 85%
2 : 50%
3 : 60%
4 : 75%

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

20 : ไม
ใดต
องคํ
านวณแรงต
านทานของอุ
ปกรณ
ยึ
ด ด
วยสู
ตรฮัน กิ
น สัน

1 : ไม
ก.
2 : ไม
ข.
3 : ไม
ค.
4 : ไม
ทุ
กชิ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

21 : โครงถักดังรู
ป ข
อใดกล
าวถู
กต
อง

1 : ชิ
น ส
้ วน A รับแรงดึ

2 : ชิ
น ส
้ วน B รับแรงดึ

3 : ชิ
น ส
้ วน C รับแรงดึ

4 : ไม
มีคํ
าตอบที ถู
่ก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ขอที่22 : ในการออกแบบโดยวิ ธี
หนวยแรงใช
งาน (Allowable Stress Design) หากต
องพิ
จารณาถึ
งแรงลมที
กระทํ
่ าต
อโครงสร
างโดยไม
เพิ
มค
่ าหน
วยแรงที
ยอมใหจะคํ
่ านวณหาน้


หนักบรรทุ กใช
งานสูงสุดจาก
เมือ D = Dead Load, L = Live Load และ W = Wind Load

1:D+L+W
2 : 0.75 (D + L + W)
3 : 1.2 D + 0.8 W
4:

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ขอที

23 : เหล็
กรู
ปพรรณ มี
มิ
ติ
ดังรู
ป ทอนละ 6 m. ขายท อนละกี
บาท

(สมมติราคาเหล็กในท
องตลาดป จจุ
บัน กิ
โลกรัมละ 30 บาท)

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 3/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1 : 532.50 บาท
2 : 679 บาท
3 : 3,195 บาท
4 : ไมมี
คํ
าตอบทีถู
่ก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

24 : จงประมาณกํ
าลังรับน้
าหนักของเสา มี
ํ มิ
ติ
ดังรู
ป โดยวิ
ธี
ASD เสายาว 3.0 เมตร ปลายทั้
งสองข
างเป
น แบบยึ
ดหมุ

1 : 70 ตัน
2 : 77 ตัน
3 : 86 ตัน
4 : ไม
มี
คําตอบที
ถู
่ก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

25 :

จงประมาณกํ
าลังรับแรงอัดประลัยของเสา เสายาว 3.0 เมตร ปลายทั้
งสองข
างยึ
ดหมุ

เมื

่ ≤ 1.5

เมื

่ > 1.5

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 4/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1 : 110 ตัน
2 : 120 ตัน
3 : 130 ตัน
4 : ไม
มี
คําตอบที
ถู
่ก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที ่26 : เสาเหล็กรู
ปพรรณต น หนึ
ง ยาว L เมตร ปลายทั้
่ งสองข
างยึ
ดหมุ
น (k = 1) รับน้
าหนักได
ํ 100 ตัน ถ
าเปลี
ยนการยึ
่ ดจับปลายเป
น ยึ
ดแน
น ข
างเดี
ยว อี
กข
างปล
อยอิ
ส ระ (k =
2) จะรับน้าหนักวิ
ํ กฤตไดเท
าใด

1 : 25 ตัน
2 : 50 ตัน
3 : 100 ตัน
4 : ไม
มี
คําตอบที
ถู
่ก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

27 : อัตราส
วนความชะลู
ดของโครงสร
างเหล็
กรู
ปพรรณรับแรงอัด ไม
ควรเกิ
น เท
าใด

1 : 12
2 : 50
3 : 200
4 : 300

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

28 : ในการคํ
านวณออกแบบองค
อาคารรับแรงดึ
ง ข
อมู
ลเกี
ยวกับ Block Shear ข
่ อใดไม
ถู
กต
อง

1 : คํ
านวณทั้ งวิธีASD และ LRFD
2 : พืน ที
้ รับแรงดึ
่ งตั้
งฉากกับแนวแรง
3 : รอยตอแบบเชื อมไม
่ วิ
บัติ
ด
วย Block Shear
4 : พืน ที
้ รับแรงเฉื
่ อนขนานกับแนวแรง

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

29 : จงประมาณความยาวสู
งสุ
ดที
ยอมให
่ ได
ตามข
อกํ
าหนดของ AISC สํ
าหรับองค
อาคารรับแรงดึ
งซึ
งมี
่ หน
าตัดเป
น เหล็
กแบนหนา 25 มม.

1 : 2.15 m
2 : 2.25 m
3 : 2.35 m
4 : 2.45 m

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

30 : ท
อนเหล็
กกลมชนิ
ด A36 ใช
รับแรงดึ
งใช
งาน 4 ตัน ถ
าต
องเผื
อทํ
่ าเกลี
ยวประมาณ 1/16 นิ
ว ดังนั้
้ น ต
องใช
ท
อนเหล็
กขนาดเส
น ผ
าศู
น ย
กลางเท
ากับ

1 : 15 มม.
2 : 20 มม.
3 : 22 มม.
4 : 25 มม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที่
31 : แผ
น เหล็
กชนิด A36 ใช รับแรงดึ
งใชงาน 32 ตัน ถ
าเผือทํ
่ ารอยต
อด
วยสลักเกลี
ยวขนาด 20 มม. อย
างน
อย 3 ตัวในหนึ
งแถว และสมมติ
่ ว
าไม
เกิ
ดการวิ
บัติ
ที
ตัวสลักเกลี
่ ยว
หรื
อวิ
บัติ
แบบ block-shear ดังนั้
น ตองใช
แผ
น เหล็
กขนาดเท ากับ

1 : 20x100 มม.
2 : 20x120 มม.
3 : 20x125 มม.
4 : 20x150 มม.

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 5/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

32 : เสาที
มี
่ค
า E, I และ L เหมื
อนกัน ทุ
กต
น เสาแบบใดมี
กํ
าลังรับแรงอัดตามแนวแกนได
สู
งสุ

1 : เสาที
มี
่ปลายทั้
งสองข
างเปน แบบยึ
ดหมุ

2 : เสาที
มี
่ปลายข
างหนึงเป
่ น แบบยึดหมุ
น และปลายอีกข
างหนึ
งเป
่ น แบบยึ
ดแน

3 : เสาที
มี
่ปลายทั้
งสองข
างเปน แบบยึ
ดแน
น และเซได
4 : เสาที
มี
่ปลายทั้
งสองข
างเปน แบบยึ
ดแน
น แต
ไม
เซ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

33 : จงหาค
าอัตราส
วนความชะลู
ด ของเสาเหล็
กรู
ปพรรณ เมื
อหน
่ วยแรงวิ
กฤต (critical stress) มี
ค
าเท
ากับครึ
งหนึ
่ งของกํ
่ าลังจุ
ดคราก

1:
2:
3:
4:

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

34 :
เสาเหล็ก W344x115 (A g = 146 ซม.2 r min = 8.78 ซม.) รู
ปตัดแบบคอมแพค ทํ
าด
วยเหล็ ด A36 (F y=2500 ksc, E=2x106 ksc) มี
กชนิ ปลายทั้
งสองข
างเป
น แบบยึ
ดหมุ
น ยาว 5.0
เมตร จงประมาณกําลังรับแรงอัดที
ใช
่ ออกแบบ (design strength)
กํ
าหนดสู
ตรที
ใช
่ คํ
านวณ เมื

่ : หน
วยแรงวิ
กฤต
เมื

่ : หน
วยแรงวิ
กฤต

ในที
นี
่้ = slenderness parameter =

1 : 200 ตัน
2 : 240 ตัน
3 : 280 ตัน
4 : 330 ตัน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

35 :
เสาเหล็ก W390x107 (A g = 136 ซม. 2 rmin = 7.28 ซม.) รู
ปตัดแบบคอมแพค ทํ
าด
วยเหล็ ด A36 (F y=2500 ksc, E=2x106 ksc) มี
กชนิ ปลายทั้
งสองข
างเป
น แบบยึ
ดแน
น และไม
เซ ยาว 5.0 เมตร จงประมาณกํ
าลังรับแรงอัดที
ใช
่ ออกแบบ (design strength)
กํ
าหนดสู ตรที ใช
่ คํ
านวณ
เมื

่ : หน
วยแรงวิ
กฤต
เมื

่ : หน
วยแรงวิ
กฤต

ในที
นี
่้ = slenderness parameter =

1 : 270 ตัน
2 : 280 ตัน
3 : 315 ตัน
4 : 325 ตัน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

36 : เสาเหล็
กมี
รู
ปตัดแบบคอมแพค ทํ
าด
วยเหล็ ด A36 (F y=2500 ksc, E=2x106 ksc) มี
กชนิ ปลายข
างหนึ
งเป
่ น แบบยึ
ดแน
น และปลายอี
กข
างหนึ
งเป
่ น แบบยึ
ดหมุ
น ไม
เซ ยาว
6.0 เมตร จงหาค
า rmin ของเสาเพื
อให
่ หน
วยแรงวิ
กฤต F cr ไม
เกิ า 900 กก./ ซม. 2
น กว
กํ
าหนดสู
ตรที
ใช
่ คํ
านวณ
เมื

่ : หน
วยแรงวิ
กฤต
เมื

่ : หน
วยแรงวิ
กฤต

ในที
นี
่้ = slenderness parameter =

1 : rmin = 2.83 ซม.


2 : rmin = 3.24 ซม.
3 : rmin = 4.05 ซม.
4 : rmin = 4.86 ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที
่ ก W350x136 (A g = 174 ซม. 2 rmin = 8.84 ซม.) รู
37 : เสาเหล็ ปตัดแบบคอมแพค ทํ
าด
วยเหล็ ด A36 (F y=2500 ksc, E=2x106 ksc) มี
กชนิ ปลายทั้
งสองข
างเป
น แบบยึ

หมุ
น ยาว 6.0 เมตร จงหากํ
าลังรับแรงอัดปลอดภัย

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 6/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1 : 200 ตัน
2 : 210 ตัน
3 : 220 ตัน
4 : 230 ตัน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที่38 : เสาเหล็ก W350x136 (A g = 174 ซม. 2 rx = 15.2 ซม. r y = 8.84 ซม.) รู
ปตัดแบบคอมแพค ทํ าด
วยเหล็
กชนิด A36 (F y=2500 ksc, E=2x106 ksc) มี
ปลายทั้
งสองข
าง
เป
น แบบยึ ดหมุน และมี
ค้
ายัน ที
ํ กึ
่งกลางเสา ดังนั้
่ น ถ
าสมมติใหความยาวประสิ ทธิผลแต ละแกนมี
ค
าดังรู
ป จงประมาณกํ
าลังรับแรงอัดปลอดภัย

1 : 165 ตัน
2 : 175 ตัน
3 : 185 ตัน
4 : 200 ตัน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที
่39 : เสาไม
ตัน ขนาด 12.5x12.5 ซม. ยาว 2.50 เมตร ปลายทั้
งสองข
างเป
น แบบยึ
ดหมุ
น จงประมาณกํ
าลังรับแรงอัดปลอดภัยของเสา กํ
าหนดให
หน
วยแรงอัดขนานเสี
ยนที
้ ยอม

ให
Fc = 90 กก./ตร.ซม.

1 : 6.8 ตัน
2 : 8.5 ตัน
3 : 10.5 ตัน
4 : 14.0 ตัน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที่40 : จงหาขนาดของเสาไม ตัน รู
ปตัดสี
เหลี
่ ยมจตุ
่ รัส (ไม
ไส) ปลายทั้
งสองด
านเป
น แบบยึ
ดหมุ
น ยาว 3.00 เมตร เพื
อรับแรงอัดปลอดภัย 9 ตัน กํ
่ าหนดใหหน
วยแรงอัดขนาน
เสี
ยนที
้ ยอมให
่ Fc = 90 กก./ตร.ซม.

1 : 15x15 ซม.
2 : 20x20 ซม.
3 : 10x10 ซม.
4 : 12.5x12.5 ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 7/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

ข
อที

41 : ปริ
มาตรไม
ทีคิ
่ดหน
วยเป
น “คิ
ว” สํ
าหรับการซื
อขายไม
้ แปรรู
ปในประเทศไทย จะคิ
ดจาก

1 : ขนาดหน
าตัดที
ใช
่ เรี
ยกซึ
งมี
่ หน
วยเป
น นิว โดยคิ
้ ดความยาวเป
น ฟุ ต
2 : ขนาดหน
าตัดที
ใช
่ เรี
ยกซึ
งมี
่ หน
วยเป
น เมตร โดยคิดความยาวเปน ฟุต
3 : ขนาดหน
าตัดที
ไสแล
่ วซึ
งมี
่ หน
วยเป
น นิว โดยคิ
้ ดความยาวเป
น เมตร
4 : ขนาดหน
าตัดที
ไสแล
่ วซึ
งมี
่ หน
วยเป
น เมตร โดยคิ
ดความยาวเป น ฟุต

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

42 : พบว
า ไม
แปรรู
ปจะหดตัว

1 : ทางด
านที
ส ัมผัส กับเส
่ น วงป
นอยกว
าดานที ข นานกับเสื
่ ยนไม

2 : ทางด
านที
ตั้
่ งฉากกับเส น วงป
มากกวาด
านที ส ัมผัส กับเส
่ น วงป
3 : ทางด
านที
ตั้
่ งฉากกับเส น วงป
นอยกว
าดานที ข นานกับเสื
่ ยนไม

4 : ทางด
านที
ตั้
่ งฉากกับเส น วงป
มีค
าน
อยทีสุ
่ ด

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

43 : เมื
อนํ
่ าไม
แปรรู
ปมาอาบหรื
ออัดน้
ายา จะพบว
ํ า

1 : ไม
มี
กลสมบัติ
ต
านแรงอัดได
มากขึ น

2 : ไม
มี
กลสมบัติ
ต
านแรงดัดไดมากขึน

3 : ไม
มี
กลสมบัติ
ต
านแรงอัดได
มากขึ น แต
้ ต
านแรงดัดได
เท
าเดิ

4 : ไม
มี
กลสมบัติ
ต
านแรงกระทําตางๆไดใกล
เคี
ยงกับไม
ที
ไม
่ อาบหรื
ออัดน้
ายา เพี
ํ ยงแต
มี
ความคงทนดี
ขึ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

44 : ไม
มี
ความต
านทานต
อแรงชนิ
ดใดน
อยที
สุ
่ด

1 : แรงดัด
2 : แรงอัด
3 : แรงดึง
4 : แรงเฉือน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที่45 : ในการต
อชิ
น ส
้ วนรับแรงดึ
งแบบตอชน โดยนํ
าแต
ละชิ
น ส
้ วนมาชนกัน แล
วใช
ไม
ชนิ
ดเดี
ยวกัน ซึ
งมี
่ ความกว
างขนาดเดี
ยวกัน กับชิ
น ส
้ วนที
รับแรงดึ
่ งมาประกบหรื
อประกับแต
ละ
ข
าง ความหนาอย างน
อยของไมประกับข
าง คื

1 : เท
ากับความหนาของชิน ส
้ วนที
รับแรงดึ
่ ง
2 : เท
ากับสามในสี
ข องความหนาของชิ
่ น ส
้ วนทีรับแรงดึ
่ ง
3 : เท
ากับครึ
งหนึ
่ งของความหนาของชิ
่ น ส
้ วนทีรับแรงดึ
่ ง
4 : เท
ากับหนึ
งในสามของความหนาของชิ
่ น ส
้ วนทีรับแรงดึ
่ ง

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที่
46 : เสาไม
ตัน รู
ปตัด bxd (b > d) เป
น เสายื
น ยาวเท
่ ากับ L รับแรงอัดตามแนวแกน หากใช
อัตราส
วนความปลอดภัยเท
ากับ 3 และค
าโมดู
ลัส ยื
ดหยุ
น ของไม
 เท
ากับ E ดังนั้
น จง
ประมาณค าหน
วยแรงอัดปลอดภัยของเสาตามสมการของออยเลอร

1 : 0.07E/ (L/d)2
2 : 0.07E/ (L/b)2
3 : 0.75E/ (L/d)2
4 : 0.75E/ (L/b)2

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

47 : เสาไม
ตัน รู
ปตัด bxd (b>d) ปลายทั้
งสองข
างเป
น แบบยึ
ดหมุ
น หากมี
ค้
ายัน ข
ํ างเสาตรงกึ
งกลางช
่ วงความยาว ในทิ
ศทางที
ตั้
่ งฉากกับระยะ d จะพบว

1 : เสานีมี
้กําลังรับแรงอัดปลอดภัยเท
าเดิ

2 : เสานีมี
้กําลังรับแรงอัดปลอดภัยมากขึน กว
้ าเดิ

3 : เสานีมี
้กําลังรับแรงอัดปลอดภัยน
อยลงกว าเดิ

4 : ยังไม
ส ามารถตอบได เพราะต
องทราบชนิ ดของไม
หรื
อค
า E ของไม
ก
อน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ขอที
่48 : เสาไม
ตัน รู
ปตัด bxd (โดยที
่b=2d) ยาวเท
ากับ L มี
ปลายทั้
งสองข
างเป
น แบบยึ
ดหมุน รับแรงอัดตามแนวแกน หากทํ
าค้
ายัน ข
ํ างเสาตรงกึงกลางช
่ วงความยาว ในทิศทางที

ตั้
งฉากกับระยะ b และใชอัตราสวนความปลอดภัยเทากับ 3 จงประมาณคาหน
วยแรงอัดปลอดภัยของเสาตามสมการของออยเลอร กํ
าหนดให โมดู
ลัส ยื
ดหยุ
น ของไม
 เท
ากับ E

1 : 0.3E/ (L/d)2
2 : 0.75E/ (L/d)2
3 : 1.20E/ (L/d)2
4 : 1.50E/ (L/d)2

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

49 :
www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 8/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
ให
ออกแบบเสาประกับพุ
ก (spaced column) โดยใช
ไม
หนา 1½" (ไม
ไส) ปลายทั้
งสองด
านเป
น แบบยึ
ดหมุ
น ยาว 2.00 เมตร เพื
อรับแรงอัดตามแนวแกนเท
่ ากับ 2.5 ตัน กํ
าหนดให
หน
วยแรงอัดขนานเสี
ยนที
้ Fc = 90 กก./ซม.2 , E = 120000 กก./ซม.2 และให
ยอมให
่ การยึ
ดปลายเสาเป
น แบบ "ก"

สู
ตรคํ
านวณ เมื
อ L/d >
่ : ค

1 : ใช
ไม
ข นาด ไส) สองแผ
1½" x 3" (ไม น
2 : ใช
ไม
ข นาด ไส) สองแผ
1½" x 4" (ไม น
3 : ใช
ไม
ข นาด ไส) สองแผ
1½" x 5" (ไม น
4 : ใช
ไม
ข นาด ไส) สองแผ
1½" x 6" (ไม น

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที่50 : จงหาขนาดของชิ น ส
้ วนรู
ปตัด W ที มี
่กํ
าลังรับแรงดึ
งใช
งานใกลเคี
ยงกับคา 90.5 ตัน ถ
าตองทํ
ารอยต
อทีปลายชิ
่ น ส
้ วนตรงแผ
น ป
ก (flange) แต
ละข
างโดยใช
ส ลักเกลี
ยว 2
แถวๆ ละ 3 ตัว สมมติ
หน
าตัดวิกฤตตั้
งฉากกับแรงดึ
งที กระทํ
่ าโดยผ
านรู
เจาะ 2 รู
ใหข นาดเสน ผ
าศู
น ย
กลางของรู
เจาะ = 25 มม. และใช
เหล็
กชนิด A36

1 : W300 x 56.8 (A = 72.38 ซม. 2 d = 294 มม. b f = 200 มม. t f = 12 มม.)


