You are on page 1of 684

สาขา: เครื่องกล วิชา: ME61 Air Conditioning

ขอที่ : 1
ความเร็วลมโดยเฉลี่ยผานคอยลเย็น (Cooling Coil) ปกติเปนเทาใด
คําตอบ 1 : 1.5 เมตรตอวินาที
คําตอบ 2 : 2 เมตรตอวินาที
คําตอบ 3 : 2.5 เมตรตอวินาที

่ า ย

คําตอบ 4 : 3 เมตรตอวินาที

ขอที่ : 2

จ ำ ห

หองทํางานโดยทั่วไป ในขณะใชงานมีคาอัตราสวนความรอนสัมผัสหอง (RSHR) เทาใด

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 0.6
คําตอบ 2 : 0.7
คําตอบ 3 : 0.8

ิท
คําตอบ 4 : 0.9

นส

ขอที่ : 3


คาแฟคเตอรเลี่ยง (Bypass Factor - BF) ของคอยลเย็น (Cooling Coil) จํานวน 4 แถว โดยปกติเปนเทาใด
คําตอบ 1 : 0.05

อ ส

คําตอบ 2 :

กร
0.08
คําตอบ 3 : 0.13


คําตอบ 4 : 0.2

ขอที่ : 4

าว ศ


จุดน้ําคางอุปกรณ (Apparatus Dew Point) ของคอยลน้ําเย็น (Chilled water coil) โดยปกติเปนเทาใด


คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
7 องศาเซลเซียส
10 องศาเซลเซียส
12 องศาเซลเซียส
คําตอบ 4 : 14 องศาเซลเซียส

ขอที่ : 5 1 of 101
อุณหภูมิลมกลับ (Return Air Temperature) โดยปกติเปนเทาใด
คําตอบ 1 : 24 องศาเซลเซียส
คําตอบ 2 : 26 องศาเซลเซียส
คําตอบ 3 : 28 องศาเซลเซียส
คําตอบ 4 : 30 องศาเซลเซียส

ขอที่ : 6

่ า ย
อุณหภูมิลมจาย (Supply Air Temperature) โดยปกติเปนเทาใด


คําตอบ 1 : 10 องศาเซลเซียส


คําตอบ 2 : 12 องศาเซลเซียส

จ ำ
คําตอบ 3 : 14 องศาเซลเซียส


คําตอบ 4 : 16 องศาเซลเซียส

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 7
สภาวะออกแบบหอง (Room Design Condition) โดยทั่วไปเปนเทาใด

ิท
คําตอบ 1 : 25 องศาเซลเซียส, 60%RH


คําตอบ 2 : 22 องศาเซลเซียส, 50%RH

ว น
คําตอบ 3 : 26 องศาเซลเซียส, 60%RH


คําตอบ 4 : 25 องศาเซลเซียส, 50%RH

อ ส

ขอที่ : 8

กร
Outdoor Design Condition โดยปกติเปนเทาใด


คําตอบ 1 : 35 CDB / 30 CWB



คําตอบ 2 : 37 CDB / 27 CWB

าว
คําตอบ 3 : 37 CDB / 30 CWB


คําตอบ 4 : 35 CDB / 28.5 CWB

ขอที่ : 9

ปริมาณการเติมอากาศบริสุทธิ์ โดยทั่วไปมีสัดสวนเทาใดของปริมาณลมหมุนเวียน
คําตอบ 1 : 5%
คําตอบ 2 : 10%
คําตอบ 3 : 20%
2 of 101
คําตอบ 4 : 25%
ขอที่ : 10
สําหรับหองที่มีคาอัตราสวนความรอนสัมผัสหอง (RSHR) เทากับ 0.8 ปริมาณลมหมุนเวียนในระบบปรับอากาศ โดยทั่วไปเปนเทาใด
คําตอบ 1 : 6 หนวยปริมาณผลัดเปลี่ยนลมตอชั่วโมง (Airchange/Hr)
คําตอบ 2 : 8 หนวยปริมาณผลัดเปลี่ยนลมตอชั่วโมง (Airchange/Hr)
คําตอบ 3 : 10 หนวยปริมาณผลัดเปลี่ยนลมตอชั่วโมง (Airchange/Hr)


คําตอบ 4 : 12 หนวยปริมาณผลัดเปลี่ยนลมตอชั่วโมง (Airchange/Hr)

น่ า

ขอที่ : 11


ปริมาณลมหมุนเวียนตอตันความเย็น โดยทั่วไปเปนเทาใด
คําตอบ 1 : 100 ลิตรตอวินาที

มจ
า้
คําตอบ 2 : 150 ลิตรตอวินาที

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : 200 ลิตรตอวินาที
คําตอบ 4 : 250 ลิตรตอวินาที

ขอที่ : 12

ส ิท

จุดน้ําคางอุปกรณ (Apparatus Dew Point) ของคอยลน้ํายาทําความเย็น (R-22) โดยปกติเปนเทาใด
คําตอบ 1 : 6 องศาเซลเซียส

ง ว

คําตอบ 2 : 7.5 องศาเซลเซียส


คําตอบ 3 : 9 องศาเซลเซียส
คําตอบ 4 : 10.5 องศาเซลเซียส

กร ข
ขอที่ : 13


ิ ว
าว
สภาวะอากาศ (ก) มีอุณหภูมิจุดน้ําคาง 15 องศาเซลเซียส สภาวะอากาศ (ข) มีอุณหภูมิหยาดน้ําคาง 12 องศาเซลเซียส ขอใดตอไปนี้ถูกตอง


คําตอบ 1 : สภาวะ (ก) มีอุณหภูมิกระเปาะแหง (องศาเซลเซียส) สูงกวา (ข)


คําตอบ 2 : สภาวะ (ก) มีอัตราสวนความชื้น (กรัมไอน้ํา/กิโลกรัมอากาศแหง) สูงกวา (ข)
คําตอบ 3 : สภาวะ (ก) มีความชื้นสัมพันธ (เปอรเซ็นต) สูงกวา (ข)
คําตอบ 4 : ผิดทุกขอ

ขอที่ : 14
กระบวนการปรับอากาศที่เกิดขึ้นที่คอยลทําความเย็นโดยทั่วไปคือกระบวนการในขอใด
3 of 101
คําตอบ 1 : กระบวนการลดความชื้นในอากาศ
คําตอบ 2 : กระบวนการเพิ่มความชื้นในอากาศ
คําตอบ 3 : กระบวนการทําใหอากาศเย็นและลดความชื้นในอากาศ
คําตอบ 4 : กระบวนการทําใหอากาศเย็นและเพิ่มความชื้นในอากาศ

ขอที่ : 15
อัตราสวนของเศษสวนโมลของไอน้ําที่มีอยูในอากาศ ตอ เศษสวนโมลของไอน้ําที่มีอยูในอากาศที่ภาวะอิ่มตัว ณ อุณหภูมิและความดันเดียวกัน คือคําจํากัดความของขอใด
คําตอบ 1 : ความชื้นสัมพัทธ

่ า ย

คําตอบ 2 : อัตราสวนความชื้น


คําตอบ 3 : อัตราสวนโมลความชื้น

จ ำ
คําตอบ 4 : ความชื้นจําเพาะ

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
16
ขอมูลใดไมสามารถอานไดโดยตรงบนแผนภูมิไซโครเมตริกสชารทมาตรฐาน
คําตอบ 1 : ความชื้นสัมพัทธ

ิท
คําตอบ 2 : อัตราสวนความชื้น


คําตอบ 3 : เอ็นทาลป

ว น
คําตอบ 4 : ความหนาแนนของอากาศชื้น

ส ง

ขอที่ : 17


ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับความรอนสัมผัส

กร
คําตอบ 1 : สามารถวัดโดยใชเทอรโมมิเตอร


คําตอบ 2 : ไมสามารถวัดโดยใชเทอรโมมิเตอร



คําตอบ 3 : เกิดการเปลี่ยนแปลงสถานะ

าว
คําตอบ 4 : เพิ่มขึ้นเมื่ออากาศเย็น

ขอที่ : 18

ส ภ
ความรอนที่ใชในการเปลี่ยนสถานะจากของเหลวใหกลายเปนไอคือ
คําตอบ 1 : ความรอนแฝงของการหลอม (Latent heat of fusion)
คําตอบ 2 : ความรอนแฝงของการกลายเปนไอ (Latent heat of vaporization)
คําตอบ 3 : ความรอนจําเพาะของการกลายเปนไอ (Specific heat of vaporization)
คําตอบ 4 : ความรอนแฝง (Latent heat) ของของเหลวนั้น
4 of 101
ขอที่ : 19
อุณหภูมิ ณ จุดที่ความชื้นในอากาศเริ่มเกิดการควบแนน เรียกวา
คําตอบ 1 : ความชื้นสัมพันธ เปน 100%
คําตอบ 2 : อุณหภูมิกระเปาะเปยก
คําตอบ 3 : อุณหภูมิจุดน้ําคาง
คําตอบ 4 : อุณหภูมิกระเปาะแหง

่ า ย

ขอที่ : 20


ณ อุณหภูมิที่กําหนด ความสัมพันธระหวางความดันจริงของไอน้ําในอากาศกับความดันไออิ่มตัวเรียกวา

จ ำ
คําตอบ 1 : ความดันไอบางสวน


คําตอบ 2 : ความชื้นสัมพัทธ

า้
คําตอบ 3 : ผลการทําความเย็น (Refrigeration Effect)

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : คาอัตราสวนความชื้น

ิท
ขอที่ : 21


อุณหภูมิกระเปาะเปยกจะมีคาสูงกวาอุณหภูมิกระเปาะแหงเมื่อ

ว น
คําตอบ 1 : ความชื้นสัมพัทธ 100% และอุณหภูมิสูงกวา 0 องศาเซลเซียส


คําตอบ 2 : ความชื้นสัมพัทธสูงกวา 100% และอุณหภูมิต่ํากวา 0 องศาเซลเซียส


คําตอบ 3 : ความชื้นสัมพัทธสูงกวา 100 %


คําตอบ 4 : ไมมีทางที่จะเกิดขึ้นได

กร ข

ขอที่ : 22



อุณหภูมิกระเปาะเปยก, อุณหภูมิกระเปาะแหง และจุดน้ําคางจะเทากันเมื่อ

าว
คําตอบ 1 : อากาศมีอุณหภูมิต่ํากวาศูนยองศาเซลเซียส


คําตอบ 2 : อากาศอิ่มตัวดวยความชื้น


คําตอบ 3 : อากาศไมมีความชื้นเลย
คําตอบ 4 : สิ่งนี้ไมมีทางเกิดขึ้นได

ขอที่ : 23
อุปกรณสลิงไซโครมิเตอร (Sling psychrometer) ใชสําหรับวัดคาใด
คําตอบ 1 : ความชื้นสัมพัทธ
5 of 101
คําตอบ 2 : ความชื้นสัมบรูณ
คําตอบ 3 : อุณหภูมิ
คําตอบ 4 : ความดันไอของอากาศ

ขอที่ : 24
ปริมาณความชื้นในอากาศจะขึ้นอยูกับขอใด
คําตอบ 1 : คาความชื้นสัมพัทธ
คําตอบ 2 : อุณหภูมิของอากาศ

่ า ย

คําตอบ 3 : ความดันไอของอากาศ


คําตอบ 4 : ความรอนแฝงของอากาศ

จ ำ

ขอที่ :

า้
25
ขอความใดตอไปนี้ผิด

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : อุณหภูมิกระเปาะแหงเพิ่มขึ้นในระหวางขบวนการใหความรอน
คําตอบ 2 : ความชื้นสัมพัทธลดลงในระหวางขบวนการใหความรอน

ิท
คําตอบ 3 : ความชื้นจําเพาะของอากาศ (Specific humidity) จะไมคงที่ในระหวางขบวนการทําความเย็น และคาความชื้นสัมพัทธจะเพิ่มขึ้น


คําตอบ 4 : กระบวนการทําความเย็นแบบระเหย (Evaporative cooling process) จะเกิดขึ้นบนเสนอุณหภูมิกระเปาะเปยกคงที่ในแผนภูมิไซโครเมตริก ( Psychrometric chart)

ขอที่ :

ง ว น

26


ขอใดที่เปนคุณสมบัติทางกายภาพของอากาศ


คําตอบ 1 : น้ําหนัก ความหนาแนน อุณหภูมิ ความรอนจําเพาะ การนําความรอน

กร
คําตอบ 2 : เอนทราป เอนโทรป ความหนาแนน ความรอนจําเพาะ


คําตอบ 3 : น้ําหนัก อุณหภูมิ เอนทราป การนําความรอน



คําตอบ 4 : น้ําหนัก เอนทราป เอนโทรป ความหนาแนน อุณหภูมิ ความรอนจําเพาะ และ การนําความรอน

ขอที่ : 27

ภ าว

ความชื้นสัมพัทธใชอางอิงถึงปริมาณความชื้นทั้งหมดในอากาศ ทานคิดวาขอความขางตนถูกตองหรือไม
คําตอบ 1 : ถูกตอง
คําตอบ 2 : ผิด
คําตอบ 3 : ถูกตองเปนบางสวน
คําตอบ 4 : นิยามของความชื้นสัมบรูณ

6 of 101
ขอที่ : 28
ขอใดคือความแตกตางระหวางอุณหภูมิกระเปาะแหงและอุณหภูมิกระเปาะเปยก
คําตอบ 1 : อุณหภูมิกระเปาะแหงใชอางถึงอุณหภูมิการกลายเปนไอ
คําตอบ 2 : อุณหภูมิกระเปาะเปยกใชอางถึงอุณหภูมิบรรยากาศของเทอรโมมิเตอร
คําตอบ 3 : อุณหภูมิกระเปยกและอุณหภูมิกระเปาะแหงเปนสัดสวนโดยตรงกับความดันเกจที่ต่ํากวาบรรยากาศ
คําตอบ 4 : อุณหภูมิกระเปาะแหงใชอางอิงถึงอุณหภูมิบรรยากาศ และอุณหภูมิกระเปาะเปยกใชอางอิงถึงอุณหภูมิการกลายเปนไอ

่ า ย
ขอที่ : 29


ถาในหองปรับอากาศมีความชื้นสัมพัทธสูง ขอใดถูกตองที่สุด


คําตอบ 1 : น้ําในหองระเหยไดยาก

จ ำ
คําตอบ 2 : อากาศมีอุณหภูมิต่ํา


คําตอบ 3 : อากาศมีเอนทัลปสูง

า้
คําตอบ 4 : อากาศมีความเร็วต่ํา

ขอที่ : 30
ิธ์ ห
ิท
ถานําอากาศที่มีอุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส อัตราการไหล 1000 ลิตร/วินาที ผสมกับอากาศที่มีอุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส อัตราการไหล 3000 ลิตร/วินาที ขอใดคือผลลัพธที่ได


คําตอบ 1 : อากาศอุณหภูมิ 27.5 องศาเซลเซียส อัตราไหล 4000 ลิตร/วินาที

ว น
คําตอบ 2 : อากาศอุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส อัตราไหล 4000 ลิตร/วินาที


คําตอบ 3 : อากาศอุณหภูมิ 32.5 องศาเซลเซียส อัตราไหล 4000 ลิตร/วินาที


คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูกตอง

ขอ
กร
ขอที่ : 31


สภาวะในขอใดนาจะเปนสภาวะของอากาศที่ออกจากคอยลเย็น



คําตอบ 1 : 5 อุณหภูมิกระเปาะแหง (องศาเซลเซียส) /40% RH

าว
คําตอบ 2 : 12 อุณหภูมิกระเปาะแหง (องศาเซลเซียส) /95% RH


คําตอบ 3 : 12 อุณหภูมิกระเปาะแหง (องศาเซลเซียส) /40% RH


คําตอบ 4 : 24 อุณหภูมิกระเปาะแหง (องศาเซลเซียส) /55% RH

ขอที่ : 32
หองปรับอากาศโดยทั่วไป จะมีปริมาณความฃื้นในอากาศเทาใด
คําตอบ 1 : 8 g/kg dry air
คําตอบ 2 : 10 g/kg dry air
7 of 101
คําตอบ 3 : 14 g/kg dry air
คําตอบ 4 : 22 g/kg dry air

ขอที่ : 33
อากาศภายนอกอาคารโดยทั่วไปในกรุงเทพฯจะมีปริมาณความชื้นในอากาศเทาใด
คําตอบ 1 : 14 g/kg dry air
คําตอบ 2 :


16 g/kg dry air

่ า
คําตอบ 3 : 22 g/kg dry air


คําตอบ 4 : 28 g/kg dry air

ขอที่ : 34

จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

8 of 101

ตําแหนงที่แสดงดวยเครื่องหมายคําถามในแผนภูมิไซโครเมตริกมาตรฐาน (Psychrometric Chart) นี้ เรียกวาอะไร


่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 : สภาวะอากาศเขาคอยล (Air Entering Condition)
คําตอบ 2 : จุดผสมลม (Mixing Point)


คําตอบ 3 : ขอ 1 และ 2

ขอที่ : 35

คําตอบ 4 : ผิดทุกขอ

9 of 101

ตําแหนงที่แสดงดวยเครื่องหมายคําถามในแผนภูมิไซโครเมตริคมาตรฐาน (Psychrometric Chart) นี้ เรียกวาอะไร


่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

คําตอบ 1 : สภาวะอากาสออกจากคอยล (Air Leaving Condition)



คําตอบ 2 : สภาวะอากาศภายใน (Indoor Condition)

าว
คําตอบ 3 : จุดอิ่มตัว (Saturation Point)


คําตอบ 4 : สภาวะอากาศเขาคอยล (Air Entering Condition)

ขอที่ : 36

10 of 101

ตําแหนงที่แสดงดวยเครื่องหมายคําถามในแผนภูมิไซโครเมตริกมาตรฐาน (Psychrometric Chart) นี้ เรียกวาอะไร


่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 : สภาวะอากาศจากคอยล (Air Leaving Condition)
คําตอบ 2 : สภาวะอากาศภายใน (Indoor Condition)


คําตอบ 3 : สภาวะอากาศเขาคอยล (Air Entering Condition)


คําตอบ 4 : ผิดทุกขอ

ขอที่ : 37

11 of 101

ตําแหนงที่แสดงดวยเครื่องหมายคําถามในแผนภูมิไซโครเมตริคมาตรฐาน (Psychrometric Chart) นี้ เรียกวาอะไร


่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 : สภาวะอากาศภายนอก (Outdoor Condition)
คําตอบ 2 : สภาวะอากาศภายใน (Indoor Condition)


คําตอบ 3 : สภาวะอากาศเขาคอยล (Air Entering Condition)

ขอที่ : 38

คําตอบ 4 : สภวะอากาศออกจากคอยล (Air Leaving Condition)

12 of 101

กระบวนการปรับสภาวะอากาศตอไปนี้ เรียกวาอะไร
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

คําตอบ 1 : กระบวนการปรับสภาวะอากาศปกติทั่วไป



คําตอบ 2 : กระบวนการทําความเย็นเกินและอุนอากาศ (Over Cooling and Reheat)

าว
คําตอบ 3 : กระบวนการทําความเย็นลวงหนาและอุนอากาศ (Pre Cool and Reheat)


คําตอบ 4 : กระบวนการทําความเย็นดวยการดูดความชื้น (Desiccant Cooling)

ขอที่ : 39

13 of 101

กระบวนการปรับสภาวะอากาศตอไปนี้ เรียกวาอะไร
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

คําตอบ 1 : กระบวนการปรับสภาวะอากาศปกติทั่วไป



คําตอบ 2 : กระบวนการทําความเย็นเกินและอุนอากาศ (Over Cooling and Reheat)

าว
คําตอบ 3 : กระบวนการทําความเย็นลวงหนาและอุนอากาศ (Pre Cool and Reheat)


คําตอบ 4 : กระบวนการทําความเย็นดวยการดูดความชื้น (Desiccant Cooling)

ขอที่ : 40

14 of 101

กระบวนการปรับสภาวะอากาศตอไปนี้ เรียกวาอะไร
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
คําตอบ 1 :

กร ข
กระบวนการปรับสภาวะอากาศปกติทั่วไป


คําตอบ 2 : กระบวนการทําความเย็นเกินและอุนอากาศ (Over Cooling and Reheat)
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :

าว ศ

กระบวนการทําความเย็นลวงหนาและอุนอากาศ (Pre Cool and Reheat)
กระบวนการทําความเย็นดวยการดูดความชื้น (Desiccant Cooling)

ขอที่ : 41
ส ภ
15 of 101

กระบวนการปรับสภาวะอากาศตอไปนี้ เรียกวาอะไร
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

คําตอบ 1 : กระบวนการปรับสภาวะอากาศปกติทั่วไป



คําตอบ 2 : กระบวนการทําความเย็นเกินและอุนอากาศ (Over Cooling and Reheat)

าว
คําตอบ 3 : กระบวนการทําความเย็นลวงหนาและอนอากาศ (Pre Cool and Reheat)


คําตอบ 4 : กระบวนการทําความเย็นดวยการดูดความชื้น (Desiccant Cooling)

ขอที่ : 42

สภาวะออกแบบของอากาศภายนอก (Outdoor Design Condition) โดยทั่วไปมีคาความชื้นสัมพัทธเทาไร
คําตอบ 1 : 50 % RH
คําตอบ 2 : 60 % RH
คําตอบ 3 : 70 % RH
คําตอบ 4 : 80 % RH 16 of 101
ขอที่ : 43
ระดับความชื้นที่เหมาะสมสําหรับหองปรับอากาศคือเทาใด
คําตอบ 1 : 30-40% RH
คําตอบ 2 : 50-60% RH
คําตอบ 3 : 60-70% RH


คําตอบ 4 : 70-80% RH

น่ า

ขอที่ : 44


การลากเสนอัตราสวนความรอนสัมผัสหอง (RSHR) ในแผนภูมิไซโครเมตริค (Psychrometric Chart) ทําอยางไร

คําตอบ 1 :

มจ
ลากเสนใหมีความชัน (Slope) เทากับคาอัตราสวนความรอนสัมผัสหอง (RSHR) ที่แกนตั้งดานขวาของแผนภูมิไซโครเมตริค (Psychrometric Chart) ผานตําแหนง

า้
สภาวะอากาศภายใน (Indoor Condition)

ิธ์ ห
ลากใหมี Slope เทากับคาอัตราสวนความรอนสัมผัสหอง (RSHR) ที่แกนตั้งดานขวาของแผนภูมิไซโครเมตริค (Psychrometric Chart)ผานตําแหนงสภาวะอากาศ
คําตอบ 2 :
ภายนอก (Outdoor Condition)
ลากใหมีความชัน (Slope) ขนานกับเสนอางอิง (Reference Line) ผานตําแหนงจุดอางอิงที่มีความชัน (Slope) เทากับอัตราสวนความรอนสัมผัสหอง (RSHR) ที่

ิท
คําตอบ 3 :
แกนตั้งดานขวาของแผนภูมิไซโครเมตริค (Psychrometric Chart) โดยเสนนี้ลากผานตําแหนงสภาวะอากาศภายใน (Indoor Condition)


คําตอบ 4 : ผิดทุกขอ

ขอที่ :

ง ว น

45


ในกระบวนการปรับอากาศดวยเครื่องปรับอากาศปกติ อากาศสามารถเขาสูเสนอากาศอิ่มตัว (Saturation Line) ได 100% หรือไม


คําตอบ 1 : เปนไปได

กร
คําตอบ 2 : เปนไปไมได


คําตอบ 3 : ได หากคาอัตราสวนความรอนสัมผัสรวบยอด (GSHR) ต่ํา เชนต่ํากวา 0.7



คําตอบ 4 : ได หากคาอัตราสวนความรอนสัมผัสรวบยอด (GSHR) สูง เชนสูงกวา 1

ขอที่ : 46

ภ าว

ในกระบวนการปรับอากาศหากตองการให อากาศเขาใกลเสนอากาศอิ่มตัว (Saturation Line) มีวิธีการอยางไรบาง
คําตอบ 1 : เพิ่มจํานวนแถวคอยลเย็น
คําตอบ 2 : เพิ่มจํานวนครีบ(FPI-Fin per Inch)
คําตอบ 3 : ลดความเร็วลมผานคอยลเย็น
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

17 of 101
ขอที่ : 47
ในขบวนการปรับอากาศหากตองการให อากาศเขาใกลเสนอากาศอิ่มตัว (Saturation Line) มีวิธีการอยางไรบาง
คําตอบ 1 : เพิ่มจํานวนแถวคอยลเย็น
คําตอบ 2 : เพิ่มจํานวนครีบ (FPI-Fin per Inch)
คําตอบ 3 : ลด Bypass Factor
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

่ า ย
ขอที่ : 48


การเพิ่มความสามารถในการลดความชื้นออกจากอากาศของคอยลเย็น มีวิธีการอยางไร


คําตอบ 1 : กําหนดใหอุณหภูมิจุดน้ําคางอุปกรณ (Tadp) ต่ําลง เชน ต่ํากวา 10 องศาเซลเซียส

จ ำ
คําตอบ 2 : ใชกระบวนการปรับอากาศที่เหมาะสม เชน กระบวนการทําความเย็นลวงหนาและอุนอากาศ (Pre Cool and Reheat)


คําตอบ 3 : ลดแฟคเตอรเลี่ยง (Bypass Factor)

า้
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 49
ิธ์ ห
ิท
กระบวนการปรับอากาศแบบแบงลมผานคอยล (Face and Bypass) ชวยใหคอยลเย็นสามารถลดความชื้นออกจากอากาศไดผลดีมากขึ้น เนื่องจากอะไร


คําตอบ 1 : สามารถควบคุมใหอุณหภูมิจุดน้ําคางอุปกรณ (Tadp) ใหอยูในระดับที่ตองการ เชน ต่ํากวา 10 องศาเซลเซียส

ว น
คําตอบ 2 : กระบวนการปรับอากาศแบบนี้ ไมใชวิธีการชวยลดความชื้นเพราะมีแฟคเตอรเลี่ยง (Bypass Factor) สูง


ขบวนการปรับอากาศแบบแบงลมผานคอยล (Face and Bypass) เหมาะกับหองปรับอากาศที่มีอัตราสวนความรอนสัมผัสหอง (RSHR) สูง หรือมีคา Airchange/Hr


คําตอบ 3 :
สูงมากกวาปริมาณการหมุนเวียนอากาศในขบวนการปรับอากาศปกติ


คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 3

ขอที่ :

กร ข

50



บนแผนภูมิไซโครเมตริก ถาอากาศถูกปรับใหอุณหภูมิกระเปาะแหงและความชื้นลดลงเสนแสดงกระบวนการจะชี้ไปทางใด (Process path) จะชี้ไปทิศทางใด

าว
คําตอบ 1 : ขวาบน


คําตอบ 2 : ขวาลาง


คําตอบ 3 : ซายลาง
คําตอบ 4 : ขวาบน

ขอที่ : 51
เมื่ออากาศถูกปรับสภาวะผานคอยลเย็นและออกมาที่ 18 อุณหภูมิกระเปาะแหง (องศาเซลเซียส) จะพบวา
คําตอบ 1 : ความชื้นสัมพัทธลดลง ไอน้ําในอากาศลดลง
18 of 101
คําตอบ 2 : ความชื้นสัมพัทธลดลง ไอน้ําในอากาศสูงขึ้น
คําตอบ 3 : ความชื้นสัมพัทธสูงขึ้น ไอน้ําในอากาศลดลง
คําตอบ 4 : ความชื้นสัมพัทธสูงขึ้น ไอน้ําในอากาศสูงขึ้น

ขอที่ : 52
การออกแบบที่เรียกวาการทําความเย็นแบบระเหย (Evaporative cooling) จะมี เสนแสดงกระบวนการ (Process path) ชี้ไปทางใดบนแผนภูมิไซโครเมตริก
คําตอบ 1 : ขวาบน
คําตอบ 2 : ขวาลาง
คําตอบ 3 : ซายบน

่ า ย

คําตอบ 4 : ซายลาง

ขอที่ : 53

จ ำ ห

หองปรับอากาศแบบใดมีสัดสวนความรอนสัมผัส (ความรอนสัมผัส/ความรอนทั้งหมด) สูงที่สุด

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : หองศูนยคอมพิวเตอร
คําตอบ 2 : หองอาหาร
คําตอบ 3 : หองเปลี่ยนเสื้อผา

ิท
คําตอบ 4 : หองออกกําลังกาย

นส

ขอที่ : 54


สารทําความเย็นที่ใชในเครื่องปรับอากาศตามบานโดยทั่วไป มีชื่อวาอะไร
คําตอบ 1 :

อ ส
ไตรคลอโรฟลูออโรมีเทน (Trichlorofluoromethane (R-11))


คําตอบ 2 : ไดคลอโรฟลูออโรมีเทน (Dichlorodifluoromethane (R-12))

กร
คําตอบ 3 : คลอโรไดฟลูออโรมีเทน (Chlorodifluoromethane (R-22))


คําตอบ 4 : เตตระฟลูออโรมีเทน (Tetrafluoroethane (R-134a))

ขอที่ : 55

าว ศ


ความดันของสารทําความเย็นขณะที่กําลังระบายความรอนทิ้งที่คอนเดนซิ่งยูนิต (Condensing Unit) เมื่อเทียบกับความดันของสารทําความเย็นใน Fan Coil Unit จะเปนอยางไร


คําตอบ 1 : ความดันในคอนเดนซิ่งยูนิต (Condensing Unit) สูงกวาความดันใน แฟนคอยลยูนิต (Fan Coil Unit)
คําตอบ 2 : ความดันในคอนเดนซิ่งยูนิต (Condensing Unit) ต่ํากวาความดันใน แฟนคอยลยูนิต (Fan Coil Unit)
คําตอบ 3 : ความดันในคอนเดนซิ่งยูนิต (Condensing Unit) เทากับความดันใน แฟนคอยลยูนิต (Fan Coil Unit)
คําตอบ 4 : ผิดทุกขอ

ขอที่ : 56 19 of 101
อุปกรณในระบบทําความเย็นแบบอัดไอ (vapor compression system) ขอใดที่มีการถายโอนพลังงานกับสารทําความเย็นมากที่สุด
คําตอบ 1 : เครื่องอัดไอ (compressor)
คําตอบ 2 : อุปกรณควบแนน (condenser)
คําตอบ 3 : อุปกรณขยายตัว (expansion device)
คําตอบ 4 : อุปกรณระเหย (evaporator)

ขอที่ : 57

่ า ย
ระบบทําความเย็นแบบดูดซึมใชพลังงานในรูปใดเปนพลังงานหลักในการขับเคลื่อนระบบ


คําตอบ 1 : พลังงานเคมี


คําตอบ 2 : พลังงานความรอน

จ ำ
คําตอบ 3 : พลังงานไฟฟา


คําตอบ 4 : พลังงานจลน

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 58
การชารจน้ํายาทําความเย็นมากเกินไปจะสงผลให

ิท
คําตอบ 1 : ขนาดทําความเย็นเพิ่มขึ้นในขณะที่ ความดันดานสงเพิ่มขึ้นตาม


คําตอบ 2 : ขนาดทําความเย็นเพิ่มขึ้นและความดันดานดูดเพิ่มขึ้นตาม

ว น
คําตอบ 3 : ขนาดทําความเย็นลดลงในขณะที่ความดันดานสงเพิ่มขึ้น


คําตอบ 4 : เพิ่มกําลังมอเตอรและเพิ่มขนาดทําความเย็น

อ ส

ขอที่ : 59

กร
เครื่องทําความเย็นมีแนวโนมที่จะทํางานสั้น ๆ (short cycling) เมื่อทํางานภายใตสภาวะ


คําตอบ 1 : ภาระสูง



คําตอบ 2 : สภาวะปกติ

าว
คําตอบ 3 : ภาระต่ํา


คําตอบ 4 : ทั้งหมดที่กลาวถึง

ขอที่ : 60

สารทําความเย็นควรจะมีคุณสมบัติอะไร
คําตอบ 1 : คาความรอนสัมผัสสูง
คําตอบ 2 : คาความรอนแฝงสูง
คําตอบ 3 : คาความรอนสัมผัสต่ํา
20 of 101
คําตอบ 4 : คาความรอนแฝงต่ํา
ขอที่ : 61
วิธีการลดขนาดการทําความเย็นลงโดยไมทําการลดความเร็วรอบการทํางานของคอมเพรสเซอร เรียกวา
คําตอบ 1 : Hot gas bypassing
คําตอบ 2 : Low pressure bypassing
คําตอบ 3 : High pressure bypassing


คําตอบ 4 : Short cycling

น่ า

ขอที่ : 62


ภาระ (Load) ที่ลดลงบนตัวอีแวปปอเรเตอร (Evaporator) ทําใหเกิด
คําตอบ 1 : ความตองการสารทําความเย็นที่เพิ่มขึ้น

มจ
า้
คําตอบ 2 : ความดันตกครอมตัวอีแวปปอเรเตอรลดลง

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : เพิ่มขนาดการทําความเย็นของตัวอีแวปปอเรเตอร
คําตอบ 4 : ความรอนถูกดูดซับเขามามากขึ้น

ขอที่ : 63

ส ิท
ว น
จากสิ่งตอไปนี้ อะไรที่ทําใหความดันทางดานดูดไมสูงเกินไป


คําตอบ 1 : ปริมาณสารทําความเย็นไมเพียงพอ


คําตอบ 2 : เกิดการรั่วของวาลวทางดานดูด


คําตอบ 3 : วาลวระเหยสารทําความเย็น (Expansion Valve) เปดคางไว
คําตอบ 4 :

กร ข
ไมมีการปรับตั้งวาลวทางดานดูดใหเหมาะสม

ขอที่ : 64


ิ ว
าว
ในวัฏจักรการทําความเย็น ความดันทางดานดูดสูงเกินไปมีสาเหตุมาจากอะไร


คําตอบ 1 : เอ็กแพนชั่นวาลวเปดมากเกินไป


คําตอบ 2 : เกิดการรั่วของวาลวทางดานดูด
คําตอบ 3 : กระเปาะของตัวเอ็กแพนชั่นวาลวทํางานไมถูกตอง
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 65
ในวัฏจักรการทําความเย็น ความดันดานดูดที่ต่ําเกินไปเกิดจากสาเหตุอะไร
21 of 101
คําตอบ 1 : ตัวดักน้ํามันสกปรก
คําตอบ 2 : สารทําความเย็นไมเพียงพอ
คําตอบ 3 : มีน้ํามันหลอลื่นมากเกินไปในระบบ
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 66
ความดันสารทําความเย็นดานคอนเดนเซอร หรือ ดานสูง ของระบบการทําความเย็นของเครื่องปรับอากาศแบบแยกสวนที่ใชตามบานมีคาประมาณเทาใด
คําตอบ 1 : 60 psig

่ า ย

คําตอบ 2 : 120 psig


คําตอบ 3 : 240 psig

จ ำ
คําตอบ 4 : 480 psig

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
67
ความดันทางดานสูง (High side) ของ R-22 ของเครื่องปรับอากาศทั่วไป เปนเทาไร
คําตอบ 1 : ประมาณ 20 psig

ิท
คําตอบ 2 : ประมาณ 60 psig


คําตอบ 3 : ประมาณ 120 psig

ว น
คําตอบ 4 : ประมาณ 280 psig

ส ง

ขอที่ : 68


คา R.E. (Refrigerating Effect) สามารถหาไดจากกระบวนการใด

กร
คําตอบ 1 : Compression


คําตอบ 2 : Condensation



คําตอบ 3 : Expansion

าว
คําตอบ 4 : Evaporation

ขอที่ : 69

ส ภ
ระบบทําความเย็นขนาด 1 ตันความเย็น มีอัตราสวนระหวางความรอนที่ถายเทออกที่คอนเดนเซอรตอความรอนที่ดูดเขาที่อีวาโปเรเตอร เทากับ 1.25 จะมีคา COP เทากับขอใด
คําตอบ 1 : 1.25
คําตอบ 2 : 2.5
คําตอบ 3 : 4
คําตอบ 4 : 5
22 of 101
ขอที่ : 70
เครื่องทําความเย็นที่เปนระบบอัดไอ (Vapor Compression) มาตรฐานเบอร 5 มีคา COP เทาใด
คําตอบ 1 : 2.9
คําตอบ 2 : 3.1
คําตอบ 3 : 3.5
คําตอบ 4 : 4

่ า ย

ขอที่ : 71


เครื่องทําความเย็นที่เปนระบบดูดซึม (Absorption) แบบ Single Stage โดยทั่วไป มีคา COP เทาใด

จ ำ
คําตอบ 1 : 0.6


คําตอบ 2 : 0.8

า้
คําตอบ 3 : 1

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : 1.2

ิท
ขอที่ : 72


เครื่องทําความเย็นที่เปนระบบดูดซึม (Absorption) แบบ Double Stage โดยทั่วไป มีคา COP เทาใด

ว น
คําตอบ 1 : 0.6


คําตอบ 2 : 0.8


คําตอบ 3 : 1


คําตอบ 4 :


1.2

ว กร
ขอที่ : 73



วิธีการทําความเย็นของเครื่องทําความเย็นระบบดูดซึม (Absorption) คืออะไร

าว
คําตอบ 1 : การระเหยของสารทําความเย็น เชน ลิเธียมโบรไมด


คําตอบ 2 : การระเหยของสารทําความเย็น เชน ลิเธียมคลอไรด


คําตอบ 3 : การระเหยของน้ํา
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 74
วิธีการทําความเย็นของเครื่องทําความเย็นระบบดุดซึม (Absorption) คืออะไร
คําตอบ 1 : การระเหยของสารทําความเย็นคือน้ําในสภาพสูญญากาศ
23 of 101
คําตอบ 2 : การระเหยของสารดูดซับไดแกแอมโมเนีย
คําตอบ 3 : การทําปฏิกิริยาเคมีของสารดูดซับ เชน แอมโมเนีย หรือลิเธียมคลอไรด
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 75
Sensible Cooling คือขบวนการปรับอากาศที่มีผลลัพธอยางไร
คําตอบ 1 : ลดอุณหภูมิ
คําตอบ 2 : ลดความชื้น

่ า ย

คําตอบ 3 : ลดอุณหภูมิและความชื้น


คําตอบ 4 : ลดอุณหภูมิโดยการระเหยน้ํา

จ ำ

ขอที่ :

า้
76
Latent Cooling คือขบวนการปรับอากาศที่มีผลลัพธอยางไร

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ลดอุณหภูมิ
คําตอบ 2 : ลดความชื้น

ิท
คําตอบ 3 : ลดอุณหภูมิและความชื้น


คําตอบ 4 : ลดอุณหภูมิโดยการระเหยน้ํา

ขอที่ :

ง ว น

77


หากทอน้ํายาที่เปน Liquid Line เกิดการอุดตัน บริเวณที่เกิดการอุดตันจะมีอาการอยางไร


คําตอบ 1 : รอน

กร
คําตอบ 2 : เย็น


คําตอบ 3 : ความดัน Evaporator เพิ่มขึ้น



คําตอบ 4 : อุณหภูมิ Condenser เพิ่มขึ้น

ขอที่ : 78

ภ าว

เหตุใดน้ํายาทางดานดูดของคอมเพรสเซอรตองมีสภาวะอยางไร
คําตอบ 1 : น้ํายาทางดานดูดของคอมเพรสเซอรตองเปนซับคูล (Sub Cool) เพื่อทําความเย็นใหคอมเพรสเซอร
คําตอบ 2 : น้ํายาทางดานดูดของคอมเพรสเซอรตองเปนซุปเปอรฮีท (Super Heat) เพื่อปองกันน้ํายาเหลวเขาคอมเพรสเซอร
คําตอบ 3 : น้ํายาทางดานดูดของคอมเพรสเซอรตองเปนซุปเปอรฮีท (Super Heat) เพื่อทําความเย็นใหคอมเพรสเซอร
คําตอบ 4 : น้ํายาทางดานดูดของคอมเพรสเซอรตองเปนซับคูล (Sub Cool) เพื่อปองกันน้ํายาเหลวเขาคอมเพรสเซอร

24 of 101
ขอที่ : 79
การที่น้ํายาใน Liquid Line มีสภาพเปนซับคูล (Sub Cool) มีประโยชนอยางไร
คําตอบ 1 : แสดงวาการระบายความรอนมีประสิทธิภาพ
คําตอบ 2 : ทําใหขบวนการทําความเย็นมีประสิทธิภาพ
คําตอบ 3 : ทําใหวาลวระเหยสารทําความเย็น (Expansion Valve) ทํางานไดดี
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

่ า ย
ขอที่ : 80


ความดันแตกตางระหวางทางดานสงและทางดานดูดของคอมเพรสเซอร R-22 โดยปกติเปนเทาใด


คําตอบ 1 : 1140 Pa (162 psig)

จ ำ
คําตอบ 2 : 1340 Pa (190 psig)


คําตอบ 3 : 1540 Pa (218 psig)

า้
คําตอบ 4 : 1740 Pa (247 psig)

ขอที่ : 81
ิธ์ ห
ิท
ขอใดตอไปนี้ ไมใชสารทําความเย็น


คําตอบ 1 : อากาศ

ว น
คําตอบ 2 : แอมโมเนีย


คําตอบ 3 : คารบอนไดออกไซด


คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอ
กร
ขอที่ : 82


ตูเย็นที่ใชตามบาน ใชสารทําความเย็นชนิดใด



คําตอบ 1 : R-11

าว
คําตอบ 2 : R-22


คําตอบ 3 : R-502


คําตอบ 4 : R-717

ขอที่ : 83
สภาวะอากาศจากภายนอก (Outdoor Air) จุดใด เปนสภาวะที่ทําใหเครื่องปรับอากาศมีภาระการทําความเย็นมากที่สุด
คําตอบ 1 : 36 อุณหภูมิกระเปาะแหง (องศาเซลเซียส) 50%RH
คําตอบ 2 : 35 อุณหภูมิกระเปาะแหง (องศาเซลเซียส) 60%RH
25 of 101
คําตอบ 3 : 24 อุณหภูมิกระเปาะแหง (องศาเซลเซียส) 50%RH
คําตอบ 4 : 22 อุณหภูมิกระเปาะแหง (องศาเซลเซียส) 55%RH

ขอที่ : 84
หองปรับอากาศแบบใดมีสัดสวนความรอนสัมผัส (ความรอนสัมผัส/ความรอนทั้งหมด) ต่ําที่สุด
คําตอบ 1 : ธนาคาร
คําตอบ 2 : รานใหเลนเกมสคอมพิวเตอร
คําตอบ 3 : รานเสื้อผา

่ า ย

คําตอบ 4 : รานอาหาร

ขอที่ : 85

จ ำ ห

หองเครื่องสูบน้ําประปาแหงหนึ่งจําเปนตองติดตั้งเครื่องปรับอากาศเนื่องจากไมสามารถระบายความรอนออกจากหองดวยวิธีอื่นๆได โดยเครื่องสูบน้ํามีประสิทธิภาพ 80% มอเตอรมี

า้
ประสิทธิภาพ 90% กินกําลังไฟฟาขณะทํางาน 20 กิโลวัตต อยากทราบวาภาระการทําความเย็นเนื่องจากเครื่องสูบน้ํานี้มีคากี่กิโลวัตต

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 2 กิโลวัตต
คําตอบ 2 : 4 กิโลวัตต

ิท
คําตอบ 3 : 5.6 กิโลวัตต


คําตอบ 4 : 20 กิโลวัตต

ขอที่ : 86

ง ว น

หองปรับอากาศที่มีภาระการทําความเย็นสูงสุดในเดือนธันวาคม นาจะมีที่ตั้งอยูทางทิศใดของตัวอาคารมากที่สุด
คําตอบ 1 : เหนือ

ขอ
กร
คําตอบ 2 : ตะวันออก


คําตอบ 3 : ตะวันตก



คําตอบ 4 : ใต

ขอที่ : 87

ภ าว

ในปจจุบันวิธีการหาภาระความเย็นผานโครงสรางของหองซึ่งใชสมการพื้นฐานทางฟสิกสที่มีความแมนยํามากที่สุดที่แนะนําโดย ASHRAE คือขอใด
คําตอบ 1 : วิธีผลตางของอุณหภูมิและตัวคูณลด (CLTD/CLF)
คําตอบ 2 : วิธีฟงกชันถายทอด (Transfer function)
คําตอบ 3 : วิธีสมดุลยความรอน (Heat Balance)
คําตอบ 4 : วิธีอนุกรมเวลาของการแผรังสี (Radiant Time Series)

26 of 101
ขอที่ : 88
ขอใดตอไปนี้ไมจัดวาเปนภาระความเย็นของหอง
คําตอบ 1 : ภาระความเย็นที่เขามากับอากาศระบาย
คําตอบ 2 : ภาระความเย็นที่เขามากับอากาศรั่วไหลเขาหอง
คําตอบ 3 : ภาระความเย็นจากคน และ อุปกรณตาง ๆ ภายในหอง
คําตอบ 4 : ภาระความเย็นที่หองไดรับผานโครงสรางหอง

่ า ย
ขอที่ : 89


ในการคํานวณหาปริมาณลมสงไปยังหองปรับอากาศจําเปนตองใชขอมูลตอไปนี้ยกเวนขอใด


คําตอบ 1 : อุณหภูมิออกแบบภายในหองปรับอากาศ

จ ำ
คําตอบ 2 : อุณหภูมิลมสงที่ออกจากเครื่องปรับอากาศ


คําตอบ 3 : ความรอนสัมผัสของหองปรับอากาศ

า้
คําตอบ 4 : ความรอนรวมของหองปรับอากาศ

ขอที่ : 90
ิธ์ ห
ิท
ตองการขจัดความรอนออกจากหอง 36,000 บีทียูตอชั่วโมง ขนาดมอเตอรของคอมเพรสเซอรที่ตองใชอยางนอยจะตองมีขนาดเทาใด


คําตอบ 1 : 13.2 kw

ว น
คําตอบ 2 : 10.6 kw


คําตอบ 3 : 7 kw


คําตอบ 4 : 3.5 kw

ขอ
กร
ขอที่ : 91


หองมีขนาด ก*ย*ส = 3*8*3 ม. ตองการรักษาอุณหภูมิภายในไวที่ 24 องศาเซลเซียส ถาผนังทางดานกวางของหองทําดวยคอนกรีตบล็อกหนา 100 มม. และฉาบปูนทั้ง 2 ดาน อยู



ติดกับหองที่ไมไดมีการปรับอากาศ ใหหาปริมาณความรอนที่ถายเทผานผนังทางดานนี้ ( กําหนด คาสัมประสิทธิ์การถายเทความรอนทั้งหมดของคอนกรีตบล็อกฉาบปูนทั้ง 2 ดาน =

าว
2.1 W/m2 oC, คาอุณหภูมิแตกตางที่ใชในการออกแบบ เทากับ 10 องศา)
คําตอบ 1 :


215 W


คําตอบ 2 : 189 W
คําตอบ 3 : 220 W
คําตอบ 4 : 179 W

ขอที่ : 92
หองปรับอากาศมีอัตราการสูญเสียความรอนสัมผัสสูงสุด 117 kw ตองการรักษาอุณหภูมิภายในหองไวที่ 25.5 องศาเซลเซียส ถาอุณหภูมิของอากาศที่ เขาเทากับ 37.7 องศา
เซลเซียส ใหคํานวณหาปริมาณอากาศที่นําเขา 27 of 101
คําตอบ 1 : 8.14 ลูกบาศกเมตรตอวินาที
คําตอบ 2 : 14580 ลูกบาศกเมตรตอวินาที
คําตอบ 3 : 16835 ลูกบาศกเมตรตอวินาที
คําตอบ 4 : 17450 ลูกบาศกเมตรตอวินาที

ขอที่ : 93
หองปรับอากาศหองหนึ่งมีหลังคาทําดวยคอนกรีตหนา 100 มม. พื้นที่หลังคา 200 ตรม. ถากําหนดใหอุณหภูมิภายนอกเทากับ 40 องศาเซลเซียส อุณหภูมิของหองปรับอากาศกับ 24


องศาเซลเซียส คาสัมประสิทธิ์การถายเทความรอนทั้งหมดของผนังคอนกรีตหนา 100 มม. เทากับ 3.4 W/m2 oC จงหาปริมาณความรอนที่ถายเทผานหลังคา
คําตอบ 1 : 11, 880 W

น่ า

คําตอบ 2 : 12,980 W


คําตอบ 3 :


8,980 W


คําตอบ 4 : 10,880 W

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 94
สํานักงานแหงหนึ่งติดตั้งหลอดไฟฟลูออเรเซนต จํานวน 3 แถว ตลอดความยาวของตัวสํานักงานซึ่งยาว 33 ม. โดยเวนระยะหัวทายของความยาวไวดานละ 0.2 ม. โดยโปะไฟแตละ
โปะประกอบดวยหลอดไฟจํานวน 3 หลอด กําหนดใหหลอดไฟฟลูออเรเซนตมีความรอนสูงกวาหลอดไฟธรรมดา 20 % อันเปนผลมาจากบัลลาสต และคากําลังไฟสองสวางจาก

ิท
หลอดฟลูออเรเซนตเทากับ 30 W ตอเมตร ใหคํานวณหาคาความรอนที่เกิดจากหลอดไฟแสงสวางเหลานี้
คําตอบ 1 : 8940 W

นส

คําตอบ 2 :


9490 W


คําตอบ 3 : 8640 W


คําตอบ 4 : 8420 W

ขอที่ : 95

กร ข

โรงภาพยนตรแหงหนึ่งมี 600 ที่นั่ง มีอุณหภูมิภายในที่ออกแบบไวเทากับ 25.5 องศาเซลเซียส อุณหภูมิภายนอกเทากับ 35 องศาเซลเซียส อัตราสวนความชื้นภายในหองเทากับ 10



กรัม/กิโลกรัม และภายนอกเทากับ 22 กรัม/กิโลกรัม ใหคํานวณหาปริมาณอากาศบริสุทธิ์ที่ตองการและปริมาณความรอนที่เกิดขึ้นจากอากาศบริสุทธิ์จํานวนนี้ กําหนดใหปริมาณอากาศ

าว
บริสุทธิ์ตอคนเทากับ 3.5 L/s


คําตอบ 1 : 2100 L/s, 24.5 kw


คําตอบ 2 : 2100 L/s, 77.5 kw
คําตอบ 3 : 2100 L/s, 102.0 kw
คําตอบ 4 : 2100 L/s, 53.0 kw

ขอที่ : 96
ระบบปรับอากาศชุดไหนที่ตองใชพัดลมที่สามารถขับปริมาณลมได 2000 CFM
28 of 101
คําตอบ 1 : 2 ตันความเย็น
คําตอบ 2 : 3 ตันความเย็น
คําตอบ 3 : 5 ตันความเย็น
คําตอบ 4 : 7.5 ตันความเย็น

ขอที่ : 97
เครื่องทําความเย็นขนาด 1 ตันความเย็น สามารถขจัดความรอนออกไดเทาไร
คําตอบ 1 : 500 BTU ตอนาที

่ า ย

คําตอบ 2 : 288 BTU ตอนาที


คําตอบ 3 : 200 BTU ตอนาที

จ ำ
คําตอบ 4 : 100 BTU ตอนาที

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
98
บานหลังหนึ่งมี เตารีดขนาด 1000 วัตต และหมอหุงขาวไฟฟาขนาด 800 วัตต คาความรอนที่เกิดจากเครื่องใชไฟฟาเหลานี้คือ
คําตอบ 1 : 5140 BTUH

ิท
คําตอบ 2 : 5120 BTUH


คําตอบ 3 : 6120 BTUH

ว น
คําตอบ 4 : 7120 BTUH

ส ง

ขอที่ : 99


หองปรับอากาศแหงหนึ่งรักษาอุณหภูมิหองไวที่ 21 องศาเซลเซียสหากอุณหภูมิของอากาศที่นําเขาสูหองอยูที่ 49 องศาเซลเซียส และหองมีการสูญเสียความรอนสัมผัสสูงสุด 73.2

กร
kw จงคํานวณหาปริมาอากาศที่นําเขามา


คําตอบ 1 : 1940 L/s



คําตอบ 2 : 2170 L/s

าว
คําตอบ 3 : 1720 L/s


คําตอบ 4 : 2400 L/s

ขอที่ : 100

หองปรับอากาศแหงหนึ่งมีภาระการทําความเย็นเปน ความรอนสัมผัส (Sensible Heat) 3,000 วัตต ความรอนแฝง 1,000 วัตต อยากทราบวาหองนี้มีสัดสวนความรอนสัมผัส
(Sensible Heat Ratio) เทาใด
คําตอบ 1 : 0.3
คําตอบ 2 : 0.75
คําตอบ 3 : 1 29 of 101
คําตอบ 4 : 3
ขอที่ : 101
อาคารที่ตั้งอยูที่กรุงเทพมหานคร ในเดือนมิถุนายน เวลา 12:00 น. กระจกหนาตางดานทิศใดไดรับความรอนจากแสงอาทิตยมากที่สุด
คําตอบ 1 : เหนือ
คําตอบ 2 : ตะวันออก
คําตอบ 3 : ตะวันตก


คําตอบ 4 : ใต

น่ า

ขอที่ : 102


ความรอนสงผานกระจกใสพื้นที่ 1 ตารางเมตร ทางดานทิศเหนือ ในเวลา 14:00 น. ของเดือนเมษายน ควรเปนเทาใด
คําตอบ 1 : 4 วัตต

มจ
า้
คําตอบ 2 : 16 วัตต

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : 48 วัตต
คําตอบ 4 : 96 วัตต

ขอที่ : 103

ส ิท

ความรอนสงผานกระจกสะทอนความรอนพื้นที่ 1 ตารางเมตร ที่มีคาการบังเงา 0.5 ทางดานทิศตะวันตกในเวลา 16:00 น. ของเดือนเมษายน ควรเปนเทาใด
คําตอบ 1 : 60 วัตต

ง ว

คําตอบ 2 : 160 วัตต


คําตอบ 3 : 260 วัตต
คําตอบ 4 : 360 วัตต

กร ข
ขอที่ : 104


ิ ว
าว
ความรอนสงผานกระจกสะทอนความรอนพื้นที่ 1 ตารางเมตร ที่มีคาการบังเงา 0.5 ทางดานทิศตะวันตกในเวลา 16:00 น. ของเดือนเมษายน ควรเปนเทาใด


