You are on page 1of 184

24/11/2560 สภาวิศวกร

สาขา : เครืองกล
วิชา : Mechanics of Machinery/ Dynamics of Machines /Theory of Mach
เนือหาวิชา : 253 : 1. Definition 1

ข ้อที 1 :
ั ผัสระหว่างผิวลูกสูบกับกระบอกสูบจัดเป็ นคูส
การสม ั ผัสแบบ
่ ม

1 : คูส
่ ม ั ผัสเลือนไหล (Sliding pairs)
2 : คูส่ ม ั ผัสเกลียว (Helical pairs)
3 : คูส ่ ม ั ผัสทรงกระบอก (Cylindrical pairs)
4 : คูส ่ ม ั ผัสทรงกลม (Spherical pairs)
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 2 :
ั ผัสระหว่างผิวสลักเกลียวกับแป้ นเกลียวจัดเป็ นคูส
การสม ั ผัสแบบ
่ ม

1 : คูส
่ ม ั ผัสเลือนไหล (Sliding pairs)
2 : คูส่ ม ั ผัสเกลียว (Helical pairs)
3 : คูส ่ ม ั ผัสทรงกระบอก (Cylindrical pairs)
4 : คูส ่ ม ั ผัสทรงกลม (Spherical pairs)
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 3 :
ั ผัสระหว่างผิวของรองลืนแบบ journal กับเพลาจัดเป็ นคูส
การสม ั ผัสแบบ
่ ม

1 : คูส
่ ม ั ผัสเลือนไหล (Sliding pairs)
2 : คูส่ ม ั ผัสเกลียว (Helical pairs)
3 : คูส ่ ม ั ผัสทรงกระบอก (Cylindrical pairs)
4 : คูส ่ ม ั ผัสทรงกลม (Spherical pairs)
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 4 :
คูส ั ผัสเกลียว (Helical pairs) ได ้แก่การสม
่ ม ั ผัสระหว่าง

1 : ผิวลูกสูบกับกระบอกสูบ
2 : ล ้อรถยนต์กบ ั พืนถนน
3 : ฟั นเฟื องคูห
่ นึง
4 : สลักเกลียวกับแป้ นเกลียว
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 5 :
คูส ั ผัสแบบ Lower pair คือ
่ ม

1 : คูส
่ ม ั ผัสทีถูกยึดให ้ติดกันทางเชิงกลอย่างเดียว
2 : คูส่ ม ั ผัสระหว่างลูกบอลกับเบ ้า
3 : คูส ่ ม ั ผัสทีสัมผัสกันเป็ นพืนที
4 : คูส ่ ม ั ผัสทีมีสว่ นสัมผัสกันเป็ นเส ้นหรือจุด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 6 :
คูส ั ผัสทรงกลม ( Spherical Pairs) คือ
่ ม

1 : คูส
่ ม ั ผัสทีถูกยึดด ้วยแรงภายนอก หรือ แรงโน ้มถ่วง
2 : คูส่ ม ั ผัสทีเคลือนทีโดยหมุนไปพร ้อมๆกับการเคลือนทีไปตามแกนการหมุน
3 : คูส ่ ม ั ผัสระหว่างลูกบอลกับเบ ้า
4 : คูส ่ ม ั ผัสทีมีสว่ นสัมผัสกันเป็ นพืนที
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 7 :
คูส ั ผัสแบบคูข
่ ม ่ นสู
ั ง (Higher Pairs) คือ
http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 1/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1 : คูส
่ ม ั ผัสทีมีสว่ นสัมผัสกันเป็ นเส ้นหรือจุด
2 : คูส่ ม ั ผัสทีมีสว่ นสัมผัสกันเป็ นพืนที
3 : คูส ่ ม ั ผัสทีมีสว่ นสัมผัสกันเป็ นแบบเชิงไม่บงั คับ
4 : คูส ่ ม ั ผัสทีมีสว่ นสัมผัสกันอยูส
่ ว่ นบนของกลไก
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 8 :
Prismatic pairs คือ

1 : คูส
่ ม ั ผัสของสามเหลียมปริซม ึ
2 : คูส่ ม ั ผัสของล ้อกลิงโดยไม่ลนไถล

3 : คูส ่ ม ั ผัสของกลไกทียอมให ้ข ้อต่อหนึงเคลือนทีได ้โดยการหมุน
4 : คูส ่ ม ั ผัสของกลไกทียอมให ้ข ้อต่อหนึงเคลือนทีได ้โดยเลือนไถลไปมา
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 9 :
ข ้อใดเป็ นชนิดของการเคลือนทีแบบ Plane Motion

1 : Translation Motion
2 : Spherical Motion
3 : Helical Motion
4 : Absolute Motion
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 10 :
ข ้อใดเป็ นชนิดของการเคลือนทีแบบ Plane Motion

1 : Spherical Motion
2 : Rotation Motion
3 : Helical Motion
4 : Absolute Motion
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 11 :
่ นิดของการเคลือนทีแบบ Plane Motion
ข ้อใดไม่ใชช

1 : Translation Motion
2 : Rotation Motion
3 : Rectilinear Motion
4 : Absolute Motion
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 12 :
่ นิดของการเคลือนทีแบบ Plane Motion
ข ้อใดไม่ใชช

1 : Rectilinear Motion
2 : Curvilinear Motion
3 : Helical Motion
4 : Translation Motion
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 13 :
โซค ่ เิ นแมติก (Kinematic chain) ในข ้อใดเป็ นโซค
่ เิ นแมติกเชงิ บังคับ (constrained kinematic chain)

1:
http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 2/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

2:

3:

4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 14 :
คําตอบข ้อใดไม่ถก
ู ต ้อง

1:
คู่สมั ผัสขันตํา (Lower Pair)

2:
คู่สมั ผัสแบบทรงกระบอก (Cylindrical pairs)

3:
คู่สมั ผัสแบบทรงกลม (Spherical pairs)

4:
คู่สมั ผัสแบบปิ ด (Form-closed pairs)

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 3/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

ข ้อที 15 :
เมือแบ่งตามลักษณะของการเคลือนทีสัมพัทธ์ คู่สมั ผัสในรู ปเป็ นคู่สมั ผัสชนิดใด

1:
คู่สมั ผัส 23 เป็ นแบบหมุน(Tuning pair)
คู่สมั ผัส 12 เป็ นแบบเลือน (Sliding pair)
2:
คู่สมั ผัส 23 เป็ นแบบทรงกระบอก (Cylindrical pair)
คู่สมั ผัส 12 เป็ นแบบเลือน (Sliding pair)
3:
คู่สมั ผัส 23 เป็ นแบบคู่ขนสู
ั ง
คู่สมั ผัส 12 เป็ นแบบคู่ขนตํ
ั า
4:
คู่สมั ผัส 23 เป็ นคู่สมั ผัสทีมีระดับขันความเสรี เป็ น 1
คู่สมั ผัส 12 เป็ นคู่สมั ผัสทีมีระดับขันความเสรี เป็ น 1
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 16 :
เมือแบ่งตามลักษณะการเคลือนทีสัมพัทธ์ คู่สมั ผัสในรู ปเป็ นคู่สมั ผัสชนิดใด

1 : คูส
่ ม ั ผัสแบบกลิงพร ้อมไถล
2 : คูส่ ม ั ผัสขันสูง
3 : คูส ่ ม ั ผัสแบบเลือนไถล
4 : คูส ่ ม ั ผัสแบบหมุน
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 17 :
คูส ั ผัสเลือนไหล (Sliding pairs) ได ้แก่การสม
่ ม ั ผัสระหว่าง

1 : ผิวลูกสูบกับกระบอกสูบ
2 : ล ้อรถยนต์กบ ั พืนถนน
3 : ฟั นเฟื องคูห
่ นึง
4 : สลักเกลียวกับแป้ นเกลียว
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 18 :
ั ผัสระหว่าง
ผิวของรองลืนแบบ journal กับเพลา ได ้แก่การสม

1 : ผิวลูกสูบกับกระบอกสูบ
2 : ล ้อรถยนต์กบ ั พืนถนน
3 : ฟั นเฟื องคูห
่ นึง
4 : สลักเกลียวกับแป้ นเกลียว
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 19 :
ระดับขันความเสรี(Degree of freedom หรือ Mobility) ของกลไกคืออะไร

1 : จํานวนตัวแปรทีบอกถึงตําแหน่งของชินส่วนของกลไก
2 : จํานวนตัวต ้นกําลังทีน ้อยทีสุดทีใช ้ในการขับเคลือนกลไก แล ้วทําให ้กลไกเคลือนทีได ้อย่างสมบูรณ์
http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 4/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
3 : จํานวนข ้อต่อ(joint)ทังหมดของกลไก
4 : จํานวนชินส่วนหรือชินต่อโยง(Link)ทังหมดของกลไก
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 20 :
โดยทัวไปการสัมผัสระหว่างล้อรถยนต์กบั ถนนจะเป็ นแบบ

1 : Sliding pair
2 : Journal bearing pair
3 : Helical pair
4 : Cylindrical pair
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 21 :
กลไกดังรู ปมีคู่สมั ผัสชนิดใด

1 : คู่สม
ั ผัสขันตํา(Lower pair)
2 : คู่สมั ผัสหมุน(Pin joint)
3 : คู่สม ั ผัสเลือน(Sliding joint)
4 : คู่สม ั ผัสขันสู ง(Higher pair)
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 22 :
คิแนเมติกอินเวอร์ชน(Kinematic
ั inversion) ของกลไก คือ

1 : การออกแบบให้กลไกมีการเคลือนทีตามทีต้องการ
2 : การเปลียนรู ปร่ างของกลไก โดยการเพิมความยาวของชินต่อโยง
3 : การเปลียนรู ปแบบกลไกโดยการเพิมชินต่อโยงให้กบั กลไก
4 : การเปลียนรู ปแบบกลไกโดยการสลับให้ชินต่อโยงแต่ละชินทําหน้าทีเป็ นกราวด์(หรื อไม่มีการเคลือนที) โดยจํานวนชินต่อโยงยังเท่าเดิมและมีคู่สม
ั ผัสเหมือน
เดิม
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 23 :
ข้อใดเป็ นกลไกกราช๊อฟ(Grashof mechanism)

1 : กลไกวัตต์(Watt linkage)
2 : กลไกแคร้งสไลเดอร์ (Crank slider mechanism)
3 : กลไกแพนโทกราฟ (Pantograph)
4 : กลไกแคร้งร็ อกเกอร์ (Crank-rocker mechanism)
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 24 :
ข้อใดคือคุณสมบัติของชินต่อโยง Coupler

1 : เชือมต่อกับชินต่อโยงทีหยุดนิ ง(Ground)
2 : มีการเคลือนทีเป็ นแบบหมุนอย่างเดียว (Rotation)
3 : มีการเคลือนทีแบบหมุนและเลือน (General plane motion)
4 : มีการเคลือนทีแบบเลือน(Translation)
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 25 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 5/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
Motion ของ link 3 ในระบบ linkage ดังรูป เป็ นแบบใด

1 : translation
2 : rotation
3 : curvilinear translation
4 : translation and rotation
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 26 :
ชินต่อโยงใดของกลไกในรู ป ทีมีการเคลือนทีแบบ General plane motion กําหนดให้มีคู่สมั ผัสแบบหมุนทีจุด A, B, C, D และ F

1 : ชินต่อโยง AB
2 : ชินต่อโยง BC
3 : ชินต่อโยง CD
4 : ไม่ม ี
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 27 :
การสัมผัสระหว่างล้อรถยนต์กบั ถนนในขณะเหยียบห้ามล้อเต็มที จะเป็ นแบบ

1 : Sliding pair
2 : Journal bearing pair
3 : Helical pair
4 : Cylindrical pair
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 28 :
กลไกสี ชิน (four-bar mechanism) ทีชินส่ วนขาเข้า (input link) และขาออก (output link) สามารถหมุนได้ครบรอบทังสองชิน เรี ยกว่า

1 : Crank-slider mechanism
2 : Drag link mechanism
3 : Rocker-crank mechanism
4 : Toggle mechanism
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

เนือหาวิชา : 254 : 2. Definition 2

ข ้อที 29 :
่ เิ นแมติก (Kinematic chain)
โครงสร ้างสะพานพุทธจัดเป็ นโซค

1 : แบบเปิ ด
2 : เชิงบังคับ

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 6/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
3 : แบบบังคับไม่ได ้
4 : แบบล็อก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 30 :
โซค ่ เิ นแมติกแบบล็อก (Locked kinematic chain) ได ้แก่

1 : โครงสร ้างสะพานพุทธ
2 : เพลาข ้อเหวียงเครืองยนต์
3 : ชุดเฟื องทด
4 : สายพานลําเลียง
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 31 :
่ เิ นแมติก (Kinematic chain)
ชุดเฟื องทดเป็ นโซค

1 : แบบล็อก
2 : เชิงบังคับ
3 : แบบเปิ ด
4 : แบบบังคับไม่ได ้
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 32 :
่ เิ นแมติก (Kinematic chain)
บานประตูแบบแกว่ง (Swinging door) จัดเป็ นโซค

1 : แบบล็อก
2 : เชิงบังคับ
3 : แบบเปิ ด
4 : แบบปิ ด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 33 :
กลไกทีกําหนดการเคลือนทีของจุดๆหนึง เรียกว่า

1 : Path Generation
2 : Motion Generation
3 : Function Generation
4 : Change point Mechanism
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 34 :
กลไกทีสนใจกําหนดการเคลือนทีของก ้านสง่ เชน
่ ฝากระโปรงรถยนต์ เรียกว่า

1 : Motion Generation
2 : Path Generation
3 : Function Generation
4 : Change point Mechanism
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 35 :
่ ็อคชนิด Statically determinate คือ
โครงสร ้างแบบโซล

1 : โครงสร ้างของลูกเบียวและตัวตาม
2 : Peaucellier Mechanism
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 36 :
คูส ั ผัสของ Camshaft กับ Valve ในเครืองยนต์เป็ นคูส
่ ม ั ผัสแบบ
่ ม

1 : Lower Pairs & Form- Closed Pairs


2 : Lower Pairs & Force-closed Pairs

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 7/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
3 : Higher Pairs & Form-closed Pairs
4 : Higher Pairs & Force-Closed Pairs
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 37 :
่ ระเภทของการสง่ ผ่านการเคลือนที
ข ้อใดไม่ใชป

1 : การส่งผ่านการเคลือนทีแบบสัมผัสกันโดยตรง
2 : การส่งผ่านการเคลือนทีแบบสัมผัสกันโดยอ ้อม
3 : การส่งผ่านการเคลือนทีโดยอาศัยชินต่อโยงทียืดหดได ้
4 : การส่งผ่านการเคลือนทีโดยอาศัยชินต่อโยงตัวกลาง
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 38 :
ข ้อใดคือการสง่ ผ่านการเคลือนทีโดยอาศย
ั ชนต่
ิ อโยงทียืดหดได ้

1 : ลูกเบียวและตัวตาม
2 : ก ้านสูบและลูกสูบ
3 : สายพาน
4 : coupling
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 39 :
ข ้อใดคือการสง่ ผ่านการเคลือนทีแบบสม
ั ผัสกันโดยตรง

1 : สายพาน
2 : ลูกเบียวและตัวตาม
3 : ก ้านสูบและลูกสูบ
4 : coupling
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 40 :
ข ้อใดคือการสง่ ผ่านการเคลือนทีโดยอาศย
ั ชนต่
ิ อโยงตัวกลาง

1 : coupling
2 : ลูกเบียวและตัวตาม
3 : ก ้านสูบและลูกสูบ
4 : สายพาน
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 41 :
ข ้อเหวียง (Crank) หมายถึงข ้อใด

1:
ข ้อต่อ O2A ทีสามารถหมุนได ้รอบจุดหมุนทีอยูก
่ บ
ั ที O2
2:
1. ข ้อต่อ O4B ทีแกว่งไปมารอบจุดหมุน O4
3:
ข ้อต่อ AB ทีสามารถหมุนได ้รอบจุด A และจุด B
4:
ข ้อต่อ O2O4 ทีมี O2 และ O4 เป็ นจุดหมุนทีอยูก
่ บ
ั ทีของกลไก 4-ข ้อต่อ
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 8/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

ข ้อที 42 :
ก ้านสง่ (Coupler) หมายถึงข ้อต่อในรูปใด

1 : ข ้อต่อ 3
2 : ข ้อต่อ 2
3 : ข ้อต่อ 4
4 : ข ้อต่อ 1
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 43 :
ข ้อใดเป็ นการแบ่งชนิดของคูส ั ผัสตามลักษณะของพืนผิวทีสม
่ ม ั ผัสกันของคูส ั ผัส
่ ม

1 : คูข
่ นสูั ง และคูข ่ นตํ
ั า
2 : คูป่ ิ ดโดยเชิงกล และคูป ่ ิ ดโดยแรง
3 : คูส ่ ม ั ผัสแบบเลือนไถล และแบบหมุน
4 : คูส ่ ม ั ผัสแบบกลิงโดยไม่ไถล และกลิงโดยมีการไถล
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 44 :
ข ้อใดเป็ นการแบ่งคูส ั ผัสตามลักษณะของการบังคับเชงิ กล
่ ม

1 : คูป
่ ิ ดโดยเชิงกล และคูป ่ ิ ดโดยแรง
2 : คูข่ นสู
ั ง และคูข่ นตํ
ั า
3 : สัมผัสแบบกลิงโดยไม่ไถล และแบบกลิงพร ้อมไถล
4 : คูส ่ มั ผัสแบบเกลียว และคูส ั ผัสทรงกระบอก
่ ม
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 45 :
โซค ่ เิ นแมติกแบบล็อก (Locked kinematic chain) ได ้แก่

1 : ตัวถังรถยนต์
2 : เพลาข ้อเหวียงเครืองยนต์
3 : ชุดเฟื องทด
4 : สายพานลําเลียง
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 46 :
่ เิ นแมติก (Kinematic chain)
เพลาข ้อเหวียงรถยนต์เป็ นโซค

1 : แบบล็อก
2 : เชิงบังคับ
3 : แบบเปิ ด
4 : แบบบังคับไม่ได ้
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 47 :
การสัมผัสระหว่างไม้ชกั ของ slide rule เป็ นแบบ

1: Sliding pair
2: Journal bearing pair
3: Helical pair
http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 9/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
4 : Cylindrical pair
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 48 :
Cam 2 เคลือนทีด้วยความเร็ ว w2 P เป็ น contact point ของ cam 2 และ follower 3
TT' เป็ น common tangent N' เป็ น common normal Velocity of slide มีค่าเท่ากับ

1:

2:

3: -
4 : ศูนย์
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 49 :
การสัมผัสระหว่างรองเท้ากับพืนขณะกําลังเดิน เป็ นแบบ

1 : Sliding pair
2 : Journal bearing pair
3 : Helical pair
4 : Cylindrical pair
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 50 :
การเข้าคู่ (Kinematic pairing) ระหว่างกระบอกสู บกับลูกสู บของเครื องยนต์คือ

1 : Sliding pair
2 : Journal bearing pair
3 : Helical pair
4 : Cylindrical pair
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

เนือหาวิชา : 255 : 3. Linkage 1

ข ้อที 51 :
ิ มีความยาวดังนี S เป็ นความยาวของข ้อต่อทีสน
กลไก 4 ข ้อต่อ (Four bars linkage) ตัวหนึงประกอบด ้วยข ้อต่อ 4 ชนที ั
ทีสุด L เป็ นความยาวของข ้อต่อทียาวทีสุด P และ Q เป็ นความยาวของข ้อต่ออีก 2 ข ้อทีเหลือ ถ ้ากลไกชุดนีถูกประกอบ
ั สุดเป็ นแท่นเครือง เราจะได ้กลไกแบบ
ให ้ S+L < P+Q โดยทีข ้อต่อสนที

1 : ข ้อเหวียงคู่ (Double crank)


2 : ข ้อเหวียง-แขนแกว่ง (Crank-Rocker)
3 : แขนแกว่งคู่ (Double rocker)
4 : มีจดุ เปลียน
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 52 :
กลไก 4 ข ้อต่อ (Four bars linkage) ตัวหนึงประกอบด ้วยข ้อต่อ 4 ชนที ิ มีความยาวดังนี S เป็ นความยาวของข ้อต่อทีสน

ทีสุด L เป็ นความยาวของข ้อต่อทียาวทีสุด P และ Q เป็ นความยาวของข ้อต่ออีก 2 ข ้อทีเหลือ ถ ้ากลไกชุดนีถูกประกอบ
ั สุดเป็ นข ้อต่อด ้านข ้าง เราจะได ้กลไกแบบ
ให ้ S+L < P+Q โดยทีข ้อต่อสนที

1 : ข ้อเหวียงคู่ (Double crank)


2 : ข ้อเหวียง-แขนแกว่ง (Crank-Rocker)
http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 10/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
3 : แขนแกว่งคู่ (Double rocker)
4 : มีจด
ุ เปลียน
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 53 :
ิ มีความยาวดังนี S เป็ นความยาวของข ้อต่อทีสน
กลไก 4 ข ้อต่อ (Four bars linkage) ตัวหนึงประกอบด ้วยข ้อต่อ 4 ชนที ั
ทีสุด L เป็ นความยาวของข ้อต่อทียาวทีสุด P และ Q เป็ นความยาวของข ้อต่ออีก 2 ข ้อทีเหลือ ถ ้ากลไกชุดนีถูกประกอบ
ั สุดเป็ นก ้านสง่ เราจะได ้กลไกแบบ
ให ้ S+L < P+Q โดยทีข ้อต่อสนที

1 : ข ้อเหวียงคู่ (Double crank)


2 : ข ้อเหวียง-แขนแกว่ง (Crank-Rocker)
3 : แขนแกว่งคู่ (Double rocker)
4 : มีจดุ เปลียน
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 54 :
ิ มีความยาวดังนี S เป็ นความยาวของข ้อต่อทีสน
กลไก 4 ข ้อต่อ (Four bars linkage) ตัวหนึงประกอบด ้วยข ้อต่อ 4 ชนที ั
ทีสุด L เป็ นความยาวของข ้อต่อทียาวทีสุด P และ Q เป็ นความยาวของข ้อต่ออีก 2 ข ้อทีเหลือ ถ ้ากลไกชุดนีถูกประกอบ
ั สุดเป็ นก ้านสง่ เราจะได ้กลไกแบบ
ให ้ S+L = P+Q โดยทีข ้อต่อสนที

1 : ข ้อเหวียงคู่ (Double crank)


2 : ข ้อเหวียง-แขนแกว่ง (Crank-Rocker)
3 : แขนแกว่งคู่ (Double rocker)
4 : มีจดุ เปลียน
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 55 :
กลไก Double rocker ประกอบด ้วย ขนาดดังนี O2B = 3 cm BC = 1.5 cm CO4 = 3.2 cm O2O4 = 2.5 cm ก ้าน O2B เป็ น
ตัวขับ ตําแหน่งจุดตายของตัวขับ คือ

1 : 145.5 degree and 62.87 degree


2 : 34.5 degree and 117.13 degree
3 : 214.5 degree and 117.13 degree
4 : 34.5 degree and 297.13 degree
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 56 :
กลไก Double rocker ประกอบด ้วย ขนาดดังนี O2B = 3 cm BC = 1.5 cm CO4 = 3.2 cm O2O4 = 2.5 cm ก ้าน O4C เป็ น
ตัวตาม ตําแหน่งจุดตายของตัวตาม คือ

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 11/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1 : 89.06 degree and 34.6 degree


2 : 269.06 degree and 34.6 degree
3 : 89.06 degree and 24.6 degree
4 : 69.06 degree and 24.6 degree
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 57 :
้ ง่ ผ่านการเคลือนทีคือชนต่
จากรูป เสนส ิ อโยงใด

1 : ชินต่อโยง 1
2 : ชินต่อโยง 2
3 : ชินต่อโยง 3
4 : ชินต่อโยง 4
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 58 :
ตําแหน่งจุดตายของกลไก 4 ข ้อต่อ คือ

1 : ตําแหน่งทีข ้อต่อก ้านส่งอยูใ่ นระนาบ


2 : ตําแหน่งทีก ้านส่งอยูใ่ นแนวเดียวกันกับตัวตาม (ตัวถูกขับ)
3 : ตําแหน่งทีด ้านข ้างอยูใ่ นแนวเดียวกันกับตัวตาม (ตัวถูกขับ)
4 : ตําแหน่งทีแนวแท่นเครืองอยูใ่ นแนวเดียวกันกับตัวตาม (ตัวถูกขับ)
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 59 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 12/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
ื ยกว่า
กลไกในภาพมีชอเรี

1 : Paralelligram
2 : Galloway
3 : Watt
4 : Stephenson
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 60 :
ิ อโยงใดบ ้างทีเป็ นเสนส
จากรูป ชนต่ ้ ง่ ผ่านการเคลือนที

1 : ชินต่อโยง 2 และ 4
2 : ชินต่อโยง 2 ชินเดียว
3 : ชินต่อโยง 3 และ 4
4 : ชินต่อโยง 3 ชินเดียว
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 61 :
้ ง่ ผ่านการเคลือนทีคือชนต่
จากรูป เสนส ิ อโยงใด

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 13/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
1 : ชินต่อโยง 1
2 : ชินต่อโยง 2
3 : ชินต่อโยง 3
4 : ชินต่อโยง 4
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 62 :
จากรู ป เส้นส่ งผ่านการเคลือนทีคือชินต่อโยงใด

1 : ชินต่อโยง 2 และ 4
2 : ชินต่อโยง 2 ชินเดียว
3 : ชินต่อโยง 3 และ 4
4 : ชินต่อโยง 3 ชินเดียว
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 63 :
การแบ่งชนิดของกลไก -ข้อต่อ แบ่งได้เป็ น 5 ชนิดในรู ป s & l เป็ นความยาวของข้อต่อทีสันทีสุ ดและยาวทีสุ ด p และ q เป็ นความยาวของข้อต่อทีเหลือ เมือ s
+ l = p + q กลไก -ข้อต่อนีจะเป็ นชนิดใด

1 : กลไกทีมีจดุ เปลียน (change point mechanism) เมือให ้ข ้อต่อทีสันทีสุดอยูท ่ ใดก็


ี ได ้
2 : กลไกแขนแกว่งคู่ (double-rocker) เมือให ้ข ้อต่อทีสันทีสุดเป็ นก ้านส่ง (coupler)
3 : กลไกข ้อเหวียงแขนแกว่ง (crank-rocker) เมือให ้ข ้อต่อทีสันทีสุดเป็ นด ้านข ้าง
4 : กลไกข ้อเหวียงคู่ (double-crank) เมือให ้ข ้อต่อทีสันทีสุดเป็ นแท่น
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 64 :
การแบ่งชนิดของกลไก -ข้อต่อ แบ่งได้เป็ น 5 ชนิดในรู ป s & l เป็ นความยาวของข้อต่อทีสันทีสุ ดและยาวทีสุ ด p และ q เป็ นความยาวของข้อต่อทีเหลือ เมือ s
+ l < p + q กลไก -ข้อต่อนีจะเป็ นชนิดใด

1 : กลไกข ้อเหวียงคู่ (double-crank)


2 : กลไกแขนแกว่งคู่ (double-rocker)
3 : กลไกข ้อเหวียงแขนแกว่ง (crank-rocker)
4 : กลไกทีมีจดุ เปลียน (change point mechanism)
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 65 :
http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 14/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

Coupler curve หมายถึงเสนโค ้งใด

1 : เป็ นส่วนโค ้งทีได ้จากจุดบนก ้านส่งลากไปบนระนาบทีอยูก่ บ


ั ที
2 : เป็ นส่วนโค ้งทีได ้จากจุดบนข ้อเหวียงทีลากไปบนระนาบทีอยูก ่ บ
ั ที
3 : เป็ นส่วนโค ้งทีได ้จากจุดบนขอบของวงล ้อทีลากไปบนระนาบ เมือวงล ้อกลิงไปบนพืนราบโดยไม่มกี ารไถลทีอยูก
่ บ
ั ที
4 : เป็ นส่วนโค ้งทีเกิดจากจุดบนข ้อต่อใดข ้อต่อหนึงในกลไกกราชอฟ ทีลากไปบนระนาบทีอยูก
่ บ
ั ที
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 66 :
่ เิ นแมติกเชงิ บังคับ 4 ข ้อต่อ จากการสบ
จากโซค ั เปลียน (inversion) จะได ้กลไกทังหมดกีชนิด

1 : 4 ชนิด
2 : 2 ชนิด
3 : 3 ชนิด
4 : 1 ชนิด หรือเหมือนเดิม
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 67 :
ั สุดเป็ น
กลไก 4 ข ้อต่อ (Four bars linkage) แบบข ้อเหวียงคู่ ของ Grafshof ต ้องมีข ้อต่อสนที

1 : แท่นเครือง
2 : ข ้อเหวียง
3 : ก ้านส่ง
4 : ตัวตาม
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 68 :
ั สุดเป็ น
กลไก 4 ข ้อต่อ (Four bar linkage) แบบข ้อเหวียง-แขนแกว่ง ของ Grafshof ต ้องมีข ้อต่อสนที

1 : แท่นเครือง
2 : ข ้อเหวียง
3 : ก ้านส่ง
4 : ตัวตาม
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 69 :
Linkage ในรู ป คือ

1 : Scott-Russell linkage
2 : Pantograph
3 : Peaucellier-Lipkin linkage
4 : Hoekens linkage
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 70 :
Four – bar linkage ดังรู ป ในตําแหน่งเส้นประ ข้อ link 3 (A' B' ) และ link 4 (B' O4) อยูใ่ นแนวเส้นตรงเดียวกัน จะเกิด dead point ขึนเมือ

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 15/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1: 04 อยูใ่ นแนวเส้นตรงเดียวกัน
2 : link ใด ๆ ก็ได้ 2 links อยูใ่ นแนวเส้นตรงเดียวกัน
3 : เมือ link 2 เป็ น oscillator
4 : เมือ link 4 เป็ น oscillator
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 71 :
Linkage ในรู ป คือ

1 : Scott-Russell linkage
2 : Pantograph
3 : Peaucellier-Lipkin linkage
4 : Hoekens linkage
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 72 :
กลไกในรู ป คือ

1 : Scott-Russell linkage
2 : Pantograph
3 : Offset crank-slider
4 : Hoekens linkage
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

เนือหาวิชา : 256 : 4. Linkage 2

ข ้อที 73 :
กลไก 4 ข ้อต่อในรูปมีขนาด O2A = 15 mm, AB = 32 mm, O4B = 30 mm และ O2O4 = 25 mmถ ้า O2A เป็ นตัวขับ
ตําแหน่งขีดจํากัด ( มุม O4O2A) เป็ น

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 16/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1 : 65.5
2 : 83.3
3 : 49.6
4 : 114.5
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 74 :
กลไก 4 ข ้อต่อในรูปมีขนาด O2A = 15 mm, AB = 32 mm, O4B = 30 mm และ O2O4 = 25 mmถ ้า O2A เป็ นตัวขับ
ตําแหน่งขีดจํากัด (มุม O2O4B) เป็ น

1 : 100.6O
2 : 130.5O
3 : 65.5O
4 : 114.5O
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 75 :
กลไก 4 ข ้อต่อในรูปมีขนาด O2A = 15 mm, AB = 32 mm, O4B = 30 mm และ O2O4 = 25 mmถ ้า O4B เป็ นตัวขับ
ตําแหน่งจุดตาย (มุม O2O4B) เป็ น

1 : 100.6O
2 : 130.5O
3 : 65.5O
4 : 114.5O
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 76 :
กลไก 4 ข ้อต่อในรูปมีขนาด O2A = 15 mm, AB = 32 mm, O4B = 30 mm และ O2O4 = 25 mmถ ้า O4B เป็ นตัวขับ
ตําแหน่งจุดตาย (มุม O4O2A) เป็ น

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 17/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1 : 65.5O
2 : 83.3O
3 : 49.6O
4 : 114.5O
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 77 :
กลไก ชนิด 4 ข ้อต่อ มีคา่ ตามรูป a = 1.5 cm b = 3.0 cm c = 3.2 cm ฐานห่างกัน = 2.5 cm จงหาตําแหน่งขีดจํากัดของตัว
ขับ a

1 : 34.51 degree และ 89.06 degree


2 : 34.6 degree และ 89.05 degree
3 : 47 degree และ 104.037degree
4 : 34.51 degree และ 104.037 degree
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 78 :
กลไก ชนิด 4 ข ้อต่อ มีคา่ ตามรูป a = 1.5 cm b = 3.0 cm c = 3.2 cm ฐานห่างกัน = 2.5 cm จงหาตําแหน่งขีดจํากัดของตัว
ตาม b

