You are on page 1of 45

กฎหมายทีเ� กี�ยวข้องกับวิชาชีพ

วิศวกรรม
1 ความรู้เบือ� งต้นเกี�ยวกับกฎหมาย
• กฎหมายที�ใช้ในไทย
• ระบบ CIVIL LAW
• กฎหมายลายลักษณ์อักษร
กฎหมายลายลักษณ์อักษร แบ่งเป�น 3 ประเภทใหญ่ๆ ดังนี�
1. บญญัติขนึ� โดยฝ่ ายนิติบัญญัติ (รัฐสภา)
- กฎหมายรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ
2. บัญญัติขนึ� โดยฝ่ ายบริหาร
- พระราชกําหนด พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง
3. บัญญัติขนึ� โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิน�
- ข้อบัญญัติจังหวัด, เทศบัญญัติ, ข้อบังคับตําบล, ข้อบัญญัติ กทม.
2 กฎหมายวิศวกร

พ.ร.บ.วิศวกร พ.ศ.2542 มีเจตนารมณ์


• คุ้มครองความปลอดภัยในชีวิต ร่างกาย และทรัพย์สินของ
ประชาชน
• ควบคุมเพื�อกลัน� กรองความรู้ความสามารถของผู ้ประกอบ
วิชาชีพวิศวกรรม
• ให้สภาวิศวกรเข้ามามีส่วนช่ วยรัฐในการควบคุมดูแลเพื�อให้
เกิดผลดียงิ� ขึน�
• ส่งสริมคุณภาพการประกอบวิชาชีพเพื�อให้พร้อมแข่งขันกับ
ต่างประเทศ
สมาชิกสภาวิศวกร
มาตรา 11
พ.ร.บ. วิศวกร พ.ศ. 2542
1. สมาชิกสามัญ
2. สมาชิกวิสามัญ
3. สมาชิกกิตติมศักดิ�

เป�นเงื�อนไขของการได้รับใบอนุญาต

หากขาดจากสมาชิกภาพเมื�อใดให้ใบอนุญาตของผู ้นนั � สิน� สุดลง


คุณสมบัติของสมาชิกสามัญสภาวิศวกร
ผู ้สมัครเป�นสมาชิกสามัญจะต้องมีคุณสมบัติ และไม่มีลักษณะต้องห้ามดังต่อไปนี�

• อายุ ไม่ตาํ� กว่า 18 ปี บริบูรณ์


• สัญชาติไทย
คุณสมบัติ • ได้รับปริญญาในสาขาวิศวกรรมศาสตร์ตามที�สภา
วิศวกรให้การรับรอง

• ไม่เป�นผู ้ประพฤติผิดจรรยาบรรณอันจะนํามาซึ� งความ


เสื�อมเสียเกียรติศกั ดิ�แห่งวิชาชีพ
• ไม่เคยต้องโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที�สุดให้จําคุก โรคเรือ� น
ลักษณะต้องห้าม • ไม่เป�นผู ้มีจิตฟั�นเฟื อน ไม่สมประกอบ วัณโรค
• ไม่ เ ป� นโรคต้ อ งห้ า มตามที� กํ า หนดในข้ อ บั ง คั บ สภา โรคเท้าช้าง
วิศวกร ติดยาเสพติด
โรคพิษสุราเรือ� รัง
สภาวิศวกร
จัดตัง� ขึน� ตามมาตรา 6 ของ พรบ. วิศวกร พ.ศ.2542
โดยกําหนดวัตถุประสงค์ของสภาวิศวกร ( มาตรา 7 )

• ส่งเสริมการศึ กษา การวิจัย และการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม


• ส่งเสริมความสามัคคีและไกล่เกลี�ยข้อพิพาทของสมาชิก
• ส่งเสริมสวัสดิการและผดุงเกียรติของสมาชิก
• ควบคุมความประพฤติและการดําเนินงานให้ถูกต้องตามมาตรฐาน
และจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพวิศวกรรม
• ช่ วยเหลือ แนะนํา เผยแพร่ และให้บริการทางด้านวิชาการต่าง ๆ
แก่ประชาชน ในเรื�องที�เกี�ยวกับวิทยาการและเทคโนโลยีวิศวกรรม
• ให้คําปรึกษาหรือข้อเสนอแนะต่อรัฐบาลเกี�ยวกับด้านวิศวกรรม
• เป�นตัวแทนของผู ้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมของประเทศไทย
อํานาจหน้าที�ของสภาวิศวกร ( มาตรา 8 )
• ออกใบอนุญาต
• สัง� พักใบอนุญาต หรือ เพิกถอนใบอนุญาต
• รับรองปริญญา / ประกาศนียบัตร
• รับรองความรู้ความช�านาญในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม
• เสนอแนะรัฐมนตรี การตัง� /การเลิก สาขาวิศวกรรมควบคุม
• ออกข้อบังคับต่าง ๆ ของสภาวิศวกร

