You are on page 1of 43

การทดสอบความรู้ระดับภาคี โดยข้อสอบแบบองค์ความรู้

โดย รศ.ดร. สุธา ขาวเธียร


หลักการและเหตุผล

ตามประกาศสภาวิศวกรที่ 149/2551 เรือ่ ง “การสอบข้อเขียนสําหรับผู ้


ขอรับ ใบอนุ ญ าตเป็ นผู ้ป ระกอบวิ ช าชี พ วิ ศ วกรรมควบคุ ม ระดับ ภาคี
วิศวกร” ได้กาํ หนดให้ผขู ้ อรับใบอนุญาตฯ ต้องผ่านการทดสอบความรูด้ ว้ ย
วิธีสอบข้อเขียนในหมวดวิชาพื้นฐานทางวิศวกรรม และหมวดวิชาเฉพาะ
ทางวิศวกรรม
ปั จจุบนั สภาวิศวกรได้มีการปรับปรุงรายวิชาตามระเบียบคณะกรรมการ
้ ้ ื นฐานทางวิ ท ยาศาสตร์ องค์ค วามรู ้
สภาวิ ศ วกร ว่ า ด้ว ยองค์ค วามรู พ
พื้นฐานทางวิศวกรรม และองค์ความรูเ้ ฉพาะทางวิศวกรรม ที่สภาวิศวกร
จะให้การรับรองปริญญา ประกาศนี ยบัตร หรือวุ ฒิบัตรในการประกอบ
วิชาชีพวิศวกรรมควบคุม พ.ศ. 2562

2
วัตถุประสงค์

• เพื่อรายงานความก้าวหน้าด้านการปรับปรุงระบบการสอบระดับภาคีวิศวกร
• เพื่อนําเสนอแนวทางในการปรับปรุงข้อสอบและออกข้อสอบระดับภาคีวิศวกร
• เพื่อให้เกิดความเข้าใจระหว่างสภาวิศวกรกับสถาบันการศึกษาต่างๆ และเกิดการ
สร้างภาพลักษณ์ที่ดี

3
COMPETENCE CRITERIA
WA IPEA / APEC SDG
TABEE COET
CAPACITY BUILDING
IPD CPD TTr
Structured Training / Continuing Prof.Dev. / Technology Transfer

PROFESSIONAL PRACTICE REGULATION


PROFESSIONAL
● Knowledge COMPETITIVENESS
Graduate Competency ● Skills  Professional Practice
Attribution Framework ● Management
● Sustainability  Engineering Service
 Prof.Business Sectors
CS CC CP
Code of Service / Code of Conduct / Code of Practice
PROFESSION COMITTMENT / ASSESSMENT
Responsible Charge / Significant Eng. Word / Professional Achievement
• วิศวกร
(ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการสภาวิศวกร
ว่าด้วยการทดสอบความรูผ ้ ู ้ขอรับใบอนุญาตเป็นผู ้ประกอบ
วิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ระดับภาคีวิศวกร
(ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการสภาวิศวกร ว่าด้วยการทดสอบความรู้ฯ ระดับภาคีวศิ วกร (1)

7
(ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการสภาวิศวกร ว่าด้วยการทดสอบความรู้ฯ ระดับภาคีวศิ วกร (2)

8
(ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการสภาวิศวกร ว่าด้วยการทดสอบความรู้ฯ ระดับภาคีวศิ วกร (3)

9
(ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการสภาวิศวกร ว่าด้วยการทดสอบความรู้ฯ ระดับภาคีวศิ วกร (4)

10
หลักเกณฑ์และวิธีการสอบข้อเขียน
หลักเกณฑ์และวิธกี าร (1)

1. อัตราค่าสมัครสอบ ครั้งละ 1,500 บาท


2. ไม่อนุญาตให้ผสู ้ มัครสอบขอเลื่อนกําหนดการสอบ และไม่คืนค่าสมัครสอบ
ทุกกรณี
3. คะแนนแต่ละข้อเท่ากับ 1 คะแนน ข้อที่ไม่ตอบหรือตอบผิดได้คะแนนเท่ากับศูนย์
4. ห้ามผูเ้ ข้าสอบนําตําราหรือเอกสารอ้างอิงต่างๆ เข้าห้องสอบ โดยสภาวิศวกรจะ
เตรียม ตารางมาตรฐานไว้ให้ในห้องสอบ และให้ใช้เครือ่ งคํานวณธรรมดาที่มี
ฟั งก์ชนั เสริมทางเราขาคณิตเท่านั้น
5. ไม่อนุญาตให้นาํ เครือ่ งคํานวณที่สามารถบรรจุโปรแกรมตัวอักษรเข้าห้องสอบ
6. ผูเ้ ข้าสอบต้องแสดงบัตรสมาชิกสภาวิศวกร หรือบัตรประจําตัวประชาชนต่อ
เจ้าหน้าที่ เพื่อลงทะเบียนเข้าสอบและรับรหัสผ่าน