1 : 62.9 Degree และ 145.5 Degree


2 : 117.13 Degree และ 34.6 Degree
3 : 34.6 Degreeและ 104.5 Degree
4 : 104.6 Degreeและ 34.4 Degree
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 79 :
กลไก ชนิด 4 ข ้อต่อ มีคา่ ตามรูป a = 2 cm b = 3.5 cm c = 3.2 cm ฐานห่างกัน = 2.5 cm จงหาตําแหน่งขีดจํากัดของตัว
ตาม b
http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 18/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1 : 12.87 degree to 119.21 degree


2 : 60 degree to 160 degree
3 : 79 degree to 13 degree
4 : 60.79 degree to 167.13 degree
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 80 :
กลไก ชนิด 4 ข ้อต่อ มีคา่ ตามรูป a = 2 cm b = 3.5 cm c = 3.2 cm ฐานห่างกัน = 2.5 cm จงหาตําแหน่งขีดจํากัดของตัวขับ
a

1 : 215.98 degree to 139.46 degree


2 : 35.98 degree to 139.46 degree
3 : 35.98 degree to 319.46 degree
4 : 215.98 degree to 319.46 degree
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 81 :
ิ อโยง 2 เป็ นตัวขับและชนต่
จากรูปให ้ชนต่ ิ อโยง 4 เป็ นตัวตาม จะได ้มุม Transmission คือมุมระหว่างชนต่
ิ อโยงใด

1 : ชินต่อโยง 3 กับชินต่อโยง 4
2 : ชินต่อโยง 1 กับชินต่อโยง 2
3 : ชินต่อโยง 2 กับชินต่อโยง 3
4 : ชินต่อโยง 4 กับชินต่อโยง 1
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 82 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 19/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
ิ อโยง 4 เป็ นตัวขับและชนต่
จากรูปให ้ชนต่ ิ อโยง 2 เป็ นตัวตาม จะได ้มุม Transmission คือมุมระหว่างชนต่
ิ อโยงใด

1 : ชินต่อโยง 3 กับชินต่อโยง 1
2 : ชินต่อโยง 2 กับชินต่อโยง 3
3 : ชินต่อโยง 3 กับชินต่อโยง 4
4 : ชินต่อโยง 2 กับชินต่อโยง 4
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 83 :
ิ อโยง 2 เป็ นตัวขับและชนต่
จากรูปให ้ชนต่ ิ อโยง 4 เป็ นตัวตาม จะได ้มุม Transmission คือมุมระหว่างชนต่
ิ อโยงใด

1 : ชินต่อโยง 1 กับชินต่อโยง 2
2 : ชินต่อโยง 3 กับชินต่อโยง 4
3 : ชินต่อโยง 2 กับชินต่อโยง 3
4 : ชินต่อโยง 4 กับชินต่อโยง 1
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 84 :
จากรู ปให้ชินต่อโยง 4 เป็ นตัวขับแล้วชินต่อโยง 2 เป็ นตัวตาม จะได้มุม Transmission คือมุมระหว่างชินต่อโยงใด

1 : ชินต่อโยง 3 กับชินต่อโยง 4
2 : ชินต่อโยง 1 กับชินต่อโยง 2
3 : ชินต่อโยง 2 กับชินต่อโยง 3
4 : ชินต่อโยง 4 กับชินต่อโยง 1
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 85 :
http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 20/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
ตําแหน่ง ของกลไก -ข้อต่อในรู ป คือตําแหน่งใด เมือข้อต่อ 2 เป็ นตัวขับ

1 : ตําแหน่งขีดจํากัด
2 : ตําแหน่งจุดเปลียน
3 : ตําแหน่งจุดตาย
4 : ตําแหน่งทีให ้มุมส่งทอดทีเล็กทีสุด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 86 :
ตําแหน่ง ของกลไก -ข้อต่อในรู ป คือตําแหน่งใด เมือข้อต่อ 4 เป็ นตัวขับ

1 : ตําแหน่งจุดตาย
2 : ตําแหน่งจุดเปลียน
3 : ตําแหน่งขีดจํากัด
4 : ตําแหน่งทีให ้มุมส่งทอดทีเล็กทีสุด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 87 :
กลไกเลือนข้อเหวียงในรู ป ตําแหน่งขีดจํากัดหมายถึงตําแหน่งใด

1 : เมือข ้อต่อ 2 เป็ นตัวขับ ตําแหน่งขีดจํากัดเป็ นตําแหน่งทีข ้อต่อ 2 และข ้อต่อ 3 มาอยูใ่ นแนวเส ้นตรงเดียวกัน
2 : เมือข ้อต่อ 4 เป็ นตัวขับ ตําแหน่งขีดจํากัดเป็ นตําแหน่งทีข ้อต่อ 2 และข ้อต่อ 3 มาอยูใ่ นแนวเส ้นตรงเดียวกัน
3:
เมือข ้อต่อ 2 เป็ นตัวขับ ตําแหน่งขีดจํากัดหมายถึงตําแหน่งทีข ้อต่อ 2 เคลือนทีมาอยูใ่ นตําแหน่งทีทํามุมฉากกับ AoB
4:
เมือข ้อต่อ 4 เป็ นตัวขับ ตําแหน่งขีดจํากัดหมายถึงตําแหน่งทีข ้อต่อ 2 เคลือนทีมาอยูใ่ นตําแหน่งทีทํามุมฉากกับ AoB
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 21/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

ข ้อที 88 :
กลไกเลือนข้อเหวียงในรู ป ตําแหน่งจุดตายของกลไกหมายถึงตําแหน่งใด

1 : เมือข ้อต่อ 4 เป็ นตัวขับ ตําแหน่งจุดตายเป็ นตําแหน่งทีข ้อต่อ 2 และข ้อต่อ 3 มาอยูใ่ นแนวเส ้นตรงเดียวกัน
2 : เมือข ้อต่อ 2 เป็ นตัวขับ ตําแหน่งจุดตายเป็ นตําแหน่งทีข ้อต่อ 2 และข ้อต่อ 3 มาอยูใ่ นแนวเส ้นตรงเดียวกัน
3:
เมือข้อต่อ 4 เป็ นตัวขับ ตําแหน่งจุดตายเป็ นตําแหน่งทีข้อต่อ 2 เคลือนทีมาอยูใ่ นตําแหน่งทีทํามุมฉากกับ AoB
4:
เมือข้อต่อ 2 เป็ นตัวขับ ตําแหน่งจุดตายเป็ นตําแหน่งทีข้อต่อ 2 เคลือนทีมาอยูใ่ นตําแหน่งทีทํามุมฉากกับ AoB
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 89 :
กลไก 4 ข ้อต่อในรูปมีขนาด O2A = 20 mm, AB = 32 mm, O4B = 30 mm ลแ O2O4 = 25 mm ถ ้า O2A เป็ นตัวขับ
ตําแหน่งขีดจํากัด (<O4O2A) เป็ น

1 : 114.5๐
2 : 83.3๐
3 : 49.6๐
4 : 23.1๐
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 90 :
กลไก 4 ข ้อต่อในรูปมีขนาด O2A = 20 mm, AB = 32 mm, O4B = 30 mm และ O2O4 = 25 mm ถ ้า O2A เป็ นตัวขับ
ตําแหน่งขีดจํากัด (<O2O4B) เป็ น

1 : 23.1๐
2 : 130.5๐
http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 22/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

3 : 137.6๐
4 : 114.5๐
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 91 :
กลไกข้างล่างเป็ นกลไกทีมีการเคลือนทีแบบ

1 : Drag-link
2 : Crank-rocker
3 : Double-rocker
4 : Slider-crank
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 92 :
เพือให้เกิด double cranking และป้องกันไม่ให้เกิด locking ใน Four – bar linkage ดังรู ป เงือนไขหนึงทีป้องกันไม่ให้เกิด locking คือ

1 : (O4B – O2O4) + O2A > AB


2 : (O4B – O2O4) + O2A < AB
3 : (O4B – O2O4) + O2A = AB
4 : (O4B – O2O4) + O2A ≤ AB
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 93 :
กลไกข้างล่างเป็ นกลไกทีมีการเคลือนทีแบบ

1 : Drag-link
2 : Crank-rocker

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 23/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
3 : Double-crank
4 : Slider-crank
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 94 :
กลไกสี ชิน (four-bar mechanism) มีความยาวด้านทังสี ดังนี r1 = 5 cm, r2 = 17 cm, r3 = 10 cm, และ r4 = 11 cm ถ้าชินส่ วน r1 ถูกยึดเป็ นพืน (ground) กลไกนีมีรูป
แบบการเคลือนทีอย่างไร

1 : Crank-rocker
2 : Double-rocker
3 : Double-crank
4 : Slider-crank
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

เนือหาวิชา : 257 : 5. Linkage 3

ข ้อที 95 :

กลไกทีใชในการเช ื
อมต่ ้ ขนานและเยืองกันเล็กน ้อยคือ
อเพลา 2 เสนที

1 : Watt’s six-bar
2 : Scotch yoke
3 : Peaucellier mechanism
4 : Oldham coupling
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 96 :
กลไกใดทีไม่ใช ้ Toggle effect

1 : Peaucellier mechanism
2 : Stone crusher
3 : Vise-grip pliers
4 : Punch press
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 97 :
กลไกใดทีดัดแปลงเป็ นเครืองเขียนรูปวงรีได ้

1 : Watt’s six-bar
2 : Scotch yoke
3 : Peaucellier mechanism
4 : Whitworth mechanism
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 98 :
่ ลไกไปชากลั
กลไกใดไม่ใชก ้ บเร็ว

1 : Whitworth mechanism
2 : Crank-shaper mechanism
3 : Peaucellier mechanism
4 : Off-set slider crank mechanism
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 99 :
ในการออกแบบข ้อเหวียงคู่ ( Double Crank) มีข ้อต่อ A,B,C และD มีความยาว เท่ากับ 5,7,10 และ 12 cm.จะต ้องใชส้ ว่ น
ใดเป็ นฐานของกลไกชนิดนี

1:A
2:B
3:C
4:D
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 24/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

ข ้อที 100 :
ในการออกแบบข ้อเหวียง แขนแกว่ง ( Crank-rocker) มีข ้อต่อ A,B,C และD มีความยาว เท่ากับ 5,10,10 และ 12 cm. ข ้อ
ต่อ A จะต ้องอยูท
่ ใด

1 : แท่นเครือง
2 : ก ้านส่ง
3 : ด ้านข ้าง
4 : ทีไหนก็ได ้
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 101 :

กลไกดังภาพ ใชประโยชน์
ในการ

1 : เขียนเส ้นตรง
2 : เขียนวงรี
3 : ลอกรูปแบบ
4 : ลากเส ้นเกือบตรง
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 102 :
้ ปกรณ์อะไร
กลไกดังรูปใชในอุ

1 : เครืองตอกหมุด
2 : เครืองบดหิน
3 : เครืองรดนํ า
4 : เครืองฉายภาพยนตร์
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 103 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 25/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
ิ อโยง 3 จะมีชอเรี
จากรูป ชนต่ ื ยกว่าอะไร

1 : Connecting Rod
2 : Crank
3 : Cam
4 : Piston
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 104 :
ิ อโยง 3 จะมีชอเรี
จากรูป ชนต่ ื ยกว่าอะไร

1 : Coupling
2 : Gear
3 : Slider
4 : Cam
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 105 :
ิ อโยง 2 จะมีชอเรี
จากรูป ชนต่ ื ยกว่าอะไร

1 : Connecting Rod
2 : Crank
3 : Cam
4 : Piston
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 106 :
จากรู ป ชินต่อโยง 1 จะมีชือเรี ยกว่าอะไร

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 26/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1 : Piston
2 : Connecting Rod
3 : Crank
4 : Coupling
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 107 :
ตําแหน่งของกลไก -ข้อต่อทีเห็น เป็ นตําแหน่งอะไร

1 : ตําแหน่งทีให ้มุมส่งทอดทีเล็กทีสุด
2 : ตําแหน่งจุดตายของกลไก
3 : ตําแหน่งจุดเปลียนของกลไก
4 : ตําแหน่งขีดจํากัดของกลไก
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 108 :
มุมสง่ ทอดในกลไก 4-ข ้อต่อ หมายถึง

1 : มุมทีก ้านส่งกับข ้อต่อตัวถูกขับหรือตัวตามกระทํากัน และต ้องเป็ นมุมทีเล็กกว่า


2 : มุมทีก ้านส่งกับข ้อต่อตัวถูกขับหรือตัวตามกระทํากัน และต ้องเป็ นมุมทีใหญ่กว่า
3 : มุมทีก ้านส่งกับข ้อต่อทีเป็ นตัวขับกระทํากัน และต ้องเป็ นมุมทีเล็กกว่า
4 : มุมทีก ้านส่งกับข ้อต่อทีเป็ นตัวขับกระทํากัน และต ้องเป็ นมุมทีใหญ่กว่า
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 109 :
ในรู ปเป็ นกลไก -ข้อต่อ ทีมีการส่ งทอดการเคลือนทีเหมือนกันทุกประการกลไกทางขวามือสามารถเปลียนมาเป็ นกลไกซ้ายมือได้ดว้ ยวิธีการใด

1 : การเปลียนรูปทรง
2 : การขยายคูส ั ผัส
่ ม
3 : เปลียนข ้อต่อทีเป็ นแท่น
4 : เปลียนชนิดของคูส ั ผัส 34
่ ม
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 110 :
กลไกกราชอฟ หมายถึง

1 : กลไก 4-ข ้อต่อทีความยาวของด ้านทีสันทีสุดรวมกับความยาวของด ้านทียาวทีสุด เท่ากับหรือน ้อยกว่าด ้านทีเหลือรวมกัน


http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 27/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
2 : กลไก 4-ข ้อต่อทีความยาวของด ้านทีสันทีสุดรวมกับความยาวของด ้านทียาวทีสุด น ้อยกว่าด ้านทีเหลือรวมกันเท่านัน
3 : กลไก 4-ข ้อต่อทีมีด ้านทียาวทีสุดเป็ นแท่น และด ้านทีสันทีสุดเป็ นข ้อเหวียง
4 : กลไก 4-ข ้อต่อทีมีตําแหน่งจุดเปลียน
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 111 :
Whitworth mechanism เป็ นกลไก

1 : ทีใช ้เชือมต่อเพลา 2 เส ้นทีขนานและเยืองกันเล็กน ้อย


2 : ทีใช ้ Toggle effect ทํางาน
3 : ช่วยในการเขียนแบบ
4 : ในงานเครืองไสโลหะ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 112 :
Universal joint เป็ นกลไก

1 : ทีใช ้เชือมต่อเพลา 2 เส ้นทีขนานและเยืองกันเล็กน ้อย


2 : ทีใช ้ Toggle effect ทํางาน
3 : ช่วยในการเขียนแบบ
4 : ในงานเครืองไสโลหะ
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 113 :
กลไกในรู ปคือ

1 : Centrifugal governor
2 : Flywheel
3 : Pendulum
4 : Four-bar linkage
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 114 :
link 2 เคลือนทีเป็ นวงกลมรอบจุด O2 ทําให้ slider P เคลือนที ขึน – ลง ใน slot hole 3 และทําให้ yoke 4 เกิดการเคลือนที motion ของ yoke 4 เป็ นแบบใด

1 : reciprocation motion
2 : simple harmonic motion
3 : linear constant velocity motion
4 : linear intermittent motion
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 115 :
กลไกในรู ปคือ

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 28/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1 : Centrifugal governor
2 : Flywheel
3 : Pendulum
4 : Four-bar linkage
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 116 :
กลไกในรู ปคือ

1 : Crank shaper
2 : Crank-slider
3 : Whitworth
4 : Four-bar linkage
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

เนือหาวิชา : 258 : 6. Degree of Freedom 1

ข ้อที 117 :
่ เิ นแมติกเชงิ บังคับต ้องมี Degree of freedom เป็ น
กลไกทีเป็ นโซค

1:0
2:1
3:2
4:3
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 118 :
กลไกแบบ 5-ข ้อต่อโดยทัวไปมี Degree of freedom เป็ น

1:0
2:1
3:2
4:3
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 119 :
่ เิ นแมติกทีมี Degree of freedom เป็ น
โครงสร ้างสะพานเป็ นโซค

1:0
2:1
3:2
4:3
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 120 :
กลไกแบบ 4-ข ้อต่อโดยทัวไปมี Degree of freedom เป็ น
http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 29/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1:0
2:1
3:2
4:3
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 121 :
จงหาค่า Degree of Freedom ของกลไกดังภาพ

1:2
2:3
3:4
4:0
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 122 :
จงหาค่า Degree of Freedom ของกลไกดังภาพ

1:0
2:1
3:2
4:3
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 123 :
จงหาค่า Degree of Freedom ของกลไกดังภาพ

1:0
2:1
3:2
4:3
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 30/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

ข ้อที 124 :
ื ยกอีกชอว่
Degree of freedom มีชอเรี ื าอะไร

1 : No.of joints
2 : Mobility
3 : No.of links
4 : Mobilisation
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 125 :
ลูกเบียวทีมีการเคลือนทีแบบกลิงและไถลพร ้อมกัน จะมีคา่ Degree of Freedom เท่าไร

1:0
2:1
3:2
4:3
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 126 :
ลูกเบียวทีมีการเคลือนทีแบบกลิงโดยไม่ไถล จะมีคา่ Degree of Freedom เท่าไร

1:0
2:1
3:2
4:3
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 127 :
หมุดทีมีการเคลือนทีแบบ pure rotation จะมีคา่ Degree of Freedom เท่าไร

1:0
2:1
3:2
4:3
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 128 :
ลูกสูบทีมีการเคลือนทีแบบ pure sliding จะมีคา่ Degree of Freedom เท่าไร

1:0
2:1
3:2
4:3
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 129 :
รอยต่อหรือคูส ั ผัสใดทีมีระดับขันความเสรี f = 2
่ ม

1 : รอยต่อ 23
2 : รอยต่อ 13
3 : รอยต่อ 12
4 : รอยต่อ 13 และ 23
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 31/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

ข ้อที 130 :
ให ้ J1 เป็ นจํานวนรอยต่อทีมีระดับขันความเสรีเป็ น 1 และ J2เป็ นจํานวนรอยต่อทีมีระดับขันความเสรีเป็ น 2 กลไกในรูปจะ
มี J1 และ J2 เท่าใด

1:
J1 = 3 , J2 = 1
2:
J1 = 2 , J2 = 2
3:
J1 = 1 , J2 = 3
4:
J1 = 4 , J2 = 0
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 131 :
กลไกทีเห็นมีระดับขันความเสรี เท่าใด

1:1
2:2
3:0
4:3
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 132 :
ข ้อต่อทีเคลือนทีอิสระในระนาบจะมีระดับขันความเสรี F เท่าใด

1:F=3
2:F=2
3:F=4
4:F=0
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 133 :
กลไกทีมี Degree of freedom เป็ น 0 ได ้แก่

1 : ทีปั ดนํ าฝน


2 : โครงสร ้างสะพาน
3 : ชุดกระบอกสูบไฮดรอลิก
4 : ชุดเฟื องทด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 134 :
กลไกทีมี Degree of freedom เป็ น 1 ได ้แก่

1 : ทีปั ดนํ าฝน


2 : โครงสร ้างสะพาน
3 : ตัวถังรถโดยสารประจําทาง

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 32/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
4 : กลไก 5 ข ้อต่อ
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 135 :
กลไกในรู ปมีค่า Degree of freedom เท่ากับ

1: 0
2: 1
3: 2
4: 3
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 136 :
P2 เป็ น revolute joint เชือม 2 links เข้าด้วยกัน ระบบ link ดังกล่าว มี degree of freedom เท่ากับ

1: 3
2:4
3:5
4:6
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 137 :
จากกลไกดังรู ป จงหาระดับขันความเสรี (Degree of freedom หรื อ Mobility)

1:1
2:2
3:3
4:0
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 138 :
กลไกดังรู ป จงหาระดับขันความเสรี (Degree of freedom หรื อ Mobility)

1:1
2:2
3:3
4:0
คําตอบทีถูกต ้อง : 1
http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 33/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

ข ้อที 139 :
กลไกดังรู ป จงหาระดับขันความเสรี (Degree of freedom หรื อ Mobility)

1:1
2:2
3:3
4:0
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 140 :
โครงสร้างสะพานพระพุทธยอดฟ้ามีค่า Degree of freedom เท่ากับ

1:0
2:1
3:2
4:3
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 141 :
กลไกในรู ปมีค่า Degree of freedom เท่ากับ

1 : -1
2:0
3:1
4:2
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

เนือหาวิชา : 259 : 7. Degree of Freedom 2

ข ้อที 142 :
กลไกดังแสดงในรูปมี Degree of freedom เป็ น

1:0
2:1
3:2
4:3
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 143 :
กลไกดังแสดงในรูปมี Degree of freedom เป็ น

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 34/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1:0
2:1
3:2
4:3
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 144 :
กลไกดังแสดงในรูปมี Degree of freedom เป็ น

1:0
2:1
3:2
4:3
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 145 :
กลไกดังแสดงในรูปมี Degree of freedom เป็ น

1:0
2:1
3:2
4:3
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 146 :
กลไกดังแสดงในรูปมี Degree of freedom เป็ น

1:3
2:0
3:1
http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 35/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
4:2
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 147 :

กลไกดังแสดงในรูปมี Degree of freedom เท่ากับเท่าไหร่ ถ ้าข ้อต่อ 4 เชอมติ
ดกับลูกกลิง 3

1:1
2:2
3:3
4:4
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 148 :
คีมล๊อคตามรูป มีคา่ Degree of freedom เท่ากับเท่าไร (ถ ้าไม่นับถึงน๊อตปรับตัง)

1:1
2:2
3:3
4:4
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 149 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 36/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
คีมล็อคดังแสดงในรูป มี Degree of freedom เป็ นเท่าไหร่ ให ้รวมถึงน๊อตปรับตังปากกาด ้วย

1:1
2:2
3:3
4:4
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 150 :
กลไกดังรูปจะมีคา่ Degree of Freedom เท่ากับเท่าไร

1:0
2:1
3:2
4:3
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 151 :
กลไกดังรูปจะมีคา่ Degree of Freedom เท่ากับเท่าไร

1:0
2:1
3:2
4:3
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 152 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 37/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
กลไกดังรูปจะมีคา่ Degree of Freedom เท่ากับเท่าไร

1:0
2:1
3:2
4:3
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 153 :
กลไกดังรู ปจะมีค่า Degree of Freedom เท่ากับเท่าไร

1:0
2:1
3:2
4:3
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 154 :
่ เิ นแมติก (Kinematic chains) ทีมีระดับขันความเสรี (Degree of Freedom) เท่ากับ 1 จะเป็ นโซค
โซค ่ เิ นแมติกชนิดใด

1 : โซ่คเิ นแมติกเชิงบังคับ
2 : โซ่คเิ นแมติกแบบบังคับไม่ได ้
3 : โซ่ลอ
๊ ค
4 : โซ่คเิ นแมติกแบบขับเคลือน 2 ทาง
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 155 :
จงหาระดับขันความเสรี (Degree of Freedom ของกลไกในรู ป

1:2
2:1
3:3
4:0
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 156 :
http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 38/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
จงหาระดับขันความเสรี (Degree of Freedom ) ของกลไกในรู ป

1:1
2:2
3:3
4:0
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 157 :
จงคํานวณระดับขันความเสรี ของโซ่คิเนเมติกในรู ป

1:1
2:2
3:3
4:0
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 158 :
กลไกดังแสดงในรูปมี Degree of freedom เป็ น

1:0
2:1
3:2
4:3
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 159 :
กลไกดังแสดงในรูป Degree of freedom เป็ น

1:0
2: 1
3:2
4:3

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 39/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 160 :
กุญแจล็อค (Locking pliers) ในรู ปมีค่า Degree of freedom เท่าไร

1: 0
2: 1
3: 2
4: 3
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 161 :
Mobility ของ four-bar linkage (a) และ (b) มีค่าเท่ากับ

1 : (a) = (b) = 1
2 : (a) = 1 , (b) = 0
3 : (a) = 0 , (b) = 1
4 : (a) = 1 , (b) = -1
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 162 :
กลไกอัดชินงานดังรู ป จงหาจํานวนชินต่อโยงและจํานวนคู่สมั ผัสขันตํา

1 : 6 ชินต่อโยง 6 คู่สม
ั ผัสขันตํา
2 : 7 ชินต่อโยง 6 คู่สมั ผัสขันตํา
3 : 7 ชินต่อโยง 7 คู่สม ั ผัสขันตํา
4 : 6 ชินต่อโยง 7 คู่สม ั ผัสขันตํา
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 163 :
กลไกของรถตักดังรู ป ถ้ากําหนดให้ตวั ถังรถเป็ นเฟรมหรื อกราวด์(Frame or ground) จงหาจํานวนชินต่อโยงของกลไกตักด้านหน้า

1:6
2:7
3:8
4:9
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 164 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 40/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
กลไกของรถตักดังรู ป ถ้ากําหนดให้ตวั ถังรถเป็ นเฟรมหรื อกราวด์(Frame or ground) จงหาระดับขันความเสรี (Degree of freedom หรื อ Mobility) ของกลไกตักด้าน
หน้า

1:1
2:2
3:3
4:0
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 165 :
กลไกของรถตักดังรู ป ถ้ากําหนดให้ตวั ถังรถเป็ นเฟรมหรื อกราวด์(Frame or ground) จงหาจํานวนคู่สมั ผัสขันตํา(Lower pair joint)ของกลไกตักด้านหน้า

1 : ไม่มข
ี ้อใดถูก
2 : 11
3 : 10
4:9
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 166 :
กลไก Joinstick ในรู ป มีค่า Degree of freedom เท่ากับ

1:0
2:1
3:2
4:3
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 167 :
กลไกในรู ปมีค่า Degree of freedom จากการคํานวณด้วย Grubler’s equation เป็ นเท่าไร และมี degree of freedom จริ งเท่าไหร่

1 : ค่า Degree of freedom จากการคํานวณ = 1 ค่า Degree of freedom จริ ง = -1


2 : ค่า Degree of freedom จากการคํานวณ = 0 ค่า Degree of freedom จริ ง = 0
3 : ค่า Degree of freedom จากการคํานวณ = -1 ค่า Degree of freedom จริ ง = 1
4 : ค่า Degree of freedom จากการคํานวณ = -2 ค่า Degree of freedom จริ ง = 2
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

เนือหาวิชา : 260 : 8. Mechanism Design 1

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 41/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

ข ้อที 168 :
กลไก 8-ข ้อต่อ ชุดหนึงประกอบด ้วยข ้อต่อแบบ 2-รอยต่อ 7 ตัว ข ้อต่อตัวทีแปดต ้องเป็ นชนิดมีกรอยต่
ี อ

1:3
2:4
3:5
4:6
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 169 :
กลไก 8-ข ้อต่อ ชุดหนึงประกอบด ้วยข ้อต่อแบบ 2-รอยต่อ 4 ตัว ข ้อต่อทีเหลือต ้องเป็ นชนิดมีกรอยต่
ี อ

1:3
2:4
3:5
4:6
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 170 :
กลไก 8-ข ้อต่อ ชุดหนึงประกอบด ้วยข ้อต่อแบบ 2-รอยต่อ 6 ตัว ข ้อต่อทีเหลือต ้องเป็ นชนิดมีกรอยต่
ี อ

1:3
2:4
3:5
4:6
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 171 :
กลไก 6-ข ้อต่อ ชุดหนึงประกอบด ้วยข ้อต่อแบบ 2-รอยต่อ 5 ตัว ข ้อต่อทีเหลือต ้องเป็ นชนิดมีกรอยต่
ี อ

1:3
2:4
3:5
4:6
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 172 :
ั สุด L=ข ้อต่อทียาวทีสุด P และ Q เป้ นความยาวของข ้อต่อทีเหลือ
ในกลไกชนิด 4 ข ้อต่อ ถ ้า S= ข ้อต่อทีสนที
ถ ้า S+L < P+Q และ S เป็ นแท่นเครือง กลไกนีคือ

1 : Drag link mechanism


2 : Crank Rocker
3 : Double Rocker
4 : Change point mechanism
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 173 :
ั สุด L=ข ้อต่อทียาวทีสุด P และ Q เป้ นความยาวของข ้อต่อทีเหลือ
ในกลไกชนิด 4 ข ้อต่อ ถ ้า S= ข ้อต่อทีสนที
ถ ้า S+L < P+Q และ S เป็ นด ้านข ้าง กลไกนีคือ

1 : Drag link Mechanism


2 : Double rocker
3 : Change point mechanism
4 : Crank rocker
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 174 :
ั สุด L=ข ้อต่อทียาวทีสุด P และ Q เป้ นความยาวของข ้อต่อทีเหลือ
ในกลไกชนิด 4 ข ้อต่อ ถ ้า S= ข ้อต่อทีสนที

ถ ้า S+L < P+Q และ S เป็ นก ้านสง กลไกนีคือ

1 : Drag link Mechanism


http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 42/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
2 : Crank Rocker
3 : Double Rocker
4 : Change point mechanism
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 175 :
ั สุด L=ข ้อต่อทียาวทีสุด P และ Q เป้ นความยาวของข ้อต่อทีเหลือ
ในกลไกชนิด 4 ข ้อต่อ ถ ้า S= ข ้อต่อทีสนที
ถ ้า S+L = P+Q และ S เป็ นแท่นเครือง กลไกนีคือ

1 : Change point Mechanism


2 : Double rocker
3 : Crank rocker
4 : Double rocker of the second kind of triple rocker
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 176 :
ิ อโยง 2 เป็ นตัวขับเคลือนทีกลับไปกลับมาได ้ กลไกนีจะเกิด Dead Points ได ้เมือไร
กลไกดังรูป มีชนต่

1 : เมือชินต่อโยง 3 และชินต่อโยง 4 อยูใ่ นแนวเดียวกัน


2 : เมือชินต่อโยง 2 และชินต่อโยง 3 อยูใ่ นแนวเดียวกัน
3 : เมือชินต่อโยง 1 และชินต่อโยง 4 อยูใ่ นแนวเดียวกัน
4 : เมือชินต่อโยง 2 และชินต่อโยง 4 อยูใ่ นแนวเดียวกัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 177 :
ิ อโยง 2 เป็ นตัวขับเคลือนทีกลับไปกลับมาได ้ กลไกนีจะเกิด Dead Points ได ้เมือไร
กลไกดังรูป มีชนต่

1 : เมือชินต่อโยง 1 และชินต่อโยง 4 อยูใ่ นแนวเดียวกัน


2 : เมือชินต่อโยง 3 และชินต่อโยง 4 อยูใ่ นแนวเดียวกัน
3 : เมือชินต่อโยง 1 และชินต่อโยง 4 ตังฉากกัน
4 : เมือชินต่อโยง 3 และชินต่อโยง 4 ตังฉากกัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 178 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 43/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
ิ อโยง 2 เป็ นตัวขับเคลือนทีกลับไปกลับมาได ้ กลไกนีจะเกิด Dead Points ได ้เมือไร
กลไกดังรูป มีชนต่

1 : เมือชินต่อโยง 2 และชินต่อโยง 4 อยูใ่ นแนวเดียวกัน


2 : เมือชินต่อโยง 1 และชินต่อโยง 4 อยูใ่ นแนวเดียวกัน
3 : เมือชินต่อโยง 2 และชินต่อโยง 3 อยูใ่ นแนวเดียวกัน
4 : เมือชินต่อโยง 3 และชินต่อโยง 4 อยูใ่ นแนวเดียวกัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 179 :
ิ อโยง 2 เป็ นตัวขับเคลือนทีกลับไปกลับมาได ้ กลไกนีจะเกิด Dead Point ได ้เมือไร
กลไกดังรูป มีชนต่

1 : เมือชินต่อโยง 3 และชินต่อโยง 4 อยูใ่ นแนวเดียวกัน


2 : เมือชินต่อโยง 1 และชินต่อโยง 4 ตังฉากกัน
3 : เมือชินต่อโยง 1 และชินต่อโยง 4 อยูใ่ นแนวเดียวกัน
4 : เมือชินต่อโยง 3 และชินต่อโยง 4 ตังฉากกัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 180 :
จงระบุระดับขันความเสรี ( Degree of Freedom ) ของกลไกในรู ป

1:1
2:0
3:2
4:3
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 181 :
กลไก 6-ข ้อต่อ ทีมีรอยต่อทุกรอยเป็ นแบบหมุน และมีระดับขันความเสรีเท่ากับ 1จะมีข ้อต่อทีมีรอยต่อสูงสุดได ้กีรอย