7
วิศวกรรมควบคุม ( มาตรา 4 )

“วิชาชีพวิศวกรรม” หมายความว่า
วิชาชีพวิศวกรรมในสาขา 1. วิศวกรรมโยธา
2. วิศวกรรมเหมืองแร่ 3. วิศวกรรมเครื�องกล
4. วิศวกรรมไฟฟ้ า 5. วิศวกรรมอุ ตสาหการ
6. วิศวกรรมสิง� แวดล้อม 7. วิศวกรรมเคมี
และ สาขาวิศวกรรมอื�น ๆ ที�กําหนดในกฎกระทรวง

“วิชาชีพวิศวกรรมควบคุมมีเพียง 7 สาขาข้างต้น”

http://www.coe.or.th/http_public/download/law/20080215172108-1.PDF
8
คณะกรรมการสภาวิศวกร

คณะกรรมการสภาฯ ทัง� หมด 20 คน แบ่งออกเป�น


1. กรรมการที�ได้รับเลือกตัง� จากสมาชิกสามัญและไม่ได้ดํารงตําแหน่งคณาจารย์ใน
สถาบันอุ ดมศึกษาระดับปริญญาตามมาตรา 24 (1) จํานวน 10 คน สาขาละ 1
คน ที�ได้คะแนนสูงสุดของแต่ละสาขา และที�ได้คะแนนสูงสุด อีก 3 คน
2. กรรมการที�ได้รับเลือกตัง� จากสมาชิกสามัญและดํารงตําแหน่งคณาจารย์ ใน
สถาบัน อุ ดมศึ กษาระดับปริญญาตามมาตรา 24 (2) จํานวน 5 คน ที�ได้
คะแนนสูงสุดแต่ละสาขาเรียงตามลําดับ
3. กรรมการซึ�งคณะรัฐมนตรีแต่งตัง� จากสมาชิกสามัญโดยการเสนอชื�อของ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย จํานวน 5 คน ตามมาตรา 24 (3)
การประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
ได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
ผู ้ประกอบวิชาชีพ
วิศวกรรมควบคุมจากสภาวิศวกร
วิศวกรรมควบคุม
• บุ คคลธรรมดา
• นิติบุคคล

10
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
บุ คคลธรรมดามี 4 ระดับ ได้แก่
ขอบเขตงาน
ภาคีวิศวกร
(Associate Engineer) งาน ประเภท และขนาดทีท� ําได้
เป�นไปตามข้อบังคับสภาวิศวกร
สามัญวิศวกร
(Professional Engineer)

วุ ฒิวิศวกร ทําได้ทุกงาน ทุกประเภท


(Senior Professional Engineer) และทุกขนาด

ภาคีวิศวกรพิเศษ ทํางานได้เฉพาะตามที�ระบุ ไว้


(Adjunct Engineer) ในใบอนุญาตฯ เท่านัน�
งานในวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
วิชาชีพวิศวกรรมควบคุมแต่ละสาขามี 6 งานดังนี�
ขอบเขตงาน

กําหนดอยู ่ใน ข้อบังคับว่าด้วยหลักเกณฑ์และคุณสมบัติ


ของผู ้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมแต่ละระดับ
พ.ศ. 2551

13
คณะกรรมการจรรยาบรรณ
- พ.ร.บ. วิศวกรให้ความสําคัญแก่ จรรยาบรรณวิศวกร
- ผู ้ประพฤติผิดจรรยาบรรณอย่างร้ายแรงอาจถูกพักใช้
ใบอนุญาตได้ไม่เกิน 5 ปี หรือ เพิกถอนใบอนุญาตได้

บทกําหนดโทษ
- การฝ่ าฝื น พ.ร.บ. วิศวกร มีโทษจําคุก หรือปรับ หรือทัง� จําทัง� ปรับ
แล้วแต่กรณี
- เช่ น การประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมโดยไม่ได้รับอนุญาต
โทษจําคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือทัง� จําทัง� ปรับ
(มาตรา 71)
3 กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครอง
แรงงานและปลอดภัย

พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มีเจตนารมณ์


• เพื�อให้การใช้ แรงงานเป�นไปอย่างเป�นธรรม
• ให้ความคุ้มครองแก่การใช้ แรงงานหญิง และเด็กเป�นพิเศษกว่า
การใช้ แรงงานทัว� ไป
• ค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าชดเชย สวัสดิการ
การใช้แรงงานทัว� ไป
• วันหนึ�งไม่เกิน 8 ชัว� โมง / ไม่เกิน 48 ชัว� โมง ต่อสัปดาห์
• หยุ ดไม่น้อยกว่า 1 วัน / สัปดาห์
• จัดให้มีเวลาพักระหว่างการทํางานวันหนึ�งไม่น้อยกว่า 1 ชัว� โมง
การใช้แรงงานหญิง
• ห้ามทํางานใต้ดิน ใต้นาํ � ในถํา� ในอุ โมงค์ งานที�ทําในเรือฯ
• ห้ามทํางานบนนัง� ร้านที�สูงกว่าพืน� ดินตัง� แต่ 10 เมตรขึน� ไป
• มีครรภ์ห้ามทํางานระหว่างเวลา 22.00 น. - 06.00 น.
• มีครรภ์ลาได้ไม่เกิน 98 วัน
• ห้ามเลิกจ้างเพราะมีครรภ์
การใช้แรงงานเด็ก
• ห้ามจ้างเด็กอายุ ตํา� กว่า 15 ปี (มาตรา44)
• ห้ามเด็กอายุ ตาํ� กว่า 18 ปี ทํางานระหว่างเวลา 22:00-06:00 น.
• ห้ามจ้างเด็กอายุ ตํา� กว่า 18 ปี ทํางานใต้ดิน ใต้นํา� ในถํา� อุ โมงค์ฯ
• ห้ามเด็กอายุ ตํ�ากว่า 18 ปี ทํางานในโรงฆ่าสัตว์ สถานที�เล่นการพนัน
สถานบริการตามกฎหมายว่าด้วยสถานบริการ
พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน
การทํางาน พ.ศ. 2554 มีเจตนารมณ์

 กําหนดกลไกและมาตรการบริหารงานความปลอดภัยให้มี
ประสิทธิภาพ

 วางมาตรการควบคุม กํากับ ดูแล และบริหารจัดการด้านความ


ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานให้มี
ความเหมาะสม เพื�อป้ องกัน สงวนรักษาทรัพยากรบุ คคล
4 กฎหมายว่าด้วยโรงงาน

พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535 มีเจตนารมณ์


• ควบคุมการจัดตัง� โรงงานบางประเภทที�อาจเกิดอันตรายจากการประกอบ
กิจการอย่างเคร่งครัด ประเภทอื�นเพียงแต่ดูแลการดําเนินงานเท่านัน�
• ปรับปรุ งระบบการควบคุมดูแลให้สอดคล้องกับสภาพการประกอบกิจการ
• กําหนดให้มีการร่วมรับผิดสําหรับผู ้ท�ที ํางานในโรงงาน (เช่ น วิศวกร)
นอกเหนือจากเจ้าของโรงงานเพื�อให้การควบคุมโรงงานเป�นไปอย่างได้ผลยิง� ขึน�
นิยามของโรงงาน
พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติโรงงาน (ฉบับที� 2)
พ.ศ. 2562 ประกอบด้วยดังนี�

“โรงงาน” หมายความว่า อาคาร สถานที� หรือยานพาหนะ ที�ใช้


เครื�องจักรที�มีกําลังรวมตัง� แต่ 50 แรงม้าหรือกําลังเทียบเท่าตัง� แต่
50 แรงม้าขึน� ไป หรือใช้ คนงานตัง� แต่ 50 คนขึน� ไป โดยใช้ เครื�องจักร
หรือไม่ก็ตาม ทัง� นีต� ามประเภท หรือ ชนิดของโรงงานที�กําหนดไว้ใน
กฎกระทรวง

https://www.diw.go.th/hawk/content.php?mode=laws&tabid=1&secid=1
ความรับผิดของวิศวกร
วิศวกรต้องร่วมรับผิดกับเจ้าของโรงงาน กรณีดังนี�
1. โรงงานถูกคําสัง� ให้หยุ ดประกอบกิจการหรือปิ ดโรงงาน วิศวกรยังฝ่ า
ฝื นทํางานเพื�อให้โรงงานประกอบกิจการต่อไป มีโทษเช่ นเดียวกับผู ้ประกอบ
กิจการโรงงาน (จําคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรือทัง� จํา
ทัง� ปรับ)
2. ผู ้ประกอบกิจการโรงงานกระทําผิดตามพ.ร.บ.นี� ให้ถือว่าวิศวกรที�
ทํางานในโรงงานและมีหน้าที�รับผิดชอบในการงานส่วนที�มีการกระทําความผิด
ที�เกิดขึน� นัน� มีส่วนร่วมหรือรู้เห็นในการกระทําความผิดกับผู ้ประกอบกิจการ
โรงงานและต้องรับโทษเช่ นเดียวกับผู ้ประกอบกิจการโรงงาน (เว้นแต่จะพิสูจน์
ได้ว่าตนมิได้รู้เห็นหรือยินยอมกับการกระทําความผิดนัน� ) และแจ้งให้สภา
วิศวกรลงโทษด้วย
5 กฎหมายควบคุมอาคาร

ตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 มีเจตนารมณ์

• เพื�อเพิม� ประสิทธิภาพในด้านการควบคุมเกี�ยวกับความมัน� คงแข็งแรง


ความปลอดภัย การป้ องกันอัคคีภัย การสาธารณสุข การรักษา
คุณภาพสิง� แวดล้อม การผังเมือง การสถาปั ตยกรรม และการอํานวย
ความสะดวกแก่การจราจร
• กฎหมายควบคุมอาคาร บังคับใช้ ในทุกท้องที� ซึ�งเป�นผลมาจาก
พ.ร.บ. การผังเมือง พ.ศ. 2562 ที�บังคับใช้ ผังเมืองรวมทัง� ประเทศ
แล้ว
• พืน� ที�ประกาศพระราชกฎษฎีกาให้ใช้ พ.ร.บ. ควบคุมอาคารฯ มัก
เรียกท้องที�นนั � ว่าเป�น “เขตควบคุมอาคาร”
• เขตท้องที�ท�ไี ด้มีการประกาศให้ใช้ บังคับผังเมืองรวมตามกฎหมายว่า
ด้วยการผังเมืองหรือเขตท้องที�ท�ีได้เคยมีการประกาศดังกล่าว กรณี
นี� พ.ร.บ. ควบคุมอาคารบังคับตามเขตผังเมืองรวมนัน� โดยไม่ต้อง
ตรา
เป�นพระราชกฤษฎีกา
• สําหรับอาคารสูง อาคารขนาดใหญ่พิเศษ อาคารชุ มนุมคน
และโรงมหรสพ พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร มีผลใช้ บังคับไม่ว่าท้องที�
ที�อาคารนัน� ตัง� อยู ่จะมีการตราเป�น พ.ร.ฎ. หรือไม่ก็ตาม
• ข้อบัญญัติท้องถิน� สามารถกําหนดรายละเอียด
เพิม� เติมจากที�กําหนดในกฎกระทรวง หรือกรณีจําเป�นหรือมีเหตุผล
พิเศษเฉพาะท้องถิน� สามารถกําหนดขัดหรือแย้งกับกฎกระทรวงได้
แต่ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการควบคุมอาคาร
และ รมว.กระทรวงมหาดไทย (มาตรา 10)
ประกาศกระทรวงมหาดไทย เป�นเรื�องเฉพาะ สําหรับกําหนดบริเวณ
ห้ามก่อสร้างอาคารบางชนิด มีอายุ ใช้ บังคับ 1 ปี (มาตรา 13)
(หากไม่มีการออกกฎกระทรวงหรือข้อบัญญัติท้องถิน� ภายใน 1 ปี
นับจากวันที�ประกาศนัน� บังคับใช้ ประกาศฯดังกล่าวจะต้องยกเลิก)
การขออนุญาตก่อสร้างอาคาร

• ก่อสร้าง ดัดแปลง ซ่ อมแซม รือ� ถอนอาคารต้องขออนุญาต

1. ต่อ เจ้าพนักงานท้องถิน� (ตามมาตรา 21)


• ต้องได้รับใบอนุญาตก่อนจึงดําเนินการได้

2. แจ้งแบบและเอกสารต่อเจ้าพนักงานท้องถิน� เพื�อจะก่อสร้าง
โดยไม่ยื�นคําขอรับ ใบอนุญาต (ตามมาตรา 39 ทวิ)
• วิศวกรผู ้ลงนามตามมาตรา 39 ทวิ ต้องมีคุณสมบัติตาม
พ.ร.บ.วิศวกร
• เมื�อแจ้งฯ และได้รับใบรับแจ้งฯ แล้วสามารถก่อสร้างได้เลย
การดําเนินการหลังได้รับใบอนุญาตก่อสร้างอาคารแล้ว
• การก่อสร้างอาคารทุกชนิด ต้องมีผู้ควบคุมงาน ตลอดเวลา
• ผู ้ควบคุมงานจะเป�นใครก็ได้

• ถ้าเป�นอาคารที� กฎหมายวิชาชีพวิศวกรรม กําหนดว่า เป�น งาน


วิศวกรรมควบคุม ก็ต้องเป�น วิศวกร
• ต้องมีหนังสือแจ้งชื�อผู ้ควบคุมงาน
กฎกระทรวงที�เกี�ยวข้องกับวิศวกร

• กฎกระทรวงฉบับที� 4 (พ.ศ.2526) กําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื�อนไข


การก่อสร้าง (มาตรการความปลอดภัยต่อประชาชน)

• กฎกระทรวงฉบับที� 6 (พ.ศ.2527) กําหนดการรับนํา� หนัก ค่าหน่วย


แรงต่างๆในการคํานวณออกแบบโครงสร้างของอาคาร ความต้านทาน
ความคงทน ลักษณะ และคุณสมบัติของวัสดุท�ใี ช้ ในการก่อสร้าง