คําตอบ 1 : 60 วัตต


คําตอบ 2 : 160 วัตต
คําตอบ 3 : 260 วัตต
คําตอบ 4 : 360 วัตต

ขอที่ : 105
ความรอนสงผานผนังกออิฐหนา 20 ซม. พื้นที่ 1 ตารางเมตร ทางดานทิศตะวันออก ในเวลา 11:00 น. ของเดือนเมษายน ควรเปนเทาใด
30 of 101
คําตอบ 1 : 25 วัตต
คําตอบ 2 : 75 วัตต
คําตอบ 3 : 125 วัตต
คําตอบ 4 : 175 วัตต

ขอที่ : 106
ความรอนสงผานหลังคาที่มุงดวยแผนเหล็กที่มีฉนวนใยแกวหนา 10 ซม. พื้นที่ 1 ตารางเมตร เวลา 12:00 น. ของเดือนเมษายน ควรเปนเทาใด
คําตอบ 1 : 5 วัตต

่ า ย

คําตอบ 2 : 25 วัตต


คําตอบ 3 : 50 วัตต

จ ำ
คําตอบ 4 : 75 วัตต

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
107
ปริมาณอากาศจากภายนอกอาคาร 1 ลบ ฟุต จะมีปริมาณความรอนที่ตองปรับอากาศเทาใด
คําตอบ 1 : 12.5 Watt

ิท
คําตอบ 2 : 25 Watt


คําตอบ 3 : 50 Watt

ว น
คําตอบ 4 : 62.5 Watt

ส ง

ขอที่ : 108


การลดภาระการทําความเย็นในระบบปรับอากาศ มีวิธีการอยางไรบาง

กร
คําตอบ 1 : การควบคุมความรอนรับจากดวงอาทิตย (Solar Heat Gain) และการระบายอากาศ (Ventilation)


คําตอบ 2 : การควบคุมการระบายอากาศ (Ventilation) และความรอนรับภายใน (Internal Heat Gain)



คําตอบ 3 : การควบคุมความรอนรับภายใน (Internal Heat Gain) และการสะสมพลังงานอุณหภาพ (Thermal Storage)

าว
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 109

ส ภ
คอนกรีตหนา 250 mm ขนาด 1 ตารางเมตร จะสะสมความรอนที่อุณหภูมิแตกตาง 7 องศาเซลเซียส ได เทาไร
คําตอบ 1 : 1600 kJ
คําตอบ 2 : 2600 kJ
คําตอบ 3 : 3600 kJ
คําตอบ 4 : 4600 kJ
31 of 101
ขอที่ : 110
ภาระความรอนแฝง (Latent Load) โดยทั่วไปมีสัดสวนประมาณเทาใดของภาระการปรับอากาศโดยรวม
คําตอบ 1 : 5%
คําตอบ 2 : 15%
คําตอบ 3 : 30%
คําตอบ 4 : 50%

่ า ย

ขอที่ : 111


หองหมอแปลงไฟฟา ขนาด 2000 kVA จํานวน 2ลูก มีอัตราการสูญเสียในรูปความรอน 30 W/kVA จะมีความรอนออกมาเทาไร และจะตองระบายความรอนดวยปริมาณลมเทาไร


ถายอมใหลมที่มาระบายความรอนมีอุณหภูมิสูงขึ้น 5 องศาเซลเซียส

มจ
คําตอบ 1 : 60 kW 20 m3/s

า้
คําตอบ 2 : 60 kW 4 m3/s

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : 120 kW 20 m3/s
คําตอบ 4 : 120 kW 40 m3/s

ขอที่ : 112

ส ิท

วัสดุมีความเปนฉนวนความรอนมากที่สุด
คําตอบ 1 : ไมเนื้อแข็ง

ง ว

คําตอบ 2 : ไมเนื้อออน


คําตอบ 3 : อากาศ

กร ข
คําตอบ 4 : โฟมโพลีสไตลีน

ขอที่ : 113


ิ ว
าว
ลิฟตโดยสาร สามารถบรรทุกน้ําหนักได 1600 กิโลกรัม ดวยความเร็ว 240 เมตร/นาที ใชกําลังมอเตอร 40 kW โดยมอเตอรมีประสิทธิภาพ 90% หองเครื่องลิฟตตองระบายความรอน
เทาไร

ส ภ
คําตอบ 1 : 40 kW
คําตอบ 2 : 20 kW
คําตอบ 3 : 4 kW
คําตอบ 4 : 2 kW

ขอที่ : 114
โรงงานแหงหนึ่ง มีพื้นที่ 10,000 ตารางเมตร สูง 8 เมตร กฎกระทรวงฉบับที่ 33 ออกตามความใน พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร กําหนดใหวิศวกรตองออกแบบใหมีการระบายอากาศอย
32 of 101 าง
นอย 4 เทาของปริมาตรหองตอชั่วโมง อยากทราบวาตองออกแบบใหพัดลมสามารถระบายอากาศดวยอัตราเทาใด
คําตอบ 1 : 80,000 ลูกบากศเมตรตอชั่วโมง
คําตอบ 2 : 160,000 ลูกบากศเมตรตอชั่วโมง
คําตอบ 3 : 320,000 ลูกบากศเมตรตอชั่วโมง
คําตอบ 4 : 480,000 ลูกบากศเมตรตอชั่วโมง

ขอที่ : 115

่ า ย
ความเร็วลมในทอลมปรับอากาศของที่พักอาศัยไมควรสูงเกินเทาใดเพื่อไมกอใหเกิดเสียงดังรบกวน


คําตอบ 1 : 0.75 เมตร/วินาที


คําตอบ 2 : 7.50 เมตร/วินาที

จ ำ
คําตอบ 3 : 75 เมตร/วินาที


คําตอบ 4 : 750 เมตร/วินาที

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 116
หนากากจายลมเย็นที่มีอัตราการจายลม 200 ลิตร/วินาที ควรมีขนาดเทาใด

ิท
คําตอบ 1 : 50x50 มิลลิเมตร


คําตอบ 2 : 100x100 มิลลิเมตร

ว น
คําตอบ 3 : 200x200 มิลลิเมตร


คําตอบ 4 : 300x300 มิลลิเมตร

อ ส

ขอที่ : 117

กร
วิธีการออกแบบทอลมในขอใดมีการปรับสมดุลความดันในระบบ ในขั้นตอนการเลือกขนาดทอลม


คําตอบ 1 : Equal friction method



คําตอบ 2 : Balance capacity method

าว
คําตอบ 3 : Static regain method


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 118

การออกแบบทอลมวิธีใดที่ไดขนาดทอลมเทากัน ในทุกสวนของทอลมที่มีปริมาตรการไหลเทากัน
คําตอบ 1 : Equal friction method
คําตอบ 2 : Balance capacity method
คําตอบ 3 : Static regain method
33 of 101
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ
ขอที่ : 119
ในการเปลี่ยนจากทอกลมที่ออกแบบเปนทอสี่เหลี่ยมที่เทียบเทา มีเงื่อนไขตามขอกําหนดในขอใด
คําตอบ 1 : มีความสูญเสียความดันเทากันที่ปริมาตรการไหลที่ไหลในทอเทากัน
คําตอบ 2 : มีความสูญเสียความดันเทากันที่ความเร็วของอากาศที่ไหลในทอเทากัน
คําตอบ 3 : มีพื้นที่หนาตัดของทอลมเทากัน


คําตอบ 4 : ทอสี่เหลี่ยมที่ไดมีเสนผานศูนยกลางไฮดรอลิกสเทากับขนาดเสนผานศูนยกลางทอกลม

น่ า

ขอที่ : 120


หองมีขนาดความกวาง 2 เมตร ยาว 5. เมตร และสูง 3 เมตร ถาความสูงนัยสําคัญ (Significant height) ของหองเทากับ 2.4 เมตร ผูออกแบบกําหนดคา air change ของหองไวเทา


กับ 15 ถามวาตองใชพัดลมในการหมุนเวียนอากาศขนาดเทาใด
คําตอบ 1 : 360 CMH

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 : 450 CMH
คําตอบ 3 : 390 CMH
คําตอบ 4 :

ิท
420 CMH

ขอที่ : 121

นส
ง ว
ทอลมนําอากาศบริสุทธิ์เขามาบริเวณภายในอาคารจะตอเขากับทอลมชนิดไหน


คําตอบ 1 : ทอลมระบายอากาศของระบบทอลม


คําตอบ 2 : ทอลมสงของระบบทอลม

กร ข
คําตอบ 3 : ทอลมกลับของระบบทอลม
คําตอบ 4 : ผิดทุกขอ เนื่องจากจะถูกนําเขาสูบริเวณปรับอากาศโดยตรง


ิ ว
าว
ขอที่ : 122
ระยะทางที่ลมจะเคลื่อนที่ไปได (Throw) จากหนากากจายลมขึ้นอยูกับอะไร


คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
ภ ปริมาณลม, พื้นที่จายลมของหนากาก, องศาจายลมของหนากาก
ความเร็วลม, สวนกลับของพื้นที่จายลมของหนากาก, องศาจายลมของหนากาก
ปริมาณลม, สวนกลับของรากที่สองของพื้นที่จายลมของหนากาก,องศาจายลมของหนากาก
คําตอบ 4 : ความเร็วลม,พื้นที่จายลมของหนากาก,องศาจายลมของหนากาก

ขอที่ : 123
สมการที่ชวยใหเราสามารถออกแบบตลอดจนตรวจสอบสมรรถนะของอุปกรณจายลมในระบบทอลมคือ 34 of 101

คําตอบ 1 : สมการโมเมนตัม (Momentum equation)


คําตอบ 2 : สมการอนุรักษมวล (Conservation of mass)
คําตอบ 3 : สมการเบอรนูลี่ (Bernoulli’s equation)
คําตอบ 4 : สมการพลังงานของการไหลแบบไมคงตัว (Unsteady-flow energy equation)

ขอที่ : 124
วิธีการออกแบบทอลมวิธีไหนที่เหมาะสําหรับระบบทอลมความเร็วสูง
คําตอบ 1 : Velocity reduction method

่ า ย

คําตอบ 2 : Static regain method


คําตอบ 3 : Equal friction method

จ ำ
คําตอบ 4 : Constant velocity method

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
125
การออกแบบระบบทอลมจายของระบบปรับอากาศจะ
คําตอบ 1 : เพิ่มความชื้นใหกับอากาศ

ิท
คําตอบ 2 : ลดอุณหภูมิของลมจาย


คําตอบ 3 : ไมกระทบตอการแจกจายลม (Air distribution)

ว น
คําตอบ 4 : กระทบตอการแจกจายลม (Air distribution)

ส ง

ขอที่ : 126


การออกแบบระบบทอลมโดยวิธีลดความเร็วลม (Velocity reduction method) ความเร็วลมสูงสุดที่เลือกมาจะเกิดขึ้นที่ไหน

กร
คําตอบ 1 : บริเวณปากทางเขาทอลมจากตัวพัดลม


คําตอบ 2 : บริเวณปลายสุดของทอลม



คําตอบ 3 : บริเวณทางแยกจากทอเมนเขาสูทอสาขา

าว
คําตอบ 4 : ในทอลมสาขา

ขอที่ : 127

ส ภ
การออกแบบทอลมระบายอากาศที่มีอนุภาคแขวนลอยอยูในกระแสลม ควรใชวิธีการออกแบบทอลมวิธีไหนถึงจะดีที่สุด
คําตอบ 1 : Constant velocity method
คําตอบ 2 : Velocity reduction method
คําตอบ 3 : Equal friction method
คําตอบ 4 : Static regain method
35 of 101
ขอที่ : 128
Static regain method เปนวิธีการออกแบบทอลมที่มีวัตถุประสงคเพื่ออะไร
คําตอบ 1 : เพื่อรักษาความดันอันเนื่องจากความเร็ว (Velocity pressure) ใหมีคาคงที่ตลอดทั้งระบบ
คําตอบ 2 : เพื่อรักษาความดันสถิต (Static pressure) ใหมีคาคงที่ตลอดทั้งระบบ
คําตอบ 3 : เพื่อรักษาความดันทั้งหมด (Total pressure) ใหมีคาคงที่ตลอดทั้งระบบ
คําตอบ 4 : เพื่อใหขนาดของทอลมขาออกมีขนาดเทากันหมดเมื่อมีปริมาณลมเทากัน

่ า ย

ขอที่ : 129


คาความเสียดทานในการออกแบบโดยวิธี Equal friction method นิยมใชหนวยเปนอะไรในระบบ SI

จ ำ
คําตอบ 1 : นิ้วน้ําตอเมตร


คําตอบ 2 : นิ้วปรอทตอฟุต

า้
คําตอบ 3 : นิ้วน้ําตอ 100 ฟุต

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ปาสคาลตอเมตร

ิท
ขอที่ : 130


การสูญเสียกําลังงานในทอลมจะแปรผันโดยตรงไปกับ

ว น
คําตอบ 1 : ความเร็วในทอลม


คําตอบ 2 : ปริมาณลมในทอ


คําตอบ 3 : เสนผาศูนยกลางของทอลม


คําตอบ 4 : ความเร็วในทอลมยกกําลังสาม

กร ข

ขอที่ : 131



ทอลมที่มีขนาดระหวาง 13 ถึง 30 นิ้ว ควรเลือกใชแผนเหล็กอาบสังกะสี (1.25 oz/ft2) เบอรอะไร เพื่อใชในการทําทอลม

าว
คําตอบ 1 : เบอร 26


คําตอบ 2 : เบอร 24


คําตอบ 3 : เบอร 22
คําตอบ 4 : เบอร 20

ขอที่ : 132
ทอลมความเร็วต่ําคือทอลมอะไร
คําตอบ 1 : ทอลมที่มีความเร็วลมภายในทอต่ํากวา 1500 ฟุตตอนาที และมีความดันสแตติกสต่ํากวา 2 นิ้วน้ํา
36 of 101
คําตอบ 2 : ทอลมที่มีความเร็วลมภายในทอต่ํากวา 1000 ฟุตตอนาที และมีความดันสแตติกสต่ํากวา 1 นิ้วน้ํา
คําตอบ 3 : ทอลมที่มีความเร็วลมภายในทอต่ํากวา 2000 ฟุตตอนาที และมีความดันสแตติกสต่ํากวา 2 นิ้วน้ํา
คําตอบ 4 : ทอลมที่มีความเร็วลมภายในทอต่ํากวา 2000 ฟุตตอนาที และมีความดันสแตติกสต่ํากวา 1.5 นิ้วน้ํา

ขอที่ : 133
ทอลมสําหรับสงลมที่อัตราเดียวกัน และออกแบบที่ความเสียดทานเทากัน อยากทราบวาทอลมที่มีหนาตัดอยางไรจะประหยัดวัสดุทําทอลมมากที่สุด
คําตอบ 1 : สี่เหลี่ยมจตุรัส
คําตอบ 2 : สี่เหลี่ยมผืนผา

่ า ย

คําตอบ 3 : วงรี


คําตอบ 4 : วงกลม

จ ำ

ขอที่ :

า้
134
หนากากรับลมกลับ (Return Air Grille) ที่มีขนาด 24x24 นิ้ว สามารถรับลมกลับไดกี่ลูกบาศกฟุตตอนาที

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 800 ลูกบาศกฟุตตอนาที
คําตอบ 2 : 1,600 ลูกบาศกฟุตตอนาที

ิท
คําตอบ 3 : 3,200 ลูกบาศกฟุตตอนาที


คําตอบ 4 : 4,800 ลูกบาศกฟุตตอนาที

ขอที่ :

ง ว น

135


ในการออกแบบทอสงลมของระบบปรับอากาศ ทอลมที่มีความยาว 100 ฟุต ควรมี Pressure Drop ประมาณเทาไร


คําตอบ 1 : 0.0075 นิ้วน้ํา

กร
คําตอบ 2 : 0.075 นิ้วน้ํา


คําตอบ 3 : 0.75 นิ้วน้ํา



คําตอบ 4 : 7.5 นิ้วน้ํา

ขอที่ : 136

ภ าว

เพื่อไมใหมีเสียงดังของลมมากเกินไป ความเร็วลมในทอลมประธานของระบบปรับอากาศควรมีคาไมเกินเทาใด
คําตอบ 1 : 50 ฟุตตอนาที
คําตอบ 2 : 150 ฟุตตอนาที
คําตอบ 3 : 1500 ฟุตตอนาที
คําตอบ 4 : 3000 ฟุตตอนาที

37 of 101
ขอที่ : 137
หัวจายลมเย็นสําหรับลมจาย 400 ลูกบากศฟุตตอนาที ควรมีขนาดเทาใด
คําตอบ 1 : 4x4 นิ้ว
คําตอบ 2 : 6x6 นิ้ว
คําตอบ 3 : 8x8 นิ้ว
คําตอบ 4 : 12x12 นิ้ว

่ า ย
ขอที่ : 138


หนากากสําหรับลมกลับที่มีปริมาณลม 2,000 ลูกบากศฟุตตอนาที ควรมีขนาดเทาใด


คําตอบ 1 : 12x6 นิ้ว

จ ำ
คําตอบ 2 : 24x12 นิ้ว


คําตอบ 3 : 36x24 นิ้ว

า้
คําตอบ 4 : 48x36 นิ้ว

ขอที่ : 139
ิธ์ ห
ิท
ขอใดไมใชหนาที่ของฉนวนหุมทอลม


คําตอบ 1 : ปองกันการกลั่นตัวเปนหยดน้ํา

ว น
คําตอบ 2 : ปองกันการสูญเสียความเย็น


คําตอบ 3 : ปองกันการแผรังสีความเย็น


คําตอบ 4 : ปองกันการรั่วของลม

ขอ
กร
ขอที่ : 140


ความเร็วลมที่ทอลมแยกโดยปกติเปนเทาใด



คําตอบ 1 : 500 fpm ( 2.5 m/s)

าว
คําตอบ 2 : 800 fpm (4m/s)


คําตอบ 3 : 1500 fpm (7.5 m/s)


คําตอบ 4 : 2000 fpm (10 m/s)

ขอที่ : 141
ความเร็วลมที่หัวจายลมโดยปกติเปนเทาใด
คําตอบ 1 : 200 fpm (1 m/s)
คําตอบ 2 : 350 fpm (2 m/s)
38 of 101
คําตอบ 3 : 600 fpm (3 m/s)
คําตอบ 4 : 800 fpm (4 m/s)

ขอที่ : 142
ความเร็วลมที่หนากากลมกลับโดยปกติเปนเทาใด
คําตอบ 1 : 200 fpm (1 m/s)
คําตอบ 2 :


400 fpm (2 m/s)

่ า
คําตอบ 3 : 600 fpm (3 m/s)


คําตอบ 4 : 800 fpm (4 m/s)

ขอที่ : 143

จ ำ ห

ทอลมที่มีความกวาง 1.20 เมตร สําหรับทอลม Low Pressure ใชสังกะสีเบอรอะไร

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : เบอร 26
คําตอบ 2 : เบอร 24
คําตอบ 3 : เบอร 22

ิท
คําตอบ 4 : เบอร 20

นส

ขอที่ : 144


ทอลมที่มีความกวาง 1 เมตร สําหรับทอลม Medium Pressure ใชสังกะสีเบอรอะไร
คําตอบ 1 : เบอร 26

อ ส

คําตอบ 2 : เบอร 24

กร
คําตอบ 3 : เบอร 22


คําตอบ 4 : เบอร 20

ขอที่ : 145

าว ศ


เหตุใดฉนวนใยแกวสําหรับหุมทอลมจึงตองมีอลูมิเนียมฟอยล


คําตอบ 1 : เพื่อไมใหใยแกวหลุดรวง
คําตอบ 2 : เพื่อทําหนาที่เปนฉนวนปองกันความชื้น
คําตอบ 3 : เพื่อความเรียบรอยและปองกันฉนวนเสียหาย
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 146 39 of 101


ปริมาณการระบายอากาศในอาคารที่ไมปรับอากาศ โดยทั่วไปควรอยูในชวง Airchanges/Hr. เทาไร
คําตอบ 1 : 5 -10 Airchanges/Hr
คําตอบ 2 : 10 -15 Airchanges/Hr
คําตอบ 3 : 15-25 Airchanges/Hr
คําตอบ 4 : 25-40 Airchanges/Hr

ขอที่ : 147

่ า ย
ความเร็วลมผานตัวคนในหองปรับอากาศ โดยทั่วไปควรอยูในชวงความเร็วลมเทาไร


คําตอบ 1 : < 10 fpm


คําตอบ 2 : < 50 fpm

จ ำ
คําตอบ 3 : < 100 fpm


คําตอบ 4 : < 200 fpm

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 148
ในกรณีของคลังสินคา การระบายอากาศที่ดีเพียงอยางเดียวสามารถทําใหอุณหภูมิภายในอาคารต่ํากวาภายนอกอาคารไดหรือไม

ิท
คําตอบ 1 : ได เพราะผลของการระบายอากาศทําใหอากาศเย็นลง


คําตอบ 2 : การระบายอากาศทําใหเกิดกระแสลมมาก

ว น
คําตอบ 3 : การระบายอากาศทําใหคา MRT ลดลง


คําตอบ 4 : ไมได

อ ส

ขอที่ : 149

กร
ปริมาณการระบายอากาศดวย Stack Effect ขึ้นกับอะไรบาง


คําตอบ 1 : Stack Height



คําตอบ 2 : อุณหภูมิแตกตางระหวางลม เขา ออก

าว
คําตอบ 3 : ขนาดพื้นที่ปากลม เขา ออก


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 150

เหตุใดอาคารที่อาศัยการระบายอากาศจึงตองมีคา MRT ต่ํา
คําตอบ 1 : เพราะการระบายอากาศไมสามารถกําจัดรังสีความรอนได
คําตอบ 2 : เพราะการระบายอากาศเปนการสรางกระแสลม
คําตอบ 3 : เพราะการระบายอากาศเปนการถายมวลความรอน
40 of 101
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 3
ขอที่ : 151
การระบายอากาศที่ดีตองคํานึงถึงเรื่องอะไรบาง
คําตอบ 1 : การลัดวงจร
คําตอบ 2 : จุดอับ
คําตอบ 3 : แหลงกําเนิดมลภาวะ


คําตอบ 4 : ทุกขอ

น่ า

ขอที่ : 152


เหตุใดจุดอับในการระบายอากาศ จึงเปนปญหาในการระบายอากาศ
คําตอบ 1 : เพราะไมมีกระแสลม

มจ
า้
คําตอบ 2 : เปนที่สะสมของมลภาวะ

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : เปนที่สะสมความชื้น
คําตอบ 4 : ทุกขอ

ขอที่ : 153

ส ิท
ว น
ความเร็วลมที่ครอบดูดควันโดยปกติเปนเทาใด


คําตอบ 1 : 0.25 m/s


คําตอบ 2 : 0.5 m/s


คําตอบ 3 :


0.75 m/s

กร
คําตอบ 4 : 1 m/s

ขอที่ : 154


ิ ว
าว
ทอลมสําหรับปริมาณลม 2000 L/s ควรจะมีขนาดเทาใด


คําตอบ 1 : 850 x 450 mm


คําตอบ 2 : 1500 x 250 mm
คําตอบ 3 : 1900 x 250 mm
คําตอบ 4 : 2200 x 200 mm

ขอที่ : 155
ทอลมสําหรับปริมาณลม 1000 L/s ควรจะมีขนาดเทาใด
41 of 101
คําตอบ 1 : 850 x 350 mm
คําตอบ 2 : 910 x 250 mm
คําตอบ 3 : 1150 x 200 mm
คําตอบ 4 : 600 x 350 mm

ขอที่ : 156
ทอลม Low Pressure หมายถึงทอลมที่มีระดับความดันในทอลมเทาใด
คําตอบ 1 : < 25 mm WG

่ า ย

คําตอบ 2 : < 50 mm WG


คําตอบ 3 : 50 – 100 mm WG

จ ำ
คําตอบ 4 : >100 mm WG

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
157
ทอลม Medium Pressure หมายถึงทอลมที่มีระดับความดันในทอลมเทาใด
คําตอบ 1 : < 25 mm WG

ิท
คําตอบ 2 : < 50 mm WG


คําตอบ 3 : 50 – 100 mm WG

ว น
คําตอบ 4 : >100 mm WG

ส ง

ขอที่ : 158


ทอลม High Pressure หมายถึงทอลมที่มีระดับความดันในทอลมเทาใด

กร
คําตอบ 1 : < 25 mm WG


คําตอบ 2 : < 50 mm WG



คําตอบ 3 : 50 – 100 mm WG

าว
คําตอบ 4 : >100 mm WG

ขอที่ : 159

ส ภ
ทอลม Medium Pressure มีใชในกรณีใดบาง
คําตอบ 1 : เมื่อเดินทอลมเปนระยะยาวมาก
คําตอบ 2 : เมื่อมีการติดตั้งกลองเก็บเสียง แผงกรองอากาศประสิทธิภาพสูง
คําตอบ 3 : เมื่อมีการติดตั้งอุปกรณที่มีแรงเสียดทานสูง หรืออุปกรณที่ตองการความดันลมสูง เชน VAV
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ
42 of 101
ขอที่ : 160
เหตุใดจึงตองควบคุมปริมาณการรั่วของลมในระบบทอลม
คําตอบ 1 : เพื่อลดการสูญเสียลม
คําตอบ 2 : เพื่อใหมีลมเพียงพอกับที่ตองการ
คําตอบ 3 : เพื่อประหยัดพลังงาน เนื่องจากตองใชพลังงานในการสรางลมเย็นมาก
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

่ า ย

ขอที่ : 161


เหตุใดจึงไมควรเดินทอลมเย็นนอกบริเวณหองปรับอากาศ

จ ำ
คําตอบ 1 : ทําใหทอลมเย็นอยูในสภาพแวดลอมที่ไมเหมาะสม


คําตอบ 2 : ลมเย็นจะรั่วออกนอกพื้นที่ปรับอากาศ

า้
คําตอบ 3 : คากอสรางทอลมเย็นสูง

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ิท
ขอที่ : 162


องคประกอบของฉนวนใยแกวในสวนของใยแกวมีหนาที่อะไร

ว น
คําตอบ 1 : ปองกันความรอน


คําตอบ 2 : ปองกันความชื้น


คําตอบ 3 : ปองกันความรอนและความชื้น


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

กร ข

ขอที่ : 163



องคประกอบของฉนวนใยแกวในสวนของอลูมิเนียมฟอยลมีหนาที่อะไร

าว
คําตอบ 1 : ปองกันความรอน


คําตอบ 2 : ปองกันความชื้น


คําตอบ 3 : ปองกันความรอนและความชื้น
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 164
การออกแบบระบบทอลมแบบกางปลามีประโยชนอยางไร
คําตอบ 1 : สวยงาม
43 of 101
คําตอบ 2 : ประหยัดคากอสรางทอลม
คําตอบ 3 : ทําใหความดันลมที่หัวจายเทากันทุกหัว
คําตอบ 4 : ทําใหสามารถปรับความดันลมใหสมดุลยไดงาย

ขอที่ : 165
ทอลม Low Velocity หมายถึงทอลมที่มีระดับความเร็วในทอลมเทาใด
คําตอบ 1 :


< 5 m/s

่ า
คําตอบ 2 : < 12.7 m/s


คําตอบ 3 : >12.7 m/s


คําตอบ 4 : > 20 m/s

จ ำ

ขอที่ :

า้
166
ทอลม High Velocity หมายถึงทอลมที่มีระดับความเร็วในทอลมเทาใด

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : < 5 m/s
คําตอบ 2 : < 12.7 m/s

ิท
คําตอบ 3 : >12.7 m/s


คําตอบ 4 : > 20 m/s

ขอที่ :

ง ว น

167


หัวจายลมแบบเพดานมีจุดเดนที่เหนือกวาหัวจายชนิดอื่นอะไร


คําตอบ 1 : การกระจายลมดี

กร
คําตอบ 2 : สวยงาม และเงียบ


คําตอบ 3 : มีระยะเปาไดไกล



คําตอบ 4 : ราคาถูก

ขอที่ : 168

ภ าว

หัวจายลมแบบเปาขางมีขอควรระวังอะไร
คําตอบ 1 : การกระจายลม
คําตอบ 2 : ลมเย็นตกลงเปนจุดๆ
คําตอบ 3 : ระดับเสียง
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

44 of 101
ขอที่ : 169
ขอควรระวังในการติดตั้งหัวจายลมคืออะไร
คําตอบ 1 : การกระจายลมใหออกเต็มหนาหัวจาย
คําตอบ 2 : ลมรั่วที่คอหัวจาย
คําตอบ 3 : การลัดวงจรลม
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

่ า ย
ขอที่ : 170


การกระจายลมใหเต็มหนาหัวจาย มีวิธีอยางไร


คําตอบ 1 : ทําใหความดันลมที่เขาหัวจายเปน Velocity Pressure

จ ำ
คําตอบ 2 : ทําใหความดันลมที่เขาหัวจายเปน Static Pressure


คําตอบ 3 : ทําใหความดันลมที่เขาหัวจายเปน Velocity Pressure และ Static Pressure

า้
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 171
ิธ์ ห
ิท
การแปลงความดันลมใหเปน Static Pressure มีวิธีอยางไร


คําตอบ 1 : ใชกลองลม (Air Plenum)

ว น
คําตอบ 2 : ใชแผน Perforated Steel Sheet ขวางทิศทางลม


คําตอบ 3 : ใชใบปรับปริมาณลม


คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2

ขอ
กร
ขอที่ : 172


ใยแกวที่มีความหนาแนน 24 K (kg/m3) มีจุดเดนเหนือกวา 16 K อยางไร



คําตอบ 1 : ฉนวน 24 K มีคาการนําความรอนนอยกวาฉนวน 16 K มากกวา 20%

าว
คําตอบ 2 : ฉนวน 24 K สามารถใชความหนานอยกวาฉนวน 16 K ครึ่งหนึ่ง


คําตอบ 3 : ค. ฉนวน 24 K ทนความชื้นไดดีกวาฉนวน 16 K


คําตอบ 4 : ฉนวน 24 K มีปญหาเนื่องจากการยุบตัวของฉนวนนอยกวาฉนวน 16 K

ขอที่ : 173
การหาขนาดทอลมดวยวิธี Equal friction ใชเกณฑขอใด
คําตอบ 1 : ความเร็วในทอลมไมเกิน 3.5 เมตร/วินาที และความเสียดทานไมเกิน 0.8 ปาสกาล/เมตร
คําตอบ 2 : ความเร็วในทอลมไมเกิน 7.5 เมตร/วินาที และความเสียดทานไมเกิน 0.8 ปาสกาล/เมตร
45 of 101
คําตอบ 3 : ความเร็วในทอลมไมเกิน 3.5 เมตร/วินาที และความเสียดทานไมเกิน 1.2 ปาสกาล/เมตร
คําตอบ 4 : ความเร็วในทอลมไมเกิน 7.5 เมตร/วินาที และความเสียดทานไมเกิน 1.2 ปาสกาล/เมตร

ขอที่ : 174
ลานจอดรถใตดิน มีพื้นที่ 7,200 ตารางเมตร สูง 3 เมตร กฎกระทรวงฉบับที่ 33 ออกตามความใน พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร กําหนดใหวิศวกรตองออกแบบใหมีการระบายอากาศอยางนอย
4 เทาของปริมาตรหองตอชั่วโมง อยากทราบวาตองออกแบบอยางนอยตามขอใด จึงผานขอกําหนดตามกฎหมาย
คําตอบ 1 : พัดลมแบบไหลตามแนวแกนขนาด 12,000 ลิตรตอวินาที จํานวน 1 ตัว

่ า ย
คําตอบ 2 : พัดลมแบบไหลตามแนวแกนขนาด 12,000 ลิตรตอวินาที จํานวน 2 ตัว


คําตอบ 3 : พัดลมแบบหอยโขงขนาด 12,000 ลิตรตอวินาที จํานวน 3 ตัว


คําตอบ 4 : พัดลมแบบหอยโขงขนาด 12,000 ลิตรตอวินาที จํานวน 4 ตัว

จ ำ

ขอที่ : 175

า้
ในระบบปรับอากาศ ถาตองการใหทอลมหลักสงลมได 15 ลูกบาศกเมตรตอวินาที ควรออกแบบใหทอลมมีขนาดอยางนอยสุดเทาใด เพื่อใหลดตนทุนและไมใหเกิดเสียงดัง

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 1000 x 1000 ตารางมิลลิเมตร
คําตอบ 2 : 1500 x 1000 ตารางมิลลิเมตร

ิท
คําตอบ 3 : 2000 x 1000 ตารางมิลลิเมตร


คําตอบ 4 : 1500 x 1500 ตารางมิลลิเมตร

ขอที่ : 176

ง ว น

ทอลมใด มีแรงเสียดทานตอหนวยความยาวมากที่สุด
คําตอบ 1 :

ขอ
ทอสงลม 1000 ลิตร/วินาที ขนาด 200 x 200 ตร. มม.

กร
คําตอบ 2 : ทอสงลม 2000 ลิตร/วินาที ขนาด 400 x 400 ตร. มม.


คําตอบ 3 : ทอสงลม 4000 ลิตร/วินาที ขนาด 800 x 800 ตร. มม.



คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 177

ภ าว

พัดลมระบายอากาศ สงลมดวยความดันรวม 1 กิโลปาสคาล และปริมาณลม 7200 ลบ.ม./ชั่วโมง ดวยความเร็วรอบ 750 รอบ/นาที และพัดลมและมอเตอรตางมีประสิทธิภาพคงที่
80% ถาตองการปริมาณลมเพิ่มขึ้นเปน 14400 ม./ชั่วโมง จะตองปรับความเร็วรอบเปนเทาใด และใสกําลังงานเทาใด
คําตอบ 1 : 750 รอบ/นาที และ 20 กิโลวัตต
คําตอบ 2 : 750 รอบ/นาที และ 40 กิโลวัตต
คําตอบ 3 : 1500 รอบ/นาที และ 20 กิโลวัตต
คําตอบ 4 : 1500 รอบ/นาที และ 40 กิโลวัตต
46 of 101

ขอที่ : 178
ทอน้ําเย็นและทอน้ําระบายความรอนของระบบปรับอากาศขนาดใหญ นิยมใชทอแบบใด
คําตอบ 1 : ทอสแตนเลส
คําตอบ 2 : ทอเหล็กดํา
คําตอบ 3 : ทอพีวีซี
คําตอบ 4 : ทอทองแดง

่ า ย
ขอที่ : 179


เครื่องทําน้ําเย็นขนาด 350 กิโลวัตตความเย็น (100 ตันความเย็น) จายน้ําเย็นที่อุณหภูมิ 7 องศาเซลเซียส (44.6 องศาฟาเรนไฮต) และรับน้ําเย็นกลับที่อุณหภูมิ 13 องศาเซลเซียส


(55.4 องศาฟาเรนไฮต) ควรตอกับทอน้ําเย็นขนาดเทาใด


คําตอบ 1 : 50 มิลลิเมตร

มจ
คําตอบ 2 : 100 มิลลิเมตร

า้
คําตอบ 3 : 200 มิลลิเมตร

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : 400 มิลลิเมตร

ิท
ขอที่ : 180


การคํานวณแรงดันของเครื่องสูบน้ําของระบบทอน้ําแบบใดที่ไมตองนําคาความดันสถิต (Static Head) มารวม


คําตอบ 1 : ระบบทอน้ําเย็น
คําตอบ 2 : ระบบทอน้ําระบายความรอน

ง ว

คําตอบ 3 : ระบบทอน้ําทิ้ง


คําตอบ 4 : ผิดทุกขอ

ขอที่ :

กร ข

181



ระบบสูบน้ําหนึ่งมีเครื่องสูบน้ําที่มีความสามารถในการสงน้ํา 15 ลิตร/วินาที ที่ความดัน 150 กิโลปาสกาล จํานวน 2 เครื่อง ทํางานรวมกันแบบขนาน ขอใดถูกตอง

าว
คําตอบ 1 : ระบบสูบน้ําจะสามารถสงน้ําได 30 ลิตร/วินาที ที่ความดัน 150 กิโลปาสกาล


คําตอบ 2 : ระบบสูบน้ําจะสามารถสงน้ําได 15 ลิตร/วินาที ที่ความดัน 300 กิโลปาสกาล


คําตอบ 3 : ระบบสูบน้ําจะสามารถสงน้ําได 30 ลิตร/วินาที ที่ความดัน 300 กิโลปาสกาล
คําตอบ 4 : ผิดทุกขอ

ขอที่ : 182
จากสมการความสูญเสียความดันเนื่องจากความเสียดทานภายในทอ ขอใดตอไปนี้ไมใชตัวแปรที่มีผลโดยตรงตอคาความดัน (Head Loss)สูญเสียของการไหลแบบอัดตัวไมไดภาย
ในทอ
คําตอบ 1 : ความหยาบของผนังภายในทอ 47 of 101

คําตอบ 2 : ความเร็วของของไหลภายในทอ
คําตอบ 3 : ความยาวและขนาดเสนผานศูนยกลางภายในของทอ
คําตอบ 4 : ปริมาตรการไหลที่ไหลผานทอ

ขอที่ : 183
ระบบทอน้ําระบายความรอน (condenser water system) โดยปกติจะมีลักษณะดังตอไปนี้ยกเวนขอใด
คําตอบ 1 : เปนระบบทอน้ําแบบเปด
คําตอบ 2 : ไมหุมฉนวนความรอน

่ า ย

คําตอบ 3 : ใชถังน้ําขยายตัวในการปองกันระบบเสียหาย


คําตอบ 4 : เชื่อมตอระหวางเครื่องทําน้ําเย็นกับหอระบายความรอน

จ ำ

ขอที่ :

า้
184
ขอใดเรียงลําดับความยาวเทียบเทา (Equivalent Length) ของวาลวจากมากไปหานอยไดถูกตอง สําหรับกรณีที่วาลวทุกตัวมีขนาดเทากัน

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : Globe valve, swing check valve, gate valve
คําตอบ 2 : Gate valve, swing check valve, globe valve

ิท
คําตอบ 3 : Swing check valve, globe valve, gate valve


คําตอบ 4 : Gate valve, globe valve, swing check valve

ขอที่ :

ง ว น

185


เครื่องทําความเย็นขนาด 3,500 กิโลวัตตความเย็น (1,000 ตันความเย็น) จะตองใชอัตราการไหลของน้ําเย็นกี่ลิตรตอวินาที (แกลลอนตอนาที) ถากําหนดอุณหภูมิน้ําเย็นเขาและออก


ตางกัน 5.5 องศาเซลเซียส และสัมประสิทธิ์สมรรถนะการทําความเย็น (COP) มีคาเทากับ 4

กร
คําตอบ 1 : 158 ลิตรตอวินาที (2,500 แกลลอนตอนาที)


คําตอบ 2 : 152 ลิตรตอวินาที (2,400 แกลลอนตอนาที)



คําตอบ 3 : 164 ลิตรตอวินาที (2,600 แกลลอนตอนาที)

าว
คําตอบ 4 : 145 ลิตรตอวินาที (2,300 แกลลอนตอนาที)

ขอที่ : 186

ส ภ
เครื่องทําความเย็นขนาด 3,500 กิโลวัตตความเย็น (1000 ตันความเย็น) จะตองใชอัตราการไหลของน้ําระบายความรอนกี่ลิตรตอวินาที (แกลลอนตอนาที) ถากําหนดอุณหภูมิน้ํา
ระบายความรอนเขาและออกตางกัน 5.5 องศาเซลเซียส และสัมประสิทธิ์สมรรถนะการทําความเย็นเทากับ 4
คําตอบ 1 : 190 L/s (3000 GPM)
คําตอบ 2 : 196 L/s (3100 GPM)
คําตอบ 3 : 152 L/s (2400 GPM)
คําตอบ 4 : 177 L/s (2800 GPM) 48 of 101
ขอที่ : 187
อาคารสูง 23 ม. เดินทอน้ําเย็นในระบบทําความเย็นคิดเปนความยาวเทียบเทาสูงสุดของทอเทากับ 100 ม. ความเสียดทานการไหลในทอเทากับ 3.5 ม.ตอความยาว 100 ม. ความเร็ว
ของน้ําในระบบทอเทากับ 2.5 ม.ตอวินาที ใหคํานวณหาคาความดันรวม (Total head) ของระบบทั้งหมด (ไมคิดความเสียดทานในเครื่องเปาลมเย็น)
คําตอบ 1 : 3.5 ม.
คําตอบ 2 : 26.5 ม.
คําตอบ 3 : 23 ม.


คําตอบ 4 : 19.5 ม.

น่ า

ขอที่ : 188


ขอใดเปนการเลือกขนาดทอน้ําที่ไมถูกตอง เมื่อออกแบบระบบทอน้ําเย็นใชในบาน

มจ
คําตอบ 1 : ทอขนาด 1.25 นิ้ว ความเร็วน้ําในทอ 1.0 เมตรตอวินาที

า้
คําตอบ 2 : ทอขนาด 2 นิ้ว ความเร็วน้ําในทอ 1.4 เมตรตอวินาที

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : ทอขนาด 0.5 นิ้ว ความเร็วน้ําในทอ 0.9 เมตรตอวินาที
คําตอบ 4 : ทอขนาด 4 นิ้ว ความเร็วน้ําในทอ 1.8 เมตรตอวินาที

ขอที่ : 189

ส ิท

ขอความใดตอไปนี้ไมถูกตอง
คําตอบ 1 :

ง ว
การดูดยก (Suction lift) เกิดขึ้นเมื่อแหลงปอนน้ําอยูต่ํากวาระดับติดตั้งของเครื่องสูบน้ํา


คําตอบ 2 : ความดันจายสถิต (Static discharge head) คือระยะทางในแนวดิ่งจากเครื่องสูบน้ําไปจนถึงจุดปลอยน้ําอยางอิสระ


ความดันรวม (Total head) = ความดันจายพลวัตรรวม (Total dynamic discharge head) - ความดันดูดสถิตรวม (Total static suction lift) เมื่อระบบมีการดูดยก


คําตอบ 3 :

กร
(Suction lift)
ความดันรวม (Total head) = ความดันจายพลวัตรรวม (Total dynamic discharge head) + ความดันดูดสถิตรวม (Total static suction lift) เมื่อระบบมีการดูดยก
คําตอบ 4 :


(Suction lift)

ขอที่ : 190

าว ศ


ขอความใดตอไปนี้ถูกตอง


คําตอบ 1 : เมื่อระบบมีความดันดูด (suction head) เราจําเปนตองคํานวณหาคาความดันดุดสุทธฺ (NPSH) ของเครื่องสูบน้ํา
คําตอบ 2 : คาความดันดูดสุทธิจริง (NPSH available) เปนฟงคชั่นของการออกแบบเครื่องสูบน้ํา
คําตอบ 3 : ในระบบเปด เมื่อเกิดการดุดยก (suction lift) เราตองคํานวณหาคาความดันดูดสุทธิที่ตองการ (NPSH required)
การเลือกเครื่องสูบน้ําในระบบเปด ตองเลือกเครื่องสูบน้ําที่มีคาความดันดูดสุทธิที่ตองการ (NPSH required) นอยกวาหรือเทากับคาความดันดูดสุทธิจริง (NPSH
คําตอบ 4 :
available) เสมอ

49 of 101
ขอที่ : 191
ตองการสูบน้ําไดสูง 30 ม. ที่อัตราการไหล 30 ลบ.ม. ตอชั่วโมง โดยที่ประสิทธิภาพของเครื่องสูบน้ําเทากับ 60 % จะตองใชเครื่องสูบน้ําขนาดกี่กิโลวัตต
คําตอบ 1 : 4.9 kw
คําตอบ 2 : 7.8 kw
คําตอบ 3 : 4.2 kw
คําตอบ 4 : 3.6 kw

่ า ย
ขอที่ : 192


ความเร็วที่แนะนําใหใชในการออกแบบระบบทอน้ําขึ้นอยูเงื่อนไขใดบาง


คําตอบ 1 : การใชงานของทอ

จ ำ
คําตอบ 2 : ราคาของตัวทอ


คําตอบ 3 : การกัดเซาะที่เกิดขึ้นกับทอ

า้
คําตอบ 4 : ขอ 1 และขอ 3

ขอที่ : 193
ิธ์ ห
ิท
ในการเลือกขนาดทอ อยางนอยเราจะตองทราบคาอะไรบาง


คําตอบ 1 : ความเร็วและความดันลดทั้งหมด

ว น
คําตอบ 2 : ปริมาณอัตราการไหลและความเร็ว


คําตอบ 3 : ความดันลดทั้งหมดและปริมาณอัตราการไหล


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอ
กร
ขอที่ : 194


ความเร็วน้ําต่ําสุดที่ใชในการออกแบบระบบทอน้ํามีคาเทากับเทาไร



คําตอบ 1 : 0.9 เมตรตอวินาที

าว
คําตอบ 2 : 0.5 เมตรตอวินาที


คําตอบ 3 : 0.6 เมตรตอวินาที


คําตอบ 4 : 1.2 เมตรตอวินาที

ขอที่ : 195
ทอใดในระบบปรับอากาศที่ไมตองหุมฉนวน
คําตอบ 1 : ทอน้ําเย็นดานสง
คําตอบ 2 : ทอน้ําเย็นดานกลับ
50 of 101
คําตอบ 3 : ทอน้ําระบายความรอน
คําตอบ 4 : ทอสารทําความเย็นดานดูด

ขอที่ : 196
ทอน้ําระบายความรอนของเครื่องทําน้ําเย็นขนาด 3,500 กิโลวัตตความเย็น ควรมีขนาดเทาใด
คําตอบ 1 : 150 มม.
คําตอบ 2 : 350 มม.
คําตอบ 3 : 500 มม.

่ า ย

คําตอบ 4 : 600 มม.

ขอที่ : 197

จ ำ ห

ถังรับการขยายตัวน้ําแบบเปด (Open-Type Expansion Tank) ตองติดตั้งอยูที่จุดใดของระบบทอน้ําเย็นของระบบปรับอากาศ

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : จุดที่สูงที่สุด
คําตอบ 2 : จุดที่ต่ําที่สุด
คําตอบ 3 : จุดที่ใกลดานดูดของเครื่องสูบน้ํามากที่สุด

ิท
คําตอบ 4 : จุดที่อยูใกลกับดานจายของเครื่องสูบน้ํามากที่สุด

นส

ขอที่ : 198


ทอน้ําเย็นสําหรับเครื่องสงลมเย็นขนาด 210 กิโลวัตตความเย็น ควรมีขนาดเทาใด
คําตอบ 1 : 50 มม.

อ ส

คําตอบ 2 : 80 มม.

กร
คําตอบ 3 : 100 มม.


คําตอบ 4 : 150 มม.