1 : 3 รอย
2 : 2 รอย
3 : 4 รอย
4 : 5 รอย
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 182 :
กลไก 8-ข ้อต่อ ทีมีรอยต่อทุกรอยเป็ นแบบหมุน และมีระดับขันความเสรีเท่ากับ 1จะมีข ้อต่อทีมีรอยต่อสูงสุดได ้กีรอย

1 : 4 รอย

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 44/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
2 : 3 รอย
3 : 5 รอย
4 : 6 รอย
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 183 :
โซค่ เิ นแมติกเชงิ บังคับทีมีรอยต่อทุกรอยเป็ นแบบหมุน จะมีจํานวนข ้อต่อทีมี 2 รอยต่อ (binary link) อย่างน ้อยทีสุดกีข ้อ
ต่อ

1 : 4 ข ้อต่อ
2 : 5 ข ้อต่อ
3 : 6 ข ้อต่อ
4 : 2 ข ้อต่อ
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 184 :
กลไก 5-ข ้อต่อ ชุดหนึงประกอบด ้วยข ้อต่อแบบ 2-รอยต่อ 4 ตัว ข ้อต่อทีเหลือต ้องเป็ นชนิดมีกรอยต่
ี อถ ้าต ้องการให ้ DOF
เท่ากับ 1

1:3
2:4
3:5
4 : ไม่มค
ี ําตอบ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 185 :
กลไก 6-ข ้อต่อ ชุดหนึงมีข ้อต่อแบบ 4 รอยต่อหนึงตัว ข ้อต่อทีเหลือต ้องเป็ นชนิดมีกรอยต่
ี อ

1:2
2:3
3:4
4:5
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 186 :

กลไกในรู ปเป็ นกลไกสําหรับ

1 : เลียนแบบ
2 : ลากเส้นขนาน
3 : เขียนเส้นตรง
4 : ลากเส้นตังฉาก
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 187 :
กลไกทีใช้ควบคุมแป้นวางเตาไมโครเวฟดังรู ป เป็ นกลไกแบบทีทํางานตามหลักการใด

1 : Path generation
2 : Motion generation
3 : Function generation
4 : Path controlled generation
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 45/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
ข ้อที 188 :
กลไกทีใช้ควบคุมหัวปากกาเครื องพล็อตแบบ(Drawing) บนระนาบ 2 มิติ (XY plotter) เป็ นกลไกแบบทีทํางานตามหลักการใด

1 : Path generation
2 : Motion generation
3 : Function generation
4 : ไม่มีขอ้ ใดถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 189 :
ในการออกแบบกลไกทีใช้วางเตาไมโครเวฟดังรู ป โดยทัวไปควรใช้วธิ ีการใดดังต่อไปนีทีน่าจะเหมาะสม ถ้าให้เตาไมโครเวฟเลือนขึนลงได้ตามต้องการ

1 : Three-position synthesis with specified fixed pivots


2 : Three-position synthesis with alternate moving pivots
3 : Two-position synthesis with angular displacement
4 : Two-position synthesis with complex displacement
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 190 :
ในระบบ disk cam และ roller follower ถ้า motion ของ follower เป็ น parabolic motion “jerk” ใน follower จะมีค่า

1 : คงที
2 : เพิมขึน
3 : ลดลง
4 : infinity
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 191 :
กลไกในรู ปเป็ นกลไกสําหรับ

1 : เลียนแบบ
2 : ลากเส้นขนาน
3 : เขียนเส้นตรง
4 : ลากเส้นตังฉาก
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 192 :
จงหาอัตราส่ วนเวลา (time ratio) ในการทํางานของกลไกดังรู ป เมือชินส่ วนขาเข้า (input link) คือหมายเลข 2

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 46/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1 : 0.0
2 : 0.5
3 : 1.0
4 : 2.0
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

เนือหาวิชา : 261 : 9. Mechanism Design 2

ข ้อที 193 :
กลไก 4-ข ้อต่อตัวหนึง มีจด
ุ หมุนบนแท่นเครืองห่างกัน 65 มม. ข ้อต่อตัวขับยาว 20 มม. และข ้อต่อตัวตามยาว 52 มม.
ต ้องการให ้กลไกนีเป็ นกลไกแบบข ้อเหวียง-แขนแกว่งทีแกว่งเป็ นมุม 45O ดังนันก ้านสง่ ของกลไกนีต ้องยาวกีมิลลิเมตร

1 : 44
2 : 62
3 : 81
4 : 95
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 194 :
ุ หมุนบนแท่นเครืองห่างกัน 65 มม. ข ้อต่อตัวขับยาว 20 มม. และข ้อต่อก ้านสง่ ยาว 44 มม.
กลไก 4-ข ้อต่อตัวหนึง มีจด
ต ้องการให ้กลไกนีเป็ นกลไกแบบข ้อเหวียง-แขนแกว่งทีแกว่งเป็ นมุม 45O ดังนันข ้อต่อตัวตามของกลไกนีต ้องยาวกี
มิลลิเมตร

1 : 35
2 : 52
3 : 71
4 : 85
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 195 :
ุ หมุนบนแท่นเครืองห่างกัน 65 มม. ข ้อต่อตัวตามยาว 52 มม. และข ้อต่อก ้านสง่ ยาว 44 มม.
กลไก 4-ข ้อต่อตัวหนึง มีจด
ต ้องการให ้กลไกนีเป็ นกลไกแบบข ้อเหวียง-แขนแกว่งทีแกว่งเป็ นมุม 45O ดังนันข ้อต่อตัวขับของกลไกนีต ้องยาวกี
มิลลิเมตร

1 : 20
2 : 35
3 : 40
4 : 55
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 196 :
กลไก 4-ข ้อต่อตัวหนึง มีข ้อต่อตัวขับยาว 20 มม. ข ้อต่อตัวตามยาว 52 มม. และข ้อต่อก ้านสง่ ยาว 44 มม. ต ้องการให ้กลไก
นีเป็ นกลไกแบบข ้อเหวียง-แขนแกว่งทีแกว่งเป็ นมุม 45O ดังนันจุดหมุนบนแท่นเครืองของกลไกนีต ้องห่างกันกีมิลลิเมตร

1 : 40
2 : 45
3 : 51
4 : 65
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 197 :
ในการออกแบบกลไกประเภท Quick-Return ค่าอัตราสว่ นเวลาของกลไกประเภทนีควรจะมีคา่ เป็ นอย่างไร

1 : น ้อยกว่า 0
2 : อยูใ่ นช่วงระหว่าง 0 กับ 1
3 : เท่ากับ 1
4 : มากกว่า 1
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 198 :
ค่าอัตราสว่ นเวลาของกลไกประเภท Quick-Return ในข ้อใดถูกต ้อง

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 47/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1:0
2 : 0.5
3:1
4 : 1.5
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 199 :
กลไกประเภท Quick-Return คืออะไร

1 : ช่วงเวลาการทํางานนานกว่าช่วงเวลาการเคลือนทีกลับ
2 : ช่วงเวลาการทํางานน ้อยกว่าช่วงเวลาการเคลือนทีกลับ
3 : ช่วงเวลาการทํางานเท่ากับช่วงเวลาการเคลือนทีกลับ
4 : ไม่มข
ี ้อถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 200 :
่ ลไกประเภท Quick-Return
กลไกข ้อใดไม่ใชก

1 : Drag Link
2 : Whitworth
3 : Scotch Yoke
4 : Crank Shaper
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 201 :
กลไก Crank & Rocker ดังภาพ จะมีคา่ Time ratio =?

1 : 0.3
2 : 1.0
3 : 1.3
4 : 1.5
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 202 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 48/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
โจทย์แสดงเป็ นรูปภาพ

1 : 1.05
2 : 1.30
3 : 1.35
4 : 1.5
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 203 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 49/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
โจทย์แสดงเป็ นรูปภาพ

1 : 1.554
2 : 1.354
3 : 1.278
4 : 1.05
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 204 :
กลไกดังภาพ ถ ้า a = และมีคา่ f = กลไกนีจะมีคา่ Time ratio = ?

1 : 1.25
2 : 1.15
3 : 1.05
4 : 1.03
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 205 :
่ เิ นแมติกเชงิ บังคับ 6-ข ้อต่อ สามารถมีข ้อต่อทีมีรอยต่อสูงสุดได ้กีรอยต่อ
โซค

1 : 3 รอยต่อ
2 : 2 รอยต่อ
3 : 4 รอยต่อ
4 : 5 รอยต่อ

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 50/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 206 :
ในการออกแบบกลไก 4-ข ้อต่อแบบ Grashof crank-rocker ถ ้ากําหนดตําแหน่งของแขนแกว่งมาให ้ 2 ตําแหน่ง ดังแสดง
ในรูป การกําหนดขนาดของข ้อต่อทีเหลือจะเริมต ้นทีใดก่อน

1:
เลือกตําแหน่งของจุดหมุน O2 บนเส ้นทีลากต่อระหว่าง จุด B1และ B2 ทีต่อยาวออกไปในทิศใดก็ได ้ ซึงจะเป็ นการกําหนดความยาวของข ้อต่อ 1
ไปในตัว
2 : เลือกความยาวของข้อต่อ 2 ก่อน
3:
เลือกความยาวของก ้านส่ง 3 ก่อน
4:
กําหนดความยาวของข ้อต่อ 1 เป็ นทีแน่นอนก่อน
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 207 :
ในการออกแบบกลไก 4-ข ้อต่อ ทีกําหนดตําแหน่งของก ้านสง่ CD มา 2 ตําแหน่ง ดังในรูปขันตอนแรกของการออกแบบ
คือการกําหนดจุดหมุน O2และ O4 ดังนี

1:
บนเส ้นแบ่งครึงตังฉากกับ C1C2และD1D2 เลือกจุดหมุน O2 และ O4 ตามลําดับ
2:
บนเส ้นแบ่งครึงตังฉากกับ C1D1 และ C2D2 เลือกจุดหมุน O2 และ O4 ตามลําดับ
3:
จุด O2 และ O4 ไม่สามารถกําหนดได ้เนืองจากโจทย์ให ้ตําแหน่งของข ้อต่อ CD มาเพียง 2ตําแหน่ง
4:
บนเส ้นแบ่งครึงตังฉากกับ C1D2 และ C2D1 เลือกจุดหมุน O2และ O4 ตามลําดับ
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 208 :
ข ้อใดเป็ นคําตอบทีถูกต ้องในการออกแบบกลไก 4-ข ้อต่อ แบบ Crank-rocker เมือกําหนดตําแหน่งของแขนแกว่ง
(Rocker) มา 2 ตําแหน่งดังรูป

1:
เมือกลไกทีได ้ไม่เป็ นกลไกกราชอฟ ให ้เลือกตําแหน่งจุดหมุน O2 และ O4 ใหม่
2:
เมือกลไกทีได ้ป็ นกลไกกราชอฟ ให ้เลือกตําแหน่งจุดหมุน O2 และ O4 ใหม่
3:

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 51/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
เมือกลไกทีได ้ไม่เป็ นกลไกกราชอฟ ให ้ตรวจสอบมุมส่งทอดให ้ได ้มุมส่งทอดทีเล็กทีสุด
4:
เมือกลไกทีได ้เป็ นกลไกกราชอฟ ให ้เลือกตําแหน่งจุดหมุน O2 และ O4 ใหม่พร ้อมตรวจสอบมุมส่งทอดให ้ได ้มุมส่งทอดทีเล็กทีสุด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 209 :
ุ หมุนบนแท่นเครืองห่างกัน 65 มม. ข ้อต่อตัวขับยาว 20 มม. ก ้านยาวสง่ 44 มม. และข ้อต่อตัว
กลไก 4-ข ้อต่อตัวหนึง มีจด
ตามยาว 52 มม. กลไกนีจะมีมม ุ แกว่งกีองศา

1 : 30
2 : 45
3 : 60
4 : 90
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 210 :
กลไก 4-ข ้อต่อตัวหนึง มีจด ่ บนแท่นเครืองห่างกัน 60 มม. ข ้อต่อตัวขับยาว 20 มม. และข ้อต่อก ้านสง่ ยาว 40 มม. และ
ุ หมุน
ข ้อต่อตัวตามยาว 45 มม. กลไกนีจะมีมมุ แกว่งกีองศา

1 : 35
2 : 53
3 : 71
4 : 85
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 211 :
สําหรับการทํางานของกลไกในรู ป จุดทีต้องอยูก่ บั ทีคือ

1 : จุด O
2 : จุด B
3 : จุด D
4 : ไม่จาํ เป็ นต้องมี
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 212 :
จากกลไก Offset slider crank ดังรู ป จงหามุมการส่ งถ่ายแรง (Transmission angle)

1 : 300
2 : 600
3 : 23.60
4 : 66.40
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 213 :
Contour Cam ดังรู ป q2 และ q3 เป็ น angular displacement ของ elements 2 และ 3 ตามลําดับ function ทีแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง q2 และ q3 ของระบบ cam ดัง
กล่าว ทีไม่สามารถสร้างได้คือ
http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 52/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1 : linear function
2 : square function
3 : logarithmic function
4 : trigonometric function
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 214 :
โครงสร้างของกลไกทีปั ดนําฝนในรู ปมีหน้าที

1 : ทําให้สวยงาม
2 : เพิมความแข็งแรง
3 : กระจายแรง
4 : ถูกทุกข้อ
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 215 :
จากกลไกสี ชิน (four-bar mechanism) ในรู ป จงหาค่าตําแหน่งเชิงมุมของชินส่ วนหมายเลข 2 ทีทําให้ชินส่ วนหมายเลข 4 กวาดไปทางขวามือได้ไกลทีสุ ด

1 : 39.84๐
2 : 40.84

3 : 41.84๐
4 : 42.84

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

เนือหาวิชา : 262 : 10. Example of Mechanism 1

ข ้อที 216 :

กลไกทีใชในการถ่ ้ ไม่ขนานกันคือ
ายทอดการหมุนระหว่างเพลา 2 เสนที

1 : Universal joint
2 : Plate clutch
3 : Oldham coupling
4 : Jaw clutch
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 53/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

ข ้อที 217 :
้ ง่ ถ่ายการเคลือนทีจากเพลากลางของรถยนต์ไปเข ้าชุดเฟื องท ้ายคือ
กลไกทีใชในส

1 : Plate clutch
2 : Universal joint
3 : Oldham coupling
4 : Jaw clutch
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 218 :

กลไกทีใชในการถ่ ้ ไม่ขนานกันคือ
ายทอดการหมุนระหว่างเพลา 2 เสนที

1 : Oldham coupling
2 : Clutch
3 : Hooke’s joint
4 : Jaw clutch
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 219 :
้ ง่ ถ่ายการเคลือนทีจากเพลากลางของรถยนต์ไปเข ้าชุดเฟื องท ้ายคือ
กลไกทีใชในส

1 : Oldham coupling
2 : Plate clutch
3 : Jaw clutch
4 : Hooke’s joint
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 220 :

ข ้อใดเป็ นกลไกทีสร ้างมาเพือใชในการลอกแบบ ทังขยายหรือ ย่อขนาด

1 : Peaucellier
2 : Watt
3 : Pantograph
4 : Scotch-Russel
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 221 :
กลไกของเครืองฉายภาพยนต์แบบใชฟิ้ ลม์อาศย
ั การทํางานของข ้อต่อทีสามารถสร ้างสว่ นโค ้งชนิด

1 : Banana
2 : Cycloid
3 : Crunode
4 : Half Moon
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 222 :
ในกลไกอุปกรณ์บงั คับเลียวของรถยนต์ แบบ Ackermann มุมองศาทีเท่าไหร่จะทําให ้ล ้อกลิงเกือบจะไม่มก
ี ารไถล

1 : 10
2 : 15
3 : 25
4 : 30
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 223 :
้ ยนรูปวงรี คือ
กลไกทีใชเขี

1 : Scotch yoke
2 : Oldham
3 : Peaucellier
4 : Hart

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 54/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 224 :
้ ยนเสนตรง
กลไกทีใชเขี ้ เรียกว่า

1 : Peaucellier
2 : Scotch yoke
3 : Oldham
4 : Pantograph
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 225 :
ื ยกว่าอะไร
กลไกดังรูปมีชอเรี

1 : Slider Crank
2 : Crank Shaper
3 : Scotch Yoke
4 : Straight Line
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 226 :
ื ยกว่าอะไร
กลไกดังรูปมีชอเรี

1 : Scotch Yoke
2 : Chamber Wheel
3 : Quick-Return
4 : Pantograph
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 227 :
กลไกดังรู ปมีชือเรี ยกว่าอะไร

1 : Chamber Wheel
2 : Scotch Yoke
3 : Crank Shaper
4 : Quick-Return
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 55/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

ข ้อที 228 :
ื ยกว่าอะไร
กลไกดังรูปมีชอเรี

1 : Pantograph
2 : Straight Line
3 : Crank Shaper
4 : Scotch Yoke
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 229 :
คําตอบข ้อใดไม่ถก
ู ต ้อง

1 : คีมล็อคในรูปเป็ นโซ่คเิ นแมติก 4-ข ้อต่อ


2 : แรงบีบหรือจับ Q ทีมีขนาดสูงมาก เป็ นผลจากหลักการทีเรียกว่า toggle effect
3 : แรงบีบหรือจับ Q ทีมีขนาดสูงมาก เกิดจากแขนของโมเมนต์ BC ทียาวกว่าระยะ AB
4 : การเลือนของรอยต่อ A ไม่สง่ ผลต่อ toggle effect
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 230 :

Coupler Curve หมายถึง เสนโค ้งใด

1 : เป็ นเส ้นโค ้งทีได ้จากจุดทีอยูบ


่ นก ้านส่งของกลไก 4-ข ้อต่อ ลากหรือเขียนไปบนระนาบทีอยูก ่ บ
ั ที
2 : เป็ นเส ้นโค ้งทีได ้จากจุดทีอยูบ่ นเส ้นรอบวงของวงกลมทีกลิงไปบนพืนราบโดยไม่มก ี ารไถล ลากไปบนระนาบทีอยูก
่ บ
ั ที
3 : เป็ นเส ้นโค ้งทีได ้จากจุดทีอยูบ ่ นข ้อเหวียงของกลไก 4-ข ้อต่อ ลากหรือเขียนไปบนระนาบทีอยูก ่ บ
ั ที
4 : หมายถึงรูปวงรีทได ี ้จากเครืองเขียนวงรี เขียนไปบนระนาบทีอยูก ่ บ
ั ที
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 231 :

กลไกไปชากลั ้
บเร็ว (quick return mechanism) เป็ นกลไกทีถูกนํ ามาใชงานแบบใด

1 : กลไกจะถูกขับด ้วยความเร็วของข ้อเหวียงคงที ในช่วงทํางาน ข ้อต่อทีทํางานจะเคลือนทีช ้า แต่ชว่ งเคลือนทีกลับจะเร็ว


2 : กลไกจะถูกขับด ้วยความเร็วไม่คงที ขณะทํางานจะขับช ้า เนืองจากขณะทํางานมีภาระสูง ขณะเคลือนทีกลับจะเป็ นช่วงเวลาทีสัน
3 : กลไกจะเคลือนทีขณะทํางานเร็ว เพือให ้ได ้งาน เวลาเคลือนทีกลับ ไม่ต ้องการงานจะเคลือนทีช ้า
4 : กลไกจะถูกขับด ้วยความเร็วของข ้อเหวียงทีคงที แต่ชว่ งทํางานจะเคลือนทีเร็ว เพือใช ้กําลังสูงสุด ช่วงดึงกลับจะดึงกลับช ้าเพือใช ้กําลังตําสุด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 232 :
ู ต ้อง สําหรับกลไกสเหลี
ข ้อใดทีไม่ถก ี ยมด ้านขนาน

1 : เป็ นกลไกทีไม่สามารถนํ ามาใช ้ประโยชน์ได ้ เนืองจากมีจดุ เปลียน


2 : เป็ นกลไก 4-ข ้อต่อทีมีตําแหน่งจุดเปลียน
3 : เป็ นกลไก 4-ข ้อต่อทีมีข ้อเหวียงกับตัวตามมีความยาวเท่ากัน
4 : เป็ นกลไกทีนํ ามาประยุกต์ใช ้ส่งทอดการเคลือนทีกับล ้อขับของรถไฟ โดยแต่ละล ้อจะหมุนด ้วยความเร็วทีเท่ากัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 233 :

กลไกทีใชในการถ่ ้ ไม่ขนานกันคือ
ายทอดการหมุนระหว่างเพลา 2 เสนที
http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 56/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1 : Helical gears
2 : Plate clutch
3 : Oldham coupling
4 : Jaw clutch
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 234 :
้ ด-ต่อเพือถ่ายทอดการหมุนระหว่างเพลา 2 เสน้ คือ
กลไกทีใชในการตั

1 : Oldham coupling
2 : Clutch
3 : Hooke,s joint
4 : ใช ้ได ้ทุกตัว
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 235 :
กลไกทีปั ดนําฝนของรถยนต์เป็ นกลไกแบบ

1 : Drag-link
2 : Crank-rocker
3 : Double-rocker
4 : Slider-crank
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 236 :
Kinematics Diagram ทีใช้แทนลูกสู บ ก้านต่อ และ เพลาข้อเหวียง ในเครื องยนต์เผาไหม้ภายในเป็ น

1 : four-bar linkage
2 : slider-crank mechanism
3 : inverse slider-crank mechanism
4 : quick - return mechanism
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 237 :
กลไกการทํางานของเครื องยนต์รถยนต์เป็ นกลไกแบบ

1 : Drag-link
2 : Crank-rocker
3 : Double-rocker
4 : Slider-crank
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 238 :
กลไกสําหรับถีบจักรเย็บผ้าจัดว่าเป็ น

1 : Drag-link
2 : Rocker-crank
3 : Double-rocker
4 : Slider-crank
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

เนือหาวิชา : 263 : 11. Example of Mechanism 2

ข ้อที 239 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 57/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
กลไกในรูปเรียกว่า

1 : Pantograph
2 : Tchebysheff’s four-bar mechanism
3 : Engine Indictor
4 : The Hart mechanism
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 240 :
้ สําหรับ
กลไกในรูปใชประโยชน์

1 : เขียนกราฟความดัน-ปริมาตรของเครืองยนต์
2 : ลอกแบบ
3 : เขียนเส ้นตรงแท ้
4 : เขียนเส ้นเกือบตรง
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 241 :
้ สําหรับ
กลไกในรูปใชประโยชน์

1 : เขียนกราฟความดัน-ปริมาตรของเครืองยนต์
2 : เขียนเส ้นตรงแท ้
3 : ลอกแบบ
4 : เขียนเส ้นเกือบตรง
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 242 :
กลไกในรูปเรียกว่า

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 58/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1 : The Hart mechanism


2 : Tchebysheff’s four-bar mechanism
3 : Engine Indictor
4 : Pantograph
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 243 :
กลไกดังรูปเรียกว่า

1 : Watt Chain
2 : Steohenson chain
3 : Kinematic Chain
4 : Stephenson chain
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 244 :
ื ยกว่าอะไร
จากรูป ลักษณะของตัวตามมีชอเรี

1 : Knife-edged
2 : Flat-faced
3 : Spherical-faced
4 : Roller
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 245 :
http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 59/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
ื า
กลไกในรูปมีชอว่

1 : Watt Chain
2 : Stephenson Chain
3 : Linkage Chain
4 : Scoth Yoke
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 246 :
กลไกในภาพใชกั้ บอุปกรณ์

1 : เครืองบดหิน
2 : เตรืองเขียนแบบ
3 : รถยนต์
4 : เรือ
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 247 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 60/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
้ ปกรณ์
กลไกในภาพใชในอุ

1 : อุปกรณ์เขียนวงร๊
2 : อุปกรณ์เขียนแบบ
3 : อุปกรณ์รอกผ่อนแรง
4 : อุปกรณ์ชงิ ช ้า
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 248 :
ื ยกว่าอะไร
จากรูป ลักษณะของตัวตามมีชอเรี

1 : Knife-edged
2 : Flat-faced
3 : Spherical-faced
4 : Roller
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 249 :
จากรู ป ลักษณะของตัวตามมีชือเรี ยกว่าอะไร

1 : Knife-edged
2 : Flat-faced
3 : Spherical-faced
4 : Roller
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 250 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 61/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
จากรู ป ลักษณะของตัวตามมีชือเรี ยกว่าอะไร

1 : Knife-edged
2 : Flat-faced
3 : Spherical-faced
4 : Roller
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 251 :
กลไกตัวอย่างจากเครืองมือเขียนแบบทีเรียกว่า Universal drafting machine ในรูปข ้อใดไม่ถก
ู ต ้อง

1 : เครืองมือนีเป็ นกลไก 8-ข ้อต่อ ทีได ้จากกลไก 4-ข ้อต่อ นํ ามาต่อกัน โดยมีข ้อต่อทุกข ้อเป็ นข ้อต่อทวิภาคหรือข ้อต่อทีมี 2 รอยต่อ (binary link)
2 : เครืองมือนีเป็ นกลไก 8-ข ้อต่อ ทีมีข ้อต่อทีมีรอยต่อสูงสุด 4 รอยต่อ หรือมีข ้อต่อหนึงเป็ น ข ้อต่อจตุภาค (quaternary link)
3 : เครืองมือเขียนแบบนีได ้จากกลไก 4-ข ้อต่อ แบบมีจด ุ เปลียน
4 : เมือกลไกเคลือนที ไม ้ฉากจะเคลือนทีขนานกับแนวเดิมเสมอ
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 252 :
คีมล็อกสามารถจับล็อกชินงานด้วยแรง Q ทีสู งมาก การล็อกเกิดขึนได้โดย

1 : อาศัยตําแหน่งจุดตายของกลไก เมือข ้อต่อ AB และ BC เคลือนทีมาเรียงอยูใ่ นแนวเส ้นตรงเดียวกัน


2 : อาศัยตําแหน่งจุดตายของกลไก เมือข ้อต่อ OA และ AB ทํามุมฉากกันพอดี
3 : เมือจุด B, C และ D เรียงอยูใ่ นแนวเส ้นตรงเดียวกัน
4 : เมือเรากดข ้อต่อ EF เพือให ้ข ้อต่อ AB และ EF อยูใ่ นแนวเส ้นตรงเดียวกัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 253 :
กลไกบดหินในรูปเป็ นกลไกกีข ้อต่อ

1 : กลไก 6 ข ้อต่อ
2 : กลไก 8 ข ้อต่อ
3 : กลไก 4 ข ้อต่อ 2 ชุด มาต่อเข ้าด ้วยกัน
4 : กลไก 7 ข ้อต่อ
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 62/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

ข ้อที 254 :
่ เิ นแมติกแบบใด
คีมล๊อกในรูปเป็ นโซค

1 : เป็ นโซ่คเิ นแมติก 4-ข ้อต่อ


2 : เป็ นโซ่คเิ นแมติกแบบบังคับไม่ได ้ในขณะล๊อก
3 : เป็ นโซ่คเิ นแมติกแบบ 6-ข ้อต่อ
4 : คีมล๊อกไม่ใช่โซ่คเิ นแมติก
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 255 :
กลไกในรูปเรียกว่า

1 : Whitworth Mechanism
2 : Tchebysheff,s four-bar mechanism
3 : Engine Indictor
4 : Pantograph
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 256 :
้ สําหรับ
กลไกในรูปใชประโยชน์

1 : เขียนกราฟความดัน-ปริมาตรของเครืองยนต์
2 : เขียนเส ้นตรงแท ้
3 : ลด/เพิมขนาดรูปเขียน
4 : เขียนเส ้นเกือบตรง
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 257 :
อุปกรณ์ในรู ป คือ

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 63/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1 : Oldham coupling
2 : Constant velocity joint
3 : Universal joint
4 : Thompson coupling
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 258 :
Geneva wheel เพลา O1 หมุนด้วยความเร็ ว W1 คงที motion ทีเกิดขึนทีเพลา O2 คือ

1: continuous motion with constant W2


2: continuous motion with varying W2
3: intermittent motion with constant W2
4: intermittent motion with varying W2
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 259 :
อุปกรณ์ในรู ป คือ

1 : Oldham coupling
2 : Scotch yoke
3 : Universal joint
4 : Thompson coupling
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 260 :
อุปกรณ์ในรู ป คือ

1 : Universal joint

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 64/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
2 : Constant velocity joint
3 : Oldham coupling
4 : Thompson coupling
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

เนือหาวิชา : 264 : 12. Example of Mechanism 3

ข ้อที 261 :
ถ ้าต ้องการสง่ ถ่ายความเร็วด ้วยอัตราทดแน่นอนและเสย
ี งเงียบ ท่านจะเลือกใชอุ้ ปกรณ์ใด

1 : เฟื อง
2 : โซ่
3 : สายพาน
4 : ไม่มขี ้อใดถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 262 :
อุปกรณ์สง่ ถ่ายความเร็วใดทีควรมีราคาแพงทีสุด

1 : ชุดเฟื องทด
2 : โซ่
3 : สายพาน
4 : ราคาใกล ้เคียงกัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 263 :
อุปกรณ์สง่ ถ่ายความเร็วใดทีควรมีราคาถูกทีสุด

1 : เฟื อง
2 : โซ่
3 : สายพาน
4 : ราคาใกล ้เคียงกัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 264 :
อุปกรณ์สง่ ถ่ายความเร็วใดทีถอดเปลียนง่ายทีสุด

1 : เฟื อง
2 : โซ่
3 : สายพาน
4 : เหมือนกัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 265 :

Coupling ทีใชของไหลเป็ นตัวสง่ ผ่านการเคลือนทีคือ Coupling ชนิดใด

1 : Rigid Coupling
2 : Flexible Coupling
3 : Fluid Coupling
4 : Hooke’s Coupling
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 266 :
Oldham Coupling ทําหน ้าที

1 : เชือมเพลาทีขนานกัน อยูร่ ะนาบเดียวกันเข ้าด ้วยกัน


2 : เชือมเพลาทีขนานกัน อยูเ่ ยืองกันเล็กน ้อยเข ้าด ้วยกัน
3 : เชือมเพลาทีไม่ขนานกัน อยูท ่ ํามุมกันเล็กน ้อยเข ้าด ้วยกัน
4 : เชือมเพลาทีขนานกัน และทํามุม มากกว่า 30 องศาเข ้าด ้วยกัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 267 :
http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 65/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
Hooke Joint คือข ้อต่อ

1 : ใช ้ต่อเพลา 2 เพลาทีอยูใ่ นระนาบเดียวกัน ไม่ขนานกัน และทํามุมกัน เข ้าด ้วยกัน


2 : ใช ้ต่อเพลา 2 เพลาทีไม่อยูใ่ นระนาบเดียวกัน ขนานกัน และทํามุมกัน เข ้าด ้วยกัน
3 : ใช ้ต่อเพลา 2 เพลาทีอยูใ่ นระนาบเดียวกัน ขนานกัน และเยืองกัน เข ้าด ้วยกัน
4 : ใช ้ต่อเพลา 2 เพลาทีอยูใ่ นระนาบเดียวกัน ขนานกัน เข ้าด ้วยกัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 268 :
Cognate Linkages คือ อุปกรณ์

1 : กลไกทีใช ้เขียนเส ้นโค ้งวงกลม


2 : กลไกทีใช ้เขียนเส ้นตรง
3 : กลไกทีใช ้เขียนเส ้นโค ้ง Cognate Curve
4 : กลไกทีใช ้เขียนเส ้นโค ้ง Coupler Curve
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 269 :
กลไกในรูปใช ้

1 : ในเครืองยนต์ของเครืองบิน
2 : เขียนรูปวงรี
3 : เครืองสูบนํ า
4 : เครืองจักรกลหนัก
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 270 :

Coupling ทีใชในการเช ื
อมต่ ้
อระหว่างเพลาทีอยูใ่ นแนวเสนตรงเดี
ยวกันคือ Coupling ชนิดใด

1 : Rigid Coupling
2 : Flexible Coupling
3 : Fluid Coupling
4 : Hooke’s Coupling
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 271 :
Coupling ทีใชต่้ อเพลาทีทํามุมซงกั
ึ นและกันคือ Coupling ชนิดใด

1 : Rigid Coupling
2 : Flexible Coupling
3 : Fluid Coupling
4 : Hooke’s Coupling
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 66/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

ข ้อที 272 :

Coupling ทีใชในการต่
อเพลาทีขนานกันแต่ไม่ได ้อยูใ่ นแนวเดียวกันคือ Coupling ชนิดใด

1 : Rigid Coupling
2 : Oldham Coupling
3 : Fluid Coupling
4 : Hooke’s Coupling
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 273 :