• กฎกระทรวงฉบับที� 33 (พ.ศ.2535) กําหนดโครงสร้างและอุ ปกรณ์


ซึ�งเป�นส่วนประกอบ ของ อาคารสูง และ อาคารขนาดใหญ่พิเศษ
กฎกระทรวงที�เกี�ยวข้องกับวิศวกร
• กฎกระทรวงฉบับที� 39 (พ.ศ.2537) กําหนดแบบและวิธีการเกี�ยวกับการติดตัง� ระบบการป้ องกัน
อัคคีภัย ระบบการจัดแสงสว่าง การระบายอากาศ ระบบจ่ายพลังงานไฟฟ้ าสํารอง

• กฎกระทรวงฉบับที� 55 (พ.ศ.2543) กําหนดลักษณะ แบบ รูปทรง สัดส่วน เนือ� ที� ที�ตงั � ของ
อาคาร เนือ� ที�ของที�ว่างของอาคารพักอาศัยต้องไม่น้อยกว่า 30 %
- ทางเดินหลังตึกแถวต้องเป�นที�ว่างกว้าง
ไม่น้อยกว่า 3 ม.
- ตัวอาคาร
ยาวไม่เกิน 40 ม.
กฎกระทรวงที�เกี�ยวข้องกับวิศวกร

• กฎกระทรวงกําหนดหน้าที�และความรับผิดชอบของผู ้ออกแบบ ผู ้ควบคุมงาน


ผู ้ดําเนินการ ผู ้ครอบครองอาคาร และเจ้าของอาคาร พ.ศ. 2561

กฎกระทรวงฉบับนี� มีความสําคัญต่อผู ้ท�เี กี�ยวข้องในงานก่อสร้างอาคาร ตัง� แต่


ผู ้ออกแบบ ผู ้ควบคุมงาน ผู ้ดําเนินการ ผู ้ครอบครองอาคาร และเจ้าของอาคาร
เพราะเป�นการกําหนดหน้าที�และความรับผิดชอบของฝ่ ายต่างๆ ให้มีความชัดเจน
เกี�ยวกับหน้าที�และความรับผิดชอบ
• กฎหมายควบคุมอาคาร เกี�ยวข้องกับกฎหมายอื�นหลายฉบับ เช่ น กฎหมายว่า
ด้วย
การผังเมือง กฎหมายว่าด้วยวิศวกร กฎหมายว่าด้วยสิง� แวดล้อม กฎหมายว่า
ด้วยทางหลวง เป�นต้น

• การใช้ กฎหมายควบคุมอาคาร ต้องศึกษากฎหมายอื�นที�เกี�ยวข้องควบคู่ไปด้วย

บทกําหนดโทษ
กฎหมายกําหนดโทษไว้หลายระดับ
• ก่อสร้างโดยไม่ได้รับอนุญาต
• ก่อสร้างอาคารผิดจากแบบแปลน แผนผัง ที�ได้รับอนุญาต
จําคุกไม่เกิน 3 เดือน หรือปรับไม่เกิน 6 หมื�น หรือทัง� จําทัง� ปรับ และ ปรับอีกวันละ
1 หมื�นบาท ตลอดเวลาที�ยังฝ่ าฝื นหรือจนกว่าจะได้ปฏิบัติให้ถูกต้อง
กฎหมายว่าด้วยความผิดเกี�ยวกับ
6
การเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ
เจตนารมณ์
• ป้ องกันการสมยอมในการเสนอราคาเพื�อจัดหาสินค้า หรือ บริการ ให้แก่
หน่วยงานของรัฐอันจะก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประเทศชาติ
• กําหนดลักษณะความผิดและกลไกในการดําเนินการเอาผิดกับ
ผู ้ดํารงตําแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที�ของรัฐ

กฎหมายที�เกี�ยวข้อง
• พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดเกี�ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2542
• พระราชบัญญัติมาตรการของฝ่ ายบริหารในการป้ องกันและปราบปรามการทุจริต
พ.ศ.2551
บทกําหนดโทษ (พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดเกี�ยวกับ การเสนอราคา
ต่อหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2542)