12
หลักเกณฑ์และวิธกี าร (2)
7. ผูเ้ ข้าสอบต้องแต่งกายสุภาพ เช่น ห้ามสวมใส่เสื้อไม่มีปก กางเกงขาสั้น
และรองเท้าแตะ เป็ นต้น หากฝ่ าฝื นจะไม่อนุญาตให้เข้าห้องสอบ
8. ห้ามผูเ้ ข้าสอบพกพาอุปกรณ์สื่อสารทุกชนิดเข้าห้องสอบ
9. ห้ามผูเ้ ข้าสอบเข้าห้องสอบช้าเกินกว่า 30 นาที และห้ามออกจากห้องสอบก่อน
ครบกําหนด 60 นาที
10. หากผูเ้ ข้าสอบทุจริตในการสอบให้ปรับตกทุกวิชา และห้ามสมัครสอบในครั้ง
ต่อไปอีกเป็ นเวลา 1 ปี
11. ประกาศผลสอบ โดยทราบผลหลังสอบเสร็จ
12. ผลการสอบที่สอบผ่านแล้วเก็บไว้ได้ 2 ปี นับแต่วนั ที่คณะกรรมการสภาวิศวกร
มีมติอนุมตั ิ หากไม่สามารถผ่านการทดสอบความรูอ้ ีกหมวดให้ถือว่าหมวดวิชา
ที่สอบผ่านแล้วเป็ นอันสิ้นผลไป

13
การทดสอบความรูฯ้ หมวดวิชาพื้นฐานทางวิศวกรรม (แบบเก่า)

คลังข้อสอบ ข้อสอบ
(วิชาละ 400 ข้อ) (วิชาละ 25 ข้อ)

วิชาพื้นฐาน 1 วิชาพื้นฐาน 1

วิชาพื้นฐาน 2 วิชาพื้นฐาน 2
วิธีการโดยการสุม่ ข้อสอบ
วิชาพื้นฐาน 3 จากคลังข้อสอบ วิชาพื้นฐาน 3

วิชาพื้นฐาน 4 วิชาพื้นฐาน 4

14
การทดสอบความรูฯ้ หมวดวิชาพื้นฐานทางวิศวกรรม (แบบใหม่)

คลังข้อสอบ ข้อสอบ
(วิชาละ 400 ข้อ) (จํานวนละ X ข้อ)

วิชาพื้นฐาน 1 A

วิชาพื้นฐาน 2 B

วิชาพื้นฐาน 3 C

วิชาพื้นฐาน 4 D
การทดสอบความรูฯ้ หมวดวิชาเฉพาะทางวิศวกรรม (แบบเก่า)

คลังข้อสอบ ข้อสอบ
(วิชาละ 400 ข้อ) (วิชาละ 25 ข้อ)

วิชาเฉพาะทาง 1 วิชาเฉพาะทาง 1

วิชาเฉพาะทาง 2 วิชาเฉพาะทาง 2
วิธีการโดยการสุม่ ข้อสอบจาก
คลังข้อสอบ
วิชาเฉพาะทาง 3 วิชาเฉพาะทาง 3

วิชาเฉพาะทาง 4-8 วิชาเฉพาะทาง 4-8


(เลือก 1 วิชา) (1 วิชา)
การทดสอบความรูฯ้ หมวดวิชาเฉพาะทางวิศวกรรม (แบบใหม่)
คลังข้อสอบ ข้อสอบ
(วิชาละ 400 ข้อ) (จํานวนละ X ข้อ)
วิชาเฉพาะทาง 1 องค์ความรู ้ 1
วิชาเฉพาะทาง 2 องค์ความรู ้ 2
วิชาเฉพาะทาง 3 องค์ความรู ้ 3
วิชาเฉพาะทาง 4 องค์ความรู ้ 4
วิชาเฉพาะทาง 5 องค์ความรู ้ 5
วิชาเฉพาะทาง 6 องค์ความรู ้ 6
วิชาเฉพาะทาง 7 องค์ความรู ้ 7
วิชาเฉพาะทาง 8 องค์ความรู ้ 8
รายวิชาพื้นฐานทางวิศวกรรม
สําหรับการทดสอบความรูฯ้ ทุกสาขาวิศวกรรมควบคุม