แพนโตกร๊าฟ (Pantograph) เป็ นกลไกทีใชลอกรู
ปทังแบบขยายและย่อขนาด คําตอบข ้อใดไม่ถก
ู ต ้อง

1 : จุด A จะวาดรูปเดียวกันกับจุด C แต่มขี นาดทีย่อส่วนลง


2 : จุด P จะวาดรูปเดียวกันกับจุด C แต่มข
ี นาดทีย่อส่วนลง
3 : แพนโตกร๊าฟเป็ นกลไกทีได ้จากกลไกสีเหลียมด ้านขนาน
4 : กลไกสีเหลียมด ้านขนานเป็ นกลไกทีมีจด ุ เปลียน
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 274 :
กลไกในรูปคือ

1 : แพนโตกร๊าฟ (Pantograph) ชนิดหนึง เป็ นกลไกทีใช ้ลอกรูปทังแบบขยายและย่อขนาด


ุ หนึงเคลือนทีเกือบเป็ นเส ้นตรง (Approximate straight-line mechanism)
2 : กลไกทีมีจด
3 : กลไกทีมีจดุ หนึงเคลือนทีเป็ นเส ้นตรงแท ้ (Exact straight-line mechanism)
4 : กลไกผ่อนแรงทีใช ้ toggle effect
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 275 :
กลไกในรู ปคือ

1 : กลไกผ่อนแรง (Toggle mechanism) ทีอาศัยหลักการของ toggle effect


2 : กลไกล็อกทีอาศัย toggle effect
3 : กลไกแพนโตกร๊าฟทีใช ้ในการบดหิน
4 : กลไกป้ อนหินอัตโนมัตท
ิ ได
ี ้จากกลไกของวัตต์
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 67/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

ข ้อที 276 :
ข ้อใดถูกต ้อง จากกลไกในรูป

1:
แรง Q จะสูงสุดเมือข ้อต่อ 5 และ 4 อยูใ่ นแนวเส ้นตรงเดียวกัน เมือจุด A ทับกับ A’
2:
แรง Q จะสูงสุดเมือข ้อต่อ 3 และ 2 อยูใ่ นแนวเดียวกัน หรือ A O2 A’ อยูใ่ นแนวเส ้นตรงเดียวกัน
3 : แรง Q จะน้อยสุ ดเมือข้อต่อ 5 และ 4 อยูใ่ นแนวเส้นตรงเดียวกัน เมือจุด Aทับกับ A’
4:
แรง Q จะน ้อยสุดเมือข ้อต่อ 3 และ 2 อยูแ ่ นวเดียวกัน หรือ A O2 A’ อยูใ่ นแนวเส ้นตรงเดียวกัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 277 :
อุปกรณ์สง่ ถ่ายกําลังทีสามารถดูดซบ
ั พลังงานการกระแทกได ้ดี ได ้แก่

1 : เฟื อง
2 : โซ่
3 : สายพาน
4 : มีความสามารถใกล ้เคียงกัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 278 :
อุปกรณ์สง่ ถ่ายความเร็วใดทีมีอต
ั ราทดแทนเปลียนไปมาได ้ตลอดเวลา

1 : ชุดเฟื องทด
2 : โซ่
3 : สายพาน
4 : ไม่มข
ี ้อใดถุก
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 279 :
อุปกรณ์ในรู ป คือ

1 : Oldham coupling
2 : Constant velocity joint
3 : Universal joint
4 : Thompson coupling
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 280 :
Scotch Yoke ดังรู ป ถ้าความยาวของ link 2 (O2P) เท่ากับ 50 มม. ความยาวของ Slot hole 3 (AB) เท่ากับ 150 มม. Stroke ของ Yoke 4 จะมีค่าเท่ากับ

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 68/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1 : 25 มม.
2 : 50 มม.
3 : 75 มม.
4 : 100 มม.
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 281 :
อุปกรณ์ในรู ป คือ

1 : Oldham coupling
2 : Scotch yoke
3 : Universal joint
4 : Thompson coupling
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 282 :
อุปกรณ์ในรู ป คือ

1 : Geneva wheel
2 : Constant velocity joint
3 : Universal joint
4 : Thompson coupling
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

เนือหาวิชา : 265 : 13. Velocity 1

ข ้อที 283 :
ิ ข ้อเหวียง O2A ยาว 15 ซม. ก ้านต่อ AB
กลไกลูกสูบในรูปหมุนด ้วยความเร็วเชงิ มุม 1 เรเดียนต่อวินาที ทวนเข็มนาฬกา
ยาว 60 ซม. จุด C อยูบ
่ น AB โดยที AC = 15 ซม. ความเร็วของจุด C มีคา่ เท่ากับ

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 69/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1 : 17.2 cm
2 : 18.2 cm
3 : 20.4 cm
4 : 24.1 cm
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 284 :
ิ ข ้อเหวียง O2A ยาว 15 ซม. ก ้านต่อ AB
กลไกลูกสูบในรูปหมุนด ้วยความเร็วเชงิ มุม 1 เรเดียนต่อวินาที ทวนเข็มนาฬกา
ยาว 60 ซม. จุด C อยูบ
่ น AB โดยที AC = 20 ซม. ความเร็วของจุด C มีคา่ เท่ากับ

1 : 17.2 cm
2 : 18.2 cm
3 : 20.4 cm
4 : 24.1 cm
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 285 :
ิ ข ้อเหวียง O2A ยาว 15 ซม. ก ้านต่อ AB
กลไกลูกสูบในรูปหมุนด ้วยความเร็วเชงิ มุม 1 เรเดียนต่อวินาที ทวนเข็มนาฬกา
ยาว 60 ซม. จุด C อยูบ
่ น AB โดยที AC = 30 ซม. ความเร็วของจุด C มีคา่ เท่ากับ

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 70/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1 : 17.2 cm
2 : 18.2 cm
3 : 20.4 cm
4 : 24.1 cm
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 286 :
ิ ข ้อเหวียง O2A ยาว 15 ซม. ก ้านต่อ AB
กลไกลูกสูบในรูปหมุนด ้วยความเร็วเชงิ มุม 1 เรเดียนต่อวินาที ทวนเข็มนาฬกา
ยาว 60 ซม. จุด C อยูบ
่ น AB โดยที AC = 45 ซม. ความเร็วของจุด C มีคา่ เท่ากับ

1 : 17.2 cm
2 : 18.2 cm
3 : 20.4 cm
4 : 24.1 cm
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 287 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 71/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
ั พัทธ์ Vc/a = ?
ถ ้า Crank Slider หมุนด ้วยความเร็ว 600 รอบ/นาที จะมีความเร็วสม

1 : 6.28 rad/sec
2 : 62.8 cm/sec
3 : 86.7 cm/sec
4 : 628 mm/sec
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 288 :
ั พัทธ์ Vc/a = ?
ถ ้า Crank Slider หมุนด ้วยความเร็ว 60 รอบ/นาที จะมีความเร็วสม

1 : 8.67 cm/sec
2 : 62.8 cm/sec
3 : 62.8 rad/sec
4 : 628 mm/sec
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 289 :
ั พัทธ์ Vb/a = ?
ถ ้า Crank Slider หมุนด ้วยความเร็ว 1,200 รอบ/นาที จะมีความเร็วสม

1 : 12.56 rad / sec


2 : 125.6 cm/sec
3 : 520 cm /sec
4 : 1,256 mm/sec
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 290 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 72/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
ั พัทธ์ Vb/a= ?
ถ ้า Crank Slider หมุนด ้วยความเร็ว 60 รอบ/นาที จะมีความเร็วสม

1 : 26 cm/sec
2 : 37 cm/sec
3 : 47 rad/sec
4 : 8.67 mm/sec
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 291 :
จากรูป ความเร็วของจุด B2 เทียบกับจุด B4 จะอยูใ่ นแนวใด

1 : แนวของชินต่อโยง 2
2 : แนวของชินต่อโยง 4
3 : ตังฉากกับชินต่อโยง 2
4 : ตังฉากกับชินต่อโยง 4
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 292 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 73/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
จากรูป ทิศของความเร็วของจุด B2 เทียบกับจุด B4 คือข ้อใด

1 : แนวของชินต่อโยง 2 และพุง่ ขึน


2 : แนวของชินต่อโยง 2 และพุง่ ลง
3 : แนวของชินต่อโยง 4 และพุง่ ขึน
4 : แนวของชินต่อโยง 4 และพุง่ ลง
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 293 :
จากรู ป ความเร็ วของจุด B4 เทียบกับจุด B2 จะอยูใ่ นแนวใด

1 : แนวของชินต่อโยง 2
2 : แนวของชินต่อโยง 4
3 : ตังฉากกับชินต่อโยง 2
4 : ตังฉากกับชินต่อโยง 4
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 294 :
จากรู ป ความเร็ วของจุด B4 เทียบกับจุด B2 จะอยูใ่ นแนวใด

1 : แนวของชินต่อโยง 2 และพุง่ ลง
2 : แนวของชินต่อโยง 2 และพุง่ ขึน
3 : แนวของชินต่อโยง 4 และพุง่ ลง
4 : แนวของชินต่อโยง 4 และพุง่ ขึน
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 74/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

ข ้อที 295 :
คําตอบข ้อใดถูกต ้อง กําหนดให ้ มาตราสว่ นรูป คือ kS [cm/cm] มาตราสว่ นความเร็วคือ kV [cm/s/cm]

1:
ิ ^ กับ AC
จากรูปเหลียมของความเร็ว ขนาดของความเร็วสัมพัทธ์ VC/A= kV(ac) cm/s มีทศ
2:
จากรูปเหลียมของความเร็ว ขนาดของความเร็วสัมพัทธ์ VC/B= kV(bc) cm/s มีทศ
ิ จาก B ไป C
3:
ิ ^ กับ O4B
จากรูปเหลียมของความเร็ว ขนาดของความเร็วสัมพัทธ์ VB/A= kV(ab) cm/s มีทศ
4:
จากรูปเหลียมของความเร็ว ขนาดของความเร็วสัมพัทธ์ VB/C= kV(bc) cm/s มีทศ
ิ จาก C ไป B
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 296 :
คําตอบข ้อใดถูกต ้อง กําหนดให้ มาตราส่ วนรู ป คือ kS [cm/cm] มาตราส่ วนความเร็ วคือ kV [cm/s/cm]

1:
จากรูปสามเหลียม ABC และ abc เป็ นสามเหลียมคล ้าย
2 : จากรู ปขนาดของ ac เมือคูณกับมาตราส่ วนรู ป kS จะได้ขนาดของความเร็ วVC/A
3:
จากรูปสามเหลียม ABC และ abc ไม่มคี วามเกียวข ้องใดๆกัน
4:
จากรูปสามเหลียม abc ในรูปเหลียมของความเร็วเป็ นภาพเสมือนของข ้อต่อ ABC ทีหมุนทวนเข็มเป็ นมุมใดๆ
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 297 :
กลไก -ข้อต่อในรู ป ให้ w2 มาต้องการหา w4 จะต้องใช้สมการใดคํานวณ

1:
VB2 = VB3
VB4 = VB3 +VB4/B3
และ w4 = VB4/BOB
2:
VB2 = VB3
VB4 = VB3 +VB4/B3
และ w4 = VB4/B3/BOB
3:
VB3 = VB4

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 75/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
VB4 = VB2 +VB4/B2
และ w4 = VB4/B2/BOB
4:
VB2 = VB3
VB4 = VB3 +VB4/B3
และ w4 = VB3/BOB
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 298 :
ในรูปเป็ นกลไก 4-ข ้อต่อ เมือทราบขนาดของข ้อต่อต่าง และขนาดของ w2 ความเร็ว VB2 หาได ้จาก

1:
VB2 = VB3 = AOB x w2
2:
VB2 = VB4 = AOB x w2
3:
VB2 = VB3 = AOB x w4
4:
VB2 = VB4 = AOB x w4
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 299 :
กลไกชนิดหนึงมีจาํ นวนข้อต่อ 8 ข้อ กลไกนีมีจาํ นวนจุดหมุนเฉพาะกาลกีจุด

1 : 26
2 : 27
3 : 28
4 : 29
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 300 :
linkage ดังรู ป ถ้า link 2 (O2A) มีความเร็ ว w2 แล้ว และ link 4 (O4B) มีความเร็ ว w 4 ความเร็ ว w 4 จะมีค่าเท่ากับ

1:

2:

3:

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 76/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 301 :
คํากล่าวใดไม่ถูกต้อง

1 : วัตถุเกร็ งทีเคลือนทีบนระนาบสองมิติ จะมีจุดหมุนเฉพาะกาลเสมอ


2:
วัตถุเกร็ งทีเคลือนทีบนระนาบสองมิติจะมีจุดหมุนเฉพาะกาลก็ต่อเมือวัตถุมีความเร็ วเชิงมุมเท่านัน
3 : วัตถุเกร็ งสามชินทีเคลือนทีบนระนาบสองมิติจะมีจุดหมุนเฉพาะกาล 3 จุดเสมอ
4:
วัตถุเกร็ ง n ชินทีเคลือนทีบนระนาบสองมิติ จะมีจุดหมุนเฉพาะกาล
n(n-1)/2 จุด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 302 :
จากกลไกดังรู ป ข้อต่อไปนีเป็ นคํากล่าวทีถูกต้อง

1:
จุด A มีความเร็ วสัมบูรณ์พงุ่ ไปทางขวามือ
2 : ความเร็ วสัมบูรณ์ของจุด A คือ
3 : ความเร็ วสัมบูรณ์ของจุด A คือ
4 : ความเร็ วสัมบูรณ์ของจุด A คือ
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 303 :
จากกลไกทีให้มาดังรู ป จงหาความเร็ วของจุด C

1 : 450 มิลลิเมตรต่อวินาที ทิศพุง่ ไปทางซ้าย


2 : 450 มิลลิเมตรต่อวินาที ทิศพุง่ ไปทางขวา
3 : 900 มิลลิเมตรต่อวินาที ทิศพุง่ ไปทางซ้าย
4 : 900 มิลลิเมตรต่อวินาที ทิศพุง่ ไปทางขวา
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 304 :
กลไกชนิดหนึงมีจาํ นวนข้อต่อ 6 ข้อ กลไกนีมีจาํ นวนจุดหมุนเฉพาะกาลกีจุด

1 : 15
2 : 16
3 : 17
4 : 18
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 305 :
จงหาความเร็ วของจุด B

1 : 1.5000i + 1.5000j m/s


2 : 1.5000i + 0.0000j m/s
3 : -1.0607i + 1.0607j m/s
http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 77/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
4 : 1.0607i + 1.0607j m/s
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

เนือหาวิชา : 266 : 14. Velocity 2

ข ้อที 306 :

มวล A วิงขึนด ้วยความเร็ว 0.4 เมตรต่อวินาที และมวล B วิงไปทางซายด ้วยความเร็ว 0.3 เมตรต่อวินาที ความยาว AB
เท่ากับ 200 มิลลิเมตร ความเร็วเชงิ มุมของ AB เท่ากับ

1 : 150 เรเดียนต่อนาที CW
2 : 150 เรเดียนต่อนาที CCW
3 : 100 เรเดียนต่อนาที CW
4 : 100 เรเดียนต่อนาที CCW
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 307 :
มวล A วิงลงด ้วยความเร็ว 0.4 เมตรต่อวินาที และมวล B วิงไปทางขวาด ้วยความเร็ว 0.3 เมตรต่อวินาที ความยาว AB
เท่ากับ 200 มิลลิเมตร ความเร็วเชงิ มุมของ AB เท่ากับ

1 : 150 เรเดียนต่อนาที CW
2 : 150 เรเดียนต่อนาที CCW
3 : 100 เรเดียนต่อนาที CCW
4 : 100 เรเดียนต่อนาที CW
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 308 :
มวล A วิงลงด ้วยความเร็ว 0.3 เมตรต่อวินาที และมวล B วิงไปทางขวาด ้วยความเร็ว 0.4 เมตรต่อวินาที ความยาว AB
เท่ากับ 200 มิลลิเมตร ความเร็วเชงิ มุมของ AB เท่ากับ

1 : 100 เรเดียนต่อนาที CW
2 : 100 เรเดียนต่อนาที CCW

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 78/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
3 : 150 เรเดียนต่อนาที CCW
4 : 150 เรเดียนต่อนาที CW
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 309 :

มวล A วิงขึนด ้วยความเร็ว 0.3 เมตรต่อวินาที และมวล B วิงไปทางซายด ้วยความเร็ว 0.4 เมตรต่อวินาที ความยาว AB
เท่ากับ 200 มิลลิเมตร ความเร็วเชงิ มุมของ AB เท่ากับ

1 : 100 เรเดียนต่อนาที CW
2 : 100 เรเดียนต่อนาที CCW
3 : 150 เรเดียนต่อนาที CCW
4 : 150 เรเดียนต่อนาที CW
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 310 :
ถ ้าความเร็วของจุด A =240 cm/sec และ เวคเตอร์ ความเร็วเป็ นไปตามรูป ความเร็วเชงิ มุมของชนงาน
ิ 3 จะมีคา่ ประมาณ
เท่าไหร่ ถ ้าความยาว AC =14 cm ; BC = 12.5 cm

1 : 8.72 rad/sec
2 : 122.09 rad/sec
3 : 109rad/sec
4 : 42.1 rad/sec
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 311 :
ถ ้าความเร็วของจุด A =200 cm/sec และ เวคเตอร์ ความเร็วเป็ นไปตามรูป ความเร็วเชงิ มุมของชนงาน
ิ 3 จะมีคา่ ประมาณ
เท่าไหร่ ถ ้าความยาว AC =14 cm ; BC = 12.5 cm

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 79/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1 : 8.72 rad/sec
2 : 7.3 rad/sec
3 : 101.75 rad/sec
4 : 35.09 rad /sec
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 312 :
ถ ้าความเร็วของจุด A =240 cm/sec และ เวคเตอร์ ความเร็วเป็ นไปตามรูป ความเร็วเชงิ มุมของชนงาน
ิ 3 จะมีคา่ ประมาณ
เท่าไหร่ ถ ้าความยาว AC =7 cm ; BC = 6.3 cm

1 : 8.72 rad /sec


2 : 27.4 rad/sec
3 : 30.53 rad/sec
4 : 2.19 rad/sec
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 313 :
ถ ้าความเร็วของจุด A =60 cm/sec และ เวคเตอร์ ความเร็วเป็ นไปตามรูป ความเร็วเชงิ มุมของชนงาน
ิ 3 จะมีคา่ ประมาณ
เท่าไหร่ ถ ้าความยาว AC =14 cm ; BC = 12.5 cm

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 80/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1 : 8.72 rad/sec
2 : 27.4 rad/sec
3 : 30.53 rad/sec
4 : 2.19 rad/sec
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 314 :
ิ อโยง O1B เคลือนทีด ้วยความเร็วเชงิ มุม
จากรูป เมือชนต่ โดยมีทศ ิ จะได ้ความเร็วของจุด C เทือเทียบ
ิ ตามเข็มนาฬกา
กับจุด B มีทศ
ิ ทางใด

1 : ตังฉากกับแขน BC และมีทศ
ิ ทางพุง่ ขึน
2 : ตังฉากกับแขน BC และมีทศิ ทางพุง่ ลง
3 : ตังฉากกับแขน O1B
4 : อยูใ่ นทิศเดียวกันกับทิศการเคลือนทีของ Slider C
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 315 :
ิ อโยง O1B เคลือนทีด ้วยความเร็วเชงิ มุม
จากรูป เมือชนต่ โดยมีทศ ิ จะได ้ความเร็วของจุด B เทือเทียบ
ิ ตามเข็มนาฬกา
กับจุด C มีทศ
ิ ทางใด

1 : อยูใ่ นทิศเดียวกันกับทิศการเคลือนทีของ Slider C


2 : ตังฉากกับแขน BC และมีทศ ิ ทางพุง่ ลง
3 : ตังฉากกับแขน BC และมีทศ ิ ทางพุง่ ขึน
4 : ตังฉากกับแขน O1B
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 316 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 81/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
ิ อโยง O1B เคลือนทีด ้วยความเร็วเชงิ มุม w โดยมีทศ
จากรูป เมือชนต่ ิ จะได ้ความเร็วของจุด C เมือเทียบ
ิ ทวนเข็มนาฬกา
กับจุด B มีทศ
ิ ทางใด

1 : ในทิศเดียวกันกับทิศการเคลือนทีของ Slider C
2 : ตังฉากกับแขน BC และมีทศ ิ ทางพุง่ ลง
3 : ตังฉากกับแขน BC และมีทศ ิ ทางพุง่ ขึน
4 : ตังฉากกับแขน O1Bอยู่
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 317 :
ิ อโยง O1B เคลือนทีด ้วยความเร็วเชงิ มุม w โดยมีทศ
จากรูป เมือชนต่ ิ จะได ้ความเร็วของจุด B เมือเทียบ
ิ ทวนเข็มนาฬกา
กับจุด C มีทศ
ิ ทางใด

1 : ตังฉากกับแขน BC และมีทศ ิ ทางพุง่ ลง


2 : ตังฉากกับแขน BC และมีทศ ิ ทางพุง่ ขึน
3 : อยูใ่ นทิศเดียวกันกับทิศการเคลือนทีของ Slider C
4 : ตังฉากกับแขน O1B
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 318 :
คําตอบข้อใดถูกต้อง

1:
VB=VA+VB/A จากสมการความเร็วสัมพัทธ์นี สามารถหาความเร็ว VB , w4 และ w3 ได ้
2:
จากสมการความเร็วสัมพัทธ์ VC=VA+VC/A สามารถหาความเร็วของจุด C และ w3 ได ้
3:
ทิศของ w3 ไม่สามารถดูได ้จากรูปเหลียมของความเร็ว
4:
รูปเหลียมความเร็งทีได ้ยังไม่ถก
ู ต ้อง เห็นได ้จากความเร็ว VC คือ Ovc สันกว่า Ova และ Ovb
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 319 :
ข ้อใดเป็ นสมการทีใชคํ้ านวณความเร็วของจุด C โดยไม่ต ้องคํานวณหา w3

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 82/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1:
VB=VA+VB/A
VC=VA+VC/A=VB+VC/B
2:
VC=VA+VC/A
3 : VC=VB+VC/B
4:
VB=VA+VC/A
VC=VB+VC/B
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 320 :
คําตอบข้อใดถูกต้อง

1:
ในรูปเหลียมของความเร็วจะมีภาพเสมือนของข ้อต่อ 3 แต่จะหมุนไปจากเดิม ในทิศของ w3
2:
ในรูปเหลียมของความเร็วจะมีภาพเสมือนของข ้อต่อ 3 ทีมีขนาดเท่ากันแต่จะหมุนไปจากเดิม ในทิศของ w3
3:
ในรูปเหลียมของความเร็วจะมีภาพเสมือนของข ้อต่อ 3 เป็ นรูปคล ้ายทีหมุนไปจากเดิม ในทิศตรงข ้ามกับ w3
4:
ในรูปเหลียมของความเร็วจะมีภาพเสมือนของข ้อต่อ 3 เป็ นรูปคล ้ายทีหมุนไปจากเดิม ในทิศตรงข ้ามกับ w3
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 321 :
กลไก -ข้อต่อในรู ป คําตอบข้อใดถูกต้อง

1:
VA2=VA3 ความเร็วของจุด A ทีอยูบ
่ นข ้อต่อ 2 และข ้อต่อ 3 จะเท่ากัน
2:
VA2=VA4 ความเร็วของจุด A ทีอยูบ
่ นข ้อต่อ 2 และข ้อต่อ 4 จะเท่ากัน
3:
ความเร็วเชิงมุม w2 = w3
4:
ความเร็วเชิงมุม w2 = w4
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 322 :
มวล A ของกลไกในรูปมีความเร็ว 10 m/s ขึน ก ้านต่อ AB ยาว 100 มิลลิเมตร ในขณะดังกล่าวความเร็วเชงิ มุมของ AB
เป็ น

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 83/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1 : 100 rad/s CW
2 : 100 rad/s CCW
3 : 141.4 rad/s CW
4 : 141.4 rad/s CCW
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 323 :
มวล B มีความเร็ว 10 m/s ไปทางขวา ก ้านต่อ AB ยาว 100 มิลลิเมตร ในขณะดังกล่าว ความเร็วเชงิ มุมของ AB เป็ น

1 : 100 rad/s CCW


2 : 100 rad/s CW
3 : 141.4 rad/s CW
4 : 141.4 rad/s CCW
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 324 :
จุด K ในรู ปเป็ นจุดหมุนเฉพาะกาล

1 : 13
2 : 23
3 : 24
4 : 34
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 325 :
linkage มีความเร็ ว w ดังรู ป

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 84/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1:
2:

3:

4:

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 326 :
จากกลไกทีให้มาดังรู ป จงหาความเร็ วเชิงมุมของชินต่อโยง CD

1 : 3 เรเดียนต่อวินาที ทิศตามเข็มนาฬิกา
2 : 3 เรเดียนต่อวินาที ทิศทวนเข็มนาฬิกา
3 : 4 เรเดียนต่อวินาที ทิศทวนเข็มนาฬิกา
4 : 4 เรเดียนต่อวินาที ทิศตามเข็มนาฬิกา
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 327 :
จากกลไกทีให้มาดังรู ป จงหาความเร็ วเชิงมุมของเฟื อง F

1 : 12 เรเดียนต่อวินาที ทิศตามเข็มนาฬิกา
2 : 10 เรเดียนต่อวินาที ทิศตามเข็มนาฬิกา
3 : 6 เรเดียนต่อวินาที ทิศตามเข็มนาฬิกา
4 : 4 เรเดียนต่อวินาที ทิศตามเข็มนาฬิกา
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 85/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

ข ้อที 328 :
กลไกสไลเดอร์แคร้งดังรู ป จุด I13 คือจุด

1:A
2:B
3:C
4:D
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 329 :
จากกลไกทีให้มาดังรู ป จงหาความเร็ วเชิงเส้นของจุด B

1 : 1.5 เมตรต่อวินาที ทิศพุง่ ลง


2 : 2.5 เมตรต่อวินาที ทิศพุง่ ลง
3 : 3.5 เมตรต่อวินาที ทิศพุง่ ลง
4 : 9.07 เมตรต่อวินาที ทิศพุง่ ลง
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 330 :
จากกลไกทีให้มาดังรู ป จงหาความเร็ วเชิงเส้นของชินต่อโยง 3 ณ.ตําแหน่งดังรู ป ถ้ากําหนดให้ชินต่อโยง 2 หมุนด้วยความเร็ วเชิงมุมคงทีเท่ากับ 10 rad/s (ตามเข็ม
นาฬิกา)

1 : 3.54 นิ วต่อวินาที ทิศพุง่ ไปทางซ้าย


2 : 4.54 นิ วต่อวินาที ทิศพุง่ ไปทางซ้าย
3 : 5.54 นิ วต่อวินาที ทิศพุง่ ไปทางซ้าย
4 : 10.54 นิ วต่อวินาที ทิศพุง่ ไปทางซ้าย
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 331 :
จุด A ในรู ปเป็ นจุดหมุนเฉพาะกาล

1 : 13
2 : 23
3 : 24
4 : 34
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 332 :
จากกลไก Crank-slider และไดอะแกรมของความเร็ วของกลไกดังรู ป จงหาความเร็ วเชิงมุมของชินส่ วน BC (ความยาวของชินส่ วน และเวคเตอร์ใน diagram
ความเร็ ว มีหน่วยเป็ น มิลลิเมตร)

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 86/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

มาตราส่ วนใน Diagram ความเร็ ว 50 mm = 1 m/s

1 : 18.025 rad/s, CW
2 : 5.548 rad/s, CCW
3 : 5.548 rad/s, CW
4 : 18.025 rad/s, CCW
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

เนือหาวิชา : 267 : 15. Velocity 3

ข ้อที 333 :
กลไกในรูปมีจด
ุ หมุนเฉพาะกาลกีจุด

1 : 12
2 : 13
3 : 14
4 : 15
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 334 :
กลไกในรูปมีจด
ุ หมุนเฉพาะกาลกีจุด

1 : 10
2 : 11
3 : 12
4 : 13
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 335 :
กลไกในรูปมีจด
ุ หมุนเฉพาะกาลกีจุด

1:4
2:5
3:6
4:7
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 336 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 87/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
กลไกในรูปมีจด
ุ หมุนเฉพาะกาลกีจุด

1:9
2 : 10
3 : 11
4 : 12
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 337 :
จงหาจํานวนจุดหมุนเฉพาะกาลของกลไกในรูป

1:2
2:3
3:4
4:6
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 338 :
จงหาจํานวนจุดหมุนเฉพาะกาลของกลไกในรูป

1:2
2:3
3:4
4:6
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 339 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 88/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
ตําแหน่นงจุดเพาะกาล 14 อยูท
่ ี

1 : แนวเดียวกับ Link 3
2 : ตังฉากกับจุดหมุน o และแนวระดับตัดกับแนว link 3
3 : ตังฉากกับจุด C และทิศทางการเคลือนทีของ Slider ตัดกันทีอนันต์
4 : ไม่ม ี
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 340 :
จงหาจํานวนจุดหมุนเฉพาะกาลของกลไกในรูป

1:6
2:8
3 : 16
4 : 15
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 341 :

จุดศูนย์กลางชวขณะของคู
ช ิ อโยงคูห
่ นต่ ่ นึงจะต ้องมีคณ
ุ สมบัตอ
ิ ย่างไร

1 : เป็ นจุดร่วมหรือจุดเชือมต่อของชินต่อโยงทังสอง
2 : เป็ นจุดทีมีความเร็วสัมพัทธ์ระหว่างคูช ิ อโยงเป็ นศูนย์
่ นต่
3 : เป็ นจุดทีชินต่อโยงทังสองมีความเร็วสัมบูรณ์เท่ากันทังขนาดและทิศทาง
4 : ถูกทุกข ้อ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 342 :
คุณสมบัตข ั
ิ องจุดศูนย์กลางชวขณะของคู
ช ิ อโยงคูห
่ นต่ ่ นึงข ้อใดไม่ถก
ู ต ้อง

1 : เป็ นจุดร่วมหรือจุดเชือมต่อของชินต่อโยงทังสอง
2 : เป็ นจุดทีมีความเร็วสัมพัทธ์ระหว่างคูช ิ อโยงไม่เท่ากับศูนย์
่ นต่
3 : เป็ นจุดทีความเร็วสัมบูรณ์ของชินต่อโยงทังสองมีขนาดเท่ากัน
4 : เป็ นจุดทีความเร็วสัมบูรณ์ของชินต่อโยงทังสองมีทศ ิ ทางเดียวกัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 343 :

จุดศูนย์กลางชวขณะของคู
ช ิ อโยงคูห
่ นต่ ่ นึงจะต ้องมีคณ
ุ สมบัตอ
ิ ย่างไร

1 : เป็ นจุดร่วมหรือจุดเชือมต่อของชินต่อโยงทังสอง
2 : เป็ นจุดทีมีความเร็วสัมพัทธ์ระหว่างคูช ิ อโยงเป็ นหนึง
่ นต่

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 89/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
3 : เป็ นจุดทีความเร็วสัมบูรณ์ของชินต่อโยงทังสองมีขนาดไม่เท่ากัน
4 : เป็ นจุดทีความเร็วสัมบูรณ์ของชินต่อโยงทังสองมีทศ
ิ ทางตรงกันข ้าม
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 344 :
คุณสมบัตข ั
ิ องจุดศูนย์กลางชวขณะของคู
ช ิ อโยงคูห
่ นต่ ่ นึงข ้อใดไม่ถก
ู ต ้อง

1 : เป็ นจุดทีความเร็วสัมบูรณ์ของชินต่อโยงทังสองมีทศ ิ ทางตรงกันข ้าม


2 : เป็ นจุดทีความเร็วสัมบูรณ์ของชินต่อโยงทังสองมีขนาดเท่ากัน
3 : เป็ นจุดทีมีความเร็วสัมพัทธ์ระหว่างคูช ิ อโยงเท่ากับศูนย์
่ นต่
4 : เป็ นจุดร่วมหรือจุดเชือมต่อของชินต่อโยงทังสอง
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 345 :
กลไกเลือน-ข ้อเหวียง (Slider-crank) ทีเห็นมีจํานวนจุดหมุนเฉพาะกาล (Instantaneous Center of Rotation) เท่าใด และ
จุดหมุนเฉพาะกาลทีหาได ้โดยง่ายคือ