• เจ้าหน้าที�ในหน่วยงานของรัฐผู ้ใดซึ�งมีอํานาจหรือหน้าที�ในการอนุมัติ
การพิจารณาหรือการดําเนินการใด ๆ ที�เกี�ยวข้องกับการเสนอราคา
ครัง� ใด รู้หรือมีพฤติการณ์แจ้งชัดว่าควรรู้ว่าการเสนอราคาในครัง� นัน�
มีการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี� ละเว้นไม่ดําเนินการเพื�อให้
มีการยกเลิกการดําเนินการเกี�ยวกับการเสนอราคาในครัง� นัน� ต้อง
ระวางโทษจําคุกตัง� แต่ 1–10ปี และปรับตัง� แต่ 20,000– 200,000 บาท
(มาตรา 10) เช่ น เจ้าหน้าที�ท�เี ป�นวิศวกร
• เจ้าหน้าที�ในหน่วยงานของรัฐผู ้ใด หรือผู ้ได้รับมอบหมายจากหน่วยงาน
ของรัฐผู ้ใด (เช่ น วิศวกร) โดยทุจริตทําการออกแบบ กําหนดราคา
กําหนดเงื�อนไข หรือกําหนด ผลประโยชน์ตอบแทน อันเป�นมาตรฐานใน
การเสนอราคา โดยมุ ่งหมายมิให้มีการแข่งขันใน การเสนอราคาอย่าง
เป�นธรรม หรือเพื�อช่ วยเหลือให้ผู้เสนอราคารายใดได้มีสิทธิเข้าทํา
สัญญา กับหน่วยงานของรัฐโดยไม่เป�นธรรม หรือเพื�อกีดกันผู ้เสนอ
ราคารายใดมิให้มีโอกาสเข้าแข่งขัน ในการเสนอราคาอย่างเป�นธรรม
ต้องระวางโทษจําคุกตัง� แต่ 5-20 ปี หรือจําคุกตลอดชีวิต และปรับตัง�
แต่ 100,000 – 400,000 บาท (มาตรา 11)
7 กฎหมายแพ่ ง -พาณิ ชย์ แ ละกฎหมาย
อาญาที�เกี�ยวข้องกับวิชาชีพวิศวกรรม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
• กฎหมายที�กําหนดว่าด้วยเรื�องสิทธิ หน้าที� และความสัมพันธ์ ระหว่าง
เอกชนต่อเอกชน เช่ น เรื�องสภาพบุ คคล ทรัพย์ หนี� นิติกรรม
ครอบครัว และมรดก
ประมวลกฎหมายอาญา
• กฎหมายที�กําหนดลักษณะของการกระทําหรือไม่กระทําอย่างใด
ถือว่าเป�นความผิด และกําหนดบทลงโทษทางอาญาสําหรับผู ้กระทํา
ความผิด ทัง� นี� เพื�อเป�นรักษาความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง
และสังคม
โทษทางกฎหมายอาญาที�เกี�ยวข้องกับวิชาชีพวิศวกรรม
มาตรา 227 ผู ้ใดเป�นผู ้มีวิชาชี พในการออกแบบ ควบคุม หรือ
ทําการก่อสร้าง ซ่ อมแซมหรือรือ� ถอน อาคารหรือสิ�งปลูกสร้างใด ๆ
ไม่ ป ฏิ บั ติ ต ามหลั ก เกณฑ์ ห รื อ วิ ธี ก ารอั น พึ ง กระทํ า การนั �น ๆ โดย
ประการที�น่าจะเป�นเหตุให้เกิดอันตรายแก่บุคคลอื�น ต้องระวางโทษจําคุก
ไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาทหรือทัง� จําทัง� ปรับ
มาตรา 269 ผู ้ใดในการประกอบการงานในวิชาแพทย์ กฎหมาย
บั ญ ชี ห รื อ วิ ช าชี พ อื� น ใด ทํ า คํ า รั บ รองเป� นเอกสารอั น เป� นเท็ จ
โดยประการที� น่ า จะเกิ ด ความเสี ย หายแก่ ผู้ อื� น หรื อ ประชาชน ต้ อ ง
ระวางโทษจําคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 40,000 บาท หรือทัง� จํา
ทัง� ปรับ
ผู ้ ใ ดโดยทุ จ ริ ต ใช้ ห รื อ อ้ า งคํ า รั บ รองอั น เกิ ด จากการกระทํ า
ความผิดตามวรรคแรก ต้องระวางโทษเช่ นเดียวกัน
8 กฎหมายผังเมือง
พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2562 มีเจตนารมณ์
• กําหนดรูปแบบการวางและจัดทําผังเมืองทุกระดับ
• บริหารจัดการผังเมืองให้มีรูปแบบการดําเนินการและการบริหารจัดการที�
เหมาะสม สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิง� แวดล้อม โดยการวางกรอบนโยบายการพัฒนาพืน� ที�และการใช้
ประโยชน์ท�ีดินระดับประเทศ ระดับภาค ระดับจังหวัด ระดับเมือง และระดับ
ชนบท
• กระจายอํานาจในการวางและจัดทําผังเมืองให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิน�
• การมีส่วนร่วมของประชาชนผ่านกระบวนการรับฟังความคิดเห็นจาก
ทุกภาคส่วน
• กําหนดหลักเกณฑ์การใช้ ประโยชน์พนื� ที�และการใช้ ประโยชน์ท�ีดินต้องสอดคล้อง
กับนโยบายและยุ ทธศาสตร์เพื�อการพัฒนาประเทศ
การวาง จัดทํา และบังคับใช้ ผังเมืองรวม
• ผังเมืองรวมให้ออกเป�นประกาศกระทรวงมหาดไทยหรือข้อบัญญัติท้องถิน�
(มาตรา 32)
• จัดทํารายงานการประเมินผลการเปลี�ยนแปลงสภาพการณ์และ
สิง� แวดล้อมการใช้ บังคับผังเมืองรวมตามระยะเวลาที�คณะกรรมการผัง
เมืองหรือคณะกรรมการผังเมืองจังหวัดกําหนด แล้วแต่กรณี แต่ไม่เกิน 5
ปี นับแต่วันที�ประกาศกระทรวงมหาดไทยหรือข้อบัญญัติท้องถิ�นให้ใช้ บังคับ
ผังเมืองรวมใช้ บังคับ หรือนับแต่วันที�คณะกรรมการผังเมืองหรือ
คณะกรรมการผังเมืองจังหวัดพิจารณารายงานการประเมินผลครัง� ที�
ผ่านมาเสร็จสิน� ทัง� นี� กรณีหากเห็นว่าจําเป�นต้องเปลี�ยนแปลงแก้ไขจึงจะ
ดําเนินการปรับปรุ งโดยการวางและจัดทําผังเมืองรวมขึน� ใหม่ (มาตรา 34)
การวาง จัดทํา และบังคับใช้ ผังเมืองเฉพาะ
• การวางและจัดทําผังเมืองเฉพาะให้ตราเป�นพระราชบัญญัติ
หรือพระราชกฤษฎีกาแล้วแต่กรณี ในกรณีท�ีมีความจําเป�นต้องเวนคืน
อสังหาริมทรัพย์เพื�อให้เป�นไปตามผังเมืองเฉพาะ ให้การเวนคืน
อสังหาริมทรัพย์เป�นไปตามกฎหมายว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์
(มาตรา 39)
• ในระหว่างที�ใช้ บังคับพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา ถ้าองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิน� หรือกรมโยธาธิการและผังเมืองเห็นว่า
สภาพการณ์และสิง� แวดล้อมในเขตของผังเมืองเฉพาะได้เปลี�ยนแปลงไป
สมควรแก้ไขปรับปรุ ง ข้อกําหนดหรือรายละเอียดของผังเมือง ให้องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิน� หรือกรมโยธาธิการและผังเมืองเสนอขอแก้ไข
ปรับปรุ งผังเมืองเฉพาะต่อคณะกรรมการผังเมือง (มาตรา 49)
แผนผังกําหนดการใช้ ประโยชน์ที�ดนิ ตามกฎกระทรวงให้ใช้ บงั คับผังเมืองรวม กรุ งเทพมหานคร
พ.ศ. 2556