ขอที่ : 199

าว ศ


โดยปกติความเร็วของน้ําในทอน้ําเย็นประธาน (Main Chilled Water) มีคาประมาณเทาใด


คําตอบ 1 : 2.4-3.7 m/s
คําตอบ 2 : 1.2-2.1 m/s
คําตอบ 3 : 3-4.6 m/s
คําตอบ 4 : 1.5-3 m/s

ขอที่ : 200 51 of 101


โดยปกติความเร็วของน้ําในทอน้ําเย็นแยก (Branch Chilled Water) มีคาประมาณเทาใด
คําตอบ 1 : 2.4-3.7 m/s
คําตอบ 2 : 1.2-2.1 m/s
คําตอบ 3 : 1.2-4.6 m/s
คําตอบ 4 : 1-3 m/s

ขอที่ : 201

่ า ย
ทานมีความเห็นในการเลือกเกทวาลว (Gate Valve) และโกลบวาลว (Globe valve) อยางไร


คําตอบ 1 : เกทวาลว (Gate Valve) ใชระยะนอยกวา และมีราคาถูกกวา


คําตอบ 2 : โกลบวาลว (Globe valve) ทําหนาที่ปรับปริมาณน้ํา สวนเกทวาลว (Gate Valve)ทําหนาที่ปด เปด

จ ำ
คําตอบ 3 : โกลบวาลว (Globe valve) มีขนาดใหญ และมีราคาแพง


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 202
ทานมีความเห็นในการเลือกบัตเตอรฟลายวาลว (Butterfly Valve)และโกลบวาลว (Globe Valve) อยางไร

ิท
คําตอบ 1 : ทั้ง 2 ชนิด ใชทําหนาที่ปรับปริมาณน้ํา


คําตอบ 2 : บัตเตอรฟลายวาลว (Butterfly Valve) ใชระยะในการติดตั้งนอย และมีราคาถูกกวา โดยเฉพาะขนาดใหญๆ

ว น
คําตอบ 3 : บัตเตอรฟลายวาลว (Butterfly Valve) สามารถสังเกตุตําแหนงลิ้นได เมื่อใชชนิดกานปด เปด


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

อ ส

ขอที่ : 203

กร
อุณหภูมิน้ําเย็นจายและน้ําเย็นกลับ (Chilled Water Supply/Return Temperature) ของระบบปรับอากาศทั่วไป เปนเทาไร


คําตอบ 1 : 4.44 / 10 องศาเซลเซียส



คําตอบ 2 : 5.55 / 11.11 องศาเซลเซียส

าว
คําตอบ 3 : 7 / 12 องศาเซลเซียส


คําตอบ 4 : 8.33 / 13.9 องศาเซลเซียส

ขอที่ : 204

อุณหภูมิน้ําระบายความรอนจายและน้ําระบายความรอนกลับ (Cooling Water Supply/Return Temperature) ของหอระบายความรอน (Cooling Tower) ทั่วไป เปนเทาไร
คําตอบ 1 : 26.7 / 32.2 องศาเซลเซียส
คําตอบ 2 : 32.2 / 37.8 องศาเซลเซียส
คําตอบ 3 : 29.44 / 35 องศาเซลเซียส
52 of 101
คําตอบ 4 : 35 / 40.55 องศาเซลเซียส
ขอที่ : 205
เมื่อเปรียบเทียบวิธีการสงความเย็นดวยระบบทอลมกับระบบทอน้ําเย็น ขอใดถูกตอง
คําตอบ 1 : ระบบทอลมใชพลังงานนอยกวา เพราะอากาศมีคาการจุความรอนมากกวา
คําตอบ 2 : ระบบทอน้ําเย็นใชพลังงานนอยกวา เพราะน้ําเย็นมีคาความจุความรอนมากกวา
คําตอบ 3 : ระบบทอลมใชพลังงานมากกวา เพราะมีการสูญเสียความเย็นในระบบมากกวา


คําตอบ 4 : ขอ 2 และ 3

น่ า

ขอที่ : 206


ระบบทอน้ําเย็นแบบใดที่เปนการออกแบบใหมีการสมดุลน้ําภายในระบบเอง (Self Balance)
คําตอบ 1 : ระบบทอน้ําเย็นแบบไหลกลับโดยตรง (Direct Return)

มจ
า้
คําตอบ 2 : ระบบทอน้ําเย็นแบบไหลกลับ (Reverse Return)

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : ระบบทอน้ําเย็นแบบวงลูป (Ring Loop)
คําตอบ 4 : ระบบทอน้ําเย็นแบบวงรวม (Header)

ขอที่ : 207

ส ิท
ว น
สําหรับระบบทอน้ําเย็น ขอใดถูกตอง


คําตอบ 1 : เปนระบบปด (Closed System)


คําตอบ 2 : เปนระบบเปด (Open System)


คําตอบ 3 : เปนระบบปด (Closed System) และ ระบบเปด (Open System)
คําตอบ 4 :

กร ข
เปนระบบเลี่ยงทางหลัก (Bypass System)

ขอที่ : 208


ิ ว
าว
สําหรับระบบทอน้ําระบายความรอน ขอใดถูกตอง


คําตอบ 1 : เปนระบบปด (Closed System)


คําตอบ 2 : เปนระบบเปด (Open System)
คําตอบ 3 : เปนระบบปด (Closed System) และระบบเปด (Open System)
คําตอบ 4 : เปนระบบเลี่ยงทางหลัก (Bypass System)

ขอที่ : 209
ถังรับการขยายตัวน้ํา (Expansion Tank) มีไวเพื่ออะไร
53 of 101
คําตอบ 1 : สํารองน้ํา
คําตอบ 2 : เติมน้ําและกําหนดระดับความดันน้ําของระบบ
คําตอบ 3 : รับน้ําที่ขยายและหดตัว
คําตอบ 4 : ขอ 2 และ 3

ขอที่ : 210
การปรับสมดุลยน้ําของหอระบายความรอน (Cooling Tower) มีวิธีการอยางไรไดบาง
คําตอบ 1 : เดินทอน้ําแบบไหลยอนกลับ (Reverse Return)

่ า ย

คําตอบ 2 : มีทอ Equalizer ตอเชื่อมระหวางอางของ Cooling Tower


คําตอบ 3 : ใชอางของ Cooling Tower รวมกัน

จ ำ
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
211
การทดสอบทอดวยวิธีความดันอุทกสถิต (Hydrostatic Test) ขนาด 1.5 เทา มีจุดประสงคอะไร
คําตอบ 1 : เพื่อทดสอบความแข็งแรงและความสามารถในการรับความดันน้ําของระบบทอ

ิท
คําตอบ 2 : เพื่อหารอยรั่วทั่วไป


คําตอบ 3 : เพื่อทดสอบหาอายุการใชงานของทอ

ว น
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ส ง

ขอที่ : 212


ผลเสียจากการที่มีโพรงอากาศระหวางฉนวนและทอน้ําเย็นคืออะไร

กร
คําตอบ 1 : ไมสวยงาม


คําตอบ 2 : คาการนําความรอนเพิ่มขึ้น



คําตอบ 3 : เกิดการควบแนนและทําใหฉนวนเสียหายในระยะยาว

าว
คําตอบ 4 : เปลืองฉนวน

ขอที่ : 213

ส ภ
การตอทอนําเย็นที่เปนทอเหล็กดํากับแฟนคอยลที่มีขอตอเปนทอทองแดง ควรใชขอตอชนิดใด
คําตอบ 1 : ขอตอเกลียวทองแดง
คําตอบ 2 : ขอตอเกลียวทองเหลือง
คําตอบ 3 : ขอตอเกลียว พี วี ซี
คําตอบ 4 : ขอตอหนาแปลน
54 of 101
ขอที่ : 214
ระบบทอน้ําระบายความรอน บางครั้งที่อัตราไหลเทากัน ตองเลือกขนาดทอเผื่อใหใหญขึ้นเล็กนอย เนื่องจากอะไร
คําตอบ 1 : เนื่องจากเปนระบบเปด (Open System)
คําตอบ 2 : เนื่องจากเปนระบบปด (Closed System)
คําตอบ 3 : เนื่องจากมีโอกาสเกิดตะกรันภายในทอ
คําตอบ 4 : เนื่องจาก บางครั้งตองติดตั้งนอกอาคาร

่ า ย

ขอที่ : 215


การหาขนาดทอน้ําขนาดไมเกิน 50 มิลลิเมตร ใชเกณฑขอใด

จ ำ
คําตอบ 1 : ความเร็วในทอน้ําไมเกิน 1.2 เมตร/วินาที และความเสียดทานไมเกิน 300 ปาสกาล/เมตร


คําตอบ 2 : ความเร็วในทอน้ําไมเกิน 1.2 เมตร/วินาที และความเสียดทานไมเกิน 500 ปาสกาล/เมตร

า้
คําตอบ 3 : ความเร็วในทอน้ําไมเกิน 3.0 เมตร/วินาที และความเสียดทานไมเกิน 300 ปาสกาล/เมตร

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ความเร็วในทอน้ําไมเกิน 3.0 เมตร/วินาที และความเสียดทานไมเกิน 500 ปาสกาล/เมตร

ิท
ขอที่ : 216


การหาขนาดทอน้ําขนาดมากกวา 50 มิลลิเมตร ใชเกณฑขอใด

ว น
คําตอบ 1 : ความเร็วในทอน้ําไมเกิน 1.2 เมตร/วินาที และความเสียดทานไมเกิน 300 ปาสกาล/เมตร


คําตอบ 2 : ความเร็วในทอน้ําไมเกิน 1.2 เมตร/วินาที และความเสียดทานไมเกิน 500 ปาสกาล/เมตร


คําตอบ 3 : ความเร็วในทอน้ําไมเกิน 3.0 เมตร/วินาที และความเสียดทานไมเกิน 300 ปาสกาล/เมตร


คําตอบ 4 : ความเร็วในทอน้ําไมเกิน 3.0 เมตร/วินาที และความเสียดทานไมเกิน 500 ปาสกาล/เมตร

กร ข

ขอที่ : 217



เครื่องทําน้ําเย็น (Chiller) ขนาด 500 ตัน มีอุณหภูมิน้ําเย็นเขา/ออก เทากับ 12.5/7 องศาเซลเซียส จะมีอัตราการไหลของน้ําเย็นเทาใด

าว
คําตอบ 1 : 46 ลิตร/วินาที


คําตอบ 2 : 56 ลิตร/วินาที


คําตอบ 3 : 66 ลิตร/วินาที
คําตอบ 4 : 76 ลิตร/วินาที

ขอที่ : 218
เครื่องทําน้ําเย็น (Chiller) ขนาด 500 ตันความเย็น มีอุณหภูมิน้ําเย็นเขา/ออก เทากับ 12.7/7.2 องศาเซลเซียส จะตองออกแบบทอใหมีเสนผาศูนยกลางขนาดอยางนอยเทาใด
คําตอบ 1 : 100 มิลลิเมตร
55 of 101
คําตอบ 2 : 150 มิลลิเมตร
คําตอบ 3 : 200 มิลลิเมตร
คําตอบ 4 : 250 มิลลิเมตร

ขอที่ : 219
เครื่องทําน้ําเย็น A (Chiller A) ขนาด 500 ตันความเย็น มีสัมประสิทธิ์บงสมรรถนะการทําความเย็น (COP) = 5 และเครื่องทําน้ําเย็น B (Chiller B) ขนาด 500 ตันความเย็น มี
COP = 1 ตางมีอุณหภูมิน้ําเย็นเขา/ออก และ อุณหภูมิน้ําระบายความรอนเทากัน ขอใดถูก

่ า ย
คําตอบ 1 : ทอน้ําระบายความรอนมีขนาดเทากัน


คําตอบ 2 : ทอน้ําเย็นมีขนาดเทากัน


คําตอบ 3 : ถูกทั้งสองขอ


คําตอบ 4 : ผิดทั้งสองขอ

มจ
า้
ขอที่ : 220

ิธ์ ห
สําหรับระบบสงลมขนาดใหญ ที่ตองการพัดลมที่มีแรงดันสถิตยสูง 1000 ปาสกาล (4 นิ้วน้ํา) ควรเลือกใชพัดลมแบบใด
คําตอบ 1 : พัดลมใบแฉก (Propeller Fan)

ิท
คําตอบ 2 : พัดลมหอยโขง ใบโคง เอียงหนา (Centrifugal Fan, Forward-curved)


คําตอบ 3 : พัดลมหอยโขง ใบโคง เอียงหลัง (Centrifugal Fan, Backward-curved)


คําตอบ 4 : พัดลมติดเพดาน (Ceiling Mounted Fan)

ง ว

ขอที่ :


221


เครื่องสงลมเย็นแบบใดเหมาะที่จะใชในหองปรับอากาศที่ตองการความสะอาด เชน หองสะอาดในอุตสาหกรรมอิเลคทรอนิคส หรือ หองผาตัดในโรงพยาบาล

กร
คําตอบ 1 : เครื่องสงลมเย็นแบบผนังชั้นเดียว (Single Skin)


คําตอบ 2 : เครื่องสงลมเย็นแบบผนังสองชั้น (Double Skin)



คําตอบ 3 : แฟนคอลยยูนิตแบบติดตั้งภายในฝาเพดาน

าว
คําตอบ 4 : เครื่องสงลมเย็นแบบติดผนัง

ขอที่ : 222

ส ภ
รูปใดเปนโคงสมรรถนะของพัดลมหอยโขงชนิดใบโคงเอียงหลัง (Backward - curved Centrifugal Fan)

56 of 101
่ า ย
หน
จ ำ

คําตอบ 1 :

า้
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 2 :

57 of 101
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 3 :

58 of 101
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 4 :

59 of 101
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
ขอที่ : 223
ขอใดตอไปนี้ไมถูกตอง


คําตอบ 1 : ถังขยายตัวในระบบทอน้ําเย็น มีไวสําหรับรองรับการเปลี่ยนแปลงปริมาตรของน้ําในระบบ และมีไดเพียงถังเดียวเทานั้นสําหรับระบบทอน้ําเย็นแบบปดใด ๆ


คําตอบ 2 : เครื่องสูบน้ําจะกําหนดไดหลังจากการออกแบบระบบทอน้ําแลว
คําตอบ 3 : พัดลมติดตั้งมากับเครื่องสงลมเย็นที่เปนชุดสําเร็จจากโรงงานเปนพัดลมชนิดหอยโขง
คําตอบ 4 : หอระบายความรอนควรอยูในที่มิดชิด ทั้งนี้เพื่อปองกันสิ่งสกปรกปนเปอนในน้ําระบายความรอน

ขอที่ : 224
สําหรับการติดตั้งชุดควบแนน (Condensing unit) การมีระยะหางรอบตัวเครื่องตามที่ผูผลิตกําหนด เปน 60 of 101
คําตอบ 1 : ขนาดทําความเย็นของบริเวณนั้น
คําตอบ 2 : ขนาดของเครื่องเปาลมเย็นที่มีอยู
คําตอบ 3 : ขนาดของพื้นที่ที่ทําการติดตั้ง
คําตอบ 4 : ระยะหางโดยรอบของเครื่องที่ใหได

ขอที่ : 225
สําหรับชุดควบแนนการติดตั้ง (Condensing unit) การมีระยะหางรอบตัวเครื่องตามที่ผูผลิตกําหนด เปน
คําตอบ 1 : สิ่งจําเปนเมื่อติดตั้งเพื่อใชงานในบานเทานั้น

่ า ย

คําตอบ 2 : สิ่งจําเปนเมื่อติดตั้งเพื่อใชงานในเชิงพาณิชย


คําตอบ 3 : สิ่งจําเปนถาหากวามีการกําหนดไวโดยรหัสหรือมาตรฐาน (Code or Standard)

จ ำ
คําตอบ 4 : สิ่งจําเปนเมื่อไรก็ตามที่มีการติดตั้งชุดควบแนน

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
226
ชนิดของพัดลมที่เหมาะสมกับการใชงานความดันสูงคือ
คําตอบ 1 : พัดลมใบพัดแบบติดผนัง (Propeller type fan)

ิท
คําตอบ 2 : พัดลมติดตั้งในทอกลม (Tube-axial fan)


คําตอบ 3 : พัดลมหอยโขง ใบโคงเอียงหลัง (Backward curved centrifugal fan)

ว น
คําตอบ 4 : พัดลมหอยโขง ใบโคงเอียงหนา (Forward curved centrifugal fan)

ส ง

ขอที่ : 227


ถาความเร็วรอบของเครื่องสูบน้ําเพิ่มขึ้นเปน 2 เทา กําลังงานที่ตองการของเครื่องสูบน้ําจะเพิ่มขึ้นเปนกี่เทา

กร
คําตอบ 1 : 2 เทา


คําตอบ 2 : 4 เทา



คําตอบ 3 : 6 เทา

าว
คําตอบ 4 : 8 เทา

ขอที่ : 228

ส ภ
ความตานทานระบบ (System resistance) ในระบบเครื่องสูบน้ําจะแปรผันตาม
คําตอบ 1 : กําลังสองของปริมาตรอัตราการไหล
คําตอบ 2 : รากที่สองของปริมาตรอัตราการไหล
คําตอบ 3 : กําลังสามของปริมาตรอัตราการไหล
คําตอบ 4 : ผิดทุกขอ
61 of 101
ขอที่ : 229
มอเตอรขับเครื่องสูบน้ํามีกําลังขาออก 20 kW ประสิทธิภาพของมอเตอรเทากับ 0.9 และประสิทธิภาพของเครื่องสูบน้ําเทากับ 0.6 ใหหากําลังที่สงทอดใหกับน้ํา (Water
horsepower)
คําตอบ 1 : 20 kW
คําตอบ 2 : 18 kW
คําตอบ 3 : 12 kW


คําตอบ 4 : 10.8 kW

น่ า

ขอที่ : 230


สิ่งที่เกิดขึ้นกับอัตราการไหลและความดันเมื่อขนาดใบพัดของเครื่องสูบน้ําเล็กลง คือ

มจ
คําตอบ 1 : อัตราการไหลลดลงแตความดันเพิ่มขึ้น

า้
คําตอบ 2 : อัตราการไหลและความดันเพิ่มขึ้น

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : อัตราการไหลและความดันลดลง
คําตอบ 4 : ไมใชทั้งหมด

ขอที่ : 231

ส ิท

ถาอุณหภูมิน้ําเขาและออกของหอระบายความรอน (Cooling tower) เปน 40 องศาเซลเซียส และ 32 องศาเซลเซียส ตามลําดับ และอุณหภูมิกระเปาะเปยกของบรรยากาศเปน 29


องศาเซลเซียส ใหหาอุณหภูมิเขาสูอุดมคติ (Approach temperature) ของหอระบายความรอน
คําตอบ 1 : 40 องศาเซลเซียส

ส ง

คําตอบ 2 : 32 องศาเซลเซียส


คําตอบ 3 : 29 องศาเซลเซียส

กร
คําตอบ 4 : 3 องศาเซลเซียส


ิ ว
าว
ขอที่ : 232
สําหรับเครื่องสูบน้ํา ขอใดไมถูกตอง

ส ภ
คําตอบ 1 : กรณีใบพัดมีขนาดเสนผาศูนยกลางคงที่ ปริมาณการไหลจะแปรผันโดยตรงกับความเร็วรอบ
คําตอบ 2 : กรณีที่ความเร็วรอบคงที่ กําลังงานจะแปรผันโดยตรงกับเสนผาศูนยกลางของใบพัดยกกําลังสาม
คําตอบ 3 : ความเร็วรอบจําเพาะเปนตัวเลขที่ใชบงบอกถึงสมมรรถนะของเครื่องสูบน้ําแบบหอยโขง
คําตอบ 4 : เปอรเซนตการสลิปในเครื่องสูบน้ําแบบหอยโขงคือคาอัตราสวนของการสลิปตอระยะขจัดที่เกิดขึ้น

ขอที่ : 233
การลดอุณหภูมิของสารทําความเย็นจะเกิดมากที่สุดที่อุปกรณตัวไหน 62 of 101

คําตอบ 1 : ชุดระเหย (Evaporator)


คําตอบ 2 : คอมเพรสเซอร (Compressor)
คําตอบ 3 : ชุดควบแนน (Condensor)
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 3

ขอที่ : 234
ขนาดของเครื่องปรับอากาศสามารถควบคุมไดจาก
คําตอบ 1 : การเปลี่ยนรอบความเร็วของคอมเพรสเซอร

่ า ย

คําตอบ 2 : การเปลี่ยนปริมาณน้ําระบายความรอนใหกับชุดควบแนน


คําตอบ 3 : การเปลี่ยนปริมาณสารทําความเย็นในระบบ

จ ำ
คําตอบ 4 : ทุกขอดังกลาวขางตน

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
235
คอมเพรสเซอรแบบใดที่มีประสิทธิภาพสูงและเหมาะที่นํามาใชกับเครื่องทําน้ําเย็นขนาดมากกวา 500 ตันขึ้นไป
คําตอบ 1 : แบบลูกสูบ

ิท
คําตอบ 2 : แบบหอยโขง


คําตอบ 3 : แบบสกรู

ว น
คําตอบ 4 : แบบโรตารี่

ส ง

ขอที่ : 236


หอระบายความรอน (Cooling Tower) จะระบายความรอนไดนอยลงเมื่อใด

กร
คําตอบ 1 : อุณหภูมิกระเปาะแหงของอากาศสูงขึ้น


คําตอบ 2 : อุณหภูมิกระเปาะแหงของอากาศต่ําลง



คําตอบ 3 : อุณหภูมิกระเปาะเปยกของอากาศสูงขึ้น

าว
คําตอบ 4 : อุณหภูมิกระเปาะเปยกของอากาศต่ําลง

ขอที่ : 237

ส ภ
63 of 101

เครื่องสูบน้ําในรูปเปนเครื่องสูบน้ําชนิดใด
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 : End Suction Pump

ง ว น

คําตอบ 2 : Horizontal Split Case Pump


คําตอบ 3 :


Vertical Split Case Pump

กร
คําตอบ 4 : In-line Pump

ขอที่ : 238


ิ ว
าว
ขอใดไมใชคุณสมบัติที่ดีของเครื่องสงลมเย็น


คําตอบ 1 : ลมรั่วนอย


คําตอบ 2 : ลางทําความสะอาดภายในไดงาย
คําตอบ 3 : น้ําหนักมาก
คําตอบ 4 : ตัวถังมีความเปนฉนวนดี

ขอที่ : 239
หอระบายความรอน (Cooling Tower) โดยทั่วไปตองมีการเติมน้ําชดเชยน้ําที่สูญเสียเนื่องจาก การระเหย การเปนละอองปลิวไปกับกระแสลม และการปลอยน้ําทิ้ง (Blowdown)
รวมกันประมาณเทาใด 64 of 101

คําตอบ 1 : 0.3% ของปริมาณน้ําระบายความรอนหมุนเวียน


คําตอบ 2 : 3% ของปริมาณน้ําระบายความรอนหมุนเวียน
คําตอบ 3 : 10% ของปริมาณน้ําระบายความรอนหมุนเวียน
คําตอบ 4 : 15% ของปริมาณน้ําระบายความรอนหมุนเวียน

ขอที่ : 240
พัดลมชนิดหอยโขง (Centrifugal) แบบใบโคงเอียงหนา (Forward Curve) และใบโคงเอียงหลัง (Backward Curve) ตางกันอยางไร
คําตอบ 1 : พัดลมหอยโขงใบโคงเอียงหนา (Forward Curve Centrifugal Fan) ราคาแพงกวา

่ า ย

คําตอบ 2 : พัดลมหอยโขงใบโคงเอียงหลัง (Backward Curve Centrifugal Fan) เหมาะกับกรณีที่ตองการความดันสถิต (Static Pressure) สูง


คําตอบ 3 : พัดลมหอยโขงใบโคงเอียงหลัง (Backward Curve Centrifugal Fan) เหมาะกับกรณีลมมีไอกรด

จ ำ
คําตอบ 4 : พัดลมหอยโขงใบโคงเอียงหนา (Forward Curve Centrifugal Fan) เหมาะสําหรับกรณีลมมีสิ่งสกปรกมาก

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
241
สปริงที่ใชรองรับเครื่องสงลมเย็น มีหนาที่อะไร
คําตอบ 1 : เพื่อใหเครื่องสงลมเย็นเคลื่อนที่ไดเมื่อเกิดแผนดินไหว

ิท
คําตอบ 2 : เพื่อไมใหความสั่นสะเทือนสงผานไปยังพื้น


คําตอบ 3 : เพื่อไมใหความเย็นสงผานไปยังพื้น

ว น
คําตอบ 4 : เพื่อไมใหความชื้นจากพื้นทําใหเครื่องเปนสนิม

ส ง

ขอที่ : 242


การติดตั้งหอระบายความรอน (Cooling Tower) ขอใดถูกตอง

กร
คําตอบ 1 : ติดตั้งในตําแหนงที่สูงกวาเครื่องทําน้ําเย็น


คําตอบ 2 : ติดตั้งในตําแหนงที่ต่ํากวาเครื่องทําน้ําเย็น



คําตอบ 3 : ติดตั้งโดยมีหลังคาคลุม

าว
คําตอบ 4 : ติดตั้งในตําแหนงเหนือลม

ขอที่ : 243

ส ภ
คอยลทําความเย็น (Cooling Coil) สําหรับเครื่องสงลมเย็นโดยทั่วไปมีคอยลจํานวนกี่แถว
คําตอบ 1 : 3-4 แถว
คําตอบ 2 : 6-8 แถว
คําตอบ 3 : 10-12 แถว
คําตอบ 4 : 1-2 แถว
65 of 101
ขอที่ : 244
ความเร็วลมผานคอยลเย็นโดยทั่วไปควรเปนเทาใด
คําตอบ 1 : 1 m/s
คําตอบ 2 : 2 m/s
คําตอบ 3 : 3 m/s
คําตอบ 4 : 3.5 m/s

่ า ย

ขอที่ : 245


ปกติหอระบายความรอน (Cooling Tower) สามารถทําใหน้ําระบายความรอนลดลงไดเปนอุณหภูมิประมาณเทาใด หากอุณหภูมิกระเปาะเปยก (Wet bulb temperature) เปน 28.3


องศาเซลเซียส

มจ
คําตอบ 1 : 28 C

า้
คําตอบ 2 : 32 C

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : 34 C
คําตอบ 4 : 36 C

ขอที่ : 246

ส ิท

เครื่องทําน้ําเย็นแบบดูดซึม (Absorption Chiller) โดยทั่วไปในอาคารพานิชยใชอะไรเปนสารทําความเย็น
คําตอบ 1 : แอมโมเนีย

ง ว

คําตอบ 2 : ลิเธียมโบรไมด


คําตอบ 3 : ลิเธียมคลอไรด

กร ข
คําตอบ 4 : น้ํา

ขอที่ : 247


ิ ว
าว
เครื่องทําน้ําเย็นแบบดูดซึม (Absorption Chiller) โดยทั่วไปใชอะไรเปนสารดูดซับ (Absorbent)


คําตอบ 1 : แอมโมเนีย


คําตอบ 2 : ลิเธียมโบรไมด
คําตอบ 3 : น้ํา
คําตอบ 4 : ขอ2 หรือ 3

ขอที่ : 248
ระบบการทําความเย็นแบบระเหย (Evaporative Cooling) ทําความเย็นใหอากาศอยางไร
66 of 101
คําตอบ 1 : ลดความรอนโดยรวมใหกับอากาศ
คําตอบ 2 : ลดอุณหภูมิของอากาศ โดยการเปลี่ยนเปนความชื้น
คําตอบ 3 : ลดความชื้นของอากาศ โดยการเปลี่ยนเปนอุณหภูมิ
คําตอบ 4 : เพิ่มความชื้นใหกับอากาศ

ขอที่ : 249
เหตุใดจึงตองมีการไลอากาศ (Air vent) ที่คอยลน้ําเย็น (Chilled Water Cooling Coil)
คําตอบ 1 : เพื่อใหมีการระบายอากาศ
คําตอบ 2 : เพื่อไลอากาศที่คางอยูในคอยลเย็น

่ า ย

คําตอบ 3 : เพื่อใหในการเติมอากาศเขาสูระบบ


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

จ ำ

ขอที่ :

า้
250
การปรับปริมาณลมของพัดลมหอยโขง (Centrifugal Fan) ทําไดอยางไรบาง

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ปรับรอบพัดลม
คําตอบ 2 : ติดตั้งชุดแผนปรับปริมาตรลม (Discharge Volume Damper)

ิท
คําตอบ 3 : ติดตั้งไอน้ํารองทางเขา (Inlet Vane) ที่ปากลมเขา


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ :

ง ว น

251


การลดผลกระทบของการสั่นสะเทือนของเครื่องสงลมเย็นทําอยางไร


คําตอบ 1 : ติดตั้งสปริงหรือแทนยางรองเครื่องตามความเหมาะสม

กร
คําตอบ 2 : ปรับสมดุลยของพัดลม


คําตอบ 3 : เสริมแทนคอนกรีต



คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2

ขอที่ : 252

ภ าว

หอระบายความรอนชนิดการไหลตามขวาง (Cooling Tower) ชนิด Cross Flow โดยทั่วไปมีปริมาณน้ําสูญเสียเทาใด
คําตอบ 1 : 1% ของปริมาณน้ําหมุนเวียน
คําตอบ 2 : 2% ของปริมาณน้ําหมุนเวียน
คําตอบ 3 : 3% ของปริมาณน้ําหมุนเวียน
คําตอบ 4 : 4% ของปริมาณน้ําหมุนเวียน

67 of 101
ขอที่ : 253
หอระบายความรอนชนิดการไหลตามขวาง (Cooling Tower) ชนิดการไหลตามขวาง (Cross Flow) โดยทั่วไปมีปริมาณน้ําสูญเสียเทาใด
คําตอบ 1 : 1% ของปริมาณน้ําหมุนเวียน
คําตอบ 2 : 2% ของปริมาณน้ําหมุนเวียน
คําตอบ 3 : 3% ของปริมาณน้ําหมุนเวียน
คําตอบ 4 : 4% ของปริมาณน้ําหมุนเวียน

่ า ย
ขอที่ : 254


ทานมีความเห็นในการเลือกใชเครื่องสูบน้ําชนิด End Suction และ Split case อยางไร


คําตอบ 1 : End Suction มีราคาถูกกวา แตการซอมบํารุงยากกวา

จ ำ
คําตอบ 2 : End Suction เหมาะกับขนาดเล็กถึงปานกลาง


คําตอบ 3 : Split Case เหมาะกับเครื่องสูบน้ําขนาดใหญ

า้
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 255
ิธ์ ห
ิท
หลักการเลือกคอยลเย็น (Cooling Coil Selection) คืออะไร


คําตอบ 1 : เลือกจากตันความเย็นที่ตองการ

ว น
คําตอบ 2 : เลือกจากตันความเย็นและ GSHRที่ตองการ


คําตอบ 3 : เลือกจากตันความเย็นและ RSHRที่ตองการ


คําตอบ 4 : เลือกจากตันความเย็น GSHR และปริมาณลมที่ตองการ

ขอ
กร
ขอที่ : 256


การเพิ่มความสามารถในการรีดความชื้นออกจากอากาศของคอยลเย็น มีวิธีการอยางไร



คําตอบ 1 : เพิ่มจํานวนแถวคอยลเย็น

าว
คําตอบ 2 : เพิ่มจํานวนครีบ(FPI-Fin per Inch)


คําตอบ 3 : ลดความเร็วลมผานคอยลเย็น


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 257
การเพิ่มความสามารถในการรีดความชื้นออกจากอากาศของคอยลเย็น มีวิธีการอยางไร
คําตอบ 1 : เพิ่มจํานวนแถวคอยลเย็น
คําตอบ 2 : เพิ่มจํานวนครีบ (FPI-Fin per Inch)
68 of 101
คําตอบ 3 : ลดแฟคเตอรเลี่ยง (Bypass Factor)
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 258
คอมเพรสเซอรชนิดใดเปนชนิดเปลี่ยนปริมาตร (Positive Displacement)
คําตอบ 1 : ลูกสูบ (Reciprocate) และกนหอย (Scroll)
คําตอบ 2 : กนหอย (Scroll) และเกลียว (Screw)
คําตอบ 3 : เกลียว (Screw) และหอยโขง (Centrifugal)

่ า ย

คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2

ขอที่ : 259

จ ำ ห

คอมเพรสเซอรชนิดใดเปนชนิด Centrifugal

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ลูกสูบ (Reciprocate)
คําตอบ 2 : หมุน (Rotary)
คําตอบ 3 : กนหอย (Scroll)

ิท
คําตอบ 4 : หอยโขง (Centrifugal)

นส

ขอที่ : 260


การไหลของน้ําในคอยลเย็นควรมีลักษณะใด
คําตอบ 1 : การไหลแบบเรียบ (Laminar Flow)

อ ส

คําตอบ 2 : การไหลแบบปนปวน (Turbulent Flow)

กร
คําตอบ 3 : การไหลแบบผสม (Mixed Flow)


คําตอบ 4 : การไหลแบบสุม (Random Flow)

ขอที่ : 261

าว ศ


การไหลของน้ําในคอยลเย็นควรเปนการไหลแบบเรียบหรือการไหลแบบปนปวน (Laminar หรือ Turbulent Flow)


คําตอบ 1 : เปนการไหลแบบเรียบ (Laminar Flow) เพื่อใหมีแรงเสียดทางต่ํา
คําตอบ 2 : เปนการไหลแบบเรียบ (Laminar Flow) เพื่อใหมีการถายเทความรอนไดดี
คําตอบ 3 : เปนการไหลแบบปนปวน (Turbulent Flow) เพื่อใหมีแรงเสียดทางต่ํา
คําตอบ 4 : เปนการไหลแบบปนปวน (Turbulent Flow) เพื่อใหมีการถายเทความรอนไดดี

ขอที่ : 262 69 of 101


ความเร็วน้ําในคอยลเย็นควรเปนอยางไร
คําตอบ 1 : สูงเพื่อใหเกิดแรงเสียดทานมาก ทําใหสามารถควบคุมปริมาณน้ําไดดี
คําตอบ 2 : ต่ําเพื่อใหเกิดแรงเสียดทานนอย
คําตอบ 3 : ไดทั้งนั้น
คําตอบ 4 : สูงเพื่อใหเปนการไหลแบบปนปวน (Turbulent Flow) แตไมมากจนมีผลกับแรงเสียดทาน

ขอที่ : 263

่ า ย
แรงเสียดทานของน้ําสําหรับคอยลเย็นปกติควรเปนเทาใด


คําตอบ 1 : 1.52-3.04 m


คําตอบ 2 : 4.6-7.6 m

จ ำ
คําตอบ 3 : 9.1-12.2 m


คําตอบ 4 : 12.2-15.2 m

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 264
การทํากับดักน้ํารูปตัวยู (U-Trap) ที่ทอน้ําทิ้งจากเครื่องสงลมเย็น มีจุดประสงคอะไร

ิท
คําตอบ 1 : เพื่อปองกันลมยอนจากทอน้ําทิ้ง


คําตอบ 2 : เพื่อใหน้ําทิ้งไหลไดโดยสะดวก

ว น
คําตอบ 3 : เพื่อใชดักสิ่งสกปรก


คําตอบ 4 : ขอ 1 แล 2

อ ส

ขอที่ : 265

กร
เครื่องสงลมเย็นแบบมอเตอรอยูหนาคอยล (Draw Through) มีจุดเดนที่เหนือกวาแบบมอเตอรอยูหลังคอยล (Blow Through) อะไร


คําตอบ 1 : แรงเสียดทานนอยกวา



คําตอบ 2 : สามารถทําความเย็นไดมากกวา

าว
คําตอบ 3 : ลมผานหนาคอยลเย็นสม่ําเสมอมากกวา


คําตอบ 4 : เงียบกวา

ขอที่ : 266

สําหรับเครื่องปรับอากาศแบบการระเหยสารทําความเย็นโดยตรง (DX) ไมควรเดินทอน้ํายายาวกวา 15 เมตร ดวยเหตุผลอะไร
คําตอบ 1 : คอมเพรสเซอรตองทํางานหนักขึ้น
คําตอบ 2 : มีความเสี่ยงของการตกคางของน้ํามันหลอลื่นในระบบ
คําตอบ 3 : ทําใหประสิทธิภาพและความเย็นลดลง
70 of 101
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ
ขอที่ : 267
กลองผสมลม (Mixing Box) สําหรับเครื่องสงลมเย็นมีประโยชนอยางไร
คําตอบ 1 : ทําใหลมกลับและอากาศบริสุทธิ์มีการผสมกัน
คําตอบ 2 : ทําใหมีแรงดูดอากาศบริสุทธิ์เขามาผสมกับลมกลับ
คําตอบ 3 : ไมจําเปน กินเนื้อที่ และเปลืองเงิน


คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2

น่ า

ขอที่ : 268


การแลกเปลี่ยนความรอนที่คอยลเย็น (Cooling Coil) โดยทั่วไปเปนแบบใด
คําตอบ 1 : การไหลแบบสวนทาง (Counter Flow)

มจ
า้
คําตอบ 2 : การไหลแบบขนาน (Parallel Flow)

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : การไหลแบบขวาง (Cross Flow)
คําตอบ 4 : การไหลแบบผสม (Mixed Flow)

ขอที่ : 269

ส ิท

การเปดน้ําทิ้ง (Bleed Off) ที่หอระบายความรอน (Cooling Tower) มีความจําเปนอยางไร
คําตอบ 1 : ไมจําเปน เพราะทําใหเปลืองน้ํา

ง ว

คําตอบ 2 : ไมจําเปน เพราะน้ําจะสูญเสียไปกับอากาศหรือลนและการรั่วซึมอยูแลว


คําตอบ 3 : จําเปน เพราะจะทําใหสามารถเติมน้ําเขามาใหม
คําตอบ 4 :

กร ข
จําเปน เพื่อลดความเขมขนของสารเคมีอันจะทําใหระบบเกิดการกัดกรอน

ขอที่ : 270


ิ ว
าว
สารเคมีที่เติมในหอระบายความรอน (Cooling Tower) คืออะไร


คําตอบ 1 : คลอรีน เพื่อฆาเชื้อโรคและตะไคร


คําตอบ 2 : สารยับยั้งการกัดกรอน (Corrosion Inhibitor)
คําตอบ 3 : สารชีวฆาต (Biocide)
คําตอบ 4 : ขอ 2 และ 3

ขอที่ : 271
หอระบายความรอน (Cooling Tower) ที่ดีควรจะมีคุณสมบัติอยางไร
71 of 101
คําตอบ 1 : กินน้ํานอย
คําตอบ 2 : มีประสิทธิภาพสูง
คําตอบ 3 : ไมกอใหเกิดมลภาวะ
คําตอบ 4 : ถุกทุกขอ

ขอที่ : 272
เครื่องสงลมสําหรับระบบปรับอากาศ (AHU) ตองการสงลมดวยความดันรวม 1 กิโลปาสคาล และปริมาณลม 4 ลบ.ม./วินาที ถาพัดลมมีประสิทธิภาพรวม 80% จะตองเลือกมอเตอร


ขนาดอยางนอยเทาใด
คําตอบ 1 : 4000 วัตต ที่ประสิทธิภาพมอเตอรประมาณ 80%

น่ า

คําตอบ 2 : 5000 วัตต ที่ประสิทธิภาพมอเตอรประมาณ 80%


คําตอบ 3 : 6000 วัตต ที่ประสิทธิภาพมอเตอรประมาณ 80%

มจ
คําตอบ 4 : ไมสามารถตอบได เนื่องจากไมไดกําหนดความเร็วรอบของพัดลม

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 273
เครื่องสูบน้ําเย็นเครื่องหนึ่งหางจากเครื่องสงลมเย็นเครื่องไกลสุดเปนระยะในแนวราบ 650 เมตร เครื่องสงลมเย็นอยูสูงขึ้นไปในแนวดิ่ง 50 เมตร และมีความดันสูญเสียในทอตรง
ประมาณ 1เมตร/35เมตร และมีความดันสูญเสียจากขอตอและวาลวตางๆอีกประมาณ 20%ของทอตรง เมื่อนํามาตรวัดความดัน (pressure gauge) มาวัดที่ทางออกของเครื่องสูบน้ํา

ิท
เย็น จะอานความดันไดประมาณเทาใด
คําตอบ 1 : 24 เมตร น้ํา

นส

คําตอบ 2 : 50 เมตร น้ํา

ส ง
คําตอบ 3 : 74 เมตร น้ํา


คําตอบ 4 : 98 เมตร น้ํา

ขอที่ : 274

กร ข

โดยปกติคุณสมบัติพัดลมในแคตาล็อก จะบอกที่ความหนาแนนของอากาศมาตรฐาน (Standard air) ถานํามาใชที่สภาวะอากาศที่มีความหนาแนนของอากาศเปน 0.8 เทาของอากาศ



มาตรฐาน และวัดอัตราการไหลจริงได 100 ลิตร/วินาที อยากทราบวาในแคตาล็อกจะระบุอัตราการไหลเทาใด

าว
คําตอบ 1 : 80 ลิตร/วินาที


คําตอบ 2 : 100 ลิตร/วินาที


คําตอบ 3 : 125 ลิตร/วินาที
คําตอบ 4 : ไมสามารถระบุได

ขอที่ : 275
เทอรโมสแตต (Thermostat) ของเครื่องปรับอากาศใชในการทําหนาที่อะไร
คําตอบ 1 : ควบคุมความเร็วลมผานคอยล 72 of 101
คําตอบ 2 : ควบคุมความชื้น
คําตอบ 3 : ควบคุมอุณหภูมิ
คําตอบ 4 : ควบคุมอุณหภูมิและความชื้น

ขอที่ : 276
วาลวควบคุมอัตโนมัติ (Automatic Control Valve) ที่ติดตั้งในระบบน้ําเย็น ทําหนาที่อะไร
คําตอบ 1 : ปรับสมดุลน้ําเย็น
คําตอบ 2 : ระบายน้ําเย็นทิ้งเมื่อความดันเกิน

่ า ย

คําตอบ 3 : ควบคุมความดันไมใหสูงเกินจนทําใหเครื่องสงลมเย็นเสียหาย


คําตอบ 4 : ควบคุมอัตราไหลน้ําเย็นใหเหมาะสมกับภาระการทําความเย็น

จ ำ

ขอที่ :

า้
277
ขอใดตอไปนี้ไมถูกตองสําหรับระบบที่ใชวาลวควบคุมสองทางและวาลวควบคุมสามทางแบบปรับปริมาณการจายน้ําเขาคอยลไดโดยอัตโนมัติ

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ทั้งสองแบบจะจายน้ําเย็นเขาคอยลน้ําเย็นในปริมาณที่แปรเปลี่ยนตามภาระความเย็น
คําตอบ 2 : การใชงานในระบบที่มีขนาดใหญ ระบบที่ใชวาลวควบคุมสองทางจะประหยัดพลังงานของเครื่องสูบน้ําเย็นไดมากกวาระบบที่ใชวาลวควบคุมสามทาง

ิท
คําตอบ 3 : อุณหภูมิของน้ําเย็นที่ไหลกลับเขาสูทอน้ํากลับหลักจะเทากันทั้งสองระบบ


คําตอบ 4 : ในการวางระบบทอน้ําที่ใชวาลวควบคุมสองทางจะมีการใชทอรวม (common pipe) ดวยเสมอ

ขอที่ :

ง ว น

278


โดยปกติ จะควบคุมการทํางานของเครื่องทําน้ําเย็นใหเปนไปตามภาระความเย็นที่ลดลงไดอยางไร


คําตอบ 1 : เมื่อภาระความเย็นลดลง อุณหภูมิน้ํากลับจะต่ํากวาคาที่ตั้งไว อุปกรณตรวจวัดจะสงสัญญาณไปยังชุดควบคุมเพื่อปรับการทํางานของคอมเพรสเซอร

กร
คําตอบ 2 : เมื่อภาระความเย็นลดลง อุณหภูมิน้ํากลับจะต่ํากวาคาที่ตั้งไว อุปกรณตรวจวัดจะสงสัญญาณไปยังชุดควบคุมเพื่อปรับการทํางานของอุปกรณจายสารทําความเย็น


คําตอบ 3 : เมื่อภาระความเย็นลดลง อุณหภูมิน้ํากลับจะต่ํากวาคาที่ตั้งไว อุปกรณตรวจวัดจะสงสัญญาณไปยังชุดควบคุมเพื่อปรับการทํางานของเครื่องสูบน้ํา



คําตอบ 4 : เมื่อภาระความเย็นลดลง อุณหภูมิน้ํากลับจะต่ํากวาคาที่ตั้งไว อุปกรณตรวจวัดจะสงสัญญาณไปยังชุดควบคุมเพื่อปรับหรี่วาลวน้ําเย็น

ขอที่ : 279

ภ าว

อุปกรณควบคุมเพื่อความปลอดภัยของเครื่องทําน้ําเย็นแบบที่เปนชุดสําเร็จจากโรงงาน ที่จําเปนตองติดตั้งเพิ่มเติมคือขอใด
คําตอบ 1 : Flow switch
คําตอบ 2 : Pressure relief valve
คําตอบ 3 : Rupture disk
คําตอบ 4 : Fusible plug

73 of 101
ขอที่ : 280
หนาที่ของเทอรมัลเอ็กแพนชั่นวาลว (Thermal Expansion Valve) คืออะไร
คําตอบ 1 : ควบคุมปริมาณกาซที่มาจากเครื่องระบายความรอน
คําตอบ 2 : รักษาความเปนซุปเปอรฮีท (Superheat) ของกาซที่ออกจากอีแวปปอเรเตอร (Evaporator) ใหคงที่
คําตอบ 3 : ควบคุมปริมาณกาซที่เขาสูถังเก็บน้ํายา
คําตอบ 4 : แยกน้ํามันออกจากสารทําความเย็น

่ า ย
ขอที่ : 281


บริเวณไหนที่ทานคิดวาเปนตําแหนงที่ดีในการติดตั้งเทอรมvสแตต (Thermostat)


คําตอบ 1 : ในหองครัว

จ ำ
คําตอบ 2 : ในหองน้ํา


คําตอบ 3 : บนผนังดานนอก

า้
คําตอบ 4 : ใกลกับหนากากลมกลับ

ขอที่ : 282
ิธ์ ห
ิท
ตัวเทอรมิสเตอร (Thermistor) ในเทอรมอสแตต (Thermostat) แบบอิเลคทรอนิกสชนิดติดผนังทําหนาที่วัดอะไร


คําตอบ 1 : อุณหภูมิ

ว น
คําตอบ 2 : ความชื้น


คําตอบ 3 : ความดันบรรยากาศ


คําตอบ 4 : อุณหภูมิและความชื้น

ขอ
กร
ขอที่ : 283


การวัดความดันและอุณหภูมิของทอน้ํายาทําความเย็นทางดานดูด ทําไวเพื่อหาอะไร



คําตอบ 1 : อุณหภูมิของอากาศที่เขาและออกจากคอยลของอีแวปปอเรเตอร (Evaporator)

าว
คําตอบ 2 : ปริมาณสารทําความเย็นในระบบ


คําตอบ 3 : ความเปนซับคูล (Subcooling) ของสารทําความเย็นที่ออกจากคอนเดนซิ่งยูนิต (Condensing unit)


คําตอบ 4 : ความเปนซุปเปอรฮีท (Superheat) ของสารทําความเย็นออกจากตัวอีแวปปอเรเตอร (Evaporator)

ขอที่ : 284
เครื่องมือวัดตอไปนี้อะไรเปนเครื่องที่ใชวัดความดันสถิตและความดันทั้งหมดในระบบทอลม
คําตอบ 1 : Psychrometer
คําตอบ 2 : Diaphragm type differential pressure gauge
74 of 101
คําตอบ 3 : Portable air hood
คําตอบ 4 : Anemometer

ขอที่ : 285
ความเร็วรอบของมอเตอร 3 เฟส ขึ้นอยูกับ
คําตอบ 1 : แรงดันไฟฟาจายใหกับมอเตอร
คําตอบ 2 : กระแสไฟฟาดึงเขาสูมอเตอร
คําตอบ 3 : ความถี่ของระบบไฟฟาที่จายใหกับมอเตอร

่ า ย

คําตอบ 4 : แฟคเตอรกําลัง

ขอที่ : 286

จ ำ ห

ฟวสและตัวตัดวงจร (Circuit Breaker) ไมไดปองกันมอเตอรไฟฟาจากอะไร

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : การลัดวงจร
คําตอบ 2 : มอเตอรไหม
คําตอบ 3 : มอเตอรถูกโหลดมากเกินไป

ิท
คําตอบ 4 : มอเตอรรอนเกินไป

นส

ขอที่ : 287


ขนาดของเทอรโมสแตติกสเอ็กแพนชั่นวาลว (Thermostatic Expansion Valve) จะเลือกจาก
คําตอบ 1 :

อ ส
การตั้งอุณหภูมิซุปเปอรฮีท (Superheat)


คําตอบ 2 : ขนาดแรงมา

กร
คําตอบ 3 : ขนาดตันความเย็น


คําตอบ 4 : ทุกขอดังกลาวขางตน

ขอที่ : 288

าว ศ


ในการควบคุมการเดินเครื่องระบบทําความเย็นแบบใชน้ําเย็น อุปกรณใดควรจะถูกสั่งใหเดินเครื่องกอน


คําตอบ 1 : คอมเพรสเซอร
คําตอบ 2 : เครื่องสูบน้ําระบายความรอน
คําตอบ 3 : พัดลมหอผึ่งน้ํา
คําตอบ 4 : เครื่องสูบน้ําเย็น

ขอที่ : 289 75 of 101


Motor Control Center หรือ ตูควบคุมมอเตอร มีไวเพื่อทําหนาที่อะไร
คําตอบ 1 : สั่งเปดปดมอเตอร
คําตอบ 2 : ปองกันมอเตอรโอเวอรโหลด
คําตอบ 3 : ปองกันกระแสไฟฟาเกินที่มอเตอร
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 290

่ า ย
อุปกรณที่ใชในการปรับความเร็วรอบของมอเตอรเครื่องสูบน้ําเย็นเพื่อปรับอัตราการไหลของน้ําเย็นในระบบ ตองทํางานโดยรับสัญญาณจากอุปกรณใด


คําตอบ 1 : อุปกรณวัดความชื้นของอากาศ


คําตอบ 2 : อุปกรณวัดความเร็วของน้ํา

จ ำ
คําตอบ 3 : อุปกรณวัดความหนาแนนของน้ํา


คําตอบ 4 : อุปกรณวัดความดันของน้ํา

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 291
หนาที่ของวาลวควบคุมอัตโนมัติ (Automatic Control Valve) ในระบบทอน้ําเย็น คืออะไร

ิท
คําตอบ 1 : ปดโดยอัตโนมัติเมื่อความดันเกิน


คําตอบ 2 : ปรับอัตราการไหลของน้ําเย็นใหเหมาะสมกับภาระการทําความเย็น

ว น
คําตอบ 3 : ปรับสมดุลอัตราไหลของน้ําเย็นเนื่องจากความเสียดทานที่ตางกันของเครื่องสงลมเย็นในระบบ


คําตอบ 4 : สรางความดันลดในระบบใหเหมาะสมกับอัตราไหลที่เปลี่ยนแปลง

อ ส

ขอที่ : 292

กร
ขนาดของสตารทเตอร (Starter) สําหรับมอเตอรโดยทั่วไปมีขนาดเปนกี่เทาของ Rated Full Load Amp


คําตอบ 1 : 1



คําตอบ 2 : 1.25

าว
คําตอบ 3 : 1.5


คําตอบ 4 : 1.75

ขอที่ : 293

ขนาดของตัวตัดวงจร (Circuit Breaker) สําหรับมอเตอรโดยทั่วไปมีขนาดเปนกี่เทาของ Rated Full Load Amp
คําตอบ 1 : 1
คําตอบ 2 : 1.5
คําตอบ 3 : 2
76 of 101
คําตอบ 4 : 2.5
ขอที่ : 294
ขนาดของสายไฟฟาที่ปอนตัวตัดวงจร (Circuit Breaker) สําหรับมอเตอรโดยทั่วไปมีขนาดเปนกี่เทาของขนาดตัวตัดวงจร (Circuit Breaker)
คําตอบ 1 : 1
คําตอบ 2 : 1.15
คําตอบ 3 : 1.25


คําตอบ 4 : 1.5

น่ า

ขอที่ : 295


วาลวควบคุมสามทาง (3 Way Control Valve) มีลักษณะการทํางานเปนแบบใด
คําตอบ 1 : เปนแบบหรี่น้ํา

มจ
า้
คําตอบ 2 : เปนแบบ Bypass

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : เปนแบบ Mixing
คําตอบ 4 : เปนทั้ง 3 แบบ

ขอที่ : 296

ส ิท

วาลวควบคุมสามทาง (3 Way Control Valve) มีลักษณะการทํางานเปนแบบใด
คําตอบ 1 : เปนแบบหรี่น้ํา

ง ว

คําตอบ 2 : เปนแบบ Bypass


คําตอบ 3 : เปนแบบ Mixing
คําตอบ 4 : เปนทั้ง 3 แบบ

กร ข
ขอที่ : 297


ิ ว
าว
วาลวควบคุมสามทาง (3 Way Control Valve) มีลักษณะการทํางานเปนแบบใด


คําตอบ 1 : เปนแบบหรี่น้ํา


คําตอบ 2 : เปนแบบ Bypass
คําตอบ 3 : เปนแบบ Mixing
คําตอบ 4 : เปนทั้ง 3 แบบ

ขอที่ : 298
วาลวควบคุมสองทาง (2 Way Control Valve) มีลักษณะการทํางานเปนแบบใด
77 of 101
คําตอบ 1 : เปนแบบหรี่น้ํา
คําตอบ 2 : เปนแบบ Bypass
คําตอบ 3 : เปนแบบ Mixing
คําตอบ 4 : เปนทั้ง 3 แบบ

ขอที่ : 299
การทํางานของวาลวควบคุม (Control Valve) สําหรับเครื่องสงลมเย็น สั่งงานดวยอะไร
คําตอบ 1 : Thermostat

่ า ย

คําตอบ 2 : Humidistat


คําตอบ 3 : Pressure Sensor

จ ำ
คําตอบ 4 : Flow Sensor

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
300
การทํางานของวาลวระเหยสารทําความเย็น (Expansion Valve)สําหรับเครื่องทําความเย็น สั่งงานดวยอะไรเปนหลัก
คําตอบ 1 : Temperature Sensor

ิท
คําตอบ 2 : Pressure Sensor


คําตอบ 3 : Flow Sensor

ว น
คําตอบ 4 : Thermostat

ส ง

ขอที่ : 301


อุปกรณเพื่อปองกันความเสียหายจากความดันน้ํายาผิดปกติคืออะไร

กร
คําตอบ 1 : High Pressure Cut Out


คําตอบ 2 : Low Pressure Cut Out



คําตอบ 3 : Hi-Lo Pressure Cut out

าว
คําตอบ 4 : Overload

ขอที่ : 302

ส ภ
Freezestat มีหนาที่อะไร
คําตอบ 1 : ควบคุมอุณหภูมิของเครื่องทําน้ําแข็ง
คําตอบ 2 : ปองกันความเสียหายเนื่องจากน้ําในคอยลเย็นจัดจนเปนน้ําแข็ง
คําตอบ 3 : ปองกันน้ํายาเหลวเขาสูคอมเพรสเซอร
คําตอบ 4 : ปองกันน้ําแข็งจับที่คอยลเย็น
78 of 101
ขอที่ : 303
Flow Switch ในระบบทอน้ํามีหนาที่อะไร
คําตอบ 1 : ตรวจสอบปริมาณการไหลของน้ํา
คําตอบ 2 : วัดการไหลของน้ํา
คําตอบ 3 : วัดความดันน้ํา
คําตอบ 4 : วัดอุณหภูมิของน้ํา

่ า ย

ขอที่ : 304


ความดันที่อานคาไดจาก Pressure Gauge คืออะไร

จ ำ
คําตอบ 1 : Velocity Pressure


คําตอบ 2 : Static Pressure

า้
คําตอบ 3 : Total Pressure

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : Pressure Head

ิท
ขอที่ : 305


Overload relay ในเครื่องปรับอากาศ ทําหนาที่อะไร

ว น
คําตอบ 1 : หนวงเวลาการทํางานของมอเตอรคอมเพรสเซอร เพื่อปองกันการเสียหายจากการเปด/ปดเครื่องปรับอากาศอยางกะทันหัน


คําตอบ 2 : ระบายน้ําคอนเดนเสททิ้ง เมื่อความดันในอางพักเกิน


คําตอบ 3 : ควบคุมความดันของสารทําความเย็นไมใหเกินที่กําหนด


คําตอบ 4 : ปองกันมอเตอรเสียหาย เมื่อทํางานเกินกําลัง

กร ข

ขอที่ : 306



ในระบบน้ําเย็นสําหรับปรับอากาศ (Chilled water system) ตองมีถังรับน้ําขยายตัว (Expansion tank) ขอใดเปนการติดตั้งที่ถูกตอง

าว
คําตอบ 1 : ถังขยายตัวแบบเปด ควรอยูสูงสุดของระบบทอน้ําเย็น และทําหนาที่รองรับการขยายตัวของน้ําเย็น


คําตอบ 2 : ถังขยายตัวแบบเปด ควรอยูต่ําสุดของระบบทอน้ําเย็น และทําหนาที่รองรับการขยายตัวของน้ําเย็น


คําตอบ 3 : ถังขยายตัวแบบเปด อยูตรงกลางของระบบทอน้ําเย็น และทําหนาที่รองรับการขยายตัวของน้ําเย็น
คําตอบ 4 : ถังขยายตัวแบบเปด อยูตําแหนงใดก็ไดของระบบทอน้ําเย็น และทําหนาที่รองรับการขยายตัวของน้ําเย็น

ขอที่ : 307
Variable speed drive, VSD เปนอุปกรณที่ควบคุมความเร็วรอบของมอเตอรที่ขับเครื่องสูบน้ําหรือพัดลม โดยใชหลักการเปลี่ยนความถี่ของกระแสไฟฟาที่จายใหกับมอเตอร อยาก
ทราบวาเมื่อตองการใหความเร็วรอบของมอเตอรลดลง 2 เทา จะเกิดเหตุการณใด
79 of 101
คําตอบ 1 : ความถี่ลดลง 2 เทา กําลังที่เพลาลดลง 12.5%
คําตอบ 2 : ความถี่ลดลง 2 เทา กําลังที่เพลาเพิ่มขึ้น 12.5%
คําตอบ 3 : ความถี่ลดลง 4 เทา กําลังที่เพลาลดลง 25%
คําตอบ 4 : ความถี่ลดลง 4 เทา กําลังที่เพลาเพิ่มขึ้น 25%

ขอที่ : 308
ทอลมที่ติดตั้งผานผนังกันไฟที่มีอัตราการทนไฟ 2 ชั่วโมง ตองทําอยางไร
คําตอบ 1 : หามติดตั้งผานผนังกันไฟโดยเด็ดขาด
คําตอบ 2 : ติดตั้งลิ้นกันไฟ

่ า ย

คําตอบ 3 : ติดตั้งทอลมชนิดกันไฟ


คําตอบ 4 : ติดตั้งลิ้นกันควัน

จ ำ

ขอที่ :

า้
309
กฎหมายควบคุมอาคาร กําหนดใหตองอัดความดันบันไดหนีไฟของอาคารสูงในกรณีที่ไมสามารถทําชองเปดสูภายนอกไดทุกชั้น อยากทราบวาขอใดผิด

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ระบบอัดความดันมีหนาที่ในการสรางความดันใหสูงเพียงพอในการปองกันควันรั่วเขาภายในบันได
คําตอบ 2 : ระบบอัดความดันมีหนาที่ทําใหบันไดหนีไฟมีสภาพที่เหมาะสมสําหรับพนักงานดับเพลิงในการทํางาน

ิท
คําตอบ 3 : ระบบอัดความดันมีหนาที่เติมออกซิเจนใหกับอาคาร


คําตอบ 4 : ระบบอัดความดันตองไมสรางความดันสูงเกินไปจนทําใหประตูเปดไดยาก

ขอที่ :

ง ว น

310


ความตองการสําหรับความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินจากอัคคีภัย ตามมาตรฐานระบบปรับอากาศและระบายอากาศ ของสมาคมวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรม


ราชูปถัมภ มีวัตถุประสงคดังตอไปนี้ ยกเวนขอใด

กร
คําตอบ 1 : จํากัดการกระจายของควันผานระบบทอลมภายในอาคาร หรือเขาสูอาคารจากภายนอก


คําตอบ 2 : จํากัดการกระจายของไฟผานระบบทอลมจากพื้นที่ที่เกิดเพลิงไหม ไมวาจะอยูภายในหรือภายนอกอาคาร



คําตอบ 3 : ปองกันการใชระบบทอลมภายในอาคารระบายควันไฟในกรณีที่เกิดเพลิงไหม

าว
คําตอบ 4 : คงไวซึ่งความสามารถในการปองกันไฟของอาคารและสวนประกอบเชน พื้น ผนัง หลังคา ที่มีการติดตั้งระบบทอลม

ขอที่ : 311

ส ภ
ทอลมเพื่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินจากอัคคีภัย ตามมาตรฐานระบบปรับอากาศและระบายอากาศ ของสมาคมวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ ตอง
เปนไปตามขอกําหนดดังนี้ ยกเวนขอใด
คําตอบ 1 : ตองสรางขึ้นจากวัสดุที่ไมติดไฟและไมเปนสวนที่ทําใหเกิดควันเมื่อเกิดเพลิงไหม
คําตอบ 2 : ทอลมตองสรางขึ้นดวยวัสดุที่เสริมความแข็งแรงและปองกันการรั่วเพื่อใหเปนไปตามความตองการใชงาน
คําตอบ 3 : วัสดุที่ใชสรางทอลมตองเหมาะสมกับการสัมผัสอยางตอเนื่องกับอุณหภูมิและความชื้นของอากาศที่อยูในทอลม
คําตอบ 4 : ไมใชทอลมกับอากาศที่มีอุณหภูมิสูงกวา 120 องศาเซลเซียส 80 of 101
ขอที่ : 312
องคกรใดตอไปนี้ที่เกี่ยวของโดยตรงกับการออกมาตรฐานเกี่ยวกับการปองกันอัคคีภัย
คําตอบ 1 : ASHRAE
คําตอบ 2 : NFPA
คําตอบ 3 : ANSI
คําตอบ 4 : ASME