1.Engineering Drawing
2.Engineering Mechanics
3.Engineering Materials
4.Computer Programming
รายวิชาเฉพาะทางวิศวกรรม
สําหรับการทดสอบความรูฯ้ สาขาวิศวกรรมโยธา
A) วิชาบังคับ จํานวน 3 กลุม่ วิชา
กลุม่ วิชา รายวิชา
•Theory of Structures
1. Structures
•Structural Analysis
•Reinforced Concrete Design
2. Structures Design
•Timber and Steel Design
3. Soil Mechanics •Soil Mechanics

B) วิชาเลือก 4 กลุม่ วิชา โดยเลือกสอบ 1 กลุม่ วิชา


กลุม่ วิชา รายวิชา
1. Highway Engineering •Highway Engineering
2. Hydraulic Engineering •Hydraulic Engineering
3. Surveying •Route Surveying
4. Construction Management •Construction Engineering and Management
ระเบียบคณะกรรมการสภาวิศวกร
ว่าด้วยองค์ความรูฯ้ พ.ศ. 2562 สาขาวิศวกรรมโยธา
องค์ความรู ้ รายละเอียดและสาระการเรียนรู ้
พื้ นฐานทางวิทยาศาสตร์ ฟิ สิกส์ เคมี คณิตศาสตร์ สถิติและความน่ าจะเป็ น

พื้ นฐานทางวิศวกรรม การเขียนแบบวิศวกรรม วัสดุวศิ วกรรม คอมพิวเตอร์โปรแกรม กลศาสตร์วศิ วกรรม วิศวกรรมสํารวจ ธรณีวทิ ยา

กลุ่มที่ 1 วิศวกรรมโครงสร้าง (Structural Engineering) : สามารถวิเคราะห์โครงสร้าง ออกแบบโครงสร้าง ภายใต้แรง


กระทําในรูปแบบต่างๆ อาทิ แรงโน้มถ่วงของโลก แรงลม แรงแผ่นดินไหว และอื่นๆ เลือกใช้วสั ดุสาํ หรับโครงสร้าง
(Structural Analysis, Reinforced Concrete Design, Steel and Timber Design)
กลุ่มที่ 2 วิศวกรรมการก่อสร้างและการจัดการ (Construction Engineering and Management) : อธิบายแนวคิดและ
หลักการของเศรษฐศาสตร์วิศวกรรม การอธิบายแนวคิดและหลักการของการบริหารโครงการ เทคนิ คการก่อสร้าง
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง (Construction Management)
เฉพาะทางวิศวกรรม กลุ่มที่ 3 วิศวกรรมขนส่ง (Transportation Engineering) : วิเคราะห์ตวั แปรด้านการจราจร ออกแบบระบบสัญญาน
วิศวกรรมการทาง วางแผนงานขนส่ง โลจิสติกส์ (Transportation Engineering, Highway Engineering)
กลุ่มที่ 4 วิศวกรรมแหล่งนํ้า (Water Resource Engineering) : มีความสามารถในการวิเคราะห์กลศาสตร์ของของไหล
มีความรูด้ า้ นอุทกวิทยา ออกแบบด้านวิศวกรรมชลศาสตร์ (Hydrology, Hydraulic Engineering)
กลุ่มที่ 5 วิศวกรรมเทคนิ คธรณี (Geotechnical Engineering) : มีความรูพ้ ื้ นฐานในการวิเคราะห์คุณสมบัติดินในทาง
วิศวกรรม วิเคราะห์การวิบตั ิของดินและแนวทางการแก้ไข สามารถเลือกใช้ชนิ ดฐานรากและออกแบบระบบป้ องกัน
ดิน (Soil Mechanics, Foundation)
รายวิชาเฉพาะทางวิศวกรรม
สําหรับการทดสอบความรูฯ้ สาขาวิศวกรรมเครือ่ งกล