2 : W200 x 49.9 (A = 63.53 ซม. 2 d = 200 มม. b f = 200 มม. t f = 12 มม.)
3 : W400 x 66 (A = 84.12 ซม. 2 d = 400 มม. b f = 200 มม. t f = 13 มม.)
4 : W350 x 49.6 (A = 63.14 ซม. 2 d = 350 มม. b f = 175 มม. t f = 11 มม.)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

51 : จงหาค
าอัตราส
วนความชะลู
ดของเสาเหล็
กรู
ปพรรณ เมื
อหน
่ วยแรงอัดวิ
กฤต (critical stress) ตามสมการของออยเลอร
มี
ค
าเท
ากับหนึ
งในสามของกํ
่ าลังจุ
ดคราก (F y)

1:

2:

3:

4:

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

52 :
เสาซึ
งได
่ จากท กขนาด 90x90 มม. (A g = 10.85 ซม. 2 r = 3.51 ซม.) รู
อเหล็ ปตัดแบบคอมแพค ทํ
าด
วยเหล็
กชนิ
ด A36 มี
ปลายข
างหนึ
งเป
่ น แบบยึ
ดหมุ
น และปลายอี
กข
างหนึ
งเป
่ น
แบบยึ
ดแน
น ยาว 2.00 เมตร จงประมาณกํ
าลังรับแรงอัดปลอดภัย กํ E = 2x106 ซม.2
าหนดให
กํ
าหนดสู
ตรทีใช
่ คํานวณ

เมื

่ :

เมื

่ :
ในที
นี
่้

1 : 16.50 ตัน
2 : 14.20 ตัน
3 : 13.25 ตัน
4 : 11.60 ตัน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

53 :
จงประมาณค
าแรงอัดปลอดภัยของเสาในโครงเฟรมที
เซได
่ (unbraced frame) ถ
าใช ก W300x94 (Ag = 120 ซม. 2 rx = 13.1 ซม.) รู
เสาเหล็ ปตัดแบบคอมแพค ยาว 5.00 เมตร ทํ

ด
วยเหล็
กชนิ
ด A36 สมมติ
ว
ามี
ค้
ายัน ทางข
ํ างกัน การโก
งรอบแกน y ให E = 2x10 6 กก./ซม.2
Kx = 1.8 และให
กํ
าหนดสู
ตรที
ใช
่ คํ
านวณ

เมื

่ :

เมื

่ :
ในที
นี
่้

1 : 120 ตัน
2 : 140 ตัน
3 : 160 ตัน
4 : 180 ตัน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

54 :
จงประมาณค
าแรงอัดปลอดภัยของเสาในโครงเฟรมที
เซได
่ (unbraced frame) ถ
าใช
เสาเหล็
ก W600x106 (A 2
g = 134.4 ซม. rx = 24.0 ซม.) รู
ปตัดแบบคอมแพค ยาว 4.00 เมตร
ทํ
าด
วยเหล็
กชนิ
ด A36 สมมติ
ว
ามี
ค้
ายัน ทางข
ํ างกัน การโก
งรอบแกน y ให E = 2x10 6 กก./ซม.2
Kx = 1.8 และให
กํ
าหนดสู
ตรที
ใช
่ คํ
านวณ

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 9/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

เมื

่ KL/r <Cc : F a =

เมื

่ KL/r >C c : F a =
ในที
นี
่้Cc =

1 : 185 ตัน
2 : 170 ตัน
3 : 150 ตัน
4 : 140 ตัน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

55 :
จงประมาณค
าแรงอัดปลอดภัยของเสาในโครงเฟรมที
เซไม
่ ได
(braced frame) ถ
าใช ก W600x106 (Ag = 134.4 ซม.2 rmin = 4.12 ซม.) รู
เสาเหล็ ปตัดแบบคอมแพค ยาว 4.50
เมตร ทํ
าด
วยเหล็
กชนิ
ด A36 สมมติ
ว
ามี
ค้
ายัน ทางข
ํ างกัน การโก
งรอบแกน y ให E = 2x106 กก./ซม.2
K = 0.80 และให
กํ
าหนดสู
ตรที
ใช
่ คํ
านวณ

เมื

่ :

เมื

่ :
ในที
นี
่้

1 : 150 ตัน
2 : 135 ตัน
3 : 120 ตัน
4 : 100 ตัน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

56 :
ก W344x115 (Ag = 146 ซม.2 rmin = 8.78 ซม.) รู
เสาเหล็ ปตัดแบบคอมแพค ทํ
าด
วยเหล็
กชนิ
ด A36 มี
ปลายทั้
งสองข
างเป
น แบบยึ
ดแน
น ยาว 6.0 เมตร จงประมาณกํ
าลังรับแรง
อัดที
ใช
่ ออกแบบ (design strength) กํ E = 2x106 กก./ซม.2
าหนดให
กําหนดสู
ตรที
ใช
่ คํานวณ
เมื

่ : หน
วยแรงวิ
กฤต
เมื

่ : หน
วยแรงวิ
กฤต

ในที
นี
่้ = slenderness parameter =

1 : 340 ตัน
2 : 290 ตัน
3 : 240 ตัน
4 : 200 ตัน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที
่57 : เสาเหล็
กมี
รู
ปตัดแบบคอมแพค ทํ
าด
วยเหล็
กชนิ
ด A36 มี
ปลายทั้
งสองข
างเป
น แบบยึ
ดหมุ
น จงประมาณค
าความยาวของเสาเมื
อหน
่ วยแรงอัดวิ
กฤต Fcr = Fy/2 สมมติ
ให
เสามี E = 2x106 กก./ซม.2
rmin = 2.06 ซม. และให
กํ
าหนดสู
ตรที
ใช
่ คํ
านวณ
เมื

่ : หน
วยแรงวิ
กฤต
เมื

่ : หน
วยแรงวิ
กฤต

ในที
นี
่้ = slenderness parameter =

1 : 2.00 เมตร
2 : 2.30 เมตร
3 : 2.70 เมตร
4 : 3.20 เมตร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที่58 :
เสาเหล็กรูปพรรณขนาด W300x94 (A = 119.8 ซม. d = b f = 300 มม.) รับแรงอัดตามแนวแกนที เกิ
่ ดจากน้
าหนักบรรทุ
ํ กคงที
ใช
่ งาน 35 ตัน และจากน้
าหนักบรรทุ
ํ กจรใช
งาน 70 ตัน
จงประมาณขนาดแผ น เหล็
กรองใต
เสาสี
เหลี
่ ยมจัตุ
่ รัส ทีทํ
่ าด
วยเหล็กชนิ
ด A36 เพือกระจายแรงอัดลงสู
่ ตอม
 อคอมกรี
ตขนาด 90x90 ตาราง ซม. สมมติ คอนกรีตมี
หน
วยแรงอัดประลัย
เท
ากับ 200 กก./ตร.ซม.
กํ
าหนด หน วยแรงกดใชงานของคอนกรีตที
ยอมให
่ อแผ

(เมื น เหล็
กคลุ
มเต็
มเนื
อที
้ ่
) : F p = 0.35
หน
วยแรงกดใช
งานของคอนกรี
ตที
ยอมให
่ อแผ

(เมื น เหล็
กไม
คลุ
มเต็
มเนื
อที
้ ่
) : F p = 0.35 < 0.7

ความยาวของแผ
น เหล็
ก ในเมื

่ = 0.5 (0.95d - 0.8bf )

1 : 30x30 ซม.
2 : 35x35 ซม.
3 : 40x40 ซม.
4 : ไม
มี
ขอใดถูก

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 10/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

59 :
จงออกแบบหาขนาดของเสาปลายยื
น ยาว 4.00 เมตร ทํ
่ าด
วยเหล็
กชนิ
ด A36 รับแรงอัดประลัยตามแนวแกนอัน เนื
องมาจาก PD = 15 ตัน และ PL = 9.5 ตัน กํ
่ E = 2x106
าหนดให
กก./ซม.2
กํ
าหนดสู ตรที
ใช
่ คํ
านวณ
เมื

่ : หน
วยแรงวิ
กฤต
เมื

่ : หน
วยแรงวิ
กฤต

ในที
นี
่้ = slenderness parameter =

1 : 300x36.7 (Ag = 46.78 ซม. 2 rmin = 3.29 ซม.)


2 : W300x94 (Ag = 119.80 ซม. 2 rmin = 7.51 ซม.)
3 : W250x72.4 (Ag = 92.18 ซม. 2 rmin = 6.29 ซม.)
4 : W300x56.8 (Ag = 72.38 ซม. 2 rmin = 4.71 ซม.)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที่60 :
เสาเหล็กรูปพรรณขนาด W350x136 (A = 173.9 ซม. d = bf = 350 มม.) รับแรงอัดตามแนวแกนที เกิ
่ ดจากน้
าหนักบรรทุ
ํ กคงที
ใช
่ งาน 100 ตัน และจากน้าหนักบรรทุ
ํ กจรใช
งาน
60 ตัน จงออกแบบแผ น เหล็
กรองใตเสาขนาดสีเหลี
่ ยมจตุ
่ รัส ที
ทํ
่ าด
วยเหล็
กชนิด A36 เพื
อกระจายแรงอัดลงสู
่ ตอม
 อคอมกรีต สมมติ
แผ
น เหล็
กรองคลุมเต็
มเนื
อที
้ ข องเสาตอม
่ อคอมก
รี
ตซึงมี
่ หน วยแรงอัดประลัย 200 กก./ตร.ซม.
กํ
าหนด หน วยแรงกดใช งานของคอนกรี ตทียอมให
่ (เมื
อแผ
่ น เหล็
กคลุมเต็
มเนื
อที
้ ):

ความยาวของแผ
น เหล็
ก ในเมื

1 : 450 x 450 x 36 มม.


2 : 450 x 450 x 40 มม.
3 : 500 x 500 x 34 มม.
4 : 500 x 500 x 36 มม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

61 : เนื
อที
้ หน
่ าตัดสุ
ทธิ
(Net Cross-Sectional Areas : A n คํ
านวณได
จากข
อใด ?

1 : Agross - Ahole
2 : U (An)
3 : U (Ag)
4 : U (Ae)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

62 : เนื
อที
้ หน
่ าตัดสุ
ทธิ
ประสิ
ทธิ
ผล (Effective Net Cross Sectional Area : A e) ของรอยต
อแบบสลักเกลี
ยว คํ
านวณได
จากข
อใด ?

1 : Agross - Ahole
2 : U (An)
3 : U (Ag)
4 : U (Ae)
5 : คํ
าตอบข
อ 1-4 ไม
มี
คํ
าตอบที
ถู
่ก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที
่63 : จงวิเคราะห
กําลังรับแรงของหน
าตัดเสาไม
ตัน ขนาด 5 นิ
ว x 5 นิ
้ ว เสามี
้ ความยาว 3 ม. และหน
า กํ
าหนดใหกํ
าลังรับแรงอัดของไม
เท
ากับ 100 กก./ซ.ม.^2 ค
าโมดู
ลัส
ยื
ดหยุ
น เท
 ากับ 112,300 กก./ซ.ม.^2

1 : 0.2 ตัน
2 : 9 ตัน
3 : 20 ตัน
4 : 90 ตัน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที่64 : จงวิ
เคราะห กํ
าลังรับแรงของหนาตัดเสาขนาด 5 นิ ว x 5 นิ
้ ว เป
้ น เสาไม
ประกอบพุ กจากไมข นาด 1.5 นิ
ว x 5 นิ
้ ว และพุ
้ กปลายห
างจากปลายเสา 15 ซ.ม. เสาความยาว 3
ม. กํ
าหนดให กําลังรับแรงอัดของไมเท
ากับ 100 กก./ซ.ม.2 ค
าโมดูลัส ยื
ดหยุน เท
 ากับ 112,300 กก./ซ.ม.2

1 : 3 ตัน
2 : 13 ตัน
3 : 23 ตัน
4 : 32 ตัน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

65 : ค
า KL/r ของแกนที
แข็
่ งแรง และแกนที
อ
่อนแอของหน
าตัดเสาเหล็
กรู
ปพรรณ W200 x 21.3 ที
มี
่คํ
ายัน บนแกนที
แข็
่ งแรงเท
ากับ 6 ม. และบนแกนที
อ
่อนแอเท
ากับ 4 ม. มี
ค

เท อ Ix = 1840 cm4 Iy = 134 cm4 rx = 8.24 cm ry = 2.22 cm และจุ
าไร เมื
่ ดยึ
ดรั้
งเป
น Pinned

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 11/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
1 : 49 และ 270
2 : 73 และ 180
3 : 60 และ 223
4 : ไม
มีข
อใดถูก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที
่66 : เสาประกอบไม แผน (layered column) ได
จากการนําไม
ข นาด 2” x 6” สองแผ น มาประกอบทํ าเป
น เสาไมข นาด 4” x 6” และยึดตรึงดวยตะปู
ถ
าเสานี
มี
้ปลายทั้
งสองข
าง
ยึ
ดหมุ
น ยาวเทากับ 3 เมตร จงประมาณหน วยแรงอัดทียอมให
่ ข องเสานี้
จากสูตร Fa = F c(1.33 - Le/35d) และใชตัวคู
ณประกอบ (K f) เทากับ 0.6 กํ
าหนดให
หน
วยแรงอัดขนานเสี
ยน

(F c) ที
ยอมให
่ เท
ากับ 90 กก./ตรซม.

1 : 25.5 กก. ต
อตาราง ซม.
2 : 42.5 กก. ต
อตาราง ซม.
3 : 68.3 กก. ต
อตาราง ซม.
4 : ไม
มีข
อใดถูกต
อง

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

67 :
จงหา Effective Length Factor : K สํ
าหรับเสา AB ซึ
งอยู
่ ในโครงเฟรมที
 เซได
่ โดยพิจารณาจาก Alignment Chart ทีแสดง

กํ
าหนดให เสาทุ กต
น ยาว 4.00 เมตร มี า Ix = 40300 ซม.4 และคานทุ
ค กตัว ยาว 10.00 เมตร มีา Ix = 33500 ซม.4
ค
รู
ปAB

1:
K = 1.50
2:
K = 1.60
3:
K = 1.70
4:
K = 1.80

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

68 :
จงหา Effective Length Factor : K สําหรับเสา AB ซึ
งอยู
่ ในโครงเฟรมที
 เซได
่ โดยพิ จารณาจาก Alignment Chart ที
แสดง

กํ
าหนดให คานยาว 8.00 เมตร มี ค 4
า Ix = 21700 ซม. เสายาว 5.00 เมตร มี
ค 4
า Ix = 20400 ซม. และฐานรองรับเสา (จุ
ด B) เป
นแบบยึ
ดแน

รู
ปAB

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 12/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1:
K = 1.35
2:
K = 1.55
3:
K = 1.95
4:
K = 2.05

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

69 :
จงหา Effective Length Factor : K สําหรับเสา AB ซึ
งอยู
่ ในโครงเฟรมที
 เซได
่ โดยพิ จารณาจาก Alignment Chart ที
แสดง

กํ
าหนดให คานยาว 6.00 เมตร มี ค 4
า Ix = 23700 ซม. เสายาว 4.00 เมตร มี
ค 4
า Ix = 20400 ซม. และฐานรองรับเสา (จุ
ด B) เป
นแบบยึ
ดหมุ

รู
ปAB

1:
K = 1.35
2:
K = 1.55
3:
K = 1.95
4:
K = 2.05

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

เนื
อหาวิ
้ ชา : 542 : Beams, beam-columns

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 13/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

ข
อที

70 : คานเหล็
กรู
ปพรรณรู
ปตัด w ในท
องตลาด มี
b f = 15 ซม. และ t f = 0.9 ซม. ป
กคานเหล็
กนี
มี
้หน
าตัดแบบใด (กํ E=2.0x10 6 ksc และ F y=2500 ksc)
าหนดให

1 : Partially compact section


2 : Compact section
3 : Noncompact section
4 : Slender section

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

71 : คานหน
าตัดขนาด W500x89.7 จะสามารถต
านทานโมเมนต
ดัดใช
งานสู
งสุ
ดได
ประมาณเท
าใด เมื
อหน
่ าตัดนีb f = 200 mm, tf = 16 mm, Sx = 1910 cm3, F y = 2500
มี

ksc, E = 2x106 ksc สมมติ
มี
การค้
ายัน ด
ํ านข
างคานเพี
ยงพอ

1 : 27300 kg-m
2 : 29300 kg-m
3 : 30100 kg-m
4 : 31500 kg-m

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

72 : การโก
งของคานไม
ในแนวดิ
ง (Deflection) หากมี
่ มากเกิ
น ไป สามารถแก
ไขโดยวิ
ธี
ใดที
ถู
่กต
องในแง
ข องวิ
ศวกรรมโยธา

1 : เปลี
ยนขนาดของคานไม
่ ใหมี
พื
น หน
้ าตัดคานมากขึ น

2 : เพิ
มความกว
่ างของหนาไม
3 : ลดความลึกของไม
ให
มี
ความลึ กลดลง
4 : เพิ
มค
่ าโมเมนต
ความเฉือย (Moment of Inertia) ของหน
่ าตัดคาน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

73 : ถ
าพบว
าการโก
งของคานไม
ในแนวด
านข
าง (Lateral Deflection) มี
ค
ามากจนทํ
าให
ไม
ส ามารถรับโมเมนต
ดัดได
ตามต
องการ สามารถแก
ไขได
โดยวิ
ธี
ใด

1 : ลดความลึ กของไมให
มีความลึ กลดลง
2 : เสริ
มค้
ายัน ทางข
ํ างเปน ระยะๆ
3 : เพิ
มความลึ
่ กของไมให
มีความลึ กมากขึ


4 : ลดความกว างของหนาไม

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที่74 : จงคํานวณหาความหนาของแผ น เหล็
กรองใต
เสา(Column base plate)ขนาด 360x360 mm เพือกระจายน้
่ าหนักลงบนฐานรากคอนกรี
ํ ตเสริมเหล็ก สํ
าหรับเสาซึงใช
่ เหล็

าลังจุ
A36 (กํ ดครากเทากับ 2520 ksc)มี
หน
าตัด W200x200x8x12mm รับน้าหนัก 75 ตัน กํ
ํ าหนดใหหน
วยแรงกด(bearing stress)บนฐานราก ค.ส.ล.ทียอมให
่ เท
ากับ 60 ksc.โดยวิ
ธี
Allowable stress design

1 : 15 mm
2 : 20 mm
3 : 25 mm
4 : 30 mm

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที่75 : คานเหล็
กหน
าตัดขนาด W 600x106 จะสามารถต
านทานโมเมนต
ดัดปลอดภัยได
ประมาณเท
าใด โดยใช
วิ
ธีAllowable stress design สมมติ
มี
การค้
ายัน ด
ํ านข
างอย
าง
เพี
ยงพอ
กํ bf = 200 mm., tf = 17 mm., Sx = 2590 cm3 F y = 2520 ksc.
าหนดให

1 : 31500 kg-m
2 : 43000 kg-m
3 : 53400 kg-m
4 : 61300 kg-m

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

76 : คานไม
แดงขนาด 2 นิ
ว x 8 นิ
้ ว จะต
้ านทานโมเมนต
ดัดปลอดภัยได
ประมาณเท
าใด กํ
าหนดให
หน
วยแรงดัดที
ยอมให
่ เท
ากับ 120 ksc คํ
านวณโดยใช
Nominal size

1 : 400 kg-m
2 : 420 kg-m
3 : 460 kg-m
4 : 500 kg-m

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

77 : พฤติ
กรรมของแปไม
รับน้
าหนักกระเบื
ํ องลอนคู
้ 
ต
องตรวจสอบอะไรบ
าง

1 : แรงดัดรอบแกนหลัก, แรงเฉื อน, ระยะโก



2 : แรงดัดรอบแกนรอง, แรงเฉื อน, ระยะโก

3 : แรงดัดรอบแกนหลักและแกนรอง, แรงเฉื อน, ระยะโก

4 : แรงดัดร
วมกับแรงอัด, แรงเฉื
อน, ระยะโกง

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 14/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

ข
อที

78 : พฤติ
กรรมของแม
บัน ไดไม
รับลู
กตั้
งและลู
กนอนไม
ต
องตรวจสอบอะไร

1 : แรงดัดรอบแกนหลัก, แรงเฉื อน, ระยะโก



2 : แรงดัดรอบแกนรอง, แรงเฉื อน, ระยะโก

3 : แรงดัดรอบแกนหลักและแกนรอง, แรงเฉื อน, ระยะโก

4 : แรงดัดร
วมกับแรงอัด, แรงเฉื
อน, ระยะโกง

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

79 : เหล็
กรู
ปพรรณ มี
มิ
ติ
ดังรู
ป จงหาพื
น ที
้ รับแรงเฉื
่ อน

1:
2:

3:
4 : ไม
มี
คํ
าตอบที
ถู
่ก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

80 : จงประมาณค
าโมเมนต
ที
คานต
่ องรับโดยวิ
ธี
AISC-LRFD ตามมาตรฐาน วสท.