่ า ย

ขอที่ : 313


ขอความใดถูกตอง

จ ำ
คําตอบ 1 : วัสดุหุมทอลมและวัสดุบุภายในทอลมตองทําจากวัสดุที่ไมติดไฟ เมื่อเกิดเพลิงไหมจะมีแตควันเทานั้น


คําตอบ 2 : ทอลมสวนที่ติดตั้งผานผนังกันไฟตองติดตั้งลิ้นกันไฟที่สามารถปดไดสนิทโดยอัตโนมัติเมื่อเกิดอุณหภูมิสูง

า้
คําตอบ 3 : ลิ้นกันไฟที่ใชปองกันชองเปดบนผนังหรือพื้นที่ทนไฟตั้งแต 3 ชั่วโมงขึ้นไปตองมีอัตราการทนไฟไมนอยกวา 2 ชั่วโมง

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : สารทําความเย็นที่นํามาใชตองไมเปนพิษตอคน และตองมีคุณสมบัติไมลามไฟ

ิท
ขอที่ : 314


วิธีการใดตอไปนี้ที่ไมใชในการระบายควัน

ว น
คําตอบ 1 : Pressurization


คําตอบ 2 : De-pressurization


คําตอบ 3 : Ventilation


คําตอบ 4 :


Uncontainment

ว กร
ขอที่ : 315



พัดลมชนิดใดที่เหมาะสมสําหรับนํามาใชในการระบายควันไฟออกจากอาคาร

าว
คําตอบ 1 : พัดลมหอยโขงแบบมีสายพานขับ


คําตอบ 2 : พัดลมชนิดไหลตามแกน


คําตอบ 3 : พัดลมแบบใบพัด (Propeller fan)
คําตอบ 4 : พัดลมหอยโขงชนิดขับตรง

ขอที่ : 316
ขอใดที่ไมใชวัตถุประสงคของการมีระบบระบายหรือควบคุมควัน ในอาคาร
คําตอบ 1 : เพื่อปองกันชีวิตของคนในอาคาร
81 of 101
คําตอบ 2 : เพื่อชวยพนักงานดับเพลิงในการตอสูกับไฟ
คําตอบ 3 : เพื่อปองกันโครงสรางของอาคาร
คําตอบ 4 : เพื่อรักษาทรัพยสินในตัวอาคารใหมีความเสียหายนอยที่สุด

ขอที่ : 317
ในการออกแบบพัดลมอัดอากาศ ควรจะติดตั้งหนากากจายลมในบันไดหนีไฟอยางนอยทุก ๆ กี่ชั้น
คําตอบ 1 : 3 ชั้น
คําตอบ 2 : 4 ชั้น

่ า ย

คําตอบ 3 : 5 ชั้น


คําตอบ 4 : 2 ชั้น

จ ำ

ขอที่ :

า้
318
ทอลมที่ใชในระบบควบคุมและระบายควันควรจะมีความสามารถทนไฟไดนานอยางนอยกี่ชั่วโมง

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 4 ชั่วโมง
คําตอบ 2 : 1 ชั่วโมง

ิท
คําตอบ 3 : 2 ชั่วโมง


คําตอบ 4 : 3 ชั่วโมง

ขอที่ :

ง ว น

319


วัสดุใดหามนํามาทําเปนทอลม


คําตอบ 1 : เหล็กแผนอาบสังกะสี

กร
คําตอบ 2 : ไมอัด


คําตอบ 3 : ยิปซั่มบอรด



คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 320

ภ าว

บันไดอัดความดันเพื่อปองกันควันไฟเขาภายในบันไดเมื่อเกิดเหตุเพลิงไหม ตองมีความดันขณะใชงานอยางนอยเทาใด
คําตอบ 1 : 5 Pa
คําตอบ 2 : 20 Pa
คําตอบ 3 : 40 Pa
คําตอบ 4 : 100 Pa

82 of 101
ขอที่ : 321
ขอความใดผิด
คําตอบ 1 : ลิ้นกันไฟ ตองทํางานโดยอัตโนมัติเมื่อมีอุณหภูมิ 74 องศาเซลเซียส
คําตอบ 2 : ลิ้นกันไฟ ตองติดตั้งใหสามารถเขาไปตรวจสอบและบํารุงรักษาได
คําตอบ 3 : ในทอลมระบายควันจากหองครัว (Kitchen Exhaust) ตองติดลิ้นกันไฟทุกๆระยะ 30 เมตร
คําตอบ 4 : ทอลมที่ผานผนังกันไฟ ตองติดตั้งลิ้นกันไฟ

่ า ย
ขอที่ : 322


กฎกระทรวงฉบับที่ 33 ออกตามความใน พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร มีขอกําหนดใหการออกแบบระบบปรับอากาศและระบายอากาศในอาคารสูงและอาคารขนาดใหญพิเศษตองปฏิบัติตาม


อยากทราบวา อาคารสูงหมายถึงอาคารที่สูงตั้งแตกี่เมตรขึ้นไป และอาคารขนาดใหญพิเศษหมายถึงอาคารที่มีขนาดพื้นที่ตั้งแตกี่ตารางเมตรขึ้นไป


คําตอบ 1 : 15 เมตร, 2,000 ตารางเมตร

มจ
คําตอบ 2 : 23 เมตร, 2,000 ตารางเมตร

า้
คําตอบ 3 : 15 เมตร, 10,000 ตารางเมตร

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : 23 เมตร, 10,000 ตารางเมตร

ิท
ขอที่ : 323


ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 33 ออกตามความใน พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร ทอลมที่ผานผนังทนไฟ ตองออกแบบใหมีลักษณะอยางไร


คําตอบ 1 : ตองติดตั้งลิ้นกันไฟที่มีอัตราการทนไฟไมนอยกวา 1 ชั่วโมง 30 นาที
คําตอบ 2 : ตองหุมดวยฉนวนหนาไมนอยกวา 50 มิลลิเมตร

ง ว

คําตอบ 3 : วัสดุทอลมตองทําจากแผนเหล็กดําหนาไมนอยกวา 2 มิลลิเมตร


คําตอบ 4 : ตองติดตั้งลิ้นกันควัน

ขอที่ :

กร ข

324



ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 33 ออกตามความใน พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร บันไดหนีไฟตองออกแบบเพื่อปองกันควันไฟขัดขวางการอพยพหนีไฟ การออกแบบในขอใดเปนไปตามขอกําหนด

าว
ในกฎกระทรวงดังกลาว
คําตอบ 1 : จัดใหมีชองระบายอากาศเปดสูภายนอกได มีพื้นที่รวมอยางนอย 1 ตารางเมตรตอชั้น

ส ภ
คําตอบ 2 : ออกแบบใหมีระบบอัดลมในชองบันไดที่มีความดันลมในขณะใชงานไมนอยกวา 40 ปาสกาล
คําตอบ 3 : ออกแบบใหมีระบบระบายควันออกจากชองบันได โดยมีอัตราการระบายควันไมนอยกวา 6 เทาของปริมาตรหองตอชั่วโมง
คําตอบ 4 : ออกแบบใหบันไดมีระบบกรองอากาศที่มีประสิทธิภาพไมนอยกวา 80%

ขอที่ : 325
มาตรฐานระบบปรับอากาศและระบายอากาศ ว.ส.ท. กําหนดใหทอลมระบายอากาศจากครอบดูดลม (Hood) ในหองครัวตองใชวัสดุใด
คําตอบ 1 : แผนเหล็กอาบสังกะสีหนา 2 มิลลิเมตร 83 of 101

คําตอบ 2 : แผนยิบซั่มบอรดหนา 9 มิลลิเมตร


คําตอบ 3 : แผนไมอัดหนา 4 มิลลิเมตร
คําตอบ 4 : แผนเหล็กดําหนา 2 มิลลิเมตร

ขอที่ : 326
มาตรฐานระบบปรับอากาศและระบายอากาศ ว.ส.ท. หามใชทางเดินรวม บันได ชองบันได ชองลิฟทของอาคารเปนสวนหนึ่งของระบบทอลมสง หรือระบบทอลมกลับ มีวัตถุประสงค
เพื่ออะไร

่ า ย
คําตอบ 1 : เพื่อปองกันไมใหควันไฟแพรกระจายในเสนทางที่ตองใชในการอพยพหนีไฟ ในกรณีเกิดเหตุเพลิงไหม


คําตอบ 2 : เพื่อปองกันความเย็นรั่วไหล


คําตอบ 3 : เพื่อปองกันเสียงดังรบกวนไปทั่วทั้งอาคาร


คําตอบ 4 : เพื่อปองกันไมใหความชื้นเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว

มจ
า้
ขอที่ : 327

ิธ์ ห
มาตรฐานระบบปรับอากาศและระบายอากาศ ว.ส.ท. มีขอกําหนดเพื่อปองกันไฟลามระหวางชั้นผานทางระบบทอลม อยากทราบวาขอใดออกแบบไดตามมาตรฐาน
คําตอบ 1 : ทอลมแนวดิ่งทะลุผานจากชั้น 1 ถึงชั้น 3 ติดตั้งลิ้นกันไฟในตําแหนงที่ทอลมทะลุผานพื้นของอาคาร

ิท
คําตอบ 2 : ทอลมแนวดิ่งทะลุผานจากชั้น 1 ถึงชั้น 3 กอผนังที่มีอัตราการทนไฟ 2 ชั่วโมงลอมรอบทอลมที่ทะลุผานพื้นของอาคารตลอดแนว


คําตอบ 3 : ทอลมแนวดิ่งทะลุผานจากชั้น 1 ถึงชั้น 3 หุมฉนวนใยแกวหนา 50 มิลลิเมตร


คําตอบ 4 : ทอลมแนวดิ่งทะลุผานจากชั้น 1 ถึงชั้น 3 ทาสีกันไฟ

ง ว

ขอที่ :


328


Fire Damper มีหนาที่อะไร

กร
คําตอบ 1 : ปรับปริมาณลมในทอลมระบายควันไฟ


คําตอบ 2 : ปองกันไฟลามในทอลมระบายควันจากหองครัว



คําตอบ 3 : ปองกันไฟลาม

าว
คําตอบ 4 : ปองกันควันไฟลาม

ขอที่ : 329

ส ภ
Smoke Damper มีหนาที่อะไร
คําตอบ 1 : ควบคุมปริมาณลมในการระบายควันไฟ
คําตอบ 2 : ปองกันควันไฟลาม
คําตอบ 3 : ปองกันควันไฟจากทอลมระบายควันจากหองครัว
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ
84 of 101
ขอที่ : 330
สําหรับผนังทนไฟที่มีอัตราการทนไฟไมเกิน 3 ชั่วโมง ลิ้นกันไฟจะตองมีอัตราการทนไฟเปนเทาใด ตามมาตรฐาน UL555
คําตอบ 1 : 1 ชั่วโมง 30 นาที
คําตอบ 2 : 2 ชั่วโมง
คําตอบ 3 : 2 ชั่วโมง 30 นาที
คําตอบ 4 : 3 ชั่วโมง

่ า ย

ขอที่ : 331


มาตรฐาน ว.ส.ท. กําหนดใหทอลมที่มีขนาดปริมาณลมเกินกวาเทาใด ตองติดตั้ง Smoke damper

จ ำ
คําตอบ 1 : 750 L/s


คําตอบ 2 : 1000 L/s

า้
คําตอบ 3 : 1500 L/s

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : 2000 L/s

ิท
ขอที่ : 332


ทอลมระบายควันไฟมีขอกําหนดในเรื่องฉนวนหุมทอลมอยางไร

ว น
คําตอบ 1 : ไมตองหุมฉนวน เพราะใชในการระบายควันไฟเทานั้น


คําตอบ 2 : หุมดวยฉนวนใยแกวเหมือนทอสงลมเย็น


คําตอบ 3 : หุมดวยฉนวนแอสเบสตอส


คําตอบ 4 : หุมดวยฉนวนที่สามารถทนอุณหภูมิไดถึง 540 องศาเซลเซียส

กร ข

ขอที่ : 333



ความเร็วลมโดยเฉลี่ยที่ประตูหนีไฟสําหรับบันไดที่มีระบบอัดอากาศในขณะที่ระบบอัดอากาศทํางานควรเปนเทาใด

าว
คําตอบ 1 : 0.5 m/s


คําตอบ 2 : 1 m/s


คําตอบ 3 : 1.3 m/s
คําตอบ 4 : 1.75 m/s

ขอที่ : 334
พัดลมอัดอากาศในบันไดหนีไฟจะตองมีขนาดอยางต่ําเทาใด
คําตอบ 1 : 5000 L/s
85 of 101
คําตอบ 2 : 6000 L/s
คําตอบ 3 : 7000 L/s
คําตอบ 4 : 7100 L/s

ขอที่ : 335
ระบบการควบคุมควันในลานกลางอาคาร (Atrium) ตองมีระบบการเติมอากาศประกอบดวยหรือไม
คําตอบ 1 : ไมตอง เพราะลมจะถูกดูดเขามาเอง
คําตอบ 2 : ไมตอง เพราะการเติมอากาศจะทําใหไฟลุกมากขึ้น

่ า ย

คําตอบ 3 : ตอง เพื่อทดแทนอากาศที่ถูกดูดออกไปและเพื่อมีอากาศเขามาเจือจางควันไฟ


คําตอบ 4 : ตอง เพื่อใหสภาพอาคารมีความดันเปนบวก

จ ำ

ขอที่ :

า้
336
ขอใดถือเปนบันไดหนีไฟที่ดี มากที่สุด

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ประตูหนีไฟที่เปดตลอดเวลา
คําตอบ 2 : บันไดหนีไฟที่มีพัดลมอัดอากาศเขาบันไดหนีไฟ

ิท
คําตอบ 3 : บันไดหนีไฟที่มีสปริงเกลอรดับเพลิงในบันไดหนีไฟ


คําตอบ 4 : บันไดหนีไฟที่มีพัดลมดูดควันออกจากบันไดหนีไฟ

ขอที่ :

ง ว น

337


อุปกรณตรวจจับเพลิงไหมชนิดใดควรใชกับหองนอน มากที่สุด


คําตอบ 1 : อุปกรณตรวจจับควัน

กร
คําตอบ 2 : อุปกรณตรวจจับความรอน


คําตอบ 3 : อุปกรณตรวจจับเปลวเพลิง



คําตอบ 4 : อุปกรณตรวจจับคารบอนไดออกไซด

ขอที่ : 338

ภ าว

สําหรับการอัดอากาศเขาบันไดหนีไฟ ควรรักษาความดันครอมประตูหนีไฟเทาใด ถาแรงมากสุดที่คนจะสามารถเปดประตูหนีไฟไดอยูที่ 130 นิวตัน และประตูหนีไฟกวาง 1 เมตร สูง 2
เมตร
คําตอบ 1 : ไมนอยกวา 65 ปาสกาล แตไมเกิน 90 ปาสกาล
คําตอบ 2 : เทากับ 65 ปาสกาล
คําตอบ 3 : ไมนอยกวา 38 ปาสกาล แตไมเกิน 65 ปาสกาล
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ
86 of 101
ขอที่ : 339
ขอใดไมใชวัตถุประสงคของการเติมอากาศจากภายนอกเขามาผสมกับอากาศภายในอาคาร
คําตอบ 1 : เพื่อเจือจางกลิ่นที่เกิดขึ้นภายในอาคาร
คําตอบ 2 : เพื่อเจือจางกาซที่เกิดขึ้นจากคน
คําตอบ 3 : เพื่อเจือจางกาซที่เกิดจากวัสดุกอสราง
คําตอบ 4 : เพื่อเพิ่มอิออนลบภายในอาคาร

่ า ย

ขอที่ : 340


อัตราการเติมอากาศหรือระบายอากาศทิ้งสําหรับพื้นที่สํานักงานควรเปนเทาใด

จ ำ
คําตอบ 1 : 10 ลิตร/วินาที ตอ คน


คําตอบ 2 : 10 ลิตร/วินาที ตอ ตารางเมตร

า้
คําตอบ 3 : 10 เทาของปริมาตรหองตอชั่วโมง

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูกตอง

ิท
ขอที่ : 341


ขอใดผิดหลักการปองกันสิ่งปนเปอนในอากาศ ตามมาตรฐานระบบปรับอากาศและระบายอากาศ ของสมาคมวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ

ว น
คําตอบ 1 : มีการกรองอากาศที่หมุนเวียนในระบบปรับอากาศ


มีการจัดตําแหนงของแผงกรองอากาศใหกรองอากาศหลังผานคอยลทําความเย็น ในกรณีที่มีแผงกรองอากาศหลายชั้น ตองจัดใหมีแผงกรองอากาศอยางนอยหนึ่งชั้น
คําตอบ 2 :


กรองอากาศหลังจากผานคอยลทําความเย็น


คําตอบ 3 : มีการเติมอากาศจากภายนอก โดยวิธีการเติมอากาศเขามาจากภายนอกหรือการระบายอากาศจากภายในทิ้ง

กร ข
มีการเติมอากาศจากภายนอกในอัตราไมนอยกวาที่กําหนดใน มาตรฐานการระบายอากาศเพื่อคุณภาพอากาศภายในอาคารที่ยอมรับได ของสมาคมวิศวกรรมสถานแหง
คําตอบ 4 :
ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ


ิ ว
าว
ขอที่ : 342
การระบายอากาศสําหรับที่จอดรถภายในอาคารดวยวิธีกล ตามมาตรฐานระบบปรับอากาศและระบายอากาศ ของสมาคมวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ มีขอ


กําหนดดังนี้ ยกเวนขอใด


จัดใหมีกลอุปกรณขับเคลื่อนอากาศ ซึ่งตองทํางานตลอดเวลาที่ใชสอยที่จอดรถนั้น เพื่อใหเกิดการนําอากาศภายนอกเขามาดวยอัตราไมนอยกวา 7.5 ลิตรตอวินาที
คําตอบ 1 :
ตอตารางเมตร
คําตอบ 2 : พื้นที่ชองเปดสูภายนอกตองไมนอยกวารอยละ 20 ของพื้นที่ผนังดานนั้นๆ และพื้นที่ชองเปดรวมทั้งหมดตองไมนอยกวารอยละ 10 ของพื้นที่อาคารที่จอดรถ
คําตอบ 3 : ตองออกแบบชองทางลมเขาใหนําอากาศเขามาจากบริเวณที่ไมมีสารหรือกาซอันตราย
คําตอบ 4 : หามใชทางวิ่งของรถเปนชองทางลมเขาหลัก

87 of 101
ขอที่ : 343
สารฟอรมัลดีไฮน (Formaldehyde) มาจาก
คําตอบ 1 : ฉนวนโฟม
คําตอบ 2 : กระเบื้องปูพื้น
คําตอบ 3 : แผนยาง
คําตอบ 4 : แกรนิต

ขอที่ : 344

่ า ย
ผลกระทบที่มีตอสุขภาพจากปญหาคุณภาพอากาศภายในอาคารคือ


คําตอบ 1 : ทําใหรูสึกเวียนศรีษะโดยไมทราบสาเหตุ


คําตอบ 2 : ทําใหเปนไข หนาวสั่น

จ ำ
คําตอบ 3 : ทําใหเกิดอาการภูมิแพ


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 345
ผลกระทบที่มีตอสุขภาพจากปญหาคุณภาพอากาศภายในอาคารคือ

ิท
คําตอบ 1 : ทําใหรูสึกเวียนศรีษะโดยไมทราบสาเหตุ


คําตอบ 2 : ทําใหเปนไข หนาวสั่น

ว น
คําตอบ 3 : ทําใหเกิดอาการภูมิแพ


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

อ ส

ขอที่ : 346

กร
ขอใดจัดวาอยูในกรณีของอาการแพตึก (Sick building syndrome)


คําตอบ 1 : เปนไขอยางตอเนื่องทั้งในที่ทํางานและที่บาน



คําตอบ 2 : ติดเชื้อจากในที่ทํางาน

าว
คําตอบ 3 : ปวดศรีษะเฉพาะในชั่วโมงทํางาน


คําตอบ 4 : เปนไขหวัดใหญที่ติดมาจากเพื่อนรวมงาน

ขอที่ : 347

โรคปอดอักเสบลีเจียนแนร (Legionnaire’s disease) จัดวาเปนโรคอยูในกลุมไหน
คําตอบ 1 : กลุมอาการแพตึก (Sick building syndrome)
คําตอบ 2 : กลุมอาการเจ็บปวยที่เกี่ยวพันกับตึก (Building related illness)
คําตอบ 3 : กลุมอาการไวตอสารเคมี (Multiple chemical sensitivity)
88 of 101
คําตอบ 4 : กลุมอาการโรควัณโรค
ขอที่ : 348
โรคปอดอักเสบลีเจียนแนร (Legionnaire’s disease) จัดวาเปนโรคอยูในกลุมไหน
คําตอบ 1 : กลุมอาการแพตึก (Sick building syndrome)
คําตอบ 2 : กลุมอาการเจ็บปวยที่เกี่ยวพันกับตึก (Building related illness)
คําตอบ 3 : กลุมอาการไวตอสารเคมี (Multiple chemical sensitivity)


คําตอบ 4 : กลุมอาการโรควัณโรค

น่ า

ขอที่ : 349


โรคปอดอักเสบลีเจียนแนร (Legionnaire’s disease) จัดวาเปนโรคอยูในกลุมไหน
คําตอบ 1 : กลุมอาการแพตึก (Sick building syndrome)

มจ
า้
คําตอบ 2 : กลุมอาการเจ็บปวยที่เกี่ยวพันกับตึก (Building related illness)

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : กลุมอาการไวตอสารเคมี (Multiple chemical sensitivity)
คําตอบ 4 : กลุมอาการโรควัณโรค

ขอที่ : 350

ส ิท

อัตราการระบายอากาศต่ําสุดตอคนที่กําหนดไวในมาตรฐาน ASHRAE 62.2, 2004
คําตอบ 1 : 5 CFM

ง ว

คําตอบ 2 : 7.5 CFM


คําตอบ 3 :


10.0 CFM

กร
คําตอบ 4 : ผิดทุกขอ

ขอที่ : 351


ิ ว
าว
ตามขอกําหนดมาตรฐานการระบายอากาศของ ASHRAE อากาศเสียจากบริเวณสูบบุหรี่


คําตอบ 1 : สามารถหมุนเวียนนํากลับมาใชใหมไดหากผานการกรองอากาศเรียบรอยแลว


คําตอบ 2 : ไมสามารถหมุนเวียนนํากลับมาใชใหมได
คําตอบ 3 : ไมอนุญาตใหมีการระบายอากาศในบริเวณสูบบุหรี่
คําตอบ 4 : มีการกําหนดอัตราการระบายอากาศในบริเวณสูบบุหรี่ที่ชัดเจน

ขอที่ : 352
ขอใดที่เปนจริงในแงของคุณภาพอากาศภายในอาคาร
89 of 101
คําตอบ 1 : ปญหาการปนเปอนจากเชื้อโรคมักจะพบเห็นไดในกรณีที่ความชื้นสัมพัทธภายในอาคารมีคาต่ํากวา 40 %
คําตอบ 2 : ปญหาการระบายอากาศจะเพิ่มขึ้นจากมาตรการการอนุรักษพลังงานภายในอาคาร
คําตอบ 3 : สารฟอรมัลดีไฮน (Formaldehyde) จัดเปนสารปนเปอนที่มาจากเชื้อโรคในแผนไมอัด
คําตอบ 4 : ปญหาทางจิตไมจัดวาเปนปญหาที่เกี่ยวของกับคุณภาพอากาศภายในอาคาร

ขอที่ : 353
ในการระบายอากาศโดยคํานึงถึงคุณภาพอากาศภายในอาคาร ขอใดมีสวนถูกตองมากที่สุด
คําตอบ 1 : ชองระบายอากาศเสียควรอยูดานใตลมของอาคาร และชองนําอากาศเขาควรอยูเหนือลมของอาคาร

่ า ย

คําตอบ 2 : หองน้ําในอาคารควรจะอยูในดานที่มีแสงแดดสองตลอดเวลาเพื่อมิใหเกิดกลิ่นอับชื้น


คําตอบ 3 : กําหนดบริเวณใดบริเวณหนึ่งในอาคารใหเปนเขตสูบบุหรี่

จ ำ
คําตอบ 4 : ใชฉนวนใยแกวในระบบทอลมปรับอากาศ

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
354
สํานักงานแหงหนึ่งมีพื้นที่ 1,000 ตารางเมตร มีความหนาแนนของพนักงาน 10 ตารางเมตรตอคน อยากทราบวาระบบปรับอากาศของสํานักงานนี้ตองมีการเติมอากาศจากภาย
นอกอยางนอยเทาใด

ิท
คําตอบ 1 : 10 ลิตรตอวินาที


คําตอบ 2 : 100 ลิตรตอวินาที


คําตอบ 3 : 1,000 ลิตรตอวินาที
คําตอบ 4 : 10,000 ลิตรตอวินาที

ง ว
อ ส

ขอที่ : 355

กร
ขอใดคือหลักในการควบคุมคุณภาพอากาศในอาคาร


คําตอบ 1 : การเจือจาง (Dilution)



คําตอบ 2 : การกรองสิ่งสกปรกออกจากอากาศ (Filtration)

าว
คําตอบ 3 : ถูกทั้งขอ 1 และ 2


คําตอบ 4 : ผิดทุกขอ

ขอที่ : 356

พื้นที่ปรับอากาศใดตอไปนี้ มีการเติมอากาศจากภายนอกตอพื้นที่มากที่สุด
คําตอบ 1 : สํานักงาน
คําตอบ 2 : หองสมุด
คําตอบ 3 : โรงภาพยนต
คําตอบ 4 : หองพักในโรงแรม 90 of 101
ขอที่ : 357
HEPA Filter คืออะไร
คําตอบ 1 : แผงกรองอากาศที่มีความสามารถในการกรองอนุภาคขนาด 0.3 Micron ไดไมต่ํากวา 99.97%
คําตอบ 2 : เครื่องฟอกอากาศที่กําจัดไวรัสและแบคทีเรียได
คําตอบ 3 : แผงกรองอากาศที่มีความสามารถในการกรอง 80% Arrestance ขึ้นไป


คําตอบ 4 : แผงกรองอากาศใยสังเคราะหมีความสามารถในการกรอง 60 % Efficiency Dust Spot Test ขึ้นไป

น่ า

ขอที่ : 358


สําหรับระบบปรับอากาศสําหรับหองผาตัด ขอใดผิด
คําตอบ 1 : ติดตั้งแผงกรองอากาศชนิด HEPA

มจ
า้
คําตอบ 2 : มีลมจาย 10 เทาของปริมาตรหองตอชั่วโมง

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : มีอากาศเติมจากภายนอก (Outdoor Air) 5 เทาของปริมาตรหองตอชั่วโมง
คําตอบ 4 : มีความดันเปนบวก

ขอที่ : 359

ส ิท
ว น
สําหรับระบบปรับอากาศของหองที่ใชสําหรับแยกผูปวยที่เปนโรคติดตอที่แพรเชื้อทางอากาศได ขอใดผิด


คําตอบ 1 : มีการเติมอากาศจากภายนอก (Outdoor Air) มากกวาระบายอากาศทิ้งอยางนอย 15%


คําตอบ 2 : ไมตอทอลมระบายอากาศทิ้งกับทอลมอื่นๆ


คําตอบ 3 : ติดตั้งแผงกรองอากาศชนิด HEPA กรองอากาศที่หมุนเวียนภายในหอง
คําตอบ 4 :

กร ข
มีลมจาย 15 เทาของปริมาตรหองตอชั่วโมง

ขอที่ : 360


ิ ว
าว
ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 33 ออกตามความใน พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร หองสํานักงานที่มีขนาด 100 ตารางเมตร สูง 2.5 เมตร ตองจัดใหมีการนําอากาศจากภายนอกเขามาในระบบปรับ
ภาวะอากาศอยางนอยเทาใด


คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
ภ 100 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง
200 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง
1,000 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง
คําตอบ 4 : 2,000 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง

ขอที่ : 361
ระบบปรับอากาศสําหรับอาคารสํานักงานทั่วไปจะมีการหมุนเวียนอากาศเทาใด 91 of 101

คําตอบ 1 : 4 Airchanges/h
คําตอบ 2 : 6 Airchanges/h
คําตอบ 3 : 10 Airchanges/h
คําตอบ 4 : 20 Airchanges/h

ขอที่ : 362
หองปรับอากาศโดยทั่วไป ควรจะอยูในสภาพที่เปน Infiltration หรือ Exfiltration
คําตอบ 1 : หองปรับอากาศโดยทั่วไปอยูในสภาพเปนกลาง

่ า ย

คําตอบ 2 : Infiltration


คําตอบ 3 : Exfiltration

จ ำ
คําตอบ 4 : แลวแตสถานการณ

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
363
หองสะอาด หรือ Clean Room Class 10K หรือ Class 10000 หมายถึงอะไร
คําตอบ 1 : หมายถึงหองที่เมื่อทําการวัดดวยเครื่องตรวจจับอนุภาคขนาด 0.05 micron จะมีปริมาณอนุภาคนอยกวา 10000 อนุภาคตอปริมาตร 1 cuft

ิท
คําตอบ 2 : หมายถึงหองที่เมื่อทําการวัดดวยเครื่องตรวจจับอนุภาคขนาด 0.5 micron จะมีปริมาณอนุภาคนอยกวา 10000 อนุภาคตอปริมาตร 1 cuft


คําตอบ 3 : หมายถึงหองที่เมื่อทําการวัดดวยเครื่องตรวจจับอนุภาคขนาด 0.03 micron จะมีปริมาณอนุภาคนอยกวา 10000 อนุภาคตอปริมาตร 1 cuft

ว น
คําตอบ 4 : หมายถึงหองที่เมื่อทําการวัดดวยเครื่องตรวจจับอนุภาคขนาด 0.3 micron จะมีปริมาณอนุภาคนอยกวา 10000 อนุภาคตอปริมาตร 1 cuft

ส ง

ขอที่ : 364


มาตรฐาน ว.ส.ท กําหนดใหเครื่องสงลมเย็นที่มีขนาดเกิน 1000 L/s ตองมีแผงกรองอากาศชนิดใด

กร
คําตอบ 1 : ชนิดอลูมิเนียมถักหนา 25 mm


คําตอบ 2 : ชนิดเสนใยสังเคราะหหนา 13 mm



คําตอบ 3 : แผงกรองอากาศที่มีประสิทธิภาพ MERV8 (ASHRAE 52.2)

าว
คําตอบ 4 : แผงกรองอากาศที่มีประสิทธิภาพ 20% (ASHRAE 52.1 Dust Spot)

ขอที่ : 365

ส ภ
การติดตั้งระบบปรับอากาศแบบ Split Type หรือ VRV จะมีวิธีการเติมอากาศบริสุทธิ์เพื่อใหเปนไปตามมาตรฐาน วสท ไดอยางไร
คําตอบ 1 : ไมจําเปน เพราะในทางปฏิบัติที่ผานมาเปนที่ยอมรับวาไมตองมีการเติมอากาศบริสุทธิ์
คําตอบ 2 : ไมจําเปน เพราะเครื่องปรับอากาศในปจจุบันมีเครื่องฟอกอากาศและสามารถผลิตอากาศบริสุทธิ์ในตัว
คําตอบ 3 : จัดใหมีระบบระบายอากาศ เชน การติดตั้งพัดลมระบายอากาศ
คําตอบ 4 : จัดใหมีระบบการเติมอากาศบริสุทธิ์เขาไปที่ทางลมกลับของเครื่องสงลมเย็น หรือ ใหมีระบบ Fresh Air Supply ผาน Fresh Air Unit
92 of 101
ขอที่ : 366
เครื่องปรับอากาศแบบ Split Type ทั่วไป สามารถใชกับหองผาตัดไดหรือไม
คําตอบ 1 : ได เพราะเปนที่ยอมรับในโรงพยาบาลสวนใหญในปจจุบัน
คําตอบ 2 : ได หากใชรุนที่มีเครื่องฟอกอากาศ Plasma หรือ Nano
คําตอบ 3 : ไมได เพราะมีประสิทธิภาพในการกรองอากาศต่ํากวามาตรฐาน
คําตอบ 4 : ไมได เพราะมีประสิทธิภาพในการกรองอากาศและการเติมอากาศบริสุทธิ์ที่ต่ํากวามาตรฐาน

่ า ย

ขอที่ : 367


เครื่องฟอกอากาศที่ขายโดยทั่วไป เหมาะกับการใชงานในลักษณะใด

จ ำ
คําตอบ 1 : หองผาตัด


คําตอบ 2 : หองปลอดเชื้อ

า้
คําตอบ 3 : หองประชุม

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : หองนอน

ิท
ขอที่ : 368


พัดลมน้ํา เหมาะกับการใชงานในลักษณะใด

ว น
คําตอบ 1 : ที่อยูอาศัย


คําตอบ 2 : หองอาหาร


คําตอบ 3 : โรงงานอาหาร


คําตอบ 4 : ลานภายนอก

กร ข

ขอที่ : 369



ขอควรระวังที่สําคัญเปนอยางยิ่งในการติดตั้ง Cooling Tower และพัดลมน้ําคือ

าว
คําตอบ 1 : ละอองน้ํา


คําตอบ 2 : การกินน้ํา


คําตอบ 3 : ปญหาโรคที่เกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ
คําตอบ 4 : เสียง

ขอที่ : 370
เหตุใดจึงไมควรใหหองปรับอากาศมีความดันอากาศเปนลบ
คําตอบ 1 : ทําใหฝุนเขามามาก
93 of 101
คําตอบ 2 : ทําใหความชื้นเขามามาก
คําตอบ 3 : ยากตอการควบคุมสภาวะอากาศ
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 371
สภาวะใด มีความสบายเชิงความรอน (Thermal Comfort) มากที่สุด
คําตอบ 1 : 22 CDB/60%RH ความเร็วลม 0.2 เมตร/วินาที
คําตอบ 2 : 24 CDB/60%RH ความเร็วลม 0.1 เมตร/วินาที

่ า ย

คําตอบ 3 : 25 CDB/55%RH ความเร็วลม 0.2 เมตร/วินาที


คําตอบ 4 : 22 CDB/17 CWB ความเร็วลม 0.1 เมตร/วินาที

จ ำ

ขอที่ :

า้
372
การออกแบบระบบปรับอากาศและระบายอากาศในอาคารขนาดใหญทั่วไป ควรจะตอง

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : มีการนําอากาศบริสุทธิ์เขามาภายในอาคารมากกวาที่ดูดอากาศเสียออกจากอาคาร
คําตอบ 2 : มีการนําอากาศบริสุทธิ์เขามาภายในอาคารนอยกวาที่ดูดอากาศเสียออกจากอาคาร

ิท
คําตอบ 3 : มีการนําอากาศบริสุทธิ์เขามาภายในอาคารเทากับที่ดูดอากาศเสียออกจากอาคาร


คําตอบ 4 : มีการนําอากาศบริสุทธิ์เขามาภายในอาคารมากกวาหรือนอยกวาที่ดูดอากาศเสียออกจากอาคาร ไมแตกตางกัน

ขอที่ :

ง ว น

373


ขอใดไมใชปจจัยที่บงบอกการปรับสภาวะเพื่อความสบายของคน


คําตอบ 1 : อุณหภูมิกระเปาะแหงของอากาศ

กร
คําตอบ 2 : อุณหภูมิกระเปาะเปยกของอากาศ


คําตอบ 3 : ความเร็วของอากาศ



คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 374

ภ าว

เครื่องปรับอากาศเครื่องหนึ่งที่ไดฉลากประหยัดไฟเบอร 5 มีคาประสิทธิภาพการใชความเย็น (EER) เทากับ 11 อยากทราบวาถาเครื่องปรับอากาศนี้มีขนาดทําความเย็น 12,000 บีที
ยู/ชั่วโมง จะใชกําลังไฟฟาเทาใด
คําตอบ 1 : 132 วัตต
คําตอบ 2 : 917 วัตต
คําตอบ 3 : 1,091 วัตต
คําตอบ 4 : 1,320 วัตต
94 of 101
ขอที่ : 375
เครื่องปรับอากาศเครื่องหนึ่งที่ไดฉลากประหยัดไฟเบอร 5 มีคา EER เทากับ 11 อยากทราบวาถาเครื่องปรับอากาศนี้มีขนาดทําความเย็น 12,000 บีทีย/ู ชั่วโมง จะใชกําลังไฟฟา
เทาใด
คําตอบ 1 : 132 วัตต
คําตอบ 2 : 917 วัตต
คําตอบ 3 : 1,091 วัตต


คําตอบ 4 : 1,320 วัตต

น่ า

ขอที่ : 376


ขอใดไมมีสวนชวยในการประหยัดพลังงานของระบบปรับอากาศ

มจ
คําตอบ 1 : ใชเครื่องปรับอากาศที่มีประสิทธิภาพสูง

า้
คําตอบ 2 : ใชอุปกรณปรับลดความเร็วรอบของพัดลมเมื่อตองการอัตราการสงลมนอยลง

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : ปองกันลมรั่วผานกรอบประตูและหนาตาง
คําตอบ 4 : การนําตูเย็นมาไวในหองปรับอากาศ

ขอที่ : 377

ส ิท

การทดสอบการรั่ว เพื่อลดการสูญเสียพลังงานจากการรั่วของระบบทอลม ตามมาตรฐานระบบปรับอากาศและระบายอากาศ ของสมาคมวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรม


ราชูปถัมภ มีแนวทางในการปฏิบัติดังนี้ ยกเวนขอใด

คําตอบ 1 :

ส ง
ทอลมซึ่งทํางานที่ความดันสถิตยสูงกวา 750 ปาสคาล ตองทําการทดสอบการรั่ว ดวยวิธีการที่เปนที่ยอมรับ โดยการทดสอบตองทดสอบกับสวนของทอลมมีพื้นที่


อยางนอย 25% ของพื้นที่ทอลมทั้งหมด


คําตอบ 2 : ทอลมซึ่งมีพิกัดความดันใชงานเกิน 750 ปาสคาลตองแสดงในแบบใหเห็นชัดเจน

กร
คําตอบ 3 : อัตราการรั่วสูงสุดที่ยอมรับไดตองไมเกินคาที่คํานวณจากสมการหรือจากตารางที่กําหนดในมาตรฐาน


คําตอบ 4 : การทดสอบทอลมจะทําหลังจากที่ไดติดตั้งหุมฉนวนเรียบรอยแลว

ขอที่ : 378

าว ศ


ขอแนะนําในการประหยัดพลังงานในการใชระบบปรับอากาศและระบายอากาศ ตามมาตรฐานระบบปรับอากาศและระบายอากาศ ของสมาคมวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระ


บรมราชูปถัมภ มีดังนี้ ยกเวนขอใด
คําตอบ 1 : ติดตั้งระบบควบคุมลิ้นปรับลมสําหรับเติมอากาศจากภายนอก
คําตอบ 2 : ใชเครื่องปรับอากาศที่มีประสิทธิภาพไมต่ํากวาคาที่แนะนํา
คําตอบ 3 : ปดเครื่องปรับอากาศขณะพักกลางวันเปนเวลาหนึ่งชั่วโมง หรือ ทุกครั้งที่ไมใชหองทํางาน
คําตอบ 4 : ใชฉนวนที่มีคาความตานความรอนไมนอยกวาคาที่แนะนํา

95 of 101
ขอที่ : 379
วิธีใดที่ไมใชการใชงานอุปกรณในระบบปรับอากาศอยางมีประสิทธิภาพ
คําตอบ 1 : ควบคุมความดันทางดานคอนเดนเซอรใหต่ําที่สุด
คําตอบ 2 : ควบคุมความดันทางดานอีแวปปอเรเตอรใหต่ําที่สุด
คําตอบ 3 : ใชปริมาณลมกลับและปริมาณลมบริสุทธิ์ใหเหมาะสม
คําตอบ 4 : เดินเครื่องทําน้ําเย็นตามลําดับของภาระที่เกิดขึ้น

่ า ย
ขอที่ : 380


ขอความใดไมถูกตองในแงของการเลือกใชวัสดุเพื่อใหระบบปรับอากาศมีประสิทธิภาพสูงสุด


คําตอบ 1 : ใชวาลวสามทาง (3 way valve) ในการควบคุมปริมาณน้ําเขาเครื่องสงลมเย็น

จ ำ
คําตอบ 2 : ใชระบบทอลมแบบปริมาณลมแปรเปลี่ยน (Variable air volume)


คําตอบ 3 : การใชเครื่องทําน้ําเย็นหลาย ๆ ตัว

า้
คําตอบ 4 : การเลือกใชความหนาของฉนวนอยางเหมาะสม

ขอที่ : 381
ิธ์ ห
ิท
การทยอยเพิ่มภาระ (Soft loading) ใหกับเครื่องทําน้ําเย็น สามารถชวยการประหยัดพลังงานในแงใด


คําตอบ 1 : ทําใหเครื่องทําน้ําเย็นไมเกิดการสึกหรอเร็วซึ่งจะทําใหลดประสิทธิภาพการทํางาน

ว น
คําตอบ 2 : ลดความตองการพลังงานสูงสุดในระบบ ซึ่งอาจเกิดขึ้นขณะเริ่มเดินเครื่องทําน้ําเย็น


คําตอบ 3 : ชวยใหมอเตอรของคอมเพรสเซอรกินกระแสไฟนอยลง


คําตอบ 4 : อุณหภูมิน้ําเย็นจะไมลดต่ําลงอยางรวดเร็ว ซึ่งจะเปนอันตรายตอเครื่องทําน้ําเย็น

ขอ
กร
ขอที่ : 382


ทําไมการเพิ่มอุณหภูมิน้ําเย็นใหสูงขึ้นจึงสงผลใหเกิดการประหยัดพลังงาน



คําตอบ 1 : สารทําความเย็นมีอุณหภูมิลดลงโดยอัตโนมัติ เครื่องจึงทํางานลดลง

าว
คําตอบ 2 : ความดันของสารทําความเย็นทางดานเครื่องระเหย (Evaporator) ลดลง เครื่องตองการพลังงานในการอัดลดลงดวย


คําตอบ 3 : ความดันของสารทําความเย็นทางดานเครื่องระเหย (Evaporator) เพิ่มขึ้น เครื่องตองการพลังงานในการอัดลดลงดวย


คําตอบ 4 : สารทําความเย็นรับความรอนไดนอยลง เครื่องจึงทํางานนอยลง

ขอที่ : 383
เครื่องปรับอากาศแบบแยกสวน เบอร 4 มีคาประสิทธิภาพการใหความเย็น (EER) ไมต่ํากวาเทาไร
คําตอบ 1 : 10.6
คําตอบ 2 : 9.6
96 of 101
คําตอบ 3 : 8.6
คําตอบ 4 : 7.6

ขอที่ : 384
วิธีการควบคุมความดันทางดานคอนเดนเซอรใหต่ําลงเพื่อการประหยัดพลังงานกระทําไดโดยวิธีใด
คําตอบ 1 : ใชปริมาณสารทําความเย็นนอยเทาที่ตองการ
คําตอบ 2 : ลดอุณหภูมิน้ําระบายความรอนลง
คําตอบ 3 : เพิ่มอุณหภูมิน้ําเย็นใหสูงขึ้น

่ า ย

คําตอบ 4 : เดินทอน้ํายาใหสั้นเทาที่จะทําได

ขอที่ : 385

จ ำ ห

เกณฑการออกแบบเพื่อการอนุรักษพลังงานกําหนดคาความชื้นสัมพัทธต่ําสุดในการออกแบบสําหรับสภาวะภายในอาคารไวที่เทาไร

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 55 % RH
คําตอบ 2 : 50 % RH
คําตอบ 3 : 45 % RH

ิท
คําตอบ 4 : 40 % RH

นส

ขอที่ : 386


ตามเกณฑขอกําหนดในการออกแบบเพื่อการอนุรักษพลังงานระบุไววาเครื่องทําน้ําเย็นควรจะมีอยางนอย 2 ชุดเมื่อขนาดของการทําความเย็นมากกวาเทาไร
คําตอบ 1 : 400 kW

อ ส

คําตอบ 2 : 450 kW

กร
คําตอบ 3 : 500 kW


คําตอบ 4 : 600 kW

ขอที่ : 387

าว ศ


เครื่องทําน้ําเย็นแบบหอยโขงแบบระบายความรอนดวยน้ํา ขนาดการทําความเย็น 1,000 ตันความเย็น ตองมีคากิโลวัตตตอตันความเย็นไมเกินเทาใดเพื่อใหผานเกณฑตามที่กําหนด


ใน พ.ร.บ.การสงเสริมการอนุรักษพลังงาน
คําตอบ 1 : 0.7 กิโลวัตตตอตันความเย็น
คําตอบ 2 : 0.8 กิโลวัตตตอตันความเย็น
คําตอบ 3 : 0.9 กิโลวัตตตอตันความเย็น
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

97 of 101
ขอที่ : 388
คาการถายโอนความรอนรวบยอด (OTTV) และคาการถายโอนความรอนของหลังคา (RTTV) ขั้นต่ําสําหรับอาคารสรางใหมตองไมเกินเทาใด
คําตอบ 1 : OTTV = 45 และ RTTV= 25 วัตตตอตารางเมตร
คําตอบ 2 : OTTV = 25 และ RTTV= 45 วัตตตอตารางเมตร
คําตอบ 3 : OTTV = 30 และ RTTV= 20 วัตตตอตารางเมตร
คําตอบ 4 : OTTV = 20 และ RTTV= 30 วัตตตอตารางเมตร

่ า ย
ขอที่ : 389


เครื่องปรับอากาศที่ไดรับฉลากประหยัดไฟเบอร 5 ตองมีประสิทธิภาพการใหความเย็น (EER) ไมนอยกวาเทาใด


คําตอบ 1 : 7.6

จ ำ
คําตอบ 2 : 8.6


คําตอบ 3 : 9.6

า้
คําตอบ 4 : 10.6

ขอที่ : 390
ิธ์ ห
ิท
อาคารใด เขาขายเปนอาคารควบคุม ตาม พ.ร.บ. การสงเสริมการอนุรักษพลังงาน


คําตอบ 1 : อาคารที่มีพื้นที่ขนาด 10,000 ตารางเมตรขึ้นไป

ว น
คําตอบ 2 : อาคารที่ติดตั้งหมอแปลงขนาด 1,175 kVA ขึ้นไป


คําตอบ 3 : อาคารที่ติดเครื่องปรับอากาศรวม 500 ตันขึ้นไป


คําตอบ 4 : อาคารที่เปดใชงานหลังเดือนธันวาคม พ.ศ. 2538

ขอ
กร
ขอที่ : 391


ตาม พ.ร.บ. การสงเสริมการอนุรักษพลังงาน มีการออกกฎกระทรวง บัญญัติใหอาคารควบคุมตองติดตั้งเครื่องปรับอากาศที่มีมาตรฐานประสิทธิภาพพลังงานตามที่กําหนดไว ขอใดตอ



ไปนี้ปฏิบัติไดอยางถูกตอง

าว
คําตอบ 1 : ติดตั้งเครื่องทําน้ําเย็นแบบเกลียว ระบายความรอนดวยน้ํา (Water- Cooled Screw Chiller) ขนาด 150 ตันความเย็น กินไฟ 0.75 กิโลวัตตตอตันความเย็น


คําตอบ 2 : ติดตั้งเครื่องทําน้ําเย็นแบบหอยโขง ระบายความรอนดวยน้ํา (Water-Cooled Centrifugal Chiller) ขนาด 300 ตันความเย็น กินไฟ 0.75 กิโลวัตตตอตันความเย็น


คําตอบ 3 : ติดตั้งเครื่องทําน้ําเย็นแบบลูกสูบ ระบายความรอนดวยอากาศ (Air-Cooled Reciprocating Chiller) ขนาด 100 ตันความเย็น กินไฟ 1.20 กิโลวัตตตอตันความเย็น
คําตอบ 4 : ติดตั้งเครื่องปรับอากาศแยกสวน ระบายความดวยอากาศ (Air-Cooled Split Type Air-Conditioner) ขนาด 2 ตันความเย็น กินไฟ 1.50 กิโลวัตตตอตันความเย็น

ขอที่ : 392
การสงผานความรอนในรูปแบบของการแผรังสี ใชวิธีใด
คําตอบ 1 : การสะทอนความรอน
98 of 101
คําตอบ 2 : การสงถายมวลความรอน
คําตอบ 3 : การสงพลังงานคลื่นแมเหล็กไฟฟา
คําตอบ 4 : การพาความรอน

ขอที่ : 393
สภาวะอากาศนาสบายขึ้นกับปจจัยที่สําคัญอะไรบาง
คําตอบ 1 : อุณหภูมิ
คําตอบ 2 : ความชื้น
คําตอบ 3 : อุณหภูมิและความชื้น

่ า ย

คําตอบ 4 : อุณหภูมิ ความชื้น ความเร็วลม การหมุนเวียนอากาศ อุณหภูมิจากการแผรังสี คุณภาพอากาศ

ขอที่ : 394

จ ำ ห

อุณหภูมิจากการแผรังสีความรอน (Mean Radiant Temperature – MRT) คืออะไร

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : เปนอุณหภูมิที่วัดไดดวยเทอรโมมิเตอรปกติ
คําตอบ 2 : เปนอุณหภูมิที่วัดที่ผิวกระจกหรือผนังอาคาร
คําตอบ 3 : เปนอุณหภูมิที่รูสึกไดที่เกิดจากผลของการแผรังสีความรอน เชน จากความเขมของแสงแดด

ิท
คําตอบ 4 : เปนอุณหภูมิที่รูสึกไดที่เกิดจากผลของการแผรังสีความรอน เชน จากผิวของกระจกหรือหลังคาที่รอน

นส

ขอที่ : 395


การทําความเย็นแบบจายพื้นที่กวาง (District Cooling) ชวยในการประหยัดพลังงานอยางไร
คําตอบ 1 :

อ ส
เปนระบบที่ใชหลักการเฉลี่ยภาระ(Load Sharing)


คําตอบ 2 : ในกรณีที่มีลักษณะการใชงานตางเวลา(Mixed Use) ทําใหสามารถลดขนาดระบบทําความเย็น

กร
คําตอบ 3 : เหมาะกับกลุมอาคารที่อยูหางๆกัน


คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2

ขอที่ : 396

าว ศ


เครื่องปรับอากาศแบบแยกสวน (Split Type) เหมาะกับอาคารสํานักงานขนาดใหญหรือไม


คําตอบ 1 : เหมาะ หากเลือกใชเครื่องปรับอากาศเบอร 5 หรือ 6
คําตอบ 2 : เหมาะ เพราะสามารถปดเปดไดโดยอิสระ
คําตอบ 3 : ไมเหมาะ เพราะไมมีการเฉลี่ยภาระ (Load Sharing)
คําตอบ 4 : ไมเหมาะ เพราะคาติดตั้งระบบสูงกวาระบบอื่น

ขอที่ : 397 99 of 101


เหตุใด เครื่องปรับอากาศชนิดระบายความรอนดวยน้ําประหยัดไฟมากกวาชนิดระบายความรอนดวยอากาศ
คําตอบ 1 : การระบายความรอนดวยน้ําโดยทั่วไปมีประสิทธิภาพโดยรวมมากกวา โดยเฉพาะอยางยิ่งสําหรับระบบปรับอากาศตั้งแตขนาดกลางขึ้นไป
คําตอบ 2 : การระบายความรอนดวยอากาศทําใหอากาศโดยรอบอาคารรอนขึ้น
คําตอบ 3 : ไมแน เพราะการระบายความรอนดวยน้ําตองเปลืองไฟและน้ําเติมสําหรับระบบน้ําระบายความรอน
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2

ขอที่ : 398

่ า ย
เหตุใดจึงไมควรติดตั้งพัดลมระบายอากาศในหองปรับอากาศทั่วไป


คําตอบ 1 : พัดลมระบายอากาศมักจะมีขนาดใหญเกินไป


คําตอบ 2 : ทําใหสภาพความดันในหองเปนลบ

จ ำ
คําตอบ 3 : หองปรับอากาศในปจจุบัน หามไมใหมีการสูบบุหรี่แลว จึงไมมีความจําเปนอีกตอไป


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 399
ประโยชนของระบบการทําความเย็นแบบจายพื้นที่กวาง (District Cooling) ตอสวนรวมคืออะไร

ิท
คําตอบ 1 : ชวยลดความตองการไฟฟาของโครงการ


คําตอบ 2 : ชวยลดความจําเปนในการสรางโรงไฟฟาและระบบสง

ว น
คําตอบ 3 : ชวยลดการนําเขาของอุปกรณการทําความเย็น


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

อ ส

ขอที่ : 400

กร
การประหยัดพลังงานในระบบปรับอากาศวิธีไหนไดผลดีมากที่สุด


คําตอบ 1 : ปดเครื่องปรับอากาศตอนพักเที่ยง



คําตอบ 2 : เลือกใชเครื่องปรับอากาศเบอร 5

าว
คําตอบ 3 : ลดภาระการปรับอากาศ


คําตอบ 4 : ใชเครื่องปรับอากาศแบบแยกสวน (Split Type)