A) วิชาบังคับ จํานวน 3 วิชา


1.Mechanics of Machinery
2.Machine Design
3.Heat Transfer
B) วิชาเลือก 4 วิชา โดยเลือกสอบ 1 วิชา
1.Automatic Control
2.Internal Combustion Engines
3.Refrigeration and Air Conditioning
4.Power Plant Engineering
ระเบียบคณะกรรมการสภาวิศวกร
ว่าด้วยองค์ความรูฯ้ พ.ศ. 2562 สาขาวิศวกรรมเครือ่ งกล
องค์ความรู ้ รายละเอียดและสาระการเรียนรู ้
พื้ นฐานทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ฟิ สิกส์ และเคมี
กลุ่มที่ 1 พื้ นฐานการออกแบบ (Design Fundamentals) ความรูท้ ี่เกี่ยวข้องกับ Mechanical Drawing, Statics and
Dynamics, Mechanical Engineering Process
กลุ่มที่ 2 ความรูท้ างดิจิทลั (Digital Literacy) ความรูท้ ี่เกี่ยวข้องกับ Digital Technology in Mechanical Engineering
กลุ่มที่ 3 พื้ นฐานทางความร้อนและของไหล (Thermo-fluids Fundamentals) ความรูท้ ่ีเกี่ยวข้องกับ
พื้ นฐานทางวิศวกรรม
Thermodynamics, Fluid Mechanics
กลุ่มที่ 4 วัสดุวศิ วกรรมและกลศาสตร์วสั ดุ (Engineering Materials and Mechanics of Materials) ความรูท้ ี่เกี่ยวข้อง
กับ Engineering Materials, Solid Mechanics
กลุ่มที่ 5 อาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม (Health Safety and Environment)

กลุ่มที่ 1 เครื่องจักรกล (Machinery) ความรูท้ ี่เกี่ยวข้องกับ Machinery Systems, Machine Design, Prime Movers
กลุ่มที่ 2 ความร้อน ความเย็น และของไหลประยุกต์ (Heat, Cooling and Applied Fluids) ความรูท้ ี่เกี่ยวข้องกับ
เฉพาะทางวิศวกรรม Heat Transfer, Air Conditioning and Refrigeration, Power Plant, Thermal Systems Design
กลุ่มที่ 3 ระบบพลวัตและการควบคุมอัตโนมัติ (Dynamic Systems and Automatics Control) ความรูท้ ี่เกี่ยวข้องกับ
Dynamic Systems, Automatics Control, Internet of Things (IoT) and AI (use of), Robotics, Vibration
กลุ่มที่ 4 ระบบทางกลอื่นๆ (Mechanical Systems) ความรูท้ ี่เกี่ยวข้องกับ Energy, Engineering Management and
Economics, Fire Protection System, Computer-Aided Engineering (CAE)
รายวิชาเฉพาะทางวิศวกรรม
สําหรับการทดสอบความรูฯ้ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ า
A) วิชาบังคับ จํานวน 3 วิชา
งานไฟฟ้ ากําลัง งานไฟฟ้ าสื่อสาร
1. Electrical Machines 1. Principles of Communications
2. Electrical System Design 2. Data Communication and Network
3. Electrical Power System 3. Digital Communication

B) วิชาเลือก 4 วิชา โดยเลือกสอบ 1 วิชา


งานไฟฟ้ ากําลัง งานไฟฟ้ าสื่อสาร
1. Electrical Instruments and Measurements 1. Electrical Instruments and Measurements
2. Power Electronics 2. Optical Communication
3. High Voltage Engineering 3. Microwave Engineering
4. Power System Protection 4. Antenna Engineering
ระเบียบคณะกรรมการสภาวิศวกร
ว่าด้วยองค์ความรูฯ้ พ.ศ. 2562 สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ า

องค์ความรู ้ รายละเอียดและสาระการเรียนรู ้

พื้ นฐานทางวิทยาศาสตร์ ฟิ สิกส์บนพื้ นฐานของแคลคูลสั เคมี คณิตศาสตร์เชิงวิศวกรรม

ความเข้าใจและความสามารถในการถอดความหมายจากแบบทางวิศวกรรม วัสดุวศิ วกรรม


พื้ นฐานกลศาสตร์ ทฤษฎีวงจรไฟฟ้ า สัญญาณและระบบ สนามแม่เหล็กไฟฟ้ า อุปกรณ์และ
พื้ นฐานทางวิศวกรรม
วงจรอิเล็กทรอนิ กส์แบบแอนะล็อกและดิจิทลั การแปลงรูปพลังงานไฟฟ้ าเชิงกล การวัดและ
เครื่องมือวัดทางไฟฟ้ า ระบบควบคุม การโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีการสื่อสาร
งานไฟฟ้ ากําลัง การผลิต ส่งจ่าย จําหน่ ายและการใช้งานของกําลังไฟฟ้ า การแปลงรูป
กําลังไฟฟ้ า การกักเก็บพลังงาน ข้อพึงปฏิบตั ิมาตรฐาน และความปลอดภัยในการออกแบบ
และติดตั้งทางไฟฟ้ า
เฉพาะทางวิศวกรรม
งานไฟฟ้ าสื่อสาร ระบบสื่อสารมีสายและไร้สาย ระบบรับ-ส่งสัญญาณความถี่วทิ ยุหรือคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้ า การออกแบบและการทํางานของเครือข่ายโทรคมนาคมและสารสนเทศเพื่อ
การบริการ
รายวิชาเฉพาะทางวิศวกรรม
สําหรับการทดสอบความรูฯ้ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ

A) วิชาบังคับ จํานวน 3 วิชา


1.Safety Engineering
2.Production Planning and Control
3.Quality Control
B) วิชาเลือก 4 วิชา โดยเลือกสอบ 1 วิชา
1.Industrial Plant Design
2.Industrial Work Study
3.Engineering Economy
4.Maintenance Engineering
ระเบียบคณะกรรมการสภาวิศวกร
ว่าด้วยองค์ความรูฯ้ พ.ศ. 2562 สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ

องค์ความรู ้ รายละเอียดและสาระการเรียนรู ้

พื้ นฐานทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์เชิงวิศวกรรม ฟิ สิกส์ เคมี

เขียนแบบวิศวกรรม กลศาสตร์ วัสดุวศิ วกรรม โปรแกรมคอมพิวเตอร์สาํ หรับวิศวกร สถิติ


พื้ นฐานทางวิศวกรรม
วิศวกรรม กระบวนการผลิต อุณหพลศาสตร์ ความรูพ้ ื้ นฐานไฟฟ้ า

วัสดุอุตสาหกรรมและกระบวนการผลิต ระบบงานและความปลอดภัย ระบบคุณภาพ


เฉพาะทางวิศวกรรม เศรษฐศาสตร์และการเงิน การจัดการการผลิต และการบูรณาการวิธีการทางวิศวกรรม
อุตสาหการ
รายวิชาเฉพาะทางวิศวกรรม
สําหรับการทดสอบความรูฯ้ สาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม

A) วิชาบังคับ จํานวน 3 วิชา


1.Water Supply Engineering
2.Wastewater Engineering
3.Solid Waste Engineering
B) วิชาเลือก 4 วิชา โดยเลือกสอบ 1 วิชา
1.Air Pollution Control and Design
2.Hazardous Waste Engineering
3.Building Sanitation
4.Noise and Vibration Control
ระเบียบคณะกรรมการสภาวิศวกร
ว่าด้วยองค์ความรูฯ้ พ.ศ. 2562 สาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม

องค์ความรู ้ รายละเอียดและสาระการเรียนรู ้

พื้ นฐานทางวิทยาศาสตร์ ฟิ สิกส์ เคมี แคลคูลสั

การเขียนแบบวิศวกรรม สถิตยศาสตร์ การเขียนโปรแกรมพื้ นฐาน สมดุลมวลสารและการถ่าย


พื้ นฐานทางวิศวกรรม โอนมวลสาร จลนพลศาสตร์ สมดุลเคมี ชีววิทยาพื้ นฐาน ความดันชลศาสตร์ การสํารวจเบื้ องต้น
การแปลงหน่ วยทางวิศวกรรม

พารามิเตอร์ทางด้านสิ่งแวดล้อม หน่ วยปฏิบตั ิการสําหรับวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม การควบคุมและ


ออกแบบระบบบําบัดนํ้าเสีย การควบคุมและออกแบบระบบผลิตและแจกจ่ายนํ้าประปา การ
ควบคุมและออกแบบระบบควบคุมมลภาวะทางอากาศ การจัดการของเสียและของเสียอันตราย
เฉพาะทางวิศวกรรม หน่ วยกระบวนการทางชีวภาพสําหรับวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม การควบคุมมลภาวะทางเสียง การ
ออกแบบระบบสุขาภิบาลในอาคาร การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม เครื่องมือสําหรับการ
จัดการสิ่งแวดล้อม การจัดการความปลอดภัย สาธารณสุขพื้ นฐาน มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อม
กฎหมายสิ่งแวดล้อม การฟื้ นฟูพื้นที่ปนเปื้ อน
รายวิชาเฉพาะทางวิศวกรรม
สําหรับการทดสอบความรูฯ้ สาขาวิศวกรรมเคมี

A) วิชาบังคับ จํานวน 3 วิชา


1.Fluid Flow
2.Heat Transfer and Mass Transfer
3.Chemical Engineering Kinetics and Reactor Design
B) วิชาเลือก 4 วิชา โดยเลือกสอบ 1 วิชา
1.Chemical Engineering Thermodynamics
2.Process Dynamics and Control
3.Chemical Engineering Plant Design
4.Safety in Chemical Operation/Environmental Chemical Engineering (เลือกสอบ
วิชาใดวิชาหนึ่ง)
ระเบียบคณะกรรมการสภาวิศวกร
ว่าด้วยองค์ความรูฯ้ พ.ศ. 2562 สาขาวิศวกรรมเคมี

