You are on page 1of 72

สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

สาขา : ไฟฟ้าแขนงไฟฟ้าสื่อสาร
วิชา : Electrical Instruments and Measurements
เนื้อหาวิชา : 19 : Unit and standard of electrical measurement

ข้อที่ 1 :
ข้อใดคือหน่วยวัดพื้นฐานทางไฟฟ้า (Base unit)

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 2 :
แรงดันไฟฟ้าขนาด 10 kV ถ้าเขียนให้อยู่ในรูปของ MV จะตรงกับข้อใด

1 : 0.01 MV
2 : 0.1 MV
3 : 100 MV
4 : 1,000 MV
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 3 :
คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งมีหน่วยความจำเป็นจำนวน 10 TB (Terabyte) ถามว่าหน่วยความจำนี้มีอยู่เป็นจำนวนกี่บิต (bit)

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 4 :

1:

2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 5 :

1 : 3.6 MJ
2 : 6.22 kJ
3 : 5.98 MJ
4 : 10.79 kJ
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 6 :
กรมอุทกศาสตร์ทหารเรือ มีอุปกรณ์ที่สามารถตรวจสอบและสอบเทียบมาตรฐานของอะไร

1 : ความดัน (Pressure)
2 : อุณหภูมิ (Temperature)
3 : แรงดันไฟฟ้า (Voltage)
4 : เวลา (Time)
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 7 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 1 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

หน่วยความเข้มของสนามแม่เหล็ก (Magnetic field strength) คือ

1:
2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 8 :
หน่วยความหนาแน่นของฟลักซ์แม่เหล็ก (Magnetic flux density) คือ

1:
2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 9 :
อุปกรณ์ใดเป็นตัวสร้างแรงดันมาตรฐาน ในห้องปฏิบัติการ

1 : FET
2 : Transistor
3 : UJT
4 : Zener diode
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 10 :
ในระบบ SI มวลมีหน่วยเป็น

1 : milligram (mg)
2 : gram (g)
3 : kilogram (kg)
4 : newton (N)
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 11 :
หน่วยหลักมูล ( Fundamental unit ) ทางกลใช้วัดอะไร

1 : ความยาว (Length)
2 : มวล (Mass)
3 : เวลา (Time)
4 : ถูกหมดทุกข้อ
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 12 :
หน่วยต่างๆในข้อใดที่ใช้วัดในระบบอังกฤษ

1 : เมตร กิโลกรัม วินาที


2 : เมตร ปอนด์ วินาที
3 : ฟุต ปอนด์ วินาที
4 : ฟุต กิโลกรัม วินาที
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 13 :
สัญญาณแรงดันมาตรฐานที่ใช้ในเครื่องมือวัดอุตสาหกรรมคือข้อใด

1 : 0 V ถึง 5 V
2 : 0 V ถึง 10 V
3 : 1 V ถึง 5 V
4 : 1 V ถึง 10 V
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 14 :
กระแสมาตรฐานที่ใช้ในเครื่องมือวัดและการวัดอุตสาหกรรมคือข้อใด

1 : 0 mA ถึง 10 mA
2 : 0 mA ถึง 20 mA
3 : 4 mA ถึง 10 mA
4 : 4 mA ถึง 20 mA
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 2 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

ข้อที่ 15 :
การสอบกลับได้ (Traceability) ตามระบบ SI คือ

1 : มาตรฐานนานาชาติ มาตรฐานทุติยภูมิ มาตรฐานปฐมภูมิ มาตรฐานใช้งาน อุปกรณ์การวัด


2 : มาตรฐานใช้งาน มาตรฐานทุติยภูมิ มาตรฐานปฐมภูมิ มาตรฐานนานาชาติ อุปกรณ์การวัด
3 : มาตรฐานนานาชาติ มาตรฐานปฐมภูมิ มาตรฐานทุติยภูมิ มาตรฐานใช้งาน อุปกรณ์การวัด
4 : มาตรฐานใช้งาน มาตรฐานปฐมภูมิ มาตรฐานทุติยภูมิ มาตรฐานนานาชาติ อุปกรณ์การวัด
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 16 :
ข้อใดไม่ใช่หน่วยอนุพัทธ์ (Derived unit) ทางไฟฟ้า

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 17 :
มาตรฐานการวัดทางไฟฟ้า สามารถแบ่งออกได้เป็น 4 มาตรฐานอะไรบ้าง

1 : มาตรฐานนานาชาติ มาตรฐานปฐมภูมิ มาตรฐานทุติยภูมิ มาตรฐานการใช้งาน


2 : มาตรฐานนานาชาติ มาตรฐานปฐมภูมิ มาตรฐานการสร้าง มาตรฐานการใช้งาน
3 : มาตรฐานนานาชาติ มาตรฐานการสร้าง มาตรฐานการใช้งาน มาตรฐานการตรวจสอบ
4 : มาตรฐานการสร้าง มาตรฐานการใช้งาน มาตรฐานการตรวจสอบ มาตรฐานการปรับแต่ง
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 18 :
มาตรฐานการวัดทางไฟฟ้าประเภทใดที่เกิดขึ้นตามข้อตกลงร่วมกันของหลาย ๆ ประเทศ

1 : มาตรฐานการใช้งาน
2 : มาตรฐานการปรับแต่ง
3 : มาตรฐานการสร้าง
4 : มาตรฐานนานาชาติ
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 19 :
ปริมาณใดดังต่อไปนี้ที่มีหน่วยเป็น candela (cd)

1 : Quantity of Charge
2 : Electromotive Force
3 : Luminous Flux
4 : Luminous Intensity
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 20 :

1:

2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 21 :
ข้อใดที่ไม่ใช่หน่วยรากฐาน (Base units) ในระบบ SI

1 : หน่วย kg ของมวล
2 : หน่วย second ของเวลา
3 : หน่วย celsius ของอุณหภูมิ
4 : หน่วย mole ของจำนวนของสาร
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 22 :
กำลังไฟฟ้ามีหน่วยเป็น watt จะแสดงในรูปของหน่วยรากฐาน (base unit) ได้เป็น

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 3 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

1:

2:
3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 23 :
แรงดันไฟฟ้ามาตรฐาน (voltage standard) ระดับปฐมภูมิในปัจจุบันคือ

1 : รอยต่อโจเซปสัน (Josephson junction)


2 : ซีเนอร์ไดโอด (Zener diode)
3 : สแตนดาร์ดเซลล์ (standard cell)
4 : แรงดันฮอลล์ (Hall voltage)
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 24 :
วิธีการสร้างกระแสไฟฟ้ามาตรฐาน (Electrical current standard) ระดับปฐมภูมิในปัจจุบันคือ

1 : เคอร์เรนต์บาลานซ์ (current balance)


2 : ปรากฏการณ์ฮอลล์ (Hall effect)
3 : ใช้รอยต่อโจเซปสัน (Josephson junction)
4 : ใช้ธาตุซีเซียม 133 (caesium – 133)
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 25 :
หน่วยวัดค่าความเข้มสนามแม่เหล็ก (magnetic field strength) คือ

1:
2 : A – turn
3 : tesla

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 26 :
อุณหภูมิศูนย์องศาสัมบูรณ์คือ

1:
2:0K
3 : 273.16 K
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 27 :

1 : 2 Pa
2 : 20 Pa
3 : 200 Pa
4 : 20 kPa
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 28 :
ข้อใดเป็นการเขียนสมการบอกค่าแรงดันอาร์เอ็มเอส (rms) ขนาด 25 volt ที่ถูกต้องตามระบบ SI

1:

2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 29 :
หน่วยของกระแสไฟฟ้าในระบบ SI เป็นวิธีการกำหนดมาตรฐานในกลุ่มใด

1 : กำหนดมาตรฐานของปริมาณจับต้องได้

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 4 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

2 : กำหนดมาตรฐานโดยนิยามกระบวนการวัด
3 : กำหนดมาตรฐานโดยอาศัยปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ
4 : กำหนดมาตรฐานระหว่างประเทศ
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 30 :
เครื่องมือวัดที่ใช้งานในห้องทดลองของมหาวิทยาลัย ควรได้รับการตรวจสอบความแม่นยำและความน่าเชื่อถือด้วยมาตรฐานระดับใด

1 : มาตรฐานระหว่างประเทศ
2 : มาตรฐานปฐมภูมิ
3 : มาตรฐานใช้งาน
4 : มาตรฐานห้องปฏิบัติการ
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 31 :
มวล 27,500 กิโลกรัม เขียนในระบบ SI อย่างไรจึงจะถูกต้อง

1 : 27.500 Mg
2 : 27,500 Kg
3 : 0.275 Gg
4 : 27,500 kilograms
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 32 :

1 : 1366 candela
2 : 233244.5 candela
3 : 466489 candela
4 : 932978 candela
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 33 :
มอเตอร์มีความเร็ว 500 rpm (revolutions per minute) คิดเป็นความเร็วเชิงมุมเท่ากับเท่าไร

1:

2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 34 :

1 : 20 rpm
2 : 40 rpm
3 : 1200 rpm
4 : 2400 rpm
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 35 :
แรงที่กระทำต่อพื้นที่หนึ่งหน่วย มีหน่วยมาตรฐานตามระบบ SI ตรงกับข้อใด

1 : newton
2 : joule
3 : watt
4 : pascal
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 5 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

ข้อที่ 36 :
ค่าความเหนี่ยวนำที่มีหน่วยเป็น henry หารด้วยค่าความจุไฟฟ้าที่มีหน่วยเป็น farad จะได้ผลลัพธ์มีหน่วยเป็นอะไร

1 : volt
2 : weber
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 37 :

1:

2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 38 :
กำลัง (Power) มีหน่วยในระบบ SI ตรงกับข้อใด

1 : joule

2:

3:
4 : newton
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 39 :

1:
2 : 1000 ps
3 : 1 ns

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 40 :
ค่าความต้านทาน R คูณกับค่าความจุของตัวเก็บประจุ C จะได้ผลลัพธ์ที่มีหน่วยเป็นอะไร

1 : volt
2 : henry
3 : ampere
4 : second
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 41 :

1 : volt
2 : henry
3 : ampere
4 : newton
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 42 :

1 : V = 1.2 mV
2 : V = 12 mV
3 : V = 1.2 kV
4:

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 6 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 43 :
หนึ่งกิโลวัตต์ชั่วโมง (kWh) ประมาณเท่ากับ

1 : 3600 kcal
2 : 4200 kcal
3 : 860 kcal
4 : 9800 kcal
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 44 :
นิวตัน – เมตร เป็นหน่วยของ

1 : แรงบิด
2 : พลังงาน
3 : กำลัง
4 : งาน
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 45 :
แรงบิด 50 N ·m ขับโรเตอร์ที่ 600 รอบต่อนาที ทำให้เกิดกำลังเท่ากับ

1 : 500 W
2 : 3140 W
3 : 1570 W
4 : 30000 W
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 46 :
วงจรขนานประกอบด้วย conductance ที่มีค่า 0.6 S และ susceptance ที่มีค่า 0.8 S ค่า admittance ของมันจะมีค่า

1 : 0.14 S
2 : 0.75 S
3 : 1.00 S
4 : 1.33 S
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 47 :
ตัวเก็บประจุ ค่า 1 µF เมื่อป้อนด้วยแรงดัน 10 V จะมีประจุบนตัวเท่ากับ

1 : 0.1 µC
2 : 10 mC
3 : 10 µC
4 : 0.1 mC
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 48 :
เมื่อป้อนแรงดันกระแสสลับที่มีค่าสูงสุด 100 V แก่หลอดไฟฟ้า ถ้าหากต้องการป้อนด้วยแรงดันกระแสตรงที่ทำให้เกิดความสว่างเท่ากับการป้อนด้วยแรงดัน
กระแสสลับนั้น จะต้องป้อนแรงดันกระแสตรงขนาด

1 : 100 V
2 : 70.7 V
3 : 141.4 V
4 : 35.4 V
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 49 :
ค่ากระแสและแรงดันกระแสสลับ ที่กล่าวถึงปกติจะหมายถึง

1 : ค่าเฉลี่ย
2 : ค่ายอด
3 : ค่าประสิทธิผล
4 : ค่าที่ขณะใดๆ
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 50 :
ค่ากระแสและแรงดันกระแสสลับ ที่กล่าวถึงปกติจะหมายถึง

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 7 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

1: Peak factor เป็น 1.414


2: ค่า rms เท่ากับ 0.707× ค่ายอด
3: ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.637 ×ค่า rms
4: Form factor = 1.11
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 51 :
แหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับเป็น 220 V 50 Hz ข้อความต่อไปนี้ข้อความใดที่ไม่ถูกต้อง

1: คาบเป็น 20 ms
2: ค่ายอดของแรงดันเป็น 220 V
3: ค่าประสิทธิผลของแรงดันเป็น 220 V
4: ค่ายอดของแรงดันเป็น 311 V
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 52 :
กำหนดแรงดันกระแสสลับเป็น v1=100sin(100¶t-0.8) V ข้อความต่อไปนี้ข้อความใดถูกต้อง

1: ค่าแรงดันประสิทธิผล คือ 100 V


2: คาบเป็น 20 ms
3: ความถี่เป็น 100 Hz
4: แรงดันนำ v1=100sin100¶t อยู่ 0.8 เรเดียน
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 53 :
ขดลวดที่ประกอบด้วย ความต้านทาน X Ω ความเหนี่ยวนำ Y H นำมาต่อคร่อมแหล่งจ่ายแรงดันที่มีความถี่ K Hz ค่าอิมพีแดนซ์ของขดลวดนี้หาได้จาก

1 : X+Y
2 : (X2+Y2)1/2
3 : (X2+(2¶KY)2)1/2
4 : 2¶KY
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 54 :
เมื่อต่อตัวเก็บประจุเข้ากับแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสสลับ ค่ากระแสจะ