1 : 6 จุด จุดหมุนเฉพาะกาลทีหาได ้โดยง่ายคือ 12 23 34 14


2 : 5 จุด จุดหมุนเฉพาะกาลทีหาได ้โดยง่ายคือ 12 23 34
3 : 4 จุด จุดหมุนเฉพาะกาลทีหาได ้โดยง่ายคือ 12 23 13
4 : 6 จุด จุดหมุนเฉพาะกาลทีหาได ้โดยง่ายคือ 12 23 34
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 346 :
กลไกเลือน-ข ้อเหวียง (Slider-crank) ทีเห็นมีจํานวนจุดหมุนเฉพาะกาล (Instantaneous Center of Rotation) เท่าใด และ
จุดหมุนเฉพาะกาลทีหาได ้โดยง่ายคือ

1 : 6 จุด จุดหมุนเฉพาะกาลทีหาได ้โดยง่ายคือ 12 23 34 14


2 : 5 จุด จุดหมุนเฉพาะกาลทีหาได ้โดยง่ายคือ 12 23 34
3 : 4 จุด จุดหมุนเฉพาะกาลทีหาได ้โดยง่ายคือ 12 23 13
4 : 6 จุด จุดหมุนเฉพาะกาลทีหาได ้โดยง่ายคือ 12 23 34
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 347 :
จงหาจํานวนจุดหมุนเฉพาะกาล (Instantaneous Center of Rotation) ทังหมดของกลไกในรูป

1 : 15 จุด
2 : 14 จุด
3 : 13 จุด
4 : 12 จุด
http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 90/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 348 :
จุดหมุนเฉพาะกาลทีกําหนดได้โดยง่าย ในรู ปมีจุดใดบ้าง

1 : จุด 12 , 14 , 23 และจุด 34
2 : จุด 12 , 14 , 23
3 : จุด 12 , 14 , 34
4 : จุด 12 , 14 , 34 และจุด 13
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 349 :
กลไกในรูปมีจด
ุ หมุนเฉพาะการกีจุด

1:4
2:5
3:6
4:7
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 350 :
กลไกในรูปมีจด
ุ หมุนเฉพาะกาลกีจุด

1:9
2 : 10
3 : 11
4 : 12
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 351 :
จุด L ในรู ปเป็ นจุดหมุนเฉพาะกาล

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 91/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1 : 13
2 : 23
3 : 24
4 : 34
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 352 :
Wheels 2 และ 3 สัมผัสกันและหมุนไปพร้อมกันโดยไม่มีเลือนไถล โดย wheel 2 และ 3 มีรัศมีและความเร็ ว r2 , w2 และ r3 , w3 ตามลําดับ P2 , P3 เป็ นจุดสัมผัส
ของ wheels ทังสอง Vp2 เป็ นความเร็ ว ณ จุดสัมผัสของ wheel 2 และ Vp2 เป็ นความเร็ ว ณ จุดสัมผัสของ wheel 3 ความสัมพันธ์ของความเร็ ว Vp2 / Vp3 คือ

1:

2:

3:
4: 1
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 353 :
กลไกสไลเดอร์แคร้งดังรู ป จุด I24 คือจุด

1:A
2:B
3:C
4:D
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 354 :
กลไกใช้ปิดฝากล่องดังรู ป ซึงใช้เป็ นกลไกในการปิ ดฝากล่องทีวางบนพืน สามารถมีจุดหมุนเฉพาะกาลได้กีจุด

1 : 28 จุด
2 : 21 จุด
3 : 15 จุด
4 : 10 จุด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 355 :
จุด B ในรู ปเป็ นจุดหมุนเฉพาะกาล

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 92/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1 : 13
2 : 23
3 : 24
4 : 34
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 356 :
จากกลไก Crank-slider ดังรู ป จุดหมุนเฉพาะกาล (หรื อจุดหมุนชัวขณะ instantaneous center) 24 ใช้ในการวิเคราะห์ความเร็ วอย่างไร

1 : ใช้หาความสัมพันธ์ระหว่างความเร็ วเชิงมุมของชินส่ วนหมายเลข 2 และความเร็ วของหมายเลข 4


2 : ใช้หาความสัมพันธ์ระหว่างความเร็ วของจุดเชือมต่อระหว่างชินส่ วน 2 กับ 3 และความเร็ วของหมายเลข 4
3 : ใช้หาความเร็ วเชิงมุมของชินส่ วนหมายเลข 2 ร่ วมกับจุคหมุนเฉพาะกาล 14
4 : ไม่มีประโยชน์อะไรเลย
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

เนือหาวิชา : 268 : 16. Velocity 4

ข ้อที 357 :
จุดหมุนเฉพาะกาลในรูปได ้แก่

1 : จุด 12
2 : จุด 13
3 : จุด 14
4 : จุด 15
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 358 :
จุดหมุนเฉพาะกาลในรูปได ้แก่

1 : จุด 12
2 : จุด 23
3 : จุด 24
4 : จุด 25
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 93/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

ข ้อที 359 :
จุดหมุนเฉพาะกาลในรูปได ้แก่

1 : จุด 12
2 : จุด 13
3 : จุด 14
4 : จุด 15
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 360 :
จุดหมุนเฉพาะกาลในรูปได ้แก่

1 : จุด 24
2 : จุด 34
3 : จุด 46
4 : จุด 46
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 361 :
Crank O2A หมุนด ้วยความเร็ว 200 รอบ/นาที ดังรูปเหลียมความเร็ว กําหนดให ้ O2O4 = 20 cm.:O2A =7.5 cm: O4B = 35
cm.:O2C =16cm ค่าความเร็วเชงิ เสนของ
้ Link 3 คือ

1 : 157.08 cm/sec

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 94/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
2 : 20.944 rad/sec
3 : 1.125 m/sec
4 : 1.10 m/sec
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 362 :
Crank O2A หมุนด ้วยความเร็ว 200 รอบ/นาที ดังรูปเหลียมความเร็ว กําหนดให ้ O2O4 = 20 cm.:O2A =7.5 cm: O4B = 35
cm.:O2C =16cm ค่าความเร็วเชงิ เสนของ
้ Link 4 คือ

1 : 157.04 cm/sec
2 : 157.04 rad/sec
3 : 184.8 cm/sec
4 : 1.10 m/sec
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 363 :
Crank O2A หมุนด ้วยความเร็ว 200 รอบ/นาที ดังรูปเหลียม่ความเร็ว กําหนดให ้ O2O4 = 20 cm.:O2A =7.5 cm: O4B = 35
cm.:O2C =16cm ค่าความเร็วเชงิ เสนของ
้ จุด C สมั พัทธ์ กับ B คือ

1 : 157.04 cm/sec
2 : 64.7 cm/sec
3 : 1.125 cm/sec

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 95/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
4 : 1,194.04 cm/sec
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 364 :
Crank O2A หมุนด ้วยความเร็ว 200 รอบ/นาที ดังรูปเหลียม่ความเร็ว กําหนดให ้ O2O4 = 20 cm.:O2A =7.5 cm: O4B = 35
cm.:O2C =16cm ค่าความเร็วเชงิ เสนของ
้ B คือ

1 : 157.04 cm/sec
2 : 20.944 rad/sec
3 : 184.8 cm/sec
4 : 1.10 cm/sec
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 365 :

จากรูป จุด a คือจุดศูนย์กลางชวขณะของคู
ช ิ อโยงใด
่ นต่

1 : ชินต่อโยง 1 กับชินต่อโยง 2
2 : ชินต่อโยง 2 กับชินต่อโยง 3
3 : ชินต่อโยง 2 กับชินต่อโยง 4
4 : ชินต่อโยง 3 กับชินต่อโยง 1
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 366 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 96/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

จากรูป จุด a คือจุดศูนย์กลางชวขณะของคู
ช ิ อโยงใด
่ นต่

1 : ชินต่อโยง 1 กับชินต่อโยง 2
2 : ชินต่อโยง 3 กับชินต่อโยง 1
3 : ชินต่อโยง 3 กับชินต่อโยง 4
4 : ชินต่อโยง 1 กับชินต่อโยง 4
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 367 :
กลไกดังรูปสามารถมีจด ั
ุ หมุนชวขณะได ้กีจุด

1:4
2:5
3:6
4:7
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 368 :
กลไกดังรูปสามารถมีจด ั
ุ หมุนชวขณะได ้กีจุด

1:4
2:6
3:8
4 : 10
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 369 :
ให ้ w2 และมาตราสว่ นของรูป ks จงหาความเร็วของข ้อต่อ 4 ระยะต่างๆ เชน
่ 13-A, O2A สามารถวัดตําแหน่ง และคํานวณ
ได ้จากรูป

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 97/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1 : V4 = VB = w2(O2A)(13-B)/(13-A) ทิศ
2:
V4 = VB = w2(O2A)(13-B)/(13-A) ทิศ
3:
V4 = VB = w2(O2A)(13-A)/(13-B) ทิศ
4:
V4 = VB = w2(O2A)(13-A)/(13-B) ทิศ
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 370 :
จงหาตําแหน่งจุดหมุนเฉพาะกาล 13 ของกลไก -ข้อต่อดังรู ป

1:
แนว O2A และ O4B ตัดกันทีจุด 13
2:
แนว AB และ O2O4 ตัดกันทีจุด 13
3:
จุด O2 เป็ นจุดที แนวของ O2A ตัดกับ O2O4 และ เป็ นจุด 13 ด ้วย
4:
จุด O4 เป็ นจุดที แนวของ O4B ตัดกับ O2O4 และเป็ นจุด 13 ด ้วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 371 :
จงหาตําแหน่งของจุดหมุนเฉพาะกาล 14 ของกลไกเลือน-ข้อเหวียงในรู ป

1:
จุดหมุนเฉพาะกาล 14 เป็ นจุดทีได ้จากเส ้นทีลากจากจุด B ตังฉากกับ O2B และเส ้นทีลากจากจุด O2 ตังฉากกับ O2B ตัดกันทีอนันต์
2 : จุดหมุนเฉพาะกาล 14 เป็ นจุดทีเส้นทีลากจากจุด B ตังฉากกับ O2B กับเส้นทีต่อแนว O2A
3:
จุดหมุนเฉพาะกาล คือ จุด B
4:
จุดหมุนเฉพาะกาล 14 ไม่สามารถหาตําแหน่ง ได ้
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 372 :
จากรู ปข้อใดเป็ นคําตอบทีไม่ถูกต้อง

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 98/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1 : จุด B เป็ นจุดหมุนเฉพาะกาล 13


2:
จุด BO เป็ นจุดหมุนเฉพาะกาล 14
3:
จุด AO เป็ นจุดหมุนเฉพาะกาล 12
4:
่ นเส ้นตังฉากกับแนวทางเดินสัมพัทธ์ของข ้อต่อ 3 เทียบ 4 และอยูท
จุดหมุนเฉพาะกาล 34 อยูบ ่ อนั
ี นต์
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 373 :
จุดหมุนเฉพาะกาลในรูปได ้แก่

1 : จุด 13
2 : จุด 14
3 : จุด 15
4 : จุด 16
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 374 :
จุดหมุนเฉพาะกาลในรูปได ้แก

1 : จุด 12
2 : จุด 23
3 : จุด 24
4 : จุด 25
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 375 :

จากรู ปกําหนดให้ O2A = 300 มม, O4B = 580 มม, AB = 865 มม, และ O2O4 = 1,025 มม ในขณะดังกล่าว w2 = 5 เรเดียนต่อวินาที ตามเข็มนาฬิกา, LA = 1,536
มม, LB = 1,075 มม, ดังนันความเร็ วเชิงมุมของข้อต่อ 4 เท่ากับ

1: 0.977 เรเดียนต่อวินาที ทวนเข็มนาฬิกา

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 99/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
2 : 0.977 เรเดียนต่อวินาที ตามเข็มนาฬิกา
3 : 1.81 เรเดียนต่อวินาที ทวนเข็มนาฬิกา
4 : 1.81 เรเดียนต่อวินาที ตามเข็มนาฬิกา
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 376 :
displacement(s) ณ เวลา t ใดของ particle เป็ นดังรู ป

ความเร็ วทีเกิดขึนกับ particle จากเวลา t = 0 ถึง t = t คือ

1 : ความเร็ วคงทีแล้วเป็ นศูนย์


2 : ความเร็ วเพิมขึนแล้วคงที
3 : ความเร็ วเพิมขึนแล้วลดลง
4 : ความเร็ วคงทีแล้วลดลง
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 377 :

จากรู ปกําหนดให้ O2A = 300 มม, O4B = 580 มม, AB = 865 มม, และ O2O4 = 1,025 มม ในขณะดังกล่าว w2 = 10 เรเดียนต่อวินาที ตามเข็มนาฬิกา, LA = 1,536
มม, LB = 1,075 มม, ดังนันความเร็ วเชิงมุมของข้อต่อ 4 เท่ากับ

1 : 1.95 เรเดียนต่อวินาที ทวนเข็มนาฬิกา


2 : 1.95 เรเดียนต่อวินาที ตามเข็มนาฬิกา
3 : 3.62 เรเดียนต่อวินาที ทวนเข็มนาฬิกา
4 : 3.62 เรเดียนต่อวินาที ตามเข็มนาฬิกา
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 378 :
จากกลไกแสดงในรู ปข้างล่าง ชินส่ วนลูกสู บ C และ F ถูกบังคับให้เคลือนทีแบบเลือนวิถีตรงในแนวดิงและแนวนอนตามลําดับ การเชือมต่อระหว่างชินส่ วนต่างๆ
ใช้ขอ้ ต่อหมุน (revolute joints) ทีจุด A, B, C, D, E และ F ดังแสดง ทีตําแหน่งชัวขณะเวลาดังรู ป ชินส่ วน DB มีความเร็ วเชิงมุมเป็ น wDE = 100 rad/s ในทิศตาม
เข็มนาฬิกา จงหาความเร็ วของชินส่ วนลูกสู บ F

1 : 15.0000 m/s ®
2 : 15.0000 m/s ?
3 : 14.6155 m/s ?
4 : 14.6155 m/s ®
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

เนือหาวิชา : 269 : 17. Acceleration 1

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 100/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

ข ้อที 379 :
มวล A ของกลไกในรูปมีความเร่ง 10 m/s2 ขึน ในขณะที มวล B มีความเร่ง 5 m/s2 ไปทางซาย
้ ก ้านต่อ AB ยาว 200
มิลลิเมตร ในขณะดังกล่าว ความเร่งเชงิ มุมของ AB เป็ น

1 : 5 rad/s CW
2 : 5 rad/s CCW
3 : 7.07 rad/s CW
4 : 7.07 rad/s CCW
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 380 :
มวล A ของกลไกในรูปมีความเร่ง 10 m/s2 ลง ในขณะที มวล B มีความเร่ง 5 m/s2 ไปทางซาย
้ ก ้านต่อ AB ยาว 200
มิลลิเมตร ในขณะดังกล่าว ความเร่งเชงิ มุมของ AB เป็ น

1 : 5 rad/s CW
2 : 5 rad/s CCW
3 : 7.07 rad/s CW
4 : 7.07 rad/s CCW
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 381 :
มวล A ของกลไกในรูปมีความเร่ง 5 m/s2 ลง ในขณะที มวล B มีความเร่ง 10 m/s2 ไปทางซาย
้ ก ้านต่อ AB ยาว 200
มิลลิเมตร ในขณะดังกล่าว ความเร่งเชงิ มุมของ AB เป็ น

1 : 5 rad/s CW
2 : 5 rad/s CCW
3 : 7.07 rad/s CW
4 : 7.07 rad/s CCW
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 101/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

ข ้อที 382 :
มวล A ของกลไกในรูปมีความเร่ง 5 m/s2 ลง ในขณะที มวล B มีความเร่ง 10 m/s2 ไปทางขวา ก ้านต่อ AB ยาว 200
มิลลิเมตร ในขณะดังกล่าว ความเร่งเชงิ มุมของ AB เป็ น

1 : 5 rad/s CW
2 : 5 rad/s CCW
3 : 7.07 rad/s CW
4 : 7.07 rad/s CCW
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 383 :
ิ ความเร่งเชงิ มุม = 20 rad/sec2 ทวนเข็มนาฬกา
Crank 2 หมุนด ้วยความเร็ว 10 rad/sec ตามเข็มนาฬกา ิ จงหาความเร่งของ
ิ อโยง 4. O2B=5cm,BC=3.8cm,O4R=10.1 cm,O2O4=10cm.
ชนต่

1 : 215.873 rad/sec2 ccw


2 : 2,158.73 rad/sec2 ccw
3 : 2,226.055 rad/sec2 cw
4 : 6.667 rad/sec2 ccw
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 384 :
ิ ความเร่งเชงิ มุม = 20 rad/sec 2 ทวนเข็มนาฬกา
Crank 2 หมุนด ้วยความเร็ว 10 rad/sec ตามเข็มนาฬกา ิ จงหาความเร่ง
ของจุด C.O2-B=10cm,BC=7.6cm,O4R=20.2 cm,O2O4=20cm.

1 : 2777 cm/sec2
2 : 215.078 cm/sec2
3 : 225.552 cm/sec2
4 : 2555 cm/sec2
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 102/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
ข ้อที 385 :
ิ ความเร่งเชงิ มุม = 20 rad/sec2 ทวนเข็มนาฬกา
Crank 2 หมุนด ้วยความเร็ว 10 rad/sec ตามเข็มนาฬกา ิ จงหาความเร่งของ
จุด C.O2B=5cm,BC=3.8cm,O4R=10.1 cm,O2O4=10cm.

1 : 77.50 cm/sec2
2 : 1388 cm/sec2
3 : 1360 cm/sec2
4 : 280 cm/sec2
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 386 :
ิ ความเร่งเชงิ มุม = 20 rad/sec2 ทวนเข็มนาฬกา
Crank 2 หมุนด ้วยความเร็ว 10 rad/sec ตามเข็มนาฬกา ิ จงหาความเร่งของ
จุด R O2B=5cm,BC=3.8cm,O4R=10.1 cm,O2O4=10cm.

1 : 6667 cm/sec2
2 : 66.67 cm/sec2
3 : 2,226.05 cm/sec2
4 : 66.67 cm/sec2
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 387 :
ั พัทธ์เทียบกับจุด B เท่ากับ
จากรูป ให ้ระยะ BC มีคา่ เท่ากับ 10 cm. และระยะ BE มีคา่ เท่ากับ 3 cm. ถ ้าจุด C มีความเร่งสม

5 จงหาขนาดของความเร่งสมพัทธ์ของจุด E เทียบกับ B

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 103/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1:
2:
3:
4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 388 :
จากรู ปให้ระยะ BC มีค่าเท่ากับ 20 cm. และระยะ BE มีค่าเท่ากับ 4 cm. ถ้าจุด C มีความเร่ งสัมพัทธ์เทียบกับจุด B เท่ากับ 10m/s2 จงหาขนาดของ
ความเร่ งสัมพัทธ์ของจุด E เทียบกับ B

1:
1 m/s2
2:
2 m/s2
3:
3 m/s2
4:

4 m/s2
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 389 :
ั พัทธ์เทียบกับจุด B เท่ากับ
จากรูปให ้ระยะ BC มีคา่ เท่ากับ 20 cm. และระยะ BE มีคา่ เท่ากับ 4 cm. ถ ้าจุด C มีความเร่งสม
5 m/s2 จงหาขนาดของความเร่งสม
ั พัทธ์ของจุด E เทียบกับ B

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 104/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1:
1 m/s2
2:
2 m/s2
3:
3 m/s2
4:
4 m/s2
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 390 :
ั พัทธ์เทียบกับจุด B เท่ากับ
จากรูปให ้ระยะ BC มีคา่ เท่ากับ 10 cm. และระยะ BE มีคา่ เท่ากับ 3 cm. ถ ้าจุด C มีความเร่งสม
10 m/s2 จงหาขนาดของความเร่งสม
ั พัทธ์ของจุด E เทียบกับ B

1:
1 m/s2
2:
2 m/s2
3:
3 m/s2
4 : 4 m/s
2
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 391 :
คําตอบข ้อใดถูกต ้อง
AB = AAn + AAt + AB/An + AB/At
AC3 = AA + AC3/An + AC3/At = AB+ AC3/BB +AC3/Bt

1:
เมือทราบความเร็วในกลไกแล ้วความเร่งของจุด C3 ซึงเป็ นจุดทีอยูบ
่ นข ้อต่อ 3 สามารถคํานวณได ้จากสมการทีให ้มาทังสอง
2:
แม ้ทราบความเร็วในกลไกทังหมดแล ้ว สมการทีให ้มาทังสองสมการ ไม่สามารถใช ้คํานวณหาความเร่งของจุด C3 ซึงเป็ นจุดทีอยูบ
่ นข ้อต่อ 3
3:
สมการความเร่งทีให ้มาทังสองสมการ เป็ นสมการความเร่งของจุด C3 ซึงซ ้อนอยูก
่ บ
ั จุด C4 และ C5
4:
ในรูปเหลียมของความเร่งจะมีภาพเสมือน (Image) ของข ้อต่อ 3 ทีจากเดิมไป 90? ในทิศของ w3
คําตอบทีถูกต ้อง : 1
http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 105/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

ข ้อที 392 :
จงเลือกคําตอบทีถูกต้องในรู ปให้ w2 มีค่าคงที

1:
ความเร่งของจุด B หาได ้จากสมการ
ABn + ABt = AA + AB/An + AB/At
2:
ความเร่งของจุด B ไม่สามารถหาได ้ เนืองจากในสมการ
ABn + ABt = AA + AB/An + AB/At
มีตวั แปรไม่ทราบค่าเกิน 1 ตัว
3:
ความเร่งของจุด B ไม่สามารถหาได ้ เนืองจากในสมการ
ABn + ABt = AA + AB/An + AB/At
มีตวั แปรไม่ทราบค่าเกิน 2 ตัว
4:
ความเร่งของจุด B ไม่สามารถหาได ้ เนืองจากสมการ
ABn + ABt = AA + AB/An + AB/At
ไม่ถก
ู ต ้อง
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 393 :
จงเลือกใช้สมการทีถูกต้องเพือคํานวณหาความเร่ งของจุด C

1:
ABn + ABt = AA + AB/An + AB/At
AC = AB + AC/Bn + AC/Bt = AA + AC/An + AC/At
2:
ABn + ABt = AAn +AAt+ AB/An + AB/At
ACn+ ACt = AB + AC/Bn + AC/Bt
3:
ACn + ACt = AAn + AAt + AC/An + AC/At
4:
ABn + ABt = ACn +ACt+ AB/Cn + AB/Ct
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 394 :
้ งเชงิ มุมของข ้อต่อ 4 เมือทราบความเร่งของจุด A โดย w2 มีคา่ คงที คือข ้อใด
สมการทีใชหาความเร่

1:
http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 106/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

ABn + ABt = AA + AB/An + AB/At และ a4 = ABt/O4B


2:
ABn + ABt = AA + AB/An + AB/At และ a4 = AB/At/O4B
3:
ABn + ABt = AA + AA/Bn + AA/Bt และ a4 = AB/At/O4B
4:
ABn + ABt = AA + AA/Bn + AA/Bt และ a4 = ABt/O4B
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 395 :
มวล A ของกลไกในรูปมีความเร่งเป็ นศูนย์ ในขณะที มวล B มีความเร่ง 5 m/s2 ไปทางซาย
้ ก ้านต่อ AB ยาว 200

มิลลิเมตร และทํามุม 45๐ กับแนวระดับ ในขณะดังกล่าว ความเร่งเชงิ มุมของ AB เป็ น

1 : 17.7 rad/s2 CW
2 : 17.7 rad/s2 CCW
3 : 35.4 rad/s2 CW
4 : 35.4 rad/s2 CCW
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 396 :
มวล A ของกลไกในรูปมีความเร่งเป็ นศูนย์ ในขณะที มวล B มีความเร่ง 5 m/s2 ไปทางซาย
้ ก ้านต่อ AB ยาว 200
มิลลิเมตร และทํามุม 60๐ กับแนวระดับ ในขณะดังกล่าว ความเร่งเชงิ มุมของ AB เป็ น

1 : 21.7 rad/s2 CCW


2 : 21.7 rad/s2 CW
3 : 12.5 rad/s2 CW
4 : 12.5 rad/s2 CCW
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 397 :
Slider crank mechanism ในรู ปมีขนาด O2A = 60 mm และ AB = 100 mm ความเร็ วเชิงมุมของข้อต่อ 2 เป็ น 5 เรเดียนต่อวินาทีคงที ทวนเข็มนาฬิกาในขณะนัน
ความเร่ งของ B เป็ น

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 107/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1: 1.125 เมตรต่อวินาที2 ไปทางซ้าย


2: 1.125 เมตรต่อวินาที2 ไปทางขวา
3: 1.875 เมตรต่อวินาที2 ไปทางขวา
4: 1.875 เมตรต่อวินาที2 ไปทางซ้าย
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 398 :
Mechanism ดังรู ป link 2 มีความเร็ วและความเร่ ง w2 และ α2 ตามลําดับ และมี acceleration polygon ของ A และ B ดังรู ป ทิศทางของ ทีถูกต้อง คือ

1: ในแนว BO4
2: ตังฉากกับ AB
3: ในแนว AB
4: ตังฉากกับ O2A
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 399 :
จากกลไกทีให้มาดังรู ป จงหาขนาดความเร่ งเชิงเส้นของจุด B ถ้าความเร่ งเชิงมุมมีค่าเท่ากับ 750,000 เรเดียนต่อ(วินาที)2 ทิศทวนเข็มนาฬิกาและความเร็ วเชิงมุมมีค่า
เท่ากับ 1,000 เรเดียนต่อวินาที ทิศตามเข็มนาฬิกา

1 : 62,500 เมตรต่อ(วินาที)2
2 : 37,500 เมตรต่อ(วินาที)2
3 : 50,000 เมตรต่อ(วินาที)
2
4 : ไม่มีขอ้ ใดถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 400 :
ความเร่ งโคริ ออริ ส (Coriolis’s acceleration) คือ

1 : ความเร่ งสู่ ศูนย์กลาง


2 : ความเร่ งจากการหมุน
3 : ความเร่ งทีเกิดจากอนุภาคเคลือนทีด้วยความเร็ วบนวัตถุทีมีการเคลือนทีหมุน
4 : ความเร่ งสัมพัทธ์ของจุดสองจุดบนวัตถุเกร็ งทีเคลือนทีบนระนาบ
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 401 :
http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 108/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
2
จากกลไกทีให้มาดังรู ป จงหาขนาดความเร่ งโคริ ออริ ส (Coriolis’s acceleration) ของจุด C บนสไลเดอร์ ถ้าความเร่ งเชิงมุมมีค่าเท่ากับ 750,000 เรเดียนต่อ(วินาที)
ทิศทวนเข็มนาฬิกาและความเร็ วเชิงมุมมีค่าเท่ากับ 1,000 เรเดียนต่อวินาที ทิศตามเข็มนาฬิกา และสไลเดอร์มีความเร็ วสัมพัทธ์เทียบกับชินต่อโยง OB
(Vsliding)เท่ากับ 40 มิลลิเมตรต่อวินาที ทิศดังรู ป

1 : 62,500 เมตรต่อ(วินาที)2
2 : 50,000 เมตรต่อ(วินาที)2
3 : 40,000 เมตรต่อ(วินาที)
2
4 : 80,000 เมตรต่อ(วินาที)2
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 402 :
จากกลไกทีให้มาดังรู ป จงหาความเร่ งเชิงมุมของชินต่อโยง AB

1 : 25.4 เรเดียนต่อ(วินาที)
2 ทิศตามเข็มนาฬิกา
2 : 25.4 เรเดียนต่อ(วินาที)2 ทิศทวนเข็มนาฬิกา
3 : 2.54 เรเดียนต่อ(วินาที)2 ทิศตามเข็มนาฬิกา
2
4 : 2.54 เรเดียนต่อ(วินาที) ทิศทวนเข็มนาฬิกา
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 403 :
จากกลไกทีให้มาดังรู ป จงหาความเร่ งเชิงเส้นของจุด B หรื อสไลเดอร์ B

1 : 5.21 เมตรต่อ(วินาที)2 ทิศพุง่ ลง


2 : 5.21 เมตรต่อ(วินาที)
2 ทิศพุง่ ขึน
3 : 52.1 เมตรต่อ(วินาที)2 ทิศพุง่ ลง
4 : 52.1 เมตรต่อ(วินาที)2 ทิศพุง่ ขึน
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 404 :
Slider crank mechanism ในรู ปมีขนาด O2A = 60 mm และ AB = 100 mm ความเร็ วเชิงมุมของข้อต่อ 2 เป็ น 4 เรเดียนต่อวินาทีคงที ทวนเข็มนาฬิกาในขณะนัน
ความเร่ งของ B เป็ น

1 : 0.72 เมตรต่อวินาที2 ไปทางซ้าย


2 : 0.72 เมตรต่อวินาที
2 ไปทางขวา
2
3 : 1.28 เมตรต่อวินาที ไปทางขวา
http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 109/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

4 : 1.28 เมตรต่อวินาที2 ไปทางซ้าย


คําตอบทีถูกต ้อง : 2

เนือหาวิชา : 270 : 18. Acceleration 2

ข ้อที 405 :
จากในรูป หมุนในระนาบราบรอบจุด O2 ด ้วยความเร็วเชงิ มุมคงที w2 = 1 rad/s ตามเข็มนาฬกา ิ ลูกเลือน A เคลือนทีอยูใ่ น
รางของจานทีอยูห ั พัทธ์ 150 mm/s ไปทางขวา และความเร่งสม
่ า่ งจุดศูนย์กลางจาน 150 มิลลิเมตร ด ้วยความเร็วสม ั พัทธ์
0.25 m/s2 ไปทางขวา จงหาขนาดความเร่ง A ทีตําแหน่งตามรูป

1:
2:

3:
4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 406 :
จากในรูป หมุนในระนาบราบรอบจุด O2 ด ้วยความเร็วเชงิ มุมคงที w2 = 1 rad/s ทวนเข็มนาฬกา ิ ลูกเลือน A เคลือนทีอยูใ่ น
รางของจานทีอยูห ั พัทธ์ 150 mm/s ไปทางขวา และความเร่งสม
่ า่ งจุดศูนย์กลางจาน 150 มิลลิเมตร ด ้วยความเร็วสม ั พัทธ์
0.25 m/s2 ไปทางขวา จงหาขนาดความเร่ง A ทีตําแหน่งตามรูป

1:
2:
3:

4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 407 :
จากในรูป หมุนในระนาบราบรอบจุด O2 ด ้วยความเร็วเชงิ มุมคงที w2 = 1 rad/s ทวนเข็มนาฬกา ิ ลูกเลือน A เคลือนทีอยูใ่ น
รางของจานทีอยูห ั พัทธ์ 150 mm/s ไปทางขวา และความเร่งสม
่ า่ งจุดศูนย์กลางจาน 150 มิลลิเมตร ด ้วยความเร็วสม ั พัทธ์
0.25 m/s2 ไปทางซาย
้ จงหาขนาดความเร่ง A ทีตําแหน่งตามรูป

1:
2:

3:

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 110/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 408 :
จากในรูป หมุนในระนาบราบรอบจุด O2 ด ้วยความเร็วเชงิ มุมคงที w2 = 1 rad/s ตามเข็มนาฬกา ิ ลูกเลือน A เคลือนทีอยูใ่ น
รางของจานทีอยูห ั พัทธ์ 150 mm/s ไปทางขวา และความเร่งสม
่ า่ งจุดศูนย์กลางจาน 150 มิลลิเมตร ด ้วยความเร็วสม ั พัทธ์
0.25 m/s2 ไปทางซาย
้ จงหาขนาดความเร่ง A ทีตําแหน่งตามรูป

1:
2:

3:
4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 409 :
ั ผัสขนาดเท่ากับ 6 m/s2 และมีความเร่งเข ้าสูศ
จากรูป ถ ้าจุด B มีความเร่งในแนวสม ู ย์กลางขนาดเท่ากับ 8 m/s2 จงหา
่ น
ขนาดความเร่งทีจุด B

1:

2:

3:

4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 410 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 111/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
ิ อโยง 2 หมุนด ้วยความเร็วคงที 10 rad/sec CW จงหาความเร่งของ กลไกทีจุด A2
ชนต่

1 : 188.5 cm/sec2
2 : 380 cm/sec2..
3 : 38 cm/sec2
4 : 18.85 cm/sec2
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 411 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 112/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
กลไกดังรูป จงหาค่าความเร่งของ A2 ในแนวตังฉากกับแกน O2A

1 : 0 cm/sec2
2 : 380 cm/sec2
3 : 188.5 cm/sec2
4 : 38 cm/sec2
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 412 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 113/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
จากภาพสมการความเร่งใดถูกต ้อง

1:

2:

3:

4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 413 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 114/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
จากภาพ จงหาค่าความเร่งของ A ในแนวขนานกับ O2A และทิศทาง