องค์ความรู ้ รายละเอียดและสาระการเรียนรู ้

พื้ นฐานทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ฟิ สิกส์ เคมี และ/หรือ ชีววิทยา

พื้ นฐานทางวิศวกรรม พื้ นฐานทางไฟฟ้ า การโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การเขียนแบบ และกลศาสตร์

ดุลมวลและพลังงาน อุณหพลศาสตร์ทางวิศวกรรมเคมี วัสดุศาสตร์ การปฏิบตั ิการเฉพาะ


หน่ วยและปรากฏการณ์ การถ่ายโอน วิศวกรรมปฏิกิริยาเคมีและการออกแบบปฏิกรณ์ การ
เฉพาะทางวิศวกรรม ออกแบบอุปกรณ์และการออกแบบโรงงานทางวิศวกรรมเคมี การบริหารโครงการ พลศาสตร์
ของกระบวนการและการควบคุม เศรษฐศาสตร์และการประเมินราคาทางวิศวกรรมเคมี
วิศวกรรมความปลอดภัยและการประเมินความเสี่ยง วิศวกรรมกระบวนการด้านสิ่งแวดล้อม
รายวิชาเฉพาะทางวิศวกรรม
สําหรับการทดสอบความรูฯ้ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่
A) วิชาบังคับ จํานวน 3 วิชา
งานเหมืองแร่ งานโลหะการ
1. Surface Mining and Mine Design 1. Chemical Metallurgy
2. Underground Mining and Mine Design 2. Physical Metallurgy
3. Mineral Processing I 3. Mechanical Behaviour of Materials

B) วิชาเลือก 4 วิชา โดยเลือกสอบ 1 วิชา


งานเหมืองแร่ งานโลหะการ
1. Mine Economics 1. Materials Characterization
2. Geotechniques 2. Metal Forming
3. Mineral Processing II 3. Corrosion of Metals
4. Mine Planning and Design 4. Failure analysis
ระเบียบคณะกรรมการสภาวิศวกร
ว่าด้วยองค์ความรูฯ้ พ.ศ. 2562 สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ งานเหมืองแร่

องค์ความรู ้ รายละเอียดและสาระการเรียนรู ้

พื้ นฐานทางวิทยาศาสตร์ ฟิ สิกส์ เคมี ธรณีวทิ ยา แร่และหิน แคลคูลสั คณิตศาสตร์ช้นั สูง สถิติและความเป็ นไปได้

การเขียนแบบวิศวกรรม กลศาสตร์วศิ วกรรม วัสดุวศิ วกรรม ความรูท้ างด้านการประยุกต์ใช้


คอมพิวเตอร์ในงานวิศวกรรมเทอร์โมไดนามิกส์ เคมีกายภาพของวัสดุและแร่ ความแข็งแรงของ
พื้ นฐานทางวิศวกรรม วัสดุ กลศาสตร์ของไหล พื้ นฐานวิศวกรรมไฟฟ้ า การจําแนกชนิ ดแร่และวัสดุ การทําเหมืองเปิ ด
และเฉพาะทางวิศวกรรม การทําเหมืองใต้ดิน การใช้วตั ถุระเบิดในงานวิศวกรรม เศรษฐศาสตร์เหมืองแร่ การแต่งแร่
การวางแผนและออกแบบ การทําเหมืองและการแต่งแร่ กลศาสตร์ของหิน ความรูท้ างด้าน
ธรณีเทคนิ ค การป้ องกันและลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมในงานเหมืองแร่
ระเบียบคณะกรรมการสภาวิศวกร
ว่าด้วยองค์ความรูฯ้ พ.ศ. 2562 สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ งานโลหะการ

องค์ความรู ้ รายละเอียดและสาระการเรียนรู ้

พื้ นฐานทางวิทยาศาสตร์ ฟิ สิกส์ เคมี แคลคูลสั คณิตศาสตร์ช้นั สูง สถิติและความเป็ นไปได้

การเขียนแบบวิศวกรรม กลศาสตร์วศิ วกรรม วัสดุวศิ วกรรม ความรูท้ างด้านการประยุกต์ใช้


คอมพิวเตอร์ในงานวิศวกรรมเทอร์โมไดนามิกส์ของวัสดุ ความแข็งแรงของวัสดุ สมดุล
พื้ นฐานทางวิศวกรรม
กระบวนการ พื้ นฐานวิศวกรรมไฟฟ้ า กระบวนการแยกสกัดทางกายภาพ เคมี และความร้อน
และเฉพาะทางวิศวกรรม
โลหการกายภาพ พฤติกรรมเชิงกลของวัสดุ การจําแนกวัสดุ การขึ้ นรูปโลหะและวัสดุ การป้ องกัน
การกัดกร่อนของโลหะ การวิเคราะห์การแตกหักของชิ้ นงาน การเลือกใช้วสั ดุ การเชื่อมโลหะ
แผนงานและการดําเนินงาน
การปรับปรุงข้อสอบและออกข้อสอบ ระดับภาคีวิศวกร
คู่มือสําหรับผู ้เข้าสอบ
ระบบทดสอบความรู้ระดับภาคีวิศวกร