1: นำแรงดันอยู่ 180 o
2: มีเฟสเดียวกับแรงดัน
3: นำแรงดันอยู่ ¶/2 เรเดียน
4: ตามแรงดันอยู่ 90 o
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 55 :
ตัวเก็บประจุที่มีค่าความจุ 1 µF ต่ออยู่กับแหล่งจ่ายที่มีความถี่ 50 Hz ค่ารีแอคแตนซ์เชิงความจุคือ

1: 0.1¶ mΩ
2 : 10/¶ kΩ
3 : 10/¶ Ω

4 : 0.1¶ Ω
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 56 :
ค่าคงตัวเวลาสำหรับวงจรที่ประกอบด้วยความเหนี่ยวนำ 100 mH อนุกรมกับความต้านทาน 4 Ω คือ

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 8 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

1 : 25 ms
2 : 40 s
3 : 157 ms
4 : 251 s
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

เนื้อหาวิชา : 20 : Instrument classification and characteristics

ข้อที่ 57 :
เวลายอด (Peak time) ของผลตอบสนองมีค่าประมาณเท่าใด จากกราฟแสดงผลตอบสนองทางพลศาสตร์ต่อสัญญาณขั้นบันไดหนึ่งหน่วยของเครื่องมือวัด

1 : 1.5 s
2 : 3.3 s
3 : 7.5 s
4 : 12 s
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 58 :
เวลาพุ่ง (Rise time) ของผลตอบสนองมีค่าประมาณเท่าใด จากกราฟแสดงผลตอบสนองทางพลศาสตร์ต่อสัญญาณขั้นบันไดหนึ่งหน่วยของเครื่องมือวัด

1 : 1.5 s
2 : 3.3 s
3 : 7.5 s
4 : 12 s
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 59 :
เวลาคงตัว (Settling time) ของผลตอบสนองมีค่าประมาณเท่าใด จากกราฟแสดงผลตอบสนองทางพลศาสตร์ต่อสัญญาณขั้นบันไดหนึ่งหน่วยของเครื่องมือวัด

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 9 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

1 : 1.5 s
2 : 3.3 s
3 : 7.5 s
4 : 12 s
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 60 :

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 61 :

1:

2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 62 :
เครื่องมือใดที่ใช้หลักของวิธีวัดแบบเทียบศูนย์ (Null method)

1 : อุปกรณ์วัดแสงในกล้องถ่ายรูป
2 : เทอร์โมมิเตอร์แบบปรอท
3 : เครื่องชั่งน้ำหนักแบบ 2 แขน
4 : เกจวัดความดันแบบบูร์ดอง (Bourdon)
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 63 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 10 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

1 : 2.6 s
2 : 3.6 s
3 : 4.6 s
4 : 5.6 s
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 64 :
การเปลี่ยนแปลงที่น้อยที่สุดของตัวแปรอินพุตที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่สังเกตเห็นได้ที่เอาต์พุตของเครื่องมือวัด เรียกว่า

1 : ฮิสเทอรีซิส (Hysteresis)
2 : การเลื่อน (Drift)
3 : การแยกชัด (Resolution)
4 : ค่าขีดเริ่ม (Threshold)
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 65 :
ค่าขีดเริ่ม (threshold) ของเครื่องมือวัดมีนิยามว่าอะไร

1 : อัตราส่วนระหว่างค่าเอาต์พุตของเครื่องมือวัดต่อค่าอินพุต
2 : การเลื่อนของค่าเอาต์พุตของเครื่องมือวัดเนื่องจากอายุการใช้งาน
3 : ค่าที่มากที่สุดที่เครื่องมือวัดยังไม่สามารถวัดได้
4 : การเปลี่ยนแปลงที่น้อยที่สุดของตัวแปรอินพุตที่สามารถวัดได้
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 66 :
ความใกล้เคียงกันระหว่างค่าที่วัดได้กับค่าจริงของตัวแปรที่ถูกวัดคือความหมายของข้อใด

1 : ความเที่ยงตรง (Precision)
2 : ความแม่นยำ (Accuracy)
3 : ความไว (Sensitivity)
4 : ความจำแนกชัด (Resolution)
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 67 :
เครื่องมือวัดกระแส 2 ตัว มีความยาวสเกลเท่ากัน โดยตัวหนึ่งมีพิกัด 0 ถึง 1 A และอีกตัวหนึ่งมีพิกัด 0 ถึง 10 A อยากทราบว่าเครื่องมือวัดตัวไหนมีความไวมากกว่า
กัน

1 : เครื่องมือวัดที่มีพิกัด 0 ถึง 1 A มีความไวมากกว่า


2 : เครื่องมือวัดที่มีพิกัด 0 ถึง 10 A มีความไวมากกว่า
3 : เครื่องมือวัดทั้งสองมีความไวเท่ากัน
4 : ไม่มีข้อใดถูกต้อง
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 68 :
การกระทำในข้อใดจัดเป็นกระบวนการวัดแบบทำซ้ำ (Reproduction measurement)

1 : ทอยลูกเต๋าลูกหนึ่ง 100 ครั้งและจดสถิติดูว่าออกเลข 1 กี่ครั้ง


2 : นำไข่ 100 ฟองมาชั่งน้ำหนักทีละฟองโดยเครื่องชั่งเครื่องหนึ่ง เพื่อหาค่าเฉลี่ยของน้ำหนักไข่ 1 ฟอง
3 : ใช้แอมมิเตอร์ (Ammeter) เครื่องหนึ่งไปวัดกระแสที่ใช้ในหลอดไฟดวงหนึ่งเป็นจำนวน 3 ครั้งติดต่อกัน เพื่อหาค่ากระแสที่แน่นอน
4 : ใช้โวลต์มิเตอร์ (Voltmeter) 3 เครื่องไปวัดแรงดันของแบตเตอรี่ลูกหนึ่งเพื่อหาค่าแรงดันที่เชื่อถือได้
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 69 :
เครื่องมือวัดชนิดใดที่ใช้หลักการวัดเทียบศูนย์

1 : เครื่องชั่งน้ำหนักอิเล็กทรอนิกส์
2 : มิเตอร์วัดกำลังแบบอิเล็กโตรไดนาโมมิเตอร์
3 : โพเทนชิโอมิเตอร์วัดแรงดัน
4 : กัลวาโนมิเตอร์
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 70 :
การทำให้เครื่องมือวัดมีค่าขีดเริ่ม (Threshold) ลดลงทำได้โดย

1 : เปลี่ยนไปใช้พิสัยการวัดที่สูงขึ้น
2 : เปลี่ยนไปใช้พิสัยการวัดที่ต่ำลง
3 : เพิ่มแบนด์วิดท์ของเครื่องมือวัด
4 : ลดแบนด์วิดท์ของเครื่องมือวัด
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 11 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

ข้อที่ 71 :
ความไว (sensitivity) ของเครื่องมือวัดหรือระบบการวัดคือ

1 : ค่าอัตราส่วนการเปลี่ยนแปลงของผลการวัดต่อการเปลี่ยนแปลงของปริมาณวัด
2 : คุณสมบัติในการตอบสนองต่อสภาพแวดล้อม ถ้าการทำงานของเครื่องมือมีผลกระทบมากก็หมายถึงมีความไวสูง
3 : ความรวดเร็วในการแสดงผลการวัด
4 : การตอบสนองต่อความถี่ของสัญญาณวัด
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 72 :
ระบบการวัดในข้อใดที่เป็นระบบอันดับศูนย์ (zero order system)

1 : มิเตอร์พีเอ็มเอ็มซี (PMMC meter)


2 : โพเทนชิโอมิเตอร์ (potentiometer) วัดระยะขจัด
3 : กัลวาโนมิเตอร์ (galvanometer)
4 : อิเล็กโตรไดนาโมมิเตอร์ (electrodynamometer)
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 73 :

1 : 4.38 s
2 : – 4.38 s
3 : 1.9 s
4 : – 1.9 s
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 74 :

1 : 10.83 องศาเซลเซียส
2 : 36.51 องศาเซลเซียส
3 : 69.17 องศาเซลเซียส
4 : 80 องศาเซลเซียส
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 75 :
ความไว (sensitivity) ของระบบการวัดมีคุณสมบัติตรงกับในข้อใด

1 : ฟังก์ชันถ่ายโอน (transfer function)


2 : ความเข้าใกล้กันระหว่างค่าวัดแต่ละครั้ง
3 : การตอบสนองพลวัต (dynamic response)
4 : ขนาดปริมาณวัดที่เล็กที่สุดที่ระบบการวัดตรวจวัดได้
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 76 :
ความเที่ยงตรง (precision) คือ

1 : ความแตกต่างระหว่างค่าวัด (measured value) กับค่าปริมาณวัด (value of quantity)


2 : ความเข้าใกล้ค่าปริมาณวัดของค่าวัด
3 : ความเข้าใกล้กันระหว่างค่าวัดแต่ละครั้งที่ได้จากการวัดทวนซ้ำ (repetition measurement)
4 : อัตราส่วนของการเปลี่ยนแปลงของผลการวัดต่อการเปลี่ยนแปลงของปริมาณวัด
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 77 :
ข้อใดเป็นคุณสมบัติของระบบอันดับศูนย์ (zero order system)

1 : มีแบนด์วิดท์ (bandwidth) เป็นอนันต์

2:

3:
4 : ระบบจะมีแบนด์วิดท์กว้างที่สุดเมื่อให้มีการหน่วง (damping) ประมาณ 0.7
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 12 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

ข้อที่ 78 :
ระบบการวัดอันดับหนึ่ง (first order system) ที่มีค่าคงตัวเวลา (time constant) เท่ากับ 2 ms จะมีแบนด์วิดท์ประมาณเท่าไร

1 : 40 Hz
2 : 80 Hz
3 : 500 Hz

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 79 :
การหาผลตอบสนองต่อความถี่ของระบบทำได้ด้วยการเปรียบเทียบสัญญาณออกกับสัญญาณเข้า สัญญาณเข้าที่จะป้อนให้ระบบต้องเป็นสัญญาณอะไร

1 : คลื่นไซน์ (sine wave) ความถี่คงที่


2 : สัญญาณแรมป์ (ramp signal)
3 : คลื่นสี่เหลี่ยม (rectangular wave)
4 : คลื่นไซน์ที่กวาด (sweep) ความถี่
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 80 :
แอมมิเตอร์ (Ammeter) แบบดิจิตอลในข้อใดที่มีความจำแนกชัด (Resolution) ดีที่สุด เมื่อมิเตอร์กำลังแสดงค่าสูงสุดในพิสัยการวัด (Measurement range)

1:

2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 81 :
เมื่อพิจารณาในเรื่องคุณสมบัติพลวัต (Dynamic characteristics) ของระบบ ระบบการวัดแบบใดที่มีแบนด์วิดท์ (Bandwidth) เป็นอนันต์ แสดงค่าวัดได้ทันทีที่ทำการวัด
และไม่เกิดความเพี้ยน (Distortion) ขึ้นในผลการวัด

1 : ระบบอันดับศูนย์
2 : ระบบอันดับหนึ่ง
3 : ระบบอันดับสอง
4 : ระบบไม่เชิงเส้น
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 82 :

1 : 0.5 s
2 : 2.05 s
3 : 4.1 s
4 : 191 s
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 83 :
ตัวบอกคุณสมบัติในการเปลี่ยนแปลงค่าปริมาณออก (Output quantity) ต่อปริมาณเข้า (Input quantity) ที่เหมาะกับระบบการวัดแบบไม่เชิงเส้น (Nonlinear) คือ

1 : ค่าขีดเริ่ม (discrimination threshold)


2 : ตัวประกอบสเกล (scale factor)
3 : ความไวเชิงอนุพันธ์ (differential sensitivity)
4 : ตัวประกอบความไว ( sensitivity factor)
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 84 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 13 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 85 :
ค่าขีดเริ่ม (Discrimination threshold) หมายถึง

1 : ฟังก์ชันถ่ายโอน (Transfer function) ของระบบ


2 : อัตราขยายสัญญาณของระบบ
3 : ความแตกต่างที่เล็กที่สุดของปริมาณวัดที่ระบบสามารถวัดได้
4 : ขนาดปริมาณวัดที่ใหญ่ที่สุดที่ระบบการวัดยังไม่สามารถวัดได้
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 86 :
ข้อใดเป็นความหมายของระบบไม่เชิงเส้น (nonlinear system)

1 : ใช้หลักการซูเปอร์โพสิชัน (principle of superposition) หาค่าปริมาณออกได้


2 : สัญญาณออกมีรูปร่างไม่เหมือนสัญญาณเข้า
3 : กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณเข้ากับปริมาณออกจะเป็นเส้นตรงผ่านจุดเริ่มต้น (origin)
4 : ไม่เกิดความเพี้ยน (distortion)
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 87 :
ข้อใดเป็นคุณสมบัติของระบบการวัดอันดับศูนย์ (Zero order system)

1:

2:
3 : เกิดการออสซิลเลต (Oscillation) ที่ความถี่ธรรมชาติ (Natural frequency) ถ้าไม่มีการหน่วง (Damping)
4 : แบนด์วิดท์มีค่าเป็นอนันต์
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

เนื้อหาวิชา : 21 : Measurement system errors.