1 : 38 cm/sec2 ทิศทางชีเข ้าหา O2


2 : 480 cm/sec2 ทิศทางชีเข ้าหา A
3 : 488 cm/sec2 ทิศทางชีเข ้าหา A
4 : 380 cm/sec2 ทิศทางชีเข ้าหา O2
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 414 :
ั ผัสขนาดเท่ากับ 6 m/s2 และมีความเร่งเข ้าสูศ
จากรูป ถ ้าจุด B มีความเร่งในแนวสม ู ย์กลางขนาดเท่ากับ 8 m/s2 จงหามุม
่ น
ทีความเร่งของจุด B ทํากับแขน OB

1:
2:
3:
4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 415 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 115/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

ั ผัสขนาดเท่ากับ 3 m/s2 และมีความเร่งเข ้าสูศ


จากรูป ถ ้าจุด B มีความเร่งในแนวสม ู ย์กลางขนาดเท่ากับ 4 m/s2 จงหา
่ น
ขนาดความเร่งทีจุด B

1:

2:

3:

4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 416 :
ั ผัสขนาดเท่ากับ 3 m/s2 และมีความเร่งเข ้าสูศ
จากรูป ถ ้าจุด B มีความเร่งในแนวสม ู ย์กลางขนาดเท่ากับ 5 m/s2 จงหามุม
่ น
ทีความเร่งของจุด B ทํากับแขน OB

1:

2:

3:

4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 417 :
เมือทราบความเร่งทีจุด C3 สมการใดทีสามารถใชคํ้ านวณหาความเร่งของจุด C4
AC3 = AC4n + AC4t + AC3/C4 + 2VC3/C4w4 ---------[1]
AC3 = AC4n + AC4t + AC3/C4n + AC3/C4t + 2VC3/C4w4 ---------[2]
AC3 = AC3n + AC3t + AC4/C3 + 2VC4/C3w4 ---------[3]

1 : สมการ 1 และ 2
2 : สมการ 3 เท่านัน

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 116/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
3 : สมการ 1 และ 3
4 : สมการ 2 และ 3
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 418 :
จงเลือกคําตอบทีถูกต ้อง จากกลไก 6 ข ้อต่อและสมการทีให ้มา
AC3 = AC4n + AC4t + AC3/C4 + 2VC3/C4w4 ---------[1]
AC3 = AC4n + AC4t + AC3/C4n + AC3/C4t + 2VC3/C4w4 ---------[2]
AC3 = AC3n + AC3t + AC4/C3 + 2VC4/C3w4 ---------[3]

1:
ความเร่ง 2VC3/C4w4 เรียกความเร่ง Coriolis มีทศ
ิ ตังฉากกับ O4C
2:
ความเร่ง 2VC3/C4w4 เรียกความเร่ง Coriolis มีทศ
ิ ขนานกับ O4C
3:
ความเร่ง 2VC3/C4w4 เรียกความเร่งสัมพัทธ์ มีทศ
ิ ตังฉากกับ O4C
4:
ความเร่ง 2VC3/C4w4 เรียกความเร่งสัมพัทธ์ มีทศ
ิ ขนานกับ O4C
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 419 :
เมือทราบความเร่ งของจุด A ความเร่ งของจุด A4 สามารถหาได้จากสมการ

1:
AA4n + AA4t = AA3 + 2VA4/A3.w3 + AA4/A3

2 : AA4
n + A t = A + 2V
A4 A3 A4/A3.w2 + AA4/A3
n t
3 : AA4 + AA4 = AA2 + 2VA4/A2.w2 + AA4/A3
4:
AA2n + AA2t = AA4 + 2VA2/A4.w4 + AA2/A4
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 420 :
เมือทราบความเร่งของข ้อต่อทัง 4 และความเร่งจุด A ความของจุด A4 ได ้จากสมการ
AA4n + AA4t = AA3 + 2VA4/A3.w3 + AA4/A3
จงเลือกคําตอบทีถูกต ้อง

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 117/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1 : 2VA4/A3.w3 มีทิศตังฉากกับ BOA


2:
2VA4/A3.w3 มีทศ
ิ ขนานกับ BOA
3 : 2VA4/A3.w3 มีทิศตังฉากกับ AOA
4:
2VA4/A3.w3 มีทศ
ิ ขนานกับ AOA
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 421 :
จานในรูปหมุนในระนาบราบรอบจุด O2 ด ้วยความเร็วเชงิ มุมคงที ิ
2 = 1 rad/s ตามเข็มนาฬกา ลูกเลือน A เคลือนทีอยู่
ในรางของจานทีอยูห ั พัทธ์ 150 mm/s ลงล่าง และความเร่งสม
่ า่ งจุดศูนย์กลางจาน 150 มิลลิเมตร ด ้วนความเร็วสม ั พัทธ์
0.25 m/s2 ลงล่าง จงหาขนาดความเร่ง A ทีตําแหน่งตามรูป

1 : 0 m/s2
2 : 0.15 m/s2
3 : 0.3 m/s2
4 : 0.52 m/s2
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 422 :
จานในรูปในระนาบราบรอบจุด O2 ด ้วยความเร็วเชงิ มุมคงที ิ
2 = 1 rad/s ทวนเข็มนาฬกา ลูกเลือน A
เคลือนทีอยูใ่ นราง
ของจานทีอยูห ั พัทธ์ 150 mm/s ลงล่าง และความเร่งสม
่ า่ งจุดศูนย์กลางจาน 150 มิลลิเมตร ด ้วยความเร็วสม ั พัทธ์ 0.25
m/s2 ลงล่าง จงหาขนาดความเร่ง A ทีตําแหน่งตามรูป

1 : 0 m/s2
2 : 0.15 m/s2
3 : 0.29 m/s2
4 : 0.3 m/s2
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 423 :
Slider crank mechanism ในรู ปมีขนาด O2A = 60 mm และ AB = 100 mm ความเร็ วเชิงมุมของข้อต่อ 2 เป็ น 5 เรเดียนต่อวินาทีคงที ทวนเข็มนาฬิกาในขณะนัน
ความเร่ งเชิงมุมของAB เป็ น

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 118/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1: 11.25 เรเดียนต่อวินาที2 ทวนเข็มนาฬิกา


2: 11.25 เรเดียนต่อวินาที2 ตามเข็มนาฬิกา
3: 18.75 เรเดียนต่อวินาที2 ทวนเข็มนาฬิกา
4: 18.75 เรเดียนต่อวินาที2 ตามเข็มนาฬิกา
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 424 :
Rolling elements 2 และ 3 หมุนโดยไม่มี slip ด้วยความเร็ ว และความเร่ ง w2 , α2 และ w3 , α3 ตามลําดับ ความเร็ วสัมพัทธ์ในแนวเส้นสัมผัสของจุดสัมผัส P
ของ elements ทังสองจะมีค่า

1 : α3w3 + α2w2
2 : α3w3 - α2w2
3 : α3w3 = α2w2
4 : ศูนย์
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 425 :
จากกลไกทีให้มาดังรู ป ถ้าสไลเดอร์มีความเร็ วสัมพัทธ์เทียบกับชินต่อโยง OB เท่ากับ Vsliding ซึงมีค่าคงทีตลอดเวลา คํากล่าวในข้อใดต่อไปนี เป็ นคํากล่าวทีผิด

1:
2:
3:
4 : ไม่มีขอ้ ใดผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 426 :
Slider crank mechanism ในรู ปมีขนาด O2A = 60 mm และ AB = 100 mm ความเร็ วเชิงมุมของข้อต่อ 2 เป็ น 4 เรเดียนต่อวินาทีคงที ทวนเข็มนาฬิกาในขณะนัน
ความเร่ งเชิงมุมของAB เป็ น

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 119/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1:
16 เรเดียนต่อวินาที2 ทวนเข็มนาฬิกา
2 : 16 เรเดียนต่อวินาที2 ตามเข็มนาฬิกา
3 : 12 เรเดียนต่อวินาที2 ทวนเข็มนาฬิกา
2
4 : 12 เรเดียนต่อวินาที ตามเข็มนาฬิกา
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 427 :
จากกลไก Crank-slider และไดอะแกรมของความเร่ งของกลไกดังรู ป จงหาความเร่ งเชิงมุมของชินส่ วน BC (ความยาวของชินส่ วนและเวคเตอร์ใน diagram
ความเร่ งมีหน่วยเป็ น มิลลิเมตร)

มาตราส่ วนใน diagram ความเร่ ง 100 mm = 20000 mm/s2

1:
200.00 เรเดียนต่อวินาที2 ตามเข็มนาฬิกา
2 : 10.780 เรเดียนต่อวินาที2 ตามเข็มนาฬิกา
3 : 178.62 เรเดียนต่อวินาที2 ทวนเข็มนาฬิกา
2
4 : 158.75 เรเดียนต่อวินาที ทวนเข็มนาฬิกา
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

เนือหาวิชา : 271 : 19. Static Force 1

ข ้อที 428 :
ิ ว่ นทีอยูในสภาพสมดุลภายใต ้แรงกระทําในรูปเรียกว่า
ชนส

1 : Frame member
2 : 2-force member
3 : Longitudinal member
4 : ไม่มข
ี ้อใดถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 429 :
แรงปฏิกริ ย ิ ว่ นในรูปคือข ้อใด
ิ าของชนส

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 120/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1:

2:

3:
4 : ไม่มข
ี ้อใดถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 430 :
ิ ว่ นทีรับแรงดังแสดงในรูป และอยูใ่ นสภาพสมดุลมีชอเรี
ชนส ื ยกว่า

1 : Shell member
2 : 3-force member
3 : Plate member
4 : ไม่มข
ี ้อใดถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 431 :
คําตอบข ้อใดแสดงแรงปฏิกริ ย
ิ าทีถูกต ้องของคานทีรับแรงดังรูป

1:

2:

3:
4 : ไม่มข
ี ้อใดถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 121/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

ข ้อที 432 :
ิ อโยงทีถูกกระทําด ้วยแรง 2 แรง จะสมดุลก็ตอ
ชนต่ ่ เมือแรง 2 แรงนันเป็ นอย่างไร

1 : มีขนาดเท่ากัน
2 : มีทศ
ิ ทางตรงกันข ้าม
3 : กระทําอยูบ ่ นแนวเส ้นตรงเดียวกัน
4 : ถูกทุกข ้อ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 433 :
กลไกสมดุลดังรูป ถ ้าแรง P= 100N มากระทําที Link 4 ดังรูป และ O2B = 10 cm แรงกระทํา F43 มีคา่ และทิศทางอย่างไร

1 : 115 N ทิศทางขนานกับAB เข ้าหาจุด A


2 : 60 N ทิศทางขนานกับ AB เข ้าหาจุด A
3 : 115 N ทิศทางขนานกับ AB เข ้าหาจุด B
4 : 60 N ทิศทางขนานกับ AB เข ้าหาจุด B
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 434 :
กลไกสมดุลย์ดงั รูป ถ ้าแรง P= 100N มากระทําที Link 4 ดังรูป และ O2B = 10 cm แรงทีพืนกระทําต่อลูกสูบ มีคา่ และ
ทิศทางอย่างไร

1 : 58 N ทิศทางขนานกับ แรง Pเข ้าหาจุด B


2 : 58 N ทิศทางตังฉากกับ แรง P เข ้าหาจุด B
3 : 115 N ทิศทางขนานกับ แรง P ออกจากจุด B
4 : 115 N ทิศทางตังฉากกับ แรง P ออกจากจุด B
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 435 :
กลไกสมดุลย์ดงั รูป ถ ้าแรง P= 100N มากระทําที Link 4 ดังรูป และ O2B = 10 cm AB =7.8 cm O2A = 5.5 cm แรงกระทํา
ระหว่างพืนกับ Link 2 ( F12) มีคา่ และทิศทางอย่างไร

1 : 58 N ทิศทางขนานกับ AB แนว B ไป A
2 : 58 N ทิศทางตังฉากกับ AB แนว O2 ไป A
3 : 115 N ทิศทางขนานกับ AB แนว B ไป A
4 : 115 N ทิศทางตังฉากกับ AB แนว O2 ไป A
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 436 :
http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 122/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
ิ อโยงทีถูกกระทําด ้วยแรง 2 แรงสมดุลคือข ้อใด
เงือนไขทีทําให ้ชนต่

1 : มีขนาดไม่เท่ากัน
2 : มีทศ
ิ ทางเดียวกัน
3 : กระทําอยูบ ่ นแนวเส ้นตรงเดียวกัน
4 : ถูกทุกข ้อ
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 437 :
ิ อโยงทีถูกกระทําด ้วยแรง 2 แรงสมดุล
ข ้อใดไม่เป็ นเงือนไขทีทําให ้ชนต่

1 : มีขนาดเท่ากัน
2 : มีทศ
ิ ทางเดียวกัน
3 : กระทําอยูบ ่ นแนวเส ้นตรงเดียวกัน
4 : ถูกทุกข ้อ
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 438 :
ิ อโยงทีถูกกระทําด ้วยแรง 2 แรง จะสมดุลก็ตอ
ชนต่ ่ เมือแรง 2 แรงนันเป็ นอย่างไร

1 : มีขนาดไม่เท่ากัน
2 : มีทศ
ิ ทางเดียวกัน
3 : กระทําอยูบ ่ นแนวเส ้นตรงทีขนานกัน
4 : ไม่มขี ้อถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 439 :
กลไก 6 ข ้อต่อในรูป ให ้แรง F6 = 330 N จงคํานวณหาแรงทีข ้อต่อ 5 กระทํากับข ้อต่อ 6 แรง F56 (ไม่คด ี ดทาน)
ิ แรงเสย

1 : 335.1 N เป็ นแรงกด


2 : 58.2 N เป็ นแรงกด
3 : 325.0 N เป็ นแรงดึง
4 : 345.6 N เป็ นแรงดึง
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 440 :
กลไก 6 ข ้อต่อในรูป ให ้แรง F6 = 330 N จงคํานวณหาแรงทีข ้อต่อ 1 กระทํากับข ้อต่อ 6 แรง F16 (ไม่คด ี ดทาน)
ิ แรงเสย

1:
58.2 N
2 : 335.1 N
3 : 325.0 N
4 : 345.6 N
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 441 :
จงเลือกคําตอบทีถูกต ้อง จากกลไก 6 ข ้อต่อในรูป

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 123/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1 : แรง F45 และแรง F65 มีขนาดเท่ากันแต่ทิศทางตรงข้าม


2:
แรง F54 และแรง F65 มีขนาดเท่ากันแต่ทศ
ิ ทางตรงข ้าม
3:
แรง F65 เป็ นแรงทีข ้อต่อ 6 กระทํากับข ้อต่อ 5 ทีจุด B และเป็ นแรงดึง
4:
แรง F45 มีทศ
ิ ตังฉากกับ O4A
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 442 :
กลไกสมดุลดังรู ป ถ้าแรง P= 100 N มากระทําที Link 4 ดังรู ปและ O2B= 10 cm ,AB= 7.8 cm, O2A = 5.5 cm ค่าโมเมนต์ควบคู่ที Link 2 เพือให้

ระบบสมดุลเท่ากับเท่าไร

1:
3.18 N-m CW
2:
31.8 N-m CCW
3:
63.7 N-m CCW
4:
63.7 N-m CW
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 443 :
ข ้อใดทีกล่าวไว ้ถูกต ้อง

1 : ข ้อต่อ 5 และข ้อต่อ 3 เป็ นข ้อต่อรับ 2 แรงทังคู่


2 : ข ้อต่อ 5 และข ้อต่อ 2 เป็ นข ้อต่อรับ 2 แรงทังคู่
3 : แรงทีข ้อต่อ 5 รับ เป็ นแรงดึง
4 : ไม่มขี ้อต่อรับ 2 แรงในกลไกนี
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 444 :
แรงปฏิกริ ย ิ ว่ นในรูปคือ
ิ าของชนส

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 124/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1:

2:

3:
4 : ไม่มข
ี ้อใดถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 445 :
แรงปฏิกริ ย ิ ว่ นในรูปคือ
ิ าของชนส

1:

2:

3:
4 : ไม่มข
ี ้อใดถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 446 :
กรณี ใดต่อไปนีเป็ นกรณี ทีไม่สามารถแก้ปัญหาสมดุลของแรงกระทํา ต่อวัตถุจาํ นวน 4 แรงได้

1 : รูท ้ ศิ ทางและขนาดของแรง 2 แรง รูท้ ศิ ทางแรงอีก 2 แรง


2 : รูท ้ ศิ ทางและขนาดของแรง 3 แรง รูท้ ศิ ทางแรงอีก 1 แรง
3 : รูท ้ ศิ ทางและขนาดของแรง 2 แรง รูข้ นาดแรงอีก 2 แรง
4 : รู ้ทิศทางและขนาดของแรง 2 แรง รู ้ทิศทางแรงอีก 1 แรง และรู ้ขนาดแรงอีก 1 แรง
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 447 :
จากกลไกทีให้มาดังรู ป เป็ นกลไกสําหรับรถเทขยะ โดยในจังหวะเท กระบอกสู บไฮดรอลิก 3 ยืดออก ขับเคลือนกลไก และชินต่อโยง 6 คือกระบะขยะ ในสภาวะ
สมดุล ถ้าไม่คิดนําหนักของชินส่ วน มีชินต่อโยงใดบ้างทีเป็ นชินส่ วน 3 แรง (Three-force member)

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 125/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1 : ชินต่อโยง 2
2 : ชินต่อโยง 5
3 : ชินต่อโยง 6
4 : ชินต่อโยง 3
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 448 :
จากกลไก Overhead lift ทีให้มาดังรู ป ซึงกําลังถูกใช้ยกเครื องยนต์ ถ้ากําหนดให้เครื องยนต์มีขนาดเท่ากับ 125 กิโลกรัม และกลไกอยูใ่ นสภาวะสมดุลโดยแรงยก
จากกระบอกไฮดรอลิก H จงหาแรงยกของกระบอกไฮดรอลิกกําหนดให้ใช้ค่า g = 9.81 m/s2

1 : 1.94 กิโลนิ วตัน


2 : 2.94 กิโลนิ วตัน
3 : 3.94 กิโลนิ วตัน
4 : 4.94 กิโลนิ วตัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 449 :
จากกลไกทีให้มาดังรู ป เป็ นกลไกลูกเบียว(Cam)กับตัวตาม(Follower) ถ้ากําหนดให้ F2 มีขนาดเท่ากับ 100 นิวตัน และกลไกอยูใ่ นสภาวะสมดุล จงหาแรงบิด T1
สมมุติให้การสัมผัสกันของลูกเบียวและตัวตามเป็ นแบบไม่มีแรงเสี ยดทาน

1 : 1.41 นิ วตัน-เมตร หมุนทวนเข็มนาฬิกา


2 : 1.41 นิ วตัน-เมตร หมุนตามเข็มนาฬิกา
3 : 14.1 นิ วตัน-เมตร หมุนทวนเข็มนาฬิกา
4 : 14.1 นิ วตัน-เมตร หมุนตามเข็มนาฬิกา
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 450 :
กรณี ใดต่อไปนีเป็ นกรณี ทีไม่สามารถแก้ปัญหาสมดุลของแรงกระทํา ต่อวัตถุจาํ นวน 4 แรงได้

1 : รู ้ทิศทางของแรง 4 แรง รู ้ขนาดของแรง 2 แรง


2 : รู ้ทิศทางของแรง 2 แรง รู ้ขนาดทิศทางแรง 3 แรง
3 : รู ้ทิศทางของแรง 3 แรง รู ้ขนาดของแรง 3 แรง
4 : รู ้ทิศทางของแรง 2 แรง รู ้ขนาดของแรง 4 แรง
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 451 :
กรณี ใดต่อไปนีเป็ นกรณี ทีสามารถแก้ปัญหาสมดุลสถิตของแรงกระทํา ต่อวัตถุจาํ นวน 4 แรงได้ (ปั ญหาแรงในสองมิติ)

1 : รู ้ทิศทางและขนาดของแรง 2 แรง รู ้ทิศทางของแรงอีก 2 แรง


2 : รู ้ทิศทางและขนาดของแรง 1 แรง รู ้ทิศทางของแรงอีก 3 แรง
3 : รู ้ทิศทางและขนาดของแรง 1 แรง รู ้ทิศทางของแรงอีก 2 แรง
4 : รู ้ทิศทางและขนาดของแรง 3 แรง รู ้ทิศทางของแรงอีก 1 แรง
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

เนือหาวิชา : 272 : 20. Static Force 2

ข ้อที 452 :
สว่ นหนึงของกลไกลูกสูบถูกแสดงในรูป ค่าสม ั ประสทิ ธิความเสยี ดทานระหว่างพืนกับลูกสูบเป็ น 0.3 ระหว่างสลักรัศมี 25
มิลลิเมตร กับรูทลู ้ ขนาดของวงกลมความเสย
ี กสูบและก ้านต่อเป็ น 0.08 ลูกสูบกําลังเคลือนทีไปทางซาย ี ดทานเป็ น แรงที

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 126/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
ี ดทานและทิศทางทีกระทําต่อลูกสูบคือ
กดทีพืนโดยลูกสูบเป็ น 500 นิวตัน ขนาดของโมเมนต์เนืองจากแรงเสย

1 : 299 Nm CW
2 : 299 Nm CCW
3 : 287 Nm CCW
4 : 287 Nm CW
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 453 :
สว่ นหนึงของกลไกลูกสูบถูกแสดงในรูป ค่าสม ั ประสทิ ธิความเสยี ดทานระหว่างพืนกับลูกสูบเป็ น 0.3 ระหว่างสลักรัศมี 25
มิลลิเมตร กับรูทลู
ี กสูบและก ้านต่อเป็ น 0.08 ลูกสูบกําลังเคลือนทีไปทางขวา ขนาดของวงกลมความเสย ี ดทานเป็ น แรงที
กดทีพืนโดยลูกสูบเป็ น 500 นิวตัน ขนาดของโมเมนต์เนืองจากแรงเสย ี ดทานและทิศทางทีกระทําต่อลูกสูบคือ

1 : 299 Nm CW
2 : 299 Nm CCW
3 : 287 Nm CCW
4 : 287 Nm CW
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 454 :
สว่ นหนึงของกลไกลูกสูบถูกแสดงในรูป ค่าสม ั ประสทิ ธิความเสยี ดทานระหว่างพืนกับลูกสูบเป็ น 0.4 ระหว่างสลักรัศมี 20
มิลลิเมตร กับรูทลู
ี กสูบและก ้านต่อเป็ น 0.08 ลูกสูบกําลังเคลือนทีไปทางขวา ขนาดของวงกลมความเสย ี ดทานเป็ น แรงที
กดทีพืนโดยลูกสูบเป็ น 400 นิวตัน ขนาดของโมเมนต์เนืองจากแรงเสย ี ดทานและทิศทางทีกระทําต่อลูกสูบคือ

1 : 238 Nm CW
2 : 238 Nm CCW
3 : 255 Nm CCW
4 : 255 Nm CW
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 455 :
สว่ นหนึงของกลไกลูกสูบถูกแสดงในรูป ค่าสม ั ประสทิ ธิความเสยี ดทานระหว่างพืนกับลูกสูบเป็ น 0.4 ระหว่างสลักรัศมี 20
มิลลิเมตร กับรูทลู
ี กสูบและก ้านต่อเป็ น 0.08 ลูกสูบกําลังเคลือนทีไปทางซาย้ ขนาดของวงกลมความเสย ี ดทานเป็ น แรงที
กดทีพืนโดยลูกสูบเป็ น 400 นิวตัน ขนาดของโมเมนต์เนืองจากแรงเสย ี ดทานและทิศทางทีกระทําต่อลูกสูบคือ

1 : 238 Nm CW
2 : 238 Nm CCW

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 127/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
3 : 255 Nm CCW
4 : 255 Nm CW
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 456 :

Press Mechanism มีแรง P ทีรู ้ขนาดและทิศทางกระทํากับชนงาน 7 ดังรูป เวคเตอร์ของแรงทีกระทํา F 67 จะเป็ นไปดัง
ภาพไหน .

1:

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 128/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

2:

3:

4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 457 :

Press Mechanism มีแรง P ทีรู ้ขนาดและทิศทางกระทํากับชนงาน 7 ดังรูป เวคเตอร์ของแรงทีกระทําที link 4 จะเป็ นไปดัง
ภาพไหน .

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 129/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1:

2:

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 130/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

3:

4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 458 :
จากรู ป ให้หาขนาดของแรงปฏิกิริยาทีพืนกระทํากับ Slider C เมือ Slider C มีแรงจาก แขน AC ขนาด 120 N ทํามุม กับแนวระดับกระทํา

1 : 60 N
2 : 70 N
3 : 80 N
4 : 90 N
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 459 :
ใน pin joint ทีมี Friction รูปของแรงต่างๆทีกระทําที Pin Joint ทีถูกต ้องคือรูป

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 131/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1:

2:

3:

4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 460 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 132/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
การเขียนค่า Friction circle ใน force diagram ค่า รัศมีของ Friction Circle ควรมีขนาด =?

1 : r = sin K
2 : r = MSin K
3 : r = MR
4 : r =M tan K
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 461 :
จากรู ป ให้หาขนาดของแรงปฏิกิริยาทีพืนกระทํากับ Slider C เมือ Slider C มีแรงจาก แขน AC ขนาด 100 N ทํามุม กับแนวระดับกระทํา

1 : 50.24 N
2 : 64.28 N
3 : 76.60 N
4 : 83.90 N
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 462 :
จากรู ป ให้หาขนาดของแรงปฏิกิริยาทีพืนกระทํากับ Slider C เมือแขน AC มีแรงสถิตย์ขนาดเท่ากับ 200 N ทํามุม กับแนวระดับ

1 : 50 N
2 : 100 N
3 : 150 N
4 : 200 N
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 463 :
จากรู ป ให้หาขนาดของแรงปฏิกิริยาทีพืนกระทํากับ Slider C เมือแขน AC มีแรงสถิตย์ขนาดเท่ากับ 250 N ทํามุม กับแนวระดับ

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 133/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1 : 276.78 N
2 : 250 N
3 : 200 N
4 : 176.78 N
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 464 :
ให้สมั ประสิ ทธิแรงเสี ยดทานสถิตระหว่างข้อต่อ 6 (Slider) และข้อต่อ 1 (แท่น) มีค่า m =0.1
จงคํานวณมุมของแรงเสี ยดทาน f และเติมแรงลงในผังวัตถุอิสระ (ข้อต่อ ) ให้ถูกต้องเมือข้อต่อ 6 กําลังจะเคลือนทีไปทางขวา

1:
f=tan-10.1=

2:
f=tan-10.1=

3:
f=sin-10.1=

4:
f=sin-10.1=
http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 134/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 465 :
ให้สมั ประสิ ทธิแรงเสี ยดทานสถิตระหว่างข้อต่อ 6 (Slider) และข้อต่อ 1 (แท่น) มีค่า m =0.1
จงคํานวณมุมของแรงเสี ยดทาน f และเติมแรงลงในผังวัตถุอิสระ (ข้อต่อ ) ให้ถูกต้องเมือข้อต่อ 6 กําลังจะเคลือนทีไปทางซ้าย

1:
f=tan-10.1=

2:
f=tan-10.1=

3:
f=sin-10.1=

4:
f=sin-10.1=

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 135/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 466 :
กลไก 6 ข้อต่อในรู ป ข้อต่อ 3 กําลังจะเคลือนทีสัมพัทธ์กบั ข้อต่อ 4 ในทิศจาก O4®A โดยสัมประสิ ทธิแรงเสี ยดทานระหว่างข้อต่อทังสอง คือ m
= 0.15 จงคํานวณหามุมของแรงเสี ยดทานสถิต f

1:f=
2:f=
3:f=
4:f=
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 467 :
กลไก 6 ข้อต่อในรู ป เมือให้ F6 = 341 N จงคํานวณขนาดของแรง F16 สัมประสิ ทธิแรงเสี ยดทานสถิตย์ระหว่างข้อต่อ 6 (Slider) และข้อต่อ 1 คือ
m = 0.1 เมือข้อต่อ 6 กําลังจะเคลือนทีไปทางขวามือ

1:
F16 = 59.5 N
2:
F16 = 94.2 N
3:
F16 = 58.2 N
4:
F16 = 42.4 N
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 468 :
สว่ นหนึงของกลไกลูกสูบถูกแสดงในรูป ค่าสม ั ประสทิ ธิความเสย
ี ดทานระหว่างพืนกับลูกสูบเป็ น 0.3 ระหว่างสลักรัศมี 25
มิลลิเมตร กับรูทลู ้
ี กสูบและก ้านต่อเป็ น 0.08 ลูกสูบกําลังเคลือนทีไปทางซายขนาดของวงกลมความเส ี ดทานเป็ น แรงที

กดทีพืนโดยลูกสูบเป็ น 500 นิวตัน ขนาดของโมเมนต์เนืองจากแรงเสย ี ดทานและทิศทางทีกระทําต่อลูกสูบคือ

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 136/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1 : 299 Nm CW
2 : 299 Nm CCW
3 : 287 Nm CCW
4 : 287 Nm CW
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 469 :
สว่ นหนึงของกลไกลูกสูบถูกแสดงในรูป ค่าสม ั ประสทิ ธิความเสยี ดทานระหว่างพืนกับลูกสูบเป็ น 0.3 ระหว่างสลักรัศมี 25
มิลลิเมตร กับรูทลู
ี กสูบและก ้านต่อเป็ น 0.08 ลูกสูบกําลังเคลือนทีไปทางขวา ขนาดของวงกลมความเสย ี ดทานเป็ น แรงที
กดทีพืนโดยลูกสูบเป็ น 500 นิวตัน ขนาดของโมเมนต์เนืองจากแรงเสย ี ดทานและทิศทางทีกระทําต่อลูกสูบคือ

1 : 299 Nm CW
2 : 299 Nm CCW
3 : 287 Nm CCW
4 : 287 Nm CW
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 470 :
สว่ นหนึงของกลไกลูกสูบถูกแสดงในรูป ค่าสม ั ประสทิ ธิความเสยี ดทานระหว่างพืนกับลูกสูบเป็ น 0.4 ระหว่างสลักรัศมี 20
มิลลิเมตร กับรูทลู
ี กสูบและก ้านต่อเป็ น 0.08 ลูกสูบกําลังเคลือนทีไปทางขวา ขนาดของวงกลมความเสย ี ดทานเป็ น แรงที
กดทีพืนโดยลูกสูบเป็ น 400 นิวตัน ขนาดของโมเมนต์เนืองจากแรงเสย ี ดทานและทิศทางทีกระทําต่อลูกสูบคือ

1 : 238 Nm CW
2 : 238 Nm CCW
3 : 255 Nm CCW
4 : 255 Nm CW
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 471 :
สว่ นหนึงของกลไกลูกสูบถูกแสดงในรูป ค่าสม ั ประสทิ ธิความเสยี ดทานระหว่างพืนกับลูกสูบเป็ น 0.4 ระหว่างสลักรัศมี 20
มิลลิเมตร กับรูทลู ้
ี กสูบและก ้านต่อเป็ น 0.08 ลูกสูบกําลังเคลือนทีไปทางซายขนาดของวงกลมความเส ี ดทานเป็ น แรงที

กดทีพืนโดยลูกสูบเป็ น 400 นิวตัน ขนาดของโมเมนต์เนืองจากแรงเสย ี ดทานและทิศทางทีกระทําต่อลูกสูบคือ

1 : 238 Nm CW
2 : 238 Nm CCW
3 : 255 Nm CCW
4 : 255 Nm CW
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 137/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

ข ้อที 472 :
Slider crank mechanism ในรู ปใช้ทาํ งานเป็ นเครื องสู บอัดลม มีขนาด O2A = 60 mm และ AB = 100 mm ข้อต่อ 2 รับแรงบิดตามเข็มนาฬิกาจากมอเตอร์ไฟฟ้า
ขนาด 6 นิวตัน-เมตร ลูกสู บ B จะให้แรงอัดได้เท่าไร เมือคิดว่าลูกสู บไม่มีนาหนั
ํ ก

1 : 100 นิวตัน
2 : 80 นิวตัน
3 : 60 นิวตัน
4 : 0 นิวตัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 473 :
จากกลไก Offset slider crank ทีให้มาดังรู ป ถ้ากําหนดให้ F2 มีขนาดเท่ากับ 200 นิวตัน และกลไกอยูใ่ นสภาวะสมดุล จงหาแรงบิด T1 สมมุติให้การสัมผัสกันของ
สไลเดอร์และพืนเป็ นแบบไม่มีแรงเสี ยดทาน