1 : 1700 kg.m

2 : 4860 kg.m

3 : 7630 kg.m

4 : ไม
มี
คํ
าตอบที
ถู
่ก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

81 : จงคํ
านวณหาค
าโมเมนต
ใช
งานโดยวิ
ธี
AISC-ASD

1 : 1700 kg.m

2 : 4860 kg.m

3 : 7630 kg.m

4 : ไม
มี
คํ
าตอบที
ถู
่ก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที
่82 : จากรู
ป เป
น คานที
มี
่ระยะค้
ายัน เพี
ํ ยงพอ และเป
น Compact Section หน
วยแรงดัดที
ยอมให
่ เท
ากับ 0.66 F y จงประมาณกํ
าลังรับโมเมนต
ดัดรอบแกนหลักโดยวิ
ธิAISC-
ASD

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 15/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1 : 1,440 kg.m
2 : 1,650 kg.m
3 : 3,030 kg.m
4 : ไม
มี
คํ
าตอบที
ถู
่ก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

83 : ข
อใดมี
ผลต
อค
าหน
วยแรงดัดที
ยอมให
่ ในการออกแบบคานเหล็

1 : ระยะค้ายัน ด
ํ านข าง
2 : ระยะหางระหว างคาน
3 : น้าหนักบรรทุ
ํ กทีกระทํ
่ า
4 : ไมมี
ข
อไดถู ก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

84 : ให
หาหน
วยแรงกด (bearing stress) ในฐานราก เมื
อมี
่ แรงกระทํ
า ดังรู

1 : 25 กก./ซม. 2 (หน
วยแรงอัด) และ 9 กก./ซม. 2 (หน
วยแรงดึ
ง)
2 : 27 กก./ซม. 2(หน
วยแรงอัด) และ 7 กก./ซม. 2 (หน
วยแรงดึ
ง)
3 : 30 กก./ซม. 2 (หน
วยแรงอัด) และ 4 กก./ซม. 2 (หน
วยแรงดึ
ง)
4 : ไม
มีข
อใดถูก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

85 : ให
หาตํ
าแหน
งที
หน
่ วยแรงกด (bearing stress) ในฐานราก มี
ค
าเป
น ศู
น ย

1 : 25 ซม. จากจุด A หรื


อB
2 : 40 ซม. จากจุดB
3 : 43.5 ซม. จากจุดB
4 : 7.5 ซม. จากจุ
ดA

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที่86 : เสาไม
ตัน ขนาด 10x10 ซม.(ไม ไส) มีปลายทั้งสองข
างเป
น แบบยึ
ดหมุ
น และรับแรงอัดตามแนวแกน จงหาความยาวของเสาที
พอดี
่ ให
ค
าหน
วยแรงดัดเท
ากับ 110 กก./
ตร.ซม. กํ
าหนดใหโมดู ลัส ยื
ดหยุ
น E = 120,000 กก./ตร.ซม.

1 : 2.50 เมตร

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 16/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
2 : 2.75 เมตร
3 : 3.00 เมตร
4 : 3.25 เมตร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

87 : โมดู
ลัส ยื
ดหยุ
น ของไม
 เนื
อแข็
้ งมี
ค

1 : น
อยกว
าโมดูลัส ยื
ดหยุ น ของเหล็
 กโครงสร
างประมาณ 30 เท

2 : น
อยกว
าโมดูลัส ยื
ดหยุ น ของเหล็
 กโครงสร
างประมาณ 15 เท

3 : น
อยกว
าโมดูลัส ยื
ดหยุ น ของเหล็
 กโครงสร
างประมาณ 10 เท

4 : ใกล
เคี
ยวกับโมดู ลัส ยื
ดหยุน ของเหล็
 กโครงสร
าง

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

88 : เมื
อบากหรื
่ อหยักปลายคานไม
ทางด
านรับแรงดึ
ง มี
ผลให

1 : คานไม
มี
กํ
าลังต
านทานแรงดัดนอยลง
2 : คานไม
มี
กํ
าลังต
านทานแรงเฉือนนอยลง
3 : คานไม
โก
งตัวมากขึ


4 : ไม
มี
ข
อใดถู
กตอง

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที่89 :
คานช วงเดียวธรรมดายาว 4.00 เมตร มี
ค้
ายัน ทางข
ํ างเฉพาะที ปลายคานเท
่ านั้
น จงเปรี
ยบเที
ยบกํ าลังต
านทานโมเมนตดัดระหว
างคาน "ก" ขนาด 2"x8" หนึ
งท
่ อน กับคาน "ข" ขนาด
4"x4" หนึ งท
่ อน โดยพิจารณาจากสู ตรคํานวณเกี ยวกับ lateral stability ตามมาตรฐานกํ
่ าหนด ทั้
งนี้คาน "ก" และคาน "ข" ใช
ไม
ชนิ
ดเดียวกัน โดยมี
คาหน
วยแรงดัดที
ยอมให
่ = 150
กก./ซม.2 และโมดู ลัส ยื
ดหยุ น = 120000 กก./ซม. 2 (สังเกตว
 าคานทั้
งสองมี
เนื
อที
้ หน
่ าตัดเท
ากัน )
สู
ตรคํานวณเกี ยวกับ lateral stability คื
่ อ
คานสั้
น ( เมื
อ 0 < R B ≤ 10 ) : F b' = F b

คานยาวปานกลาง (เมื
อ 10 < R B ≤ KB) : F b' = F b

คานยาว (เมื
อ KB < RB ≤ 50) : F b' =

ในที
นี
่้ , RB = ความชะลู
ดของคาน =

1 : คาน “ก” มี
กํ
าลังต
านโมเมนต
ดัด เท
ากับ คาน “ข”
2 : คาน “ก” มี
กํ
าลังต
านโมเมนต
ดัด มากกวา คาน “ข” ถึ
งสองเท

3 : คาน “ก” มี
กํ
าลังต
านโมเมนต
ดัด มากกวา คาน “ข” เพี
ยงเล็
กนอย
4 : คาน “ก” มี
กํ
าลังต
านโมเมนต
ดัด น
อยกวา คาน “ข” เพี
ยงเล็
กนอย

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

90 :

1 : 0.23 ซม.
2 : 0.46 ซม.
3 : 0.52 ซม.
4 : 0.60 ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

91 : ลักษณะวิ
บัติ
ข องคานเหล็
กรู
ปพรรณต
อไปนี

ข
อใดไม
ถู
กต
อง

1 : หน
าตัดแบบคอมแพค จะเกิ
ดการคราก เมื
อระยะค้
่ ายัน ทางข
ํ างพอเพียง
2 : หน
าตัดแบบคอมแพค จะเกิ
ดการบิ
ดและโกงออกทางข าง เมือระยะค้
่ ายัน ทางข
ํ างไม
พอเพียง
3 : หน
าตัดแบบคอมแพค จะเกิ
ดการบิ
ดและโกงออกทางข าง เมือระยะค้
่ ายัน ทางข
ํ างพอเพี
ยง
4 : หน
าตัดแบบไม
คอมแพค จะเกิ
ดการโก
งเดาะเฉพาะที ่และเกิ ดการบิดและโกงออกทางขาง

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

92 : ถ
าให
S x เป
น elastic section modulus และให
Z x เป
น plastic section modulus จะพบว
าคานเหล็
กรู
ปพรรณรู
ปตัดตัว I หรื
อตัว C

1 : มี
ค
า S xมากกว
าค
า Zx โดยขึ
น กับประเภทของหน
้ าตัดคาน และระยะค้
ายัน ทางข
ํ าง
2 : มี
ค
า S x มากกว
าค
า Zx โดยขึ
น กับประเภทของหน
้ าตัดคาน แต
ไม
ขึ
น กับระยะค้
้ ายัน ทางข
ํ าง
3 : มี
ค
า S x น
อยกว
าค
า Zxโดยขึ
น กับประเภทของหน
้ าตัดคาน และระยะค้
ายัน ทางข
ํ าง
4 : มี
ค
า S x น
อยกว
าค
า Zx โดยขึ
น กับประเภทของหน
้ าตัดคาน แต
ไม
ขึ
น กับระยะค้
้ ายัน ทางข
ํ าง

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

93 : คานเหล็
กรู
ปพรรณที
มี
่หน
าต
ดแบบคอมแพค แต
มี
ระยะค้
ายัน ที
ํ ป
่กรับแรงอัดไม
พอเพี
ยง ถ
าคานนี
รับน้
้ าหนักบรรทุ
ํ กใช
งาน ค
าหน
วยแรงดัดสู
งสุ
ดรอบแกนหลักที
ยอมให
่ คื

1 : 0.75F y

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 17/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
2 : 0.66F y
3 : 0.60F y
4 : 0.40F y

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

94 : คานเหล็
กรู
ปพรรณที
มี
่หน
าต
ดแบบคอมแพคบางส
วน และมี
ระยะค้
ายัน ที
ํ ป
่กรับแรงอัดพอเพี
ยง ถ
าคานนี
รับน้
้ าหนักบรรทุ
ํ กใช
งาน ค
าหน
วยแรงดัดสู
งสุ
ดรอบแกนรองที
ยอมให

คื

1 : 0.75F y
2 : 0.66F y
3 : 0.60F y
4 : 0.40F y

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

95 : คานเหล็
กรู
ปพรรณที
มี
่หน
าต
ดแบบคอมแพคบางส
วน และมี
ระยะค้
ายัน ที
ํ ป
่กรับแรงอัดพอเพี
ยง ถ
าคานนี
รับน้
้ าหนักบรรทุ
ํ กใช
งาน ค
าหน
วยแรงดัดรอบแกนหลักที
ยอมให
่ คื

1 : 0.75F y
2 : 0.66F y
3 : 0.60F y
4 : ไม
มี
ข
อใดถู
กต
อง

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที
่96 : คานเหล็
กรู
ปพรรณที
มี
่หน
าต
ดแบบคอมแพคบางส
วน และมี
ระยะค้
ายัน ที
ํ ป
่กรับแรงอัดไม
พอเพี
ยง ถ
าคานนี
รับน้
้ าหนักบรรทุ
ํ กใช
งาน ค
าหน
วยแรงดัดสู
งสุ
ดรอบแกนรองที
ยอม

ให
คื

1 : 0.75F y
2 : 0.66F y
3 : 0.60F y
4 : 0.40F y

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที่97 : คานเหล็
กรู
ปพรรณที
มี
่หน
าต
ดแบบคอมแพค และมี
ระยะค้
ายัน ที
ํ ป
่กรับแรงอัดอย
างพอเพี
ยง ถ
าคานนี
รับน้
้ าหนักบรรทุ
ํ กประลัย ค
ากํ
าลังรับโมเมนต
ดัดประลัยสู
งสุ
ดรอบแกน
หลัก คื

1 : 0.85ZxF y
2 : 0.90ZxF y
3 : ZxF y
4 : ZyF y

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

98 : คานเหล็
กรู
ปพรรณที
มี
่หน
าต
ดแบบคอมแพค และมี
ระยะค้
ายัน ที
ํ ป
่กรับแรงอัดไม
พอเพี
ยง ถ
าคานนี
รับน้
้ าหนักบรรทุ
ํ กประลัย ค
ากํ
าลังรับโมเมนต
ดัดประลัยสู
งสุ
ดรอบแกนรอง
คื

1 : 0.85ZyF y
2 : 0.90ZyF y
3 : ZxF y
4 : ZyF y

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที่99 :
เสาเหล็กรูปพรรณเชื
อมติ
่ ดกับแผ
น เหล็
กรองรับโมเมนต
ดัดใช
งานรอบแกนหลัก = 5.625 ตัน -เมตร สู
ตอม
 อคอนกรี
ต จงประมาณจํ
านวน anchored bolt ขนาด Ø 20 มม. ที
ต
่องใช
แต
ละข
างของป
กเสา โดยพิ
จารณาว
า anchored bolt เป
น ตัวช
วยต
านแรงดึ
งที
เกิ
่ ดจากโมเมนต
ดัดนั้
น อย
างเดี
ยวโดยมี
หน
วยแรงดึ
งใช
งานที ตัวละ 1200 กก/ซม.2
ยอมให

1 : ใช
ข
างละ 5 ตัว
2 : ใช
ข
างละ 4 ตัว
3 : ใช
ข
างละ 3 ตัว
4 : ใช
ข
างละ 2 ตัว

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 18/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

ข
อที
่100 : คานเหล็
กช
วงเดี
ยวธรรมดา ยาว L เซนติ
่ เมตร รับน้
าหนักบรรทุ
ํ กใช
งานแบบแผ
ส ม่
าเสมอเท
ํ ากับ w กก./เซนติ
เมตร ถ
าต
องการไม
ให
คานโก
งตัวที
กึ
่งกลางคานเกิ
่ น กว

1/300 ของช
วงความยาว จงประมาณค
าอย
างน
อยของอัตราส
วนระหว
างความลึ
กต
อของช
วงความยาว กํ
าหนดให
E เป
น โมดู
ลัส ยื
ดหยุ
น หน
 น กก./ ซม.2 และ 0.6F y เป
วยเป น หน
วย
แรงดัดที
ยอมให
่ หน น กก./ ซม.2
วยเป

1 : d/L = 22.5F y/E


2 : d/L = 30F y/E
3 : d/L = 37.5F y/E
4 : d/L = 45F y/E

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที
่101 : คานเหล็
กช
วงเดี
ยวธรรมดา ยาว L เซนติ
่ เมตร รับน้
าหนักบรรทุ
ํ กใช
งานแบบแผ
ส ม่
าเสมอเท
ํ ากับ w กก./เซนติ
เมตร ถ
าต
องการไม
ให
คานโก
งตัวที
กึ
่งกลางคานเกิ
่ น กว

1/240 ของช
วงความยาว จงประมาณค
าอย
างน
อยของอัตราส
วนระหว
างความลึ
กต
อของช
วงความยาว กํ
าหนดให
E เป
น โมดู
ลัส ยื
ดหยุ
น หน
 น กก./ ซม.2 และ 0.6F y เป
วยเป น หน
วย
แรงดัดที
ยอมให
่ หน น กก./ ซม.2
วยเป

1 : d/L = 22.5F y/E


2 : d/L = 30F y/E
3 : d/L = 37.5F y/E
4 : d/L = 45F y/E

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที
่102 : คานเหล็
กช
วงเดี
ยวธรรมดา ยาว L เซนติ
่ เมตร รับน้
าหนักบรรทุ
ํ กใช
งานแบบแผ
ส ม่
าเสมอเท
ํ ากับ w กก./เซนติ
เมตร ถ
าต
องการไม
ให
คานโก
งตัวที
กึ
่งกลางคานเกิ
่ น กว

1/360 ของช
วงความยาว จงประมาณค
าอย
างน
อยของอัตราส
วนระหว
างความลึ
กต
อของช
วงความยาว กํ
าหนดให
E เป
น โมดู
ลัส ยื
ดหยุ
น หน
 น กก./ ซม.2 และ 0.6 F y เป
วยเป น หน
วย
แรงดัดที
ยอมให
่ หน น กก./ ซม.2
วยเป

1 : d/L = 22.5 F y/E


2 : d/L = 30 F y/E
3 : d/L = 37.5 F y/E
4 : d/L = 45 F y/E

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

103 : คานเหล็
กยื
น ช
่ วงยาว L เซนติ
เมตร รับน้
าหนักบรรทุ
ํ กแบบจุ
ดเท
ากับ W กก.ที
ปลายคาน ถ
่ าต
องการไม
ให
ปลายคานโก
งตัวเกิ
น กว
า1/200 ของช
วงความยาว จงประมาณ
ค
าอย
างน
อยของอัตราส
วนระหว
างความลึ
กต
อของช
วงความยาว กํ
าหนดใหE เป
น โมดู
ลัส ยื
ดหยุ
น หน
 น กก./ซม.2และ0.6Fyเป
วยเป น หน
วยแรงดัดที
ยอมให
่ หน น กก./ซม.2และ
วยเป
ไม
คิ
ดน้
าหนักของคาน(ค
ํ าการโก ปลายคาน = WL3/3EI)
งตัวที

1 : d/L = 72F y/E


2 : d/L = 80F y/E
3 : d/L = 96F y/E
4 : d/L = 120F y/E

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที
่104 : คานเหล็
กยื
น ช
่ วงยาว L ซม. รับน้
าหนักบรรทุ
ํ กแบบจุ
ดเท
ากับ W กก. ที
ปลายคาน ถ
่ าต
องการไม
ให
ปลายคานโก
งตัวเกิ
น กว
า 1/300 ของช
วงความยาว จงประมาณค

อย
างน
อยของอัตราส
วนระหว
างความลึ
กต
อของช
วงความยาว กํ
าหนดให
E เป
น โมดู
ลัส ยื
ดหยุ
น หน
 น กก./ซม.2 และ 0.6F y เป
วยเป น หน
วยแรงดัดที
ยอมให
่ หน น กก./ซม.2 และ
วยเป
ไม
คิ
ดน้
าหนักของคาน (ค
ํ าการโก ปลายคาน = WL3/3EI
งตัวที

1 : d/L = 72 F y/E
2 : d/L = 80 F y/E
3 : d/L = 96 F y/E
4 : d/L = 120 F y/E

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที
่105 : คานเหล็
กยื
น ช
่ วงยาว L ซม. รับน้
าหนักบรรทุ
ํ กแบบจุ
ดเท
ากับ W กก. ที
ปลายคาน ถ
่ าต
องการไม
ให
ปลายคานโก
งตัวเกิ
น กว
า 1/240 ของช
วงความยาว จงประมาณค

อย
างน
อยของอัตราส
วนระหว
างความลึ
กต
อของช
วงความยาว กํ
าหนดให
E เป
น โมดู
ลัส ยื
ดหยุ
น หน
 น กก./ซม.2 และ 0.6F y เป
วยเป น หน
วยแรงดัดที
ยอมให
่ หน น กก./ซม.2 และ
วยเป
/3EI)
ไม
คิ
ดน้
าหนักของคาน (ค
ํ าการโก ปลายคาน = WL3
งตัวที

1 : d/L = 72F y/E


2 : d/L = 80F y/E
3 : d/L = 96F y/E
4 : d/L = 120F y/E

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ขอที
่106 : คานเหล็กรู
ปพรรณทํ าดวยเหล็
กชนิด A36 ยาว 5.00 เมตร ปลายคานทั้
งสองเป
น แบบยึ
ดแนน และมี
ค้
ายัน ทางข
ํ างตรงกึงกลางคาน ถ
่ าเลือกใช
หนาตัดแบบคอมแพคและ
ระยะค้
ายัน Lb นั้
ํ น พอดี
เท
ากับระยะ Lp ที
ทํ
่ าให
คานสามารถต านโมเมนตได
ถึ
งโมเมนต
ดัดพลาสติก (Mp) จงหาน้
าหนักบรรทุ
ํ กประลัย wu แบบแผ
ส ม่
าเสมอ (รวมน้
ํ าหนักคานแล
ํ ว) ที

สามารถรับได

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 19/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1 : wu = 12.0(Zx) กก./เมตร
2 : wu = 10.8(Zx) กก./เมตร
3 : wu = 8.0(Zx) กก./เมตร
4 : wu = 7.2(Zx) กก./เมตร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

107 : คานเหล็
กรู
ปพรรณรู
ปตัด W ช
วงเดี
ยว ยาวเท
ากับ L เมตร รับน้
าหนักบรรทุ
ํ กแบบแผ
ใช
งาน w กก./เมตร (รวมน้
าหนักคานแล
ํ ว) ตลอดความยาวคาน และรับโมเมนต
ดัดใช
ดลบ M = wL2 /18 กก.-เมตร ตรงปลายคานที
งานชนิ เคลื
่ อนที
่ ไม
่ ไดถ
าคานนี
มี
้พื
น ที
้ หน
่ าตัดของแผ ากับ A w ซม.2 และมี
น Web เท ค
า elastic section modulus : S x เท
ากับ
4Aw ซม.3 หากสมมุ
ติ
ว
าหน
าตัดคานเป
น แบบคอมแพคและถื
อว
ามี
ค้
ายัน ทางข
ํ างพอเพี
ยง จงหาความยาว L ของคานนี

เพื
อให
่ หน
วยแรงดัดที
เกิ
่ ดขึ
น มี
้ ค
าพอดี
เท
ากับหน
วยแรงดัดที

ยอมให
และหน
วยแรงเฉื
อนที
เกิ
่ ดขึ
น มี
้ ค
าพอดี
เท
ากับหนึ
งในแปดของหน
่ วยแรงเฉื
อนที
ยอมให

1 : L = 2.75 เมตร
2 : L = 3.00 เมตร
3 : L = 3.25 เมตร
4 : L = 3.50 เมตร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

108 : ลักษณะวิ
บัติ
ข องส
วนโครงสร
าง คาน-เสา คื

1 : อาจเกิ
ดการโกงเดาะเฉพาะแหงของแตละชิน ส
้ วนทีประกอบเป
่ น หน
าตัด
2 : อาจเกิ
ดจากสวนโครงสรางโกงเดาะทางขางอยางเดี
ยว
3 : อาจเกิ
ดการบิ
ดและโก งทางขาง
4 : อาจเกิ
ดการโกงเดาะเฉพาะแหง การโก
งเดาะทางข างหรื
อชิ
น ส
้ วนโครงสรางถู
กบิ
ดและโก
งทางข
าง