ข้อที่ 88 :
ถ้าทำการวัดทวนซ้ำ (Repetition measurement) เป็นจำนวนครั้งที่มากพอ แล้วได้ผลการวัดที่มีการกระจายแบบปรกติ (normal distribution) ตัวเลือกข้อใดต่อไปนี้ที่ให้
ความหมายไม่ถูกต้อง

1 : ค่าผิดพลาดสุ่ม (Random error) จะมีการกระจายอยู่รอบค่าเฉลี่ย


2 : ค่าเฉลี่ยของผลการวัดทั้งหมดก็คือ ค่าจริง (True value) ของปริมาณวัด
3 : เส้นกราฟ PDF (Probability density function) ของผลการวัดจะเป็นรูประฆังคว่ำ
4 : ค่าเฉลี่ยของผลการวัดทั้งหมดจะอยู่ที่จุดสูงสุดของเส้นกราฟ PDF พอดี
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 89 :
จำนวน 415000.00 มีเลขนัยสำคัญ (Significant digit) กี่หลัก

1 : 3 หลัก
2 : 4 หลัก
3 : 6 หลัก
4 : 8 หลัก
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 90 :
ความผิดพลาด (Error) ในข้อใดต้องใช้วิธีทางสถิติในการปรับปรุงแก้ไข

1 : Nonlinear error
2 : Systematic error
3 : Random error
4 : ถูกทุกข้อ
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 91 :
สวิตช์แบบ Make before Break มีความสำคัญอย่างไรกับแอมมิเตอร์แอนะลอกแบบหลายย่านการวัด (Multi-range)

1 : ทำให้แอมมิเตอร์มีความไวเพิ่มขึ้น
2 : ทำให้สามารถเปลี่ยนย่านการวัดได้โดยไม่ต้องปลดสายวัดออกจากจุดวัดค่า
3 : ทำให้อายุการใช้งานของแอมมิเตอร์ยาวนานยิ่งขึ้น
4 : ทำให้แอมมิเตอร์มีขนาดเล็กลง
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 92 :
การเลือกใช้มาตรวัดผิดประเภทในการวัดถือเป็นความผิดพลาดแบบใด

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 14 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

1 : Instrumental error
2 : Calibration error
3 : Human error
4 : Random error
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 93 :
กำหนดให้ทำการวัดค่าความต้านทานของตัวต้านทานตัวหนึ่งโดยใช้โอห์มมิเตอร์เป็นจำนวน 10 ครั้ง โดยมีค่าที่วัดได้ในแต่ละครั้งดังต่อไปนี้ 98, 102, 101, 97, 100,
103, 98,106, 107, 99 ohm ตามลำดับ จงคำนวณหาค่าความเที่ยงตรง (Precision) ในการวัดครั้งที่สี่

1 : 0.88
2 : 0.89
3 : 0.96
4 : 1.01
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 94 :
ในการวัดแรงดันของแบตเตอรี่โดยนักเรียนหกคน ได้ค่าแรงดันเป็น 20.20, 19.90, 20.05, 20.10, 19.85, 20.00 V ตามลำดับ นักเรียนลำดับที่เท่าใดวัดค่าแรงดัน ที่มี
ค่าเที่ยงตรงที่สุด

1:6
2:4
3:2
4:1
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 95 :
ข้อมูลการวัดค่าความต้านทานจำนวนหนึ่งมีดังนี้ 10.16, 10.15, 10.14, 10.05, 10.00, 9.99 ohm จงหาค่าเฉลี่ย (Average value)ของการวัดค่าความต้านทานนี้

1 : 10.00 ohm
2 : 10.05 ohm
3 : 10.08 ohm
4 : 10.10 ohm
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 96 :
ข้อมูลการวัดค่าความต้านทานจำนวนหนึ่งมีดังนี้ 10.16, 10.15, 10.14, 10.05, 10.00, 9.99 ohm จงหาค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) ของการวัดค่า
ความต้านทานนี้

1 : 0.00 ohm
2 : 0.05 ohm
3 : 0.08 ohm
4 : 0.10 ohm
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 97 :

1 : อยู่ระหว่าง 399.5 และ 400.5 mV


2 : อยู่ระหว่าง 399.2 และ 400.8 mV
3 : อยู่ระหว่าง 398 และ 402 mV
4 : อยู่ระหว่าง 395 และ 405 mV
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 98 :

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 99 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 15 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 100 :

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 101 :

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 102 :
ในการวัดความผิดพลาดแบบสุ่ม (Random error) สามารถอ่านค่าที่วัดขนาดของแรงดันได้เป็น 3, 5, 7, 4, 8, 6, 5, 7, 6, และ 6 V ตามลำดับ จงคำนวณหาค่าเฉลี่ย
(Average value)

1 : 5.7 V
2 : 5.8 V
3 : 5.9 V
4 : 5.10 V
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 103 :
ในการวัดความผิดพลาดแบบสุ่ม (Random error) สามารถอ่านค่าที่วัดขนาดของแรงดันได้เป็น 3, 5, 7, 4, 8, 6, 5, 7, 6, และ 6 V ตามลำดับ จงคำนวณหาค่าเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (Standard deviation)

1 : 1.5 V
2 : 1.7 V
3 : 1.8 V
4 : 1.9 V
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 104 :
ในการวัดแรงดันมาตรฐานขนาด 5 V ของโวลต์มิเตอร์แต่ละตัว ทำการวัดตัวละ 3 ครั้ง มิเตอร์ในคำตอบข้อใดที่มีค่าความเที่ยงตรง (Precision) ดีที่สุด

1 : 5.5 V, 5.3 V, 4.5 V


2 : 6.2 V, 6.0 V, 5.8 V
3 : 4.1 V, 4.0 V, 3.9 V
4 : 5.9 V, 5.0 V, 4.8 V
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 105 :
หากต้องการวัดสัญญาณไซน์ความถี่ 600 Hz จะต้องทำการชักตัวอย่าง (Sampling) ด้วยความถี่เท่าใด จึงจะได้สัญญาณที่มีความถี่ 600 Hz แสดงบนหน้าจอ

1 : 100 Hz
2 : 300 Hz
3 : 700 Hz
4 : 1500 Hz

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 16 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 106 :

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 107 :
ก่อนใช้โอห์มมิเตอร์วัดค่าความต้านทานจะต้องทำการปรับศูนย์ (Adjust zero) เพราะอะไร

1 : เพราะเข็มโอห์มมิเตอร์ไม่ชี้ที่ตำแหน่งศูนย์เนื่องจากสปริงเกิดความล้า
2 : เพื่อชดเชยแรงดันแบตเตอรี่ในเครื่องมือวัด
3 : เพื่อลดความฝืดของเดือยที่เป็นจุดหมุนของเข็มมิเตอร์
4 : เพื่อให้อายุการใช้งานของแบตเตอรี่ยาวนานขึ้น
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 108 :

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 109 :

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 110 :

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 111 :

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 17 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

ข้อที่ 112 :

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 113 :

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 114 :

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 115 :

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 116 :

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 117 :
ในการทดลองวัดกระแสไฟฟ้า 5 ครั้งมีค่าดังนี้ 12.8 mA, 12.2 mA, 12.5 mA, 13.1 mA และ 12.4 mA จะมีค่าเฉลี่ย (Average value) จากการวัดเท่าไร

1 : 12.50 mA
2 : 11.65 mA
3 : 12.55 mA
4 : 12.60 mA
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 18 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

ข้อที่ 118 :
ในการทดลองวัดกระแสไฟฟ้า 3 ครั้งมีค่าดังนี้ 12.8 mA, 12.2 mA, 12.5 mA การวัดครั้งที่ 1 มีค่าเบี่ยงเบนจากค่าเฉลี่ยเท่าไร

1:
2:
3:
4 : 0.8 mA
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 119 :
ในการทดลองวัดกระแสไฟฟ้า 3 ครั้งมีค่าดังนี้ 12.8 mA, 12.2 mA, 12.5 mA จงคำนวณหาผลรวมของค่าเบี่ยงเบนจากค่าเฉลี่ย

1 : 0.33 mA
2 : -0.3 mA
3 : 0.3 mA
4 : 0 mA
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 120 :
เกี่ยวกับการวัดค่าตัวแปรใดๆ ข้อใดกล่าวถูกต้อง

1 : ถ้ามีความถูกต้องจากการวัด (accuracy) จะมีค่าความเที่ยงตรงด้วย (precision)


2 : ถ้ามีค่าความเที่ยงตรง (precision) จะมีค่าความถูกต้อง(accuracy) จากการวัดด้วย
3 : ค่าความถูกต้อง (accuracy) จะไม่สัมพันธ์กับค่าความเที่ยงตรง (precision)
4 : สรุปไม่ได้
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 121 :

1 : 1.67 %
2 : 2.5 %
3:5%
4 : 15%
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 122 :

1:
2:
3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 123 :
ในการวัดแรงดันตกคร่อมตัวความต้านทานนั้น โวลต์มิเตอร์ที่ใช้วัดจะทำให้เกิดการโหลดวงจรที่ทำการวัด ทำให้เกิดค่าผิดพลาดอันเนื่องมาจากการโหลด (Loading
error) ขึ้นซึ่งจัดอยู่ในประเภทใด

1 : ค่าผิดพลาดสุ่ม (Random error)


2 : ค่าผิดพลาดเชิงระบบ (Systematic error)
3 : กระทำการวัดผิด (Mistake)
4 : ค่าผิดพลาดพาราแลกซ์ (Parallax error)
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 124 :
การขจัดค่าผิดพลาดเชิงระบบ (Systematic error) ออกจากผลการวัดทำได้ด้วยวิธีการใด

1 : การวัดแบบเทียบศูนย์ (Null method)


2 : การวัดแบบเบี่ยงเบน (Deflection method)
3 : กระบวนการวัดแบบทำซ้ำ (Reproduction measurement)
4 : กระบวนการวัดแบบทวนซ้ำ (Repetition measurement)
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 125 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 19 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 126 :

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 127 :
ข้อใดคือผลที่ทำให้เกิดค่าผิดพลาดสุ่ม (Random error)

1 : กดเครื่องคิดเลขผิดในการคำนวณผลการวัด
2 : ลูกปืนที่ใช้ในกีฬายิงปืนแต่ละลูกมีปริมาณดินปืนที่ไม่เท่ากัน
3 : เอาแอมมิเตอร์ (Ammeter) ไปวัดแรงดันไฟฟ้า
4 : ใช้โวลต์มิเตอร์ (Voltmeter) ที่มีความต้านทานด้านเข้าต่ำไปวัดแรงดัน
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 128 :
การกระทำในข้อใดจัดเป็นกระบวนวัดแบบทำซ้ำ (Reproduction measurement)

1 : ทอยลูกเต๋า 100 ครั้งและจดสถิติดูว่าออกเลข 1 กี่ครั้ง


2 : นำไข่ 100 ฟองมาชั่งน้ำหนักทีละฟองโดยเครื่องชั่งเครื่องหนึ่ง เพื่อหาค่าเฉลี่ยของน้ำหนักไข่ 1 ฟอง
3 : ใช้แอมมิเตอร์ (Ammeter) เครื่องหนึ่งไปวัดกระแสที่ใช้ในหลอดไฟดวงหนึ่งเป็นจำนวน 3 ครั้งติดต่อกัน เพื่อหาค่ากระแสที่แน่นอน
4 : ใช้โวลต์มิเตอร์ (Voltmeter) 3 เครื่องไปวัดแรงดันของแบตเตอรีลูกหนึ่งเพื่อหาค่าแรงดันที่เชื่อถือได้
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 129 :
ในนัดชิงชนะเลิศของการแข่งขันฟุตบอล มีผู้ชมการถ่ายทอดสดในประเทศประมาณหนึ่งล้านสองแสนสี่หมื่นคน จะเขียนจำนวนผู้ชมตามหลักเลขนัยสำคัญได้อย่างไร

1:

2:

3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 130 :

1 : 3 หลัก
2 : 4 หลัก
3 : 5 หลัก
4 : 7 หลัก
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 131 :
ข้อใดต่อไปนี้กล่าวได้ถูกต้องเกี่ยวกับค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน

1 : บอกให้ทราบว่าค่าวัดมีการกระจายตัวจากค่าตัวกลางเลขคณิตมากหรือน้อยเพียงไร
2 : บอกให้ทราบว่าค่าวัดมีการเบี่ยงเบนจากค่าจริงมากน้อยเพียงไร
3 : ถ้าความเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่าน้อยๆก็หมายถึงมีค่าผิดพลาดเชิงระบบน้อย
4 : ถ้าความเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่าน้อยๆก็หมายถึงค่าวัดทวนซ้ำส่วนใหญ่มีความเที่ยงตรงน้อย
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 20 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

ข้อที่ 132 :

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 133 :
ถ้าผลการวัดแรงดันที่อ่านได้จากมิเตอร์มีค่าเป็น 10.450552 V แต่ต้องการความละเอียดอยู่ที่ระดับ 1 mV ค่าวัดที่ได้นี้ควรปัดเศษให้เหลือเป็นเลขในข้อใด

1 : 10.45 V
2 : 10.450 V
3 : 10.451 V
4 : 10.4506 V
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 134 :
แบตเตอรี (battery) ก้อนหนึ่งระบุว่ามีแรงดันไฟฟ้าเท่ากับ 6.00 V แต่เมื่อทำการวัดด้วยโวลต์มิเตอร์ (voltmeter) แล้วได้เท่ากับ 5.94 V ค่าผิดพลาดจากการวัดครั้งนี้มี
กี่เปอร์เซ็นต์

1:1%
2:–1%
3 : – 99 %
4 : 0.06 %
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 135 :

1:0%
2 : 0.675 %
3 : 67.5 %
4 : 99.325 %
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 136 :

1 : 1.002
2 : 0.998
3 : 0.959
4 : 0.041
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 137 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 21 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

1 : 986,500 ~ 987,500
2 : 986,950 ~ 987,050
3 : 986,995 ~ 987,005
4 : 986,999.5 ~ 987,000.5
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 138 :
ผลการวัดความต้านทานตัวหนึ่งได้ผลเป็น 100.00045 โอห์ม มีความไม่แน่นอนขยาย (expanded uncertainty) 0.00032 โอห์ม ที่ระดับความเชื่อมั่น (level of
confidence) 95.45 % และมีการแจกแจงปรกติ (normal distribution) ความแปรปรวน (variance) ของค่าวัด (measured value) มีค่าเป็นเท่าไร

1:

2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 139 :