ขอที่ : 401

เครื่องปรับอากาศชนิดใดมีประสิทธิภาพสูงสุด
คําตอบ 1 : เครื่องปรับอากาศแบบแยกสวน ระบายความรอนดวยอากาศ (Air-cooled split type air conditioner)
คําตอบ 2 : เครื่องปรับอากาศแบบรวมสวน ระบายความรอนดวยอากาศ (Package air-cooled air conditioner)
คําตอบ 3 : เครื่องทําน้ําเย็น ระบายความรอนดวยน้ํา (Water-cooled chiller)
100 of 101
คําตอบ 4 : เครื่องปรับอากาศแบบตัดหนาตาง (Window type air conditioner)
ขอที่ : 402
ขอใดถูกตองที่สุด สําหรับการประหยัดพลังงาน
คําตอบ 1 : เมื่อเริ่มเปดเครื่องปรับอากาศในบาน ควรปรับเทอรโมสตัทที่อุณหภูมิ 23 องศาเซลเซียส และปรับความเร็วพัดลมระดับต่ํา
คําตอบ 2 : เมื่อเริ่มเปดเครื่องปรับอากาศในบาน ควรปรับเทอรโมสตัทที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส และปรับความเร็วพัดลมระดับสูง
คําตอบ 3 : ควรถอดแผงกรองอากาศของเครื่องปรับอากาศมาทําความสะอาด อยางนอย ปละ 1ครั้ง


คําตอบ 4 : ควรเลือกเครื่องปรับอากาศใหใหญกวาความตองการ จะไดกินไฟนอยๆ

น่ า

ขอที่ : 403


ถาตองการเครื่องปรับอากาศมีประสิทธิภาพการใหความเย็น (EER) อยางนอย 12 อยากทราบวาเครื่องปรับอากาศในขอใดเปนไปตามขอกําหนดนี้
คําตอบ 1 : เครื่องปรับอากาศ A มีสมรรถนะการทําความเย็น (COP) = 4.0

มจ
า้
คําตอบ 2 : เครื่องปรับอากาศ B สามารถรับภาระสูงสุดได 12000 บีทีย/ู ชั่วโมง และระบายความรอน 15000 บีทีย/ู ชั่วโมง

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : เครื่องปรับอากาศ C สามารถรับภาระสูงสุดได 24000 บีทีย/ู ชั่วโมง และใชกําลังไฟฟา 1760 กิโลวัตต
คําตอบ 4 : เปนไปตามขอกําหนดทุกขอ

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

101 of 101
สาขา: เครื่องกล วิชา: ME71 Heat Transfer

ขอที่ : 1
จงหาความตานทานเชิงความรอน (Conductive Resistance) ของผนังแผนอิฐที่มีความหนา 15 เซนติเมตร กวาง 2 เมตรและสูง 3 เมตร กําหนดใหคาสัมประสิทธิ์การนําความรอน
(Thermal Conductivity) ของอิฐมีคาเทากับ 0.72 W/m.K
คําตอบ 1 : 28.0 K/W

่ า ย
คําตอบ 2 : 55.56 K/W


คําตอบ 3 : 0.0347 K/W


คําตอบ 4 : 0.0180 K/W

จ ำ

ขอที่ : 2

า้
จงหาความตานทานเชิงความรอน (Conductive Resistance) ของฉนวนหุมทอไฟเบอรกลาส ที่มีคาสัมประสิทธิ์การนําความรอน (Thermal Conductivity) คาเทากับ 0.038

ิธ์ ห
W/m.K โดยที่ฉนวนหนา 2.5 เซนติเมตร ถูกนําไปหุมทอขนาดเสนผานศูนยกลาง 38 เซนติเมตร ยาว 1.5 เมตร
คําตอบ 1 : 0.3452 K/W

ิท
คําตอบ 2 : 0.1500 K/W


คําตอบ 3 : 0.3939K/W


คําตอบ 4 : 0.5072 K/W

ง ว

ขอที่ : 3


จงหาความตานทานเชิงความรอน (Conductive Resistance) ของทรงกลมกลวงรัศมีภายใน 3 เมตร ทําจากเหล็กกลา หนา 5 เซนติเมตร กําหนดใหคาสัมประสิทธิ์การนําความรอน

กร ข
(Thermal Conductivity) ของเหล็กกลามีคาเทากับ 58.7 W/m.K


คําตอบ 1 :

าว ศ


คําตอบ 2 :


คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

1 of 189

ขอที่ : 4
จงหาความตานทานเชิงความรอน (Conductive Resistance) ของผนังแผนไมที่มีความหนา 7.5 เซนติเมตร กวาง 10 เมตรและสูง 3 เมตร กําหนดใหคาสัมประสิทธิ์การนําความรอน
(Thermal Conductivity) ของแผนไมมีคาเทากับ 0.16 W/m.K
คําตอบ 1 : 25.0 K/W
คําตอบ 2 : 0.0004 K/W
คําตอบ 3 : 64 K/W
คําตอบ 4 : 0.0156 K/W

่ า ย

ขอที่ : 5


จงหาความตานทานเชิงความรอน (Conductive Resistance) ของฉนวนหุมโพลีไวนีล ที่มีคาสัมประสิทธิ์การนําความรอน (Thermal Conductivity) เทากับ 0.01 W/m.K โดยที่


ฉนวนที่หนา 3 เซนติเมตร ถูกนําไปหุมทอขนาดรัศมี 12 เซนติเมตร ยาว 15 เมตร


คําตอบ 1 :


0.237 K/W

า้
คําตอบ 2 : 0.547 K/W

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : 0.103 K/W
คําตอบ 4 : 0.178 K/W

ขอที่ : 6

ส ิท

จงหาความตานทานเชิงความรอน (Conductive Resistance) ของทรงกลมกลวงเสนผานศูนยกลางภายใน 3เมตร ทําจากอลูมิเนียมหนา 3 เซนติเมตร กําหนดใหคาสัมประสิทธิ์การ


นําความรอน (Thermal Conductivity) ของอลูมิเนียมมีคาเทากับ 240 W/m.K

ส ง

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 3 :


คําตอบ 4 :

ขอที่ : 7

2 of 189
่ า ย

คําตอบ 1 :


27.13

คําตอบ 2 :

จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 3 :

ิท
คําตอบ 4 :

นส
ขอที่ :

ง ว

8

ขอ
ว กร
าว ศ

ส ภ
คําตอบ 1 :
5.90

คําตอบ 2 :
3 of 189
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ :


9

น่ า
จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 1.67 W 1.67

ิท
คําตอบ 2 : 6.03 W


คําตอบ 3 : 1.81 W


คําตอบ 4 : 18.1 W

ง ว

ขอที่ : 10

ขอ
ว กร
าว ศ

ส ภ
คําตอบ 1 : 46 W 46
คําตอบ 2 : 0.046 W
คําตอบ 3 : 0.46 W 4 of 189

คําตอบ 4 : 4.6 W
ขอที่ : 11
จงหาอัตราความรอนที่ถายเทผานผนังแผนอิฐในสภาวะคงตัว สําหรับอิฐที่มีความหนา 15 เซนติเมตร กวาง 2 เมตรและสูง 3 เมตร กําหนดใหคาสัมประสิทธิ์การนําความรอนของอิฐมี
คาเทากับ 0.72 W/m.K และความแตกตางอุณหภูมิของผนังทั้งสองดานมีคาเปน 10 K
คําตอบ 1 : 0.3571 W
คําตอบ 2 : 0.17998 W


คําตอบ 3 : 288.2 W

่ า
คําตอบ 4 : 555.5 W

หน

ขอที่ : 12


จงหาอัตราความรอนที่ถายเทผานฉนวนหุมทอไฟเบอรกลาสในสภาวะคงตัว ฉนวนหุมทอไฟเบอรกลาส(k มีคาเทากับ 0.038 W/m.K) มีความหนา 2.5 เซนติเมตร ถูกนําไปหุมทอ

า้ ม
ขนาดเสนผานศูนยกลาง 38 เซนติเมตร ยาว 1.5 เมตรและความแตกตางอุณหภูมิของผนังทั้งสองดานมีคาเปน 10 K

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 28.968 W
คําตอบ 2 : 66.667 W
คําตอบ 3 : 25.387 W

ิท
คําตอบ 4 : 19.716 W

นส

ขอที่ :


13


จงหาอัตราความรอนที่ถายเทผานผนังแผนไมที่มีความหนา 7.5 เซนติเมตร กวาง 10 เมตรและสูง 3 เมตรในสภาวะคงตัว กําหนดใหคาสัมประสิทธิ์การนําความรอนของแผนไมมีคา


เทากับ 0.16 W/m.Kและความแตกตางอุณหภูมิของผนังทั้งสองดานมีคาเปน 5 K


คําตอบ 1 : 0.2 W

กร
คําตอบ 2 : 515.2 W


คําตอบ 3 : 0.0781 W



คําตอบ 4 : 320.512 W

ขอที่ : 14

ภ าว

5 of 189
คําตอบ 1 :
240

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

่ า ย
คําตอบ 4 :

หน
จ ำ
ขอที่ : 15

า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น

คําตอบ 1 :
240

ขอ
กร
คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :


ิ ว
คําตอบ 4 :

ภ าว
ขอที่ : 16

6 of 189

คําตอบ 1 : 23.6 เซนติเมตร

่ า
23.6


คําตอบ 2 : 15.5 เซนติเมตร


คําตอบ 3 : 5.16 เซนติเมตร


คําตอบ 4 : 2.00 เซนติเมตร

มจ
า้
ขอที่ : 17

ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส

คําตอบ 1 : 177 W

กร
177
คําตอบ 2 : 44.3 W


คําตอบ 3 : 118 W



คําตอบ 4 : 56.2 W

ขอที่ : 18

ภ าว

7 of 189
คําตอบ 1 : นอยกวา 8 เซนติเมตร 8
คําตอบ 2 : นอยกวา 5.8 เซนติเมตร
คําตอบ 3 : นอยกวา 17 เซนติเมตร
คําตอบ 4 : นอยกวา 34 เซนติเมตร

ขอที่ : 19

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท

คําตอบ 1 :


29.3

คําตอบ 2 :

ส ง
ขอ
กร
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :


ิ ว
ภ าว

ขอที่ : 20

8 of 189
คําตอบ 1 : 10.10 W 10.10

่ า ย

คําตอบ 2 : 69.73 W

ำ ห
คําตอบ 3 : 13.81 W


คําตอบ 4 : 17.00 W

า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 21
ณ ที่อุณหภูมิหอง วัตถุประเภทใดมีคาสัมประสิทธิ์การนําความรอน (Thermal Conductivity) ดีที่สุด
คําตอบ 1 : เหล็ก

ิท
คําตอบ 2 : อลูมิเนียม
คําตอบ 3 : เงิน

นส

คําตอบ 4 : ทองแดง

ส ง

ขอที่ : 22


สําหรับการนําความรอนในกรณีผนังราบหลายชั้น เรามักพบวาการกระจายของอุณหภูมิผานผิวรอยตอของวัตถุสองชิ้นที่มาประกอบกัน จะมีการตกของอุณหภูมิ (Temperature Drop)

กร
ขึ้น การสูญเสียนี้เปนผลมาจาก Thermal contact resistance ขอใดกลาวผิดเกี่ยวกับ Thermal contact resistance


คําตอบ 1 : Thermal contact resistance ที่ผิวรอยตอขึ้นอยูกับ ความดัน และอุณหภูมิที่ผิวรอยตอ



คําตอบ 2 : การทําผิวใหเรียบไมมีผลตอการลดคา Thermal contact resistance เนื่องจากผิวที่ขรุขะสงผลตอการนําความรอนที่ดีกวา

าว
คําตอบ 3 : Thermal contact resistance ที่ผิวรอยตอสามารถลดไดดวยการใชสารเพิ่มการนําความรอนทาที่ผิวรอยตอ


คําตอบ 4 : การถายเทความรอนที่ผิวรอยตอจะเกิดเฉพาะการนําความรอนเปนสวนใหญ

ขอที่ : 23

ผนังเตาในงานอุตสาหกรรมแหงหนึ่งทําดวยอิฐที่มีคาสัมประสิทธิ์การนําความรอน (k) = 1.7 W/m.K โดยที่อิฐหนา 0.15 เมตร อยูภายใตสภาวะคงตัว อุณหภูมิภายนอกและภายใน
ของผนังสามารถวัดไดเปน 1400 K และ 1150 K จงคํานวณหาอัตราการสูญเสียความรอนที่ผานผนัง ซึ่งมีพื้นที่หนาตัด 1.5 ตารางเมตร
คําตอบ 1 : 2,833 W
คําตอบ 2 : 3,755 W
9 of 189
คําตอบ 3 : 4,250 W
คําตอบ 4 : 5,125 W

ขอที่ : 24

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 : 190.18 W
190.18
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 2 : 74.38 W


คําตอบ 3 : 254.78 W


คําตอบ 4 :


126.18 W

ขอที่ :

ส ง

25

กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 5.45 เซนติเมตร 5.45
คําตอบ 2 : 2.42 เซนติเมตร
คําตอบ 3 : 3.63 เซนติเมตร
คําตอบ 4 : 4.88 เซนติเมตร 10 of 189
ขอที่ : 26
ที่สภาวะคงตัว มีความรอนไหลผานผนังบานดานหนึ่งขนาด 100 วัตตตอตารางเมตร และอากาศในหองมีอุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ทําการวัดอุณหภูมิที่ผนังหองฝงในบานพบวามี
อุณหภูมิ 29 องศาเซลเซียส จงหาคาสัมประสิทธิ์การพาความรอน (h) ของฝงผนังหอง

คําตอบ 1 :

่ า ย
คําตอบ 2 :

หน

คําตอบ 3 :

มจ
า้
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 27
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
754.10

คําตอบ 2 :
11 of 189
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 28

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข
คําตอบ 1 :


ิ ว
11.19

คําตอบ 2 :

ภ าว

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

12 of 189
ขอที่ : 29
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น

20 ซม. 20
คําตอบ 1 :

22 ซม.

ขอ
กร
คําตอบ 2 :


40 ซม.
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

าว
26.2 ซม.


ขอที่ : 30
ส ภ
13 of 189
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
32.5 องศาเซลเซียส
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 1 : 32.5


37.5 องศาเซลเซียส


คําตอบ 2 :

ง ว
39.5 องศาเซลเซียส
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :
42.5 องศาเซลเซียส

อ ส
กร ข

ขอที่ : 31

าว ศ

ส ภ
14 of 189
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
46.4 องศาเซลเซียส 46.4
คําตอบ 1 :

42.4 องศาเซลเซียส

ิท
คําตอบ 2 :


40.4 องศาเซลเซียส


คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :
38.4 องศาเซลเซียส

ง ว
อ ส
ขอที่ : 32

กร ข

ิ ว
ภ าว

15 of 189
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
40.50 องศาเซลเซียส
คําตอบ 1 : 40.50

50.89 องศาเซลเซียส
คําตอบ 2 :

62 องศาเซลเซียส

ส ิท

คําตอบ 3 :

ง ว
105.35 องศาเซลเซียส
คําตอบ 4 :

อ ส
กร ข
ขอที่ : 33


ิ ว
ภ าว

16 of 189
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 38.82 W/m 38.82
คําตอบ 2 : 52.66 W/m

ิท
คําตอบ 3 : 77.77 W/m


คําตอบ 4 : 106.93 W/m

ขอที่ :

ง ว น

34

ขอ
ว กร
าว ศ

ส ภ
คําตอบ 1 : 70.77 W/m 17 of 189
70.77
คําตอบ 2 : 72.66 W/m
คําตอบ 3 : 87.77 W/m
คําตอบ 4 : 106.93 W/m

ขอที่ : 35

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 : 2.23 W 2.23

ง ว น

คําตอบ 2 : 22.3 W


คําตอบ 3 : 87.77 W


คําตอบ 4 :

กร
0.11 W


ขอที่ :



36

ภ าว

18 of 189
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 0.34 0.34
คําตอบ 2 : 0.54

ิท
คําตอบ 3 : 3.44


คําตอบ 4 : 5.40

ขอที่ : 37

ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
34.39 J
275.1 kJ
34.39

คําตอบ 3 : 34.39 kJ
คําตอบ 4 : 24.35 J

19 of 189
ขอที่ : 38
่ า ย

คําตอบ 1 :


34.39 W 34.39


คําตอบ 2 : 275.1 kW


คําตอบ 3 : 34.39 kW


คําตอบ 4 :

า้
24.35 W

ิธ์ ห
ขอที่ : 39

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 : 465.9 kJ 465.9


คําตอบ 2 : 116.5 kJ


คําตอบ 3 : 465.9 J
คําตอบ 4 : 687.2 J

ขอที่ : 40

20 of 189
่ า ย
หน

คําตอบ 1 :


687.2 W 687.2


คําตอบ 2 : 465.9 kW

า้
คําตอบ 3 : 4116.5 kW

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : 1374 W

ิท
ขอที่ : 41

นส
ง ว
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
2.396

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

21 of 189
คําตอบ 4 :
ขอที่ : 42

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :
2.396

ิท
คําตอบ 2 :

นส
ง ว
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

อ ส
กร ข

ขอที่ :



43

ภ าว

0.0009 K/W.m 0.0009
คําตอบ 1 :

5.73 K/W.m
คําตอบ 2 : 22 of 189
175 K/W.m
คําตอบ 3 :

0.000141 K/W.m
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 44

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 1 :


2.7 W 2.7


คําตอบ 2 : 26.6 W


คําตอบ 3 : 265.8 W


คําตอบ 4 :


2658 W

ขอที่ :

ขอ
กร
45


ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : ลดลงรอยละ 98.3 98.3
คําตอบ 2 : ลดลงรอยละ 50
คําตอบ 3 : ลดลงรอยละ 2.6
คําตอบ 4 : ลดลงรอยละ 1.3 23 of 189
ขอที่ : 46

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท

คําตอบ 1 : 0.09

ง ว

คําตอบ 2 :

ขอ
กร
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :


ิ ว
ภ าว

ขอที่ : 47

24 of 189
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ว น
คําตอบ 1 : 18

ส ง

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 48
ส ภ
25 of 189
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :

ส ิท

50

คําตอบ 2 :

ง ว
อ ส

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ว กร
าว ศ


ขอที่ : 49


การถายเทความรอนผานกําแพงที่กั้นระหวางแหลงความรอนที่มีอุณหภูมิแตกตางกันสองแหลงในขอใด ที่สามารถสมมุติใหเปนการถายเทความรอนดวยการนําในมิติเดียวไดอยาง
เหมาะสมมากที่สุด
คําตอบ 1 : กําแพง ที่มีหนามากเมื่อเทียบกับความสูงและความกวาง
คําตอบ 2 : กําแพง ที่สูงมากเมื่อเทียบกับความกวางและความหนา
คําตอบ 3 : กําแพง ที่กวางมากเมื่อเทียบกับความกวางและความหนา
คําตอบ 4 : กําแพงที่หนานอยเมื่อเทียบกับความสูงและความกวาง
26 of 189

ขอที่ : 50
การถายเทความรอนจากของไหลภายในทอไปสูบรรยากาศนอกทอที่มีอุณหภูมิต่ํากวาในขอใด ที่มีความเหมาะสมในการสมมุติใหเปนการถายเทความรอนดวยการนําในหนึ่งมิติมากที่
สุด
คําตอบ 1 : ทอเสนผานศูนยกลางภายใน 0.2 เมตร ยาว 10 เมตร บรรจุน้ํารอนไหลภายใน
คําตอบ 2 : ทอเสนผานศูนยกลางภายใน 0.2 เมตร ยาว 10 เมตร บรรจุน้ําเย็นไหลภายใน
คําตอบ 3 : ทอเสนผานศูนยกลางภายใน 0.2 เมตร ยาว 10 เมตร บรรจุไอน้ําอิ่มตัวไหลภายใน
คําตอบ 4 : ทอเสนผานศูนยกลางภายใน 0.2 เมตร ยาว 1 เมตร บรรจุไอน้ําอิ่มตัวไหลภายใน

่ า ย

ขอที่ : 51


การถายเทความรอนจากของไหลที่มีอุณหภูมิสูง ภายในภาชนะทรงกลมไปสูบรรยากาศภายนอกที่มีอุณหภูมิต่ํากวาในขอใด ที่มีความเหมาะสมในการสมมุติใหเปนการถายเทความรอน


ดวยการนําในหนึ่งมิติมากที่สุด


คําตอบ 1 : ทรงกลมที่หนานอยๆ เมื่อเทียบกับ เสนผานศูนยกลางภายใน โดยมีลมธรรมชาติพัดความเร็วต่ําระบายความรอนอยูภายนอก

า้ ม
คําตอบ 2 : ทรงกลมที่หนานอยๆ เมื่อเทียบกับ เสนผานศูนยกลางภายใน โดยมีพัดลมเปาประทะทรงกลมระบายความรอนอยูภายนอก

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : ทรงกลมที่หนานอยๆ เมื่อเทียบกับ เสนผานศูนยกลางภายใน โดยทรงกลมถูกจุมมิดอยูในน้ํามัน
คําตอบ 4 : ทรงกลมที่หนามากๆ เมื่อเทียบกับ เสนผานศูนยกลางภายใน

ส ิท
ขอที่ : 52


คําตอบในขอใดเรียงลําดับตามคาสัมประสทธิ์การนําความรอนของวัสดุจากนอยไปหามาก ณ อุณหภูมิหอง ไดอยางถูกตอง


คําตอบ 1 : ตะกั่ว เหล็ก อลูมิเนียม เงิน
คําตอบ 2 : เงิน อลูมิเนียม เหล็ก ตะกั่ว

ส ง

คําตอบ 3 : เงิน เหล็ก อลูมิเนียม ตะกั่ว


คําตอบ 4 : ตะกั่ว อลูมิเนียม เหล็ก เงิน

ขอที่ :

ว กร


53

ภ าว

27 of 189
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 108 W 108
คําตอบ 2 : 4.32 W
คําตอบ 3 : 108,000 W

ิท
คําตอบ 4 : 4,320 W

นส

ขอที่ :


54

อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 3.888 W 3.888
คําตอบ 2 : 38.88 kW 28 of 189

คําตอบ 3 : 3.888 kW
คําตอบ 4 : 3,888 W

ขอที่ : 55

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 :
108

ง ว น
อ ส

คําตอบ 2 :

ว กร


คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ภ าว
ขอที่ : 56

29 of 189
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :
4.32

ิท
คําตอบ 2 :

นส
ง ว
คําตอบ 3 :

อ ส

คําตอบ 4 :

ว กร


ขอที่ : 57

ภ าว

30 of 189
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 : 3.33
ิธ์ ห
ส ิท
ว น
คําตอบ 2 :

ส ง

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

กร ข

ิ ว
าว
ขอที่ : 58

ส ภ
31 of 189
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 3.347

คําตอบ 2 :

ส ิท
คําตอบ 3 :

ง ว น
อ ส

คําตอบ 4 :

ว กร


ขอที่ : 59

ภ าว

32 of 189
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :
106.5

คําตอบ 2 :

ส ิท
คําตอบ 3 :

ง ว น
อ ส

คําตอบ 4 :

ว กร


ขอที่ : 60

ภ าว

33 of 189
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 106.5

คําตอบ 2 :

ส ิท
คําตอบ 3 :

ง ว น
อ ส

คําตอบ 4 :

ว กร


ขอที่ : 61

ภ าว

34 of 189
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :
3.33
คําตอบ 2 :

ส ิท
คําตอบ 3 :

ง ว น
อ ส

คําตอบ 4 :

ว กร


ขอที่ : 62

ภ าว

35 of 189
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 7.056

คําตอบ 2 :

ส ิท
คําตอบ 3 :

ง ว น
อ ส

คําตอบ 4 :

ว กร


ขอที่ : 63

ภ าว

36 of 189
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 8,143 kW 8143
คําตอบ 2 : 81.43 W

ิท
คําตอบ 3 : 8.143 kW


คําตอบ 4 : 8.143 W

ขอที่ :

ง ว น

64

ขอ
ว กร
าว ศ

ส ภ
37 of 189
คําตอบ 1 :
8143

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

่ า ย

คําตอบ 4 :

ขอที่ :

จ ำ ห

65

า้
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 :


1.152


คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :
38 of 189
ขอที่ : 66

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ิท
115.2 kW
คําตอบ 1 : 115.2

7,152 kW

นส

คําตอบ 2 :

ส ง
1.152 kW
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :
7.125 kW

ขอ
ว กร


ขอที่ : 67

ภ าว

39 of 189
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 :
ิธ์ ห
ิท
226.8

คําตอบ 2 :

นส
ง ว

คําตอบ 3 :

ขอ
กร
คําตอบ 4 :


ิ ว
าว
ขอที่ : 68

ส ภ
40 of 189
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 1 : 226.8

คําตอบ 2 :

นส
ง ว

คําตอบ 3 :

ขอ
กร
คําตอบ 4 :


ิ ว
าว
ขอที่ : 69

ส ภ
41 of 189
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 31.5 kW 31.5

ส ิท

คําตอบ 2 : 36.5 kW


คําตอบ 3 :


38.5 kW


คําตอบ 4 : 115.5 kW

ขอ
กร
ขอที่ : 70


ิ ว
ภ าว

42 of 189
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 121 W/m 121
คําตอบ 2 : 603 W/m

ิท
คําตอบ 3 : 757 W/m


คําตอบ 4 :


6022 W/m

ง ว

ขอที่ : 71

ขอ
ว กร
าว ศ


คําตอบ 1 :ภ 559.5 kW 559.5

144.1kW
คําตอบ 2 :

14.4 kW
คําตอบ 3 :
43 of 189
138.5 kW
คําตอบ 4 :
ขอที่ : 72

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 :

ง ว น

30


คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 73

ส ภ
44 of 189
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 :
ิธ์ ห
ิท
14.41 W/m 14.41


คําตอบ 2 : 13.45 W/m


คําตอบ 3 : 5.36 W/m


คําตอบ 4 :


1.36 W/m

ขอที่ : 74

อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
489 W
516 W
489

คําตอบ 3 : 849 W
คําตอบ 4 : 960 W
45 of 189

ขอที่ : 75
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 40 W 40

ส ิท

คําตอบ 2 : 46.2 W

ง ว
คําตอบ 3 : 80 W


คําตอบ 4 : 92.3 W

ขอ
กร
ขอที่ : 76


ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
35 46 of 189

คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

่ า ย
ขอที่ : 77

หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข
คําตอบ 1 :


ิ ว
าว
775.7


คําตอบ 2 :


คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 78 47 of 189
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 :
ิธ์ ห
ิท
36.6

นส
คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

ง ว
อ ส

คําตอบ 4 :

ว กร


ขอที่ : 79

ภ าว

48 of 189
500

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 :

ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 2 :

ส ภ
คําตอบ 3 :

49 of 189
่ า ย
หน
จ ำ
คําตอบ 4 :

า้ ม
ิธ์ ห
ิท
ขอที่ : 80

นส
ง ว
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
1.86 W/m.K
0.019 W/m.K
16.08 W/m.K
1.86

คําตอบ 4 : 0.062 W/m.K

ขอที่ : 81 50 of 189
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 :
ิธ์ ห
ิท
Fin Efficiency

นส

คําตอบ 2 :

ส ง

คําตอบ 3 :

กร ข

คําตอบ 4 :

าว ศ

ขอที่ : 82

ส ภ
51 of 189
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 :
ิธ์ ห
ิท
Fin Effectiveness

นส

คําตอบ 2 :

ส ง
ขอ
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ว กร
าว ศ

ขอที่ : 83

ส ภ
52 of 189
25 mm.
คําตอบ 1 : 25

22.5 mm.
คําตอบ 2 :

17.5 mm.
คําตอบ 3 :


12.5 mm.
คําตอบ 4 :

น่ า
ำ ห
ขอที่ : 84

มจ
า้
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
443.70

คําตอบ 2 :

53 of 189
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :


ขอที่ : 85

น่ า
จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
คําตอบ 1 :

ภ าว

26.1

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 : 54 of 189
ขอที่ : 86
ขอใดเปนสมการการนําความรอนของฟูเรียร (Fourier equation) ที่ถูกตองที่สุด Fourier equation

คําตอบ 1 :

่ า ย
หน
คําตอบ 2 :

จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 3 :

นส
ง ว

คําตอบ 4 :

ขอ
ขอที่ : 87

ว กร


การถายเทความรอนแบบนําความรอน เปนการศึกษาถึงการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิภายในตัวกลาง (medium) ดังนั้น ตัวกลางใดที่เกิดการนําความรอนไดคอนขางยาก

าว
คําตอบ 1 : อิฐบลอก


คําตอบ 2 : ผนังไม


คําตอบ 3 : ผนังเหล็ก
คําตอบ 4 : ชองวางอากาศ

ขอที่ : 88
การกระจายตัวของอุณหภูมิภายในตัวกลาง (medium) สําหรับการนําความรอนสามารถ ศึกษาถึงชั้นความหนาของตัวกลางเพื่อหาความตานทานทางความรอนรวม โดยใชหลักการ
เหมือนกับการศึกษาในเรื่องใด
55 of 189
คําตอบ 1 : ปมสูบน้ํา
คําตอบ 2 : การสูญเสีย (Flow loss in pipe)
คําตอบ 3 : ความตานทานทางไฟฟา
คําตอบ 4 : ฉนวนของวัสดุ

ขอที่ : 89
ความรอนที่จายใหกับทอเหล็กจนมีอุณหภูมิสม่ําเสมอตลอดพื้นที่ผิวเรียกวา Heat Flux หรือ ฟลั๊กความรอน มีหนวยตามขอใด

่ า ย

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ส ิท
ง ว น

ขอที่ : 90


วัตต/เมตร.เคลวิน เปนหนวยของคาคุณสมบัติหนึ่งในการศึกษาการนําความรอน หนวยดังกลาวมีชื่อเรียกวาอยางไร

กร ข
คําตอบ 1 : Thermal diffusivity
คําตอบ 2 : Thermal conductivity


คําตอบ 3 :



Thermal expansive

าว
คําตอบ 4 : Thermal heat flux

ขอที่ : 91

ส ภ
56 of 189

คําตอบ 1 : อุณหภูมิดานหลังสูงกวาอุณหภูมิดานหนาของผนังไม
คําตอบ 2 : อุณหภูมิดานหนาสูงกวาอุณหภูมิดานหลังของผนังไม
คําตอบ 3 : อุณหภูมิดานหนาเทากับอุณหภูมิดานหลังของผนังไม
คําตอบ 4 : อุณหภูมิดานหนาเทากับอุณหภูมิของอากาศ

ขอที่ : 92
ขอใดตอไปนี้ไมใชคุณสมบัติทาง Thermophysical Property
คําตอบ 1 : Thermal conductivity

่ า ย

คําตอบ 2 : Specific heat


คําตอบ 3 : Kinematics viscosity

จ ำ
คําตอบ 4 : Thermal diffusivity

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
93
ตามหลักโดยทั่วไปแลววัสดุชนิดใดมีคาสัมประสิทธิ์การนําความรอนสูงที่สุด
คําตอบ 1 : ไม

ิท
คําตอบ 2 : พลาสติก


คําตอบ 3 : นิเกิล

ว น
คําตอบ 4 : เงิน

ส ง

ขอที่ : 94

กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 : One – dimensional conduction
คําตอบ 2 :


One – dimensional transport heat conduction


คําตอบ 3 : Steady – state conditions, with volumetric energy – generation
คําตอบ 4 : One-dimensional steady – state conditions, without volumetric energy – generation

ขอที่ : 95

57 of 189
คําตอบ 1 : Thermal diffusivity


คําตอบ 2 : Thermal expansion

่ า
คําตอบ 3 : Thermal generation


คําตอบ 4 :


Thermal conductivity

ขอที่ :

จ ำ

96

า้
การศึกษาการกระจายตัวอุณหภูมิภายในวัสดุจําเปนตองทราบเงื่อนไขขอบเขต และเงือนไขเริ่มตน (Boundary and Initial Condition ) ขอใดไมใชคุณสมบัติของเงื่อนไขดังกลาว

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : Constant surface temperature
คําตอบ 2 : Constant surface heat flux
คําตอบ 3 :

ิท
Radiation surface condition


คําตอบ 4 : Convection surface condition

ขอที่ : 97

ง ว น
อ ส
กร ข

steady-state conduction

คําตอบ 1 :

าว ศ


คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 : 58 of 189
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 98

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น

thermal resistance

ขอ
กร
คําตอบ 1 :


ิ ว
ภ าว

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :
59 of 189
คําตอบ 4 :

ขอที่ :

่ า ย

99

จ ำ ห
า้ ม
Thermal circuit
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :

ส ิท
ง ว น
คําตอบ 2 :

อ ส
กร ข

คําตอบ 3 :

าว ศ


คําตอบ 4 :


ขอที่ : 100

60 of 189
thermal circuit

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :

ส ิท
คําตอบ 2 :

ง ว น
อ ส
กร ข
คําตอบ 3 :


ิ ว
ภ าว

คําตอบ 4 :

61 of 189
ขอที่ : 101
thermal resistant circuit

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :

ส ิท
คําตอบ 2 :

ง ว น
อ ส
กร ข

คําตอบ 3 :

าว ศ


คําตอบ 4 :

ขอที่ : 102
62 of 189
่ า ย
หน
จ ำ

thermal resistance

า้
คําตอบ 1 :

ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 2 :

นส
ง ว

คําตอบ 3 :

ขอ
กร
คําตอบ 4 :


ิ ว
ขอที่ :

ภ าว

103

63 of 189
่ า ย

ความต้านทานความร้อนรวม

คําตอบ 1 :

จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 :

ส ิท
คําตอบ 3 :

ง ว น
อ ส
กร ข
คําตอบ 4 :


ิ ว
าว
ขอที่ : 104

ส ภ
64 of 189
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 :
ิธ์ ห
ิท
80.28

นส

คําตอบ 2 :

ส ง
ขอ
กร
คําตอบ 3 :


ิ ว
าว
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 105
ส ภ
65 of 189
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :
264.2

ิท
คําตอบ 2 :

นส
ง ว

คําตอบ 3 :

ขอ
กร
คําตอบ 4 :


ิ ว
าว
ขอที่ : 106

ส ภ
66 of 189
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 :
ิธ์ ห
ิท
141.73

นส

คําตอบ 2 :

ส ง
คําตอบ 3 :

ขอ
ว กร


คําตอบ 4 :

ภ าว

ขอที่ : 107

67 of 189
คําตอบ 1 : -9.36 kW -9.36
คําตอบ 2 : -8.36 kW
คําตอบ 3 : -9.46 kW
คําตอบ 4 : -8.46 kW

ขอที่ : 108

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :

ส ิท

6.3

ง ว
คําตอบ 2 :

อ ส
กร ข

คําตอบ 3 :

าว ศ


คําตอบ 4 :

ขอที่ : 109

68 of 189

คําตอบ 1 :
0.5

น่ า
คําตอบ 2 :

จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 3 :

ส ิท
คําตอบ 4 :

ง ว น
อ ส
ขอที่ : 110

กร ข

ิ ว
ภ าว

69 of 189
วงจรความต้านทาน

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 :
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
คําตอบ 2 :

อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 3 :

ส ภ
คําตอบ 4 :

70 of 189
ขอที่ : 111

ความต้านทานความร้อน

่ า ย
หน
จ ำ

คําตอบ 1 :

า้
คําตอบ 2 :
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 3 :

ง ว น
อ ส
กร ข
คําตอบ 4 :


ิ ว
าว
ขอที่ : 112

ส ภ
71 of 189
ผนั งทรงกระบอกกลวง

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :

ส ิท
ว น
คําตอบ 2 :

ส ง
ขอ
กร
คําตอบ 3 :


ิ ว
คําตอบ 4 :

ภ าว
ขอที่ : 113

สมการการนําความรอนของทรงกลมในหนึ่งมิติคือขอใด

72 of 189
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :

่ า ย
คําตอบ 3 :

หน
จ ำ
คําตอบ 4 :

า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 114

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 2.5

คําตอบ 2 :
73 of 189
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

่ า ย

ขอที่ : 115

จ ำ ห
convection thermal resistance

า้ ม
คําตอบ 1 :
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 2 :

ง ว น
อ ส
คําตอบ 3 :

กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 116 ส ภ
ดวยเงื่อนไขของวัสดุที่กําหนด เมื่อเทียบเคียงกันแลวการศึกษาการนําความรอนแบบสภาวะไมคงตัวสําหรับวัตถุทรงกลมในขอใด ที่นาจะใชการวิเคราะหแบบลัมพมากที่สุด

คําตอบ 1 :
74 of 189
คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

่ า ย

ขอที่ : 117


ดวยเงื่อนไขของวัสดุที่กําหนด เมื่อเทียบเคียงกันแลวการศึกษาการนําความรอนแบบสภาวะไมคงตัวสําหรับวัตถุในขอใด ที่นาจะใชการวิเคราะหแบบลัมพมากที่สุด

จ ำ

คําตอบ 1 :

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

ส ิท
คําตอบ 4 :

ง ว น
อ ส
กร ข
ขอที่ : 118


ิ ว
ภ าว

75 of 189
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 :
ประมาณ 404 นาที 404
ิธ์ ห
ประมาณ 307 นาที

ส ิท

คําตอบ 2 :

ง ว
ประมาณ 30.75 นาที
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :
ประมาณ 6.75 นาที

อ ส
กร ข

ขอที่ : 119



ดวยเงื่อนไขของวัสดุที่กําหนด เมื่อเทียบเคียงกันแลวการศึกษาการนําความรอนแบบสภาวะไมคงตัวสําหรับวัตถุในขอใด ที่นาจะใชการวิเคราะหแบบลัมพมากที่สุด

คําตอบ 1 :

ภ าว

35.3

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

76 of 189
คําตอบ 4 :
ขอที่ : 120
ดวยเงื่อนไขของวัสดุที่กําหนด เมื่อเทียบเคียงกันแลวการศึกษาการนําความรอนแบบสภาวะไมคงตัวสําหรับวัตถุในขอใด ที่นาจะใชการวิเคราะหแบบลัมพมากที่สุด


คําตอบ 1 :

่ า
35.3

หน

คําตอบ 2 :

มจ
า้
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :
ิธ์ ห
ส ิท
ขอที่ : 121

ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : ประมาณ 1.99 นาที 1.99
คําตอบ 2 : ประมาณ 19.85 นาที 77 of 189

คําตอบ 3 : ประมาณ 190.85 นาที


คําตอบ 4 : ประมาณ 1,191 นาที

ขอที่ : 122
ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับ การวิเคราะหดวยวิธีการลัมพ (Lumped system analysis)
คําตอบ 1 : อุณหภูมิที่พิจารณาแปรผันตามเวลาและตําแหนง
คําตอบ 2 : อุณหภูมิที่พิจารณาแปรผันตามเวลาเทานั้น
คําตอบ 3 : ใชไดสําหรับการวิเคราะหการนําความรอนแบบคงตัวและไมคงตัว

่ า ย

คําตอบ 4 : ใชไดสําหรับเงื่อนไขขอบเขตแบบการพาความรอนเทานั้น

ขอที่ : 123

จ ำ ห

คาตัวเลขใดที่ใชเปนตัวกําหนดวาการคํานวณการนําความรอนในสภาวะไมคงตัวในหนึ่งมิติ สามารถใชวิธีการวิเคราะหดวยวิธีการลัมพ (Lumped system analysis) ได

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : Bi (Biot number) มีคานอยกวา 0.1
คําตอบ 2 : Bi (Biot number) มีคามากกวา 0.1
คําตอบ 3 : Nu (Nusselt number) มีคานอยกวา 0.1

ิท
คําตอบ 4 : Nu (Nusselt number) มีคามากกวา 0.1

นส

ขอที่ : 124

ส ง
ขอ
ว กร


คําตอบ 1 :

าว
0.3 0.3
คําตอบ 2 : 0.01


คําตอบ 3 : 0.03


คําตอบ 4 : 0.003

ขอที่ : 125

78 of 189
160

่ า ย

คําตอบ 1 : ประมาณ 1 นาที
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
ประมาณ 2 นาที
ประมาณ 3 นาที

จ ำ ห

คําตอบ 4 : ประมาณ 4 นาที

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 126

ส ิท
237

ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 :


คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :
79 of 189
ขอที่ : 127

่ า ย
หน
จ ำ
คําตอบ 1 : ได โดยที่ Bi (Biot number) มีคา 0.0139

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 : ไมได โดยที่ Bi (Biot number) มีคา 0.0139
คําตอบ 3 : ได โดยที่ Bi (Biot number) มีคา 0.0417
คําตอบ 4 : ไมได โดยที่ Bi (Biot number) มีคา 0.0417

ส ิท

ขอที่ : 128

ง ว
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : ได โดยที่คา Bi (Biot number) มีคา 0.0139
คําตอบ 2 : ไมได โดยที่คา Bi (Biot number) มีคา0.0208
คําตอบ 3 : ได โดยที่คา Bi (Biot number) มีคา 0.0208
คําตอบ 4 : ไมได โดยที่คา Bi (Biot number) มีคา 0.0139

ขอที่ : 129 80 of 189


่ า ย
คําตอบ 1 : ไมได โดยที่คา Bi (Biot number) คา0.0208

หน
จ ำ
คําตอบ 2 : ได โดยที่คา Bi (Biot number) มีคา 0.0208


คําตอบ 3 : ได โดยที่คา Bi (Biot number) มีคา 0.0417

า้
คําตอบ 4 : ไมได โดยที่คา Bi (Biot number) มีคา 0.0417

ขอที่ : 130
ิธ์ ห
ิท
หากลูกบอลทรงกลมถูกทําใหเย็นตัวลงจากอุณหภูมิเทาเทียมกัน โดยการจุมในน้ําเย็นที่ใหสัมประสิทธิ์การพาความรอนระหวางผิวเทาๆ กัน ลูกบอลทรงกลมทําจากวัสดุชนิดใดเย็นตัว


เร็วที่สุด


คําตอบ 1 : เหล็ก
คําตอบ 2 : ตะกั่ว

ง ว

คําตอบ 3 : อลูมิเนียมบริสุทธิ์


คําตอบ 4 : ไมสามารถบอกได

ขอที่ :

กร ข

131



หากลูกบอลทรงกลมถูกทําใหเย็นตัวลงจากอุณหภูมิเทาเทียมกัน โดยการจุมในน้ําเย็นที่ใหสัมประสิทธิ์การพาความรอนระหวางผิวเทาๆ กัน ลูกบอลทรงกลมทําจากวัสดุชนิดใดเย็นตัว

าว
ชาที่สุด
คําตอบ 1 : เหล็ก

ส ภ
คําตอบ 2 : ตะกั่ว
คําตอบ 3 : อลูมิเนียมบริสุทธิ์
คําตอบ 4 : ไมสามารถบอกได

ขอที่ : 132

81 of 189
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :
6.47

ิท
คําตอบ 2 :

นส
ง ว
คําตอบ 3 :

อ ส

คําตอบ 4 :

ว กร


ขอที่ :

าว
133
ณ อุณหภูมิหอง เมื่อพิจารณาวัสดุที่ใหมา วัสดุใดสามารถนําความรอนไดดีที่สุด


คําตอบ 1 : Carbon Steel


คําตอบ 2 : Iron
คําตอบ 3 : Aluminium
คําตอบ 4 : Lead

ขอที่ : 134
82 of 189
่ า ย
หน
จ ำ
คําตอบ 1 :

า้ ม
ิธ์ ห
-3.9

คําตอบ 2 :

ส ิท

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ง ว
อ ส
ขอที่ : 135

กร ข

ิ ว
ภ าว

83 of 189
คําตอบ 1 :
-3.9

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

่ า ย

คําตอบ 4 :

ขอที่ :

จ ำ ห

136

า้
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 :
24.4


คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :
84 of 189
ขอที่ : 137

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :
24.4

คําตอบ 2 :

ส ิท
คําตอบ 3 :

ง ว น
อ ส

คําตอบ 4 :

ว กร


ขอที่ : 138

ภ าว

85 of 189
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 12.2 ชั่วโมง
คําตอบ 2 : 24.4 ชั่วโมง
คําตอบ 3 : 36.6 ชั่วโมง

ิท
คําตอบ 4 : 48.8 ชั่วโมง

นส

ขอที่ : 139

ส ง
ขอ
ว กร
าว ศ

ส ภ
คําตอบ 1 : 20.4 ชั่วโมง
คําตอบ 2 : 40.7 ชั่วโมง
คําตอบ 3 : 82.9 ชั่วโมง 86 of 189

คําตอบ 4 : 663 ชั่วโมง


ขอที่ : 140

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 0.54 เมตรจากผิวดิน

ิท
คําตอบ 2 : 0.36 เมตรจากผิวดิน


คําตอบ 3 : 0.18 เมตรจากผิวดิน


คําตอบ 4 : 0.06 เมตรจากผิวดิน

ง ว

ขอที่ : 141


สําหรับการนําความรอนในวัตถุ คา Bi (Biot Number)แสดงถึง
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :

กร ข
สัดสวนของการกระจายความหนืดและความรอนในเนื้อวัตถุที่กําลังไหล
สัดสวนของโมเมนตัมในการเคลื่อนที่ของการไหล ตอความหนืดในการไหลนั้น
คําตอบ 3 :


ิ ว
สัดสวนของการนําความรอนผานวัตถุและสัดสวนของความรอนที่วัตถุสะสมไว

าว
คําตอบ 4 : สัดสวนของการพาความรอนมาสูวัตถุและการนําความรอนในวัตถุ

ขอที่ : 142

ส ภ
การใชวิธีการวิเคราะหอุณหภูมิของวัตถุแบบลัมพนั้น จะใหการคํานวณที่ใกลเคียงที่สุด เมื่อคา Bi (Biot number) ที่เกี่ยวของมีคาเปนอยางไร
คําตอบ 1 : คา Bi (Biot number) มีคามากกวา 0.1
คําตอบ 2 : คา Bi (Biot number) มีคามากกวา 1
คําตอบ 3 : คา Bi (Biot number) มีคานอยกวา 0.1
คําตอบ 4 : คา Bi (Biot number) มีคานอยกวา 1
87 of 189

ขอที่ : 143
เมื่อของไหลที่มีอุณหภูมิสูงไหลผานวัตถุลัมพ (Lumped system analysis) ทําใหอุณหภูมิของวัตถุลัมพมีคาสูงขึ้น กรณีใดในขอตอไปนี้ทําใหอุณหภูมิของวัตถุลัมพ มีคาเขาใกล
อุณหภูมิของของไหลชาลง
คําตอบ 1 : สัมประสิทธิ์การพาความรอนใหแกวัตถุลัมพมีคาสูง
คําตอบ 2 : วัตถุลัมพมีความหนาแนนต่ํา
คําตอบ 3 : วัตถุลัมพมีความจุความรอนจําเพาะต่ํา
คําตอบ 4 : สัดสวนระหวางปริมาตรและพื้นที่ผิวของวัตถุมีคาสูง

่ า ย

ขอที่ : 144


เมื่อของไหลที่มีอุณหภูมิสูงชนิด ไหลผานวัตถุลัมพ (Lumped system analysis) ทําใหอุณหภูมิของวัตถุลัมพมีคาสูงขึ้น กรณีใดในขอตอไปนี้ทําใหอุณหภูมิของวัตถุลัมพ มีคาเขา


ใกลอุณหภูมิของของไหลเร็วขึ้น


คําตอบ 1 : วัตถุลัมพมีความหนาแนนต่ํา

า้ ม
คําตอบ 2 : สัดสวนระหวางปริมาตรและพื้นที่ผิวของวัตถุมีคาสูง

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : ความจุความรอนจําเพาะของวัตถุลัมพมีคาสูง
คําตอบ 4 : สัมประสิทธิ์การพาความรอนใหแกวัตถุลัมพมีคาต่ํา

ขอที่ : 145

ส ิท

สําหรับการคํานวณปญหาการนําความรอนในสภาวะไมคงตัวในหนึ่งมิติ ตัวแปรใดที่ไมมีผลโดยตรงตอการกระจายของอุณหภูมิภายในวัตถุ

ง ว
คําตอบ 1 : ความหนาแนนของวัตถุ


คําตอบ 2 : สัมประสิทธิ์การนําความรอน (k)


คําตอบ 3 : สัมประสิทธิ์การพาความรอน (h)


คําตอบ 4 : อุณหภูมิเริ่มตน

ขอที่ :

ว กร


146

ภ าว

คําตอบ 1 : ตัวแปร m เปนตัวแปรไรหนวย
คําตอบ 2 : ตัวแปร m ที่เพิ่มขึ้นสงผลใหวัตถุมีการตอบสนองกับการเปลี่ยนของอุณหภูมิเร็วขึ้น
คําตอบ 3 : ตัวแปร m แปรผันโดยตรงกับคาสัมประสิทธิ์การนําความรอน (k) 88 of 189
คําตอบ 4 : ตัวแปร m แปรผกผันกับคาพื้นที่ผิว (A)
ขอที่ : 147
ขอใดกลาวผิด

คําตอบ 1 :

่ า ย

คําตอบ 2 :

จ ำ ห
า้ ม
คําตอบ 3 :

ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 4 :

นส
ขอที่ :

ง ว

148

ขอ
วกร
คําตอบ 1 : 125

าว ศ


คําตอบ 2 :


12.5
คําตอบ 3 : 1.25
คําตอบ 4 : 0.125

ขอที่ : 149

89 of 189
คําตอบ 1 : 0.88
คําตอบ 2 : -0.88


คําตอบ 3 :

่ า
1.14


คําตอบ 4 : -1.14

ขอที่ : 150

จ ำ ห

ขอใดถูกตองที่สุด

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :

ส ิท

คําตอบ 2 :

ง ว
คําตอบ 3 :

อ ส
กร ข

คําตอบ 4 :

าว ศ

ขอที่ : 151

ส ภ
จากเงื่อนไขที่กําหนด สภาวะใดที่ไมเหมาะสมตอการคํานวณการนําความรอนในสภาวะไมคงตัวดวยวิธีการลัมพ (Lump analysis)
คําตอบ 1 : วัตถุที่มีคาสัมประสิทธิ์การนําความรอน (k) ที่สูง
คําตอบ 2 : วัตถุที่มีขนาดเล็ก
คําตอบ 3 : วัตถุอยูในสภาวะที่มีคาสัมประสิทธิ์การพาความรอน (h) ที่สูง
คําตอบ 4 : วัตถุที่พื้นที่ผิวสัมผัสที่กวางและปริมาตรนอย
90 of 189
ขอที่ : 152

่ า ย

คําตอบ 1 : การวิเคราะหดวยวิธีการลัมพ (Lump analysis)


คําตอบ 2 : การวิเคราะหดวยวิธีการลัมพ (Lump analysis) ดวยเงื่อนไขขอบเขตผสม

จ ำ
คําตอบ 3 : การวิเคราะหดวยวิธีการคํานวณการนําความรอนแบบสภาวะไมคงตัวในวัตถุกึ่งอนันต (Semi-infinite medium)


คําตอบ 4 : การวิเคราะหดวยวิธีการเปดตาราง Transient-temperature charts

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 153

ส ิท
ง ว น
อ ส

คําตอบ 1 :

กร
0.021
คําตอบ 2 : 0.042


คําตอบ 3 : 0.21



คําตอบ 4 :

าว
0.42


ขอที่ :


154

91 of 189
คําตอบ 1 : 0.0125 m.
คําตอบ 2 : 0.0625 m.
คําตอบ 3 : 0.0042 m.
คําตอบ 4 : 0.0021 m.