1 : 2.84 นิ วตัน-เมตร หมุนทวนเข็มนาฬิกา


2 : 2.84 นิ วตัน-เมตร หมุนตามเข็มนาฬิกา
3 : 3.84 นิ วตัน-เมตร หมุนทวนเข็มนาฬิกา
4 : 3.84 นิ วตัน-เมตร หมุนตามเข็มนาฬิกา
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 474 :
Slider crank mechanism ในรู ปใช้ทาํ งานเป็ นเครื องสู บอัดลม มีขนาด O2A = 50 mm และ AB = 100 mm ข้อต่อ 2 รับแรงบิดตามเข็มนาฬิกาจากมอเตอร์ไฟฟ้าขนาด
5 นิวตัน-เมตร ลูกสู บ B จะให้แรงอัดได้เท่าไร เมือคิดว่าลูกสู บไม่มีนาหนั
ํ ก

1 : 100 นิ วตัน
2 : 80 นิ วตัน
3 : 60 นิ วตัน
4:
0 นิวตัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 475 :
Slider crank mechanism ในรู ป จงหาขนาดและทิศทางของโมเมนต์กระทําทีชินส่ วนหมายเลข 2 เพือให้กลไกอยูใ่ นสภาวะสมดุลสถิต (ขนาดของชินส่ วนมีหน่วย
เป็ น มิลลิเมตร)

1:
55.53 N-m, CW
2 : 65.53 N-m, CCW
http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 138/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
3 : 75.53 N-m, CCW
4 : 85.53 N-m, CCW
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

เนือหาวิชา : 273 : 21. Inertia Force 1

ข ้อที 476 :
มวล A ขนาด 4 กิโลกรัม วิงขึนด้วยความเร่ ง 25 เมตรต่อ(วินาที2) และมวล B ขนาด 3 กิโลกรัม วิงไปทางซ้ายด้วยความเร่ ง 30 เมตรต่อ(วินาที2)
ความยาวก้านต่อ AB เท่ากับ 200 มิลลิเมตรและมีมวลน้อยมาก พืนไม่มีความเสี ยดทาน แรงสันสะเทือนจากการเคลือนทีโดยไม่คิดนําหนักของ A
และ B เท่ากับ

1 : ก. 134.5 N down to the right


2 : ข. 134.5 N up to the left
3 : ค. 134.5 N down to the left
4 : ง. 134.5 N up to the right
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 477 :
มวล A ขนาด 4 กิโลกรัม วิงลงด้วยความเร่ ง 25 เมตรต่อ(วินาที2) และมวล B ขนาด 3 กิโลกรัม วิงไปทางขวาด้วยความเร่ ง 30 เมตรต่อ(วินาที2) ความยาวก้านต่อ
AB เท่ากับ 200 มิลลิเมตรและมีมวลน้อยมาก พืนไม่มีความเสี ยดทาน แรงสันสะเทือนจากการเคลือนทีโดยไม่คิดนําหนักของ A และ B เท่ากับ

1 : ก. 134.5 N down to the right


2 : ข. 134.5 N up to the left
3 : ค. 134.5 N down to the left
4 : ง. 134.5 N up to the right
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 478 :
มวล A ขนาด 5 กิโลกรัม วิงลงด้วยความเร่ ง 25 เมตรต่อ(วินาที2) และมวล B ขนาด 3 กิโลกรัม วิงไปทางขวาด้วยความเร่ ง 30 เมตรต่อ(วินาที2)
ความยาวก้านต่อ AB เท่ากับ 200 มิลลิเมตรและมีมวลน้อยมาก พืนไม่มีความเสี ยดทาน แรงสันสะเทือนจากการเคลือนทีโดยไม่คิดนําหนักของ A
และ B เท่ากับ

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 139/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1 : ก. 154 N down to the right


2 : ข. 154 N up to the left
3 : ค. 154 N down to the left
4 : ง. 154 N up to the right
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 479 :
มวล A ขนาด 5 กิโลกรัม วิงขึนด้วยความเร่ ง 25 เมตรต่อ(วินาที2) และมวล B ขนาด 3 กิโลกรัม วิงไปทางซ้ายด้วยความเร่ ง 30 เมตรต่อ(วินาที2)
ความยาวก้านต่อ AB เท่ากับ 200 มิลลิเมตรและมีมวลน้อยมาก พืนไม่มีความเสี ยดทาน แรงสันสะเทือนจากการเคลือนทีโดยไม่คิดนําหนักของ A
และ B เท่ากับ

1 : ก. 154 N down to the right


2 : ข. 154 N up to the left
3 : ค. 154 N down to the left
4 : ง. 154 N up to the right
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 480 :
แขนกลแขนหนึงเคลือนทีโดยทีจุดศูนย์ถว่ งมวลมีความเร่ง แรงเฉือยจะเกิดขึนกับแขนกลตรงจุดไหนและทิศทางใด

1 : เกิดขึนทีจุดศูนย์ถว่ งมวลและมีทศ
ิ ตรงข ้ามกับความเร่ง
2 : เกิดทีจุดศูนย์ถว่ งมวลและมีเทิศทางเดียวกับความเร่ง
3 : เกิดขึนทีปลายของแขนกลและมีทศ
ิ ตรงข ้ามกับความเร่ง
4 : เกิดขึนทีปลายของแขนกลและมีทศ
ิ ทางเดียวกับความเร่ง
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 481 :
เครืองทดสอบ Impact test ดังรูป มีนําหนัก 20 kg. ทีปลาย นํ าหนักของก ้านเท่ากับ 10 kg. เหวียงขึนมํามุม 45 องศา แล ้ว

เหวียงเข ้ากระทบชนงาน จงหาความเร็วเชงิ มุมของลูกตุ ้มก่อนกระทบชนงาน

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 140/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1 : 2.02 rad/sec
2 : 3.33 rad/sec
3 : 1.85 rad/sec
4 : 1.8 rad/sec
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 482 :
เครืองทดสอบ Impact test ดังรูป มีนําหนัก 20 kg. ทีปลาย นํ าหนักของก ้านเท่ากับ 10 kg. เหวียงขึนมํามุม 45 องศา แล ้ว

เหวียงเข ้ากระทบชนงาน จงหาความเร็วเชงิ เสนของลู
้ ิ
กตุ ้มก่อนกระทบชนงาน

1 : 1.85 m/sec
2 : 1.65 m/sec
3 : 3.33 m/sec
4 : 6.66 m/sec
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 483 :
เครืองทดสอบ Impact test ดังรูป มีนําหนัก 20 kg. ทีปลาย นํ าหนักของก ้านเท่ากับ 10 kg. เหวียงขึนมํามุม 45 องศา แล ้ว

เหวียงเข ้ากระทบชนงาน ิ
แล ้วเหวียงขึนไปเป็ นมุม 20 องศา จงหาพลังงานทีกระทํากับชนงาน(Energy Absorbed)

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 141/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1 : 133.3 Joules
2 : 129.3 Joules
3 : 102.7 Joules
4 : 186.2 Joules
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 484 :
เครืองทดสอบ Impact test ดังรูป มีนําหนัก 20 kg. ทีปลาย นํ าหนักของก ้านเท่ากับ 10 kg. เหวียงขึนมํามุม 45 องศา แล ้ว

เหวียงเข ้ากระทบชนงาน จงหาพลังงานทีเหลือหลังจากการกระแทก (Energy Absorbed)

1 : 126.5 Joules
2 : 26.5 Joules
3 : 129.3 Joules
4 : 37.8 Joules
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 485 :
แขนกลแขนหนึงเคลือนทีโดยทีจุดศูนย์ถ่วงมวลมีความเร่ ง aG แรงเฉื อยจะเกิดขึนกับแขนกลในทิศทางใด

1:
ทิศทางทํามุม 45?กับความเร่ ง aG
2:
ทิศทางเดียวกับความเร่ ง aG
3:


http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 142/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
ทิศทางตรงข้ามกับความเร่ ง aG
4:
ทิศทางตังฉากกับความเร่ ง aG
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 486 :
แขนกลแขนหนึงเคลือนทีโดยทีจุดศูนย์ถ่วงมวลมีความเร่ ง aG แรงเฉื อยจะเกิดขึนกับแขนกลในทิศทางใด

1 : ทิศทางตังฉากกับแนวของแขนกล
2 : ทิศทางตามแนวของแขนกล
3:
ทิศทางตรงข้ามกับความเร่ ง aG
4:
ทิศทางเดียวกับความเร่ ง aG
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 487 :
จงคํานวณแรงเฉื อย (inertia force) และแรงบิดเฉื อย (inertia torque) ของข้อต่อ 3
ให้ IG3 = 0.011 kg.m2 , m3 = 1 kg และจากรู ปเหลียมของความเร่ ง AG3 = 94 m/s2 , a3 =190 rad/s2 ทิศทางทวนเข็มนาฬิกา

1:
แรง เฉื อย f3 = 94 N
แรงบิดเฉื อย T3 = 2.09 N.m

2:
แรง เฉื อย f3 = 94 N
แรงบิดเฉื อย T3 = 2.09 N.m

3:
แรง เฉื อย f3 = 94 N
แรงบิดเฉื อย T3 = 2.09 N.m

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 143/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
4:
แรง เฉื อย f3 = 94 N
แรงบิดเฉื อย T3 = 2.09 N.m

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 488 :
กลไก 4 ข้อต่อในรู ป จากรู ปเหลียมของความเร่ งจะได้ AG3 = 94 m/s2 , a3 =190 rad/s2 ทิศทางทวนเข็มนาฬิกา
ให้ IG3 = 0.011 kg.m2 , m3 = 1 kg จะได้แรงเฉื อยของข้อต่อ 3 คือ f3 = 94 N จงหารัศมีวงกลมของแรงเฉื อย h

1:
h = 0.022 m

2:
h = 0.022 m

3:
h = 0.022 m

4:
h = 0.022 m

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 144/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 489 :
กลไก 4 ข้อต่อในรู ปให้ m2 = 2.1 kg , IG2 = 0.018 kg.m2 และจากรู ปเหลียมของความเร่ ง จะได้ AG2 = 49 m/s2 จงคํานวณแรงเฉื อย f2

1:
f2= 102.9 N
2:
f2= 97.86 N
3:
f2= 107.60 N
4:
f2= 10.29 N
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 490 :
กลไก 4 ข้อต่อ ในรู ป ให้ m2 =2.1 kg, IG2 = 0.018 kg.m2 และจากรู ปเหลียมของความเร่ งจะได้ AG2 = 49 m/s2 จงคํานวณแรงบิดเฉื อย t2 รอบจุด
G2

1:
t2 = 2.88 N.m
2:
t2 = 2.09 N.m
3:
t2 = 0.88 N.m
4:
t2 = 2.28 N.m
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 491 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 145/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1 : เกิดขึนทีจุด CG และมีทศ
ิ ตรงข ้ามกับความเร่ง
2 : เกิดขึนทีจุด CG และมีทศิ เดียวกันกับความเร่ง
3 : เกิดขึนทีปลายแขนกล และมีทศ ิ เดียวกันกับความเร่ง
4 : เกิดขึนทีปลายแขนกล และมีทศ ิ ตรงกันข ้ามกับความเร่ง
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 492 :
ในขณะตําแหน่งทีแสดงในภาพ มวล A ขนาด 4 กิโลกรัม วิงลงด ้วยความเร็ว 2 เมตรต่อวินาที สว่ นมวล B มีขนาด 3
กิโลกรัม ความยาวก ้านต่อ AB เท่ากับ 200 มิลลิเมตรและมีมวลน ้อยมาก พืนไม่มค ี ดทาน แรงสนสะเทื
ี วามเสย ั อนจากการ
เคลือนทีโดยไม่คด
ิ นํ าหนักของ A และ B ในขณะนันเท่ากับ

1 : 60 N down
2 : 60 N up
3 : 60 N left
4 : 60 N right
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 493 :
Slider crank mechanism ในรู ปใช้ทาํ งานเป็ นเครื องสู บอัดลม มีขนาด O2A = 60 mm และ AB = 100 mm ความเร็ วเชิงมุมของข้อต่อ 2 เป็ น 5 เรเดียนต่อวินาทีคงที
ทวนเข็มนาฬิกา ลูกสู บมีมวล 10 kg จะต้องมีแรงบิดมากระทําทีข้อเหวียง 2 เท่าไรเพือรักษาสมดุลนี

1 : 0.675 นิวตัน-เมตรตามเข็มนาฬิกา
2 : 0.675 นิวตัน-เมตรทวนเข็มนาฬิกา
3 : 1.125 นิวตัน-เมตรทวนเข็มนาฬิกา
4 : 1.125 นิวตัน-เมตรตามเข็มนาฬิกา
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 494 :
มวล M ดังรู ป R เป็ น resultant ของแรง F1 และ F2
Ag linear acceleration ทีจุดศูนย์ถ่วง g ของมวล M α เป็ น angular acceleration ของมวล M
e เป็ น eccentricity ของ R และ g inertia force FO ของมวล M มีลกั ษณะดังนี

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 146/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1: magnitude อยูใ่ นแนวเดียวกับ R ทิศทางเดียวกับ R


2: magnitude อยูใ่ นแนวเดียวกับ R ทิศทางตรงข้ามกับ R
3: magnitude อยูใ่ นแนวทีขนานกับ R แต่ผา่ น g ทิศทางเดียวกับ R
4 : magnitude อยูใ่ นแนวทีขนานกับ R แต่ผา่ น g ทิศทางตรงข้ามกับ R
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 495 :
mechanism ดังรู ปมีความมีความเร่ งเชิงเส้นและเชิงมุม Ag และ α ตามลําดับ inertia force และ torque เนืองจาก Ag และ α ข้อใดถูกต้อง

1:

2:

3:

4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 496 :
ถ้าต้องการสร้าง Turbine wheel ดังรู ปให้สามารถทํางานได้ทีความเร็ วรอบสู ง ๆ ข้อใดเป็ นหลักการทีถูกต้อง

1 : ใช้วส
ั ดุทีมี tensile stress สู ง และ mass density สู ง
2 : ใช้วสั ดุทีมี tensile stress สู ง และ mass density ตํา
3 : ใช้วส ั ดุทีมี tensile stress ตํา และ mass density ตํา
4 : ใช้วส ั ดุทีมี tensile stress ตํา และ mass density สู ง
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 497 :
http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 147/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
จากเพนดูลมั ทีให้มาดังรู ป พบว่าประกอบไปด้วยก้านทรงกระบอก(m1)ซึงมีจุดศูนย์กลางมวลทีจุด G1 กับมวลเพลทสี เหลียม(m2)มีจุดศูนย์กลางมวลทีจุด G2 และ
จุด G คือจุดศูนย์กลางมวลรวมของเพนดูลมั ถ้ากําหนดให้ m1 = 3 kg , m2 = 5 kg, IG1 = 1 kg-m2 , IG2 = 0.5208 kg-m2 และ จงหาค่า IG (Mass moment of inertia
รอบจุด G)

1 : 4.45 kg-m2
2 : 1.52 kg-m
2
3 : 2.52 kg-m
2
4 : 3.45 kg-m2
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 498 :
วัตถุเกร็ งเคลือนทีบนระนาบสองมิติ พบว่าวัตถุมีความเร่ งทีจุดศูนย์กลางมวล G เท่ากับ 1 เมตรต่อวินาที2 ทิศชีไปทางขวา มีความเร่ งเชิงมุมเท่ากับ 1 เรเดียนต่อ
วินาที2 ทิศทางทวนเข็มนาฬิกา ข้อใดไม่ถูกต้อง กําหนดให้วตั ถุมีมวลเท่ากับ 2 กิโลกรัม และค่าโมเมนต์เฉื อยเชิงมวลเท่ากับ 2 กิโลรัม-เมตร2

1:

2:

3:

4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 499 :
Slider crank mechanism ในรู ปใช้ทาํ งานเป็ นปั มนํา มีขนาด O2A = 60 mm และ AB = 100 mm ความเร็ วเชิงมุมของข้อต่อ 2 เป็ น 4 เรเดียนต่อวินาทีคงที ทวนเข็ม
นาฬิกา ลูกสู บมีมวล 15 kg จะต้องมีแรงบิดมากระทําทีข้อเหวียง 2 เท่าไรเพือรักษาสมดุลในตําแหน่งนี โดยไม่มีความเสี ยดทาน

1:
0.648 นิวตัน-เมตรตามเข็มนาฬิกา
2 : 0.648 นิ วตัน-เมตรทวนเข็มนาฬิกา
3:
1.152 นิวตัน-เมตรทวนเข็มนาฬิกา
4 : 1.152 นิ วตัน-เมตรตามเข็มนาฬิกา
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 148/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

ข ้อที 500 :
Slider crank mechanism ในรู ป จงหาขนาดของ equivalent offset inertia force (F) ของชินส่ วนหมายเลข 3 และระยะเยืองออกจากจุดศูนย์กลางมวล G3 (h) ของแรง
นี กําหนดให้ m2 = 1 kg, m3 = 1.5 kg, m4 = 2 kg, IG2 = IG3 = IG4 = 0.001 kg-m2 (ขนาดของชินส่ วน และขนาดเวคเตอร์ใน diagram ความเร่ ง มีหน่วยเป็ น
มิลลิเมตร)

มาตราส่ วนของ diagram ความเร่ ง 100 mm = 20,000 mm/s2

1 : F = 17.232 N, h = 10.37 mm
2 : F = 17.232 N, h = 8.45 mm
3 : F = 19.232 N, h = 10.37 mm
4 : F = 19.232 N, h = 8.45 mm
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

เนือหาวิชา : 274 : 22. Combined Force 1

ข ้อที 501 :
มวล A ขนาด 4 กิโลกรัม วิงขึนด้วยความเร่ ง 5 เมตรต่อ (วินาที2) และมวล B ขนาด 3 กิโลกรัม วิงไปทางซ้ายด้วยความเร่ ง 3 เมตร/(วินาที2) ความยาวก้านต่อ AB
เท่ากับ 200 มิลลิเมตรและมีมวลน้อยมาก พืนไม่มีความเสี ยดทาน แรงสันสะเทือนจากการเคลือนทีเท่ากับ

1 : ก. 89.1 N down to the right


2 : ข. 89.1 N up to the left
3 : ค. 89.1 N down to the left
4 : ง. 89.1 N up to the right
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 502 :
มวล A ขนาด 4 กิโลกรัม วิงลงด้วยความเร่ ง 5 เมตรต่อ (วินาที2) และมวล B ขนาด 3 กิโลกรัม วิงไปทางขวาด้วยความเร่ ง 3 เมตร/(วินาที2) ความ
ยาวก้านต่อ AB เท่ากับ 200 มิลลิเมตรและมีมวลน้อยมาก พืนไม่มีความเสี ยดทาน แรงสันสะเทือนจากการเคลือนทีเท่ากับ

1 : ก. 49.5 N down to the right


2 : ข. 49.5 N up to the left
3 : ค. 49.5 N down to the left
4 : ง. 49.5 N up to the right
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 503 :
http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 149/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

มวล A ขนาด 5 กิโลกรัม วิงลงด้วยความเร่ ง 5 เมตรต่อ (วินาที2) และมวล B ขนาด 3 กิโลกรัม วิงไปทางขวาด้วยความเร่ ง 3 เมตร/(วินาที2) ความ
ยาวก้านต่อ AB เท่ากับ 200 มิลลิเมตรและมีมวลน้อยมาก พืนไม่มีความเสี ยดทาน แรงสันสะเทือนจากการเคลือนทีเท่ากับ

1 : ก. 54.2 N down to the right


2 : ข. 54.2 N up to the left
3 : ค. 54.2 N down to the left
4 : ง. 54.2 N up to the right
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 504 :
มวล A ขนาด 5 กิโลกรัม วิงขึนด้วยความเร่ ง 5 เมตรต่อ (วินาที2) และมวล B ขนาด 3 กิโลกรัม วิงไปทางซ้ายด้วยความเร่ ง 3 เมตร/(วินาที2) ความ
ยาวก้านต่อ AB เท่ากับ 200 มิลลิเมตรและมีมวลน้อยมาก พืนไม่มีความเสี ยดทาน แรงสันสะเทือนจากการเคลือนทีเท่ากับ

1 : ก. 103.8 N down to the right


2 : ข. 103.8 N up to the left
3 : ค. 103.8 N down to the left
4 : ง. 103.8 N up to the right
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 505 :

ถ ้า Link No.2 เคลือนทีในทิศทางตามเข็มนาฬกาด ้วยความเร็ว 600 รอบ/นาที แล ้ว Slider B กําลังเคลือนทีไปทางขวา
ถามว่า เวคเตอร์ของแรงทีกระทํากับ Link No. 3 จะเป็ นไปดังภาพไหน .

1:

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 150/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

2:

3:

4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 506 :

ถ ้า Link No.2 เคลือนทีในทิศทางทวนเข็มนาฬกาด ้
้วยความเร็ว 600 รอบ/นาที แล ้ว Slider B กําลังเคลือนทีไปทางซาย
ถามว่า เวคเตอร์ของแรงทีกระทํากับ Link No. 3 จะเป็ นไปดังภาพไหน .

1:

2:

3:

4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 507 :

ถ ้า Link No.2 เคลือนทีในทิศทางทวนเข็มนาฬกาด ้วยความเร็ว 300 รอบ/นาที แล ้ว Slider B กําลังเคลือนทีไปทางขวา
ถามว่า เวคเตอร์ของแรงทีกระทํากับ Link No. 2 จะเป็ นไปดังภาพไหน .

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 151/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1:

2:

3:

4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 508 :

ถ ้า Link No.2 เคลือนทีในทิศทางทวนเข็มนาฬกาด ้วยความเร็ว 600 รอบ/นาที แล ้ว Slider B กําลังเคลือนทีไปทางขวา
ถามว่า เวคเตอร์ของแรงทีกระทํากับ Link No. 3 จะเป็ นไปดังภาพไหน .

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 152/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1:

2:

3:

4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 509 :
ข ้อใดคือคุณสมบัตข
ิ องแรงเฉือยออฟเซตสมมูลย์ทไม่
ี ถกู ต ้อง

1:
มีขนาดเท่ากับ aG
2:
มีทิศตรงข้ามกับ
3:
ทําให้เกิดโมเมนต์รอบจุดศูนย์ถ่วงมวลโดยมีทิศตรงข้ามกับทิศการหมุนของ
4 : มีระยะเยืองศูนย์ออกจากจุดศูนย์ถ่วงมวลเท่ากับ
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 510 :
ข ้อใดคือคุณสมบัตข
ิ องแรงเฉือยออฟเซตสมบูรณ์ทไม่
ี ถกู ต ้อง

1: มีขนาดเท่ากับ maG
2 : มีทิศตรงข้ามกับ
3 : ทําให้เกิดโมเมนต์รอบจุดศูนย์ถ่วงมวลโดยมีทิศตรงข้ามกับทิศการหมุนของ

4 : มีระยะเยืองศูนย์ออกจากจุดศูนย์ถ่วงมวลเท่ากับ
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 153/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

ข ้อที 511 :
ข ้อใดคือคุณสมบัตข
ิ องแรงเฉือยออฟเซตสมบูรณ์ทถู
ี กต ้อง

1 : มีขนาดเท่ากับ aG
2 : มีทิศทางเดียวกับตรงข้ามกับ
3 : ทําให้เกิดโมเมนต์รอบจุดศูนย์ถ่วงมวลโดยมีทิศทางเดียวกับกับทิศการหมุนของ

4 : มีระยะเยืองศูนย์ออกจากจุดศูนย์ถ่วงมวลเท่ากับ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 512 :
จงคํานวณหาแรง F14 กําหนดให้ m2 = 2.3 kg, IG2= 0.005 kg-m2, m3 = 0 kg และ m4=2.7 kg,AG4 = 950m/s2 และ P= 18000 N

1:
F14= 2805 N
2:
F14= 2805 N
3:
F14= 3737.3 N

4:
F14= 3737.3 N
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 513 :
จงคํานวณหาแรงเฉื อย f2กําหนดให้ m2= 2.3 kg ,IG2= 0.005 kg-m2, m3= 0 kg และm4= 2.7 kg ,AG2= 1776.5 m/s2 และ P = 18000 N

1:
f2 = 4086 N
2:
f2 = 2805 N
3:
f2 = 4237.3 N
4:
f2 = 3737.3 N
http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 154/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 514 :
จงคํานวณหาแรงเฉื อย f3กําหนดให้ m3= 3.6 kg ,IG3= 0.04 kg-m2 และจากรู ปเหลียมของความเร่ ง AG3= 1775 m/s2 ,a3= 8333.33 rad/s2 ทิศทาง
ทวนเข็มนาฬิกา

1:
f3 = 6390 N แนวแรงขนานกับความเร่ ง AG3 แต่ทิศทางตรงข้าม
2:
f3 = 6.39 N แนวแรงขนานกับความเร่ ง AG3 แต่ทิศทางเดียวกัน
3:
f3 = 5390 N แนวแรงขนานกับความเร่ ง AG3 แต่ทิศทางตรงข้าม
4:
f3 = 5.39 N แนวแรงขนานกับความเร่ ง AG3 แต่ทิศทางเดียวกัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 515 :
จงคํานวณหาแรงบิดเฉื อยของข้อต่อ 3 m3= 3.6 kg ,IG3= 0.04 kg-m2 และจากรู ปเหลียมของความเร่ ง AG3= 1775 m/s2 ,a3= 8333.33 rad/s2
ทิศทางทวนเข็มนาฬิกา

1:
แรงบิดเฉื อย t3 = 333.33 N.m ทิศตามเข็มนาฬิกา
2:
แรงบิดเฉื อย t3 = 333.33 N.m ทิศทวนเข็มนาฬิกา
3:
แรงบิดเฉื อย t3 = 639.03 N.m ทิศตามเข็มนาฬิกา
4:
แรงบิดเฉื อย t3 = 639.03 N.mทิศทวนเข็มนาฬิกา
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 516 :
ข ้อใดคือคุณสมบัตข
ิ องแรงเฉือยออฟเซตสมมูลย์ทไม่
ี ถกู ต ้อง

1 : มีขนาดเท่ากับ maG
2 : มีทิศตรงข้ามกับ
3 : ทําให้เกิดโมเมนต์รอบจุดศูนย์ถ่วงมวลโดยมีทิศตรงข้ามกับทิศการหมุนของ
4 : มีระยะเยืองศูนย์ออกจากจุดศูนย์ถ่วงมวลเท่ากับ
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 155/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
ข ้อที 517 :
ในขณะตําแหน่งทีแสดงในภาพ มวล A ขนาด 4 กิโลกรัม วิงด ้วยความเร็ว 2 เมตรต่อวินาที สว่ น มวล B มีขนาด 3 กิโลกรัม
ความยาวก ้านต่อ AB เท่ากับ 200 มิลลิเมตรและมีมวลน ้อยมาก พืนไม่มค ี ดทาน แรงสนสะเทื
ี วามเสย ั อนจากการเคลือนที
ในขณะนันเท่ากับเท่าไร โดยทีการเคลือนทีของมวลอยูใ่ นระนาบดิง

1 : 91.2 N down to the right


2 : 91.2 N up to the left
3 : 91.2 N down to the left
4 : 91.2 N up to the right
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 518 :
ข้อต่อทีมีความเสี ยดทานทีรอยต่อแบบหมุนตามรู ป เมือมีการเคลือนทีเชิงมุมสัมพัทธ์กบั ข้อต่ออืนทีเชือมต่อกันตามทิศทางลูกศร ความเป็ นไปได้ของแนวแรงเสี ยด
ทานทีรอยต่อทัง 2 ข้างคือ

1 : AB
2 : BC
3 : AD
4 : CD
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 519 :
Internal combustion engine มี static gas load P และ dynamic load FO4, FO3 และ w2, α3 ดังรู ป กราฟฟิ ค จําลองทีถูกต้องเพือการวิเคราะห์คือ

1:

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 156/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

2:

3:

4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 520 :
ข้อต่อทีมีความเสี ยดทานทีรอยต่อแบบหมุนตามรู ป เมือมีการเคลือนทีเชิงมุมสัมพัทธ์กบั ข้อต่ออืนทีเชือมต่อกันตามทิศทางลูกศร ความเป็ นไปได้ของแนวแรงเสี ยด
ทานทีรอยต่อทัง 2 ข้างคือ

1:
AB
2 : BC
3 : AD
4 : CD
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 521 :
กลไก crank-slider ดังรู ป ต้องการหาโมเมนต์กระทําทีชินส่ วนหมายเลข 2 เพือให้กลไกอยูใ่ นสภาวะสมดุลโดยพิจารณาผลของแรงเสี ยดทานทีข้อต่อหมุน (revolute
joint) ถ้าการหมุนของชินส่ วน 3 เทียบกับ 2 มีทิศทวนเข็มนาฬิกา และการหมุนของชินส่ วน 3 เทียบกับลูกสู บหมายเลข 4 มีทิศทวนเข็มนาฬิกา จงเขียน free body
http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 157/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
diagram สําหรับวิเคราะห์แรงกระทําบนชินส่ วนหมายเลข 3

1:

2:

3:

4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

เนือหาวิชา : 275 : 23. Balancing of Rotating Masses 1

ข ้อที 522 :

มวล 3 ก้อนถูกจัดตามตําแหน่งในรู ป หมุนในระนาบเดียวกันรอบจุด O มีค่ามวล แขนมวล และมุมดังต่อไปนี


mA = 10 kg, RA = 110 mm
RB = 75 mm, qB = 100oRC = 90 mm, qC = 220o
มวล B และ C ต้องเป็ นเท่าไรเพือให้ระบบสมดุล

1:
mB = 14.7 kg, mC = 18.7 kg
2:
mB = 10.9 kg, mC = 13.9 kg
3:
mB = 18.7 kg, mC = 14.7 kg
4:
mB = 13.9 kg, mC = 10.9 kg
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 523 :
มวล 3 ก้อนถูกจัดตามตําแหน่งในรู ป หมุนในระนาบเดียวกันรอบจุด O มีค่ามวล แขนมวล และมุมดังต่อไปนี
mA = 10 kg, RA = 110 mm
mB = 12 kg, qB = 100o
mC = 15 kg, qC = 220o
แขนมวล B และ C ต้องเป็ นเท่าไรเพือให้ระบบสมดุล

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 158/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1:
RB = 68.0 mm, RC = 83.4 mm
2:
RB = 83.40 mm, RC = 68.0 mm
3:
RB = 91.7 mm, RC = 112.0 mm
4:
RB = 112.0 mm, RC = 91.7 mm
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 524 :
มวล 3 ก้อนถูกจัดตามตําแหน่งในรู ป หมุนในระนาบเดียวกันรอบจุด O มีค่ามวล แขนมวล และมุมดังต่อไปนี
mA = 10 kg, RA = 110 mm
mB = 15 kg, qB = 100omC = 12 kg, qC = 220o
แขนมวล B และ C ต้องเป็ นเท่าไรเพือให้ระบบสมดุล

1:
RB = 73 mm, RC = 140 mm
2:
RB = 140 mm, RC = 73 mm
3:
RB = 54 mm, RC = 104 mm
4:
RB = 104 mm, RC = 54 mm
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 525 :
มวล 3 ก้อนถูกจัดตามตําแหน่งในรู ป หมุนในระนาบเดียวกันรอบจุด O มีค่ามวล แขนมวล และมุมดังต่อไปนี
mA = 10 kg, RA = 110 mm
RB = 70 mm, qB = 100o
RC = 100 mm, qC = 220o
มวล B และ C ต้องเป็ นเท่าไรเพือให้ระบบสมดุล

1:
mB = 16.8 kg, mC = 15.7 kg
2:
mB = 15.7 kg, mC = 16.8 kg
3:
mB = 12.5 kg, mC = 11.7 kg
4:

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 159/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
mB = 11.7 kg, mC = 12.5 kg
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 526 :
สมมุตวิ า่ มีนําหนัก W1,W2 &W3 อยูท ่ ตํ
ี าแหน่ง R1 , R2 และ R3 และต ้องการหาค่า WA , WB จะมาถ่วงทังสองตัวโดย
ให ้รัศมีอยูท
่ ี 3 ของความยาว ดังรูป

1 : Wa =7.88, Wb =4.5
2 : Wa =3.5, Wb =2.5
3 : Wa =7.58, Wb =4.33
4 : Wa =2.5, Wb =3.5
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 527 :
สมมุตวิ า่ มีนําหนัก W1,W2 &W3 อยูท ่ ตํ
ี าแหน่ง R1 , R2 และ R3 และต ้องการหาค่า WA , WB จะมาถ่วงทังสองตัวโดย
ให ้รัศมีอยูท
่ ี 3 ของความยาว ดังรูป