1 : 24 nF
2 : 48 nF
3 : 13.86 nF
4 : 9.8 nF
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 140 :
ถ้าปริมาณออกของระบบการวัดเป็นผลจากปริมาณเข้าหลายๆตัว ควรรายงานความไม่แน่นอน (uncertainty) ของผลการวัดเป็น

1 : ความไม่แน่นอนมาตรฐาน (standard uncertainty)


2 : ความไม่แน่นอนขยาย (expanded uncertainty)
3 : ความไม่แน่นอนมาตรฐานรวม (combined standard uncertainty)
4 : ความแปรปรวน (variance)
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 141 :
ความไม่แน่นอน (uncertainty) แบบ A มีความหมายตรงกับข้อใด

1 : ความไม่แน่นอนที่ได้จากข้อมูลการวัดครั้งก่อนหน้า
2 : ความไม่แน่นอนที่ได้จากข้อมูลการสอบเทียบ (calibration) เครื่องมือวัด
3 : ความไม่แน่นอนที่คำนวณได้จากค่าชักตัวอย่าง
4 : ความไม่แน่นอนของวัสดุอ้างอิงที่ใช้ในการวัดเทียบศูนย์ (null method)
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 142 :

1 : 16.66 %
2 : – 16.66 %
3 : 9.09 %
4 : – 9.09 %
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 143 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 22 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

1 : 0.10 %
2 : – 0.10 %
3 : 0.05 %
4 : – 0.05 %
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 144 :

1:

2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 145 :
จำนวน 8904.23010 มีเลขนัยสำคัญ (significant digit) กี่หลัก

1 : 4 หลัก
2 : 6 หลัก
3 : 8 หลัก
4 : 9 หลัก
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 146 :
การวัดแบบใดที่สามารถช่วยในการขจัดค่าผิดพลาดเชิงระบบได้

1 : การวัดแบบเทียบศูนย์ (Null measurement)


2 : การวัดแบบอุปมาน (Analogy measurement)
3 : การวัดแบบทำซ้ำ (Reproduction measurement)
4 : การวัดแบบทวนซ้ำ (Repetition measurement)
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 147 :
เครื่องมือวัดในข้อใดที่ไม่ทำให้เกิดผลกระทบจากการโหลด (loading effect)

1 : โวลต์มิเตอร์แบบพีเอ็มเอ็มซี (PMMC meter)


2 : วัตต์มิเตอร์ (Wattmeter)
3 : โพเทนชิโอมิเตอร์วัดแรงดัน (Potentiometer)
4 : เทอร์โมคัปเปิลมิเตอร์ (Thermocouple meter)
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 148 :
จำนวน 24,000.05 มีเลขนัยสำคัญ (Significant digits) กี่หลัก

1 : 2 หลัก
2 : 3 หลัก
3 : 4 หลัก
4 : 7 หลัก
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 149 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 23 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

1:

2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 150 :
เมื่อทำการวัดทวนซ้ำ (Repetition measurement) แล้วได้ พีดีเอฟ (PDF) ของค่าชักตัวอย่างที่มีการแจกแจงปรกติ (Normal distribution) มีความหมายว่าอย่างไร

1 : ไม่เกิดค่าผิดพลาดสุ่มในผลการวัด
2 : การกระจายตัวของค่าชักตัวอย่างเกิดจากค่าผิดพลาดสุ่ม
3 : ไม่มีค่าผิดพลาดเชิงระบบในผลการวัด
4 : ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานก็คือค่าผิดพลาดเชิงระบบ
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 151 :
เมื่อต้องการรายงานผลการวัดที่มีระดับความเชื่อมั่น (Level of confidence) 90 % สำหรับผลการวัดทวนซ้ำ (Repetition measurement) ที่มีการแจกแจงปรกติ (Normal
distribution) จะต้องใช้ตัวประกอบขอบเขต (coverage factor) ที่มีค่าเท่าไร

1 : 1.645
2 : 1.960
3:2
4 : 2.576
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 152 :
ยิงปืน 10 นัดโดยกระสุนเข้าเป้าวงกลมทุกนัด แต้มสูงสุดเมื่อยิงเข้ากลางเป้าคือ 10 คะแนน และแต้มต่ำสุดเมื่อยิงไปที่ขอบนอกสุดคือ 1 คะแนน คะแนนผลการยิง
แต่ละนัดเรียงจากนัดที่ 1 ถึง 10 ปรากฏดังนี้ 10 9 9 8 7 7 5 7 9 7 การยิงครั้งใดที่มีความเที่ยงตรง (Precision) ที่สุด

1 : ครั้งที่ 1
2 : ครั้งที่ 4
3 : ครั้งที่ 7
4 : ครั้งที่ 2, 3 และ 9
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 153 :
. ยิงปืน 10 นัดโดยกระสุนเข้าเป้าวงกลมทุกนัด แต้มสูงสุดเมื่อยิงเข้ากลางเป้าคือ 10 คะแนน และแต้มต่ำสุดเมื่อยิงไปที่ขอบนอกสุดคือ 1 คะแนน คะแนนผลการยิง
แต่ละนัดเรียงจากนัดที่ 1 ถึง 10 ปรากฏดังนี้ 10 9 9 8 7 7 5 7 9 7 การยิงครั้งใดที่มีความแม่นยำ (Accuracy) มากที่สุด

1 : ครั้งที่ 1
2 : ครั้งที่ 4
3 : ครั้งที่ 7
4 : ครั้งที่ 5, 6, 8 และ 10
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 154 :
ยิงปืน 10 นัดโดยกระสุนเข้าเป้าวงกลมทุกนัด แต้มสูงสุดเมื่อยิงเข้ากลางเป้าคือ 10 คะแนน และแต้มต่ำสุดเมื่อยิงไปที่ขอบนอกสุดคือ 1 คะแนน คะแนนผลการยิง
แต่ละนัดเรียงจากนัดที่ 1 ถึง 10 ปรากฏดังนี้ 10 9 9 8 7 7 5 7 9 7 ความไม่แน่นอนมาตรฐาน (Standard uncertainty) ของผลการยิงปืนมีค่าเท่าไร

1 : 1.96 คะแนน
2 : 1.4 คะแนน
3 : 1.48 คะแนน
4 : 2.18 คะแนน
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 24 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

ข้อที่ 155 :
จำนวน 0.023000 มีเลขนัยสำคัญ (Significant digits) กี่หลัก

1 : 2 หลัก
2 : 3 หลัก
3 : 5 หลัก
4 : 7 หลัก
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 156 :

1:

2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 157 :
สำหรับผลการวัดที่มีการแจกแจงปรกติ (Normal distribution) ถ้าบอกผลการวัดครั้งหนึ่งมาเป็นค่าวัด (Measured value) พร้อมกับความไม่แน่นอนขยาย (Expanded
uncertainty) ที่มีตัวประกอบขอบเขต (Coverage factor) เท่ากับ 2 จะอธิบายความหมายของผลการวัดนี้ว่าอย่างไร

1 : ค่าวัดนี้มีระดับความเชื่อมั่น (Level of confidence) 95.45 %


2 : ค่าวัดนี้มีค่าเท่ากับ 95.45 % ของค่าปริมาณวัด (Value of measurand)
3 : มีค่าวัด 2 ครั้งที่มีระดับความเชื่อมั่น 95.45 %
4 : ความไม่แน่นอนมีค่าเท่ากับ 95.45 % ของค่าวัด
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 158 :

1 : 0.02 V
2 : 0.03 V
3 : 0.06 V
4 : 0.18 V
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 159 :

1 : 0.12
2 : 0.06
3 : 0.04
4 : 0.013

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 25 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 160 :

1 : – 0.1 A

2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 161 :

1 : 4 หลัก
2 : 6 หลัก
3 : 7 หลัก
4 : 10 หลัก
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 162 :

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 163 :

1:
2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 164 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 26 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

1:

2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 165 :

1:

2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 166 :
โวลด์มิเตอร์กระแสตรงเครื่องหนึ่ง มีพิสัย 0 ถึง 100 V มีความไว 20 kΩ/V และมีความแม่นยำ ±3 % ของค่าสุดสเกล เมื่อนำโวลต์มิเตอร์นี้ไปต่อวัดแรงดันในวงจรได้
50 V คำตอบข้อใดที่ไม่ถูกต้อง

1: แรงดันที่อ่านได้คือ (50 ±3) V

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 27 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

2: ความต้านทานของโวลต์มิเตอร์คือ 2 MΩ
3: แรงดันที่อ่านได้คือ 50(1 ± 3 %) V
4: แรงดันที่อ่านได้คือ 50(1 ± 6 %) V
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

เนื้อหาวิชา : 22 : Measurement of dc and ac current and voltage using indicating instruments

ข้อที่ 167 :

1:

2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 168 :

1:

2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 169 :
มาตรวัดแบบ Electrodynamometer สามารถนำเอามาใช้วัดปริมาณทางไฟฟ้าอะไรได้บ้าง

1 : True power
2 : Power factor
3 : Reactive power
4 : ถูกทุกข้อ
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 170 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 28 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

1 : 1.83 A
2 : 3.33 A
3 : 5.77 A
4 : 6.87 A
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 171 :
มาตรวัดแบบ Thermocouple มีความเหมาะสมกับการนำไปใช้วัดปริมาณทางไฟฟ้ากระแสสลับที่มีคุณสมบัติใดมากที่สุด

1 : มีขนาดเล็กมากๆ
2 : ต้องการความเที่ยงตรงสูง
3 : มีความถี่สูงมากๆ
4 : ต้องการความแม่นยำสูงมากๆ
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 172 :

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 173 :
ความไวของโวลต์มิเตอร์มีหน่วยเป็น

1:
2:

3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 174 :
อุปกรณ์ที่ใช้เป็นแรงควบคุมของเครื่องมือวัดแบบขดลวดเคลื่อนที่คือ

1 : กรอบอะลูมิเนียม
2 : สปริงก้นหอย
3 : ฐานรองเดือย
4 : เข็มชี้
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 175 :

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 176 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 29 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

1:

2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 177 :
โวลต์มิเตอร์ที่วัดไฟฟ้ากระแสสลับ ค่าที่อ่านได้คือ

1 : ค่าเฉลี่ย
2 : ค่าสูงสุด
3 : ค่าประสิทธิผล
4 : ค่าชั่วขณะ
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 178 :

1:0V
2 : 3.3 V
3:4V
4:5V
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 179 :

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 180 :

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 30 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

ข้อที่ 181 :

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 182 :

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 183 :
ในการใช้งานโวลต์มิเตอร์แบบเข็มชี้ ควรเลือกย่านการวัดเพื่อให้เข็มชี้บริเวณใดเพื่อให้ความผิดพลาดของการวัดแรงดันมีค่าต่ำสุด

1 : บริเวณต้นสเกล
2 : บริเวณปลายสเกล
3 : บริเวณกลางสเกล
4 : บริเวณไหนก็ได้
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 184 :

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 185 :

1 : 5.0 mA
2 : 5.1 mA
3 : 5.2 mA
4 : 5.3 mA
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 186 :

1 : 0.00255 A

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 31 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

2 : 0.025 A
3 : 0.255 A
4 : 2.55 A
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 187 :
ถ้าต้องการขยายย่านการวัดกระแสไฟฟ้าสลับ (AC)โดย การใช้หม้อแปลงกระแส (Current Transformer, CT) กำหนดให้กระแสที่ขดปฐมภูมิ (Primary current, Ip)
เท่ากับ 800 แอมป์และ ให้จำนวนรอบที่ขดปฐมภูมิเท่ากับ 1 รอบและจำนวนรอบที่ขดทุติยภูมิเท่ากับ 160 รอบให้คำนวณหาค่า กระแสที่ขดทุติยภูมิ (Secondary
current, Is)

1:5A
2:6A
3:7A
4:8A
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 188 :

1:

2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 189 :

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 190 :
ถ้าต้องการนำแอมมิเตอร์ไปประยุกต์ใช้วัดแรงดันต้องทำอย่างไร

1 : ต่อแอมป์มิเตอร์ขนานกับจุดที่ต้องการวัดแรงดัน
2 : ต่อแอมป์มิเตอร์อนุกรมกับตัวต้านทานค่าสูงๆ แล้วจึงต่อขนานกับจุดที่ต้องการวัดแรงดัน
3 : ต่อแอมป์มิเตอร์อนุกรมกับตัวต้านทานค่าต่ำๆ แล้วจึงต่อขนานกับจุดที่ต้องการวัดแรงดัน
4 : ต่อแอมป์มิเตอร์อนุกรมกับตัวต้านทานค่าสูงๆ แล้วจึงต่ออนุกรมแทรกที่จุดที่ต้องการวัดแรงดัน
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 32 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

ข้อที่ 191 :

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 192 :
แอนะลอกมัลติมิเตอร์ตัวหนึ่งตั้งย่านวัดไว้ที่ 50 V จะสามารถอ่านค่าได้น้อยที่สุดเท่าใดถ้านำไปวัดแรงดัน 25 V เมื่อมิเตอร์มีความผิดพลาด 2% ที่ค่าเต็มสเกล

1 : 23 V
2 : 24 V
3 : 25 V
4 : 26 V
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 193 :
แอมมิเตอร์โหลดดิ้ง (Ammeter loading) คืออะไร

1 : การที่แอมมิเตอร์วัดกระแสได้สูงกว่าความเป็นจริง เนื่องจากต่อมิเตอร์เข้าไปในวงจรวัด
2 : การที่แอมมิเตอร์วัดกระแสได้ต่ำกว่าความเป็นจริง เนื่องจากต่อมิเตอร์เข้าไปในวงจรวัด
3 : การนำแอมมิเตอร์ไปวัดค่ากระแสที่สูงเกินค่าเต็มสเกลของแอมมิเตอร์
4 : การนำแอมมิเตอร์ไปวัดค่ากระแสที่ต่ำเกินไป
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 194 :

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 195 :

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 196 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 33 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