2563
วันทดสอบความรู้ระดับภาคีวิศวกร ผ่านระบบออนไลน์
คําแนะนําเพื่อการเตรียมตัวก่อนเข้าอบรม

สิง่ ที่ต้องเตรียม
1. บัตรประชาชน
2.อุ ปกรณ์เครื่องเขียน ครื่องคํานวณธรรมดาที่มีฟังก์ชนั เสริมทางเรขาคณิตเท่านัน้

ขัน้ ตอนทดสอบความรู้
1. ยืนยันตัวตนกับกรรมการคุมสอบ
2.เข้ารับการทดสอบความรู้ระดับภาคีวิศวกร

การแต่งกาย
1. สุภาพบุ รุษ แต่งกายสุภาพ สวมเสือ้ ที่มีคอปก
2.สุภาพสตรี แต่งกายสุภาพ สวมเสือ้ มีแขน
3.ห้ามสวมรองเท้าแตะ,เสือ้ ยืดทุกประเภท, กางเกงยีนส์ขาด

36
วันทดสอบความรู้ระดับภาคีวิศวกร ผ่านระบบออนไลน์
• กฏ และเงื่อนไขการสอบ
1. การสอบแบ่งเป็น 2 หมวด ได้แก่ วิชาพืน้ ฐาน และวิชาเฉพาะ
∙ ในแต่ละหมวดวิชา จะมีข้อสอบรวม 100 ข้อ คิดเป็นคะแนน 100 คะแนน
∙ ในแต่ละหมวดวิชา จะมีข้อสอบจํานวน 4 วิชา วิชาละ 25 ข้อ (หรือตามที่สาขากําหนด) คะแนนแต่ละข้อเท่ากับ 1 คะแนน
∙ ในแต่ละหมวดวิชา มีเวลาสอบ 3 ชัว่ โมง
∙ ในแต่ละหมวดวิชา เกณฑ์ท่ผ ี ่านคือ จะต้องได้คะแนนรวมในหมวดวิชาไม่นอ้ ยกว่า ร้อยละ 60 จึงจะถือว่าสอบผ่าน
ข้อที่ไม่ตอบหรือตอบผิด จะไม่ได้คะแนน
∙ กรณีสอบผ่าน 1 หมวดวิชา หมวดวิชาที่ผ่าน สามารถเก็บผลไว้ได้ 2 ปี นับตัง้ แต่วันที่สอบผ่าน เมื่อครบกําหนด
2 ปี ยังสอบไม่ผ่านให้สอบใหม่ทงั ้ 2 หมวดวิชา
∙ กรณีสอบไม่ผ่าน ท่านต้องลงทะเบียนรอบสอบใหม่ และสามารถเลือกสอบเฉพาะหมวดวิชาที่ไม่ผ่านได้
2. สภาวิศวกรสงวนสิทธิ์ในการขอเลื่อนสอบและการคืนค่าสมัครสอบในทุกกรณี
3. ผู ้จัดขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงกําหนดการตามที่เห็นสมควรโดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า

รอบหมวดวิชาพืน้ ฐาน เริม่ สอบ 9.00 - 12.00 น.


รอบหมวดวิชาเฉพาะ เริม่ สอบ 13.30 - 16.30 น.

• ข้อห้าม
1. ห้ามนําแนวข้อสอบเข้ามาภายในห้องสอบโดยเด็ดขาด
2. ห้ามคัดลอกข้อสอบจากระบบการทดสอบระดับภาคีวิศวกร
3. ห้ามกระทําการอื่นๆ อันส่อถึงการทุจริตในการสอบ (ผู ้ท่ที ุจริต หรือทําผิดกติกาการสอบ จะถูกปรับตก และไม่สามารถสอบได้จนกว่า
จะครบกําหนด 6 เดือน หลังจากการสอบครัง้ แรก รวมถึงทางสภาวิศวกรจะทําหนังสือ แจ้งความผิดรายงานยังต้นสังกัดด้วย)

37
วันทดสอบความรู้ระดับภาคีวิศวกร ผ่านระบบออนไลน์
• ขัน้ ตอนการทําแบบทดสอบความรู้ระดับภาคีวิศวกร
1. รับ Link การสอบ ในวิชานัน้ ๆ (วิชาพืน้ ฐาน หรือวิชาเฉพาะ)