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ขอที่109 : โครงเฟรม portal 2 โครง มี


ลักษณะช
วงเดี
ยว ชั้
น เดี
ยว และจุ
ดรองรับทั้
งสองข
างเป
น แบบ fixed เหมื
อนกัน ถ
าโครงเฟรม “ก” มี
แรงอัดบนหัวเสาแตละข
างซึ
งมี
่ ค
าเท
ากัน
และมีน้าหนักบรรทุ
ํ กแบบแผ ส ม่
าเสมอตลอดความยาวคาน ส
ํ วนโครงเฟรม “ข“ มี
แรงอัดบนหัวเสาแตละข
างซึ งมี
่ ค
าเท
ากัน แต
มี
น้าหนักบรรทุ
ํ กแบบจุดกระทําเยื
องจากกึ
้ งกลางคาน ดัง

นั้
น จะพบว า

1 : เสาในโครงเฟรมทั้
งสองมีการเซ
2 : เสาในโครงเฟรมทั้
งสองไม มี
การเซ
3 : เสาในโครงเฟรม “ก” มี
การเซ แตเสาในโครงเฟรม “ข” ไม
มี
การเซ
4 : เสาในโครงเฟรม “ข” มี
การเซ แตเสาในโครงเฟรม “ก” ไม
มี
การเซ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

110 : ชิ
น ส
้ วนโครงสร
าง คาน-เสา ปลายทั้
งสองข
างยึ
ดหมุ
น รับแรงอ
ดและโมเมนต
ดัดรอบแกนหลัก ถ
าพบว
าค
า f a/F a = 0.12 จงประมาณค
าหน
วยแรงดัดสู
งสุ
ดที
ชิ
่น ส
้ วนนี

สามารถรับได
กํ Fbx = 1500 กก./ซม. 2
าหนดให

1 : fbx = 1400 กก./ ซม. 2


2 : fbx = 1300 กก./ ซม. 2
3 : fbx = 1200 กก./ ซม. 2
4 : fbx = 1100 กก./ ซม. 2

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที
่111 : ชิ
น ส
้ วนโครงสร
าง คาน-เสา ปลายทั้
งสองข
างยึ
ดหมุ
น รับแรงอ
ดและโมเมนต
ดัดรอบแกนหลัก ถ
าพบว
าค
า fa/F a = 0.50 และตัวประกอบขยายค
าโมเมนต
ดัดรอบแกน
หลัก = 1.20 จงประมาณค
าหน
วยแรงดัดสู
งสุ
ดที
ชิ
่น ส
้ วนนี
ส ามารถรับได
้ กํ Fbx = 1350 กก./ ซม. 2
าหนดให

1 : fbx = 560 กก./ ซม. 2


2 : fbx = 620 กก./ ซม. 2
3 : fbx = 680 กก./ ซม. 2
4 : fbx = 750 กก./ ซม. 2

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที
่112 : ชิ
น ส
้ วนโครงสร
าง คาน-เสา ปลายทั้
งสองข
างยึ
ดหมุ
น รับแรงอ
ดและโมเมนต
ดัดรอบแกนหลักและแกนรอง พบว
าค
า fbx/F bx = 0.60 และค
า f by/F by = 0.20 โดยที

ตัวประกอบขยายค
าโมเมนต
ดัดรอบแกนหลักและแกนรอง = 1.00 จงประมาณค
าหน
วยแรงอัดสู
งสุ
ดที
ชิ
่น ส
้ วนนี
ส ามารถรับได
้ กํ Fa = 1000 กก./ ซม. 2
าหนดให

1 : fa = 150 กก./ ซม.2

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 20/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
2 : fa = 200 กก./ ซม.2
3 : fa = 300 กก./ ซม.2
4 : fa = 600 กก./ ซม.2

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

113 : คานช
วงเดี
ยวธรรมดา รับน้
่ าหนักแบบจุ
ํ ดซึ
งกระทํ
่ าบนหลังคานและมี
แนวเอี
ยงกับแกนหลักของคาน ฉะนั้

1 : คานต
องรับโมเมนต
ดัดรอบแกนหลัก และโมเมนต
บิ

2 : คานต
องรับโมเมนต
ดัดรอบแกนหลัก และรอบแกนรอง
3 : คานต
องรับโมเมนต
ดัดรอบแกนรอง และโมเมนต
บิ

4 : คานต
องรับโมเมนต
ดัดรอบแกนหลักและรอบแกนรอง รวมทั้
งโมเมนต
บิ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

114 : คานช
วงเดี
ยวธรรมดา รับน้
่ าหนักแบบจุ
ํ ดซึ
งกระทํ
่ าผ
านศู
น ย
กลางแรงเฉื
อน (shear center) แต
มี
แนวเอี
ยงกับแกนหลักของคาน ฉะนั้

1 : คานต
องรับโมเมนต
ดัดรอบแกนหลัก และโมเมนต
บิ

2 : คานต
องรับโมเมนต
ดัดรอบแกนหลัก และรอบแกนรอง
3 : คานต
องรับโมเมนต
ดัดรอบแกนรอง และโมเมนต
บิ

4 : คานต
องรับโมเมนต
ดัดรอบแกนหลักและรอบแกนรอง รวมทั้
งโมเมนต
บิ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

115 : สัญลักษณ
W400 x 172 หมายถึ
งอะไร

1 : เหล็
กรู
ปพรรณที
มี
่รู
ปตัดแบบป
กกว
าง ที
มี
่ความลึ
กระบุ400 มม. และมีน้
าหนัก 172 กก/ม.

2 : เหล็
กรู
ปพรรณที
มี
่รู
ปตัดแบบป
กกว
าง ที
มี
่ป
กกว
างเท
ากับ 400 มม. และมี
น้
าหนัก 172 กก/ม.

3 : เหล็
กรู
ปพรรณที
มี
่รู
ปตัดแบบป
กกว
าง ที
มี
่ความลึ
กระบุ172 มม. และมีน้
าหนัก 400 กก/ม.

4 : เหล็
กรู
ปพรรณที
มี
่รู
ปตัดแบบป
กกว
าง ที
มี
่ป
กกว
างเท
ากับ 172 มม. และมี
น้
าหนัก 400 กก/ม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที่116 : หนาตัดคาน W350 x 49.6 เกณฑ
ข องแผ
น ตั้
ง (web) มี
ค
าเท
าใด ผ
านเกณฑ3.76*(E/Fy)^0.5 หรื
อไม
เมื
อกํ
่ าหนดให
d = 350 มม. bf = 175 มม. tf = 11 มม. tw = 7
มม. Fy = 2500 ksc E = 2000000 ksc

าน)
1 : 2 (ผ
าน)
2 : 25 (ผ
าน)
3 : 50 (ผ
าน)
4 : 150 (ผ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที่
117 : คานเหล็
กซึงเป
่ น เหล็
กโครงสร
าง A36 เมื
อทํ
่ าการตรวจสอบแล
วพบว
าเป
น หน
าตัดอัดแน
น และมี
ค้
ายัน ด
ํ านข
างเพี
ยงพอ ต
องรับโมเมนต
กระทํ
าเท
ากับ 18000 kg-m ท
าน
จะใช
หน
าตัดขนาดเทาไหร
จึ
งจะปลอดภัยและประหยัดทีสุ
่ด ตามวิ
ธีASD

1 : W250 x 72.4, Sx = 867 ซม. 3


2 : W300 x 94, Sx = 1360 ซม. 3
3 : W350 x 49.6, Sx = 775 ซม. 3
4 : W400 x 66, Sx = 1190 ซม. 3

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

118 : ค
า Cb (Liberalizing modified factor) ในการคํ
านวณออกแบบคานตามวิ
ธี
ASD มี
ค
าอยู
ในช
 วงใด

1 : 0.5 ถึ
ง 1.5
2 : 0.75 ถึ
ง 1.8
3 : 1.0 ถึ
ง 2.3
4 : 1.25 ถึ
ง 2.5

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที
่119 : คานเหล็
กโครงสร
างชนิ
ด A36 เป
น หน
าตัดอัดแน
น ป
กรับแรงอัดมี
คํ
ายัน เพี
ยงพอ หน
าตัดคานนี

มี า S x = 1670 ซม. 3 ถามว
ค าคานนี
จะสามารถรับโมเมนต
้ สู
งสุ
ดได
เท

ไหร
ตามวิธีASD

1 : 23545 kg-m
2 : 25050 kg-m
3 : 27555 kg-m
4 : 28835 kg-m

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

120 : คานไม
แปรรู
ปช
วงเดี
ยวธรรมดา มี
่ รู
ปตัดสี
เหลี
่ ยมผื
่ น ผ
า รับน้
าหนักบรรทุ
ํ กแบบแผ
ส ม่
าเสมอตลอดความยาวคาน ถ
ํ าให
Fb เป
น หน
วยแรงดัดที
ยอมให
่ ข องไม
E เป
น โมดู
ลัส
ยื
ดหยุน ของไม
 และให
การโก
งตัวที
ยอมให
่ ไม
เกิ
น กว
า 1/300 ของช
วงความยาวคาน ดังนั้
น ควรเลื
อกใช
ไม
แปรรู
ปที
มี
่ค
าอัตราส
วนระหว
างความลึ
กต
อความยาวคานอย
างน
อยประมาณ
เท
ากับ

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 21/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1 : 41.5 F b/E
2 : 50.0 F b/E
3 : 62.5 F b/E
4 : 75.0 F b/E

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

121 : คานไม
แปรรู
ปช
วงเดี
ยวธรรมดา มี
่ รู
ปตัดสี
เหลี
่ ยมผื
่ น ผ
า รับน้
าหนักบรรทุ
ํ กแบบแผ
ส ม่
าเสมอตลอดความยาวคาน ถ
ํ าให
Fb เป
น หน
วยแรงดัดที
ยอมให
่ ข องไม
E เป
น โมดู
ลัส
ยื
ดหยุน ของไม
 และให
การโก
งตัวที
ยอมให
่ ไม
เกิ
น กว
า 1/240 ของช
วงความยาวคาน ดังนั้
น ควรเลื
อกใช
ไม
แปรรู
ปที
มี
่ค
าอัตราส
วนระหว
างความลึ
กต
อความยาวคานอย
างน
อยประมาณ
เท
ากับ

1 : 41.5 F b/E
2 : 50.0 F b/E
3 : 62.5 F b/E
4 : 75.0 F b/E

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที่
122 : คานเหล็กรู
ปพรรณ ยาว 6.00 เมตร ทํ
าดวยเหล็
กทีมี
่ F y = 3000 ksc. ปลายคานทั้
งสองข
างเป
น แบบยึ
ดแน
น ถ
าเลื
อกใช
รู
ปตัดแบบไม
คอมแพคแต
ระยะค้
ายัน ทางข
ํ างพอ
เพี
ยง จงหาน้าหนักบรรทุ
ํ กแผส ม่
าเสมอ (รวมน้
ํ าหนักคานแล
ํ ว) w ที
ส ามารถรับได
่ ตามวิ
ธีASD

1 : w = 4.0(Sx) กก./เมตร
2 : w = 6.0(Sx) กก./เมตร
3 : w = 6.6(Sx) กก./เมตร
4 : w = 7.5(Sx) กก./เมตร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที
่123 : คานเหล็
กรู
ปพรรณชนิด A36 ขนาด W600x106 (t f = 1.7 ซม., r = 2.2 ซม.) ถ
ายแรงปฏิ
กิ
ริ
ยาประลัย R u = 50 ตัน ให
กับหัวเสา คสล. (f c‘ = 250 ksc.) โดยใช
แผ

เหล็
กชนิ
ด A36 ขนาด BxN = 30x30 ซม. รองใต
คาน ซึ
งคลุ
่ มเต็
มเนือที
้ ข องหัวเสา จงประมาณความหนาของแผ
่ น เหล็
กรองนี้
ตามวิ ธี
AISC/LRFD

1 : 10 มม.
2 : 20 มม.
3 : 25 มม.
4 : 30 มม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

124 : พบว
าคานเหล็
กรู
ปพรรณชนิ
ด A36 ขนาด W600x151 (d = 58.8 ซม. b 3
f = 30 ซม. tw = 1.2 ซม. t f = 2 ซม. S x = 4020 ซม. ) ที
มี
่หน
าตัดแบบคอมแพค ไม
ส ามารถรับ
โมเมนตดัดใชงานซึงมี
่ ค
าเท
ากับ 103 ตัน -เมตร ได
ดังนั้
น จะพิ
จารณาออกแบบแผ
น เหล็
กประกบที
แต
่ ละด
านของป
กคาน หากสมมติ
ว
าคานเหล็
กประกอบนี
ยังมี
้ หน
าตัดแบบคอมแพค
และระยะค้ายัน ทางข
ํ างพอเพียง

1 : 30 ซม. 2
2 : 35ซม. 2
3 : 40ซม. 2
4 : 45ซม. 2

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

125 : พบว
าคานเหล็
กรู
ปพรรณชนิ
ด A36 ขนาด W600x151 (d = 58.8 ซม. b 3
f = 30 ซม. tw = 1.2 ซม. t f = 2 ซม. Z x = 4308 ซม. ) ที
มี
่หน
าตัดแบบคอมแพค ไม
ส ามารถรับ
โมเมนตดัดประลัยซึงมี
่ ค
าเท
ากับ 143 ตัน -เมตร ได
ดังนั้
น จะพิ
จารณาออกแบบแผ
น เหล็
กประกบที
แต
่ ละด
านของป
กคาน หากสมมติ
ว
าคานเหล็
กประกอบนี
ยังมี
้ หน
าตัดแบบคอมแพค
และระยะค้ายัน ทางข
ํ างพอเพียง

1 : 30 ซม. 2
2 : 35 ซม. 2
3 : 40 ซม. 2
4 : 45 ซม. 2

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที ่
126 : ถ
าวางตงเหล็
กขนาด W250x72.4 (t w = 0.9 ซม., t f = 1.4 ซม., r = 1.6 ซม.) พาดระหว
างช
วงของคานเหล็
กขนาด W300x94 (t w = 1.0 ซม., t f = 1.5 ซม., r = 1.8
ซม.)

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 22/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1 : R = 30 ตัน
2 : R = 34 ตัน
3 : R = 38 ตัน
4 : R = 40 ตัน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที ่
127 : ถ
าวางตงเหล็
กขนาด W250x72.4 (t w = 0.9 ซม., t f = 1.4 ซม., r = 1.6 ซม.) พาดระหว
างช
วงของคานเหล็
กขนาด W300x94 (t w = 1.0 ซม., t f = 1.5 ซม., r = 1.8
ซม.)

1 : Ru = 34 ตัน
2 : Ru = 38 ตัน
3 : Ru = 40 ตัน
4 : Ru = 50 ตัน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

128 :
ตงไม
ช
วงเดี
ยวธรรมดายาว 4.00 เมตร วางห
่ างกันทุ
กระยะ 40 ซม. เพื
อรองรับพื
่ นและน้
้ าหนักบรรทุ
ํ กจรใช
งานเท
ากับ 200 กก./ม.2 (รวมน้
าหนักตงแล
ํ ว)
จงหาขนาดตงไม(ไม
ไส) ที
ประหยัด กํ
่ าหนดใหหนวยแรงดัดที
ยอมให
่ เท
ากับ 150 กก./ซม.2

1:
2”x6”
2: 2”x4”
3:
1.5”x5”
4:
1.5”x3”
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 23/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

ข
อที

129 :
ตงไม
ขนาด 1 ”x5” (ไม
ไส) ช
วงเดี
ยวธรรมดายาว 3.00 เมตร วางห
่ างกันทุกระยะ 50 ซม. เพื
อรองรับพื
่ นและน้
้ าหนักบรรทุ
ํ กจรใช
งานเท
ากับ 200 กก./ม.2
(รวมน้
าหนักตงแล
ํ ว) จะบากปลายตงไดมากที
สุ
่ดเทาใดเพือลดระดับพื
่ นห
้ อง กํ
าหนดใหหนวยแรงเฉื
อนทียอมให
่ เท
ากับ 10 กก./ซม.2

1:
1.50 ซม.
2:
2.50 ซม.
3:
3.75 ซม.
4:
4.50 ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

130 :
คานช
วงเดี
ยวธรรมดายาว L รับน้
าหนักแบบจุ
ํ ด Pu ที
กึ
่งกลางคาน ถ
่ าคานนี
ทํ
้าค้
ายันทางข
ํ างที
ป
่กรับแรงอัดที
ปลายคานทั้
่ งสองและที
กึ
่งกลางคาน จงใช
่ วิ
ธี
LRFD หาค
าสัมประสิ
ทธิ
ของโมเมนต
์ ดัด : Cb

1:
Cb = 1.14
2:
Cb = 1.30
3:
Cb = 1.52
4:
Cb = 1.67
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

131 :
คานช
วงเดี
ยวธรรมดายาว L รับน้
าหนัก wu แบบแผ
ํ สม่
าเสมอตลอดความยาวคานและรับน้
ํ าหนักแบบจุ
ํ ด Pu = 1.5wuL ที
กึ
่งกลางคาน ถ
่ าคานนี
ทํ
้าค้
ายัน

ทางข
างที
ป
่กรับแรงอัดที
ปลายคานทั้
่ งสองเท
านั้
น จงใช
วิ
ธีLRFD หาค
าสัมประสิ
ทธิ
ของโมเมนต
์ ดัด : Cb

1:
Cb = 1.14
2:
Cb = 1.30
3:
Cb = 1.52
4:
Cb = 1.67
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

132 :
คานเหล็กรูปพรรณชนิ ด A36 (Fy = 2500 กก./ตร.ซม. E = 2x106 กก./ตร.ซม.) ชวงเดี
ยวธรรมดา ยาว 5.00 เมตร รูปตัด W 300x36.7 (compact section d = 30 ซม. bf =
3
15 ซม. tf = 0.9 ซม. SX = 481 ซม. ระยะ LC = 1.88 เมตร) มี ค้
ายันทางข
ํ างดานรับแรงอัดที
ปลายคานเท
่ านั้
น จงใช
วิธีASD ประมาณค าโมเมนต
ดัดใชงานทีคานนี
่ สามารถ

รับไดกํ
าหนดให คา Cb = 1.00
สูตรคํ
านวณหาหน วยแรงดัดทียอมให
่ รอบแกนหลัก Fbx (เมื
อระยะค้
่ ายัน L > ระยะ Lc)

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 24/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1:
7215 กก.- เมตร
2:
7100 กก.- เมตร
3:
3585 กก.- เมตร
4:
3465 กก.- เมตร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

133 :
คานเหล็ กรูปพรรณ (Fy = 3000 กก./ตร.ซม. E = 2x106 กก./ตร.ซม.) ชวงเดี
ยวธรรมดา ยาว 5.00 เมตร รู
ปตัด W 350x49.6 (compact section d = 35 ซม. bf = 17.5
3
ซม. tf = 1.1 ซม. SX = 775 ซม. ระยะ LC = 2.00 เมตร) มี
ค้
ายันทางข
ํ างด
านรับแรงอัดที
ปลายคาน และที
่ กึ
่งกลางคาน จงใช
่ วิ
ธีASD ประมาณค าโมเมนต
ดัดใช
งานทีคานนี
่ ้
สามารถรับได กํ
าหนดให ค
า Cb = 1.75
สู
ตรคํ านวณหาหน วยแรงดัดที
ยอมให
่ รอบแกนหลัก Fbx (เมื
อระยะค้
่ ายัน L > ระยะ Lc)

1:
9880 กก.- เมตร

2:
13475 กก.- เมตร

3:
13950 กก.- เมตร

4:
7525 กก.- เมตร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

เนื
อหาวิ
้ ชา : 543 : Built-up members, plate girders

ข
อที

134 : ข
อใดไม
ใช
หน
าที
ข องเหล็
่ กเสริ
มข
างคาน Stiffenersของคานเหล็
กประกอบ

1 : เพื
อป
่ องกัน การโก
งงอ (Buckling) ของเหล็กป กคาน (Flange)
2 : เพื
อป
่ องกัน การโก
งงอ (Buckling) ของเหล็กแผ น ตั้
ง (Web)
3 : เพื
อเพิ
่ มความสามารถในการรับแรงของจุ
่ ดรองรับ (Support)
4 : เพื
อรองรับและกระจายน้
่ าหนักแบบจุ
ํ ด (Point Load) ลงบนตัวคาน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

135 : หน
าที
สํ
่าคัญของเหล็
กเสริ
มข
างคานแบบไม
รับแรงกด (Intermediate stiffeners) ในคานเหล็
กประกอบคื