1 : Integrator
2 : Differentiator
3 : Band-pass filter
4 : Low-pass filter
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 197 :

1:

2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 198 :

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 199 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 34 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 200 :

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 201 :
เครื่องวัดแบบ PMMC มีการเบี่ยงเบนของเข็มเต็มสเกลที่ 90 องศา เมื่อมีกระแสไหลผ่าน 2 A จงหาค่ากระแสที่ทำให้เข็มเบี่ยงเบนไปที่มุม 30 องศา ถ้าเครื่องวัดเป็น
แบบควบคุมด้วยสปริง

1 : 0.33 A
2 : 0.67 A
3 : 1.0 A
4 : 1.3 A
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 202 :
มิเตอร์ชนิดใดที่เหมาะจะใช้วัดแรงดันของสัญญาณความถี่สูง

1 : มิเตอร์แบบพีเอ็มเอ็มซี (PMMC meter)


2 : อิเล็กโตรไดนาโมมิเตอร์ (Electrodynamometer)
3 : เทอร์โมคัปเปิลมิเตอร์ (Thermocouple meter)
4 : กัลวาโนมิเตอร์ (Galvanometer)
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 203 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 35 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

1:

2:
3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 204 :
ตัวประกอบค่ายอด (Crest factor) ของคลื่นไซน์มีค่าโดยประมาณเท่ากับ

1:
2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 205 :
ค่าตัวประกอบรูปแบบ (Form factor) ของคลื่นไซน์มีค่าเท่ากับ

1:

2:
3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 206 :

1:

2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 207 :
การสร้างแอมมิเตอร์ เมื่อต้องการวัดกระแสเกินพิกัดของมัน จะต้องใช้ความต้านทานมาต่ออย่างไรในวงจร

1 : ความต้านทานค่าสูงต่ออนุกรมในวงจร
2 : ความต้านทานค่าต่ำต่อขนานในวงจร
3 : ความต้านทานค่าสูงต่อขนานในวงจร
4 : ความต้านทานค่าต่ำต่ออนุกรมในวงจร
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 208 :

1:

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 36 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 209 :

1:
2:

3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 210 :

1:
2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 211 :

1:

2:

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 37 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 212 :

1:

2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 213 :

1:

2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 214 :
ข้อใดเกี่ยวข้องกับแรงหน่วง (damping force) ของเครื่องมือวัดแบบ PMMC

1 : แผ่นโลหะแบน (taut band)


2 : แผ่นตัวนำลัดวงจร (short–circuited conductor)
3 : แรงต้านสปริง
4 : สปริงก้นหอย
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 215 :
มิเตอร์ในข้อใดเหมาะที่จะใช้เป็น transfer instrument

1 : PMMC meter
2 : Thermocouplemeter
3 : Galvanometer
4 : Electrodynamometer
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 216 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 38 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 217 :

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 218 :

1:

2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 219 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 39 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 220 :

1:
2:

3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 221 :

1:

2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 222 :
เมื่อเข็มของมิเตอร์พีเอ็มเอ็มซี (PMMC meter) เบนไปถึงตำแหน่งที่เป็นค่าวัด วิธีอะไรที่ใช้ลดการแกว่งของเข็มชี้เสกล (Scale)

1 : ใช้แกนขดลวดแบบแผ่นโลหะแบน (taut band)


2 : ใช้แรงหน่วงที่มีการหน่วงขาดเล็กน้อย
3 : ใช้แรงหน่วงที่มีการหน่วงวิกฤต
4 : ใช้แรงหน่วงที่มีการหน่วงเกิน
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 223 :
คุณสมบัติสำคัญของอิเล็กโตรไดนาโมมิเตอร์ (Electrodynamometer) ที่ทำให้เหมาะกับการใช้เป็นเครื่องมือทรานสเฟอร์ (transfer instrument) คือ

1 : วัดได้ทั้งกระแสตรงและกระแสสลับโดยไม่ต้องปรับแต่ง
2 : ความไวสูง
3 : ใช้วัดสัญญาณความถี่สูงได้ดี
4 : สเกลเป็นเชิงเส้น

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 40 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 224 :
มิเตอร์ในข้อใดเป็นมิเตอร์วัดค่าประสิทธิผลจริง (True rms meter)

1 : เทอร์โมคัปเปิลมิเตอร์ (Thermocouplemeter)
2 : พีเอ็มเอ็มซีมิเตอร์ (PMMC meter)
3 : กัลวาโนมิเตอร์ (Galvanometer)
4 : โอห์มมิเตอร์ (Ohmmeter)
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 225 :

1:

2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 226 :

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 227 :

1 : 6.37 V
2:9V
3 : 10 V
4 : 14.14 V
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 41 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

ข้อที่ 228 :

1:

2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 229 :
นำเซลไฟฟ้าที่แต่ละเซลมีแรงเคลื่อนไฟฟ้า 1.5 V จำนวน 3 เซล มาต่อขนานกัน แรงดันเอาท์พุตที่ได้ คือ

1 : 1.0 V
2 : 1.5 V
3 : 4.5 V
4 : 0.5 V
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 230 :

เมื่อนำ แหล่งจ่ายแรงดัน 2 แหล่งคือ และ 5∠20o V มาต่อขนานกัน และ 5∠200o V จ่ายให้แก่ตัวต้านทานที่มีค่าความต้านทาน 10 Ω กระแสที่ไหลผ่านตัวต้านทานจะ
มีค่า

1 : 0.5 A
2:1A
3:0A
4 : ไม่มีข้อใดถูก
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 231 :
. เครื่องวัดแบบแม่เหล็กถาวรขดลวดเคลื่อนที่พื้นฐาน มีความต้านทาน 50 Ω และมีการเบี่ยงเบนสุดสเกล 0.1 A เมื่อแปลงเป็นแอมมิเตอร์พิสัย 0 ถึง 10 A ต้องต่อตัว
ต้านทานชันต์ ค่า

1 : 0.505Ω
2 : 0.02Ω
3 : 0.05Ω
4 : 0.205Ω
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 232 :
เครื่องวัดแบบแม่เหล็กถาวรขดลวดเคลื่อนที่พื้นฐาน มีค่าความต้านทาน 500 Ω และมีค่ากระแสเบี่ยงเบนสุดสเกล 1 mA ต้องการทำเป็นโวลต์มิเตอร์กระแสตรงพิสัย 0
ถึง 25 V ต้องต่อตัวต้านทานตัวคูณ เท่ากับ

1 : 4500 Ω
2 : 24500 Ω
3 : 22000 Ω
4 : 2500 Ω
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 233 :
เมื่อนำแอมมิเตอร์แบบแม่เหล็กถาวรขดลวดเคลื่อนที่ไปวัดกระแสไฟฟ้ากระแสสลับรูปไซน์ ที่มีค่ายอดเท่ากับ 100 A แอมมิเตอร์จะแสดงค่า

1 : 50 A
2 : 175 A
3 : 63.7 A
4 : 70.71 A
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 234 :
ในการขยายพิสัยของแอมมิเตอร์จะใช้

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 42 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

1: ชันต์ต่ออนุกรม
2: ชันต์ต่อขนาน
3: มัลติพลายเออร์ต่ออนุกรม
4: มัลติพลายเออร์ต่อขนาน
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 235 :
ผลของการต่อโหลดเพิ่มขึ้นโดยต่อขนานกับโหลดเดิมที่ต่ออยู่กับแหล่งกำเนิดไฟฟ้า ทำให้เพิ่ม

1 : ความต้านทานของโหลด
2 : แรงดันของแหล่งกำเนิด
3 : กระแสที่ดึงจากแหล่งกำเนิด
4 : ความต่างศักย์คร่อมโหลด
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 236 :
ข้อใดเป็นลักษณะของเครื่องวัดแบบแม่เหล็กถาวรขดลวดเคลื่อนที่

1 : สเกลเท่ากัน วัด DC
2 : สเกลเท่ากัน วัด AC
3 : สเกลไม่เท่ากัน วัด AC
4 : สเกลไม่เท่ากัน วัด DC
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

เนื้อหาวิชา : 23 : Potentiometers

ข้อที่ 237 :
ข้อใดใช้เป็นส่วนประกอบของโพเทนชิโอมิเตอร์ที่ใช้วัดแรงดันไฟฟ้า

1 : กัลวาโนมิเตอร์
2 : เซลล์แรงดันมาตรฐาน
3 : ตัวต้านทานแบบ Slide wire
4 : ถูกทุกข้อ
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 238 :
เครื่องมือวัดในรูปนี้ประกอบด้วยตัวลดทอนและโพเทนชิโอมิเตอร์ (potentiometer) ที่มีพิสัยการวัด 1.5 V ถ้าสวิตช์ S อยู่ที่ตำแหน่ง A ตามในรูป ตัวประกอบการลด
ทอน (attenuation factor) จะมีค่าเท่าไร

1 : 1.125
2 : 100
3 : 200
4 : 225
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 239 :
เครื่องมือวัดในรูปนี้ประกอบด้วยตัวลดทอนและโพเทนชิโอมิเตอร์ (potentiometer) ที่มีพิสัยการวัด 1.5 V ถ้าสวิตช์ S อยู่ที่ตำแหน่ง A ตามในรูปแล้วปรับให้เข็มขอ
งกัลวาโนมิเตอร์ (galvanometer) ชี้ที่ศูนย์เพื่อจะอ่านค่าวัด ในสภาวะนี้เครื่องมือวัดจะมีค่าความต้านทานด้านเข้าเป็นเท่าไร

1:

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 43 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 240 :
เครื่องมือวัดในรูปนี้ประกอบด้วยตัวลดทอนและโพเทนชิโอมิเตอร์ (potentiometer) ที่มีพิสัยการวัด 1.5 V พิสัยการวัดสูงสุดของเครื่องมือนี้มีค่าเท่าไร

1 : 1.5 V
2 : 150 V
3 : 200 V
4 : 300 V
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 241 :

1 : 0.5 V
2:5V
3 : 10 V
4 : 40 V
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

เนื้อหาวิชา : 24 : Digital voltmeter and digital multimeters

ข้อที่ 242 :

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 243 :
วงจรแปลงผัน Analog-to-Digital แบบ Successive-Approximation ขนาด 10 บิต จะใช้เวลาในการแปลงผัน (Conversion time) ต่อข้อมูลแอนะลอก 1 sample
(ตัวอย่าง) อย่างน้อยที่สุดเท่าใด ถ้าสมมุติให้สัญญาณนาฬิกาที่ป้อนให้กับวงจรแปลงผันมีความถี่เท่ากับ 1 MHz

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 244 :
ดิจิตอลโวลต์มิเตอร์ (DVM) หรือ ดิจิตอลมัลติมิเตอร์ (DMM) แบบพกพา โดยทั่วไปจะใช้เทคนิคการแปลงสัญญาณแอนะลอกเป็นสัญญาณดิจิตอล (Analog to digital
conversion : ADC) แบบใด

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 44 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

1 : Successive approximation ADC


2 : Single-slope ADC
3 : Dual-slope ADC
4 : Pulse-width ADC
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 245 :
เทคนิคการแปลงสัญญาณแอนะลอกเป็นสัญญาณดิจิตอลแบบใดในคำตอบข้อนี้ ที่มีความเร็วในการแปลงสัญญาณเร็วที่สุด

1 : Successive approximation ADC


2 : Single-slope ADC
3 : Dual-slope ADC
4 : Pulse-width ADC
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 246 :

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 247 :

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 248 :
หากนำ ADC ขนาด 8 บิต สามารถวัดแรงดันสูงสุดได้ที่ 512 V มาต่อกับแหล่งจ่ายแรงดันที่ค่อยๆเพิ่มแรงดันจาก 0 ถึง 100 V ในจังหวะที่เริ่มเพิ่มแรงดัน (หน้าจอจะ
แสดง 0 V) ถามว่าเลขจำนวนถัดไปที่จะถูกแสดงบนหน้าจอจะเป็นเลขจำนวนใด

1:1V
2 : 1.5 V
3:2V
4:4V
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 249 :
ความจำแนกชัด (Resolution) ของวงจร ADC (แปลงสัญญาณแอนะลอกเป็นดิจิตอล) ขึ้นอยู่กับปัจจัยใด

1 : จำนวนบิตที่ใช้
2 : ความไวในการแปลงสัญญาณ
3 : ความต้านทานขาเข้า (Input impedance)
4 : ความต้านทานขาออก (Output impedance)
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 250 :

1 : 1000
2 : 1200
3 : 999.5 + 20 %
4 : 3500 + 20 %
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 45 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

ข้อที่ 251 :

1 : 1 mA
2 : 1.2 mA
3 : 10 mA
4 : 12 mA
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 252 :
อะไรคือเหตุผลที่ควรใช้เอดีซีแบบดูออลสโลป (Dual-slope ADC) ในเครื่องมือวัดแบบดิจิตอล

1 : ใช้เวลาในการแปลงสัญญาณน้อยที่สุด
2 : ขจัดสัญญาณรบกวนแบบนอร์มอลโหมด (Normal-mode noise) ได้ดี
3 : ขจัดสัญญาณรบกวนแบบคอมมอนโหมด (Common-mode noise) ได้ดี
4 : มีค่าผิดพลาดควอนไทซ์ (Quantization error) น้อยที่สุด
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 253 :

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 254 :
ถ้าต้องการดีเอซี (DAC) ที่มีค่าผิดพลาดควอนไทซ์ (Quantization error) ไม่เกิน 0.01 % จะต้องใช้ดีเอซีที่มีจำนวนบิตด้านเข้าอย่างน้อยกี่บิต

1 : 8 บิต
2 : 10 บิต
3 : 12 บิต
4 : 14 บิต
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 255 :
เครื่องมือวัดแบบดิจิตอลที่ปริมาณวัดเป็นสัญญาณอนาลอกที่มีความถี่ไม่เกิน 25 kHz ตัวแปลงสัญญาณแอนะลอกเป็นดิจิตอลควรมีคุณสมบัติอย่างไร