(เมื่อสอบในหมวดวิชาพืน้ ฐาน)
- เมื่อยืนยันตัวตนเรียบร้อยแล้ว เจ้าหน้าที่จะส่งลิงก์ทําข้อสอบมาให้ จะอยู ่ใน “ เนนู แจ้งเตือน”
- เมื่อกดเข้ามาแล้วจะเจอวิชาที่สอบ รายละเอียดเวลา
- กดที่ “กดที่น่ี” เพื่อเริ่มทําข้อสอบ
38
วันทดสอบความรู้ระดับภาคีวิศวกร ผ่านระบบออนไลน์

(เมื่อสอบในหมวดวิชาเฉพาะ)
- เมื่อยืนยันตัวตนเรียบร้อยแล้ว เจ้าหน้าที่จะส่งลิงก์ทําข้อสอบมาให้ จะอยู ่ใน “ เมนู แจ้งเตือน”
- เมื่อกดเข้ามาแล้วจะเจอวิชาที่สอบ รายละเอียดเวลา
- กดที่ “กดที่น่ี” เพื่อเริ่มทําข้อสอบ
39
วันทดสอบความรู้ระดับภาคีวิศวกร ผ่านระบบออนไลน์
2. เริม่ ต้นทําข้อสอบ
‣ ระบบจะเปิ ดให้เข้าทําบททดสอบ ตามเวลาที่ สภาวิศวกรกําหนดในรอบสอบวิชานัน้ ๆ
‣ เมื่อเข้าสู่หน้าแรกแล้ว ให้อ่านคําแนะนําในการทําบททดสอบ ให้ครบถ้วน
‣ หลังจากนัน้ จะต้องกดยอมรับเงื่อนไข ก่อนเริม่ ต้นทําข้อสอบ

40
วันทดสอบความรู้ระดับภาคีวิศวกร ผ่านระบบออนไลน์
คําอธิบายหน้าจอทําข้อสอบ ขณะนีเ้ ป็นเวลา 9.03 น.
หมดเวลาทดสอบ 12.00 น.
(เวลาตาม server ประเทศไทย)

แจงหมดเวลาการทําขอสอบ

แถบแสดงจํานวนข้อสอบในแต่ละวิชา
ตัวเลขและกรอบเป็นสีเทา หมายถึง ยังไม่ได้ทําข้อสอบข้อนัน้
01

ตัวเลขและกรอบเป็นสีแดง หมายถึง กําลังแสดงข้อสอบข้อนัน้


01

ตัวเลขและกรอบเป็นสีเทาทึบ หมายถึง ได้เลือกคําตอบข้อนัน้ ไปแล้ว

ตัวเลขและกรอบเป็นสีแดงทึบ หมายถึง เมื่อเอา mouse ไปชี้


ที่ข้อนัน้ เพื่อทําการเลือก

วงกลมว่าง สีขาว หมายถึง ยังทําข้อสอบวิชานัน้ ไม่ครบ

✔ วงกลมทึบสีเขียว พร้อมสัญลักษณ์เครื่องหมายถูก หมายถึง


ทําข้อสอบวิชานัน้ ครบทุกข้อแล้ว

ปุ่ มกดส่งคําตอบทัง้ หมด และจบการสอบ

- ผู ้เข้าสอบสามารถ กดเลือกข้อสอบ ข้ามข้อได้ โดยกดที่สัญลักษณ์วงกลมที่มเี ลขข้อได้เลย


- ผู ้เข้าสอบสามารถกดเลือกวิชาอื่นๆ ได้ โดยกดที่ชื่อวิชานัน้ ๆ ได้
* หน้าจอการทําข้อสอบเหมือนกันทัง้ รอบวิชาพืน้ ฐาน และรอบวิชาเฉพาะ ต่างกันเพียงแค่รายชื่อวิชาที่แถบเมนูด้านซ้ าย ซึ่งจะแสดงตามวิชาที่เลือกสอบ
41
วันทดสอบความรู้ระดับภาคีวิศวกร ผ่านระบบออนไลน์
การแจ้งผลสอบ
- เมื่อกดส่งคําตอบและจบการสอบแล้ว ระบบจะประมวลผลการสอบ พร้อมแจ้งคะแนน และผลของการสอบ
- สามารถตรวจสอบผลสอบย้อนหลังได้ท่เี มนูติดตามสถานะ

42
ยกระดับวิศวกรไทยสู่สากล เพื่อการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน
Enhance Thai Engineers for Global Sustainability

2563

You might also like