รายละเอียดเนือ� หา
ใช้ Font Angsana UPC ขนาด 32
9 กฎหมายส่งเสริมการอนุรกั ษ์ พลังงาน

เจตนารมณ์
• เพื�อให้มีการผลิตและการใช้ พลังงานอย่างประหยัดและมีประสิทธิภาพ การผลิต
เครื�องจักรและอุ ปกรณ์ท�มี ีประสิทธิภาพและวัสดุท�ีใช้ ในการอนุรักษ์ พลังงานขึน�
ในประเทศ โดยกําหนดมาตรการในการกํากับดูแล ส่งเสริมและช่ วยเหลือ
เกี�ยวกับการใช้ พลังงาน และการจัดตัง� กองทุนส่งเสริมเพื�ออนุรักษ์ พลังงาน
• กําหนด อาคารควบคุม คือ อาคารที�ใช้ ไฟฟ้ าตัง� แต่ 1,000 kW หรือ 1,175
kVA ขึน� ไป หรือพลังงานตัง� แต่ 20 ล้านเมกะจู ลขึน� ไป
(พ.ร.ฎ.กําหนดอาคารควบคุม พ.ศ. 2538)
• กําหนด โรงงานควบคุม คือ โรงงานที�ใช้ ไฟฟ้ าตัง� แต่1,000 kW หรือ 1,175
kVA ขึน� ไป หรือพลังงานตัง� แต่ 20 ล้านเมกะจู ลขึน� ไป
(พ.ร.ฎ.กําหนดโรงงานควบคุม พ.ศ. 2540)
ประเภทและขนาดของอาคาร ที�ต้องมีการออกแบบเพื�อการอนุรักษ์ พลังงาน
ได้แก่ การก่อสร้าง หรือดัดแปลงอาคาร ที�มีพืน� ที�รวมกันทุกชัน�
ในหลังเดียวกัน ตัง� แต่ 2,000 ตารางเมตรขึน� ไป ในอาคารดังต่อไปนี�
1.สถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล
2.สถานศึ กษา
3.สํานักงาน
4.อาคารชุ ดตามกฎหมายว่าด้วยอาคารชุ ด
5.อาคารชุ มนุมคนตามกฎหมายว่าด้วยการการควบคุมอาคาร
6.อาคารโรงมหรสพตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร
7.อาคารโรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม
8.อาคารสถานบริการตามกฎหมายว่าด้วยสถานบริการ
9.อาคารห้างสรรพสินค้าหรือศูนย์การค้า
(กฎกระทรวงกําหนดประเภท หรือขนาดของอาคาร และมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และ
วิธีการ
ในการออกแบบอาคารเพื�อการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2552)
10 กฎหมายคอมพิวเตอร์