1 : คาบเวลาการชักตัวอย่างสัญญาณต้องมีค่าไม่เกิน 20 µs
2 : ใช้เอดีซีแบบดูออลสโลปที่มีเวลาการอินทิเกรตไม่เกิน 20 ms
3 : ใช้เอดีซีแบบไบนารีแรมป์ที่สัญญาณนาฬิกามีความถี่ไม่ต่ำกว่า 2 เท่าของความถี่สัญญาณวัด
4 : ใช้เอดีซีแบบแฟลช (flash) ซึ่งทำงานได้เร็วที่สุด เพราะเป็นการวัดสัญญาณความถี่สูง
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 256 :

1 : 1.22 mV
2 : 0.61 mV
3 : 0.5 pV
4 : 0.5 V
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 257 :
ดีเอซี (DAC) ขนาด 12 บิตจะมีค่าความผิดพลาดในการแปลงสัญญาณสูงสุดกี่เปอร์เซนต์ ถ้าคิดเฉพาะค่าผิดพลาดควอนไทซ์ (Quantization error)

1 : 0.1 %
2 : 0.01 %
3 : 0.024 %
4 : 0.025 %
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 258 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 46 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

1 : - 6.33 V
2 : - 7.68 V
3 : - 8.24 V
4 : - 10 V
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 259 :
ถ้าต้องการลดค่าผิดพลาดควอนไทซ์ (quantizing error) ของการแปลงสัญญาณดิจิตอล (digital) ให้เป็นแอนะลอก (analog) ต้องทำอย่างไร

1 : ลดจำนวนบิตของวงจรแปลงสัญญาณ
2 : เพิ่มจำนวนบิตของวงจรแปลงสัญญาณ
3 : ต้องใช้ดีเอซีแบบไบนารีเวตเตด (binary-weighted DAC) เท่านั้น
4 : ต้องใช้ดีเอซีแบบอาร์ทูอาร์แลดเดอร์ (R-2R ladder DAC) เท่านั้น
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 260 :
คุณสมบัติสำคัญของเอดีซีแบบอินทิเกรตติง (integrating ADC)ที่ทำให้เหมาะกับการใช้งานในเครื่องมือวัดแบบดิจิตอลคือ

1 : แปลงสัญญาณได้เร็วมากเมื่อเทียบกับเอดีซีแบบอื่น
2 : ไม่เกิดการเลื่อนค่าของอุปกรณ์ในวงจร
3 : ใช้แปลงสัญญาณความถี่สูงได้ดี
4 : มีค่า NMRR สูง
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 261 :

1 : 12.5 kHz
2 : 25 kHz
3 : 125 kHz
4 : 250 kHz
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 262 :
ถ้าต้องการวงจร DAC (digital to analog converter) ที่มีค่าผิดพลาดควอนไทซ์ (Quantization error) ไม่เกิน 0.025 % จะต้องใช้ DAC ที่มีจำนวนบิต (bit) ด้านเข้าอย่าง
น้อยกี่บิต

1 : 8 บิต
2 : 10 บิต
3 : 12 บิต
4 : 14 บิต
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 263 :
ADC (Analog to digital converter) แบบใดที่สามารถออกแบบให้ลดการรบกวนจากระบบไฟฟ้าตามบ้านเรือนได้

1 : Binary ramp ADC


2 : Flash ADC
3 : Successive approximation ADC

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 47 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

4 : Integrating ADC
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 264 :
ADC แบบใดใช้เวลาแปลงสัญญาณมากที่สุด ถ้าใช้งานด้วยสัญญาณนาฬิกาที่มีความถี่เท่ากัน

1 : Flash ADC
2 : Binary ramp ADC
3 : Dual – slope integrating ADC
4 : Successive approximation ADC
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 265 :
ADC แบบใดที่มีการทำงานที่ไม่ขึ้นกับความถี่ของสัญญาณนาฬิกา

1 : Flash ADC
2 : Binary ramp ADC
3 : Dual – slope integrating ADC
4 : Successive approximation ADC
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 266 :
เอดีซีแบบแฟลช (flash ADC) ขนาด 8 บิต ต้องใช้ตัวเปรียบเทียบสัญญาณ (comparator) กี่ตัว

1 : 7 ตัว
2 : 8 ตัว
3 : 64 ตัว
4 : 255 ตัว
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 267 :

1 : 1 mV
2 : 10 mV
3 : 12 mV
4 : 0.1 V
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 268 :
เอดีซีแบบซักเซสซีฟแอพพรอกซิเมชัน (SA – ADC) ขนาด 10 บิต ที่ใช้สัญญาณนาฬิกา 2 MHz จะใช้เวลาแปลงสัญญาณเท่าไร

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 269 :

1 : 100.0 V
2 : 100.00 V
3 : 120.0 V
4 : 120.00 V
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 270 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 48 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 271 :
โวลต์มิเตอร์ดิจิตอล วัด

1 : ค่ายอด
2 : ค่ายอดถึงยอด
3 : ค่าประสิทธิผล
4 : ค่าเฉลี่ย
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

เนื้อหาวิชา : 25 : Power measurement

ข้อที่ 272 :
จากวงจรที่แสดง ถ้าโหลดมีทั้งค่า Resistance และ Reactance กำลังไฟฟ้ารวมมีค่าเท่าใด

1:

2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 273 :
ค่ากำลังไฟฟ้าที่วัดได้โดยมิเตอร์วัดกำลังแบบอิเล็กโตรไดนาโมมิเตอร์ (Electrodynamometer) คือ

1 : กำลังจริง (True power)


2 : กำลังปรากฏ (Apparent power)
3 : กำลังจินตภาพ (Reactive powewr)
4 : ตัวประกอบกำลัง (Power factor)
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 274 :

1 : กำลังจริง (True power)


2 : กำลังจินตภาพ (Reactive power)
3 : กำลังปรากฏ (Apparent power)
4 : กำลังสูญเสียเป็นความร้อน (Power dissipated)

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 49 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 275 :

1 : 0.45 %
2 : 0.27 %
3 : 0.16 %
4 : 0.02 %
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 276 :
วัตต์มิเตอร์ 2 ตัว ใช้วัดวงจร 3 เฟส สมดุล อ่านค่าได้ 2000 W และ 500 W ตามลำดับ จงหาตัวประกอบกำลังของวงจร (Power factor)

1 : 0.51
2 : 0.69
3 : 0.72
4 : 0.85
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 277 :
วัตต์มิเตอร์ 2 ตัว ใช้วัดวงจร 3 เฟส สมดุล อ่านค่าได้ 2000 W และ -500 W ตามลำดับ จงหาตัวประกอบกำลังของวงจร

1 : 0.33
2 : 0.51
3 : 0.85
4 : 0.94
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 278 :

1 : 200 mW
2 : 0.1 W
3 : 1000 mW
4 : 120 mW
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 279 :

1:

2:
3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 280 :
1 W เป็นอัตราการทำงาน เมื่อพลังงานไฟฟ้าถูกแปลงเป็นพลังงานรูปอื่น ด้วยอัตรา

1:

2:

3:

4:

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 50 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 281 :

1:
2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 282 :

1:

2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 283 :
หน่วยของกำลังจินตภาพ (Reactive power) คือ

1:W
2 : VA
3 : VAR

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 284 :
หน่วยของกำลังปรากฏ (Apparent power) คือ

1:W
2 : VA
3 : VAR

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 285 :

1:

2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 286 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 51 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

1 : 0.22 A
2 : 0.38 A
3 : 0.66 A
4 : 1.14 A
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 287 :

1 : 13.97 W
2 : 24.2 W
3 : 41.9 W
4 : 72.6 W
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 288 :
หน่วยของกำลังปรากฏ (Apparent power) คือ

1:
2:
3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 289 :
พิกัดกระแสของตัวต้านทานค่า 1 kΩ 0.5 W คือ

1 : 2.23 A
2 : 0.5 A
3 : 22.36 mA
4 : ไม่มีข้อใดถูก
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 290 :
ระบบสามเฟสต่อแบบเดลตาโหลดสมดุล มีแรงดันเฟสเป็น 240 V แรงดันสายเป็น

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 52 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

1 : 720 V
2 : 416 V
3 : 240 V
4 : 130 V
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 291 :
ในระบบ 3 เฟส ต่อแบบ Y

1: กระแสไลน์เท่ากับกระแสเฟส
2: แรงดันไลน์เท่ากับแรงดันเฟส
3: แรงดันไลน์กับกระแสไลน์ต่างเฟสกัน 30 o
4: แรงดันไลน์กับแรงดันเฟสต่างกัน 30o+Ø
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 292 :
กำลังไฟฟ้าจริง(true power)ในวงจรกระแสสลับกำหนดโดย

1:
2 : I2XL
3 : I2R
4 : I2Z
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 293 :
กำลังที่ใช้ไปโดยตัวต้านทานค่า 4 Ω เมื่อมีกระแส 5 A ไหลผ่านตัวมัน คือ

1 : 6.25 W
2 : 20 W
3 : 80 W
4 : 100 W
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 294 :
ระบบที่ต่อแบบ Y 3 เฟส 4 สาย มีแรงดันเฟสเป็น 220 V จะมีแรงดันสายเท่ากับ

1 : 660 V
2 : 220 V
3 : 191 V
4 : 381 V
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

เนื้อหาวิชา : 26 : Measurement of electrical energy

ข้อที่ 295 :
มิเตอร์ที่ใช้วัดพลังงานไฟฟ้าคือ

1 : Watt-hour meter
2 : Wattmeter
3 : Power factor meter
4 : Varmeter
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 296 :
Watt-hour meter ที่ใช้ตามบ้านพักอาศัย เป็นแบบใด

1 : เหนี่ยวนำไฟฟ้า
2 : เมอร์คิวรี่
3 : คอมมิวเตเตอร์
4 : อิเล็กโตรไลติก
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 297 :
พลังงานไฟฟ้า 1 ยูนิตมีหมายความอย่างไร

1 : การใช้กำลังไฟฟ้า 100 W เป็นเวลา 1 ชั่วโมง


2 : การใช้กำลังไฟฟ้า 1000 W เป็นเวลา 1 ชั่วโมง
3 : การใช้กำลังไฟฟ้า 10000 W เป็นเวลา 1 ชั่วโมง

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 53 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

4 : การใช้กำลังไฟฟ้า 100000 W เป็นเวลา 1 ชั่วโมง


คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 298 :
ทำการทดสอบ kWh meter ที่พิกัด 50 A, 230 V จานหมุนของมิเตอร์หมุน 61 รอบ ในเวลา 37 วินาที ถ้าปกติ จานหมุนมีความเร็ว 520 รอบ/kWh ให้หาค่าเปอร์เซ็นต์
ความผิดพลาด

1 : ช้า 0.75 %
2 : เร็ว 0.75 %
3 : ช้า 1.5 %
4 : เร็ว 1.5 %
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 299 :
kWh Meter 230 V, 1 เฟส มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านไปยังโหลด (ที่มี PF = 1) 4 A คงที่ เป็นเวลา 6 ชั่วโมง หากในระยะเวลาดังกล่าวมิเตอร์หมุนได้ 2208 รอบ จงหาค่า
คงที่ของมิเตอร์

1 : 200 รอบ kWh


2 : 300 รอบ/ kWh
3 : 400 รอบ/ kWh
4 : 500 รอบ/ kWh
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 300 :
1 W เป็นอัตราการทำงาน เมื่อพลังงานไฟฟ้าถูกแปลงเป็นพลังงานรูปอื่น ด้วยอัตรา

1:

2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 301 :
ข้อใดเป็นหน่วยของพลังงานไฟฟ้า (Electrical energy)

1:

2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 302 :
ในเครื่องวัดพลังงานชนิดเหนี่ยวนำ คำตอบต่อไปนี้ข้อใดถูกต้อง

1: ไม่มีแม่เหล็กสำหรับหยุด
2: ใช้แม่เหล็กกระแสตรงสองชิ้น
3: ใช้สปริงเป็นตัวปรับสมดุล
4: จานโลหะหมุนต่อเนื่อง
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 303 :
ตัวเก็บประจุค่า 1 µF เมื่อป้อนด้วยแรงดัน 10 V จะมีพลังงานสะสมบนตัว เท่ากับ

1 : 0.25 µJ
2 : 5 µJ
3 : 50 mJ
4 : 50 µJ
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 304 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 54 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

ขดลวดขดหนึ่ง มีค่าความเหนี่ยวนำ 15 mH ต่อขนานกับตัวเก็บประจุที่มีค่า ความจุ 50 µF ต่อคร่อมแหล่งจ่ายแรงดัน 220 V ความถี่ 1/2¶ kHz กระแสที่จ่ายจากแหล่ง
จ่ายมีค่า

1: 14.7 A นำอยู่ 90 o
2: 3.7 A ตามอยู่ 90 o
3 : 14.7 A ตามอยู่ ¶/2 เรเดียน

4 : 3.7 A นำอยู่ ¶/2 เรเดียน


คำตอบที่ถูกต้อง : 2

เนื้อหาวิชา : 27 : Power factor measurement

ข้อที่ 305 :
เครื่องวัดที่มีค่า 1 อยู่กึ่งกลางสเกล คือ

1 : วัตต์มิเตอร์
2 : เมกเกอร์
3 : วาร์มิเตอร์
4 : เพาเวอร์แฟกเตอร์มิเตอร์
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 306 :
หลักการของมิเตอร์แบบใดที่ใช้ทำเพาเวอร์แฟกเตอร์มิเตอร์

1 : อิเล็กโทรไดนาโมมิเตอร์
2 : แผ่นเหล็กเคลื่อนที่
3 : ขดลวดเคลื่อนที่
4 : กระแสไหลวน
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 307 :
การวัดค่ากำลังไฟฟ้าระบบ 3 เฟสโดยใช้วัตต์มิเตอร์ 2 ตัว ซึ่งอ่านค่าได้ดังนี้ 10 kW และ 7kW เพาเวอร์แฟกเตอร์ของระบบมีค่า