1 : เพื
อป
่ องกัน การโก
งงอ (Buckling) ของเหล็
กป
กคาน (Flange)
2 : เพื
อป
่ องกัน การโก
งงอ (Buckling) ของเหล็
กแผ
น ตั้
ง (Web)
www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 25/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
3 : เพื
อเพิ
่ มความสามารถในการรับแรงเฉื
่ อนของเหล็ กแผ
น ตั้
ง (web)
4 : เพื
อรองรับและกระจายน้
่ าหนักแบบจุ
ํ ด (Point Load)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

136 : ข
อใดไม
ใช
ลักษณะการวิ
บัติ
ข องคานเหล็

1 : การบิ
ดและโกงตัวทางข
าง
2 : การโก
งเดาะบริ
เวณปกดานทีรับแรงอัด

3 : การโก
งเดาะบริ
เวณปกดานทีรับแรงดึ
่ ง
4 : การโก
งเดาะบริ
เวณแผน ตั้
งที
รับแรงอัด

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที่
137 : เสาประกอบ แบบ Solid core ดังรู ป เสาแกน 4 นิว x 4 นิ
้ ว (ไม
้ ไส)
ไม
ป
ดรอบขนาด 2 นิ ว x 6 นิ
้ ว (ไม
้ ไส) ถ
าเสานีมี
้ปลายทั้งสองเปน แบบยึ ดหมุ
น ยาวเท
ากับ 3.0 ม.
ให
หากําลังรับแรงอัดปลอดภัยของเสาประกอบต น นี

สมมติหนวยแรงอัดขนานเสี ยนที
้ ยอมให
่ = 90 ksc
และให
ตัวคูณประกอบสํ าหรับเสาประกอบต น นี
เท
้ ากับ 0.71

1 : 12 ตัน
2 : 22 ตัน
3 : 32 ตัน
4 : ไม
มีคําตอบที
ถู
่ก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที่138 : จงคํานวณหาความกวางของแผ
น เหล็
กซึ
งหนา 10 มม.ที
่ ใช
่ เชื
อมเสริ
่ มป
กคาน W 300x87 ทั้
งสองด
าน เพื
อให
่ ส ามารถรับกํ
าลังดัดได
เท
ากับคาน W350x131 และเหล็

ทั้
งสองชนิดเป
น เหล็
ก ASTM A36

1 : 30 cm.
2 : 32.5 cm.
3 : 35 cm.
4 : 37.5 cm.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

139 : ในการออกแบบคานเหล็
กประกอบขนาดใหญ
(Plate Girder) เพื
อต
่ านทานแรงกดแบบจุ
ดที
กระทํ
่ า จะต
องทํ
าอย
างไร

1 : เสริ
มเหล็
กป
กบน
2 : เสริ
มเหล็
กป
กล
าง
3 : เสริ
มเหล็
กข
างคานแบบ bearing stiffener
4 : เสริ
มเหล็
กข
างคานแบบ non-bearing stiffener

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

140 : ในการออกแบบคานเหล็
กประกอบขนาดใหญ
(Plate Girder) กรณี
จํ
ากัดความลึ
ก จะต
องทํ
าอย
างไร

1 : เสริ
มเหล็
กป
กบนและล าง (Flange)
2 : เสริ
มเหล็
กแผ
น ตั้
ง (Web)
3 : เสริ
มเหล็
กข
างคานเป น ระยะ ๆ (Stiffener)
4 : ถู
กทุกข

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

141 : ในการออกแบบคานเหล็
กประกอบขนาดใหญ
ถ
า h/tw > 200 จะต
องทํ
าอย
างไร

1 : เสริ
มเหล็
กป
กคาน
2 : เสริ
มเหล็
กข
างคานแบบรับแรงกด

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 26/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
3 : เสริ
มเหล็
กข
างคานแบบไมรับแรงกด
4 : เสริ
มเหล็
กข
างคานแบบรับแรงเฉือน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

142 : หน
วยแรงกดที
กระทํ
่ าต
อเหล็
กเสริ
มข
างคาน (Stiffener) ของคานเหล็
กประกอบขนาดใหญ
ตามวิ
ธี
AISC/ASD ต
องมี
ค
าไม
เกิ
น เท
าใด

1 : 0.70F y

2 : 0.90F y

3 : 0.60F y
4 : 0.50F y

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

143 : ในการต
อเหล็
กเสริ
มข
างคานกับเหล็
กแผ
น ตั้
งของคานเหล็
กประกอบขนาดใหญ
ระยะช
องว
างของการเชื
อมแบบเว
่ น ระยะต
องไม
เกิ
น เท
าใด

1 : 15 cm
2 : 20 cm
3 : 25 cm
4 : 30 cm

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

144 : ในการต
อเหล็
กเสริ
มข
างคานกับเหล็
กแผ
น ตั้
งของคานเหล็
กประกอบขนาดใหญ
ระยะระหว
างศู
น ย
กลางของสลักเกลี
ยวต
องไม
เกิ
น เท
าใด

1 : 15 cm
2 : 20 cm
3 : 26 cm
4 : 30 cm

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

145 : กรณี
ใดไม
จํ
าเป
น ต
องใช
เหล็
กเสริ
มข
างคานของคานเหล็
กประกอบขนาดใหญ
เมื
อเป
่ น อย
างไร

1 : อัตราส
วน h/tw < 260 และสามารถรับแรงเฉือนได
2 : อัตราส
วน h/tw > 260 และสามารถรับแรงเฉือนได
3 : อัตราส
วน h/tw < 2.60 และสามารถรับแรงเฉือนได
4 : อัตราส
วน h/tw > 2.60 และสามารถรับแรงเฉือนได

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

146 : ในการออกแบบ Plate Girder แรงประเภทใดไม
ก
อให
เกิ
ดป
ญหากับเหล็
กแผ
น ตั้

1 : แรงอัด
2 : แรงดึงทแยง
3 : แรงดัด
4 : แรงบิด

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

147 : พฤติ
กรรมสมมุ
ติ
ที
ให
่ เหล็
กแผ
น ตั้
งรับเฉพาะแรงดึ
งในแนวทแยงภายหลังการโก
งงอ เรี
ยกว

1 : Compression field action


2 : Tension field action
3 : Torsion field action
4 : Bending field action

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

148 : กรณี
ต
องเสริ
มเหล็
กข
างคานแบบไม
รับแรงกดของคานเหล็
กประกอบขนาดใหญ
เมื
อเป
่ น อย
างไร

1 : อัตราส
วน h/tw < 260 และสามารถรับแรงเฉือนได
2 : อัตราส
วน h/tw > 260 และสามารถรับแรงเฉือนได
3 : อัตราส
วน h/tw < 2.60 และสามารถรับแรงเฉือนได
4 : อัตราส
วน h/tw > 2.60 และสามารถรับแรงเฉือนได

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

149 : จุ
ดประสงค
ข องการเสริ
มเหล็
กข
างคานแบบไม
รับแรงกด (non-bearing stiffener) คื

1 : เพิ
มสติ
่ ฟเนสให กับคาน ช
วยลดการโก
งตัว
2 : เพิ
มกํ
่ าลังรับโมเมนตให
มากขึ


3 : เพิ
มกํ
่ าลังรับแรงเฉือนให
มากขึ


4 : เพิ
มกํ
่ าลังรับแรงกดใหมากขึ


www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 27/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

150 : ในการออกแบบคานเหล็
กประกอบธรรมดา (built-up beams) เพื
อรับโมเมนต
่ ดัด M อาจประมาณเนื
อที
้ หน
่ าตัดของแผ
น เหล็
กป
กคาน (A f) แต
ละด
าน ตามวิ
ธีASD โดย
พิ
จารณาจาก (ให
F b เป
น หน
วยแรงดัดที
ยอมให
่ )

1:

2:

3:

4:

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที่151 : ในการต อแผน เหล็
กป
กคานกับเหล็
กฉากป
กคาน ถ
าแต
ละข
างของป
กคานใช
ตัวยึ
ด 2 ตัว ให
R เป
น กํ
าลังรับแรงเฉื
อนของตัวยึ
ดหนึ
งตัว หากหน
่ วยแรงเฉื
อนในแนวนอน =
VQ/I กก./ซม. ดังนั้
น ระยะหางของตัวยึ
ดตลอดความยาว คื

1 : 2RI/VQ
2 : RI/VQ
3 : RI/2VQ
4 : 4RI/VQ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ขอที
่152 : ในการต
อเหล็
กแผ
น ตั้
งกับเหล็
กฉากป
กคาน โดยใช
ตัวยึ
ดทุ
กระยะ s ดังรู
ป ถ
าน้
าหนักแผ
ํ บนป
กคาน = w กก./ซม. และให
R เป
น กํ
าลังรับแรงเฉื
อนของตัวยึ
ดหนึ
งตัว ดังนั้
่ น
ระยะ s เท
ากับ

1:

2:

3:

4:

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 28/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

ข
อที่153 : คานชวงเดี
ยวธรรมดายาว 1.80 เมตร ประกอบขึ
่ น จากไม3 แผ
้ น (แต
ละแผน มี
ข นาด 5x10 ซม.) และต
อยึ
ดกัน ด
วยกาว ซึ
งหน
่ วยแรงเฉื
อนปลอดภัยของกาวเท
ากับ 3.5
กก./ตร.ซม. จงหาแรงแบบจุด P ที
ปลอดภัยซึ
่ งกระทํ
่ าที
กึ
่งกลางช
่ วงคาน (ไม
คิ
ดน้าหนักของคาน)

1 : P = 850 กก.
2 : P = 825 กก.
3 : P = 800 กก.
4 : P = 785 กก.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

154 : ถ
าหน
าตัดของคานประกอบด
วยไม
แปรรู
ป A สี
เหลี
่ ยมผื
่ น ผ
าขนาด 5x10 ซม. และมี
แผ
น ไม
อัด B ขนาด 1.2x25 ซม. ประกบติ
ดทั้
งสองข
างของคานไม
แปรรู
ปดังแสดง จง
หากํ
าลังต
านโมเมนต
ดัดปลอดภัย กํ
าหนดให
หน
วยแรงใช A = 120 กก./ตร.ซม. EA= 8x104 กก./ตร.ซม. และหน
งานปลอดภัยของไม วยแรงใช
งานปลอดภัยของไมB = 140 กก./
ตร.ซม. EB= 1x104 กก./ตร.ซม.

1 : M = 1265 กก.-เมตร
2 : M = 1300 กก.-เมตร
3 : M = 1355 กก.-เมตร
4 : M = 1400 กก.-เมตร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ขอที่155 : คานไม ประกอบรูปกลองกลวงช


วงเดี
ยวธรรมดายาว 5.00 เมตร มีข นาดหนาตัดคานทั้
งหมดเท ากับ 6"x10" ซึ
งประกอบขึ
่ น จากไม
้ ข นาด 2"x6" ไม
ไส สี
ท
่อน โดยวางทาง
ตั้
ง 2 ทอนใหมีช
องวาง = 2" (จะได
ความกว
างทั้
งหมด = 6") แล
วป
ดด านบนและดานลางดวยไมแผน ที
เหลื
่ อ (จะไดความลึกทั้
งหมด = 10") คานไม
ประกอบรูปกล
องนี
ต
้อยึ
ดกัน ด
วย
ตะปู หากคานประกอบนี รับน้
้ าหนักบรรทุ
ํ กแบบแผส ม่
าเสมอ (รวมน้
ํ าหนักของคานแล
ํ ว) = 500 กก./ม. จงหาระยะห างอยางน
อยของตะปู ที
ต
่องใชตลอดความยาวคาน กําหนดใหตะปูมี
แรงตานทางข างตัวละ 150 กก.

1 : 5.75 ซม.
2 : 7.50 ซม.
3 : 11.50 ซม.
4 : 12.50 ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

156 :

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 29/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1 : 575 กก./เมตร
2 : 675 กก./เมตร
3 : 775 กก./เมตร
4 : 875 กก./เมตร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

157 :

1 : 1150 กก.
2 : 1240 กก.
3 : 1300 กก.
4 : 1375 กก.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

158 :

1 : 5.00 ซม.
2 : 7.50 ซม.
3 : 10.00 ซม.
4 : 12.50 ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

159 :

1 : 5.00 ซม.
2 : 7.50 ซม.
3 : 10.00 ซม.
4 : 12.50 ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที
่160 :
ถ
าคานประกอบกลวง ประกอบดวยไม
แปรรูปขนาด 5x10 ซม. จํ
านวน 2 ชิน ที
้ ด
่านบนและด านล
าง และมี
แผ
น ไม
อัดกว
าง 25 ซม. ประกบติดทั้
งสองข
างของไมแปรรู ป 2 ชิ
น ดังกล
้ าว
ซึ
งจะได
่ รู
ปตัดกลวงขนาด 10x15 ซม. ถ
าคานประกอบกลวงนีต
้ อยึ
ดกัน ด
วยกาวสังเคราะห
อย
างดี
สมมติว
าคานประกอบนี ต
้องรับโมเมนต
ดัดปลอดภัย = 1250 กก.- เมตร. จงประมาณ
ความหนาอย
างน
อยของแผ
น ไม
อัดที
ต
่องใช
ประกบติ
ดด
านข
างไม
แปรรู
ป กํ
าหนดใหหน
วยแรงดัดใช
งานของไม ป = 120 กก./ซม.2 และค
แปรรู า E = 8x10 4 กก./ซม.2 ส
วนแผ

ไม
อัดมี
หน งาน = 140 กก./ซม.2 และค
วยแรงดัดใช า E = 1x10 5 กก./ซม.2

1 : 24 มม.
2 : 20 มม.
3 : 12 มม.
4 : 10 มม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 30/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

ข
อที
่161 : การนํ
าเหล็
กเสริ
มข
างคานแบบไมรับแรงกด (intermediate stiffeners) มาใช
เพิ
มในคานเหล็
่ กรู
ปพรรณ หรื
อในคานเหล็
กประกอบ (plate girders) ซึ
งมี
่ เหล็
กเสริ
มข
าง
คานแบบรับแรงกดอยู
แล
 ว โดยมี
ข นาดตามมาตรฐานกํ าหนด มีจุ
ดประสงค เพื อให
่ คานนั้

1 : รับโมเมนตดัดไดมากขึน

2 : รับแรงเฉื
อนได มากขึน

3 : โกงตัวน
อยลง
4 : รับโมเมนตดัดและโมเนต บิ
ดได
มากขึ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที
่162 : เหล็
กเสริมขางคานแบบไม รับแรงกด (intermediate stiffeners) ที
นํ
่ามาใช
ในคานเหล็
กประกอบ (plate girders) ช
วงในๆ โดยมี
ข นาดตามมาตรฐานกํ
าหนด หากนํ

พฤติ
กรรมของ Tension Field Action มาพิจารณาด
วย จะพบว า คานเหล็ กประกอบมี
กํ
าลังต
านทานแรงเฉื
อน

1 : ลดลง
2 : เท
าเดิม
3 : มากขึน

4 : ไม
มี
ขอใดถู
กต
อง

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที
่163 : การนํ
าเหล็
กเสริ
มข
างคานแบบรับแรงกด (bearing stiffeners) มาใช
ในคานเหล็
กรู
ปพรรณ หรื
อคานเหล็
กประกอบ (plate girders) โดยมี
ข นาดตามมาตรฐานกํ
าหนด มี
จุ
ดประสงคเพื
อให
่ คานนั้

1 : รับโมเมนตดัดไดมากขึน

2 : รับแรงเฉื
อนได มากขึน

3 : โกงตัวน
อยลง
4 : ไมมี
ขอใดถู
กตอง

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ขอที่164 :
เมือนํ
่ าเหล็ กเสริมข
างคานแบบรับแรงกด (bearing stiffeners) 1 คู มาใช
ในคานเหล็กประกอบ (plate girders) ตรงบริเวณที รับน้
่ าหนักแบบจุ
ํ ด ซึ งต
่ องมี
ข นาดตามมาตรฐานกํ าหนด
สําหรับการตรวจสอบกํ าลังรับแรงกดตามข อกํ าหนดมาตรฐาน จะพิ จารณาวาเนื
อที
้ ส
่วนหนึงของแผ
่ น ปกคานรวมกับเนือที
้ ข อง bearing stiffener เสมื
่ อนเป
น เนื
อที
้ หน
่ าตัดเสาทีรับแรง

อัดตามแนวแกน
ถาใหAst เป น เนื
อที
้ หน
่ าตัดของ bearing stiffener 1 ข
าง และให
t w เป
น ความหนาของเหล็กแผ
น ตั้
ง ดังนั้
น เนื
อที
้ หน
่ าตัดทีเสมื
่ อนเปน เสาตรงบริเวณกลางช วงคานที
นํ
่ าไปพิจารณา
คื

1 : 12 tw2 + 2 Ast
2 : 25 tw2 + 2Ast
3 : 15 tw2 + 2Ast
4 : 12.5 tw2 + Ast

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที
่165 : คานเหล็
กประกอบขนาดใหญ
(plate girders) มี
รู
ปตัดตัว W ประกอบด
วยแผ
น เหล็
กป
กคานขนาด 15x450 มม. ที
แต
่ ละด
าน และเหล็
กแผ
น ตั้
งขนาด 10x1700 มม. ซึ


ทํ
าด
วยเหล็
กชนิ
ด A36 และยึ
ดต
อกัน โดยการเชื
อม จงประมาณค
่ าโมเมนต
ดัดใช
งานสู
งสุ
ดของคานนี

สมมติ
ใหา Rpg = 1 และ F b = 1400 กก./ซม. 2
ค

1 : 200 ตัน -เมตร


2 : 225 ตัน -เมตร
3 : 250 ตัน -เมตร
4 : ไม
มี
ขอใดถู ก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

166 : ถ
า Plate Girder ประกอบด
วยแผ
น เหล็
กป
กคานแต
ละด
านขนาด 40x400 มม. และเหล็
กแผ
น ตั้
ง 1 แผ
น ขนาดความลึ
กเท
ากับ 1440 มม. ต
อกัน โดยการเชื
อม ถ
่ าโมเมนต
ดัดใช
งานสู
งสุ
ดที

plate girder สามารถรับได
เท
ากับ 385 ตัน -เมตร จงหาความหนาของเหล็
กแผ
น ตั้
งที
ต
่องใช
สมมติา Rpg = 1 และ Fb = 1500 กก./ซม.2
ว

1 : 6 มม.
2 : 8 มม.
3 : 10 มม.
4 : 12 มม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที
่167 : คานเหล็
กประกอบขนาดใหญ รู
(plate girders)ยาวมากมีปตัดตัว W ประกอบด วยแผ
น เหล็
กป
กคานขนาด 15x450 มม. ที แต
่ ละด าน และเหล็กแผ
น ตั้
งขนาด 10x1700 มม.
ซึ
งทํ
่ าด
วยเหล็ กชนิ
ด A36 และยึ
ดต
อกัน โดยการเชื อม ถ
่ าคานเหล็
กประกอบนี รับน้
้ าหนักแผ
ํ ใช
งานสม่าเสมอและไม
ํ ใชintermediate stiffener เลย จงประมาณค าแรงเฉื
อนใช
งาน

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 31/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
สู
งสุ
ดที

plate girder สามารถรับได
โดยอาศัยค
าหน
วยแรงเฉื
อนใช
งานที
กํ
่าหนดไว
ในตารางข
างล
างนี

1 : 30 ตัน
2 : 33 ตัน
3 : 38 ตัน
4 : 40 ตัน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ขอที่
168 :
Plate Girder ช
วงเดียวยาว 20 เมตร รับน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กใชงานแบบแผ
ส ม่
าเสมอและน้
ํ าหนักบรรทุ
ํ กใชงานแบบจุ ดห
างจากจุดรองรับแต ละขางเปน ระยะเท
ากับ 7.00 เมตร
ถ
า Plate Girder ประกอบดวยแผ น เหล็
กปกคานแตละดานขนาด 40x400 มม. และเหล็
กแผ น ตั้
ง 1 แผน ขนาด 8x1440 มม. ตอกัน โดยการเชื อม จงประมาณค
่ าแรงเฉื
อนใช
งานสู
งสุ

ทีปลายคานของ plate girder ที
่ ส ามารถรับได
่ โดยใชจากตารางข
างล
างนี้
เมื
อใช
่ bearing stiffener เฉพาะตรงจุดทีรับน้
่ าหนักแบบจุ
ํ ดเทานั้

1 : 20.0 ตัน
2 : 18.5 ตัน
3 : 16.5 ตัน
4 : 15.0 ตัน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที
่169 : คานเหล็
กประกอบขนาดใหญ (plate girders) มี
รู
ปตัดตัว W ประกอบด
วยแผ
น เหล็
กป
กคานขนาด 15x450 มม. ที
แต
่ ละด
าน และเหล็
กแผ
น ตั้
งขนาด 10x1700 มม. ซึ