ขอที่ : 155

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 : การวิเคราะหดวยวิธีการลัมพ (Lump analysis)
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 2 : การวิเคราะหดวยวิธีการลัมพ (Lump analysis) ดวยเงื่อนไขขอบเขตผสม


คําตอบ 3 : การวิเคราะหดวยวิธีการคํานวณการนําความรอนแบบสภาวะไมคงตัวในวัตถุกึ่งอนันต (Semi-infinite medium)


คําตอบ 4 : การวิเคราะหดวยวิธีการเปดตาราง Transient-temperature charts

ส ง

ขอที่ : 156

กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
0.011
0.089
0.267
คําตอบ 4 : 0.535

92 of 189
ขอที่ : 157
คําตอบ 1 : 0.011

่ า ย

คําตอบ 2 : 0.053

ำ ห
คําตอบ 3 : 0.089


คําตอบ 4 : 0.267

า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 158

ส ิท
ง ว น
คําตอบ 1 :

อ ส
วัตถุทรงกลมที่ทําจากอลูมิเนียมบริสุทธิ์

กร ข
คําตอบ 2 : วัตถุทรงกลมที่ทําจากเหล็กบริสุทธิ์
คําตอบ 3 : วัตถุทรงกลมที่ทําจากทองแดงบริสุทธิ์


คําตอบ 4 : วัตถุทรงกลมที่ทําจากเงินบริสุทธิ์

ขอที่ :

าว ศ


159


93 of 189
คําตอบ 1 :
50

คําตอบ 2 :


คําตอบ 3 :

น่ า

คําตอบ 4 :

จ ำ
ขอที่ : 160

า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข
คําตอบ 1 : 4.65 นาที
คําตอบ 2 : 5.36 นาที


คําตอบ 3 : 6.53 นาที

าว ศ

คําตอบ 4 : 7.63 นาที

ขอที่ : 161

ส ภ
94 of 189
่ า ย
คําตอบ 1 :

หน

25

คําตอบ 2 :

มจ
า้
ิธ์ ห
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ส ิท
ง ว น

ขอที่ :


162

กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 1.75 m.
คําตอบ 2 : 2 m.
คําตอบ 3 : 2.25 m. 95 of 189
คําตอบ 4 : 2.5 m.
ขอที่ : 163
การพาความรอนแบบบังคับสําหรับการไหลภายในทอ ปจจัยที่ไมมีผลตอคาตัวเลขนัทเซล (Nusselt number) ไดแก
คําตอบ 1 : คาตัวเลขเรยโนล (Reynolds number)
คําตอบ 2 : คาตัวเลขพลาน (Prandtl number)
คําตอบ 3 : คาแฟกเตอรความเสียดทาน (Friction factor)


คําตอบ 4 : คาตัวเลขกราชอฟ (Grashof number)

น่ า

ขอที่ : 164


สําหรับการไหลผานชั้นชิดผิว (Boundary layer flow) ที่คาตัวเลขพลาน (Prandtl number) มีคานอยนอยกวา 1 ขอใดกลาวถูกตอง
คําตอบ 1 : ความหนาของชั้นชิดผิวของอุณหภูมิหนากวาความหนาของชั้นชิดผิวของความเร็ว

มจ
า้
คําตอบ 2 : ความหนาของชั้นชิดผิวของอุณหภูมิต่ํากวาความหนาของชั้นชิดผิวของความเร็ว

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : ความหนาของชั้นชิดผิวของอุณหภูมิเทากับความหนาของชั้นชิดผิวของความเร็ว
คําตอบ 4 : คาตัวเลขพลานไมมีผลตอความหนาของชั้นชิดผิว

ขอที่ : 165

ส ิท

คาตัวเลขนัทเซล(Nusselt number) เปนคาตัวเลขไรหนวยที่ใชในการบอกถึงปริมาณการถายเทความรอนแบบการพา อยากทราบวาคาตัวเลขนัทเซลนี้เปนการเปรียบเทียบกันระหวาง

ง ว
การถายเทความรอนแบบใดตอแบบใด


คําตอบ 1 : การนําความรอน ตอ การพาความรอน


คําตอบ 2 : การนําความรอน ตอ การแผรังสีความรอน

กร ข
คําตอบ 3 : การพาความรอน ตอ การนําความรอน
คําตอบ 4 : การพาความรอน ตอ การแผรังสีความรอน


ิ ว
าว
ขอที่ : 166
ขอใดกลาวถูกตองสําหรับของไหลที่มีคาตัวเลขพลาน (Prandtl number) โดยทั่วไปมีคานอยนอยกวา 1


คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
ภ เปนของไหลประเภทน้ํามัน (oils)
ความหนาของชั้นชิดผิวของอุณหภูมิต่ํากวาความหนาของชั้นชิดผิวของความเร็ว
เปนของไหลประเภทแกส (gas)
คําตอบ 4 : เปนของไหลประเภท Liquid metal

ขอที่ : 167
จงคํานวณหาคา Hydraulic diameter ของทอรูปทรงสี่เหลี่ยมพื้นผาที่มีความกวางเปน 2a และสูง a 96 of 189
a
คําตอบ 1 :

1.25a
คําตอบ 2 :

1.33a
คําตอบ 3 :


1.5a
คําตอบ 4 :

น่ า

ขอที่ :


168


ขอใดกลาวผิดเกี่ยวกับการพาความรอนแบบบังคับ


คําตอบ 1 : การพาความรอนแบบบังคับขึ้นอยูกับประเภทของการไหล

า้
คําตอบ 2 : การพาความรอนแบบบังคับขึ้นอยูกับคุณสมบัติของของไหล

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : การพาความรอนแบบบังคับเกี่ยวของกับการเคลื่อนที่ของของไหล
คําตอบ 4 : การพาความรอนแบบบังคับสวนมากเกิดไดดีในของแข็งมากกวาน้ํา

ขอที่ :

ส ิท

169


ขอใดกลาวผิดเกี่ยวกับการพาความรอนแบบบังคับ


คําตอบ 1 : คาตัวเลขนัทเซล (Nusselt number) มีคาต่ําในการไหลแบบราบเรียบ เมื่อเทียบกับการไหลแบบปนปวน สําหรับการไหลที่มีรูปทรงและสภาวะเหมือนกัน

อ ส
คําตอบ 2 : การพาความรอนแบบบังคับเกิดขึ้นไดดีในของไหลประเภท แกส มากกวา ของแข็ง


คําตอบ 3 : การพาความรอนมีอยู 2 ประเภทคือ แบบบังคับและแบบอิสระ

กร
คําตอบ 4 : คาตัวเลขนัทเซล (Nusselt number) สําหรับการพาความรอนแบบบังคับขึ้นอยูกับรูปทรงที่ของไหลไหลผาน


ิ ว
าว
ขอที่ : 170

ส ภ
คําตอบ 1 : 137
97 of 189
คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

่ า ย
ขอที่ : 171

หน

การถายเทความรอนแบบการพาความรอนแบบบังคับ (Force convection) ใชกฎอะไรในการอธิบาย
คําตอบ 1 : Fourier’s Law

มจ
า้
คําตอบ 2 : Poisson’s Law

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : Stefan-Boltzmann’s Law
คําตอบ 4 : Newton’s Law

ขอที่ : 172

ส ิท

ขอใดกลาวผิดเกี่ยวกับคาสัมประสิทธิ์ของการถายเทความรอน(Heat transfer coefficient; h)

ง ว

คําตอบ 1 :

ขอ
กร
คําตอบ 2 : ไมเปนคุณสมบัติของของไหล
คําตอบ 3 : มีทั้งการพาความรอนแบบบังคับและแบบอิสระ


คําตอบ 4 : มีคาสูงสําหรับของไหลที่มีสถานะแกสเมื่อเทียบกับสถานะของเหลว

ขอที่ : 173

าว ศ


สําหรับการไหลภายในทอ เรานิยมใช คา Logarithmic mean temperature difference เปนคาอุณหภูมิอางอิงสําหรับการคํานวณหาคาอัตราการถายเทความรอน ขอใดกลาวถูกตอง


สําหรับคา Logarithmic mean temperature difference นี้

คําตอบ 1 : การกระจายของอุณหภูมิตอความยาวทอเปนเสนตรง
คําตอบ 2 : มีคาเทากับคาเฉลี่ยทางคณิตศาสตร (Averaged mean temperature difference)
คําตอบ 3 : นิยมใชกับเงื่อนไขที่อุณหภูมิของผนังมีคาคงที่ (Constant wall temperature)
คําตอบ 4 : ใชไดเฉพาะกรณีการถายเทความรอนออกจากทอเทานั้น (Cooling case)
98 of 189

ขอที่ : 174
ขอใดกลาวถูกตองสําหรับการพาความรอนแบบบังคับสําหรับการไหลภายในทอ
คําตอบ 1 : สําหรับเงื่อนไขอุณหภูมิที่ผิวคงที่ (Constant surface temperature) การกระจายของอุณหภูมิภายในทอเปนเสนตรง
คําตอบ 2 : สําหรับเงื่อนไขอุณหภูมิที่ผิวคงที่ (Constant surface temperature) คาฟลั๊กความรอนที่ผิวคงที่เนื่องจากอุณหภูมิที่ผิวคงที่
สําหรับเงื่อนไขฟลั๊กความรอนที่ผิวคงที่ (Constant surface heat flux) คาอุณหภูมิที่ผนังทอมีคาเพิ่มขึ้นอยางเรื่อย ๆ ตามความยาวของทอถาสัมประสิทธิ์การถายเท
คําตอบ 3 :
ความรอนมีคาคงที่
คําตอบ 4 : สําหรับเงื่อนไขฟลั๊กความรอนที่ผิวคงที่ (Constant surface heat flux) การกระจายของอุณหภูมิภายในทอเปนเสนโคงแบบ logarithmic

่ า ย

ขอที่ : 175

ำ ห
averaged heat transfer coefficient

มจ
า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

ส ิท
ง ว น

คําตอบ 3 :

ขอ
กร
คําตอบ 4 :


ิ ว
าว
ขอที่ : 176

ส ภ
99 of 189

คําตอบ 1 : 210 kJ/kg


230 kJ/kg
คําตอบ 2 :

250 kJ/kg
คําตอบ 3 :

300kJ/kg
คําตอบ 4 :

่ า ย

ขอที่ : 177

ำ ห
ขอใดกลาวถูกตองสําหรับทอรูปทรงสี่เหลี่ยมพื้นผาที่มีความกวางเปน a และสูง b


คําตอบ 1 : ถา a/b มีคาเพิ่มขึ้น คาตัวเลขนัทเซลมีคาลดลง

า้ ม
คําตอบ 2 : ถา a/b มีคาเพิ่มขึ้น คาแฟคเตอรของการเสียดทาน(Friction factor) มีคาเพิ่มขึ้น

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : ถา a/b มีคาเพิ่มขึ้น คาตัวเลขเรยโนลมีคาลดลง
คําตอบ 4 : คา Hydraulic diameter = 4ab / 2ab

ิท
ขอที่ :


178


ขอใดกลาวถูกตองสําหรับทอรูปทรงสี่เหลี่ยมพื้นผาที่มีความกวางเปน a และสูง b


คําตอบ 1 : คา Hydraulic diameter = ab / (8a+8b)

ส ง
คําตอบ 2 : คา Hydraulic diameter = 2ab / (a+b)


คําตอบ 3 : คา Hydraulic diameter = (8a+ 8b) / ab


คําตอบ 4 : คา Hydraulic diameter = 4ab / 2ab

ขอที่ : 179

ว กร
าว ศ

ส ภ
คําตอบ 1 : 29 W.
คําตอบ 2 : 35.7 W
คําตอบ 3 : 58.1 W
คําตอบ 4 : 71.4 W 100 of 189
ขอที่ : 180
ขอใดกลาวผิด
คําตอบ 1 : การพาความรอนแบบบังคับในทอ ปจจัยหลักที่เราตองการทราบคือคา สัมประสิทธิ์การถายเทความรอนและคาความดันตกครอม
คําตอบ 2 : สําหรับการไหลแบบราบเรียบแบบ fully developed คาตัวเลขนัสเซล (Nu) ของเงื่อนไขอุณหภูมิคงที่มีคาสูงกวากรณีเงื่อนไข Constant heat flux
คําตอบ 3 : วิธีการหนึ่งในการเพิ่มประสิทธิภาพการถายเทความรอนดวยการพาความรอนแบบบังคับ สําหรับการไหลภายในทอคือการทําใหทอมีผิวขุรขะ หรือมีครีบ


คําตอบ 4 : สําหรับการไหลแบบราบเรียบแบบ fully developed คาตัวเลขนัสเซล (Nu) มีคาคงที่

น่ า

ขอที่ : 181

250

จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ว น
คําตอบ 1 :

ส ง

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 182
ส ภ
101 of 189
18 kW
คําตอบ 1 :

21 kW
คําตอบ 2 :

25 kW
คําตอบ 3 :


27 kW
คําตอบ 4 :

น่ า

ขอที่ :


183

มจ
า้
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 :

ง ว น

4321.3

ขอ
กร
คําตอบ 2 :


ิ ว
าว
คําตอบ 3 :


คําตอบ 4 :

ขอที่ : 184
ของเหลวซึ่งไหลในทอกลมทรงกระบอก จะเปนการไหลแบบปนปวน (Turbulent flow) เมื่อลักษณะการไหลเปนไปตามขอใดตอไปนี้
คําตอบ 1 : คาตัวเลขเรยโนล (Reynolds Number) > 2100
102 of 189
คําตอบ 2 : คาตัวเลขเรยโนล (Reynolds Number) < 11000
คําตอบ 3 : คาตัวเลขพลาน (Prandtl Number) > 0.7
คําตอบ 4 : คาตัวเลขพลาน (Prandtl Number) < 0.7

ขอที่ : 185

่ า ย
หน
จ ำ

คําตอบ 1 :

า้
6.89

ิธ์ ห
คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

ส ิท
ง ว น

คําตอบ 4 :

ขอ
กร
ขอที่ :


186

าว ศ

ส ภ
คําตอบ 1 : 7.01

103 of 189
คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :


คําตอบ 4 :

น่ า
ขอที่ : 187

จ ำ ห

ของเหลวซึ่งไหลในทอกลมทรงกระบอก จะมีคาตัวเลขเรยโนล (Reynolds number) ลดลงเสมอเมื่อลักษณะการไหลเปนไปตามขอใดตอไปนี้

า้
คําตอบ 1 : ของเหลวนั้น มีความหนืดเพิ่มขึ้น และไหลดวยความเร็วลดลง ในขนาดหนาตัดทอที่เทาเดิม

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : ของเหลวนั้น ไหลดวยความเร็วสูงขึ้น ในขนาดหนาตัดทอที่เพิ่มขึ้น โดยที่มีอุณหภูมิสูงขึ้น
คําตอบ 3 : ของเหลวนั้น ไหลดวยความเร็วสูงขึ้น ในขนาดหนาตัดทอที่ลดลง โดยที่มีความหนืดลดลง

ิท
คําตอบ 4 : ของเหลวนั้น ไหลดวยความเร็วคงที่ ในขนาดหนาตัดทอที่เพิ่มขึ้น โดยที่มีอุณหภูมิลดลง

นส

ขอที่ : 188


ของเหลวซึ่งไหลบนผนังเรียบ (Flow over a flat surface) จะมี Thermal Boundary Layer หนากวา Momentum Boundary Layer ในกรณีใดตอไปนี้


คําตอบ 1 : คาตัวเลขพลาน (Prandtl number), Pr > 1
คําตอบ 2 :

ขอ
คาตัวเลขพลาน (Prandtl number), Pr < 1

กร
คําตอบ 3 : ลักษณะการไหลเปนแบบราบเรียบ (Laminar flow)


คําตอบ 4 : ลักษณะการไหลเปนแบบปนปวน (Turbulent flow)

ขอที่ : 189

าว ศ

ส ภ
104 of 189

คําตอบ 1 : 317.6
คําตอบ 2 : 1,836.84
คําตอบ 3 : 46.15
คําตอบ 4 : 12.10

ขอที่ : 190

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 396.9
คําตอบ 2 : 315.3

ิท
คําตอบ 3 : 1,255.3


คําตอบ 4 :


1,290.9

ง ว

ขอที่ : 191

ขอ
ว กร
าว ศ


คําตอบ 1 :ภ 2159

คําตอบ 2 :

105 of 189
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 192

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 83 W/m

ส ิท

คําตอบ 2 : 2.5 W/m


คําตอบ 3 :


519 W/m


คําตอบ 4 : 95 W/m

ขอ
กร
ขอที่ : 193
การถายเทความรอนระหวางผนังกับของไหลจะมีคาตัวเลขนัทเซล (Nusselt number ) เทากับ 3.66 เมื่อลักษณะการไหลตรงตามขอใดตอไปนี้


คําตอบ 1 : ของไหลนั้นไหลในทอกลมซึ่งมีอุณหภูมิของผนังทอคงที่และการไหลนั้นเปนแบบ Laminar และ Fully Developed
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :

าว ศ

ของไหลนั้นไหลในทอกลม ซึ่งมีคา Heat Flux ของผนังคงที่ และการไหลนั้นเปนแบบ Laminar แตไม Fully Developed
ของไหลนั้นไหลขนานกับผนังผิวเรียบซึ่งมีอุณหภูมิคงที่ และการไหลเปนแบบ Laminar


คําตอบ 4 : ของไหลนั้นไหลในทอกลมซึ่งมีอุณหภูมิของผนังทอคงที่และการไหลนั้นเปนแบบ Turbulent

ขอที่ : 194 ส
106 of 189
คําตอบ 1 : เมื่อการไหลเปน Turbulent และของไหลนั้นไดรับความรอนจากผนัง


คําตอบ 2 : เมื่อการไหลเปน Laminar และของไหลนั้นสูญเสียความรอนใหผนัง

่ า
คําตอบ 3 : เมื่อการไหลเปน Turbulent และของไหลนั้นสูญเสียความรอนใหผนัง


คําตอบ 4 : เมื่อการไหลเปน Laminar และของไหลนั้นไหลแบบ Fully developed

ขอที่ :

จ ำ ห

195

า้
ในทางทฤษฎีสําหรับการไหลภายนอก เมื่อของไหลไหลขนานกับผนังเรียบ ชั้นชิดผิว (Boundary layer) จะเปลี่ยนจากการไหลแบบราบเรียบ (Laminar flow) เปนแบบปนปวน

ิธ์ ห
(Turbulent flow) เมื่อ
คําตอบ 1 : คาตัวเลขเรยโนล (Reynolds number) = 500,000
คําตอบ 2 : คาตัวเลขเรยโนล (Reynolds number) = 21,000

ิท
คําตอบ 3 : คาตัวเลขเรยโนล (Reynolds number) = 300,000

นส
คําตอบ 4 : คาตัวเลขเรยโนล (Reynolds number) = 50,000

ง ว

ขอที่ : 196

ขอ
ว กร
าว ศ


คําตอบ 1 :
ภ 4.36

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 : 107 of 189


คําตอบ 4 :

่ า ย
ขอที่ : 197

หน

ของไหลในขอใดที่มีคาตัวเลขพลาน (Prandtl number) เรียงจากนอยไปหามาก
คําตอบ 1 : อากาศ, น้ํา, ปรอท, น้ํามันเครื่อง

มจ
า้
คําตอบ 2 : ปรอท, อากาศ, น้ํา, น้ํามันเครื่อง

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : ปรอท, อากาศ, น้ํามันเครื่อง, น้ํา
คําตอบ 4 : น้ํา, น้ํามันเครื่อง, อากาศ, ปรอท

ขอที่ : 198

ส ิท
ง ว น
อ ส
double pipe heat exchanger

กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : D-d
คําตอบ 2 : D+d
คําตอบ 3 : (D + d)/ 2

คําตอบ 4 :

108 of 189

ขอที่ : 199
คําตอบ 1 : คาตัวเลขของเรยโนล (Reynolds Number) = 21,258


คําตอบ 2 : คาตัวเลขของเรยโนล (Reynolds Number) = 23,916
คําตอบ 3 : คาตัวเลขของเรยโนล (Reynolds Number) = 47,832

น่ า

คําตอบ 4 : คาตัวเลขของเรยโนล (Reynolds Number) = 15,944

จ ำ

ขอที่ : 200

า้
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น

คําตอบ 1 :


1.67


คําตอบ 2 : 5.00

กร
คําตอบ 3 : 0.555


คําตอบ 4 : 0.599

ขอที่ : 201

าว ศ

ส ภ
109 of 189
คําตอบ 1 : 4.35
0.00438
คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 : 0.23
คําตอบ 4 : 228.3


ขอที่ :

่ า
202

หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 :
87.926

ง ว น
อ ส

คําตอบ 2 :

ว กร


คําตอบ 3 :

ภ าว

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 203

110 of 189
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 3,183 W
คําตอบ 2 : 3,545 W

ิท
คําตอบ 3 :


2,350 W


คําตอบ 4 : 2,760 W

ง ว

ขอที่ : 204

ขอ
ว กร
าว ศ
ิ 0.332


คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :
111 of 189
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :


ขอที่ : 205

่ า
ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับ Thermal boundary layer thickness สําหรับการไหลผานบนแผนราบ

คําตอบ 1 : มีคาคงที่สําหรับการไหลแบบราบเรียบ

หน
จ ำ
คําตอบ 2 : มีคาเพิ่มขึ้นสําหรับการไหลบนแผนราบ


คําตอบ 3 : มีคาเทากับ Hydrodynamic boundary layer thickness

า้
คําตอบ 4 : เปรบริเวณที่คาความเร็วมีคาประมาณ 0.999 ของความเร็วที่มาตกกระทบ

ขอที่ : 206
ิธ์ ห
ส ิท
film temperature

ง ว น
อ ส
คําตอบ 1 :

กร ข

ิ ว
คําตอบ 2 :

ภ าว

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :
112 of 189
ขอที่ : 207

่ า ย
หน
จ ำ
คําตอบ 1 :

า้ ม
ิธ์ ห
6.11

คําตอบ 2 :

ส ิท

คําตอบ 3 :

ง ว
คําตอบ 4 :

อ ส
กร ข

ขอที่ : 208

าว ศ

ส ภ
คําตอบ 1 : 0.99
คําตอบ 2 : 0.10
คําตอบ 3 : 9.99
113 of 189
คําตอบ 4 : 0.50
ขอที่ : 209

่ า ย

คําตอบ 1 : Stefan-Boltzmann constant


คําตอบ 2 :


Local Nusselt number


คําตอบ 3 : Local conduction coefficient


คําตอบ 4 : Local heat transfer coefficient

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 210

ส ิท
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
อุณหภูมิมีคาเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง และเปนเสนตรง
อุณหภูมิมีคาแปรผันตามคาระยะทาง x

ง ว น
คําตอบ 3 : อุณหภูมิมีคาคงที่ตามแกน x

อ ส

คําตอบ 4 : อุณหภูมิมีคาไมคงที่ตามแกน x

ขอที่ : 211

ว กร
าว ศ

คาสัมประสิทธิ์การพาความรอน (h) สามารถหาคาไดจาก Universal functions ในรูปตัวแปรไรหนวย ตัวแปรไรหนวยดังกลาวคือขอใด
คําตอบ 1 : Pr (Prandtl number)


คําตอบ 2 : Re (Reynolds number)


คําตอบ 3 : Nu (Nusselt number)
คําตอบ 4 : Ra (Rayleigh number)

ขอที่ : 212
การพาความรอนแบบบังคับ มีตัวแปรไรหนวยที่แสดงถึงคุณสมบัติของการถายเทโมเมนตัมและพลังงานไปกับของไหลโดยการถายเทเกิดขึ้นภายใน Hydrodynamic และ Thermal
boundary layer ตามลําดับ ตัวแปรไรหนวยดังกลาวคือขอใด
114 of 189
คําตอบ 1 : Pr (Prandtl number)
คําตอบ 2 : Re (Reynolds number)
คําตอบ 3 : Nu (Nusselt number)
คําตอบ 4 : Ra (Rayleigh number)

ขอที่ : 213

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 2,350 W/m
คําตอบ 2 : 2,400 W/m

ิท
คําตอบ 3 : 2,338 W/m


คําตอบ 4 : 2,348 W/m

ขอที่ : 214

ง ว น

พิจารณารูปในขอใดที่แสดง Temperature profile สําหรับการไหลแบบ Fully developed สําหรับการไหลภายในทอ

ขอ
คําตอบ 1 :

ว กร
าว ศ


คําตอบ 2 :

115 of 189
คําตอบ 3 :

่ า ย

คําตอบ 4 :

จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 215
Thermal entrance region คือ ปรากฎการณที่อุณหภูมิของไหลตามแนวแกนกลางของทอไมเกิดการเปลี่ยนแปลงเพราะอยูนอก Thermal boundary layer แตอุณหภูมิที่อยูติดกับ
ผนังทอกลับสูงขึ้นอยางรวดเร็ว จากคํากลาวขางตนนี้ตรงกับรูปในขอใด

ส ิท
คําตอบ 1 :

ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 2 :

ส ภ
คําตอบ 3 :

116 of 189
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 216

่ า ย

การพาความรอนแบบบังคับ(Forced convection) เกิดขึ้นเนื่องจากแรงขับเคลื่อนของไหลใหมีความเร็วและมีความสามารถในการถายเทความรอนไดมากกวาการพาความรอนแบบ


ธรรมชาติ แรงขับเคลื่อนดังกลาว คือขอใด
คําตอบ 1 : Buoyancy forces

จ ำ

คําตอบ 2 : Viscous forces

า้
คําตอบ 3 : Pump forces

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : Wind energy

ิท
ขอที่ : 217

นส
ง ว

flat plate

ขอ
กร
คําตอบ 1 :


ิ ว
ภ าว

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

117 of 189
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 218
ตัวกลางในการสงถายความรอนขอใดที่พิจารณาไดยากในการเกิดการพาความรอนแบบบังคับ
คําตอบ 1 : น้ํา

่ า ย

คําตอบ 2 : อากาศ


คําตอบ 3 : น้ํามัน
คําตอบ 4 : ทราย

จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 219

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข
คําตอบ 1 :


ิ ว
าว
20.1


คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :
118 of 189
ขอที่ : 220

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 : 55.1

คําตอบ 2 :
ิธ์ ห
ส ิท

คําตอบ 3 :

ง ว
คําตอบ 4 :

อ ส
กร ข

ขอที่ : 221

าว ศ

ส ภ
119 of 189
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :
75

ิท
คําตอบ 2 :

นส
คําตอบ 3 :

ง ว
อ ส

คําตอบ 4 :

ว กร
าว ศ

ขอที่ : 222

ส ภ
คําตอบ 1 : 35,478
คําตอบ 2 : 35,784
คําตอบ 3 : 35,847 120 of 189
คําตอบ 4 : 35,748
ขอที่ : 223

่ า ย
คําตอบ 1 : 5.6

หน
จ ำ

คําตอบ 2 :

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 3 :

ส ิท

คําตอบ 4 :

ง ว
ขอที่ : 224

อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
การไหลแบบราบเรียบ
การไหลแบบชวงเปลี่ยนแปลง
คําตอบ 3 : การไหลแบบปนปวน
คําตอบ 4 : การไหลแบบวิกฤต
121 of 189

ขอที่ : 225
่ า ย
หน
คําตอบ 1 : 12.34

จ ำ

คําตอบ 2 : 13.24

า้
คําตอบ 3 : 14.23

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : 13.42

ิท
ขอที่ : 226

นส
ง ว
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 :


29.62


คําตอบ 2 : 30.62
คําตอบ 3 : 31.62
คําตอบ 4 : 32.62

ขอที่ : 227

122 of 189
คําตอบ 1 : 0.12 m.
คําตอบ 2 : 1.2 m.

่ า ย
คําตอบ 3 : 10.2 m.


คําตอบ 4 : 11.2 m.

ขอที่ : 228

จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :

ส ิท

8,810


คําตอบ 2 : 8,705


คําตอบ 3 : 8,690


คําตอบ 4 :


8,658

ขอที่ : 229

กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
ตรงมีคาเทากับ 0.768
ตรงมีคาเทากับ 0.880
ตรงมีคาเทากับ 0.728
คําตอบ 4 : ไมตรงมีคาเทากับ 0.678

123 of 189
ขอที่ : 230
่ า ย

คําตอบ 1 : 334.5

จ ำ ห

คําตอบ 2 :

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 3 :

ส ิท

คําตอบ 4 :

ง ว
ขอที่ : 231

อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 198.5

คําตอบ 2 :
124 of 189
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :


ขอที่ : 232

่ า
ขอใดถูกตองมากที่สุดเกี่ยวกับการพาความรอนแบบบังคับ

คําตอบ 1 : สําหรับการไหลแบบราบเรียบ (Laminar flow) ภายในทอคา Nusselt number มีคาคงที่

หน

คําตอบ 2 : เงื่อนไข Constant wall heat flux สําหรับการไหลแบบราบเรียบ (Laminar flow) ภายในทอ คือ dT/dR = 0 ถา R เปนรัศมีทอ

คําตอบ 3 :

มจ
คา Nusselt number สําหรับการไหลแบบราบเรียบ (Laminar flow)ภายในทอสําหรับเงื่อนไข Constant wall temperature มีคานอยกวากรณี Constant wall

า้
heat flux

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : คาอุณหภูมิเฉลี่ย Bulk mean temperature หาไดจากคาเฉลี่ยของอุณหภูมิผนังกับอุณหภูมิอากาศ

ิท
ขอที่ : 233

นส
ง ว
อ ส
คําตอบ 1 :

กร ข
ใชสําหรับกรณีที่มีการแปรผันของคุณสมบัติของของไหล


ิ ว
ใชกับการไหลแบบปนปวนเทานั้น

าว
คําตอบ 2 :


ใชสําหรับการไหลภายนอกเทานั้น
คําตอบ 3 :


คําตอบ 4 :
ใชไดเฉพาะกรณีผนังเรียบ (Smooth pipe) เทานั้น

ขอที่ : 234

125 of 189
คําตอบ 1 : ทรงกระบอก

่ า ย

คําตอบ 2 : สี่เหลี่ยม


คําตอบ 3 : ทรงกลม

จ ำ
คําตอบ 4 : สามเหลี่ยม

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
235

ส ิท
ง ว น
อ ส
คําตอบ 1 : 1,595.28


คําตอบ 2 : 1,495.28

กร
คําตอบ 3 : 1,395.28


คําตอบ 4 : 1,295.28

ขอที่ : 236

าว ศ

ส ภ
126 of 189
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :

ส ิท

125.64

ง ว

คําตอบ 2 :

ขอ
กร
คําตอบ 3 :


ิ ว
าว
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 237 ส ภ
การพาความรอนแบบบังคับผานวัตถุทรงกลม ตัวแปรไรหนวย (Nu) ไดมาจากสมการความสัมพันธของ Whitaker correlation จากสมการความสัมพันธดังกลาว ขอใดไมเปนฟงกชัน
ของตัวแปรไรหนวย Nu

คําตอบ 1 :
127 of 189
คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

่ า ย
คําตอบ 4 :

หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 238

ส ิท
ว น
282000

ส ง
ขอ
กร
คําตอบ 1 :


ิ ว
าว
คําตอบ 2 :


คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 239
128 of 189
คําตอบ 1 : Logarithmic mean temperature difference
คําตอบ 2 : Bulk mean temperature difference


คําตอบ 3 :

่ า
Film temperature difference


คําตอบ 4 : Semi logarithmic temperature difference

ขอที่ : 240

จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
คําตอบ 1 :

ภ าว 60.7


คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

129 of 189
คําตอบ 4 :
ขอที่ : 241

hydraulic diameter

่ า ย
หน
คําตอบ 1 :

จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

ส ิท
ง ว น
คําตอบ 4 :

อ ส
กร ข

ขอที่ :



242

ภ าว

130 of 189
คําตอบ 1 : 0.0237 m.
คําตอบ 2 : 0.0173 m.
คําตอบ 3 : 0.0273 m.
คําตอบ 4 : 0.0183 m.

ขอที่ : 243

่ า ย
ในการพาแบบอิสระคาตัวเลขนัสเซิลท (Nu) ขึ้นอยูกับคาใด

คําตอบ 1 :
คาตัวเลขพลาน (Pr) และคาตัวเลขเรยโนลด (Re)

หน
คาตัวเลขแกรชอฟ (Gr) และคาตัวเลขเรยโนลด (Re)

จ ำ

คําตอบ 2 :

า้
คาตัวเลขพลาน (Pr) และคาตัวเลขแกรชอฟ (Gr)

ิธ์ ห
คําตอบ 3 :

คาตัวเลขเรยเลย (Ra) และคาตัวเลขเรยโนลด (Re)


คําตอบ 4 :

ส ิท

ขอที่ :


244


แผนสี่เหลี่ยมจัตุรัสบางขนาด 0.4 m x 0.4 m มีอุณหภูมิคงที่ 40 ºC แขวนในแนวดิ่งในบรรยากาศนิ่งอุณหภูมิ 15oC จงหาอัตราการถายเทความรอนจากแผน เมื่อคาสัมประสิทธิ์การพา
ความรอนเฉลี่ย (h) = 2.25 W/m2.K
อ ส
9W
กร ข

คําตอบ 1 :



18 W

าว
คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 : 26 W


คําตอบ 4 :
ภ 29 W

ขอที่ : 245
ทรงกลมมีเสนผานศูนยกลาง 4 cm อุณหภูมิ 150 องศาเซลเซียส แขวนในบรรยากาศนิ่งที่ 27 องศาเซลเซียส จงหาคาสัมประสิทธิ์การพาความรอน ถาทรงกลมมีการพาความรอนที่
ผิว 7.419 W

131 of 189
10W/sq.m.K
คําตอบ 1 :
12 W/sq.m.K
คําตอบ 2 :

15 W/sq.m.K
คําตอบ 3 :

19 W/sq.m.K
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 246

่ า ย

ขนมเคกรูปทรงกระบอกสูง 8 cm เสนผาศูนยกลาง 20 cm มีอุณหภูมิผิวทุกดานเทากับ 100 องศาเซลเซียส วางไวในหองอุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส จงหาอัตราการสูญเสียการพา


ความรอน โดยมีคาสัมประสิทธิ์การพาเทากับ 15 W/sq.m.K สมมุติวาไมมีการสูญเสียความรอนที่ผิวดานลางของขนมเคก

จ ำ

คําตอบ 1 : 71.35 W

า้
คําตอบ 2 : 89.45 W

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : 98.75 W
คําตอบ 4 : 101.55 W

ขอที่ : 247

ส ิท

แทงโลหะสี่เหลี่ยมขนาด 10 cm x 12 cm x 20 cm อันหนึ่งมีอุณหภูมิผิวสม่ําเสมอ 120 องศาเซลเซียส แขวนอยูในสภาพแวดลอมที่ 20 องศาเซลเซียส จงหาการพาความรอนออก


จากแทง ถาคาสัมประสิทธิ์การพาความรอนมีคา 10 W/sq.m.K

ส ง

คําตอบ 1 : 88 W


คําตอบ 2 : 104 W

กร
คําตอบ 3 : 112 W


คําตอบ 4 : 128 W

ขอที่ : 248

าว ศ


chip สี่เหลี่ยมมีผิวระบายความรอนขนาด 4 x 4 mm ขณะทํางานมีคา อุณหภูมิ 85 องศาเซลเซียส โดยวางในของไหลหลอเย็นที่มีอุณหภูมิ15 องศาเซลเซียส ถาคาสัมประสิทธิ์


การพาความรอนของไหล 3000 W/sq.m.K จงหาอัตราการพาความรอนที่ระบายออกจาก chip

คําตอบ 1 : 2.46 W
คําตอบ 2 : 3.36 W
คําตอบ 3 : 4.56. W
คําตอบ 4 : 5.64 W
132 of 189
ขอที่ : 249
เมื่อพิจารณาในการเคลื่อนที่แบบคงตัวของการพาอิสระ(free convection)ในชองแผนขนานแนวตั้ง ขอความใดถูกตอง

แรงตึงผิวเทากับแรงเฉื่อย
คําตอบ 1 :

แรงตึงผิวเทากับแรงลอยตัว
คําตอบ 2 :

แรงจากน้ําหนักเทากับแรงลอยตัว
คําตอบ 3 :

แรงจากน้ําหนักเทากับแรงเฉื่อย

่ า ย

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 250

จ ำ ห
า้ ม
อากาศบรรยากาศบรรจุในชองสี่เหลี่ยมวางในแนวตั้ง ซึ่งประกอบดวยแผนขนานจัตุรัส 2 แผน ขนาด 0.5 m x 0.5 m มีระยะหางระหวางแผน L = 0.1 m โดยที่แผนขนานมีอุณหภูมิ
ของแผนรอนและแผนเย็นเปน T1 = 380 K และ T2 = 320 K ตามลําดับ จงหาอัตราการพาความรอนอิสระ ระหวางแผนขนาน เมื่อ Nu = 7.12

ิธ์ ห
กําหนดใหคุณสมบัติอากาศที่ Tf = 350 K มีคา k=0.03 W/m.K

คําตอบ 1 :

ิท
32 W


คําตอบ 2 : 46 W


คําตอบ 3 : 55 W


คําตอบ 4 :


60 W

ขอที่ : 251

อ ส
กร ข
แผนจัตุรัสขนาด 0.5 x 0.5 m หุมฉนวนดานหนึ่งไว และดานที่ไมหุมถือวาเปนผิวดําไดรับรังสีจากดวงอาทิตยดวยฟลักซความรอนคงที่ 750 W/sq.m ผิวรอนไดถายเทความรอนโดย
การพาอิสระแกบรรยากาศรอบๆ ซึ่งมีอุณหภูมิ 300 K จงหาอุณหภูมิที่ผิว เมื่อคาสัมประสิทธิ์การพาความรอน (h) = 6 W/sq.m.K

คําตอบ 1 : 325 K


ิ ว
าว
คําตอบ 2 : 375 K


คําตอบ 3 : 425 K


คําตอบ 4 : 475 K

ขอที่ : 252
การเคลื่อนที่ของการพาอิสระ(free convection) มีอิทธิพลหลักมาจากแรงอะไร

คําตอบ 1 : แรงเฉื่อย
คําตอบ 2 : แรงตึงผิว 133 of 189
คําตอบ 3 : แรงลอยตัว
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 253
ในพิจารณาการพาความรอนอิสระบนแผนรอนวางในแนวดิ่ง พบวาของไหลบริเวณใกลแผนรอนจะมีอุณหภูมิสูงเปนผลใหมีความหนาแนนต่ําซึ่งความแตกตางของความหนาแนนนี้จะ
กอใหเกิดแรงอะไร


แรงตึงผิว

่ า
คําตอบ 1 :


แรงลอยตัว


คําตอบ 2 :


แรงเฉื่อย


คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :
ถูกทุกขอ

า้ ม
ขอที่ : 254
ิธ์ ห
ิท
ทรงกลมอันหนึ่งมีอุณหภูมิ 142 องศาเซลเซียส วางอยูในบรรยากาศนิ่งที่ 31 องศาเซลเซียส และมีคาสัมประสิทธิ์การพา 17.5 W/sq.m.K จงหาเสนผานศูนยกลางของทรงกลม ถามี


การพาความรอนออกจากผิว 45 W

คําตอบ 1 :
63.27 mm

ง ว น
74.31 mm

อ ส

คําตอบ 2 :

กร
85.88 mm
คําตอบ 3 :

92.45 mm


ิ ว
าว
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 255

ส ภ
พิจารณาการพาความรอนอิสระของการไหลแบบลามินารบนแผนรอนอุณหภูมิคงที่วางในแนวดิ่ง (Vertical hot plate) จงหาวาฟลักซความรอน (local heat flux) สูงสุดจะอยูบริเวณ
ดานไหนของแผน
คําตอบ 1 : ดานบน
คําตอบ 2 : ดานกลาง
คําตอบ 3 : ดานลาง
คําตอบ 4 : เทากันทั้งแผน 134 of 189
ขอที่ : 256
จงหาคาการถายเทความรอนสูสิ่งแวดลอมโดยการพาอิสระ ของวัตถุทรงกระบอกสูง 10 cm เสนผานศูนยกลาง 8 cm มีอุณหภูมิผิวเทากับ 100 องศาเซลเซียส และสัมประสิทธิ์การพา
เทากับ 37 W/sq.m.K โดยสิ่งแวดลอมอยูที่ 20 องศาเซลเซียส

คําตอบ 1 : 92.25 W
คําตอบ 2 : 98.05 W
คําตอบ 3 :


104.15 W

่ า
คําตอบ 4 : 108.25 W

หน

ขอที่ : 257


พิจารณาการพาความรอนอิสระของการไหลแบบลามินารบนแผนเย็นอุณหภูมิคงที่วางในบรรยากาศแนวดิ่ง (Vertical cold plate) จงหาวาฟลักซความรอน (local heat flux) สูงสุด


จะอยูบริเวณดานไหนของแผน

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ดานบน
คําตอบ 2 : ดานกลาง
คําตอบ 3 : ดานลาง

ิท
คําตอบ 4 :


เทากันทั้งแผน

ขอที่ : 258

ง ว น

อากาศรอนไหลผานทอสี่เหลี่ยมที่มีขนาดหนาตัดกวาง 0.8 m และสูง 0.35 m เพื่อทําใหผิวทอภายนอกมีอุณหภูมิคงที่ 45 องศาเซลเซียส ถาทอนี้ไมหุมฉนวนและสัมผัสอากาศที่ 15


องศาเซลเซียส และวางในเพดานใตบาน จงหาคาสัมประสิทธิ์การพาความรอนเฉพาะที่ดานขางทอ (แผนเรียบวางในแนวดิ่ง)

กร ข

ิ ว
าว
3.62 W/sq.m.K


คําตอบ 1 :


4.23 W/sq.m.K
คําตอบ 2 :

5.47 W/sq.m.K
คําตอบ 3 :

6.28 W/sq.m.K
คําตอบ 4 :

135 of 189

ขอที่ : 259
ผนังเตาผิงกวาง 80 cm สูง 50 cm มีอุณหภูมิผนัง 50 องศาเซลเซียส อากาศบรรยากาศรอบผนังมีอุณหภูมิ 24 องศาเซลเซียส จงหาอัตราการถายเทความรอนของผนัง ถาคา
สัมประสิทธิ์การพาความรอนมีคา 4.358 W/sq.m.K

คําตอบ 1 : 25.42 W
คําตอบ 2 : 32.54 W
คําตอบ 3 : 45.32 W
คําตอบ 4 :


52.34 W

ขอที่ : 260

น่ า
ำ ห
แผนสี่เหลี่ยมขนาด 0.4 m x 0.4 m มีอุณหภูมิคงที่ 400 K วางในแนวดิ่งในบรรยากาศนิ่งอุณหภูมิ 300 K จงหาคา Gr

มจ
า้
ิธ์ ห
2.25E+8
คําตอบ 1 :

ิท
4.17E+8


คําตอบ 2 :

ว น
6.36E+8
คําตอบ 3 :

ส ง

8.24E+8
คําตอบ 4 :

กร ข

ขอที่ : 261



แผนเรียบบางสูง 4 เมตร และกวาง 1 เมตร ผิวดานหนึ่งหุมฉนวนไว ผิวที่ไมไดหุมฉนวนมีอุณหภูมิคงที่ 400 K วางในบรรยากาศอุณหภูมิ 300 K จงหาอัตราการถายเทความรอนจาก

าว
แผน เมื่อคาสัมประสิทธิ์การพา(h) = 5.5 W/sq.m.K


คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
ภ 1600 W
1800 W
2000 W
คําตอบ 4 : 2200 W

ขอที่ : 262
136 of 189
แผนสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 0.4 m x 0.4 m มีอุณหภูมิคงที่ 400 K วางในแนวดิ่งในบรรยากาศนิ่งอุณหภูมิ 300 K จงหาคาสัมประสิทธิ์การพาความรอน เมื่อ Nu = 40
โดยอากาศที่ Tf = 350 K มีคา k = 0.03 W/m.K
2 W/sq.m.K
คําตอบ 1 :

3 W/sq.m.K
คําตอบ 2 :

6 W/sq.m.K
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :
8 W/sq.m.K

่ า ย
หน
ขอที่ : 263

จ ำ

ทอน้ํารอนมีเสนผานศูนยกลาง 7 cm ยาว 3 m โดยที่อุณหภูมิทอและอุณหภูมิบรรยากาศเทากับ 343 K และ 293 K ตามลําดับ จงหาอัตราการถายเทความรอนโดยการพาแบบ

า้
ธรรมชาติ เมื่อ Nu = 17.40, k= 0.02699 W/m.K

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 159.3 W

ิท
คําตอบ 2 : 174.9 W


คําตอบ 3 : 196.3 W


คําตอบ 4 : 221.2 W

ง ว

ขอที่ :


264
โลหะแทงสี่เหลี่ยมขนาด 20 mm x 25 mm x 10 mm อุณหภูมิผิว 125 องศาC อยูในสภาวะสิ่งแวดลอมบรรยากาศที่มีคาสัมประสิทธิ์การพาความรอน 3000 W/(sq.m K) จงหาคา

กร ข
อุณหภูมิของสิ่งแวดลอม ถามีการถายเทความรอนจากแทงโลหะนี้สูสิ่งแวดลอม 0.57 kW


ิ ว
ภ าว

25 องศาC
คําตอบ 1 :

30 องศาC 137 of 189


คําตอบ 2 :
35 องศาC
คําตอบ 3 :

40 องศาC
คําตอบ 4 :


ขอที่ : 265

่ า
วัตถุทรงกลมอุณหภูมิ 135 องศาC อยูในอุณหภูมิสิ่งแวดลอมที่ 30 องศาC มีคาสัมประสิทธิ์การพาความรอน 15 W/(sq.m K) จงคํานวณหาเสนผาศูนยกลางของวัตถุนี้ ถาการพา


ความรอนมีคา 45 W

จ ำ ห

คําตอบ 1 : 67.1 mm

า้
คําตอบ 2 : 95.4 mm

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : 108.2 mm
คําตอบ 4 : 114.6 mm

ขอที่ :

ส ิท

266


วัตถุทรงกระบอกดังรูป มีการพาความรอนสูสิ่งแวดลอม 34.3 W และสัมประสิทธิ์การพาความรอน 15 W/(sq.m K) ถาอุณหภูมิผิวของวัตถุเทากับ 85 องศาC จงคํานวณหาคา


อุณหภูมิสิ่งแวดลอม

อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
15 องศาC

20 องศาC
15

คําตอบ 2 :

25 องศาC
คําตอบ 3 :
138 of 189

30 องศาC
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 267
วัตถุแบนรูปสามเหลี่ยมดังภาพมีฐานกวาง 25 mm สูง 30 mm มีอุณหภูมิผิว 150 องศาC แขวนไวในสิ่งแวดลอมที่มีอุณหภูมิ 32 องศาC จงหาอัตราการถายเทความรอนของวัตถุ ถา
คาสัมประสิทธิ์การพาความรอนมีคา 1500 W/(sq.m K)

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 114.50 W
คําตอบ 2 : 132.75 W

ิท
คําตอบ 3 : 151.25 W


คําตอบ 4 : 168.45 W

ขอที่ : 268

ง ว น

ขอใดกลาวถูกตอง เมื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการพาความรอนระหวางแบบอิสระและแบบบังคับสําหรับการไหลโดยทั่วไป

ขอ
กร
สัมประสิทธิ์การพาความรอนแบบอิสระมีคานอยกวาสัมประสิทธิ์การพาแบบบังคับ
คําตอบ 1 :


ิ ว
ของไหลที่ไหลในระบบการพาแบบอิสระจะไหลชากวาในระบบการพาแบบบังคับ

าว
คําตอบ 2 :


การถายเทความรอนในระบบการพาแบบอิสระมีคานอยกวาในการพาแบบบังคับ
คําตอบ 3 :


คําตอบ 4 :
ถูกทุกขอ

ขอที่ : 269

139 of 189

แผนสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 0.4 m x 0.4 m มีอุณหภูมิคงที่ 400 K วางในแนวดิ่งในบรรยากาศนิ่ง อุณหภูมิ 300 K จงหาคา Rayleigh number (Ra) ถา Pr = 0.697
คําตอบ 1 : 2.2E+8
คําตอบ 2 : 2.9E+8
คําตอบ 3 : 3.4E+8


คําตอบ 4 : 3.9E+8

น่ า

ขอที่ : 270


จงเรียงลําดับจากคามากไปหานอย สําหรับแรงลอยตัวที่เกิดขึ้นเมื่อวัตถุอยูในของไหลที่เปน อากาศ, น้ําและปรอท

มจ
า้
อากาศ, น้ํา, ปรอท

ิธ์ ห
คําตอบ 1 :

ปรอท, อากาศ, น้ํา


คําตอบ 2 :

น้ํา, ปรอท, อากาศ

ส ิท

คําตอบ 3 :

ปรอท, น้ํา, อากาศ

ง ว

คําตอบ 4 :

ขอ
กร
ขอที่ : 271


เงื่อนไขใดที่ถือไดวาเปนการพาความรอนตามธรรมชาติเพียงอยางเดียว

คําตอบ 1 :

าว ศ

เมื่อ Gr/(Re.Re) << 1.0


คําตอบ 2 :
ภ เมื่อ Gr/(Re.Re) >> 1.0

เมื่อ Gr/(Re.Re) = 1.0


คําตอบ 3 :

ไมมีขอใดถูก
คําตอบ 4 :
140 of 189
ขอที่ : 272
ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับคา Nu (Nusselt Number)

Nu เปนอัตราสวนของการพาความรอนตอการนําความรอน
คําตอบ 1 :

ถา Nu = 1 จัดเปน Pure Conduction


คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :
Nu เปน สัมประสิทธิ์การพาความรอนไรมิติ

น่ า
คําตอบ 4 :
ถูกทุกขอ

จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 273
แผนเรียบแนวดิ่งสูง L = 0.4 m และกวาง 0.5 m ผิวดานหนึ่งหุมฉนวนไว ผิวที่ไมไดหุมฉนวนมีอุณหภูมิคงที่ 400 K วางในบรรยากาศอุณหภูมิ 300 K จงหาคาเฉลี่ยตัวเลขนัสเซิล

ิท
(Nu)

นส
ง ว
คําตอบ 1 : 72.16

อ ส
กร ข
คําตอบ 2 : 75.24
คําตอบ 3 : 77.25


คําตอบ 4 :



80.36

ขอที่ : 274

ภ าว

แผนเรียบแนวดิ่งสูง 5 เมตร กวาง 1.5 เมตร ผิวดานหนึ่งหุมฉนวนไว ผิวที่ไมไดหุมฉนวนมีออุณหภูมิคงที่ 400 K วางในบรรยากาศอุณหภูมิ 300 K จงหาคาสัมประสิทธิ์การพาความ
รอนเฉลี่ย(h) เมื่อกําหนดให

2.7 W/sq.m K
คําตอบ 1 :

2.8 W/sq.m K 141 of 189


คําตอบ 2 :
2.9 W/sq.m K
คําตอบ 3 :

3.0 W/sq.m K
คําตอบ 4 :


ขอที่ : 275

่ า
แผนเรียบแนวดิ่งสูง 5 เมตร กวาง 1.5 เมตร ผิวดานหนึ่งหุมฉนวนไว ผิวที่ไมไดหุมฉนวนมีออุณหภูมิคงที่ 400 K วางในบรรยากาศอุณหภูมิ 300 K จงหาอัตราการถายเทความรอน


จากแผน เมื่อคาสัมประสิทธิ์การพาความรอนเฉลี่ยเทากับ 5.51 W/m^2.K

คําตอบ 1 : 4111 W

จ ำ ห

คําตอบ 2 : 4122 W

า้
คําตอบ 3 : 4133 W

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : 4144 W

ิท
ขอที่ : 276


อากาศไหลผานทอความรอนสี่เหลี่ยมผืนผายาว มีขนาดหนาตัดกวาง 0.75 m และสูง 0.3 m เพื่อทําใหผิวทอภายนอกมีอุณหภูมิ 45 องศาเซลเซียส ถาทอนี้ไมหุมฉนวนและสัมผัส


อากาศที่ 15 องศาเซลเซียสในเพดานใตบาน จงหาคาสัมประสิทธิ์การพาความรอนที่ดานขางทอ (แผนเรียบวางในแนวดิ่ง) เมื่อกําหนดให

ง ว
อ ส
กร ข

คําตอบ 1 :



3.56

คําตอบ 2 :

ภ าว

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :
142 of 189
ขอที่ : 277
อากาศไหลผานทอความรอนสี่เหลี่ยมผืนผายาว มีขนาดหนาตัดกวาง 0.75 m และสูง 0.3 m เพื่อทําใหผิวทอภายนอกมีอุณหภูมิ 45 องศาเซลเซียส ถาทอนี้ไมหุมฉนวนและสัมผัส
อากาศที่ 15 องศาเซลเซียส ในเพดานใตบาน จงหาคาสัมประสิทธิ์การพาความรอนที่ผิวดานบนทอ สําหรับผิวดานบนทอความยาวเฉพาะ L = (As/P)

่ า ย

คําตอบ 1 :


2.47

จ ำ

คําตอบ 2 :

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ส ิท
ง ว น

ขอที่ : 278


ถานําไขตมรอน (boiling egg) ไปวางใวในยานอวกาศที่อยูนอกโลกหรือนําไปวางใวบนพื้นโลก อยากทราบวา ณ ที่ใดไขตมรอนนี้จะเย็นตัวไดเร็วกวา

กร ข

บนพื้นโลก
คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

าว ศ

ในยานอวกาศนอกโลก


คําตอบ 3 :
ภ เย็นตัวไดเทากันทั้งสองที่

ไมสามารถสรุปได
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 279
143 of 189
แผนจตุรัสขนาด 0.5 m x 0.5 m หุมฉนวนดานหนึ่งไวและดานที่ไมหุมถือวาเปนผิวดําไดรับรังสีจากดวงอาทิตยดวยฟลักซ 600 W/m^2 แผนเรียบนี้ทํามุม 60 องศากับแนวดิ่ง ดังนั้น
หนารอนจึงหงายขึ้น ผิวรอนไดถายเทความรอนโดยการพาอิสระแกบรรยากาศรอบ ๆ ซึ่งมีอุณหภูมิ 300 K จงหาคาตัวเลขนัสเซลทเฉลี่ย โดยกําหนดให
คําตอบ 1 : 93.2 93.2
คําตอบ 2 : 95.4
คําตอบ 3 : 97.1


คําตอบ 4 : 99.3

น่ า

ขอที่ : 280


แผนจัตุรัสขนาด 0.5 m x 0.5 m หุมฉนวนดานหนึ่งไว และดานที่ไมหุมถือวาเปนผิวดําไดรับรังสีจากดวงอาทิตยดวยฟลักซเทากับ 600 W/m^2 แผนเรียบนี้ทํามุม 60 องศากับแนวดิ่ง


ดังนั้นหนารอนจึงหงายขึ้น ผิวรอนไดถายเทความรอนโดยการพาอิสระแกบรรยากาศรอบ ๆ ซึ่งมีอุณหภูมิ 300 K จงหาคาอุณหภูมิที่ผิว เมื่อคาสัมประสิทธิ์การพาความรอนเฉลี่ยเทากับ

า้ ม
3.16 W/m^2.K

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 487.9 K
คําตอบ 2 : 489.9 K

ิท
คําตอบ 3 : 491.9 K


คําตอบ 4 :


493.9 K

ขอที่ :

ง ว

281


อากาศที่ความดันบรรยากาศบรรจุในชองสี่เหลี่ยมวางในแนวดิ่ง ซึ่งประกอบดวยแผนขนานจัตุรัส 2 แผน ขนาด 0.4 m x 0.4 m โดยมีระยะหางของแผน L = 0.05 m อุณหภูมิของ


แผนรอนและแผนเย็นเปน T1 = 380 K และ T2 = 320 K ตามลําดับ จงหาอัตราการถายเทความรอนโดยการพาอิสระระหวางชองวาง เมื่อ Nu = 7.12

คําตอบ 1 :

ว กร


41 W

าว
คําตอบ 2 : 44 W
คําตอบ 3 : 47 W


คําตอบ 4 : 49 W

ขอที่ : 282 ส
ขอใดกลาวถึงนิยามของ Gr (Grashof number) ไดถูกตอง

คืออัตราสวนของแรงเสียดทานตอแรงลอยตัว
คําตอบ 1 :
144 of 189

คืออัตราสวนของแรงเสียดทานตอแรงเฉื่อย
คําตอบ 2 :
คืออัตราสวนของแรงลอยตัวตอแรงเสียดทาน
คําตอบ 3 :

คืออัตราสวนของแรงเฉื่อยตอแรงเสียดทาน
คําตอบ 4 :

ขอที่ :

่ า ย

283

ผิวอันหนึ่งมีอุณหภูมิผิว 5500oC มีคาสภาพการแผรังสี(emissivity)เปน 0.9 จงหาอัตราการแผรังสีความรอนตอหนวยพื้นผิว

จ ำ ห
56.68 MW/m2

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :

54.82 MW/m2

ิท
คําตอบ 2 :

นส

52.73 MW/m2


คําตอบ 3 :

50.50 MW/m2

อ ส

คําตอบ 4 :

ว กร


ขอที่ :

าว
284
วัตถุดําขนาด 0.43 ตารางเมตร มีอัตราการแผรังสีความรอนที่ปลอยออกจากพื้นผิว 780.57 W จงหาคาอุณหภูมิของพื้นผิว


คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
ภ 130 องศาเซลเซียส
138 องศาเซลเซียส
142 องศาเซลเซียส
คําตอบ 4 : 150 องศาเซลเซียส

ขอที่ : 285 145 of 189

แทงโลหะรอน(heater) ยาว 0.5 m และมีเสนผาศูนยกลาง 2.5 cm มีคาสภาพการแผรังสี (emissivity) 0.9 โดยมีรังสีความรอนออกจากพื้นผิว 350 W จงหาอุณหภูมิผิวของแทง
โลหะนี้
369.5 องศาเซลเซียส
คําตอบ 1 :

351.6 องศาเซลเซียส
คําตอบ 2 :


335.7 องศาเซลเซียส

่ า
คําตอบ 3 :

315.8 องศาเซลเซียส

หน

คําตอบ 4 :

มจ
า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 286
วัตถุทรงกระบอกแทงหนึ่งมีขนาดเสนผานศูนยกลาง 0.4 m อุณหภูมิผิว 300 องศาเซลเซียส มีคาสภาพการแผรังสี (emissivity)เปน 0.24 มีคาการแผรังสีความรอนที่ปลอยออกจาก
พื้นผิว 1935.58 W จงหาความยาวของวัตถุแทงนี้

ส ิท

0.055 m


คําตอบ 1 :

ส ง

0.065 m
คําตอบ 2 :

0.075 m

กร ข

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :
0.085 m

าว ศ

ขอที่ : 287
ส ภ
วัตถุทรงกลมขนาดเสนผาศูนยกลาง 0.3 m มีอุณหภูมิผิว 200 องศาเซลเซียส มีคาสภาพการแผรังสี (emissivity) เปน 0.81 จงหาอัตราการแผรังสีความรอนที่ปลอยออกจากวัตถุ
ทรงกลมนี้

คําตอบ 1 : 629 W 146 of 189


คําตอบ 2 : 637 W
คําตอบ 3 : 642 W
คําตอบ 4 : 650 W

ขอที่ : 288
อุณหภูมิของเปลวไฟภายในเตาหลอมอันหนึ่งเปน 1900 K สมมติใหเปลวไฟในเตาหลอมนั้นเปนวัตถุดํา จงหาความยาวคลื่นที่ใหการแผรังสีสูงสุด


1.53 ไมโครเมตร

่ า
คําตอบ 1 :


1.63 ไมโครเมตร


คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :
2.53 ไมโครเมตร

จ ำ
คําตอบ 4 :
2.63 ไมโครเมตร

า้ ม
ิธ์ ห
ิท
ขอที่ : 289


วัตถุทรงกลมมีพื้นผิว 0.332 sq.m มีอุณหภูมิผิว 154 องศาเซลเซียส มีคาสภาพการแผรังสี (emissivity) เปน 0.75 วางไวในบริเวณปริมาตรปด(enclosure)ที่มีอุณหภูมิ 58 องศา


เซลเซียส จงหาอัตราการแผความรอนสุทธิที่ปลอยออกจากพื้นผิววัตถุ

280 W

ง ว

คําตอบ 1 :

ขอ
290 W
คําตอบ 2 :

กร
300 W


คําตอบ 3 :

าว ศ

310 W
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 290

ส ภ
อุณหภูมิของเปลวไฟภายในเตาหลอมแหงหนึ่งเปน 1500 K สมมติใหเปลวไฟในเตาหลอมนั้นเปนวัตถุดํา จงหากําลังการแผรังสี(Emissive power, Eb)ของเปลวไฟ

คําตอบ 1 : 287.04 kW/sq.m


คําตอบ 2 : 312.63 kW/sq.m
คําตอบ 3 : 331.97 kW/sq.m
คําตอบ 4 : 347.28 kW/sq.m 147 of 189
ขอที่ : 291
ทอลมรอนไมหุมฉนวนมีพื้นที่ผิวเทากับ 0.43 ตารางเมตร ทอวางผานหองซึ่งอากาศและผนังหองมีอุณหภูมิเทากัน คือ 25 องศาเซลเซียส ถา อุณหภูมิผิวทอเปน 110 องศาเซลเซียส
มีคาสภาพการแผรังสี (emissivity) เปน 0.86 และสัมประสิทธิ์การพาความรอนที่ผิวทอเทากับ 34 W/sq.m.K จงหาอัตราความรอนสูญเสียทั้งหมดของทอ

1528.52 W
คําตอบ 1 :

1601.78 W


คําตอบ 2 :

น่ า
1672.23 W
คําตอบ 3 :

ำ ห
1712.55 W
คําตอบ 4 :

มจ
า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 292
ผิวหนึ่งมีอุณหภูมิ T1 = 400 K และ มีพื้นที่ A1 เปน 4 เทาของผิว A2 ซึ่งมีอุณหภูมิ T2 = 800 K โดยผิวทั้งสองกําลังแลกเปลี่ยนรังสีความรอนซึ่งกันและกัน โดยมีคาวิวแฟคเตอร
F12 = 0.15 จงหาคาวิวแฟคเตอร F21

คําตอบ 1 :
0.4

ส ิท
คําตอบ 2 :
0.5

ง ว น
อ ส
0.6
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :
0.7

กร ข

ิ ว
าว
ขอที่ : 293


โลหะแผนหนึ่งมีพื้นที่ผิว 0.6 sq.m อุณหภูมิ 220 องศาเซลเซียส ทําการแผรังสีความรอนใหกับวัสดุอีกชนิดหนึ่งที่มีอุณหภูมิ 65 องศาเซลเซียส และมีพื้นที่ผิวเปน 1.5 เทาของโลหะ
แผน ใหหาอัตราการแลกเปลี่ยนรังสีความรอนสุทธิ สมมุติวาทั้งคูเปนวัตถุดํา


คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
1501.93 W
1532.28 W
1565.64 W
คําตอบ 4 : 1576.03 W

148 of 189
ขอที่ : 294
แทงวัสดุขนาด 10 x 12 x 20 cm อันหนึ่งมีอุณหภูมิผิวสม่ําเสมอ 120 องศาเซลเซียส จงหาคาการถายเทความรอนโดยการแผรังสี ถาคาสภาพการแผรังสี (emissivity)ของผิวเปน
0.76

คําตอบ 1 : 110.58 W
คําตอบ 2 : 112.43 W
คําตอบ 3 : 113.80 W
คําตอบ 4 :


115.13 W

ขอที่ : 295

น่ า
ำ ห
ขนมเคกนําออกจากเตาอบเพื่อทําใหเย็นตัวลง โดยที่ขนมเคกถือวาเปนทรงกระบอกสูง 8 cm และมีเสนผานศูนยกลาง 20 cm ถาอุณหภูมิผิวของขนมเคกทุกดานเทากับ 90 องศา


เซลเซียส จงหาอัตราการสูญเสียความรอนโดยการแผรังสีของขนมเคก โดยที่คาสภาพการแผรังสี(emissivity)ของเคกทุกผิวเปน 0.4

คําตอบ 1 : 44.54 W

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 : 53.12 W
คําตอบ 3 : 68.32 W
คําตอบ 4 :

ิท
71.85 W

ขอที่ : 296

นส
ง ว
วัตถุทรงกลมขนาดเสนผานศูนยกลาง 50 mm มีอุณหภูมิผิว 145 องศาเซลเซียส อัตราการถายเทความรอนโดยการแผรังสีมีคา 6.8W จงหาคาสภาพการแผรังสี(emissivity) ของ


วัตถุนี้

คําตอบ 1 : 0.3

ขอ
กร
คําตอบ 2 : 0.4


คําตอบ 3 : 0.5



คําตอบ 4 : 0.6

ขอที่ : 297

ภ าว

วัตถุทรงกระบอกขนาดเสนผานศูนยกลาง 20 mm ยาว 80 mm คาสภาพการแผรังสี (emissivity) เปน 0.6 ถาวัตถุนี้มีการแผรังสีความรอนเทากับ 6.81 W จงหาอุณหภูมิผิวของวัตถุ

คําตอบ 1 : 93 องศาเซลเซียส
คําตอบ 2 : 110 องศาเซลเซียส
คําตอบ 3 : 146 องศาเซลเซียส
คําตอบ 4 : 161 องศาเซลเซียส
149 of 189

ขอที่ : 298
จงหาคาฟลักซความรอนสุทธิ (net heat flux) ของผิวทึบอันหนึ่งที่มีอุณหภูมิ 500 K และคาสภาพการแผรังสี(emissivity)เปน 0.8 ถาผิวนี้มีคาอัตรารังสีตกกระทบ (irradiation, G)
= 5000 W/sq.m และ มีคาอัตราการดูดกลืนรังสีที่ผิว, G(abs) = 3800 W/sq.m

คําตอบ 1 : 824 W/sq.m


คําตอบ 2 : 965 W/sq.m
คําตอบ 3 : 1025 W/sq.m


คําตอบ 4 :

่ า
1164 W/sq.m

ขอที่ :

หน

299


วัตถุหนึ่งมีรังสีตกกระทบ(irradiation) 370 W/sq.m วัตถุนี้มีคาการดูดกลืนของผิว(absorptivity) = 0.3 และ คาการผานทะลุของผิว (Transmissivity) = 0.12 จงหาคารังสีความ


รอนที่สะทอนออกจากผิววัตถุ

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 124.6 W/sq.m
คําตอบ 2 : 165.6 W/sq.m

ิท
คําตอบ 3 : 194.8 W/sq.m


คําตอบ 4 : 214.6 W/sq.m

ขอที่ : 300

ง ว น

วัตถุอันหนึ่งไดรับอัตรารังสีตกกระทบ(irradiation) เทากับ 500 W/sq.m ซึ่งวัตถุนี้มีอัตราการดูดกลืนรังสีเทากับ 150 W/sq.m และคาอัตราการผานทะลุของรังสีมีคา 25 W/sq.m จง


หาคาสภาพการสะทอนรังสี(Reflectivity)ของผิว

กร ข

คําตอบ 1 : 0.32



คําตอบ 2 : 0.48

าว
คําตอบ 3 : 0.65


คําตอบ 4 : 0.83

ขอที่ : 301

จงหาคารังสีตกกระทบ (irradiation) บนวัตถุอันหนึ่ง ถาคาการผานทะลุของผิว(Transmissivity)มีคา 0.03 และคาการสะทอนของผิว (Reflectivity)มีคา 0.5 ในขณะที่วัดคารังสีที่
ถูกดูดกลืนไดโดยตรงซึ่งเทากับ 94 W/sq.m

คําตอบ 1 : 200 W/sq.m


150 of 189
คําตอบ 2 : 225 W/sq.m
คําตอบ 3 : 250 W/sq.m
คําตอบ 4 : 285 W/sq.m

ขอที่ : 302
ถาคาอัตรารังสีความรอนทั้งหมดที่ตกกระทบบนพื้นผิววัตถุเทากับ 2200 W/sq.m ซึ่งมีคาอัตราการสะทอนรังสีความรอน 450 W/sq.m และ มีคาอัตราการดูดกลืนรังสีความรอน 900
W/sq.m จงคํานวณคาการผานทะลุของผิว(Transmissivity)

่ า ย

0.175


คําตอบ 1 :

จ ำ

0.243
คําตอบ 2 :

า้
ิธ์ ห
0.327
คําตอบ 3 :

ิท
0.386


คําตอบ 4 :

ง ว น

ขอที่ : 303


วัตถุดํามีอุณหภูมิที่ผิว 390 K จงคํานวณคา Total emissive power

กร ข

คําตอบ 1 : 977 W/sq.m



คําตอบ 2 : 1042 W/sq.m

าว
คําตอบ 3 : 1311 W/sq.m


คําตอบ 4 : 1573 W/sq.m

ขอที่ : 304

วัตถุดํามีอุณหภูมิผิว 450 K จงหาคาความยาวคลื่นที่ใหคา Emissive power มีคาสูงสุด

151 of 189
คําตอบ 1 : 6.44 ไมครอน
คําตอบ 2 : 6.81 ไมครอน
คําตอบ 3 : 7.17 ไมครอน
คําตอบ 4 : 7.63 ไมครอน

ขอที่ : 305
วัตถุดํามีคา Emissive power 2540 W/sq.m จงคํานวณอุณหภูมิผิววัตถุนี้

่ า ย

150 องศาเซลเซียส


คําตอบ 1 :

จ ำ

163 องศาเซลเซียส

า้
คําตอบ 2 :

ิธ์ ห
187 องศาเซลเซียส
คําตอบ 3 :

ิท
191 องศาเซลเซียส


คําตอบ 4 :

ง ว น

ขอที่ :


306


จงหาคาการปลอยออกของรังสี(emissive power) ของวัตถุ ที่ 1145 K และมีคาสภาพการแผรังสี(emissivity)เปน 0.85


53.26 kW/sq.m
กร


คําตอบ 1 :

ภ าว
67.94 kW/sq.m
คําตอบ 2 :


คําตอบ 3 :
75.27 kW/sq.m

82.84 kW/sq.m
คําตอบ 4 :

152 of 189

ขอที่ : 307
แผนเรียบมีพื้นที่ผิว 2.5 sq.cm อุณหภูมิ 1000 K มีการแผรังสีความรอนออกที่ 3.5 W จงหาคาสภาพการแผรังสี (Emissivity) ของผิวที่อุณหภูมิดังกลาว

คําตอบ 1 : 0.18
คําตอบ 2 : 0.25
คําตอบ 3 : 0.84
คําตอบ 4 : 0.83

่ า ย

ขอที่ : 308

ำ ห
จงหาคาอัตราการแลกเปลี่ยนรังสีความรอนสุทธิของวัตถุผิวเรียบ 1 ซึ่งมีพื้นที่ 0.75 sq.m อุณหภูมิผิว 700 K กับวัตถุผิวเรียบ 2 ซึ่งมีพื้นที่ 2.0 sq.m อุณหภูมิผิว 250 K โดยที่คา


view factor, F12 = 0.13 สมมุติวาเปนวัตถุดําทั้งสองผิว

า้ ม
ิธ์ ห
1.31 kW
คําตอบ 1 :

ิท
2.28 kW
คําตอบ 2 :

นส

3.06 kW


คําตอบ 3 :

3.55 kW

อ ส

คําตอบ 4 :

ว กร


ขอที่ : 309

าว
วัตถุทรงกลมมีเสนผานศูนยกลาง 18 cm อุณหภูมิผิว 150 องศาเซลเซียส อัตราการถายเทความรอนโดยการแผรังสีจากผิวมีคา 80.5 W จงหาคาสภาพการแผรังสี (emissivity) ของ
วัตถุนี้

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :ส ภ 0.37
0.44
คําตอบ 3 : 0.54
คําตอบ 4 : 0.61

153 of 189
ขอที่ : 310
วัตถุทรงกลมมีอุณหภูมิผิว 125 องศาเซลเซียส อัตราการถายเทความรอนโดยการแผรังสีที่ผิวมีคา 65 W คาสภาพการแผรังสี (emissivity)ของผิวมีคา 0.66 จงหาขนาดเสนผาน
ศูนยกลางของวัตถุนี้
3.65 cm
คําตอบ 1 :

5.75 cm
คําตอบ 2 :


7.42 cm

่ า
คําตอบ 3 :

หน

8.23 cm
คําตอบ 4 :

มจ
า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 311
เตาเผารูปทรงกระบอกตั้งอันหนึ่ง ฝาดานบนรูปจานกลมมีพื้นที่ A1เทากับ 0.1 sq.m, T1 = 300 K ในขณะที่ฝาลางมีพื้นที่ A2 = 0.1 sq.m, T2 = 600 K และผนังเตาภายในดาน
ขางมีพื้นที่ A3 = 0.2 sq.m, T3 = 800 K ถาถือวาผิวภายในเตานี้เปนปริมาตรปด(enclosure) และกําหนดใหวิวแฟคเตอร F12 = 0.2 จงหาคาวิวแฟคเตอร F31

ิท
คําตอบ 1 :


0.2


คําตอบ 2 : 0.3


คําตอบ 3 : 0.4


คําตอบ 4 :


0.5

ขอที่ :

ขอ
กร
312
เตาเผารูปทรงกระบอกตั้งอันหนึ่ง ฝาบนรูปจานกลมมีพื้นที่ A1เทากับ 0.1 sq.m, T1 = 300 K ในขณะที่ฝาลางมีพื้นที่ A2 = 0.1 sq.m, T2 = 600 K และผนังขางภายในเตามีพื้นที่


A3 = 0.2 sq.m, T3 = 800 K ถาถือวาภายในเตานี้เปนปริมาตรปด(enclosure)และผิวดํา จงหาคาอัตราการแผรังสีความรอนสุทธิสูผิว A1 กําหนดใหวิวแฟคเตอร F12 = 0.2

1.67 kW

าว ศ


คําตอบ 1 :


1.74kW
คําตอบ 2 :

1.83kW
คําตอบ 3 :

1.96 kW
คําตอบ 4 :
154 of 189
ขอที่ : 313
วัตถุดํามีอุณหภูมิ 500 K จงหากําลังแผออกของรังสีความรอนที่ความยาวคลื่นที่ใหคาสูงสุด (maximum monochromatic emissive power)
[คาคงที่ของ Wien displacement law เทากับ 2898 ไมโครเมตร.K]

่ า ย
คําตอบ 1 :

หน

347.05

คําตอบ 2 :

มจ
า้
ิธ์ ห
คําตอบ 3 :

ิท
คําตอบ 4 :

นส
ขอที่ : 314

ง ว

วัตถุดํามีอุณหภูมิ 1640 K จงหาคากําลังแผออกของรังสีความรอนของวัตถุ (monochromatic emissive power, Eb) ที่ความยาวคลื่น 2.30 ไมโครเมตร

ขอ
ว กร
าว ศ


คําตอบ 1 :


0.1187

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 : 155 of 189


ขอที่ : 315
แผนโลหะมีอุณหภูมิผิว 205 องศาC และคา emissivity เทากับ 0.8 วางไวในบริเวณปด(Enclosure)ขนาดใหญมีอุณหภูมิ 24 องศาC ถาอัตราการแผรังสีความรอนสุทธิจากผิวเปน
378 W จงหาพื้นที่ผิวของแผน

0.188 ตารางเมตร
คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :
0.388 ตารางเมตร

่ า ย
0.588 ตารางเมตร

หน

คําตอบ 3 :


0.788 ตารางเมตร


คําตอบ 4 :

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 316
แผนเรียบมีพื้นที่ผิว 2.5 sq.cm. มีอัตราการแผรังสีความรอนที่ 5.5 W และมีคาสภาพการแผรังสี(emissivity) เทากับ 0.25 จงหาอุณหภูมิผิวของแผน

ส ิท

คําตอบ 1 : 1016.61 K


คําตอบ 2 :


1116.16 K


คําตอบ 3 : 1126.61 K


คําตอบ 4 : 1216.16 K

ขอที่ : 317

กร ข

กลองปดถือเปนวัตถุดําดังรูป มีอุณหภูมิพื้นผิว 1 (ผิวลางของกลอง) เทากับ 550 K, พื้นผิว 2 (ผิวบน) เทากับ 400 K และพื้นผิว 3 (ผิวขางทั้ง 4 ดาน) มีอุณหภูมิ 500 K จงหาการ



แผรังสีความรอนสุทธิระหวางผิวที่ 1 ไปยังผิวที่ 2

ภ าว

156 of 189
คําตอบ 1 : 28.88 kW
คําตอบ 2 : 41.21 kW
คําตอบ 3 : 52.73 kW
คําตอบ 4 : 63.77 kW

ขอที่ : 318
กลองปริมาตรปดถือเปนวัตถุดําดังรูป มีอุณหภูมิที่พื้นผิว 1 (ผิวขางดานขวาของกลอง) เทากับ 500 K, พื้นผิวที่ 2 (ผิวกลางทั้ง 4 ดาน) เทากับ 400 K และพื้นผิวที่ 3 (ผิวขางดาน
ซาย) มีอุณหภูมิ 350 K จงหาการแผรังสีความรอนสุทธิระหวางผิวที่ 1 ไปยังผิวที่ 3

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 :
ิธ์ ห
ิท
38.35 kW


คําตอบ 2 : 47.63 kW


คําตอบ 3 : 53.11 kW


คําตอบ 4 :


61.29 kW

ขอที่ : 319

อ ส
กร ข
จงหาอัตราการแผรังสีความรอนสุทธิจากผิวที่ 1 ไปยังผิวที่ 2 ของแผนเรียบที่จัดวางดังรูป โดยมีคา view factor, F12 = 0.1


ิ ว
ภ าว
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
ส 7.15 kW
10.67 kW
คําตอบ 3 : 14.32 kW
คําตอบ 4 : 17.09 kW

157 of 189
ขอที่ : 320
แผนเรียบจัดวางดังรูป จงหาอัตราการแผรังสีความรอนสุทธิจากผิวที่ 1 ซึ่งมี T1=700 K ไปยังผิวที่ 2 ซึ่งมี T2=250 K โดยมีคา view factor, F12 = 0.13

่ า ย

คําตอบ 1 : 1.31 kW


คําตอบ 2 : 2.28 kW


คําตอบ 3 : 3.06 kW


คําตอบ 4 :


3.55 kW

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 321
วัตถุทรงสี่เหลี่ยมมีขนาด 10 cm x 15 cm x 18 cm อันหนึ่งมีอุณหภูมิผิวสมําเสมอ 180 องศาC อยูในสภาวะสิ่งแวดลอมที่ 25 องศาC จงหาคาการแผรังสีความรอนของวัตถุนี้ ถาคา
สภาพการแผรังสี (emissivity) มีคา 0.48

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

คําตอบ 1 : 112.5W

าว ศ

คําตอบ 2 : 126.1 W
คําตอบ 3 : 137.5 W


คําตอบ 4 : 143.3 W

ขอที่ : 322 ส
วัตถุทรงกลมมีเสนผานศูนยกลาง 18 cm อุณหภูมิผิว 310 K โดยมีคา emissivity เทากับ 0.37 จงหาอัตราการแผรังสีความรอนของวัตถุ

คําตอบ 1 : 15.6 W 158 of 189


คําตอบ 2 : 17.9 W
คําตอบ 3 : 19.7 W
คําตอบ 4 : 21.6 W

ขอที่ : 323
วัตถุทรงกลมพื้นที่ผิวเทากับ 0.07 sq.m. มีอัตราการแผรังสีความรอน 75 W และคา emissivity เทากับ 0.65 สมมติไมคิดผลการพาความรอน จงประมาณคาอุณหภูมิที่ผิวของวัตถุ

่ า ย

คําตอบ 1 : 140 องศาC


คําตอบ 2 : 230 องศาC

จ ำ
คําตอบ 3 : 320 องศาC


คําตอบ 4 : 410 องศาC

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 324
วัตถุทรงกระบอกเสนผานศูนยกลาง 50 mm ยาว 200 mm อยูในสภาวะสิ่งแวดลอมที่ 22 องศาC มีคาสภาพการแผรังสี(emissivity)ทุกผิวเทากับ 0.8 จงหาอุณหภูมิผิวของวัตถุ ถา

ิท
อัตราการแผรังสีความรอนของวัตถุมีคาเทากับ 55 W สมมติไมคิดการพาความรอน

นส
130.7 องศาC

ง ว

คําตอบ 1 :


157.4 องศาC


คําตอบ 2 :

ว กร
186.2 องศาC
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

าว ศ

198.1 องศาC

ขอที่ : 325
ส ภ
วัตถุทรงกระบอกเสนผานศูนยกลาง 35 mm ยาว 80 mm มีอุณหภูมิผิว 135 องศาC วางอยูในสภาวะสิ่งแวดลอมที่ 20 องศาC และมีอัตราการแผรังสีความรอนออกเทากับ 10 W จง
หาคาสภาพการแผรังสี(emissivity)ของวัตถุ

159 of 189
คําตอบ 1 : 0.2
คําตอบ 2 : 0.4
คําตอบ 3 : 0.6
คําตอบ 4 : 0.8

ขอที่ : 326
วัตถุทรงกระบอกมีความยาว (L) เทากับรัศมี (r) อุณหภูมิผิวเทากับ 128 องศาC คา emissivity เทากับ 0.6 และมีอัตราการแผรังสีความรอนออกเทากับ 25 W จงหาเสนผานศูนย


กลางของวัตถุนี้

น่ า
คําตอบ 1 : 4.3 cm

จ ำ ห

คําตอบ 2 : 7.1 cm

า้
คําตอบ 3 : 9.5 cm

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : 12.6 cm

ิท
ขอที่ : 327


วัตถุทรงสี่เหลี่ยมมีมิติ 12 cm x 18 cm x L cm ชิ้นหนึ่งมีอุณหภูมิผิว 150 องศาC มีคาการแผรังสีความรอนจากผิวทั้งหมดเปน 140 W ถาคา emissivity ของผิวเทากับ 0.55 จงหา


คา L ของวัตถุนี้

ง ว
คําตอบ 1 : 6.5 cm

อ ส
กร ข
คําตอบ 2 : 9.7 cm
คําตอบ 3 : 14.6 cm


คําตอบ 4 : 16.1 cm

ขอที่ :

าว ศ


328


วัตถุทรงสี่เหลี่ยมมีมิติ 6 cm x 8 cm x 10 cm ถาคาอัตราการแผรังสีความรอนจากผิวทั้งหมดเปน 55 W และคา emissivity ของผิวมีคาเทากับ 0.66 จงหาคาอุณหภูมิผิวของวัตถุ

105.3 องศาC
คําตอบ 1 :

122.5 องศาC
คําตอบ 2 :
160 of 189

159.9 องศาC
คําตอบ 3 :
171.6 องศาC
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 329


วัตถุทรงสี่เหลี่ยมมีมิติ 5 cm x 10 cm x 8 cm อันหนึ่งมีอุณหภูมิผิว120 องศาC และคาอัตราการแผรังสีความรอนจากผิวทั้งหมดเปน 35 W จงหาคา emissivity ของวัตถุ

คําตอบ 1 :

น่ า

0.45


คําตอบ 2 : 0.62


คําตอบ 3 : 0.76


คําตอบ 4 :

า้
0.88

ิธ์ ห
ขอที่ : 330
จงหาคา net heat flux ของวัตถุทึบตามรูป ถาคา irradiation, G = 4500 W/sq.m, คา surface absorption = 3200 W/sq.m

ิท
[แนะนํา: ใชสมดุลยความรอนที่ผิว]

นส
ง ว
อ ส
976 W/sq.m

กร ข

คําตอบ 1 :

าว ศ

1178 W/sq.m
คําตอบ 2 :

ส ภ
1252 W/sq.m
คําตอบ 3 :

1371 W/sq.m
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 331
161 of 189
จงหาอุณหภูมิผิวของวัตถุดังรูป ถา net heat fluxของวัตถุมีคา 1300 W/sq.m, คา irradiation, G = 5000 W/sq.m และคา surface absorption = 3600 W/sq.m
[แนะนํา: ใชสมดุลยความรอนที่ผิว]

201.5 องศาC

่ า
คําตอบ 1 :

237.4 องศาC

หน

คําตอบ 2 :

245.4 องศาC

มจ
า้
คําตอบ 3 :

ิธ์ ห
266.3 องศาC
คําตอบ 4 :

ขอที่ :

ส ิท

332


จงหาคา absorptivity ของผิวอันหนึ่งซึ่งมี net heat flux 2300 W/sq.m และมีคา irradiation G = 4800 W/sq.m, คา surface absorption = 2800 W/sq.m

คําตอบ 1 :

ส ง

0.45


คําตอบ 2 : 0.58

กร
คําตอบ 3 : 0.63
คําตอบ 4 :


0.68

ขอที่ : 333

าว ศ


จงหาคา reflectivity ของผิววัตถุหนึ่งซึ่งมีคา heat flux=1500 W/sq.m และคา irradiation = 6200 W/sq.m, คา surface absorption = 3400 W/sq.m และคา surface


transmission = 1900 W/sq.m

คําตอบ 1 : 0.145
คําตอบ 2 : 0.193
คําตอบ 3 : 0.225
คําตอบ 4 : 0.264
162 of 189

ขอที่ : 334
จงหาคา irradiation ที่ตกบนผิวหนึ่งซึ่งมีคา absorptivity = 0.42 และ reflectivity = 0.37 โดยสามารถวัดคา transmitted flux ไดโดยตรงบนผิวซึ่งเทากับ 38 W/sq.m

152 W/sq.m
คําตอบ 1 :

164 W/sq.m
คําตอบ 2 :

่ า ย
177 W/sq.m
คําตอบ 3 :

181 W/sq.m

หน

คําตอบ 4 :

มจ
า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 335
วัตถุดําอุณหภูมิที่ผิว 180 องศาC จงหาคา total emissive power ของวัตถุ

ิท
1786 W/sq.m


คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :
2049 W/sq.m

ง ว น
คําตอบ 3 :
2387 W/sq.m

อ ส
คําตอบ 4 :
2506 W/sq.m

กร ข

ิ ว
าว
ขอที่ :


336


163 of 189

จงหาอัตรารังสีความรอนสุทธิที่ผิว 2 ไดรับ เมื่อแรกเปลี่ยนรังสีความรอนกับผิว 1 ดังรูป (F = view factor)


่ า ย
2259 W

หน

คําตอบ 1 :

2397 W

มจ
า้
คําตอบ 2 :

ิธ์ ห
2468 W
คําตอบ 3 :

ิท
2545 W


คําตอบ 4 :

ขอที่ :

ง ว น

337


จงหาคาฟลักความรอนสุทธิ(net heat flux)ของวัตถุอุณหภูมิผิว 500K, emissivity=0.8 ตามรูป ถาคา irradiation, G = 5000 W/sq.m, คา surface absorption = 3800


W/sq.m

กร
[แนะนํา: ใชสมดุลยความรอนที่ผิว]


ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
765 W/sq.m
865 W/sq.m
965 W/sq.m
คําตอบ 4 : 1065 W/sq.m

164 of 189
ขอที่ : 338
วัตถุดํามีพื้นที่ผิว 0.05 ตารางเมตร อุณหภูมิ 180 องศาC มีการแผรังสีความรอนกับวัตถุดําอีกอันหนึ่งที่มีพื้นที่ผิวเทากันและมีอุณหภูมิ 50 องศาC ใหหาอัตราการแผรังสีความรอน
สุทธิ

คําตอบ 1 : 88.5 W
คําตอบ 2 : 105.3 W
คําตอบ 3 : 126.8 W


คําตอบ 4 : 141.1 W

น่ า

ขอที่ : 339


วัตถุ A พื้นที่ผิว 0.55 ตารางเมตร มีการแผรังสีความรอนใหกับวัตถุ B ที่มีพื้นที่ผิวเทากันมีอุณหภูมิ 65 องศาC จงหาอุณหภูมิของวัตถุ A ถาอัตราการแผรังสีความรอนสุทธิของวัตถุ


A มีคา 1100 W สมมุติวาเปนวัตถุดําทั้งคู

133.4 องศาC
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :

149.5 องศาC

ิท
คําตอบ 2 :

นส
174.3 องศาC
คําตอบ 3 :

ง ว

195.8 องศาC
คําตอบ 4 :

ขอ
กร
ขอที่ : 340


วัตถุทรงกลมเสนผานศูนยกลาง 9.6 cm อุณหภูมิผิว 205 องศาC อยูในสิ่งแวดลอมที่ 30 องศาC มีอัตราการแผรังสีความรอน 48 W จงหาคา emissivity ของวัตถุ

คําตอบ 1 : 0.36

าว ศ


คําตอบ 2 :


0.49
คําตอบ 3 : 0.56
คําตอบ 4 : 0.66

ขอที่ : 341
วัตถุทรงกลมรัศมี 120 mm อุณหภูมิผิว 200 องศาC วางอยูในสภาวะแวดลอมที่ 25 องศาC จงหาอัตราการแผรังสีความรอนของวัตถุนี้ โดยที่คา emissivity ของผิวมีคา 0.8
165 of 189
คําตอบ 1 : 410.8 W
คําตอบ 2 : 432.4 W
คําตอบ 3 : 458.2 W
คําตอบ 4 : 465.5 W

ขอที่ : 342
สเปกตรัมของการแผรังสีความรอนซึ่งถือเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟา ชวงที่มองเห็นไดมีคาเทากับขอใด

่ า ย

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ส ิท
ง ว น

ขอที่ : 343


อุณหภูมิของเปลวไฟภายในเตาหลอมแหงหนึ่งเปน 2400 K จงหากําลังการแผออกรังสีของเปลวไฟ ถา emissivity = 0.95

1.235 MW/sq.m

กร ข

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

าว ศ

1.523 MW/sq.m


คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :
ภ 1.787 MW/sq.m

1.925 MW/sq.m

ขอที่ : 344
166 of 189
จงเรียงลําดับความยาวคลื่น(wave length) จากคามากไปหานอย ระหวาง คลื่นวิทยุ, รังสีอินฟราเรด และรังสีแกมมา
คลื่นวิทยุ, รังสีอินฟราเรด ,รังสีแกมมา
คําตอบ 1 :

รังสีแกมมา, คลื่นวิทยุ, รังสีอินฟราเรด


คําตอบ 2 :

รังสีอินฟราเรด, รังสีแกมมา, คลื่นวิทยุ


คําตอบ 3 :


รังสีอินฟราเรด, คลื่นวิทยุ, รังสีแกมมา

่ า
คําตอบ 4 :

หน

ขอที่ :


345


อุณหภูมิของเปลวไฟภายในเตาหลอมแหงหนึ่งเปน 2300 K สมมุติใหเปลวไฟเปนวัตถุดํา จงหาคาความยาวคลื่น(wave length)ที่ทําใหคากําลังการแผรังสีคลื่นเดี่ยวมีคาสูงสุด

า้
(maximum monochromatic emissive power)

ิธ์ ห
0.96 ไมโครเมตร
คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :
1.26 ไมโครเมตร

ส ิท
คําตอบ 3 :
1.53 ไมโครเมตร

ง ว น
1.84 ไมโครเมตร

อ ส

คําตอบ 4 :

ว กร


ขอที่ : 346

าว
ดวงอาทิตยมีอุณหภูมิ 5800 K ถือวาเปนวัตถุดํา จงหากําลังการแผรังสี (emissive power)


คําตอบ 1 : ภ
คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :
167 of 189

คําตอบ 4 :
ขอที่ : 347
วัตถุรอนมีอุณหภูมิ 2800 K ถาสมมุติใหเปนวัตถุดํา จงหากําลังการแผรังสีทั้งหมด


3.485e+6 W/sq.m

่ า
คําตอบ 1 :

3.485e+7 W/sq.m

หน

คําตอบ 2 :

มจ
3.485e+8 W/sq.m
คําตอบ 3 :

า้
ิธ์ ห
3.485e+9 W/sq.m
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 348

ส ิท
ว น
ทอสงไอน้ําไมมีฉนวนหุมเดินแนวทอผานหองซึ่งอากาศและผนังหองมีอุณหภูมิเดียวกัน คือ 25 องศาC ทอมีเสนผานศูนยกลาง 70 mm อุณหภูมิผิวทอ 180 องศาC คา emissivity


ที่ผิวเทากับ 0.8 และ สัมประสิทธิ์การพาความรอนที่ผิวทอกับอากาศเทากับ 20 W/sq.m.K จงหาอัตราการสูญเสียความรอนทั้งหมดจากผิวทอตอหนวยความยาว

คําตอบ 1 :

อ ส

953 W/m

กร
คําตอบ 2 : 973 W/m
คําตอบ 3 :


1023 W/m
คําตอบ 4 :



1053 W/m

ขอที่ : 349

ภ าว

แผนบางขนาด 0.1 m x 0.1 m วางไวภายในพื้นที่ปด(enclosure)ขนาดใหญซึ่งมีอุณหภูมิ 300 K ผิวลางแผนหุมฉนวนและที่ผิวบนควบคุมอุณหภูมิคงที่ที่ 500 K โดยอาศัยฮีตเตอร
ไฟฟา ถาสภาพการแผรังสี(emissivity)ของแผนเทากับ 0.8 จงคํานวณอัตราการแผรังสีความรอนสุทธิของแผน

คําตอบ 1 : 13.98 W
คําตอบ 2 : 24.67 W
คําตอบ 3 : 27.52 W
คําตอบ 4 : 30.01 W 168 of 189
ขอที่ : 350
แผนบางขนาด 50 cm x 50 cm ผิวลางของแผนหุมฉนวนไวและมีความรอนสูญเสียออกจากผิวบนที่อัตรา 400 W สูอากาศโดยรอบซึ่งมีอุณหภูมิ 290 K ถาใหผิวแผนมีคาสภาพการ
แผรังสี(emissivity) 0.9 และสัมประสิทธิ์การพาความรอนที่ผิวแผนเทากับ 15 W/sq.m.K จงหาอุณหภูมิของแผน

คําตอบ 1 : 342 K
คําตอบ 2 : 362 K


คําตอบ 3 : 382 K

่ า
คําตอบ 4 : 402 K

หน

ขอที่ : 351


พื้นผิวขนาด 0.5 ตารางเมตร มีคาสภาพการแผรังสี(emissivity) 0.8 และอุณหภูมิ 200 องศาC วางไวภายในบริเวณพื้นผิวปดขนาดใหญ(enclosure)ซึ่งมีอุณหภูมิ 30 องศาC จงหา

า้ ม
อัตราการแผรังสีความรอนที่ออกจากผิว

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 1046 W
คําตอบ 2 : 1135 W

ิท
คําตอบ 3 : 1195 W


คําตอบ 4 :


1214 W

ง ว

ขอที่ : 352


ผนังเตาหนา 0.05 m มีคาการนําความรอน(k) 1.2 W/m.K ที่ผิวดานนอกของผนังเตาอุณหภูมิ 500K มีสภาพการแผรังสี(emissivity)=0.8 มีการถายเทความรอนในรูปของการแผ


รังสีความรอนสูบรรยากาศและในรูปการพาความรอน กําหนดใหบรรยากาศมีอุณหภูมิ 300 K และสัมประสิทธิ์การพาความรอน 25 W/sq.m.K จงหาอุณหภูมิผิวดานในของผนังเตา

คําตอบ 1 : 742 K

ว กร


คําตอบ 2 : 811 K

าว
คําตอบ 3 : 852 K


คําตอบ 4 : 804 K

ขอที่ : 353

169 of 189

คา spectral distribution ของการแผรังสีของผิวหนึ่งมีการกระจายรังสีดังรูป จงหาคากําลังปลอยออกทั้งหมดของผิวนี้ (total emissive power, E)


คําตอบ 1 : 1500 W/sq.m

่ า ย

คําตอบ 2 : 2000 W/sq.m


คําตอบ 3 :


2500 W/sq.m


คําตอบ 4 : 3000 W/sq.m

า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 354
ทรงกลมอลูมิเนียมมีเสนผานศูนยกลาง D = 2 m ดังรูป โดยการทําเปนสูญญากาศภายในและใชเปนหองทดสอบการแผรังสี ถาผิวภายในเคลือบดวยผงถานดําที่ 327 องศาC จงหา
คา irradiation (G) บนผิวทดสอบเล็กๆ(A1) ที่วางในหองทดสอบนี้

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข
7348.3 W/sq.m
คําตอบ 1 :


7438.3 W/sq.m
คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

าว ศ

7514.9 W/sq.m

ส ภ
7648.3 W/sq.m
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 355
ถาพลังงานรังสีความรอนตกกระทบบนวัตถุ คือ G = 2200 W/sq.m มีปริมาณรังสีที่สะทอนกลับ 450 W/sq.m และมีการดูดกลืนรังสี 900 W/sq.m จงหาคาการผานทะลุ
(transmissivity) ของวัตถุ

170 of 189
คําตอบ 1 : 0.38
คําตอบ 2 : 0.44
คําตอบ 3 : 0.48
คําตอบ 4 : 0.52

ขอที่ : 356
ผิวอันหนึ่งมีคา spectral irradiation ดังรูป จงหาคา total irradiation (G) ของผิวนี้

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
10,000 W/sq.m
คําตอบ 1 :

ิท
15,000 W/sq.m
คําตอบ 2 :

นส

20,000 W/sq.m
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :
25,000 W/sq.m

ส ง
ขอ
กร
ขอที่ : 357


ขอใดคือคุณสมบัติของวัตถุดํา (Blackbody)

คําตอบ 1 :

าว ศ

ดูดรังสีตกกระทบทั้งหมดไว ไมมีการสะทอนกลับ

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :ส ภ แผรังสีไดมากกวาวัตถุอื่นๆ ทุกชนิดที่อุณหภูมิและความยาวคลื่นเดียวกัน

แผรังสีออกโดยไมขึ้นกับทิศทาง

ถูกทุกขอ
คําตอบ 4 :

171 of 189
ขอที่ : 358
พื้นผิว A1 วางในพื้นผิวปดรูปครึ่งทรงกลม A3 ดังรูป ถา d = 0.1D จงหาคาวิวแฟคเตอร F1-3

่ า ย

0.1
คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :
0.4

จ ำ ห
า้ ม
0.7
คําตอบ 3 :

ิธ์ ห
1.0
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 359

ส ิท

พื้นผิวของทรงกลมรวมศูนยกลาง (concentric sphere) แสดงดังรูป โดยกําหนดให R1 = (2/3)R2 จงหาคาวิวแฟคเตอร F2-1

ง ว
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
0.333
คําตอบ 1 :


คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :
ภ 0.444

0.545

1.000
คําตอบ 4 :

172 of 189
ขอที่ : 360
ผิวอันหนึ่งมีอุณหภูมิ 500 K และคา spectral emissive power ดังรูป จงหาคา emissivity ของผิวนี้

่ า ย

0.46
คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :
0.56

จ ำ ห
า้ ม
0.66
คําตอบ 3 :

ิธ์ ห
0.76
คําตอบ 4 :

ขอที่ :

ส ิท

361


พิจารณาการแผรังสีของพื้นผิวปด A1, A2 และ A3 ดังรูป ซึ่งเปนวัตถุดํา ให A1 เปนพื้นผิวเล็กมีคาเทากับ 0.05 sq.m อุณหภูมิ 1200 K จงหาคาอัตราการแผรังสีสุทธิของผิว A1


กับ A3 ซึ่งมีอุณหภูมิ 800 K ถากําหนดให F13 = 0.877

อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 4.14 kW
คําตอบ 2 : 4.42 kW
คําตอบ 3 : 4.68 kW
คําตอบ 4 : 4.85 kW

ขอที่ : 362
173 of 189

เตาเผาทรงกระบอกตั้งมีผิวภายในกําหนดดังรูปคือ A1 และ A2 คือผิวลางและผิวบน สวน A3 คือผิวขาง ถาให H = D/2 และคาวิวแฟคเตอร F12 = 0.38 จงหาคาวิวแฟคเตอร F31
คําตอบ 1 : 0.31

่ า ย

คําตอบ 2 : 0.38


คําตอบ 3 :


0.62


คําตอบ 4 : 1.00

า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 363
วัตถุทรงกลมมีอุณหภูมิผิว 125 องศาเซลเซียส อัตราการถายเทความรอนโดยการแผรังสีที่ผิวมีคา 65 W คาสภาพการแผรังสี (emissivity)ของผิวมีคา 0.66 จงหาขนาดเสนผาน
ศูนยกลางของวัตถุนี้

ิท
คําตอบ 1 : 9.58 cm


คําตอบ 2 : 12.25 cm

ว น
คําตอบ 3 : 14.84 cm


คําตอบ 4 : 15.07 cm

อ ส

ขอที่ : 364

กร
น้ําถูกใชเปนของไหลทํางานทั้งคูในเครื่องแลกเปลี่ยนความรอนแบบทอซอนกัน(double pipe heat exchanger) โดยน้ํารอนไหลเขาที่ 90 องศาC และ 10,000 kg/hr ในขณะน้ําเย็น
ไหลเขาที่ 10 องศาC และ 20,000 kg/hr ถาคา effectiveness ของเครื่องนี้เปน 60 % จงหาอัตราความรอนที่น้ําเย็นไดรับ


ถาสมมติวาคาความรอนจําเพาะ(Cp)ของน้ําคงที่และเทากับ 4.18 kJ/kgK

าว
518.4 kW ศ


คําตอบ 1 :


คําตอบ 2 :
534.5 kW

557.3 kW
คําตอบ 3 :

572.4 kW
คําตอบ 4 :
174 of 189
ขอที่ : 365
เครื่องแลกเปลี่ยนความรอนอันหนึ่งใชน้ํามันเครื่องรอนเพื่อการอุนน้ํา น้ํามันเครื่องไหลเขาที่ 140 องศาC และออกที่ 62 องศาC สวนน้ําไหลเขาที่ 30 องศาC และออกที่ 70 องศาC
โดยของไหลทั้งคูมีอัตราการไหลเทากัน อยากทราบวาเครื่องแลกเปลี่ยนความรอนแบบไหนสามารถทํางานไดภายใตเงื่อนไขนี้

แบบไหลสวนทางกัน (counterflow)
คําตอบ 1 :

แบบไหลตามกัน (parallel flow)

่ า ย

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :
ไดทั้งแบบไหลสวนทางกันและแบบไหลตามกัน

จ ำ ห
ไมสามารถเปนไปไดทั้งแบบไหลสวนทางกันและแบบไหลตามกัน

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 4 :

ิท
ขอที่ : 366


เครื่องแลกเปลี่ยนความรอนแบบทอซอนกัน ใชเพื่อหลอเย็นน้ํามันเครื่องจากอุณหภูมิ 160 องศาC ใหเหลือ 60 องศาC โดยใชน้ําเย็นที่อุณหภูมิ 25 องศาC เปนตัวหลอเย็นอัตราการ


ไหลของของไหลทั้งคูเปน 2 kg/s เทากัน จงหาอุณหภูมิที่ทางออกของน้ําเย็น


กําหนดใหคาความรอนจําเพาะของน้ํามันและน้ําเทากับ 2263 J/kg.K และ4180 J/kgK ตามลําดับ

ส ง

คําตอบ 1 : 74.19 องศาC


คําตอบ 2 : 79.14 องศาC

กร
คําตอบ 3 : 84.19 องศาC


คําตอบ 4 : 89.14 องศาC

ขอที่ : 367

าว ศ


เครื่องแลกเปลี่ยนความรอนแบบทอซอนชนิดไหลสวนทางกันใชเพื่อใหความรอนแกน้ําที่ 0.8 kg/s จากอุณหภูมิเขา Tc,i = 30 องศาC เปน Tc,o = 80 องศาC โดยใชน้ํามันรอนไหล


เขาที่ Th,i = 120 องศาC และไหลออกที่ Th,o = 85 องศาC โดยเครื่องนี้มีคาสัมประสิทธิ์การถายเทความรอนรวม(U) = 125 W/sq.m K จงหาพื้นที่การถายเทความรอนของเครื่อง

กําหนดใหคาความรอนจําเพาะของน้ําเทากับ 4180 J/kgK

21.6 sq.m
คําตอบ 1 :

175 of 189
คําตอบ 2 :
24.3 sq.m
28.4 sq.m
คําตอบ 3 :

31.6 sq.m
คําตอบ 4 :

ขอที่ :

่ า ย

368


เครื่องแลกเปลี่ยนความรอนแบบไหลสวนทางกันของของไหล 2ชนิด ซึ่งของไหลรอนมีอุณหภูมิเขาและออกเปน 65 และ 40 องศาC สวนของไหลเย็นมีอุณหภูมิเขาและออกเปน 15


และ 30 องศาC จงหาคา effectiveness ของเครื่องนี้ ถาของไหลเย็นมีคาความจุนอยที่สุด

มจ
า้
คําตอบ 1 : 0.25

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : 0.3
คําตอบ 3 : 0.35
คําตอบ 4 : 0.4

ส ิท

ขอที่ : 369


ในเครื่องแลกเปลี่ยนความรอนแบบไหลตามกัน (parallel-flow, pf) และแบบไหลสวนทางกัน (counterflow, cf) ถาใหอุณหภูมิทางเขาและทางออกของเครื่องแลกเปลี่ยนทั้งคูมีคา


เหมือนกัน คาการถายเทความรอน (Q) เหมือนกัน และคาสัมประสิทธิ์การถายเทความรอนรวม (U) เหมือนกัน ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับพื้นที่ถายเทความรอน (A) ของเครื่องทั้งสอง


แบบ

ขอ
กร
คําตอบ 1 : A,cf > A,pf
คําตอบ 2 : A,cf < A,pf


คําตอบ 3 :



A,cf = A,pf

าว
คําตอบ 4 : ไมมีคําตอบใดถูก

ขอที่ : 370

ส ภ
เครื่องแลกเปลี่ยนความรอนอันหนึ่งใชน้ํามันเครื่องรอนเพื่อการอุนน้ําซึ่งน้ํามันเครื่องไหลเขาที่ 110 องศาเซลเซียส และออกที่ 60 องศาเซลเซียส น้ําไหลเขาที่ 40 องศาเซลเซียส
และออกที่ 70 องศาเซลเซียส จงหาอัตราการไหลของน้ํามันเครื่องถาน้ํามีอัตราการไหลเทากับ 4 kg/s กําหนดใหคาความรอนจําเพาะของน้ํามันและน้ําเทากับ 2263 J/kg.K และ
4180 J/kgK ตามลําดับ

4.03 kg/s
คําตอบ 1 :

4.23 kg/s 176 of 189


คําตอบ 2 :
4.43 kg/s
คําตอบ 3 :

4.63 kg/s
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 371


น้ําถูกใชเปนของไหลทํางานทั้งคูในเครื่องแลกเปลี่ยนความรอนแบบไหลตัดกัน(cross-flow heat exchanger) โดยน้ํารอนไหลเขาที่ 90 องศาC และ 10,000 kg/hr ในขณะน้ําเย็น

่ า
ไหลเขาที่ 10 องศาC และ 20,000 kg/hr ถาคา effectiveness ของเครื่องนี้เปน 60 % จงหาอุณหภูมิทางออกของน้ําเย็น


ถาสมมติวาคาความรอนจําเพาะ(Cp)ของน้ําคงที่และเทากับ 4.18 kJ/kgK

33.8 องศาC

จ ำ ห

คําตอบ 1 :

า้
ิธ์ ห
34.1 องศาC
คําตอบ 2 :

36.5 องศาC

ิท
คําตอบ 3 :

37.4 องศาC

นส

คําตอบ 4 :

ส ง

ขอที่ :


372

กร
ในการแลกเปลี่ยนความรอนของหนวยปรับคืนความรอน (gas-to-gas heat recovery unit) อากาศมีอุณหภูมิไหลเขาและออกที่ 30องศาเซลเซียส และ 260 องศาเซลเซียส ตาม
ลําดับ โดยแกสไอเสียรอนมีอุณหภูมิไหลเขาและออกที่ 400 องศาเซลเซียส และ 150 องศาเซลเซียสตามลําดับ คาความแตกตางของอุณหภูมิเฉลี่ยเชิงล็อค(LMTD)ที่เหมาะสม


ผานเครื่องแลกเปลี่ยนความรอนนี้ มีคาประมาณเทาไร

คําตอบ 1 :

าว ศ

150 องศาเซลเซียส


คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :
ภ 140 องศาเซลเซียส

130 องศาเซลเซียส

120 องศาเซลเซียส
คําตอบ 4 :

177 of 189
ขอที่ : 373
น้ําเย็นไหลเขาเครื่องแลกเปลี่ยนความรอนแบบทอซอนไหลสวนทางกันที่ 10 องศาC และ 8 kg/s โดยที่มีน้ํารอนไหลเขาเครื่องนี้ที่ 70 องศาC และ 2 kg/s ถาสมมติวาคาความรอน
จําเพาะ(Cp)ของน้ําคงที่และเทากับ 4.18 kJ/kgK จงหาอัตราการถายเทความรอนสูงสุดที่จะทําได

คําตอบ 1 : 491.6 kW
คําตอบ 2 : 501.6 kW
คําตอบ 3 : 511.6 kW


คําตอบ 4 : 522.6 kW

น่ า

ขอที่ : 374


ถาใหของไหล 3 ชนิด คือ อากาศ ปรอทและน้ํามันเครื่อง ซึ่งมีคาพลานทนัมเบอร (Pr) = 0.7, 0.025 และ1500 ตามลําดับ แตละอยางใหไหลผานแผนผิวเรียบรอน(hot flat plate)


อยากทราบวาของไหลชนิดไหนจะใหคาความหนาของชั้นชิดผิวของความเร็ว (velocity boundary layer thickness) โตกวาความหนาของชั้นชิดผิวของความรอน (thermal

า้ ม
boundary layer thickness)

ิธ์ ห
อากาศ
คําตอบ 1 :

ปรอท

ิท
คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :
น้ํามันเครื่อง

นส
เทากันทั้งสามของไหล

ง ว

คําตอบ 4 :

ขอ
กร
ขอที่ : 375


ในการไหลผานแผนเรียบ ความสัมพันธระหวางความหนาของชั้นชิดผิวของความเร็ว (velocity boundary layer thickness) และ ความหนาของชั้นชิดผิวของความรอน (thermal



boundary layer thickness) ขึ้นอยูกับคาของตัวแปรใด

าว
เรโนลดนัมเบอร (Re)


คําตอบ 1 :


นัสเซสทนัมเบอร (Nu)
คําตอบ 2 :

สัมประสิทธิ์ความเสียดทาน (Cf)
คําตอบ 3 :

พลานทนัมเบอร (Pr)
คําตอบ 4 :

178 of 189

ขอที่ : 376
เครื่องแลกเปลี่ยนความรอนแบบทอซอนไหลสวนทางกัน (Counter flow) มีอุณหภูมิของไหลรอนที่ทางเขาและออกเทากับ 65 และ 40 องศาเซลเซียส ตามลําดับ และอุณหภูมิของ
ไหลเย็นที่ทางเขา 15 และทางออก 30 องศาเซลเซียส จงหาคา Effectiveness ของเครื่องแลกเปลี่ยนความรอนนี้ ถาของไหลเย็นมีคาอัตราความจุความรอน(heat capacity)นอยที่
สุด

0.3
คําตอบ 1 :

0.4


คําตอบ 2 :

น่ า
0.5
คําตอบ 3 :

ำ ห
0.6
คําตอบ 4 :