1 : 0.1
2 : 0.29
3 : 0.96
4 : 0.98
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 308 :
เข็มชี้ของ Power factor meter จะเบี่ยงเบนมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ

1 : กระแสของโหลด
2 : แรงดันของโหลด
3 : กำลังไฟฟ้าจริงของโหลด
4 : เพาเวอร์แฟกเตอร์ของโหลด
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 309 :
ความหมายของ Unity power factor คืออะไร

1 : เพาเวอร์แฟกเตอร์เท่ากับ 0
2 : เพาเวอร์แฟกเตอร์เท่ากับ 0.1
3 : เพาเวอร์แฟกเตอร์เท่ากับ 0.5
4 : เพาเวอร์แฟกเตอร์เท่ากับ 1
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 310 :

1 : กำลังจริง (True power)


2 : กำลังปรากฏ (Apparent power)
3 : กำลังสัมบูรณ์ (Absolute power)
4 : ตัวประกอบกำลัง (Power factor)
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 311 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 55 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

1:

2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 312 :

1:

2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 313 :

1:

2:
3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 314 :
มอเตอร์ทำงานที่ เพาเวอร์แฟคเตอร์ 0.85 ใช้กำลัง 300 W จากแหล่งจ่ายกระแสสลับ 220 V กระแสที่ดึงจากแหล่งจ่ายคือ

1: 0.62 A
2: 1.36 A
3: 1.13 A
4: 1.60 A
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

เนื้อหาวิชา : 28 : The measurement of resistance, capacitance and inductance

ข้อที่ 315 :
ในการวัดความต้านทานค่าสูงเช่นฉนวน Guard ring หรือ Guard wire มีหน้าที่สำคัญอะไร ที่ทำให้การวัดค่าความต้านทานค่าสูงแม่นยำขึ้น

1 : ป้องกันการคายประจุ (Discharge) ของอิเล็กโทรดเนื่องจากในขณะวัดใช้แรงดันที่สูงมาก


2 : เป็นกำบัง (Shield) สัญญาณรบกวนจากภายนอก ให้กับวงจรวัด
3 : กำจัดผลเนื่องจากกระแสรั่วไหลที่ผิวของฉนวนที่กำลังทำการวัด
4 : ถูกทุกข้อ
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 316 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 56 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 317 :
มิเตอร์ที่มีค่า 0 อยู่กึ่งกลางสเกล คือ

1 : โอห์มมิเตอร์
2 : เมกเกอร์
3 : กัลวาโนมิเตอร์
4 : แอมมิเตอร์
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 318 :
สเกลของมิเตอร์ชนิดใดที่มีค่าต่ำสุดอยู่ทางขวามือ

1 : แอมมิเตอร์
2 : โวลต์มิเตอร์
3 : โอห์มมิเตอร์
4 : วัตต์มิเตอร์
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 319 :
การวัดค่าความเป็นฉนวนนิยมใช้

1 : บริดจ์
2 : เมกเกอร์
3 : โวลต์-แอมป์
4 : โอห์มมิเตอร์
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 320 :

1:

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 57 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 321 :
ถ้าต้องการวัดค่าความต้านทานของเส้นลวดโลหะ ควรจะใช้วงจรบริดจ์แบบใด

1 : Wheatstone bridge
2 : Kelvin bridge
3 : Wien bridge
4 : ผิดทุกข้อ
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 322 :

1:

2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 323 :
จากวงจรที่แสดง เมื่อบริดจ์สมดุล สมการที่ได้จะเป็นอย่างไร

1:

2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 324 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 58 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 325 :

1:6H
2 : 12 H
3 : 18 H
4 : 24 H
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 326 :
ความต้านทานของลวดตัวนำ เป็นสัดส่วนโดยตรงกับ

1 : ความยาว
2 : พื้นที่หน้าตัด
3 : ความเร็ว
4 : ความดัน
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 327 :
ความต้านทานของลวดตัวนำ เป็นสัดส่วนผกผันกับ

1 : ความยาว
2 : พื้นที่หน้าตัด
3 : ความต้านทานจำเพาะ
4 : ความดัน
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 328 :
ความต้านทานของโลหะบริสุทธิ์

1 : ไม่เปลี่ยนแปลงตามอุณหภูมิ
2 : เพิ่มขึ้นเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น
3 : ลดลงเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น
4 : มีค่าคงที่เสมอ
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 329 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 59 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

1 : 4.5 V
2 : 45 V
3 : 450 V
4 : 4500 V
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 330 :

1:
2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 331 :

1:

2:
3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 332 :
ตัวเหนี่ยวนำขนาด 0.46 H จะมีค่ารีแอกแตนซ์ (Reactance) ที่ความถี่ 2 kHz ประมาณ

1:
2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 333 :

1:

2:

3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 334 :
ถ้าจำนวนรอบของตัวเหนี่ยวนำ เพิ่มขึ้นเป็นสองเท่า ค่าความเหนี่ยวนำ (Self-inductance) จะประมาณ

1 : เพิ่มขึ้นเป็น 4 เท่า
2 : ลดลงเป็น 4 เท่า
3 : เพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า
4 : ลดลงเป็น 2 เท่า
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 335 :
โดยทั่วไปขนาดทางกายภาพของตัวต้านทานจะกำหนด

1 : อัตราแรงดัน
2 : อัตรากระแส

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 60 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

3 : อัตรากำลัง
4 : อัตราอุณหภูมิ
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 336 :
ตัวต้านทานที่มีแถบสี 4 แถบ บนตัวต้านทาน แถบสีแถบที่ 4 แสดงถึง

1 : เสถียรภาพ (Stability)
2 : ค่าเผื่อ (Tolerance)
3 : สัมประสิทธิ์ต่ออุณหภูมิ (Temperature coefficient)
4 : อัตรากำลัง (Wattage rating)
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 337 :

1 : 0.405 mJ
2 : 0.625 mJ
3 : 0.705 mJ
4 : 0.835 mJ
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 338 :
ถ้ามีกระแส 5.4 A ไหลผ่านตัวเหนี่ยวนำค่า 14.6 H ตัวเหนี่ยวนำจะสะสมพลังงานประมาณ

1 : 39 J
2 : 79 J
3 : 213 J
4 : 426 J
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 339 :
ตัวเหนี่ยวนำที่มีวงจรสมมูลดังในรูปนี้ ค่าตัวประกอบคุณภาพ (quality factor) มีค่าเท่าไรที่ความถี่ 1 kHz

1 : 0.013
2:2
3 : 79.58
4 : 500,000
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 340 :
ตัวเก็บประจุที่มีวงจรสมมูลดังในรูปนี้ ตัวประกอบการสูญเสียกำลังเป็นความร้อน (dissipation factor) มีค่าเท่าไรที่ความถี่ 1 kHz

1:
2:1
3 : 6283.19

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 341 :
บริดจ์ (Bridge) ที่เหมาะจะใช้วัดหาค่าความเหนี่ยวนำไฟฟ้าของตัวเหนี่ยวนำที่มีค่าตัวประกอบคุณภาพ (quality factor) ต่ำคือ

1 : วีตสโตนบริดจ์ (Wheatstone bridge)


2 : เฮย์บริดจ์ (Hay bridge)
3 : เคลวินบริดจ์ (Kelvin bridge)
4 : แมกซ์เวลล์บริดจ์ (Maxwell bridge)
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 342 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 61 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

1 : เป็นตัวเก็บประจุที่ไม่ดี
2 : จะร้อนมากเมื่อนำไปใช้งาน
3 : จะมีกระแสรั่วไหลสูงเมื่อนำไปใช้งาน
4 : มี Dissipation factor ต่ำเมื่อนำไปใช้งาน
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 343 :
บริดจ์ (Bridge) ที่ใช้วัดความต้านทานค่าต่ำๆได้ดีคือ

1 : วีตสโตนบริดจ์ (Wheatstone bridge)


2 : เคลวินบริดจ์ (Kelvin bridge)
3 : แมกซ์เวลล์บริดจ์ (Maxwell bridge)
4 : เฮบริดจ์ (Hay bridge)
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

เนื้อหาวิชา : 29 : Digital frequency and period/time- interval measurement

ข้อที่ 344 :
จงหาค่าความถี่ของสัญญาณอินพุตที่เข้าเครื่องนับความถี่ เมื่อช่วงเวลาการเปิดเกต (Gate time) เท่ากับ 100 ms และจำนวนพัลส์ที่นับได้ เท่ากับ 2534 พัลส์

1 : 253.4 Hz
2 : 2.534 kHz
3 : 25.34 kHz
4 : 253.4 kHz
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 345 :

1:
2:
3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 346 :
Duty cycle ของคลื่นสี่เหลี่ยมหมายถึง

1 : ค่าเวลา 1 คาบของคลื่น
2 : ค่าเวลาที่คลื่นสี่เหลี่ยมอยู่ในสถานะ high ในช่วง 1 คาบของคลื่น
3 : อัตราส่วนของเวลาที่คลื่นอยู่ในสถานะ high ต่อเวลาในสถานะ low ในช่วง 1 คาบของคลื่น
4 : อัตราส่วนของเวลาที่คลื่นอยู่ในสถานะ high ต่อเวลาทั้งหมดในช่วง 1 คาบของคลื่น
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 347 :

1:

2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

เนื้อหาวิชา : 30 : Oscilloscope

ข้อที่ 348 :
Oscilloscope โดยพื้นฐานจัดเป็นเครื่องมือวัดประเภทใด

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 62 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

1 : 1: เครื่องมือวิเคราะห์สัญญาณในโดเมนเวลา
2 : 2: เครื่องมือวิเคราะห์สัญญาณในโดเมนความถี่
3 : 3: เครื่องวัดกำลังสัญญาณ
4 : 4: เครื่องวัดความเพี้ยนของสัญญาณ
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 349 :

1:

2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 350 :
เครื่องวัดรูปคลื่นสัญญาณต่างๆคือ

1 : Tachometer
2 : Phase sequence indicator
3 : Function generator
4 : Oscilloscope
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 351 :
ถ้าต้องการแสดงรูปสัญญาณไซน์บนจอออสซิลโลสโคป ในส่วนแนวนอนเราจะป้อนสัญญาณ

1 : ฟันเลื่อย
2 : พัลส์
3 : สามเหลี่ยม
4 : สี่เหลี่ยม
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 352 :
โดยพื้นฐานออสซิลโลสโคปใช้วัดปริมาณ

1 : กำลังไฟฟ้า
2 : แรงดันไฟฟ้า
3 : กระแสไฟฟ้า
4 : พลังงานไฟฟ้า
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 353 :

1 : เส้นตรงแนวตั้ง
2 : เส้นตรงทแยง
3 : วงกลม
4 : เป็นจุดกลางจอ
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 354 :
การเลือกสัญณาณแบบ dc coupling ทางด้านอินพุทของออสซิลโลสโคปนั้น สัญญาณจะต้องส่งผ่านอุปกรณ์ตัวใด

1 : ออปแอมป์
2 : ตัวเก็บประจุ
3 : ตัวเหนี่ยวนำ
4 : สายนำสัญญาณ
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 355 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 63 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

จากรูปหน้าจอออสซิลโลสโคป ถ้าปรับปุ่มTIME/DIV ไว้ที่ 1 ms/div ข้อใดถูกต้อง

1 : สัญญาณทั้งสองมีความถี่ 125 Hz และต่างเฟสกัน 63 องศา


2 : สัญญาณทั้งสองมีความถี่ 125 Hz และต่างเฟสกัน 126 องศา
3 : สัญญาณทั้งสองมีความถี่ 250 Hz และต่างเฟสกัน 63 องศา
4 : สัญญาณทั้งสองมีความถี่ 250 Hz และต่างเฟสกัน 126 องศา
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 356 :
ตัวลดทอนสัญญาณ (Attenuator) จะต้องเป็นอิสระต่ออะไร

1 : ความเร็ว
2 : ความเร่ง
3 : ความสว่าง
4 : ความถี่
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 357 :
ปุ่มปรับความเข้มแสง (Intensity control) ของออสซิลโลสโคปควบคุมที่ส่วนใดของหลอดรังสีแคโทด

1 : ไส้หลอด (Filament)
2 : แคโทด (Cathode)
3 : ปืนอิเล็กตรอน (Electron gun)
4 : กริดควบคุม (Control grid)
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 358 :
ปุ่ม Time/div ของออสซิลโลสโคปทำหน้าที่อะไร

1 : ปรับลำอิเล็กตรอนให้เล็กและคมชัดที่สุด
2 : ควบคุมปริมาณอิเล็กตรอนที่กริดควบคุม (Control grid)
3 : ควบคุมความสว่างของจอภาพ
4 : ควบคุมเวลากวาด (sweep) ลำอิเล็กตรอน (Electron beam)
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 359 :
กราติคูล (Graticule) ของหลอดรังสีแคโทดคืออะไร

1 : สเกลขนาดประมาณ 1 cm ของจอภาพ
2 : สเกลแนวนอนและแนวตั้งสำหรับอ่านเวลาและขนาดของสัญญาณ
3 : กราติคูลมีทั้งแบบภายนอกและภายใน
4 : ถูกทุกข้อ
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 360 :
ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับสายโพรบอิมพิแดนซ์สูงของออสซิลโลสโคป

1 : สายโพรบแบบ (x10) ความต้านทานอินพุตจะเพิ่ม 10 เท่า


2 : สายโพรบแบบ (x10) คาปาซิเตอร์อินพุตจะลด 10 เท่า
3 : สายโพรบแบบ (x10) ความต้านทานอินพุตและคาปาซิเตอร์อินพุตจะเพิ่ม 10 เท่า
4 : ข้อ 1 และ 2 ถูก
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 361 :
เมื่อวัดสัญญาณไฟฟ้าใดๆ สัญญาณวัดจะถูกป้อนให้กับส่วนใดของ ออสซิลโลสโคป