ทํ
าด
วยเหล็กชนิ
ด A36 และยึ
ดต
อกัน โดยการเชื อม

1 : 150 ซม.
2 : 140 ซม.
3 : 130 ซม.
4 : 120 ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที่170 : ถ
าต
องการใหplate girder ซึงประกอบด
่ วยแผ
น เหล็
กป
กคานแต
ละด
านขนาด 40x400 มม. และเหล็ กแผน ตั้
ง 1 แผ
น ขนาด 8x1440 มม. ต
อกัน โดยการเชื
อม รับแรง

เฉื
อนใชงานทีปลายคานเท
่ ากับ 50 ตัน จงใช
ตารางข
างล
างนี
ประมาณตํ
้ าแหน
งของ intermediate stiffener ตัวแรกว
าจะอยูห
 างจากปลายคานไดมากทีสุ
่ ดเท
าไร

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 32/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1 : 125 ซม.
2 : 120 ซม.
3 : 110 ซม.
4 : 105 ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ขอที่
171 : Plate Girder ช
วงเดี
ยวยาว 20 เมตร รับน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กใชงานแบบแผส ม่
าเสมอเท
ํ ากับ 3 ตัน /เมตร (รวมน้
าหนักคานแล
ํ ว) และรับน้
าหนักบรรทุ
ํ กใชงานแบบจุ ดเทากับ 20
ตัน ห
างจากจุ ดรองรับแตละข
างเปน ระยะเท
ากับ 7.00 เมตร
ถ
า Plate Girder ประกอบดวยแผน เหล็กปกคานแต ละดานขนาด 40x400 มม. และเหล็ กแผน ตั้
ง 1 แผ
น ขนาด 8x1440 มม. ต อกัน โดยการเชือม และมี
่ bearing stiffener ตรงจุ
ดที รับ

น้าหนักแบบจุ
ํ ด จงใชตารางขางล
างนี หาระยะของ intermediate stiffener ที
้ ต
่องใช
ระหวางจุ
ดที รับแรงแบบจุ
่ ดตรงบริเวณกลางคาน

1 : ใช
ทุ
กระยะ 3 เมตร
2 : ใช
ทุ
กระยะ 2 เมตร
3 : ใช
ทุ
กระยะ 1.5 เมตร
4 : ไม
ต
องใช
เลย เพราะเหล็
กแผ
น ตั้
งมี
กํ
าลังต
านแรงเฉื
อนพอเพี
ยง

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที่
172 : Plate Girder ประกอบดวยแผ น เหล็
กปกคานแต
ละด
านขนาด 40x400 มม. และเหล็
กแผ
น ตั้
ง 1 แผน ขนาด 8x1440 มม. ต
อกัน โดยการเชื
อม จงประมาณค
่ าเนื
อที
้ หน
่ าตัด
อย
างน
อย (min Apb) ของ bearing stiffener ทีต
่องการตรงปลายคาน สมมติ
ให
แรงปฏิกิ
ริ
ยาที
ปลายคานเท
่ ากับ 50 ตัน และเหล็
กชนิด A36

1 : 22.0 ซม. 2
2 : 18.5 ซม. 2
3 : 25.0 ซม. 2
4 : 22.5 ซม. 2

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที ่173 : Plate Girder ทํ
าด
วยเหล็กชนิ
ด A36 ประกอบด วยแผน เหล็
กปกคานแต ละด
านขนาด 50x350 มม. และเหล็กแผ
น ตั้
ง 1 แผ
น ขนาด 10x1700 มม. ต อกัน โดยการเชื
อม

และมีbearing stiffener ขนาด 12x150 มม. 1 คูตรงบริ เวณกลางคานที รับน้
่ าหนักแบบจุ
ํ ด ตามข อกํ
าหนดมาตรฐานยอมใหตรวจสอบกํ าลังรับแรงกดตรงบริ
เวณนีโดยพิ
้ จารณาว

เนื
อที
้ ส
่ วนหนึงของแผ
่ น ป
กคานรวมกับเนื
อที
้ ข อง bearing stiffener เสมื
่ อนเปน เนื
อที
้ หน
่ าตัดเสาที
รับแรงอัดตามแนวแกน โดยมี
่ อัตราส
วนความชะลู ดเท
ากับ KL/r ฉะนั้
น จงหาคา
KL/r สําหรับกรณีนี

1 : 17
2 : 19
3 : 21
4 : 25

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที่
174 : คานเหล็
กรู
ปตัด W ช
วงเดี
ยวยาว 20 เมตร ได
จากการนํ
าแผ
น เหล็
กป
กคาน 2 แผ
น ขนาด 300x25 มม. และเหล็
กแผ
น ตั้
งหนึ
งแผ
่ น ขนาด 1450x15 มม. มาใช
รับน้
าหนัก

บรรทุ
ก ในการคํ
านวณออกแบบจะพิ จารณาว
าคานนี เป
้ น

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 33/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1 : rolled beam
2 : built-up beam
3 : plate girder
4 : composite beam

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

175 : การวิ
บัติ
ข อง plate girder อัน เนื
องมาจากผลของโมเมนต
่ ดัด คื

1 : อาจเกิ
ดการครากทีป
่กรับแรงดึ
ง และโก
งเดาะที
ป
่กรับแรงอัด
2 : อาจเกิ
ดการโก
งเดาะที
เหล็
่ กแผน ตั้

3 : อาจเกิ
ดการบิ
ดและโกงออกทางข าง
4 : ถู
กทุกข

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

176 : Plate girder ที
ทํ
่าด
วยเหล็
กชนิ
ด A36 และมี
a/h = 3 จะไม
วิ
บัติ
แบบ vertical web buckling เมื
อ (h/tw)max มี
่ ค
าประมาณ

1 : 350
2 : 335
3 : 320
4 : ไม
มี
ข
อใดถู
กต
อง

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

177 : การเกิ
ดพฤติ
กรรมของ Tension Field Action ที
ช
่วงในๆของคานที
มี
่a/h ratio ไม
เกิ
น กว
าที
กํ
่าหนด ได
มาจากการพิ
จารณาว

1 : ไม
ใหเหล็กแผน ตั้
งรับแรงอัดในแนวทแยงเลย
2 : ให
เหล็กแผน ตั้
งรับแรงดึงในแนวทแยงเฉพาะชวงอิลาสติ

3 : ใหเหล็กแผน ตั้
งรับแรงอัดในแนวทแยงเฉพาะชวงอิ
ลาสติ
ก หลังจากนั้
น ให
เหล็
กแผ
น ตั้
งทํ
าหน
าที
รับแรงดึ
่ งในแนวทแยง โดยกระจายแรงอัดในแนวทแยงที
จะมี
่ ในช
วงอิ
น อิ
ลาสติ

ไปให กับป
กคานและเหล็ กเสริ
มขางคาน
4 : ไม
มีข
อใดถูกต อง

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

178 : คานเชิ
งประกอบแบบ nonencased beam โดยหล
อพื
น คอนกรี
้ ตวางทับเหนื
อคานเหล็
กแต
ไม
ใช
ส ลักรับแรงเฉื
อนเลย ในทางทฤษฏี
ถื
อว
า คานนี
เป
้ น แบบ

1 : fully composite-beam
2 : partially composite-beam
3 : noncomposite-beam
4 : ไมมีข
อใดถูก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที่179 : คานเชิงประกอบแบบ encased beam ที
มี
่ตาข
ายเหล็
กและคอนกรี
ตหุ
มรอบคานเหล็
 กรู
ปพรรณตรงตามมาตรฐานกํ
าหนด แต
ไม
ใช
ส ลักรับแรงเฉื
อ น เลย ในทางทฤษฏี
ถื
อว
า คานนีเป
้ น แบบ

1 : fully composite-beam
2 : partially composite-beam
3 : noncomposite-beam
4 : ไมมีข
อใดถูก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

180 : คานเชิ
งประกอบแบบ nonencased beam โดยหล
อพื
น คอนกรี
้ ตวางทับเหนื
อคานเหล็
กและใช
ส ลักรับแรงเฉื
อนมากพอตามมาตรฐานกํ
าหนด ดังนั้
น คานนี
ส ามารถ

1 : รับโมเมนต
ดัดได
มากขึ
น และโก
้ งตัวน
อยลง

2 : รับโมเมนต
ดัดได
เท
าเดิ

3 : รับโมเมนต
ดัดได
มากขึ

4 : รับโมเมนต
ดัดได
เท
าเดิ
ม แต
โก
งตัวน
อยลง

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

181 : คานเหล็
กและพื
น คอนกรี
้ ตจะมี
พฤติ
กรรมเชิ
งประกอบต
อเมื
อคอนกรี
่ ตมี
กํ
าลังรับแรงอัดเท
ากับ

1 : 0.45fc’
2 : 0.75fc’
3 : 0.85fc’
4 : fc’

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 34/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

182 :
คานไม ประกอบช
วงเดียวธรรมดา ขนาด 4” x 8” ยาว 4.00 เมตร ประกอบขึ
่ นจากท
้ อนไม ขนาด 4” x 4” สองท
อน (ไม
ไส) วางซ
อนกันทางตั้
งและตอยึ
ดกัน
ด
วยกาวสังเคราะห หากคานประกอบนี มี
้ค้ายันทางข
ํ างทีปลายทั้
่ งสองเท
านั้
น และรับน้
าหนักบรรทุ
ํ กแบบแผ สม่
าเสมอ (รวมน้
ํ าหนักของคานแล
ํ ว) = 500
กก./ม. จงหาว
ากาวสังเคราะห
ที
นํ
่ามาใช
ต
องมีหนวยแรงยึ ดเหนี
ยวปลอดภัยอย
่ างน
อยเทาใด

1: 6.0 กก./ซม.2
2:
7.0 กก./ซม.2
3:
7.5 กก./ซม.2
4: 8.0 กก./ซม.2
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

183 :
คานไมประกอบชวงเดี
ยวธรรมดา ขนาด 4” x 8” ยาว 3.50 เมตร ประกอบขึ
่ นจากท
้ อนไมขนาด 4” x 4” สองทอน (ไมไส) วางซ
อนกันทางตั้
งและต
อยึ
ดกัน
ด
วยสลักเกลี
ยวแถวเดียว หากคานนี มี
้ค้
ายันทางข
ํ างที
ปลายทั้
่ งสองเท
านั้
น และรับน้าหนักบรรทุ
ํ กแบบแผ สม่าเสมอ (รวมน้
ํ าหนักของคานแล
ํ ว) = 400 กก./
ม. จงหาระยะห
างระหวางตัวสลักเกลี
ยวที
ต
่ องใช
บริ
เวณปลายคาน กํ าหนดให สลักเกลี
ยวมีแรงต
านทางข างตัวละ 700 กก.
1:
10.0 ซม.
2:
12.5 ซม.
3:
15.0 ซม.
4:
17.5 ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

184 :
คานไมประกอบขึ
นจากไม
้ ขนาด 2” x 6” สี
ท
่อน (ไม
ไส) เป
นรู
ปกล
องกลวง มี ขนาดหนาตัดเทากับ 6” x 10” มี
ช
องว
างทางกว
าง = 2” และทางลึก = 6” ต
อยึด
กันด
วยตะปูถ
าคานประกอบนี
เป
้ นคานช วงเดี
ยวธรรมดายาว 4.50 เมตร รับน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กแบบแผ สม่าเสมอ (รวมน้
ํ าหนักของคานแล
ํ ว) = 600 กก./ม. จง
ประมาณระยะหางของตะปู
ที
ต
่องใช บริ
เวณปลายคาน กํ าหนดให
ตะปูมี
แรงต านทางขางตัวละ 150 กก.
1:
8.00 ซม.
2: 6.00 ซม.
3:
4.00 ซม.
4:
3.00 ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

185 :
คานไม
ประกอบขึ
นจากไม
้ (ไม
ไส) ขนาด 1” x 8” สองแผน วางนอน และขนาด 2” x 8” สองแผ น วางตั้
ง ทํ
าเปนรู
ปกล
องกลวง มี
ขนาดหนาตัดเทากับ 8” x
10” ถาคานประกอบนีเป
้ นคานช วงเดี
ยวธรรมดายาว 4.00 เมตร และต
่ อยึ
ดกันอยางดีจงประมาณค าน้าหนักบรรทุ
ํ กทั้
งหมดแบบแผสม่าเสมอที
ํ คาน

ประกอบสามารถรับได
สมมติ ว
า หน
วยแรงดัดสูงสุด = 100 กก./ซม.2 ค
า Form Factor Cf = 1

1:
600 กก./เมตร

2:
675 กก./เมตร
3:
775 กก./เมตร
4:
875 กก./เมตร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

186 :
คานประกอบกลวง ประกอบดวยไม
แปรรู
ป (ไม
ไส) ขนาด 5x10 ซม. จํ
านวน 2 ชิ
นที
้ ด
่านบนและดานล
างของคาน และแผนไมอัดกว
าง 30 ซม. 2 แผ

ประกบด
านข
างของไม
แปรรู
ป ซึ
งจะได
่ ช
องกลวงขนาด 10x20 ซม. ถาคานประกอบกลวงนี
ต
้อยึ
ดกันอย
างดีและรับโมเมนต
ดัดใช
งาน = 1700 กก.-เมตร.
www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 35/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

จงประมาณวา ตองใช
แผ
นไมอัดหนาอยางนอยเทาไร กําหนดให ไม
แปรรู
ปมี
หน
วยแรงดัด Fb = 120 กก./ซม.2 และค
า E = 8x104 กก./ซม.2 ส
วนแผ
นไม
อัด
มี
หนวยแรงดัด Fb = 150 กก./ซม. และค
2 า E = 1x10 กก./ซม.
5 2

1:
8 มม.
2:
10 มม.
3:
12 มม.
4:
15 มม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

187 :
คานประกอบกลวง ประกอบด วยไมแปรรู
ป (ไมไส) ขนาด 5x10 ซม. จํ
านวน 2 ชินที
้ ด
่ านบนและดานลางของคาน และแผ นไมอัดขนาด 1.2x25 ซม. 2 แผน
ประกบด านข
างของไม แปรรู
ป ซึงจะได
่ ช
องกลวงขนาด 10x15 ซม. ถ าคานประกอบกลวงนี ต
้ อยึ
ดกันอยางดี จงประมาณกํ าลังต
านทานโมเมนต ดัดใช
งาน
ของคานประกอบนี ้
กําหนดให ไม
แปรรูปมีหนวยแรงดัด Fb = 125 กก./ซม.2 และค
า E = 1x105 กก./ซม.2 ส
วนแผนไม
อัดมีหนวยแรงดัด Fb = 150 กก./
ซม.2 และค
า E = 1.2x105 กก./ซม.2 สมมติ
ค
า Form Factor Cf = 1

1:
1400 กก.-เมตร
2:
1450 กก.-เมตร
3:
1500 กก.-เมตร
4:
1600 กก.-เมตร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

188 :
ถ
าคานเหล็
กประกอบ (plate girders) มี
ความหนาของเหล็ กแผ
นตั้
ง = tW เสริ
มเหล็
กข
างคานแบบรับแรงกด (bearing stiffeners) 1 คู

ซึงเหล็
่ กเสริมขางคาน
แต
ละด
านของเหล็
กแผ
นตั้งมี
เนือที
้ หน
่ าตัด = Ast การตรวจสอบหากําลังรับแรงกดบริ
เวณกลางช
วงคานจะพิจารณาว าเสมื อนเปนเสาทีมี
่เนือที
้ หน
่ าตัดเท
ากับ

1:
12tW2 + 2Ast
2:
25tW2 + 2Ast
3:
15tW2 + 2Ast
4:
12.5tW2 + Ast

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

189 :
Plate Girder ช วงเดียวยาว 20 เมตร รู
่ ปตัดตัว W ประกอบด วยแผ นเหล็กปกคานแต ละด
านขนาด 40x400 มม. และเหล็
กแผนตั้
ง 1 แผ
นขนาด 8x1440
มม. ใชเหล็
กชนิ ด A36 ต อกันโดยการเชือม รับน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กใช
งานแบบแผ สม่าเสมอและน้
ํ าหนักบรรทุ
ํ กใช
งานแบบจุดกระทําห
างจากจุดรองรับแต
ละด
าน
เปนระยะเทา กั บ 7.00 เมตร ถา Plate Girder นีมี
้แตbearing stiffener ตรงจุดทีรับน้
่ าหนักแบบจุ
ํ ดเท
านั้
น จงประมาณคาแรงเฉือนใช
งานสู
งสุดที
่plate
girder สามารถรับได โดยพิจารณาจากตารางข างล
างนี้
หน
วยแรงเฉือนใช ง านในเหล็ กแผนตั้
ง ของคานเหล็กประกอบ (กก./ตร.ซม.) สํ
าหรับเหล็
กชนิ
ด A36
(ไม
รวมผลของ Tension Field Action)
h/tw Aspect Ratios a/h : Stiffener Spacing to Web Depth
0.5 0.6 0.7 0.8 0.9 1.0 1.2 1.4 1.6 1.8 2.0 2.5 3.0 Over 3.0
160 863 743 624 517 444 391 340 309 289 275 266 251 224
170 812 699 553 458 393 347 301 274 256 244 235 198
180 767 624 493 409 351 309 269 244 229 218 210 177

1:
15.0 ตัน
2:

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 36/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

16.5 ตัน
3:
18.5 ตัน
4:
20.0 ตัน
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

190 :
คานเหล็กประกอบขนาดใหญ (plate girders) รู
ปตัดตัว W ประกอบดวยแผ
นเหล็
กป
กคานขนาด 15x450 มม. ที แต
่ ละด
าน และเหล็
กแผนตั้
งขนาด
10x1700 มม. ซึงทํ
่ าดวยเหล็
กชนิ ด A36 และยึดต
อกันโดยการเชื
อม จงใช
่ วิ
ธี
LRFD ประมาณค
าโมเมนต
ดัดประลัยของคานนี
้สมมติ
ให
ค
า Re = RPG = 1
Fcr = Fy = 2500 กก./ตร. ซม.

1:
405 ตัน-เมตร
2:
375 ตัน-เมตร
3:
345 ตัน-เมตร
4:
310 ตัน-เมตร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

191 :
ถ
า Plate Girder ประกอบดวยแผนเหล็กป
กคานแต
ละดานขนาด 40x400 มม. และเหล็ กแผนตั้
ง 1 แผ
นขนาด 8x1440 มม. ต
อกันโดยการเชื
อม จงใช
่ วิ
ธี
LRFD ประมาณค าโมเมนต
ดัดประลัย สมมติ
ให
ค
า Re = RPG = 1 Fcr = Fy = 2500 กก./ตร. ซม.