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 160/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1 : Wa= 7.88 ; Wb=4.5


2 : Wa= 3.5 ; Wb=2.5
3 : Wa= 7.58 ; Wb=4.33
4 : Wa= 7.59 ; Wb=4.08
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 528 :
สมมุตวิ า่ มีนําหนัก W1,W2 &W3 อยูท ่ ตํ
ี าแหน่ง R1 , R2 และ R3 และต ้องการหาค่า WA , WB จะมาถ่วงทังสองตัวโดย
ให ้รัศมีอยูท
่ ี 3 ของความยาว ดังรูป

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 161/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1 : Wa= 6.49 ; Wb= 3.14


2 : Wa= 3.25 ; Wb= 1.57
3 : Wa =7.58 ; Wb= 4.33
4 : Wa = 2.078 ; Wb= 4.08
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 529 :
จากรูป ถ ้าระบบไม่สมดุล จะเกิดอะไรขึนทีฐานรองเพลา

1 : แรงเขย่า
2 : โมเมนต์เขย่า
3 : แรงเขย่าและโมเมนต์เขย่า
4 : แรงหนีศนู ย์กลาง
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 530 :
การทําสมดุลสถิต จะทําเพือกําจัดแรงอะไรให้หมดไป

1 : แรงหนีศนู ย์กลางเขย่า
2 : โมเมนต์เขย่า
3 : แรงเขย่า
4 : แรงเฉือยเขย่า
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 531 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 162/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
จากรู ป การทําสมดุลจะทําให้กาํ จัดแรงอะไรออกไปจากระบบ

1 : โมเมนต์เขย่า
2 : แรงเขย่า
3 : แรงหนีศนู ย์กลาง
4 : แรงเขย่าและโมเมนต์เขย่า
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 532 :
จากรู ป การทําสมดุลจะทําให้กาํ จัดแรงอะไรออกไปจากระบบ

1 : โมเมนต์เขย่า
2 : แรงหนีศนู ย์กลางเขย่า
3 : แรงเฉือยเขย่า
4 : แรงเขย่า
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 533 :
จงคํานวณหามวล me ทีทําให้ระบบอยูใ่ นสมดุล มวล m1, m2 และ me หมุนอยูใ่ นระนาบเดียวกันด้วยความเร็ วเชิงมุม w
ให้ m1 = 1.5 kg, m2 = 2 kg, R1 = 20 cm, R2 = 20 cm และ Re = 25 cm

1:
me = 2 kg
2:
me = 2.5 kg
3:
me = 5 kg
4:
me = 3 kg
http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 163/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 534 :
จงคํานวณหามุม qe ทีทําให้ระนาบอยูใ่ นสมดุล มวล m1, m2 และ me หมุนในระนาบเดียวกันด้วยความเร็ วเชิงมุม w
ให้ m1 = 1.5 kg, m2 = 2 kg, me = 2 kg, R1 = 20 cm, R2 = 20 cm และ Re = 25 cm

1:
qe = 30o+180o+53.1o
2:
qe = 30o+180o+36.9o
3:
qe = 30o+90o+53.1o
4:
qe = 30o+90o+36.9o
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 535 :
จงคํานวณหามวล me ทีทําให้ระบบอยูใ่ นสมดุล มวล m1, m2 และ me หมุนอยูใ่ นระนาบเดียวกัน
ให้ m1 = 3 kg, m2 = 2 kg, R1 = 20 cm, R2 = 30 cm และ Re = 20 cm โดย q1 = และq2 =

1:
me = 3 kg
2:
me = 2 kg
3:
me = 2.5 kg
4:
me = 3.5 kg
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 536 :
มวล me ทําให้ระบบอยูใ่ นสมดุล มวล m1, m2 และ me หมุนอยูใ่ นระนาบเดียวกัน

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 164/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

ให้ m1 = 3 kg, m2 = 2 kg, R1 = 20 cm, R2 = 30 cm และ Re = 20 cm โดย q1 = 60o และq2 = 180o

1:
qe = 300o
2:
qe = 280o
3:
qe = 180o
4:
qe = 270o
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 537 :
สมมติวา่ มีนาหนั
ํ ก W1, W2, W3 อยูท่ ีตําแหน่ง R1, R2, R3 และต้องการหาค่า WA, WB จะมาถ่วงทังสองตัวโดยให้รัศมีอยูท่ ี 3 ของความยาวดัง
รู ป

1:
2:
3:
4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 165/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

ข ้อที 538 :
มวล 3 ก ้อนถูกจัดตามตําแหน่งในรูป หมุนในระนาบเดียวกันรอบจุด O มีคา่ มวล แขนมวล และมุมดังต่อไปนี
mB = 10.9 kg, mC = 13.9 kg
RB = 75 mm, ๐
B = 100
RC = 90 mm, ๐
C = 220
มวลแลแขน A ต ้องเป็ นเท่าไรเพือให ้ระบบสมดุล

1 : mA = 10 kg, RA = 90 mm
2 : mA = 10 kg, RA = 110 mm
3 : mA = 15 kg, RA = 110 mm
4 : mA = 15 kg, RA = 90 mm
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 539 :
มวล 3 ก ้อนถูกจัดตามตําแหน่งในรูป หมุนในระนาบเดียวกันรอบจุด O มีคา่ มวล แขนมวล และมุมดังต่อไปนี
mB = 12 kg, RB = 68.0 mm, ๐
B = 100
mC = 15 kg, RC = 83.4 mm, ๐
C = 220
แขนมวล B และ C ต ้องเป็ นเท่าไรเพือใรบบสมดุล

1 : mA = 10 kg, RA = 90 mm
2 : mA = 15 kg, RA = 90 mm
3 : mA = 15 kg, RA = 110 mm
4 : mA = 10 kg, RA = 110 mm
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 540 :
สู ตร แสดงค่าทีไม่สมดุลของ

1 : แรงปฐมภูม ิ
2 : แรงทุตย
ิ ภูม ิ
3 : โมเมนต์ปฐมภูม ิ
4 : โมเมนต์ทตุ ยิ ภูม ิ
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 541 :
static balance คือ

1 : balance of force due to the action of gravity


2 : balance of inertia forces and moments of inertia forces
3 : balance of inertia forces
4 : balance of moment of inertia forces
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 166/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

ข ้อที 542 :
ระบบโรเตอร์ดงั รู ป มีการหมุนด้วยความเร็ วเชิงมุมคงที พบว่ามีมวลไม่สมดุลขนาด m มีระยะห่างจากแกนเพลาเท่ากับ e หรื ออยูท่ ีจุด G จงหาขนาดแรงทีแบริ ง A
(FA)

1:
2:
3:
4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 543 :
ระบบโรเตอร์ดงั รู ป มีการหมุนด้วยความเร็ วเชิงมุมคงที พบว่ามีมวลไม่สมดุลขนาด m มีระยะห่างจากแกนเพลาเท่ากับ e หรื ออยูท่ ีจุด G จงหาขนาดแรงทีแบริ ง B
(FB)

1:
2:
3:
4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 544 :
ชินส่ วน Uniform bar หมุนรอบแกนคงที (rotating about a fixed axis) ดังรู ป จงเขียนแผนภาพ (diagram) ของระบบมวลหมุนนี

1:

2:

3:

4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

เนือหาวิชา : 276 : 24. Balancing of Rotating Masses 2

ข ้อที 545 :
มวล 4 ก้อน A, B, C และ D ถูกจัดวางให้อยูห่ ่างกันเป็ นระยะ 40 เซนติเมตร ตามรู ป ถ้า mB= 4 kg, mC = 8 kg, แขนมวลทุกก้อนยาว 10
เซนติเมตร มุมของแขนมวล (วัดจากแนวดิงทวนเข็มนาฬิกา) เป็ น qB = และ qC = จงหาขนาด mA ทีทําให้ระบบสมดุล

1 : 3.772 kg
2 : 4.772 kg

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 167/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
3 : 5.772 kg
4 : 6.772 kg
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 546 :

มวล 4 ก้อน A, B, C และ D ถูกจัดวางให้อยูห่ ่างกันเป็ นระยะ 40 เซนติเมตร ตามรู ป ถ้า mB= 5 kg, mC = 8 kg, แขนมวลทุกก้อนยาว 10 เซนติเมตร มุมของแขนมวล
(วัดจากแนวดิงทวนเข็มนาฬิกา) เป็ น qB = 120o และ qC = 210o จงหาขนาด mA ทีทําให้ระบบสมดุล

1 : 3.344 kg
2 : 4.344 kg
3 : 5.344 kg
4 : 6.344 kg
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 547 :

มวล 4 ก้อน A, B, C และ D ถูกจัดวางให้อยูห่ ่างกันเป็ นระยะ 40 เซนติเมตร ตามรู ป ถ้า mB= 4 kg, mC = 10 kg, แขนมวลทุกก้อนยาว 10
เซนติเมตร มุมของแขนมวล (วัดจากแนวดิงทวนเข็มนาฬิกา) เป็ น qB = 120o และ qC = 210o จงหาขนาด mA ทีทําให้ระบบสมดุล

1 : 3.458 kg
2 : 4.458 kg
3 : 5.458 kg
4 : 6.458 kg
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 548 :

มวล 4 ก้อน A, B, C และ D ถูกจัดวางให้อยูห่ ่างกันเป็ นระยะ 40 เซนติเมตร ตามรู ป ถ้า mB= 5 kg, mC = 10 kg, แขนมวลทุกก้อนยาว 10
เซนติเมตร มุมของแขนมวล (วัดจากแนวดิงทวนเข็มนาฬิกา) เป็ น qB = 120o และ qC = 210o จงหาขนาด mA ทีทําให้ระบบสมดุล

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 168/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1 : 3.935 kg
2 : 4.935 kg
3 : 5.935 kg
4 : 6.935 kg
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 549 :
ให ้ W1,W2 &W3 ดังในรูป ต ้องการหานํ าหนักมาถ่วง We เพือถ่วงสมดุลย์ทระยะ
ี 3.5 หน่วยความยาว และตําแหน่ง
Degree ของ e

1 : We =15 Degree e= 59.0


2 : We = 15 Degree e= 259.0
3 : We =9.09 Degree e= 264.0
4 : We = 9.09 Degree e= 84.9
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 550 :
ให ้ W1,W2 &W3 ดังในรูป ต ้องการหานํ าหนักมาถ่วง We เพือถ่วงสมดุลย์ทระยะ
ี 3.5 หน่วยความยาว และตําแหน่ง
Degree ของ e

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 169/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1 : We = 15 Degree ของ e =59.0


2 : We = 15 Degree ของ e = 259.0
3 : We = 13.37 Degree ของ e = 263.34
4 : We = 13.37 Degree ของ e = 83.34
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 551 :
ให ้ W1,W2 &W3 ดังในรูป ต ้องการหานํ าหนักมาถ่วง We เพือถ่วงสมดุลย์ทระยะ
ี 3.5 หน่วยความยาว และตําแหน่ง
Degree ของ e

1 : W = 15.66 : Degree ของ e = 53.22


2 : W = 15.66 : Degree ของ e = 253.22
3 : W = 9.09 : Degree ของ e = 264.9
4 : W = 9.09 : Degree ของ e = 84.9
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 552 :
ให ้ W1,W2 &W3 ดังในรูป ต ้องการหานํ าหนักมาถ่วง We เพือถ่วงสมดุลย์ทระยะ
ี 3.5 หน่วยความยาว และตําแหน่ง
Degree ของ e

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 170/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1 : W = 5.38 : Degree ของ e = 265.7


2 : W = 15.38 : Degree ของ e = 265.7
3 : W = 9.09 : Degree ของ e = 264.9
4 : W = 9.09 : Degree ของ e = 84.9
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 553 :
ข ้อใดถูกต ้องสําหรับการทําสมดุลพลวัต

1 : ทําเพือกําจัดโมเมนต์เขย่าและแรงเขย่า
2 : ต ้องใส่มวลอย่างน ้อย 3 มวลเพิมเข ้าไป
3 : ใช ้ในกรณีทมี
ี มวลเพียงอันเดียวทีหมุนในระนาบ
4 : ใช ้หลักผลรวมของแรงเฉือยเท่ากับศูนย์เพียงอย่างเดียว
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 554 :
ข ้อใดถูกต ้องสําหรับการทําสมดุลพลวัต

1 : ทําเพือกําจัดโมเมนต์เขย่าเพียงอย่างเดียว
2 : ต ้องใส่มวลอย่างน ้อย 3 มวลเพิมเข ้าไป
3 : ใช ้ในกรณีทมี
ี มวลเพียงอันเดียวทีหมุนในระนาบ
4 : ใช ้หลักผลรวมของแรงเฉือยเท่ากับศูนย์และผลรวมของโมเมนต์รอบจุดใดๆเท่ากับศูนย์
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 555 :
ข ้อใดถูกต ้องสําหรับการทําสมดุลพลวัต

1 : ทําเพือกําจัดโมเมนต์เขย่าเพียงอย่างเดียว
2 : ต ้องใส่มวลอย่างน ้อย 2 มวลเพิมเข ้าไป
3 : ใช ้ในกรณีทมี
ี มวลเพียงอันเดียวทีหมุนในระนาบ
4 : ใช ้หลักผลต่างของแรงเฉือยเท่ากับศูนย์และผลต่างของโมเมนต์รอบจุดใดๆเท่ากับศูนย์
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 556 :
ู ต ้องสําหรับการทําสมดุลพลวัต
ข ้อใดไม่ถก

1 : ทําเพือกําจัดแรงเขย่าและโมเมนต์เขย่า
2 : ต ้องใส่มวลอย่างน ้อย 2 มวลเพิมเข ้าไป
3 : ใช ้ในกรณีทมี
ี มวลเพียงอันเดียวทีหมุนในระนาบ

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 171/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
4 : ใช ้หลักผลรวมของแรงเฉือยเท่ากับศูนย์และผลรวมของโมเมนต์รอบจุดใดๆเท่ากับศูนย์
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 557 :

จงหามวล mA เพือถ่วงสมดุลแรงบนระนาบ A เมือระบบมีโมเมนต์ทีสมดุล จากการเติมมวล mB ลงบนระนาบ B โดย mB = 4 หน่วยนําหนัก


m1 = 1 หน่วยนําหนัก, m2= 3 หน่วยนําหนัก
R1= 2 หน่วยความยาว, R2= 2 หน่วยความยาว

RB= 2 หน่วยความยาว และให้ q2=q1+180o

1:
mA= 6 หน่วยนําหนัก
2:
mA= 2.5 หน่วยนําหนัก
3:
mA= 3 หน่วยนําหนัก
4:
mA= 2 หน่วยนําหนัก
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 558 :

จงหามวล mB= เพือถ่วงสมดุลโมเมนต์รอบแกนอ้างอิงในระนาบ A โดนให้ mB อยูใ่ นระนาบ B


ให้ m1 = 5 หน่วยนําหนัก, m2= 3 หน่วยนําหนัก
R1= 2 หน่วยความยาว, R2= 2 หน่วยความยาว
RB= 1 หน่วยความยาว

1:
mB = 8 หน่วยนําหนัก
2:
mB = 6 หน่วยนําหนัก
3:
mB = 4 หน่วยนําหนัก
4:
mB = 2 หน่วยนําหนัก
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 172/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

ข ้อที 559 :
จงหามวล mB= เพือถ่วงสมดุลโมเมนต์รอบแกนอ้างอิงในระนาบ A โดนให้ mB อยูใ่ นระนาบ B
ให้ m1 = 1 หน่วยนําหนัก, m2= 3 หน่วยนําหนัก
R1= 2 หน่วยความยาว, R2= 2 หน่วยความยาว
RB= 2 หน่วยความยาว

1:
mB = 4 หน่วยนําหนัก
2:
mB = 2 หน่วยนําหนัก
3:
mB = 2.5 หน่วยนําหนัก
4:
mB = 3 หน่วยนําหนัก
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 560 :
จงหามวล mA เพือถ่วงสมดุลแรงบนระนาบ A เมือระบบมีโมเมนต์ทีสมดุล จากการเติมมวล mB ลงบนระนาบ B โดย mB = 4 หน่วยนําหนัก
m1 = 1 หน่วยนําหนัก, m2= 3 หน่วยนําหนัก
R1= 2 หน่วยความยาว, R2= 2 หน่วยความยาว
RB= 2 หน่วยความยาว และให้ q1=q2

1:
mB= 8 หน่วยนําหนัก
2:
mB= 2 หน่วยนําหนัก
3:
http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 173/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
mB= 2.5 หน่วยนําหนัก
4:
mB= 3 หน่วยนําหนัก
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 561 :
มวล 4 ก ้อน A,B,C, และ D ถูกจัดวางให ้อยูห
่ า่ งกันเป็ นระยะ 40 เซนติเมตร ตามรูป ถ ้า mA = 3.7 kg, mC = 8.0 kg. แขน

มวลทุกก ้อนยาว 10 เซนติเมตร มุมของแขนมวล (วัดจากแนวดิงทวนเข็มนาฬกา) เป็ น ๐
B = 120 และ

C = 210 จงหา
ขนาดของ mB ทีทําให ้ระบบสมดุล

1 : 3.0 kg
2 : 4.0 kg
3 : 5.0 kg
4 : 6.0 kg
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 562 :
มวล 4 ก ้อน A,B,C, และ D ถูกจัดวางให ้อยูห
่ า่ งกันเป็ นระยะ 40 เซนติเมตร ตามรูป ถ ้า mA = 3.7 kg, mB = 4.0 kg, แขน

มวลทุกก ้อนยาว 10 เซนติเมตร มุมของแขนมวล (วัดจากแนวดิงทวนเข็มนาฬกา) เป็ น ๐
B = 120 และ

C = 210 จงหา
ขนาดของ mC ทีทําให ้ระบบสมดุล

1 : 5.0 kg
2 : 6.0 kg
3 : 7.0 kg
4 : 8.0 kg
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 563 :
สู ตร แสดงค่าทีไม่สมดุลของ

1 : แรงปฐมภูม ิ
2 : แรงทุตย
ิ ภูม ิ
3 : โมเมนต์ปฐมภูม ิ
4 : โมเมนต์ทตุ ยิ ภูม ิ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 564 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 174/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
24 F เป็ น inertia forces ของมวลของระบบ Fe เป็ น inertia forces ของมวลทีจะ balance ระบบ
ข้อใดเป็ นการ balance ทีดีทีสุ ดของระบบ

1:

2:

3:

4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 565 :
ระบบโรเตอร์มีมวลไม่สมดุล m1 และ m2 ซึงมีค่าเท่ากันและอยูห่ ่างจากแกนเพลาด้วยระยะทีเท่ากัน ดังรู ป มีการหมุนด้วยความเร็ วเชิงมุมคงที คํากล่าวใดไม่ถูก
ต้อง

1 : ระบบมีความสมดุลแรง
2 : ระบบมีความสมดุลโมเมนต์
3 : ขนาดแรงเฉื อยของมวลทังสองมีขนาดเท่ากันแต่ทิศทางตรงกันข้าม
4 : ต้องมีการปรับสมดุลโดยทําการเติมมวลถ่วงบน 2 ระนาบ
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 566 :
ระบบโรเตอร์มวล m1 และ m2 ดังรู ป มีการหมุนด้วยความเร็ วเชิงมุมคงที พบว่าจุดศูนย์ถ่วงของโรเตอร์ทงสองมี
ั การเยืองศูนย์ไปด้วยระยะ e1 และ e2 จงหาขนาด
แรงเขย่าสุ ทธิ เมือ FC1 และ FC2 คือแรงเฉื อยจากการเยืองศูนย์ของโรเตอร์ 1 และ 2

1:
2:
3:
4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 567 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 175/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

ระบบโรเตอร์มวล m1 และ m2 ดังรู ป มีการหมุนด้วยความเร็ วเชิงมุมคงที พบว่าจุดศูนย์ถ่วงของโรเตอร์ทงสองมี


ั การเยืองศูนย์ไปด้วยระยะ e1 และ e2 จงหาขนาด
แรงทีแบริ ง A (FA) เมือ FC1 และ FC2 คือแรงเฉื อยจากการเยืองศูนย์ของโรเตอร์ 1 และ 2

1:
2:
3:
4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 568 :
การนําล้อรถยนต์ไปทําการถ่วงล้อนัน เราต้องทําเพืออะไร

1 : กําจัดแรงเขย่า(Shaking force)
2 : กําจัดโมเมนต์เขย่า(Shaking moment)
3 : กําจัดแรงเขย่า(Shaking force)และโมเมนต์เขย่า(Shaking moment)
4 : ลดการสึ กหรอของล้อ
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 569 :
การนําล้อรถยนต์ไปทําการถ่วงล้อนัน เราต้องใช้ทฤษฎีดงั ต่อไปนี

1 : การสมดุลสถิต(Static balancing)
2 : การสมดุลพลวัต(Dynamic balancing)
3 : การสมดุลโมเมนต์
4 : รวมทัง ก และ ข
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 570 :
ระบบโรเตอร์มวล m1 และ m2 ดังรู ป มีการหมุนด้วยความเร็ วเชิงมุมคงที พบว่าจุดศูนย์ถ่วงของโรเตอร์ทงสองมี
ั การเยืองศูนย์ไปด้วยระยะ e1 และ e2 จงหาขนาด
แรงทีแบริ ง B (FB) เมือ FC1 และ FC2 คือแรงเฉื อยจากการเยืองศูนย์ของโรเตอร์ 1 และ 2

1:
2:
3:
4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 571 :
จากระบบมวลหมุนเยืองศูนย์ (Rotating masses) ดังรู ป ถ้าต้องการให้ระบบอยูใ่ นสภาวะสมดุล ต้องทําอย่างไร กําหนดให้ m1 = 10 kg, r1 = 20 mm และ m2 = 15
kg, r2 = 30 mm

1 : หามวลขนาดเท่ากับ 10 kg มาถ่วงในฝังตรงข้ามกับมวล 1 โดยมีระยะห่ างเท่ากับ r1


2 : หามวลขนาดเท่ากับ 15 kg มาถ่วงในฝังตรงข้ามกับมวล 2 โดยมีระยะห่ างเท่ากับ r2
3 : หามวลขนาดเท่ากับ 25 kg มาถ่วงในฝังตรงข้ามกับของมวลทังสอง โดยมีระยะห่ างเท่ากับ (r1 + r2)/2
4 : หามวลขนาดเท่ากับ 25 kg มาถ่วงในฝังตรงข้ามกับจุดศูนย์กลางมวลของมวลทังสอง โดยมีระยะห่ างเท่ากับระยะในแนวรัศมีของจุดศูนย์กลางมวล
คําตอบทีถูกต ้อง : 4
http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 176/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

เนือหาวิชา : 277 : 25. Balancing of Reciprocating Masses

ข ้อที 572 :
ผลรวม Primary unbalanced force ในเครืองยนต์ 3 สูบแบบแถวเรียงเป็ น

1:
2:
3:
4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 573 :
ผลรวม Secondary unbalanced force ในเครืองยนต์ 3 สูบแบบแถวเรียงเป็ น

1:

2:

3:

4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 574 :
ผลรวม Primary unbalanced force ในเครืองยนต์ 4 สูบแบบแถวเรียงเป็ น

1:
2:
3:
4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 575 :
ผลรวม Secondary unbalanced force ในเครืองยนต์ 4 สูบแบบแถวเรียงเป็ น

1:

2:

3:

4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 576 :
เครืองยนต์ลก
ู สูบเดียว ดังรูป จงคะเนตําแหน่ง และนํ าหนักถ่วงทีดีทส
ี ด
ุ ถ ้านํ าหนักทังหมดทีปลายข ้อเหวียง = WC นํ า
หนักทังหมดของลูกสูบ = WP

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 177/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

1 : 90 Degree, WC+WP
2 : 180 Degree, WC+WP/2
3 : 30 Degree , (WC+WP)/2
4 : 210 Degree, WC+WP/2
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 577 :
ี ยมใช ้ คืออะไร ติดตังไว ้ทีไหน
ในการทํา Balancing เพลาข ้อเหวียงของเครืองยนต์ 4 สูบ อุปกรณ์ทนิ

1 : Manchaester Balancer ถ่วงบริเวณสูบ 2 และ3


2 : Lonchaester Balancer ถ่วงบริเวณสูบ 1 และ3
3 : Lanchaester Balancer ถ่วงบริเวณสูบ 2 และ3
4 : Lanchaester Balancer ถ่วงบริเวณสูบ 3 และ 4
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 578 :
ในเครืองยนต์ 4 สูบ นิยมใช ้ Lanchaster Balancer ถ่วงด ้วยนํ าหนักเท่าไหร่ และตรงไหน ถ ้า W =นํ าหนักทีลูกสูบทังหมด
R = รัศมีเพลาข ้อเหวียง Rc = รัศมีเฟื องถ่วง L= ความยาวก ้านข ้อเหวียง a = ระยะระหว่างลูกสูบ

1 : = 1/2 (W) R^2/RcL ทีระยะ 3a/2


2 : = (W) R^2/RcL ทีระยะ 3a/2
3 : = 4(W) R^2/RcL ทีระยะ 3a/2
4 : = 2 (W) R^2/RcL ทีระยะ 3a/2
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 579 :
เครืองยนต์เบนซน ิ ขนาด 2000 ซซ ี ี 6 สูบแถวเรียง หมุนด ้วยความเร็วคงที 1000 รอบต่อนาที ถ ้า W = Total Piston weight
R= radius of crankshaft L= Piston rod จงหาค่า Total Inertia force และ Couple ของเครืองยนต์

1 : Fs = 0 M =0
2 : Fs = WR(6R/L) M= WRw^2(6aR/L)
3 : Fs = WR(4R/L) M= WRw^2(4aR/L)
4 : Fs = WR(R/L) M= WRw^2(aR/L)
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 580 :

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 178/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
จากรูปแรงคูใ่ ดทีทําให ้เกิดโมเมนต์คค
ู่ วบ

1:
F14 และ F12y
2:
F14 และ F12x
3:
F และ F12y
4:
F และ F12x
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 581 :
จากรู ปแรงคู่ใดทีทําให้เกิดโมเมนต์คู่ควบ

1:
F14 และ F12x
2:
F14 และ F
3:
F และ F12y
4:
F12y และ F12x
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 179/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

ข ้อที 582 :
จากรู ปแรงคู่ใดทีทําให้เกิดโมเมนต์คู่ควบ

1:
F14 และ F
2:
F และ F12x
3:
F และ F12y
4:
F14 และ F12x
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 583 :
จากรู ปแรงคู่ใดทีทําให้เกิดโมเมนต์คู่ควบ

1:
F12y และ F12x
2:
F และ F12y
3:
F14 และ F12x
4:
F14 และ F12y
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 584 :

เครื องยนต์สูบเดียวหมุนด้วยความเร็ วเชิงมุม w2 =125 rad/s ความยาวก้านสู บ L= 35 cm ความยาวข้อเหวียง R= 4 cm มวลรวมที C และ P แสดง
ในรู ป
http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 180/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

เมือ q =45o จงหาแรง fP


ให้ fP =mPRw22[cosq+(R/L)cos2q]

1:
fP= 441.9 N
2:
fP= 1250 N
3:
fP= 1325.8 N
4:
fP= 1691.9 N
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 585 :
เครื องยนต์สูบเดียวหมุนด้วยความเร็ วเชิงมุม w2 =125 rad/s ความยาวก้านสู บ L= 35 cm ความยาวข้อเหวียง R= 4 cm มวลรวมที C และ P แสดง
ในรู ป
เมือ q =45o จงหาแรงทุติยภูมิของ fP
ให้ fP =mPRw22[cosq+(R/L)cos2q]

1:
f”P= 0 N
2:
f”P= 1250 N
3:
f”P= 441.9 N
4:
f”P= 1691.9 N
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 586 :

เครื องยนต์สูบเดียวหมุนด้วยความเร็ วเชิงมุม w2 =125 rad/s ความยาวก้านสู บ L= 35 cm ความยาวข้อเหวียง R= 4 cm มวลรวมที C และ P แสดง
ในรู ป
เมือ q =0o จงหาแรงปฐมภูมิของ fP

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 181/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

ให้ fP =mPRw22[cosq+(R/L)cos2q]

1:
f’P= 625 N
2:
f’P= 1250 N
3:
f’P= 441.9 N
4:
f’P= 1691.9 N
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 587 :

เครื องยนต์สูบเดียวหมุนด้วยความเร็ วเชิงมุม w2 =125 rad/s ความยาวก้านสู บ L= 35 cm ความยาวข้อเหวียง R= 4 cm มวลรวมที C และ P แสดง
ในรู ป
เมือ q =90o จงหาแรงปฐมภูมิของ fP
ให้ fP =mPRw22[cosq+(R/L)cos2q]

1:
f’P= 0 N
2:
f’P= 1250 N
3:
f’P= 441.9 N
4:
f’P= 1691.9 N
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 588 :
ผลรวม Primary unbalanced force ในเครืองยนต์ 6 สูบแถวเรียงเป็ น

1:0
2:
3:

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 182/184
24/11/2560 สภาวิศวกร
4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 589 :
ผลรวม Secondary unbalanced force ในเครืองยนต์ 6 สูบแบบแถวเรียงเป็ น

1:0

2:

3:

4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 590 :
เครื องยนต์ทีมีการถ่วงสมดุลอย่างสมบูรณ์ ได้แก่

1 : เครืองยนต์ดเี ซล 4 สูบ
2 : เครืองยนต์เบนซิน 4 สูบ
3 : เครืองยนต์เบนซิน 3 สูบ
4 : เครืองยนต์ดเี ซล 6 สูบ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 591 :
ในเครื องยนต์เผาไหม้ภายในแบบสู บตังสู บเดียว การสันสะเทือนจากการทํางานของเครื องยนต์เกิดจาก

1 : shaking force ในแนวดิงและ couple force ด้านข้าง


2 : shaking force ในแนวดิงและ couple force ด้านดิง
3 : shaking force ด้านข้าง และ couple force ในแนวดิง
4 : shaking force ด้านข้าง และ couple force ด้านข้าง
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 592 :
ในเครื องยนต์สูบเดียว มักจะมีการถ่วงสมดุลอย่างไร

1 : เพิมมวลถ่วงทีปลายก้านสู บใกล้ลูกสู บ
2 : เพิมมวลถ่วงไว้ทีลูกสู บ
3 : เพิมมวลถ่วงไว้ทีด้านตรงข้ามเพลาข้อเหวียง
4 : เพิมมวลถ่วงทีก้านสู บใกล้เพลาข้อเหวียง
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 593 :
ในเครื องยนต์สูบเดียว การถ่วงสมดุลทีด้านตรงข้ามข้อเหวียงจะส่ งผลอย่างไร

1 : แรงเขย่าจะเป็ นศูนย์
2 : โมเมนต์เขย่าจะเป็ นศูนย์
3 : โมเมนต์เขย่าและแรงเขย่าจะเป็ นศูนย์
4 : ขนาดของโมเมนต์เขย่าและแรงเขย่าจะลดลง
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 594 :
ในการคํานวณพลวัตกลไกเครื องยนต์สูบเดียว ตัวก้านสู บ(Connecting rod) ซึงเป็ นวัตถุเกร็ ง มีค่ามวล m2 และ โมเมนต์เฉื อยเชิงมวล IG จุดศูนย์กลางมวลอยูท่ ีจุด G
สามารถประมาณเป็ นอนุภาค mA และ mB มีตาํ แหน่งดังรู ป อย่างไรก็ตามในการประมาณดังกล่าวจะต้องมีเงือนไขดังสมการ ยกเว้นข้อใด

1:
2:

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 183/184
24/11/2560 สภาวิศวกร

3:
4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 595 :
เครื องยนต์ทีมีการถ่วงสมดุลอย่างสมบูรณ์ ได้แก่

1 : เครื องยนต์ดีเซล 4 สู บ
2 : เครื องยนต์เบนซิ น 3 สู บ
3 : เครื องยนต์เบนซิ น 5 สู บ
4 : เครื องยนต์ดีเซล 8 สู บ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 596 :
จากรู ปเป็ นระบบมวลเคลือนทีไป-กลับ (Reciprocating masses) เมือกลไกมีการเคลือนที ส่ งผลให้เกิดแรงสันสะเทือนในรู ปแบบใดบ้าง

1 : แรงเขย่า (shaking force) ขึน-ลง


2 : แรงเขย่าขึน-ลง และ ซ้าย-ขวา
3 : โมเมนต์เขย่า (shaking couple) ทวนเข็ม-ตามเข็ม
4 : แรงเขย่าขึน-ลง และ โมเมนต์เขย่าทวนเข็ม-ตามเข็ม
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

http://www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=34&aMajid=2 184/184

You might also like