วัตถุประสงค์ ตามพระราชบัญญัตวิ ่าด้วยการกระทําผิดเกี�ยวกับ


คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
• กําหนดรายละเอียดเกี�ยวกับฐานความผิดของการกระทําผิดใน
การใช้ งานระบบสารสนเทศและบทลงโทษของผู ้ท�ีกระทําผิด
ทําให้ผู้ท�จี ะกระทําผิดต้องคํานึงถึงผลที�จะตามมา
• กําหนดให้ผู้ดูแลระบบสารสนเทศจะต้องดําเนินการปรับปรุ งระบบ หรือ
เพิม� เติมการทํางานบางอย่างในระบบเพื�อให้ถูกต้องตามข้อกําหนดของ
พระราชบัญญัติด้วย
วัตถุประสงค์ ตามพระราชบัญญัตวิ ่าด้วยการกระทําผิดเกี�ยวกับ
คอมพิวเตอร์ (ฉบับที� 2) พ.ศ. 2560
• ปรับปรุ งบทบัญญัติในส่วนที�เกี�ยวกับผู ้รักษาการตามกฎหมาย
• กําหนดฐานความผิดขึน� ใหม่ และแก้ไขเพิม� เติมฐานความผิดเดิม พร้อม
ทัง� กําหนดบทกําหนดโทษของความผิดดังกล่าว
• ปรับปรุ งกระบวนการและหลักเกณฑ์ในการระงับการทําให้แพร่หลายหรือ
ลบข้อมู ลคอมพิวเตอร์
• แก้ไขเพิม� เติมอํานาจหน้าที�ของพนักงานเจ้าหน้าที�ให้เหมาะสมยิง� ขึน�
ตัวอย่างบทกําหนดโทษ ความผิดเกี�ยวกับคอมพิวเตอร์
ฐานความผิด โทษจําคุก โทษปรับ
ม า ต ร า 7 ผู ้ ใ ด เ ข้ า ถึ ง โ ด ย มิ ช อ บ ซึ� ง ไม่เกิน 2 ปี ไม่เกิน 40,000 บาท
ข้อมู ลคอมพิวเตอร์ (เจาะข้อมู ล)
มาตรา 8 การดักข้อมู ลคอมพิวเตอร์ ไม่เกิน 3 ปี ไม่เกิน 60,000 บาท
มาตรา 11 ส่งข้อมู ลโดยปกปิ ดแหล่งที�มา ไม่มี ไม่เกิน 100,000 บาท
รบกวนบุ คคลอื�น
มาตรา 14 การนําเข้าข้อมู ลอันเป�นเท็จ ไม่เกิน 5 ปี ไม่เกิน 100,000 บาท
มาตร 16 ตัดต่อ เติม หรือดัดแปลงภาพผู ้อื�น ไม่เกิน 3 ปี ไม่เกิน 200,000 บาท
ให้ได้รับความเสียหาย
หรือทัง� จําทัง� ปรับ ในมาตรา 7, 8, 14, 16
บทสรุ ป
- กฎหมายที�เกี�ยวข้องกับวิศวกร ดังกล่าว จะมีการปรับปรุ งแก้ไขตลอดเวลา

- วิศวกรต้องติดตามการเปลี�ยนแปลงของกฎหมาย
ซึ�งอาจมีผลกระทบต่อการประกอบวิชาชีพได้จาก
สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

- ความรู้ท�เี รียนมา เป�นเพียงส่วนประกอบเพื�อเป�นหลัก


ในการทํางานของตัวเองเท่านัน�

- การทํางานในชีวิตจริงต้องทํางานร่วมกับผู ้อื�น ต่อสู้กับคู่แข่งขัน


ต้องรู้จักปรับตัว ให้เข้ากับสังคม จึงจะอยู ่รอดได้
Thank you.

You might also like