1:
410 ตัน-เมตร
2:
450 ตัน-เมตร
3:
520 ตัน-เมตร
4:
550 ตัน-เมตร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

192 :คานเหล็กประกอบขนาดใหญ (plate girders) ช
วงเดี
ยว ยาว 12 เมตร ประกอบด วยแผนเหล็
กป
กคานขนาด 15x450 มม. ที แต
่ ละดาน และเหล็

แผ
นตั้
งขนาด 10x1700 มม. ซึ งทํ
่ าด
วยเหล็กชนิด A36 และต อกันโดยการเชือม ถ
่ าระหวางช
วงความยาวคานไมใช
intermediate stiffener เลย จงประมาณ
ค
าแรงเฉื
อนประลัยที
่plate girder สามารถรับได โดยอาศัยคาหนวยแรงเฉื
อนประลัยทีให
่ ในตารางข
างล
างนี

หน
วยแรงเฉื
อนประลัย (fVVn /Aw) ในเหล็ กแผนตั้ง ของคานเหล็
กประกอบ (กก./ตร. ซม.) สํ
าหรับเหล็
กชนิ
ด A36
(ไม
รวมผลของ Tension Field Action)
H/tw Aspect Ratios a/h : Stiffener Spacing to Web Depth
0.5 0.6 0.7 0.8 0.9 1.0 1.2 1.4 1.6 1.8 2.0 2.5 3.0 Over 3.0
160 1313 1141 975 822 716 641 543 484 446 420 401 372 321
170 1235 1073 864 728 635 568 481 429 395 372 355 284
180 1167 957 770 649 566 507 429 383 352 332 317 253

1:
42 ตัน
2:
45 ตัน
3:
48 ตัน
4:
50 ตัน
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

193 :
คานเหล็
กประกอบขนาดใหญ (plate girders) ช
วงเดี
ยว ยาว 12 เมตร ประกอบดวยแผ
นเหล็
กป
กคานขนาด 15x450 มม. ที แต
่ ละด
าน และเหล็
กแผ
นตั้

ขนาด 10x1700 มม. ซึ
งทํ
่ าด
วยเหล็ กชนิด A36 และตอกันโดยการเชื
อม ถ
่ าต
องการให
คานนี
สามารถรับนํ
้ าหนักบรรทุ
กประลัยแบบแผสม่
าเสมอได
ํ ประมาณ
www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 37/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

24 ตันต
อเมตร จงใช
ตารางข
างล
างนี
ประมาณตํ
้ าแหน
งของ intermediate stiffener ตัวแรกว
าจะอยู
ห
างจากปลายคานได
มากที
สุ
่ดเท
าไร
หน
วยแรงเฉือนประลัย (fVVn /Aw) ในเหล็ กแผนตั้ง ของคานเหล็
กประกอบ (กก./ตร. ซม.) สํ
าหรับเหล็
กชนิด A36
(ไม
รวมผลของ Tension Field Action)
H/tw Aspect Ratios a/h : Stiffener Spacing to Web Depth
0.5 0.6 0.7 0.8 0.9 1.0 1.2 1.4 1.6 1.8 2.0 2.5 3.0 Over 3.0
160 1313 1141 975 822 716 641 543 484 446 420 401 372 321
170 1235 1073 864 728 635 568 481 429 395 372 355 284
180 1167 957 770 649 566 507 429 383 352 332 317 253

1:
90 ซม.
2:
100 ซม.
3:
120 ซม.
4:
135 ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

194 :
Plate Girder ที
ต
่อกันโดยการเชื
อม ถ
่ านํา bearing stiffener 1 คู
ขนาดแผนละ 14x150 มม. ชนิ ด A36 (Fy = 2500 กก./ตร. ซม.) มาใช
เพื
อรับน้
่ าหนัก

ประลัยแบบจุ ด แต
บากตรงมุมออกไป 1.5 ซม. เพือเผื
่ อสํ
่ าหรับการเชื
อมต
่ อ จงประมาณกําลังรับแรงกดประลัยของ bearing stiffener นี

1:
170 ตัน
2:
140 ตัน
3:
125 ตัน
4:
100 ตัน
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

195 :หากนําแผ
นเหล็
กป
กคาน 2 แผนขนาด 300x25 มม. และเหล็กแผ
นตั้
งหนึ
งแผ
่ นขนาด 1450x15 มม. ซึ
งเป
่ นเหล็
กชนิ
ด A36 (Fy = 2500 กก./ตร.
ซม.) มาประกอบเป
นคานเหล็
กรู
ปตัด W เพื
อใช
่ รับน้
าหนักบรรทุ
ํ ก ในการคํ
านวณออกแบบตามมาตรฐานกํ าหนด จะพิจารณาว
าคานนีเป
้ นแบบ

1 : rolled beam
2 : built-up beam
3 : plate girder
4 : composite beam
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

เนื
อหาวิ
้ ชา : 544 : Connections

ข
อที

196 : อุ
ปกรณ
ยึ
ดไม
ชนิ
ดใดที
ใช
่ รับได
ทั้
งแรงด
านข
างและแรงถอน

1 : แหวนยึด
2 : ตะปู
3 : สลักเกลี
ยว
4 : สลักไม

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

197 : อุ
ปกรณ
ยึ
ดไม
ชนิ
ดใดที
ใช
่ รับแรงด
านข
างอย
างเดี
ยว

1 : ตะปู
2 : ตะปูเกลี
ยว
3 : สลักเกลี
ยว
4 : ลิ
มเหล็
่ ก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

198 : จงประมาณค
าแรงเฉื
อน 2 ระนาบของสลักเกลี
ยวขนาด 16 mm ถ
าหน
วยแรงเฉื
อนที
ยอมให
่ ากับ 1,470 kg/cm2
เท

1 : 2,950 kg
2 : 5,900 kg

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 38/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
3 : 11,800 kg
4 : ไม
มี
ข
อถูก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

199 : ขนาดการเชื
อมในทางปฏิ
่ บัติ
ไม
เล็
กกว
ากี

mm

1 : 3 mm
2 : 6 mm
3 : 9 mm
4 : 12 mm

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

200 : ในการเชื
อมอ
่ อมปลาย (End return) ให
ใช
ความยาวอย
างน
อยเท
าใด

1 : 1 เท
าขนาดการเชื
อม

2 : 2 เท
าขนาดการเชื
อม

3 : 3 เท
าขนาดการเชื
อม

4 : 4 เท
าขนาดการเชื
อม

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที่201 : จะต
องใช ข าเชื
อมขนาดเท
่ าใด เพื
อให
่ รับแรงดึ
ง 26,000 kg โดยเชื
อมแบบฟ
่ ลเลทยาวด
านละ 20 cm ทั้
ง 2 ด
า น เมื
อใช
่ ลวดเชื
อม E60 (กํ
่ าลังรับแรงดึ
งประลัยของลวด
เชื
อม FEXX เท
่ ากับ 4200 ksc)

1 :5 mm
2 :6 mm
3 :7 mm
4 :8 mm

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

202 : กํ
าหนดให
กํ
าลังของรอยเชื
อมเท
่ ากับ 450 kg/ความยาว 1 cm ถ
ามี
แรงดึ
งกระทํ
าเท
ากับ 2000 kg และไม
มี
การเชื
อมอ
่ อมปลาย จงหาความยาวทั้
งหมดของรอยเชื
อม

1 : 3.5 cm
2 : 4.5 cm
3 : 5.5 cm
4 : 6.5 cm

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที
่203 : แรงดึ
งในองค
อาคารของเหล็ กฉากเดี
ยวใช
่ เหล็
กประกับหนา 6 mm มี ค
าเท
ากับ 4000 kg จงหาจํ
านวนของหมุ
ดย้
าขนาดเส
ํ น ผ
านศู
น ย
กลาง 12 mm ชนิ
ด A502 G1 เมื


หน
วยแรงเฉือนทียอมให
่ เท
ากับ 1225 ksc และหน
วยแรงดึ
งประลัย(Fu) เท
ากับ 4070 ksc.

1 :2 ตัว
2 :3 ตัว
3 :4 ตัว
4 :5 ตัว

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที
่204 : องค
อาคารตอโดยใช
เหล็กฉากเดียว ขนาด 50 x 50 x 6 mm มี
่ พืน ที
้ หน
่ าตัดเท
ากับ 5.64 ตร.ซม. ใช
ส ลักเกลี
ยวแถวเดี
ยวขนาดเส
น ผ
านศู
น ย
กลาง 12 mm เผื
อรู
่ เจาะ 3
mm ยึ
ดกับเหล็กประกับหนา 6 mm เพียงขาเดี
ยว จงหาพื
น ที
้ หน
่ าตัดสุทธิ
ประสิ
ทธิผลของเหล็กฉาก

1 : 4.74 ตร.ซม.
2 : 4.50 ตร.ซม.
3 : 4.03 ตร.ซม.
4 : 3.55 ตร.ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที
่205 : ถ
าต
องการต
อองคอาคารไม เพือรับแรงดึ
่ งเท
ากับ 3000 kg โดยการต
อชนและใช
แผ
น เหล็
กประกับข
าง จงหา จํ
านวนของสลักเกลี
ยว สมมติ
ให
ส ลักเกลี
ยวมี
แรงต
านทาน
ด
านข
างทียอมให
่ ข นานเสี
ยน 450 กก./ตัว (ยังไม
้ รวมผลจากแผ น เหล็
กประกับ)

1 :4 ตัว
2 :5 ตัว
3 :6 ตัว
4 :7 ตัว

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

206 : อุ
ปกรณ
ยึ
ดไม
ในข
อใดรับกํ
าลังทางข
าง (แรงเฉื
อนของจุ
ดต
อ) ได
มากที
สุ
่ด

1 : ตะปู
2 : ชุ
ดแหวนยึ ดไม
3 : ตะปูเกลี
ยว
4 : สลักเกลี
ยว

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 39/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

207 : อุ
ปกรณ
ยึ
ดไม
ในข
อใดรับกํ
าลังแรงถอนได
น
อยที
สุ
่ด

1 : ตะปู
2 : ชุ
ดแหวนยึดไม
3 : ตะปู
เกลี
ยว
4 : ตะปู
ควง

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

208 : ข
อใดมี
ผลกระทบต
อกํ
าลังยึ
ดที
จุ
่ดต
อของตะปู

1 : คุณสมบัติ
ข องไม
, ความชื
น ในไม

2 : ระยะฝ
งของตะปู
3 : ขนาดเสน ผ
านศูน ย
กลางของตะปู
4 : มี
ผลกระทบทุ กขอ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

209 : แผ
น เหล็
กปะกับด
านข
างของชิ
น ไม
้ จะเพิ
มความสามารถของสลักเกลี
่ ยวในการรับแรงด
านใดมากที
สุ
่ด

1 : แรงตั้
งฉากเสี
ยน

2 : แรงขนานเสียน

3 : แรงทีทํ
่ามุ
ม 30 องศา กับแนวเสี
ยน

4 : แรงทีทํ
่ามุ
ม 45 องศา กับแนวเสี
ยน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

210 : ในการเชื
อมเหล็
่ ก วิ
ธี
ใดสามารถใช
เพื
อลดจุ
่ ดแรงวิ
กฤต (High Stress Concentration) ได

1 : ใช
ลวดเชือมขนาดเล็
่ กกวาความหนาของเหล็

2 : การเชื
อมอ
่ อมปลาย (End Return)
3 : ไม
ใช
ข นาดรอยเชื
อมเกิ
่ น 6 ม.ม.
4 : ไม
มี
ขอใดถูก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

211 : การวิ
บัติ
ข องรอยต
อที
ต
่อด
วยสลักเกลี
ยว แบบใด ที
ส ามารถแก
่ ไขได
โดยเพิ
มจํ
่ านวนสลักเกลี
ยว

1 : การวิ
บัติ
โดยแรงดึ
งทีแผ
่ น เหล็

2 : การวิ
บัติ
โดยแรงกดทีแผ
่ น เหล็

3 : การวิ
บัติ
โดยแรงดึ
ง และแรงกดทีแผ
่ น เหล็

4 : ไม
มี
ข
อถูก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที่212 : จงประมาณขนาดของรอยเชื อมของรอยต
่ อสํ
าหรับฐานรองรับคานดังแสดงในรู ป เพื
อรับแรงปฏิ
่ กริ
ยา 5 ตัน สมมุ
ติ
ว
าฐานรองรับคานมี
ความแข็
งแรงพอ ใช
ลวดเชื
อมชนิ
่ ด
E70 และการเชือมแบบพอก(fillet weld) ตามข
่ อกํ
าหนดของ AISC(allowable stress design)

1 :3 mm
2 :4 mm
3 :5 mm
4 :6 mm

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

213 : จงคํ
านวณหาเนื
อที
้ หน
่ าตัดสุ
ทธิ
ข ององค
อาคารรับแรงดึ
งซึ
งเจาะรู
่ ข นาด 24 mm.ดังแสดงในรู
ป กํ
าหนดให
พื
น ที
้ หน
่ าตัดทั้
งหมด(Ag)ของL150x100x12 mm เท
ากับ 26.58
cm2

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 40/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1 : 20.40 cm2
2 : 22.80 cm2
3 : 24.08 cm2
4 : 25.40 cm2

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

214 : ตามมาตรฐาน AISC(1963) กํ
าหนดหน
วยแรงเฉื
อนที
ยอมให
่ สํ
าหรับรอยเชื
อมแบบพอก(Fillet weld)ของลวดเชื
่ อม AWS A5.1E60xx เท
่ ากับเท
าใด

1 : 1140 ksc
2 : 1260 ksc
3 : 1470 ksc
4 : 1520 ksc

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที
่215 : จงประมาณค
าที
ยอมให
่ ข องการต
อเชื
อม ถ
่ าเหล็
กที
ใช
่ เป
น เหล็
ก A36 ลวดเชื
อมเป
่ น ชนิ
ด E70 และการเชื
อมเป
่ น การเชื
อมทาบโดยใช
่ ข นาดของรอยเชื
อม 12 mm ดัง

แสดงในรู

1 : 19,000 kg
2 : 28,700 kg
3 : 38,000 kg
4 : 48,880 kg

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที
่216 : จากรู
ปจงคํ
านวณหาระยะระหว างสลักเกลี
ยว(pitch)ซึ
งจะทํ
่ าให
เนื
อที
้ หน
่ าตัดสุ
ทธิ
เท
ากับเนื
อที
้ หน
่ าตัดสุ
ทธิ
ข องการเจาะรู
ข นาดเส
น ผ
านศู
น ย
กลาง 19 mm แถวเดี
ยว โดย
กํ
าหนดใหเพิมขนาดของรู
่ เจาะเท
ากับ 3 mm

1 : 3.53 cm

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 41/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
2 : 4.83 cm
3 : 5.43 cm
4 : 6.63 cm

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

217 : การวิ
บัติ
ข องรอยต
อ กรณี
ใดวิ
บัติ
ที
ตัวยึ
่ ด

1 : Block Shear Failure


2 : Cracking Failure
3 : Tear out Failure
4 : Single Shear or Double Shear Failure

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

218 : สัญลักษณ
ข องการเชื
อมดังรู
่ ป หมายถึ

1 : เชื
อมทาบด
่ านใกลขนาดรอยเชือม 6 mm. เชื
่ อมยาว 50 mm. เว
่ น ระยะ 100 mm.
2 : เชื
อมทาบด
่ านไกล ขนาดรอยเชือม 6 mm. เชื
่ อมยาว 100 mm. เว
่ น ระยะ 50 mm.
3 : เชื
อมทาบด
่ านใกลขนาดรอยเชือม 6 mm. เชื
่ อมยาว 100 mm. เว
่ น ระยะ 50 mm.
4 : เชื
อมทาบสลับด
่ าน ขนาดรอยเชือม 6 mm. เชื
่ อมยาว 50 mm. เว
่ น ระยะ 100 mm.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที
่219 : จงหาแรงสู
งสุ
ดทียอมให
่ อาคารรับแรงดึ
(P)ขององค งทีต
่ อทาบเข าด
วยกัน โดยการเชื
อมทาบดังแสดงในรู
่ ป ให
ใช
ข
อกํ
าหนดของ AISC กํ
าหนดให
ลวดเชื
อมเป
่ น ชนิ
ด E70
มี
หน
วยแรงเฉือนที
ยอมให
่ 1040 ksc เชื
อมหนา 10 mm และเหล็
่ ก plate เป
น เหล็
กชนิด ASTM A36 มีความหนา 12 mm

1 : 10,800 kg
2 : 16,800 kg
3 : 20,800 kg
4 : 26,800 kg

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที่220 : จงคํ
านวณหาความสามารถในการรับแรงดึ งของแผน เหล็
กขนาด
250 mm x 12 mm ดังแสดงในรู ป ถ
าแผ
น เหล็
กเป
น เหล็กชนิด ASTM A36 และหมุ
ดย้
าชนิ
ํ ด A502 เกรด 1และใช
ข
อกํ
าหนดของ AISC กํ
าหนดให
หน
วยแรงเฉื
อนที
ยอมให
่ ข องหมุ

ย้
าเท
ํ ากับ 1050 ksc.และหน
วยแรงแบกทานที ยอมให
่ เทากับ 3400 ksc.

1 : 12,450 kg
2 : 17,870 kg
3 : 24,380 kg
4 : 26,130 kg

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 42/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

ข
อที

221 : เมื
อทํ
่ ารอยต
อรับแรงดึ
งในโครงเหล็
ก ดังรู
ป จงประมาณหน
วยแรงเฉื
อนที
เกิ
่ ดขึ
น ในสลักเกลี
้ ยว ตามวิ
ธี
ASD

1 : 8830 กก./ซม. 2
2 : 4420 กก./ซม. 2
3 : 2210 กก./ซม. 2
4 : 1105 กก./ซม. 2

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

222 : เมื
อทํ
่ ารอยต
อรับแรงดึ
งในโครงสร
าง ดังรู
ป จงประมาณหน
วยแรงเฉื
อนที
เกิ
่ ดขึ
น ในสลักเกลี
้ ยว ตามวิ
ธี
LRFD

1 : 2210 กก./ซม. 2
2 : 2930 กก./ซม. 2
3 : 3200 กก./ซม. 2
4 : 3500 กก./ซม. 2

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

223 : เมื
อทํ
่ ารอยต
อรับแรงดึ
งในโครงสร
างเหล็
ก ดังรู
ป จงประมาณหน
วยแรงกดที
เกิ
่ ดขึ
น ในสลักเกลี
้ ยว ตามวิ
ธี
ASD

1 : 1303 กก./ซม. 2
2 : 2605 กก./ซม. 2
3 : 3780 กก./ซม. 2
4 : 4135 กก./ซม. 2

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

224 : เมื
อทํ
่ ารอยต
อรับแรงดึ
งในโครงสร
างเหล็
ก ดังรู
ป จงประมาณหน
วยแรงกดที
เกิ
่ ดขึ
น ในสลักเกลี
้ ยว ตามวิ
ธี
LRFD

1 : 3780 กก./ซม. 2
2 : 3450 กก./ซม. 2
3 : 2605 กก./ซม. 2
4 : 1303 กก./ซม. 2

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

225 : ในโครงสร
างเหล็
กถ
าหน
วยแรงเฉื
อนที
ยอมให
่ ยว A325-x = 2100 กก./ซม. 2 จงประมาณแรงดึ
ข องสลักเกลี งปลอดภัยที
คิ
่ดจากหน
วยแรงเฉื
อนของสลักเกลี
ยวอย
างเดี
ยว

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 43/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1 : 9500 กก.
2 : 19000 กก.
3 : 37200 กก.
4 : 38000 กก.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ขอที่226 : ในโครงสร างเหล็


กเมื
อทํ
่ ารอยต
อรับแรงดึ
ง ดังรู
ป ถ
าแผ
น เหล็
กเป ด A36 (สมมติF y = 2500 กก./ซม.2 F u = 4050 กก./ซม. 2) และทํ
น ชนิ ารู
เจาะแบบมาตรฐาน
(standard hole) จงประมาณคาแรงดึ
งที
คิ
่ดจากหน วยแรงกดระหว
างแผ
น เหล็
กกับตัวสลักเกลี
ยว

1 : 18600 กก.
2 : 37200 กก.
3 : 62200 กก.
4 : 74600 กก.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที
่227 : เมื
อทํ
่ ารอยต
อแบบมี
แรงฝ
ด (friction-type connection) ดังรู
ป จงประมาณค
าแรงดึ
งประลัย ตามวิ
ธ ีLRFD (ถ
าแผ
น เหล็
กไม
วิ
บัติ
จากการครากหรื
อฉี
กขาด) กํ
าหนดให
หน
วยแรงเฉื ยว A 325-x = 4140 กก./ซม.2
อนประลัยของสลักเกลี

1 : 21200 กก.
2 : 56200 กก.
3 : 75000 กก.
4 : ไม
มี
ขอใดถูกต
อง

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

228 :
เมื
อทํ
่ ารอยต
อแบบมี
แรงกดระหว
างค้
ายัน รับแรงดึ
ํ งกับเสา ดังรู
ป โดยใช
ส ลักเกลี
ยวกํ
าลังสู
งชนิ
ด A325-N ขนาด 22 มม. (A b = 3.80 ซม. 2) ข
างละ 4 ตัว จงประมาณค
าแรงดึ

ปลอดภัย P สู
งสุ
ด (ที
กระทํ
่ าผานศูน ย
ถ
วงของรอยตอ) เมื
อคิ
่ ดจากตัวสลักเกลี
ยวอย
างเดี
ยว
กํ
าหนดหนวยแรงทียอมให
่ ข องสลักเกลียว A325-N ดังนี

หน
วยแรงเฉื ยอมให Fv = 1470 กก./ซม. 2
อนที

หน
วยแรงดึ
งที
ยอมให
่ Ft = กก./ซม.2

1 : 65000 กก.
2 : 60000 กก.
3 : 55000 กก.
4 : 50000 กก.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 44/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

ข
อที่
229 :
รอยต
อคานกับเสา รับแรงปฏิ
กิ
ริ
ยาจากคานที
เกิ
่ ดจากน้
าหนักบรรทุ
ํ กคงที
ใช
่ งาน 20 ตัน และจากน้
าหนักบรรทุ
ํ กจรใช
งาน 15 ตัน โดยใช
ส ลักเกลี
ยวชนิ
ด A325 ขนาด 22 มม. (A b =
3.80 ซม.2) และเหล็
กฉากชนิ
ด A36 แต
ละข
าง ยาว 30 ซม. ให
หาความหนาของเหล็
กฉาก ตามวิ
ธี
ASD