1 : ภาคขยายแนวตั้ง
2 : ภาคขยายแนวนอน
3 : ไส้หลอด (Filament)
4 : กริดควบคุม (Control grid)
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 64 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

ข้อที่ 362 :
ขณะนำเอาออสซิลโลสโคป (Oscilloscope) ไปวัดสัญญาณรูปไซน์ (Sine curve) ปรากฏเป็นรูปคลื่นสัญญาณไซน์หลายๆ ตัวทับเหลื่อมกัน ถ้าต้องการปรับให้รูปคลื่น
สัญญาณหยุดนิ่ง จะต้องปฏิบัติดังนี้

1 : ปิดเครื่องนานอย่างน้อย 3 นาที แล้วเปิดใหม่


2 : ตรวจเช็คขั้วต่อของสายสัญญาณ อาจหลวมทำให้มีสัญญาณรบกวนได้
3 : ปรับปุ่มที่เกี่ยวข้องกับ Trigger
4 : ปรับความถี่ของการกวาดในแนวนอนให้มีความถี่เป็นจำนวนเท่าของสัญญาณไฟบ้าน 50 Hz
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 363 :
ในการนำเอาออสซิลโลสโคป Single beam dual trace ไปใช้งาน จงเลือกข้อที่ไม่ถูกต้องที่สุด

1 : ถ้าความถี่ของสัญญาณสูงควรใช้ Alternate mode


2 : ถ้าความถี่ของสัญญาณต่ำควรใช้ Chop mode
3 : ถ้าความถี่ของสัญญาณต่ำควรใช้ Alternate mode
4 : ใน Alternate mode สัญญาณทั้ง 2 ช่องที่ปรากฏบนจอภาพไม่ได้เกิดขึ้นในเวลาเดียวกัน
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 364 :
การปรับให้สัญญาณแรมป์ (Ramp signal) ของเพลตแนวนอน (Horizontal plate) เข้าจังหวะ (Synchronize) กับสัญญาณวัด ทำได้ด้วยการปรับอะไร

1 : ปรับคาบเวลาของสัญญาณแรมป์
2 : ปรับความเข้มของลำอิเล็กตรอน (Intensity)
3 : ปรับเลื่อนตำแหน่งภาพในแนวตั้ง (Vertical position)
4 : ปรับเลื่อนตำแหน่งภาพในแนวนอน (Horizontal position)
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 365 :
ถ้าเวลาครบรอบของคลื่นรูปไซน์ คือ 1ms ความถี่ของคลื่นไซน์นี้คือ

1 : 100 Hz
2 : 500 Hz
3 : 1 kHz
4 : 2 kHz
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 366 :
แรงดันกระแสสลับรูปไซน์ ที่ปรากฏบนออสซิลโลสโคป มีค่าจากยอดถึงยอด (Peak to peak) วัดได้ 50 V ค่าอาร์เอ็มเอส (rms) ของแรงดันคือ

1 : 17.7 V
2 : 25 V
3 : 35.4 V
4 : 70.7 V
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 367 :
ในออสซิลโลสโคปแบบหลอดรังสีแคโทดใช้อะไรเป็นตัวปรับภาพสัญญาณให้คมชัด

1 : สนามแม่เหล็ก
2 : สนามไฟฟ้า
3 : เลนส์นูน
4 : เลนส์เว้า
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 368 :
ออสซิลโลสโคปจะสามารถตรวจวัดสัญญาณที่มีขนาดเล็กที่สุดได้เท่าไร ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติอะไร

1 : ความเข้มของลำอิเล็กตรอน
2 : การโฟกัส (Focusing)
3 : ค่าตัวประกอบการเห (Deflection factor)
4 : แบนด์วิดท์ของวงจรขยาย
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 369 :
แบนด์วิดท์ (Bandwidth) ของออสซิลโลสโคป (Oscilloscope) ขึ้นอยู่กับอะไร

1 : แรงดันของแอโนด (Anode) เร่งความเร็ว


2 : ส่วนโฟกัส (Focus)
3 : ความเข้มของลำอิเล็กตรอน
4 : วงจรขยายของเพลตแนวตั้ง (Vertical amplifier)
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 370 :
แบนด์วิดท์ของออสซิลโลสโคป (oscilloscope) แบบแอนะลอกขึ้นอยู่กับส่วนประกอบใด

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 65 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

1 : วงจรขยายสัญญาณแนวตั้ง
2 : วงจรขยายสัญญาณแนวนอน
3 : ส่วนโฟกัส (focusing)
4 : วงจรกำเนิดสัญญาณแรมป์ (ramp generator)
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 371 :
สารที่ใช้เคลือบด้านในของจอภาพของออสซิลโลสโคป (oscilloscope) แบบหลอดรังสีแคโทด (cathode) เพื่อให้สามารถเปล่งแสงได้นั้นเป็นสารอะไร

1 : ธาตุฟอสฟอรัส (Phosphorus)
2 : สารประกอบฟอสฟอร์ (Phosphor)
3 : อลูมิเนียม (Aluminium)
4 : ทอง
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 372 :

1:

2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 373 :

1:

2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 374 :
ค่าตัวประกอบการเห (deflection factor) ของออสซิลโลสโคป (Oscilloscope) คือ

1 : ค่าความไว (Sensitivity)ของออสซิลโลสโคป
2 : ค่าส่วนกลับความไวของออสซิลโลสโคป
3 : ค่าแบนด์วิดท์ (Bandwidth) ของออสซิลโลสโคป
4 : ค่าบอกขนาดแนวตั้งจอภาพ
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 375 :
ความจำแนกชัด (Resolution) ของเครื่องวิเคราะห์สเปกตรัม (Spectrum analyzer) ขึ้นอยู่กับอะไร

1 : แบนด์วิดท์ (bandwidth) ของวงจรกรองผ่านแถบ (Bandpass filter) ที่อยู่ต่อจากมิกเซอร์ (Mixer)


2 : แบนด์วิดท์ของวงจรขยายความถี่กลาง (Intermediate frequency amplifier)
3 : แบนด์วิดท์วงจรวีซีโอ (VCO)
4 : ตัวตรวจจับกรอบสัญญาณ (Envelope detector)

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 66 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 376 :
การแสดงภาพในเครื่องวิเคราะห์สเปกตรัม (Spectrum analyzer) ค่าในแนวแกนนอนคือ

1 : ขนาดของสัญญาณในสเกลเชิงเส้น (Linear scale)


2 : ความถี่
3 : ขนาดสัญญาณในสเกลลอการิทึม (Logarithmic scale)
4 : เวลา
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 377 :

1 : 20 Hz
2 : 40 Hz
3 : 100 Hz
4 : 200 Hz
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 378 :
กระแสไฟฟ้ากระแสสลับที่ กำหนด โดย i = 100sin 100 t A กระแสนี้จะมีค่า 50 A หลังจากเวลาผ่านไป

1: 1/600 s
2: 1/300 s
3: 1/800 s
4: 1/900 s
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

เนื้อหาวิชา : 31 : Magnetic measurement

ข้อที่ 379 :
Hall effect transducer เป็นอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำที่นิยมนำไปใช้ในการวัดปริมาณอะไรบ้าง

1 : ความเข้มสนามแม่เหล็ก
2 : กระแสไฟฟ้า
3 : ตรวจจับการหมุนของเฟืองเกียร์โลหะ
4 : ถูกทุกข้อ
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 380 :
หน่วยของความหนาแน่นเส้นแรงแม่เหล็ก (Magnetic flux density) คือ

1 : henry
2 : weber
3 : farad
4 : tesla
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 381 :
ต้องการถ่ายโอนกำลังสูงสุดจากวงจรขยายที่มีความต้านทานภายใน 10 Ωไปยังโหลดโดยใช้หม้อแปลงไฟฟ้า (transformer) ที่มีอัตราส่วนรอบเป็น 1 : 10 ทำให้เกิด
กำลังสูงสุดในโหลดความต้านทานของโหลดเป็นเท่าใด

1 : 100Ω
2 : 1kΩ
3 : 1Ω
4 : 0.1Ω
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 382 :
ฟลักซ์ของแม่เหล็กไฟฟ้าเป็น 6 Wb และ ฟลักซ์ได้เพิ่มขึ้นอย่างสม่ำเสมอเป็น 12 Wb ในช่วงเวลา 2วิ นาที ถ้าขดลวดมี 10 รอบ วางตัวนิ่งในสนามแม่เหล็ก จงคำนวณ
แรงดันที่เหนี่ยวนำ

1 : 60 V

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 67 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

2 : 30 V
3 : 120 V
4 : ไม่มีข้อใดถูก
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 383 :
ถ้ามีกระแสไหลในลวดตัวนำสองเส้นที่วางขนานกันและทำให้เกิดแรงดูดระหว่างกัน แสดงว่ากระแสในลวดตัวนำทั้งสอง

1 : มีทิศทางตรงกันข้าม
2 : มีขนาดเท่ากัน
3 : มีทิศเดียวกัน
4 : มีขนาดต่างกัน
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

เนื้อหาวิชา : 32 : Using electronic instruments

ข้อที่ 384 :

1 : 6.25
2 : 7.25
3 : 8.25
4 : 9.25
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 385 :
สัญญาณรบกวนนอร์มอลโหมด (Normal-mode noise) ในการวัดคือ

1 : สัญญาณรบกวนที่เข้ามาในระบบการวัดโดยอนุกรมอยู่กับแหล่งจ่ายสัญญาณวัด
2 : สัญญาณรบกวนที่เข้ามาในระบบการวัดเหมือนสัญญาณรบกวนคอมมอนโหมด (Common-mode noise)
3 : เป็นสัญญาณรบกวนที่ขจัดออกได้ด้วยวงจรขยายอินสทรูเมนเทชัน (Instrumentation amplifier)
4 : เป็นสัญญาณรบกวนจากระบบกราวด์
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 386 :
อัตราขยาย -15 dB ในวงจรหมายถึง

1 : สัญญาณขาออก มากกว่า สัญญาณขาเข้า


2 : สัญญาณขาเข้า มากกว่า สัญญาณขาออก
3 : สัญญาณขาเข้า เป็น 15 เท่า ของสัญญาณขาออก
4 : สัญญาณขาออก เป็น 15 เท่า ของสัญญาณขาเข้า
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 387 :

1 : -36.67 dB
2 : -41.58 dB
3 : -48.24 dB
4 : -49.36 dB
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 388 :
วงจรมีอัตราขยายแรงดันเป็น 20 บอกได้ว่ามีการขยายแรงดัน เป็น

1 : 13 dB
2 : 20 dB
3 : 26 dB
4 : 40 dB
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 389 :
จากวงจรมิเตอร์อิเล็กทรอนิกส์วัดแรงดันในรูปนี้ ข้อใดที่ไม่ใช่คุณประโยชน์ที่ได้เพิ่มเติมจากการใส่วงจรอิเล็กทรอนิกส์เข้าไป

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 68 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

1 : เพิ่มความเร็วในการวัด
2 : เพิ่มความไวของมิเตอร์
3 : วัดได้แม่นยำมากขึ้น
4 : ลด Loading effect
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 390 :
วงจรขยายสัญญาณในเครื่องมือวัดมี SNR (Signal to noise ratio) ด้านเข้าเท่ากับ 10 และมี SNR ด้านออกเท่ากับ 2 จงหาค่า Noise factor

1:2
2:5
3 : 10
4 : 20
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 391 :
วงจรขยายสัญญาณในเครื่องมือวัดมี SNR (Signal to noise ratio) ด้านเข้าเท่ากับ 10 และมี SNR ด้านออกเท่ากับ 2 จงหาค่า Noise figure

1 : 2 dB
2 : 5 dB
3 : 7 dB
4 : 10 dB
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 392 :
โวลต์มิเตอร์แบบหลายพิสัย (Multi - range) ในรูปนี้ ถ้าสวิตช์เลือกพิสัยอยู่ที่ตำแหน่ง A ดังในรูป จะมีอัตราการลดทอนสัญญาณด้านเข้า (Attenuation factor) เป็น
เท่าไร

1 : 10
2 : 20
3 : 40
4 : 200
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 393 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 69 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

1 : 0.10
2 : 0.11
3:9
4 : 10
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 394 :

1 : – 105 dBm
2 : – 67 dBm
3 : – 57 dBm
4 : 67 dBm
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 395 :

1 : 50 mV
2 : 950 mV
3 : 3.8 V
4 : 20 V
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 396 :

1 : 40

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 70 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

2 : 380
3 : 95000
4 : 380000
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 397 :

1 : 175 mV
2 : 350 mV
3 : 700 mV
4:7V
คำตอบที่ถูกต้อง : 2

ข้อที่ 398 :

1 : 70 mV
2 : 99 mV
3 : 140 mV
4 : 198 mV
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

เนื้อหาวิชา : 33 : Transducers

ข้อที่ 399 :

1 : 0.1 %
2 : 0.2 %
3:3%
4 : 40 %
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ข้อที่ 400 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 71 of 72
สภาวิศวกร 2/6/2562 BE 23)31

1:

2:

3:

4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ข้อที่ 401 :

1:

2:

3:
4:
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

ข้อที่ 402 :

ขดลวดขดหนึ่งมีความต้านทาน 100 Ω ที่อุณหภูมิ 90 oC จากนั้นที่อุณหภูมิ 100 oC ความต้านทานของมันเปลี่ยนเป็น 101 Ω ค่าความสัมประสิทธิ์ต่ออุณหภูมิของลวด


นี้ ที่อุณหภูมิ 90 oC คือ

1: 0.01 / oC
2: 0.1 / oC
3: 0.0001 / oC
4: 0.001 / oC
คำตอบที่ถูกต้อง : 4

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=12&aMajid=4 Page 72 of 72

You might also like