1 : 5 มม.
2 : 6 มม.
3 : 7 มม.
4 : 8 มม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที่
230 :
รอยต
อคานกับเสา รับแรงปฏิ
กิ
ริ
ยาจากคานที
เกิ
่ ดจากน้
าหนักบรรทุ
ํ กคงที
ใช
่ งาน 20 ตัน และจากน้
าหนักบรรทุ
ํ กจรใช
งาน 15 ตัน โดยใช
ส ลักเกลี
ยวชนิ
ด A325 ขนาด 22 มม. (Ab =
3.80 ซม.2 ) และเหล็
กฉากชนิ
ด A36 แต
ละข
าง ยาว 30 ซม. ให
หาความหนาของเหล็
กฉาก ตามวิ
ธี
LRFD

1 : 5 มม.
2 : 6 มม.
3 : 7 มม.
4 : 8 มม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที
่231 : เมื
อทํ
่ ารอยเชื
อมต
่ อระหวางเหล็
กฉากกับแผน เหล็
กประกับ ดังรู
ป ถ
าต
องการให
ศู
น ย
ถ
วงของรอยเชื
อม อยู
่ ในแนวเดี
 ยวกัน กับแรงกระทํ
า P หากให
กํ
าลังรับแรงของรอยเชื
อม

ต
อหน
วยความยาว =PW ดังนั้
น ระยะเชื
อมที
่ แต
่ ละขางของแผน เหล็
กประกับ คือ

1:

2:

3:

4:

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

232 : จงหาความยาวทั้
งหมดของรอยเชื
อมเพื
่ อรับแรงดึ
่ งใช
งาน = 30 ตัน สมมติ
ใช
เหล็
กชนิ
ด A36 และลวดเชื ด E70 (F EXX = 4900 กก./ ซม. 2)
อมขนาด 8 มม. ชนิ

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 45/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1 : 18 ซม.
2 : 40 ซม.
3 : 36 ซม.
4 : 20 ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

233 : จงหาความยาวทั้
งหมดของรอยเชื
อมเพื
่ อรับแรงดึ
่ งประลัย = 45 ตัน สมมติ
ใช
เหล็
กชนิ
ด A36 และลวดเชื ด E70 (FEXX = 4900 กก./ ซม. 2)
อมขนาด 8 มม. ชนิ

1 : 40 ซม.
2 : 36 ซม.
3 : 20 ซม.
4 : 18 ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

234 : ถ
าทํ
ารอยเชื
อมต
่ อบ
าเสาเป
น รู
ปตัวซี
ดังแสดง หากให
ข าเชื
อมมี
่ ค
าหนึ
งหน
่ วย ดังนั้
น โพลาโมเมนต
อิ
น เนอร
เชี
ยของรอยเชื
อม ประมาณ

1 : 1690 ซม.3
2 : 43310 ซม.3
3 : 45000 ซม.3
4 : 46690 ซม.3

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที
่235 : ในการต
อคานกับเสา ถ
าใช
เหล็
กฉาก 1 คู
ชนิ
 ด A36 ยาว = 25 ซม. เพื
อช
่ วยถ
ายแรงปฏิ
กิ
ริ
ยาใช
งานจากคานซึ
งมี
่ ค
า = 40 ตัน ให
กับเสา แล
วเชื
อมติ
่ ดกับเหล็
กแผ
น ตั้

และหน
าเสา ดังแสดง ให
หาความหนาอยางน
อยของเหล็
กฉากที
ต
่ องใช

1 : 7 มม.
2 : 8 มม.
www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 46/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
3 : 9 มม.
4 : 10 มม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

236 : ในการทํ
ารอยต
อเชื
อมบ
่ าเสา เพื
อถ
่ ายแรงใช
งาน 13 ตัน ซึ
งกระทํ
่ าห
างจากหน
าเสา 3 ซม. ดังรู
ป จงหาหน
วยแรงลัพธ
สู
งสุ
ดที
รอยเชื
่ อมต
่ องรับ

1 : fr = 433.5 กก./ตร.ซม.
2 : fr = 511.5 กก./ตร.ซม.
3 : fr = 670.5 กก./ตร.ซม.
4 : ไม
มี
ข
อใดถู

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที
่237 : ในการทํ
ารอยต
อเชื
อมบ
่ าเสา เพื
อถ
่ ายแรงใช
งาน 13 ตัน ซึ
งกระทํ
่ าห
างจากหน
าเสา 3 ซม. ดังรู
ป ถ
าใช
ลวดเชื ด E70 (F EXX = 4900 กก./ ซม. 2) จงประมาณขนาด
อมชนิ

ของขาเชื
อม

1 : 7 มม.
2 : 8 มม.
3 : 9 มม.
4 : 10 มม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

238 : ในการต
อทาบไม
ข นาด 1½" x 3" (ไม
ไส) สองชิ
น เพื
้ อถ
่ ายแรงดึ
ง 1000 กก. โดยใช
ตะปู
ที
มี
่กํ
าลังต
านทางข
างตัวละ 60 กก. จงหาจํ
านวนของตะปู
ที
ต
่องใช

1 : ใช
3 แถวๆละ 5 ตัว
2 : ใช
2 แถวๆละ 6 ตัว
3 : ใช
3 แถวๆละ 6 ตัว
4 : ใช
2 แถวๆละ 8 ตัว

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที
่239 : ในการต
อไม
ข นาด 1½" x 3" (ไม
ไส) สองชึ น แบบต
้ อชนโดยอาศัยแผ น เหล็กประกับ เพื
อถ
่ ายแรงดึ
ง 3000 กก.โดยใชส ลักเกลี
ยว จงหาจํานวนของสลักเกลี
ยวที
ต
่องใช
สมมติกํ
าลังต
านทานแรงขนานเสี ยนระหว
้ างไมกับไม
ข องสลักเกลี
ยว = 400 กก./ตัว กําลังต
านทานแรงตั้
งฉากเสี
ยนระหว
้ างไม
กับไม
ข องสลักเกลียว = 250 กก./ตัว

1 : ใช
2 แถวๆละ 4 ตัว
2 : ใช
2 แถวๆละ 3 ตัว
3 : ใช
2 แถวๆละ 2 ตัว
4 : ใช
2 แถวๆละ 5 ตัว

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที่240 : ถ
ากํ
าลังต
านทานแรงขนานเสี ยนระหว
้ างไม
กับไม
ข องสลักเกลียว = 1170 กก./ตัว กํ
าลังต
านทานแรงตั้
งฉากเสี
ยนระหว
้ างไม
กับไม
ข องสลักเกลี
ยว = 510 กก./ตัว จงหา
กํ
าลังต
านทานแรงระหว างไม
กับไม
ข องสลักเกลี
ยวเมื
อมี
่ แรงกระทําเป
น มุ
ม 60 องศากับแนวเสี
ยนไม

1 : 840 กก./ตัว
2 : 670 กก./ตัว
3 : 590 กก./ตัว
4 : 450 กก./ตัว

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที
่241 : ในการทํ
ารอยต
อด
วยตัวยึ
ดแบบรับแรงกดระหว
างชิ
น ส
้ วนหลักซึ
งใช
่ แผ
น เหล็
ก ชนิ
ดA36 ขนาด 20x300 มม. รับแรงดึ
งเท
ากับ 70 ตัน กับแผ
น เหล็
กประกับ 2 แผ
น ชนิ

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 47/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
A36 โดยที
แต
่ ละแผ
น มี
ข นาด 10x300 มม. จงหาจํ ยวขนาด 16 มม. (Ab = 2 ซม. 2) ที
านวนของสลักเกลี ต
่องใช
สมมติ
ว
าหน
วยแรงเฉื
อนใช
งานที
ยอมให
่ ข องสลักเกลี
ยว = 2100
กก./ ซม.2 ต
อระนาบ และหน
วยแรงกดใช
งานที = 4860 กก./ซม. 2
ยอมให

1 : 6 ตัว
2 : 8 ตัว
3 : 9 ตัว
4 : 12 ตัว

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที
่242 : จงหาจํ
านวนของสลักเกลี
ยวขนาด 16 มม. (A b = 2 ซม. 2) ที
ต
่องใช
ในการทํ
ารอยต
อแบบรับแรงกดระหว
างชิ
น ส
้ วนรับแรงดึ
งของโครงหลังคาซึ
งใช
่ เหล็
กฉากขนาด
50x50x4 มม. จํ
านวน 2 ท
อนเพื
อรับแรงดึ
่ งเท
ากับ 8 ตัน กับแผ
น เหล็
กประกับหนา 6 มม. สมมติ
ว
าหน
วยแรงเฉื
อนใช
งานที
ยอมให
่ ยว = 2100 กก./ซม.2 ต
ข องสลักเกลี อระนาบ และ
หน
วยแรงกดใช
งานที = 4860 กก./ซม.2
ยอมให

1 : 1 ตัว
2 : 2 ตัว
3 : 3 ตัว
4 : 4 ตัว

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที่
243 : ในการต
อยึดชิ
น ส
้ วนรับแรงดึ
งของโครงหลังคาซึ
งใช
่ เหล็
กฉากขนาด 50x50x4 มม. จํ
านวน 2 ท
อน กับแผ
น เหล็
กประกับ โดยใช
ส ลักเกลี
ยวขนาด 16 มม. ยึ
ดขาข
างหนึ


ของเหล็
กฉากกับแผน เหล็
กประกับโดยเรี
ยงเป
น แถวเดี
ยว จงประมาณคาแรงดึ
งใช
งานสูงสุ
ดทีเหล็
่ กฉากแตละทอนสามารถรับได สมมติ ใช
เหล็ กชนิ
ด A36 และเหล็ กฉากขนาด
50x50x4 มม. แต
ละท
อนมี
เนื
อที
้ หน
่ งหมด = 3.89 ซม.2
าตัดทั้

1 : 4750 กก.
2 : 5830 กก.
3 : 9500 กก.
4 : 11660 กก.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที
่244 : ในการตอปลายคานกับเสารองรับเพื
อถ
่ ายแรงปฏิกิ
ริ
ยาใช
งานเท
ากับ 26 ตัน โดยใช
เหล็
กฉาก 1 คู
ยึ
ดติ
ดกับแผ
น web ของคานและกับแผ
น flange ของเสา ถ
าใช
เหล็

ฉากยาว 22.5 ซม. จงหาความหนาของเหล็กฉากนั้
น สมมติใช
เหล็กชนิ
ด A36

1 : 3 มม.
2 : 6 มม.
3 : 8 มม.
4 : 12 มม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที่245 : ในการตอปลายคานกับเสารองรับแบบงาย เพื
อถ
่ ายแรงปฏิ
กิริ
ยาใชงานจากคานเท ากับ 13 ตัน โดยใช
เหล็กฉากขนาด 150x100 มม. ยาว 25 ซม. รองใต
คาน (seated
beam connection) โดยยึดขาเหล็กฉากด
านยาว 150 มม. ติดกับแผ
น flange ของเสาดวยตัวยึ
ด เชน สลักเกลียว จงประมาณค
าความหนาของเหล็ กฉากทีต
่องนํามาใชถ
าสมมติว

แรงปฏิกิ
ริ
ยาใชงานทําให
ข าเหล็
กฉากด
านสั้
น ที
ยื
่น ออกต
่ องรับโมเมนต
ดัดทีหน
่ าตัดวิ
กฤตเท
ากับ 100 กก.-ม

1 : 9 มม.
2 : 10 มม.
3 : 12 มม.
4 : ไมมี
ขอใดถู

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

246 : สํ
าหรับรอยเชื
อมต
่ อทุ
กประเภท ค
าหน
วยแรงเฉื
อนใช
งานที
ยอมให
่ ข องลวดเชื
อมชนิ
่ ด E70 คื

1 : 1260 กก./ซม. 2
2 : 1470 กก./ซม. 2
3 : 1800 กก./ซม. 2
www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 48/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
4 : 2100 กก./ซม. 2

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

247 : ถ
าต
อชิ
น ส
้ วนโครงสร
างเพื
อรับแรงกระทํ
่ า P แผ
น เหล็
กแต
ละแผ
น มี
ข นาด a x b ขนาดขาเชื
อมเท
่ ากับ a ดังรู
ป จงหาหน
วยแรงบนรอยเชื
อมต
่ อแบบฟ
ลเลท

1 : P/ab
2 : 0.707P/ab
3 : 1.414P/ab
4 : P/2ab

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

248 : ถ
าต
อชิ
น ส
้ วนโครงสร
างเพื
อรับแรงกระทํ
่ า P แผ
น เหล็
กกว
างเท
ากับ b ขนาดขาเชื
อมแต
่ ละข
างเท
ากับ a ดังรู
ป จงหาหน
วยแรงบนรอยเชื
อมต
่ อแบบฟ
ลเลท

1 : 0.707P/ab
2 : 0.707P/2ab
3 : 1.414P/ab
4 : P/2ab

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

249 : ในการต
อเหล็
กแผ
น ตั้
งขนาด 10x1700 มม. กับแผ
น เหล็
กป
กคานขนาด 50x400 มม. ของคานประกอบ โดยการเขื
อมทั้
่ งสองด
านของเหล็
กแผ
น ตั้
งให
มี
รู
ปตัดแบบตัว W
ถ
าพบว
าแรงปฏิ
กิ
ริ
ยาที
ปลายคานอัน เนื
่ องมาจากจากน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กใช
งานมี
ค
าเท
ากับ 80 ตัน และค
าโมเมนต
อิ
น เนอร ยของคานประกอบ = 3,450,000 ซม.4 จงประมาณค
เชี าแรง
เฉื
อนในแนวนอนตรงรอยต
อระหว
างเหล็กแผ
น ตั้
งกับแผ
น เหล็
กป
กคาน

1 : 300 กก./ซม.
2 : 350 กก./ซม.
3 : 400 กก./ซม.
4 : 440 กก./ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

250 : ถ
ารอยเชื
อมต
่ องรับแรงดึ
งได
12 ตัน หากใช
รอยเชื
อม 6 มม. ต
่ องเชื
อมยาวทั้
่ งหมดเท
าใด (ลวดเชื
อมมี
่ กํ
าลัง 1470 ksc)

1 : 5 ซม.
2 : 10 ซม.
3 : 15 ซม.
4 : 20 ซม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 49/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

ข
อที

251 : ระยะทาบของแผ
น เหล็
กที
นํ
่ามาต
อ อย
างน
อยเท
ากับ 5 เท
าของความหนาของแผ
น เหล็
กที
บางกว
่ า แต
ต
องไม
น
อยกว
ากี
มิ
่ลลิ
เมตร

1 : 20 มม.
2 : 25 มม.
3 : 30 มม.
4 : 40 มม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

252 : จากรู
ป พื
น ที
้ หน
่ าตัดสุ
ทธิ
ที
รับแรงดึ
่ ง (Ant) มี
ค
าเท
าไหร
เมื
อรอยต
่ อเกิ
ดการวิ
บัติ
แบบ Block Shear ตามแนว ABCDE

1 : 5.04 cm^2
2 : 9.54 cm^2
3 : 13.86 cm^2
4 : 14.04 cm^2

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

253 : จากรู
ป พื
น ที
้ หน
่ าตัดสุ
ทธิ
ที
รับแรงเฉื
่ อน (Anv) มี
ค
าเท
าไหร
เมื
อรอยต
่ อเกิ
ดการวิ
บัติ
แบบ Block Shear ตามแนว ABCDE

1 : 13.86 cm^2
2 : 14.04 cm^2
3 : 5.04 cm^2
4 : 9.54 cm^2

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ขอที
่254 : จากรู
ป ถาสลักเกลียวและแผ
น เหล็
ก เป
น เหล็
กโครงสรางชนิ
ด A36 (Fy = 2500 ksc และ Fu = 4200 ksc) ถามว
า กํ
าลังรับแรงดึ
งบนหน
าตัดทั้
งหมดมี
ค
าเท
าไหร
ว
(สมมติาไมเกิ
ดการวิ
บัติ
ที
ส ลักเกลี
่ ยว หรื
อการวิ
บัติ
แบบ Block Shear)

1 : 40500 kg
2 : 44550 kg
3 : 33750 kg

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 50/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
4 : 50625 kg

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที
่255 : จากรูป ถ
าสลักเกลี
ยวและแผ น เหล็
กเป
น เหล็
กโครงสรางชนิ
ด A36 (Fy = 2500 ksc และ Fu = 4200 ksc) ถามว
า กํ
าลังรับแรงดึ
งบนหน
าตัดประสิ
ทธิ
ผลมี
ค
าเท
ากับเท

ไหร
(สมมติ ว
าไม
เกิ
ดการวิ
บัติที
ส ลักเกลี
่ ยว หรื
อการวิ
บัติ
แบบ Block Shear)

1 : 40500 kg
2 : 44550 kg
3 : 45612 kg
4 : 50625 kg

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

256 : จากรู
ป กํ
าลังรับแรงดึ
งมี
ค
าเท
าไหร
เมื
อรอยต
่ อเกิ
ดการวิ
บัติ
แบบ Block Shear ตามแนว ABCDE กํ
าหนดให
Fy = 2500 ksc และ Fu = 4050 ksc

1 : 40022 kg
2 : 50131 kg
3 : 55000 kg
4 : 55065 kg

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

257 : จากรู
ป ความกว
างสุ
ทธิ
(Wn) ตามแนว ABECD มี
ค
าเท
าไหร
เมื
อสลักเกลี
่ ยวมี
เส
น ผ
าศู
น ย
กลาง 22 มม.

1 : 25.00 cm
2 : 26.26 cm
3 : 27.06 cm
4 : 29.60 cm

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

258 : จากรู
ป ความกว
างสุ
ทธิ
(Wn) ตามแนว ABEFG มี
ค
าเท
าไหร
เมื
อสลักเกลี
่ ยวมี
เส
น ผ
าศู
น ย
กลาง 22 มม.

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 51/52
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1 : 25.00 cm
2 : 26.26 cm
3 : 27.06 cm
4 : 29.60 cm

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

259 :
ในการทํ
ารอยต
อดวยตัวยึ
ดแบบรับแรงกดระหวางชิ
นส
้ วนหลักซึ
งใช
่ แผ
นเหล็ก ชนิดA36 ขนาด 20x300 มม. รับแรงดึ งเท
ากับ 70 ตัน กับแผ
นเหล็กประกับ
2 แผ
นชนิ
ด A36 โดยทีแต
่ ละแผ
นมีขนาด 10x300 มม. จงหาจํานวนของสลักเกลียวขนาด f 16 มม. (Ab = 2 ซม.2) ที
ต
่ องใชสมมติวาหนวยแรงเฉื
อนใช
งาน
ที
ยอมให
่ ของสลักเกลี
ยว = 2100 กก./ซม. ต
2 อระนาบ และหนวยแรงกดใช
งานที ยอมให
่ = 4860 กก./ซม. 2

1:
9 ตัว

2:
12 ตัว

3:
6 ตัว

4:
8 ตัว

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

260 :
จงหาจํานวนของสลักเกลียวขนาด f 16 มม. (Ab = 2 ซม.2) ทีต
่ องใช
ในการทํารอยตอแบบรับแรงกดระหว
างชิ
นส
้ วนรับแรงดึ
งของโครงหลังคาซึ
งใช
่ เหล็

ฉากขนาด 50x50x4 มม. จํ านวน 2 ทอนเพื
อรับแรงดึ
่ งเทากับ 8 ตัน กับแผนเหล็กประกับหนา 6 มม. สมมติ
ว
าหน วยแรงเฉื
อนใช
งานทียอมให
่ ของ
สลักเกลี
ยว = 2100 กก./ซม.2 ต
อระนาบ และหน
วยแรงกดใช งานที ยอมให
่ = 4860 กก./ซม.2
1:
1 ตัว
2:
2 ตัว
3:
3 ตัว
4: 4 ตัว
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

261 :
ในการต
อเหล็
กแผนตั้
งขนาด 10x170 มม. กับแผ
นเหล็
กป
กคานขนาด 50x400 มม. ของคานประกอบ โดยการเขื อมทั้
่ งสองด
านของเหล็กแผ
นตั้
งให
มี
รู
ปตัด
แบบตัว W ถ
าพบว าแรงปฏิ
กิริ
ยาทีปลายคานอันเนื
่ องมาจากจากน้
่ าหนักบรรทุ
ํ กใชงานมีค
าเท
ากับ 80 ตัน และค
าโมเมนตอิ
นเนอร
เชี
ยของคานประกอบ =
3450000 ซม.4 จงประมาณคาแรงเฉื
อนในแนวนอนตรงรอยต อระหว
างเหล็
กแผ
นตั้
งกับแผนเหล็
กปกคาน
1:
300 กก./ซม.
2:
400 กก./ซม.
3:
500 กก./ซม.
4:
550 กก./ซม.
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=77&aMajid=1 52/52

You might also like