มจ
า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 377
เครื่องแลกเปลี่ยนความรอนทอซอนแบบไหลสวนทางกัน (counter flow) มีน้ํารอนไหลเขาที่ 2.5 kg/s และอุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส สวนน้ําเย็นไหลเขาที่ 5.0 kg/s และ
อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส มีคาประสิทธิผล(effectiveness) = 0.8 อัตราการถายเทความรอนทั้งหมดเทากับ 670 kW จงหาอุณหภูมิทางออกของน้ํารอนและน้ําเย็น โดยที่คาความ

ิท
รอนจําเพาะ(Cp) ของน้ําเย็น = 4178 J/kgK และ น้ํารอน = 4188 J/kg.K

Tc,o = 42 องศาเซลเซียส, Th,o = 36 องศาเซลเซียส

นส

คําตอบ 1 :


Tc,o = 52 องศาเซลเซียส, Th,o = 36 องศาเซลเซียส


คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

ขอ
Tc,o = 42 องศาเซลเซียส, Th,o = 23 องศาเซลเซียส

กร
Tc,o = 52 องศาเซลเซียส, Th,o = 23 องศาเซลเซียส


คําตอบ 4 :

ขอที่ :

าว ศ


378


เครื่องแลกเปลี่ยนความรอนแบบไหลตัดกัน (cross–flow) น้ํารอนไหลเขาที่อุณหภูมิ 90 องศาC อัตราการไหล 10000 kg/h ในขณะที่น้ําเย็นไหลเขาที่อุณหภูมิ 10 องศาC อัตราการ
ไหล 20000 kg/h ถาคา effectiveness ของเครื่องเปน 60 % จงหาอุณหภูมิทางออกน้ํารอน โดยที่คาความรอนจําเพาะของ น้ําเย็น, Cp,c = 4179 J/kgK และ น้ํารอน, Cp,h =
4195 J/kgK

คําตอบ 1 : 30 องศาC
คําตอบ 2 : 42 องศาC
คําตอบ 3 : 49 องศาC
คําตอบ 4 : 51 องศาC 179 of 189
ขอที่ : 379
เครื่องแลกเปลี่ยนความรอนไหลตัดกัน (cross–flow)มีพื้นที่ผิว 10 ตารางเมตร โดยใชแกสไอเสียซึ่งไหลเขาที่ 2 kg/s และ 325 องศาC แลกเปลี่ยนความรอนกับน้ําเย็นที่ 0.5 kg/s
อุณหภูมิทางเขาและออกเทากับ 25 และ 150 องศาC ตามลําดับ จงหาคาสัมประสิทธิ์การถายเทความรอนรวม (U) ถาคาตัวประกอบแกไข (LMTD) F = 0.94 โดยที่คา Cp ของน้ํา
และอากาศ เทากับ 4203 J/kgK และ 1040 J/kgK ตามลําดับ

145.89 W/sq.m K


คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :
150.36 W/sq.m K

น่ า
คําตอบ 3 :
155.45 W/sq.m K

จ ำ ห
า้ ม
160.28 W/sq.m K
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 380
ิธ์ ห
ิท
เครื่องแลกเปลี่ยนความรอนถูกออกแบบเพื่อหลอเย็นสารละลายเอททิลแอลกอฮอล (ethyl alcohol solution) ซึ่งเอททิลแอลกอฮอล ไหลเขาที่ 8.7 kg/s มีอุณหภูมิเขาและออก


เปน 75 และ 45 องศาC ตามลําดับ โดยใชน้ําเปนสารหลอเย็นไหลเขาที่ 9.6 kg/s และ 20 องศาC จงหาอุณหภูมิทางออกของน้ํา

ง ว น

43 องศาเซลเซียส


คําตอบ 1 :

45 องศาเซลเซียส

กร ข

คําตอบ 2 :

าว ศ

47 องศาเซลเซียส


คําตอบ 3 :


คําตอบ 4 :
49 องศาเซลเซียส

ขอที่ : 381
180 of 189
เครื่องแลกเปลี่ยนความรอนโดยของไหลรอน ไหลเขาที่ 10.0 kg/s มีอุณหภูมิเขาและออก เปน 70 และ 40 องศาC ตามลําดับ โดยใชน้ําเปนสารหลอเย็นไหลเขาที่ 10.5 kg/s และ
20 องศาC จงหาอัตราการถายเทความรอนที่ใหแกน้ําเย็น
คําตอบ 1 : 1002 kW
คําตอบ 2 : 1052 kW
คําตอบ 3 : 1152 kW
คําตอบ 4 : 1252 kW

่ า ย

ขอที่ : 382


เครื่องแลกเปลี่ยนความรอนแบบทอซอนชนิดไหลสวนทางกัน ใชเพื่อถายเทความรอนจากน้ํารอนใหแกน้ําเย็น โดยน้ํารอนมีอุณหภูมิเขาและออกเทากับ 260 องศาC และ 140 องศา


C ตามลําดับ และน้ําเย็นมีอุณหภูมิเขาและออกเทากับ 70 องศาC และ 125 องศาC จงหาความแตกตางของอุณหภูมิเชิงล็อค (Logarithmic mean temperature difference,


LMTD)

า้ ม
ิธ์ ห
84 องศาC
คําตอบ 1 :

89 องศาC

ิท
คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :
94 องศาC

นส
ง ว

99 องศาC
คําตอบ 4 :

ขอ
กร
ขอที่ : 383


เครื่องแลกเปลี่ยนความรอนแบบทอซอนชนิดไหลตามกัน ใชเพื่อถายเทความรอนจากน้ํารอนใหแกน้ําเย็น โดยน้ํารอนมีอุณหภูมิเขาและออกเทากับ 260 องศาC และ 140 องศาC

าว ศ

ตามลําดับ และน้ําเย็นมีอุณหภูมิเขาและออกเทากับ 70 องศาC และ 125 องศาC จงหาความแตกตางของอุณหภูมิเชิงล็อค (Logarithmic mean temperature difference,
LMTD)


คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
ภ 64.5 องศาC
68.9 องศาC
72.3 องศาC
คําตอบ 4 : 76.7 องศาC

ขอที่ : 384
181 of 189
กาซไอเสียรอนไหลเขาทอมีครีบของเครื่องแลกเปลี่ยนความรอนแบบไหลตัดกัน (cross-flow) ที่ 300 องศาC และออกที่ 100 องศาC เพื่อใชใหความรอนแกน้ําอัดตัวที่ 1 kg/s จาก
35 องศาC เปน 125 องศาC จงหาอัตราการถายเทความรอนสูงสุด (Maximum heat transfer rate)
กําหนดใหคาความรอนจําเพาะของกาซไอเสียและน้ําเทากับ 1000 J/kg C และ 4197 J/kg C ตามลําดับ

0.33 MW
คําตอบ 1 :

0.48 MW
คําตอบ 2 :

่ า ย
0.50 MW
คําตอบ 3 :

หน

0.63 MW
คําตอบ 4 :

มจ
า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 385
กาซไอเสียรอนไหลเขาทอมีครีบของเครื่องแลกเปลี่ยนความรอนแบบไหลตัดกัน (cross-flow) ที่ 300 องศาC และออกที่ 100 องศาC เพื่อใชใหความรอนแกน้ําอัดตัวที่ 1 kg/s จาก
35 องศาC เปน 125 องศาC คา U ถือตามพื้นที่ผิวดานกาซเปน 100 W/m^2 C และ NTU = 2.1 จงหาพื้นที่ผิวถายเทความรอนดานกาซ(Ah)

ิท
กําหนดใหคาความรอนจําเพาะของกาซไอเสียและน้ําเทากับ 1000 J/kg C และ 4197 J/kg C ตามลําดับ

นส

33.8 ตารางเมตร
คําตอบ 1 :

35.9 ตารางเมตร

ส ง

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :
39.7 ตารางเมตร

กร ข

ิ ว
41.4 ตารางเมตร

าว
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 386

ส ภ
เครื่องแลกเปลี่ยนความรอนแบบไหลตัดกัน โดยมีคา U และพื้นที่ตามดานกาซเปน 100 W/sq.m C และ 40 sq.m. ตามลําดับ โดยมีน้ําเย็นไหลเขาที่ 1 kg/s และ 35 องศาC แลก
เปลี่ยนกับกาซรอนซึ่งไหลเขาที่ 1.5 kg/s และ 250 องศาC จงหาคา NTU
กําหนดใหคาความรอนจําเพาะของกาซรอนและน้ําเทากับ 1000 J/kg C และ 4197 J/kg C ตามลําดับ (NTU = UA/Cmin)

คําตอบ 1 : 1.52
คําตอบ 2 : 2.67 182 of 189

คําตอบ 3 : 3.42
คําตอบ 4 : 4.35

ขอที่ : 387
กาซไอเสียรอนไหลเขาทอของเครื่องแลกเปลี่ยนความรอนแบบไหลตัดกัน (cross-flow) ที่ 1.5 kg/s และ 250 องศาC เพื่อใชใหความรอนแกน้ําอัดตัวที่อัตราการไหล 1 kg/s และ
35 องศาC จงหาอัตราการถายเทความรอนของเครื่องนี้ โดยที่คา effectiveness = 0.82 และกําหนดใหคาความรอนจําเพาะของกาซรอนและน้ําเทากับ 1000 J/kg C และ 4197
J/kg C ตามลําดับ

่ า ย

0.185 MW
คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :
0.225 MW

จ ำ ห
0.265 MW

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 3 :

0.295 MW
คําตอบ 4 :

ส ิท
ขอที่ : 388

ง ว น
น้ํามันรอน (hot oil) ที่ 100 องศาC ใชทําใหอากาศรอนในเครื่องแลกเปลี่ยนความรอน shell-and-tube และอากาศไหลใน shell ที่ 2.0 kg/s คาความรอนจําเพาะของอากาศเปน


1009 J/kg C ถูกทําใหรอนจาก 20 เปน 80 องศาC คาความรอนจําเพาะของน้ํามันเปน 2100 J/kg C และอัตราการไหลของน้ํามันเปน 3 kg/s จงหา Effectiveness

ขอ
กร
คําตอบ 1 : 0.67


คําตอบ 2 : 0.70



คําตอบ 3 : 0.72

าว
คําตอบ 4 : 0.75

ขอที่ : 389

ส ภ
น้ํามันรอน (hot oil)ใชทําใหอากาศรอนในเครื่องแลกเปลี่ยนความรอน shell-and-tube โดยน้ํามันไหลในทอ 6 กลับ ไหลเขาที่ 100 องศาCและออกที่ 80 องศาC อากาศไหลเขาใน
shell เที่ยวเดียวที่ 2.0 kg/s และ 20 องศาC ถูกทําใหรอนเปน 80 องศาC จงหาอัตราการไหลของน้ํามัน
กําหนดใหคาความรอนจําเพาะของอากาศและน้ํามันเทากับ 1009 J/kg C และ 2018 J/kg C ตามลําดับ

2.25 kg/s
คําตอบ 1 :
183 of 189

2.5 kg/s
คําตอบ 2 :
2.75 kg/s
คําตอบ 3 :

3.0 kg/s
คําตอบ 4 :

ขอที่ :

่ า ย

390


เครื่องแลกเปลี่ยนความรอนแบบไหลตัดกัน (cross-flow) ถูกออกแบบเพื่อทําการหลอเย็นน้ํารอน [Cp = 4180 J/kg.C]ซึ่งไหลเขาที่ 0.25 kg/s และ 90 องศาC โดยใชอากาศเปน


ตัวหลอเย็น[Cp = 1005 J/kg.C] อากาศไหลเขาที่ 15 องศาC และ 2.0 kg/s โดยที่คาสัมประสิทธิ์การถายเทความรอนรวม (overall heat transfer coefficient) = 250 W/m^2.C


จงหาพื้นที่ถายเทความรอน โดยใหคา NTU = 2.0

6.54 ตารางเมตร
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :

8.36 ตารางเมตร

ิท
คําตอบ 2 :


10.37 ตารางเมตร


คําตอบ 3 :

12.25 ตารางเมตร

ง ว

คําตอบ 4 :

ขอ
กร
ขอที่ : 391


เครื่องแลกเปลี่ยนความรอนแบบไหลตัดกัน (cross-flow) ถูกออกแบบใหหลอเย็นน้ํารอน [Cp = 4180 J/kg C] ซึ่งไหลเขาที่ 0.25 kg/s และ 90 องศาC โดยใชอากาศเปนตัวหลอ



เย็น[Cp = 1005 J/kg C] ซึ่งไหลเขาที่ 15 องศาC และ 2.0 kg/s จงคํานวณหาอุณหภูมิน้ําที่ทางออก ถาคา effectiveness = 0.72

ภ าว
36 องศาC


คําตอบ 1 :

38 องศาC
คําตอบ 2 :

40 องศาC
คําตอบ 3 :

42 องศาC 184 of 189


คําตอบ 4 :
ขอที่ : 392
เครื่องแลกเปลี่ยนความรอนแบบไหลตัดกัน (cross-flow) ถูกออกแบบใหหลอเย็นน้ํารอน [Cp = 4180 J/kg C] ซึ่งไหลเขาที่ 0.25 kg/s และ 90 องศาC โดยใชอากาศเปนตัวหลอ
เย็น[Cp = 1005 J/kg C] ซึ่งไหลเขาที่ 15 องศาC และ 2.0 kg/s จงคํานวณหาอุณหภูมิอากาศที่ทางออก ถาคา effectiveness = 0.72

34.6 องศาC
คําตอบ 1 :

37.5 องศาC

่ า ย

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :
40.2 องศาC

จ ำ ห
43.1 องศาC

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 4 :

ิท
ขอที่ : 393


เครื่องแลกเปลี่ยนความรอนแบบไหลสวนทางกัน (counter-flow) ถูกออกแบบใหหลอเย็นน้ํามัน [Cp = 2000 J/kg K] ซึ่งไหลเขาที่ 2 kg/s และ 100 องศาC โดยใชน้ําเปนตัวหลอ


เย็น[Cp = 4170 J/kg K] ซึ่งไหลเขาที่ 20 องศาC และ 0.48 kg/s จงคํานวณหาอุณหภูมิน้ําที่ทางออก ถาคา effectiveness = 0.82

ง ว

81.3 องศาC


คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :
83.5 องศาC

กร ข
85.6 องศาC


ิ ว
าว
คําตอบ 3 :


87.5 องศาC
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 394

เครื่องแลกเปลี่ยนความรอนแบบไหลสวนทางกัน (counter-flow) ถูกออกแบบใหหลอเย็นน้ํามัน [Cp = 2000 J/kg K] ซึ่งไหลเขาที่ 2 kg/s และ 100 องศาC โดยใชน้ําเปนตัวหลอ
เย็น[Cp = 4170 J/kg K] ซึ่งไหลเขาที่ 20 องศาC และ 0.48 kg/s สัมประสิทธิ์การถายเทความรอนรวม (overall heat transfer coefficient) U = 400 W/m^2 C จงคํานวณหา
พื้นที่ผิวที่มีการถายเทความรอน โดยที่คา NTU = 2.5
185 of 189

10.23 ตารางเมตร
คําตอบ 1 :
12.51 ตารางเมตร
คําตอบ 2 :

14.36 ตารางเมตร
คําตอบ 3 :


16.56 ตารางเมตร

่ า
คําตอบ 4 :

หน

ขอที่ : 395


เครื่องแลกเปลี่ยนความรอน shell-and-tube ไดออกแบบเพื่อใหความรอนแกน้ําซึ่งไหลเขาทอที่ 1 kg/s และ 19 องศาC โดยการผานน้ํามันเครื่องรอนที่อุณหภูมิ 90 องศาC ใน

า้ ม
shell ของเครื่อง ถาคา effectiveness = 0.7 จงหาอุณหภูมิน้ํามันที่ออกจากเครื่อง
กําหนดใหคาความรอนจําเพาะของน้ํามันและน้ําเทากับ 2100 J/kg.C และ4180 J/kg C ตามลําดับ

34.5 องศาC
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 1 :


36.8 องศาC


คําตอบ 2 :

38.6 องศาC

ง ว

คําตอบ 3 :

40.3 องศาC

ขอ
กร
คําตอบ 4 :


ิ ว
าว
ขอที่ : 396
เครื่องแลกเปลี่ยนความรอน shell-and-tube ไดออกแบบเพื่อใหความรอนแกน้ําซึ่งไหลเขาทอที่ 1 kg/s และ 19 องศาC โดยการผานน้ํามันเครื่องรอนที่อุณหภูมิ 90 องศาC ใน


shell โดยพื้นที่ผิวการถายเทความรอน(A) = 25.2 m^2 และสัมประสิทธิ์การถายเทความรอนรวม (overall heat transfer coefficient) U = 250 W/m^2 C จงหาคา NTU


กําหนดใหคาความรอนจําเพาะของน้ํามันและน้ําเทากับ 2100 J/kg.C และ4180 J/kg C ตามลําดับ

คําตอบ 1 : 1.8
คําตอบ 2 : 2
คําตอบ 3 : 2.2
คําตอบ 4 : 2.4
186 of 189
ขอที่ : 397
เครื่องแลกเปลี่ยนความรอนแบบไหลตัดกัน ถูกออกแบบใหหลอเย็นน้ํามันเครื่องรอน [Cp,h = 2300 J/(Kg.C)] ซึ่งไหลเขาที่ 3.5 kg/s และ 85 องศาC และใชน้ําเปนตัวหลอเย็น
[Cp,c = 4180 J/(Kg.C)] ไหลเขาที่ 4.9 kg/s และ 20 องศาC สัมประสิทธิ์การถายเทความรอนรวมเทากับ 300 W/m^2.C จงหาพื้นที่การถายเทความรอนของเครื่อง ซึ่งมีคา NTU
= 2.3

58.1 ตารางเมตร
คําตอบ 1 :

61.7 ตารางเมตร

่ า ย

คําตอบ 2 :

ำ ห
63.9 ตารางเมตร
คําตอบ 3 :

มจ
า้
65.4 ตารางเมตร
คําตอบ 4 :

ขอที่ :
ิธ์ ห
ิท
398


เครื่องแลกเปลี่ยนความรอนแบบไหลตัดกัน ถูกออกแบบใหหลอเย็นน้ํามันเครื่องรอน [Cp,h = 2300 J/(Kg.C)] ซึ่งไหลเขาที่ 3.5 kg/s และ 85 องศาC และใชน้ําเปนตัวหลอเย็น


[Cp,c = 4180 J/(Kg.C)] ไหลเขาที่ 4.9 kg/s และ 20 องศาC สัมประสิทธิ์การถายเทความรอนรวมเทากับ 300 W/m^2.C จงหาอุณหภูมิน้ํามันเครื่องที่ทางออก ถาคา


Effectiveness = 0.68

36.9 องศาC

ส ง

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :
38.3 องศาC

กร ข


40.8 องศาC

าว
คําตอบ 3 :


42.6 องศาC


คําตอบ 4 :

ขอที่ : 399
เครื่องแลกเปลี่ยนความรอนแบบไหลตัดกัน ถูกออกแบบใหหลอเย็นน้ํามันเครื่องรอน [Cp,h = 2300 J/(kg.C)] ซึ่งไหลเขาที่ 3.5 kg/s และ 85 องศาC และใชน้ําเปนตัวหลอเย็น
[Cp,c = 4180 J/(kg.C)] ไหลเขาที่ 4.9 kg/s และ 20 องศาC สัมประสิทธิ์การถายเทความรอนรวมเทากับ 300 W/m^2.C จงหาอุณหภูมิน้ําที่ทางออก ถาคา Effectiveness =
0.68
187 of 189
35.1 องศาC
คําตอบ 1 :

37.4 องศาC
คําตอบ 2 :

39.6 องศาC
คําตอบ 3 :

41.3 องศาC

่ า ย

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 400

จ ำ ห
า้ ม
เครื่องแลกเปลี่ยนความรอนแบบไหลตามกัน ถูกออกแบบใหหลอเย็นของไหลรอน[Cp,h = 3840 J/(kg.C)] ซึ่งไหลเขาที่ 8.7 kg/s และ 75 องศาC ออกที่ 45 องศาC โดยใชน้ําเปน
ตัวหลอเย็น [Cp,c = 4180 J/(kg.C)] ซึ่งไหลเขาที่ 9.6 kg/s และ 15 องศาC ออกที่ 40 องศาC สัมประสิทธิ์การถายเทความรอนรวมเทากับ 500 W/m^2.C จงหาพื้นที่ถายเทความ

ิธ์ ห
รอน

ิท
75.17 ตารางเมตร
คําตอบ 1 :

80.28 ตารางเมตร

นส

คําตอบ 2 :

85.56 ตารางเมตร

ส ง

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :
90.68 ตารางเมตร

กร ข

ิ ว
าว
ขอที่ : 401


เครื่องแลกเปลี่ยนความรอนแบบไหลสวนทางกัน ถูกออกแบบใหหลอเย็นของไหลรอน[Cp,h = 3840 J/(kg.C)] ซึ่งไหลเขาที่ 8.7 kg/s และ 75 องศาC ออกที่ 45 องศาC โดยใชน้ํา


เปนตัวหลอเย็น [Cp,c = 4180 J/(kg.C)] ซึ่งไหลเขาที่ 9.6 kg/s และ 15 องศาC ออกที่ 40 องศาC คาสัมประสิทธิ์การถายเทความรอนรวมเทากับ 500 W/m^2.C จงหาพื้นที่ถาย
เทความรอน

60.02 ตารางเมตร
คําตอบ 1 :

61.85 ตารางเมตร
คําตอบ 2 :
188 of 189

62.26 ตารางเมตร
คําตอบ 3 :
63.14 ตารางเมตร
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 402


เครื่องแลกเปลี่ยนความรอนแบบไหลสวนทางกัน ใชเพื่อหลอเย็นน้ํามันรอนซึ่งไหลเขาที่ 120 องศาC ออกที่ 85 องศาC โดยใชน้ําเปนตัวหลอเย็น [Cp,c = 4180 J/kg.C] ซึ่งไหล

่ า
เขาที่ 0.8 kg/s และ 30 องศาC ไหลออกที่ 80 องศาC ถาสัมประสิทธิ์การถายเทความรอนรวม 125 W/m^2.C จงคํานวณพื้นที่ผิวถายเทความรอน

28.4 ตารางเมตร

หน

คําตอบ 1 :

30.5 ตารางเมตร

มจ
า้
คําตอบ 2 :

ิธ์ ห
32.1 ตารางเมตร
คําตอบ 3 :

ิท
34.3 ตารางเมตร


คําตอบ 4 :

ง ว น

ขอที่ : 403


เครื่องแลกเปลี่ยนความรอน shell-and-tubeใชเพื่อใหความรอนแกน้ําซึ่งไหลเขาที่ 0.7 kg/s และ 20 องศาC ไหลออกที่ 65 องศาC โดยใน shell มีน้ํามันเครื่องรอนไหลเขาที่ 120


องศาC และออกที่ 60 องศาC น้ํานั้นจะไหลในทอผนังบางจํานวน 10 ทอที่มีเสนผาศูนยกลาง 25 mm ถาคา U = 400 W/m^2.C จงหาความยาวของทอ โดยคาความรอนจําเพาะ

กร
ของน้ํามันและน้ํา= 2100 และ 4197 J/kg C ตามลําดับ คาตัวประกอบแกไข(LMTD), F=0.9

คําตอบ 1 : 9.26 m


ิ ว
าว
คําตอบ 2 : 9.93 m


คําตอบ 3 : 10.35 m


คําตอบ 4 : 10.94 m

189 of 189
สาขา: เครื่องกล วิชา: ME21 Machine Design/Mechanical
Design
1 of 150

ขอที่ : 1
ปรัชญาของการออกแบบเครื่องจักรกลที่สําคัญกลาวไวอยางไร
คําตอบ 1 : ขึ้นอยูกับลักษณะของอุตสาหกรรมหรือชนิดของเครื่องจักร


คําตอบ 2 : ขึ้นอยูกับประสบการณของผูออกแบบ

่ า
ขึ้นอยูกับเวลาที่ใชในการออกแบบ


คําตอบ 3 :


คําตอบ 4 : ขึ้นอยูกับการแขงขันทางดานการตลาด

จ ำ

ขอที่ : 2

า้
ผูออกแบบเครื่องจักรกลจําเปนตองมีความรูเกี่ยวกับสมบัติของวัสดุวิศวกรรมเพื่อประโยชนอะไร

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : เพื่อใหสามารถเลือกใชวัสดุที่มีราคาเหมาะสม
คําตอบ 2 : เพื่อใหชิ้นสวนที่ออกแบบมีความสวยงาม

ิท
คําตอบ 3 : เพื่อใหสามารถผลิตชิ้นสวนไดงาย


คําตอบ 4 : เพื่อใหทราบกรรมวิธีทางโลหะวิทยาตางๆ

ขอที่ : 3

ง ว น

ผูออกแบบเครื่องจักรกล จําเปนตองมีความรูทางดานเศรษฐศาสตร และการแขงขันทางดานราคา หนาที่อะไรไมใชหนาที่ของผูออกแบบ


คําตอบ 1 : ประหยัดเงินของผูวาจาง
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 : มีความรูดานการตลาด

กร ข
ปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงการออกแบบ เพิ่มสิ่งดึงดูดใจ


ิ ว
เพิ่มสมรรถนะของการออกแบบ
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 4

ภ าว

การออกแบบมักตองคํานึงถึงความไมแนนอนที่อาจเกิดขึ้นระหวางการคํานวณการสราง การใชงาน ฯลฯ ผูออกแบบจึงมักใชคาความปลอดภัย เพื่อใหครอบคลุมความไมแน
นอนตางๆที่คาดวาอาจเกิดขึ้น ตอไปนี้ขอใดคือความไมแนนอนที่ตองใชคาความปลอดภัย
คําตอบ 1 : คาใชจายดานพลังงานที่เพิ่มขึ้น
คําตอบ 2 : ผลจากชนิดของวัสดุที่แตกตางกัน
คําตอบ 3 : ผลของขนาดวัสดุตอความตานแรง
คําตอบ 4 : ผลจากการใชงานไมถูกตอง

ขอที่ : 5
Engineering design หมายถึง
กระบวนการหรือกรรมวิธีการประยุกตหลักการทางวิทยาศาสตรและเทคนิคตางๆ สําหรับวัตถุประสงคของนิยามกลอุปกรณ กระบวนการ2 ofหรื
150
อระบบในราย
คําตอบ 1 :
ละเอียดที่พอเพียงเพื่อยอมให เห็นนิยามเหลานั้นเปนจริงได
คําตอบ 2 : เกี่ยวของกับการสรางสรรคเครื่องจักรกลใหทํางานไดอยางปลอดภัย เชื่อถือไดและดี
คําตอบ 3 : ขบวนการสังเคราะห วิเคราะหและการเลือกที่ใชหลักการทางวิศวกรรมศาสตรมาประยุกตใช
คําตอบ 4 : การออกแบบทางวิศวกรรม หรือ วิศวกรรมการออกแบบ

่ า ย

ขอที่ : 6


กระบวนการออกแบบประกอบดวยขั้นตอนดังนี้

คําตอบ 1 :

จ ำ
การกําหนดปญหาและความตองการ, ภูมิหลังงานวิจัยที่เกี่ยวของ, การกําหนดเปาหมายหรือ วัตถุประสงค, การระบุลักษณะจําเพาะของงาน, การสังเคราะห,


การวิเคราะห, การเลือก, การ ออกแบบรายละเอียด, การสรางตนแบบและการทดลอง, และการผลิต

า้
การกําหนดปญหาและความตองการ, การกําหนดเปาหมายหรือวัตถุประสงค, การวิเคราะห, การ เลือก, การออกแบบรายละเอียด, การสรางตนแบบและการ

ิธ์ ห
คําตอบ 2 :
ทดลอง, และการผลิต
การกําหนดปญหาและความตองการ, ภูมิหลังงานวิจัยที่เกี่ยวของ, การระบุลักษณะจําเพาะของ งาน, การวิเคราะห, การเลือก, การออกแบบรายละเอียด, การ
คําตอบ 3 :
สรางตนแบบและการทดลอง, และการผลิต

ิท
การกําหนดปญหาและความตองการ, ภูมิหลังงานวิจัยที่เกี่ยวของ, การกําหนดเปาหมายหรือ วัตถุประสงค, การระบุลักษณะจําเพาะของงาน, การสังเคราะห,


คําตอบ 4 :
การเลือก, การออกแบบ รายละเอียด, การสรางตนแบบและการทดลอง, และการผลิต

ขอที่ :

ง ว น

7


ผลิตภัณฑที่ดีที่ไดจาการออกแบบตองไมมีคุณลักษณะเชนไร


คําตอบ 1 : สามารถทํางานหรือทําหนาที่ไดตามตองการหรือตามที่ลูกคาคาดหวังไว

กร
คําตอบ 2 : มีความปลอดภัยไมเปนอันตรายตอผูใช


คําตอบ 3 : มีความเชื่อมั่นหรือเชื่อถือไดที่ระดับความเชื่อมั่นที่กําหนด นั้นคือผลิตภัณฑตองไมเสียหาย กอนที่จะถึงกําหนด



คําตอบ 4 : หาซื้อยาก ผลิตจํานวนจํากัด แขงขันกับคนอื่นไดในตลาด

ขอที่ : 8

ภ าว

มาตรฐาน (Standard) หมายถึง
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
เซตของการระบุลักษณะจําเพาะสําหรับการวิเคราะห การออกแบบ การผลิตและการสรางบางสิ่ง
เซตของการระบุลักษณะจําเพาะสําหรับชิ้นสวน วัสดุ หรือกระบวนการที่มุงเพื่อความสําเร็จที่ เหมือนกันหรือแบบเดียวกัน ประสิทธิภาพ และคุณภาพจําเพาะ
คําตอบ 3 : เพื่อบรรลุระดับขั้นของความปลอดภัยจําเพาะ ประสิทธิภาพ และคุณภาพ
คําตอบ 4 : International Standards Organization (ISO)

ขอที่ : 9
NYLON เปนวัสดุอะไร
คําตอบ 1 : Plastics 3 of 150
คําตอบ 2 : Polymeric
คําตอบ 3 : Thermoplastics
คําตอบ 4 : Thermosets

่ า ย
ขอที่ : 10


เหล็กกลาคารบอนมีกี่ชนิด


คําตอบ 1 : 1 ชนิด

จ ำ
คําตอบ 2 : 2 ชนิด


คําตอบ 3 : 3 ชนิด

า้
คําตอบ 4 : 4 ชนิด

ขอที่ : 11
ิธ์ ห
ิท
คาความปลอดภัยที่จะเลือกใชในการออกแบบขึ้นอยูกับตัวประกอบอะไร


คําตอบ 1 : ความสวยงามของชิ้นงานที่จะผลิต

ว น
คําตอบ 2 : จํานวนของชิ้นงานที่จะผลิต


คําตอบ 3 : ความชํานาญและประสบการณของผูออกแบบชิ้นงาน


คําตอบ 4 : ประเภทของผลิตภัณฑที่จะผลิต

ขอ
กร
ขอที่ : 12


การเลือกใชคาความปลอดภัยในการออกแบบ ไมไดพิจารณาถึงตัวประกอบในขอใด

าว ศ

ชนิดของโหลดที่กระทํากับชิ้นงาน
คําตอบ 1 :


คําตอบ 2 :
ภ ลักษณะการใชงานของชิ้นงาน

น้ําหนักของชิ้นงาน
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 : ความสวยงามของชิ้นงาน

ขอที่ : 13
การทดสอบเพื่อหาคุณสมบัติเชิงกลของวัสดุ ในกรณีที่ไมสามารถทดสอบโดยการทดสอบการดึง สามารถทําไดโดยวิธีใดที่งายที่สุด
คําตอบ 1 : การทดสอบการดัด 4 of 150
คําตอบ 2 : การทดสอบการบิด
คําตอบ 3 : การทดสอบความแข็ง
คําตอบ 4 : การทดสอบการกระแทก

่ า ย
ขอที่ : 14


ความตานแรงของเหล็กมีสหสัมพันธ (correlation) กับคุณสมบัติในขอใด


คําตอบ 1 : มอดุลัสความยืดหยุน

จ ำ
คําตอบ 2 : มอดุลัสเฉือน


คําตอบ 3 : ความแข็ง

า้
คําตอบ 4 : สวนยืดสม่ําเสมอ

ขอที่ : 15
ิธ์ ห
ิท
ในฐานะที่ทานเปนวิศวกรออกแบบชิ้นสวนเครื่องจักร สิ่งหนึ่งที่ตองคํานึงถึงคือการกัดกรอน ทานจะไมเลือกควบคุมการกัดกรอนดวยวิธีใด


คําตอบ 1 : ควบคุมดวยการออกแบบทางวิศวกรรม

ว น
คําตอบ 2 : ควบคุมโดยควบคุมสภาพแวดลอม


คําตอบ 3 : ควบคุมดวยการเลือกวัสดุ


คําตอบ 4 : ควบคุมดวยกรรมวิธีทางความรอน

ขอ
กร
ขอที่ : 16


ขอใดไมใชรายการที่สําคัญในการเลือกวัสดุเพื่อใชในการออกแบบและผลิตชิ้นสวนเครื่องจักรกล



คุณสมบัติของวัสดุ

าว
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 : การหาวัสดุไดงาย


คําตอบ 3 : การคํานึงถึงในแงเศรษฐศาสตร


คําตอบ 4 : สภาพแวดลอม

ขอที่ : 17
พิกัดความเผื่อ (Tolerances) จัดเปนคุณสมบัติวัสดุทางใด
คําตอบ 1 : คุณสมบัติทางกล
คําตอบ 2 : คุณสมบัติทางมิติ
คําตอบ 3 : คุณสมบัติทางกายภาพ
คําตอบ 4 : คุณสมบัติทางเคมี
5 of 150

ขอที่ : 18
ในการทดสอบความแข็งวัสดุ (Hardness) ทานใชหัวทดสอบแบบไหนในการทดสอบ Rockwell C
คําตอบ 1 : หัวทดสอบรูปทรงกลม
คําตอบ 2 : หัวทดสอบรูปทรงปรามิด
หัวทดสอบรูปทรงกรวย

่ า ย
คําตอบ 3 :


คําตอบ 4 : หัวทดสอบรูปทรงใดก็ได

ขอที่ : 19

จ ำ ห

วัสดุใดที่สามารถดูดซับพลังงานไดมากเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น
วัสดุเหนียว

า้
คําตอบ 1 :

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : วัสดุเปราะ
คําตอบ 3 : วัสดุพลาสติก

ิท
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

นส

ขอที่ : 20
ใชชิ้นงานทดสอบ (Specimen) ดังรูปกับงานทดสอบแบบใด

ส ง
ขอ
ว กร
าว ศ

ส ภ
คําตอบ 1 : ทดสอบยกน้ําหนัก
คําตอบ 2 : ทดสอบแรงดึง
คําตอบ 3 : ทดสอบความลาตัว
6 of 150
คําตอบ 4 : ทดสอบความแข็งแรง

ขอที่ : 21
ผลจากการทดสอบชิ้นงานทดสอบ (Specimen) ไดลักษณะกราฟผลการทดสอบดังรูปในเบื้องตน ทานพิจารณาชิ้นงานทดสอบนี้วาเปนวัสดุชนิดใด

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส

ทดสอบแรงดึงวัสดุออน

กร
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 : ทดสอบแรงดึงวัสดุเหนียว


คําตอบ 3 : ทดสอบแรงดึงวัสดุเปราะ

าว ศ

คําตอบ 4 : ทดสอบแรงดึงวัสดุแข็ง

ส ภ
ขอที่ : 22

ใชชิ้นงานทดสอบ (Specimen) ดังรูปกับงานทดสอบแบบใด


7 of 150

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ทดสอบยกน้ําหนัก
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :

ิท
คําตอบ 2 : ทดสอบแรงอัด
ทดสอบแรงกระแทก

นส
คําตอบ 3 :


คําตอบ 4 : ทดสอบการหดตัว

ส ง

ขอที่ :


23

ว กร
าว ศ

ส ภ
ผลจากการทดสอบชิ้นงานทดสอบ (Specimen) ไดลักษณะกราฟผลการทดสอบดังรูปในเบื้องตน ทานพิจารณาชิ้นงานทดสอบนี้
วาเปนวัสดุชนิดใด
8 of 150

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ทดสอบแรงกดวัสดุออน
คําตอบ 2 : ทดสอบแรงกดวัสดุเหนียว

ิท
คําตอบ 3 : ทดสอบแรงกดวัสดุเปราะ
คําตอบ 4 : ทดสอบแรงกดวัสดุแข็ง

นส
ง ว

ขอที่ : 24


ผลการทดสอบชิ้นทดสอบมาตรฐานในรูปขอ 466เปนวัสดุประเภทใด


กร
คําตอบ 1 : ออน


คําตอบ 2 : แข็ง
คําตอบ 3 : เปราะ

าว
เหนียว ศ


คําตอบ 4 :

ขอที่ : 25

ผลการทดสอบชิ้นทดสอบมาตรฐานดังรูปนี้เปนวัสดุประเภทใด
9 of 150

่ า ย
หน
คําตอบ 1 : ออน

จ ำ

แข็ง

า้
คําตอบ 2 :

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : เปราะ
คําตอบ 4 : เหนียว

ขอที่ :

ส ิท

26


กราฟจากผลทดสอบโดยมีความเคน (Stress) แกนเดียว (Uniaxial) และอยูในชวงของความเคลียด (Strain) แนวตรง (Linear) บริเวณจุด E หมายถึงอะไร

ส ง
ขอ
ว กร
าว ศ

ส ภ
คําตอบ 1 : ชวงยืดหยุน (Elastic)
คําตอบ 2 : ชวงยืดตัว (Elongation)
คําตอบ 3 : จุดยืดหยุนของยังค (Young Modulus)
คําตอบ 4 : จุดเฉลี่ยระหวางจุด Yield และ Proportional limit 10 of 150

ขอที่ : 27
ในโลหะที่ถูกเลือกมาใชมักมีสวนผสมของวัตถุธาตุหลายชนิด ซึ่งวัตถุธาตุเหลานี้มีคุณสมบัติอะไรที่ใชรวมกันได


คําตอบ 1 : คุณสมบัติดาน Elastic
คําตอบ 2 : คุณสมบัติดานเคมี

น่ า

คําตอบ 3 : คุณสมบัติดานเปนตัวนําความรอน
คําตอบ 4 : คุณสมบัติดานเกาะยึดตัวติดกัน

จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 28
จงบอกกรรมวิธีที่มีชื่อเรียกเหลานี้ Hot rolling, Extrusion, Forging

ิท
คําตอบ 1 : Heat-treatment


คําตอบ 2 : Casting
คําตอบ 3 : Cold-working

ง ว น

คําตอบ 4 : Hot-working

ขอ
กร
ขอที่ : 29
จงบอกกรรมวิธีที่มีชื่อเรียกเหลานี้ Annealing, Quenching,Tempering, Case hardening
คําตอบ 1 :


ิ ว
Heat-treatment

าว
คําตอบ 2 : Casting


คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 : ภ Cold-working
Hot-working

ขอที่ : 30
ชื่อใดมีคุณสมบัติดาน Plastically สามารถดันโลหะขึ้นรูปใหเปนรูปทรงตามที่เราตองการ
คําตอบ 1 : Heat-treatment
คําตอบ 2 :
Casting
11 of 150
คําตอบ 3 : Hot-working
คําตอบ 4 : Cold-working

ขอที่ : 31


ชื่อกรรมวิธีที่ใหคุณสมบัติทางวัสดุดีตามที่เราตองการและดีกวาเมื่อเปรียบเทียบกับงานหลอโลหะ
คําตอบ 1 : Hot-working
น่ า
คําตอบ 2 : Cold-working
Casting
จ ำ ห

คําตอบ 3 :

า้
คําตอบ 4 : Heat-treatment

ขอที่ : 32
ิธ์ ห
ิท
ใหบอกชื่อกรรมวิธีขึ้นรูปดังรูป

นส
ง ว
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : Hot-forming
คําตอบ 2 : Forging
คําตอบ 3 : Pressing
คําตอบ 4 : Rolling
12 of 150

ขอที่ : 33
ชื่อเรียกลายเสนจากงานขึ้นรูปรอนดังรูปคืออะไร

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : Fiber line
คําตอบ 2 : Flow line
Scaling line
ิท
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 : Contour line


นส
ง ว

ขอที่ : 34


กานชิ้นงานดังแสดงในรูปถูกแรง F กระทําขนาด 25 kN ถากําหนดใหพื้นที่หนาตัดของกานชิ้นงานเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผาโดยมีความกวาง h มีขนาดเปน 2 เทาของความ

กร ข
หนา b จงหาขนาดของ b และ h ถาชิ้นสวนนี้ทําจากเหล็กกลาซึ่งมีคา σy = 370 MPa และใหใชคาความปลอดภัย, Ny=1.5


ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : b = 5.32 mm และ h = 10.64 mm
คําตอบ 2 : b = 6.35 mm และ h = 12.7 mm
คําตอบ 3 : b = 7.12 mm และ h = 14.24 mm
คําตอบ 4 : b = 8.31 mm และ h = 16.62 mm
ขอที่ : 35 13 of 150
เพลากลมตันทําดวยเหล็กกลาซึ่งมีคาความตานแรงดึงคราก, σy = 440 MPa ยังสโมดูลัส (Young Modulus) E = 207 GN/m2 โมดูลัสเฉือน (Shear Modulus) G = 79.3
GN/m2 ใชถายทอดกําลัง 10 kW ดวยอัตราเร็ว 1750 rpm อยางสม่ําเสมอ จงหาขนาดของเพลาโดยใชคาความปลอดภัย, Ny=2
คําตอบ 1 : 9.82 mm


คําตอบ 2 : 12.8 mm

่ า
คําตอบ 3 : 15.42 mm


คําตอบ 4 : 16.47 mm

ขอที่ :

จ ำ ห

36

า้
กานชิ้นงานมีพื้นที่หนาตัดเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา การกระจายของความเคน , σ ที่พื้นที่หนาตัดจะมีรูปแบบเปน

ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข
คําตอบ 1 :


ิ ว
ภ าว

คําตอบ 2 :
14 of 150

คําตอบ 3 :

่ า ย
หน
คําตอบ 4 :

จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ิท
ขอที่ : 37


ชิ้นงานมีลักษณะเปนเพลากลมเสนผาศูนยกลาง d mm ไดรับการออกแบบใหมีคาความปลอดภัย (safety factor) α = 0 แรงดึงสูงสุดที่ชิ้นงานทั้งนี้รองรับไดโดยไมเสีย

ว น
หายคือเทาใด (ชิ้นงานทําจากวัสดุที่มีคาความตานทานแรงคราก y MPa)

คําตอบ 1 :

ส ง
ขอ
กร
คําตอบ 2 :


ิ ว
าว
คําตอบ 3 :


คําตอบ 4 :

ขอที่ : 38

จงเรียงลําดับคาคุณสมบัติทางกลของวัสดุที่อานไดจากแผนภาพแสดงความสัมพันธของความเคน-ความเครียด ของวัสดุโดยทั่วไป จากคานอยไปคามาก (ความตานแรงดึง
คราก (σy), ความเคนพิสูจน (0.2%σy), ความตานแรงดึงอัลลิเมต (σuts), ความเคนแตกหัก (σrupture))

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :
15 of 150

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

่ า ย

ขอที่ : 39


ความแข็งตึงของวัสดุ (Stiffness) คือความสามารถในการตานทานตอการเปลี่ยนแปลงรูปรางของ วัสดุนั้นจากแผนภาพความเคน-ความเครียด คุณสมบัติทางกลใดที่ใชบงชี้


ความแข็งตึงของวัสดุนั้น
ยังสโมดูลัส (Young’s Modulus)

มจ
คําตอบ 1 :

า้
คําตอบ 2 : ความตานทานแรงดึงคราก (Yield Strength)

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : โมดูลัสเฉือน (Shear Modulus)
คําตอบ 4 : ความตานทานแรงดึงอัลติเมต (Ultimate Tensile Strength)

ขอที่ : 40

ส ิท

การทําสอบใดที่ไมใชการทดสอบเพื่อหาคาความแข็ง (Hardness)ของชิ้นงาน หรือวัสดุ
คําตอบ 1 : Vicker Test

ง ว

คําตอบ 2 : Rockwell Test


คําตอบ 3 : Brinell Test

กร ข
คําตอบ 4 : Charpy Test

ขอที่ : 41


ิ ว
าว
การเพิ่มอัตราสวนของคารบอน(%C)ในโลหะเหล็กสงผลใหคุณสมบัติใดของโลหะเหล็กนั้นลดลง


คําตอบ 1 : คุณสมบัติในการรับแรง (Strength)


คําตอบ 2 : ความเหนียว (Ductility)
คําตอบ 3 : ความแข็ง (Hardness)
คําตอบ 4 : ความเปราะ(Brittle)

ขอที่ : 42
ขั้นตอนของการออกแบบควรเรียงลําดับดังนี้
คําตอบ 1 : รับรูความคองการ ลักษณะจําเพาะ ศึกษารายละเอียด สังเคราะหความคิด
คําตอบ 2 : ลักษณะจําเพาะ รับรูความคองการ สังเคราะหความคิด ศึกษารายละเอียด 16 of 150
คําตอบ 3 : สังเคราะหความคิด ศึกษารายละเอียด ลักษณะจําเพาะ รับรูความคองการ
คําตอบ 4 : ศึกษารายละเอียด สังเคราะหความคิด รับรูความตองการ ลักษณะจําเพาะ

ขอที่ : 43

่ า ย
เพลากลมตันมีเสนผานศูนยกลางเทากับ 20 mm ทําดวยเหล็กกลาถูกกระทําดวยแรงบิด (Torque) เทากับ 225 Nm จงหาขนาดของความเคนเฉือน , τ ที่เกิดขึ้นที่หนาตัด


ของเพลา


คําตอบ 1 : 102.57 N/mm2
คําตอบ 2 : 113.46 N/mm2

จ ำ

คําตอบ 3 : 143.18 N/mm2

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 4 : 158.97 N/mm2

ขอที่ :

ิท
44


กานชิ้นงานสั้นดังแสดงในรูปถูกแรงกด F กระทํา ถากําหนดใหกานชิ้นงานมีพื้นที่หนาตัดเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา การกระจายของความเคน, σ ที่พื้นที่หนาตัดจะมีรูปแบบเปน

ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
17 of 150

คําตอบ 2 :

่ า ย
หน
จ ำ

คําตอบ 3 :

า้
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 4 :

ง ว น
อ ส
กร ข
ขอที่ : 45


ิ ว
าว
เพลากลมตันทําดวยเหล็กกลาถูกกระทําดวยแรงบิด (torque) เทากับ 225 Nm ถากําหนดใหใชคาความเคนเฉือนในการออกแบบ (Allowable Shear Stress) τd = 220


N/mm2 จงหาขนาดของเสนผานศูนยกลางของเพลา


คําตอบ 1 : 15.43 mm
คําตอบ 2 : 16.42 mm
คําตอบ 3 : 17.33 mm
คําตอบ 4 : 18.78 mm

ขอที่ : 46

เพลากลมตันทําจากเหล็กกลาซึ่งมีคาความตานแรงดึงคราก, σy = 310 MPa และมีคาโมดูลัสเฉือน, G = 80 GPa ใชถายทอดกําลัง 30 kW ที่อัตราเร็วรอบ 2000 rpm ถา
ตองการใหเพลามีมุมบิดไมเกิน 3 องศาตอความยาว 500 mm จะใชเพลาขนาดเสนผานศูนยกลางเทากับเทาใดและจะมีคาความปลอดภัยเทาใด
คําตอบ 1 : d = 18.53 mm และ Ny = 2.32 18 of 150

คําตอบ 2 : d = 20.43 mm และ Ny = 2.32


คําตอบ 3 : d = 20.43 mm และ Ny = 5.85
คําตอบ 4 : d = 18.53 mm และ Ny = 4.85

่ า ย

ขอที่ : 47


เพลากลมตันทําดวยเหล็กกลาซึ่งมีคา σy = 440 NPa, E = 207 GN/m2 , G = 79.3 GN/m2 ใชถายทอดกําลัง 10 kW ดวยอัตราเร็ว 1750 rpm อยางสม่ําเสมอ จงหา
ขนาดของเพลาโดยใชคาความปลอดภัย, Ny = 2

จ ำ
9.82 mm

า้ ม
คําตอบ 1 :

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : 12.80 mm
คําตอบ 3 : 15.42 mm
คําตอบ 4 : 16.47 mm

ส ิท

ขอที่ : 48


เพลากลมตันมีขนาดเสนผานศูนยกลางเทากับ d = 14 mm เพลานี้ทํามาจากเหล็กกลาซึ่งมีคาตานแรงดึงคราก , σy = 440 NPa ใชถายทอดกําลัง 10 kW ดวยอัตราเร็ว

ส ง
1750 rpm อยางสม่ําเสมอ จงหาความเคนเฉือนสูงสุดที่เกิดขึ้นในเพลานี้


คําตอบ 1 : 88.67 mm

กร ข
คําตอบ 2 : 92.57 mm
คําตอบ 3 : 101.28 mm


คําตอบ 4 : 116.49 mm

ขอที่ :

าว ศ


49


ภาชนะผนังบางรูปทรงกระบอก ขนาดเสนผานศูนยกลาง 500 mm ยาว 1000 mm รับความดันภายใน p = 10 bar ทําดวยวัสดุที่มีคาความเคนใชงาน 25 MPa ภาชนะใบนี้
ควรมีความหนานอยที่สุดเทาใด
คําตอบ 1 : 1.0 mm
คําตอบ 2 : 1.5 mm
คําตอบ 3 : 2.0 mm
คําตอบ 4 : 2.5 mm

ขอที่ : 50
คุณสมบัติของวัสดุที่แสดงความสามารถในการรับแรงของเสาคืออะไร
คําตอบ 1 : ความตานแรงดึงคราก 19 of 150
คําตอบ 2 : ความตานแรงดึงสูงสุด
คําตอบ 3 : ความตานแรงกด
คําตอบ 4 : มอดุลัสยืดหยุน

่ า ย
ขอที่ : 51


ทฤษฎีความเคนหลักสูงสุด (Maximum Principal Stress Theory) เหมาะสําหรับใชในการออกแบบวัสดุประเภทใด


คําตอบ 1 : วัสดุเปราะที่รับแรงกดไดดี

จ ำ
คําตอบ 2 : วัสดุเปราะที่รับแรงเฉือนไดดี


คําตอบ 3 : วัสดุเหนียวที่รับแรงกดไดดี

า้
คําตอบ 4 : วัสดุเหนียวที่รับแรงเฉือนไดดี

ขอที่ : 52
ิธ์ ห
ิท
ทฤษฎีความเคนเฉือนออคตะฮีดรัล (Octahedral Shear Stress Theory) มีความแตกตางที่สําคัญจากทฤษฎีความเคนเฉือนสูงสุด (Maximum Shear Stress Theory)


อยางไร


คําตอบ 1 : ทฤษฎีความเคนเฉือนออคตะฮีดรัลมีความแมนยําในการคํานวณนอยกวา
คําตอบ 2 :

ง ว
ทฤษฎีความเคนเฉือนออคตะฮีดรัลมีความแมนยําในการคํานวณมากกวา


คําตอบ 3 : ทฤษฎีความเคนเฉือนออคตะฮีดรัลใชความเคนในการคํานวณนอยกวา


คําตอบ 4 : ทฤษฎีความเคนเฉือนออคตะฮีดรัลใชความเคนในการคํานวณมากกวา

ขอที่ :

กร ข

53



เพลาหนาตัดสี่เหลี่ยมจัตุรัสตันขนาด b x b กับเพลากลมตันมีรัศมีเทากับ r รับแรงบิดเทากัน ขอใดกลาวถูกตอง

าว
คําตอบ 1 : น้ําหนักเพลาหนาตัดสี่เหลี่ยมจัตุรัสตันตอความยาวเทากับน้ําหนักเพลากลมตันตอความยาว


คําตอบ 2 : ความแข็งแรงตอน้ําหนักของเพลาหนาตัดสี่เหลี่ยมจัตุรัสตันมากกวาความแข็งแรงตอน้ําหนักของ เพลากลมตัน


คําตอบ 3 : น้ําหนักเพลาหนาตัดสี่เหลี่ยมจัตุรัสตันตอความยาวนอยกวาน้ําหนักเพลากลมตันตอความยาว
คําตอบ 4 : ความแข็งแรงตอน้ําหนักของเพลาหนาตัดสี่เหลี่ยมจัตุรัสตันนอยกวาความแข็งแรงตอน้ําหนักของ เพลากลมตัน

ขอที่ : 54
ในฐานะที่ทานเปนวิศวกรออกแบบเครื่องกล ทฤษฎีความลา (Failure theory) ทฤษฎีใดที่ทาน จะเลือกใชกับวัสดุเปราะ ( ฺBrittle materials)
คําตอบ 1 : Maximum normal stress theory
คําตอบ 2 : Ductile Coulomb-Mohr theory
คําตอบ 3 : Maximum shear stress theory
คําตอบ 4 : Distortion energy
20 of 150

ขอที่ : 55
จงคํานวณหาแรงปฏิกิริยาที่จุดรองรับ D

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 1,500 N

ส ิท
ว น
คําตอบ 2 : -1,500 N


คําตอบ 3 : 4,500 N


คําตอบ 4 : -4,500 N

ขอ
กร
ขอที่ : 56


ิ ว
ภ าว

จงคํานวณหาแรงที่กระทําบนแขน AB ถาแรงปฏิกิริยาที่ A = 1500 N กระทําลงใน แนวดิ่ง
21 of 150

่ า ย
หน
จ ำ
คําตอบ 1 : 1,500 N C

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 : -1,500 N T
คําตอบ 3 : 2,121 N T

ิท
คําตอบ 4 : -2,121 N C

ขอที่ :

นส

57


ที่ตําแหนงไหนของเพลามีความเคนสูงสุดเทากับ P/A

อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
A, B, C, และ E
B, E, และ F
A, D, และ E
คําตอบ 4 : A, B, C, D, E, และ F

ขอที่ : 58

โมเมนตดัด (Bending moment) เทาไรที่เกิดใน straight round rod ขนาดโต 40 mm. กับ straight square rod ขนาด 40 x 40 mm. ซึ่งมี normal stress สูงสุดเทากัน
คือ 400 MPa
22 of 150

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : โมเมนตดัดใน rod ทั้งสองเทากัน
คําตอบ 2 : โมเมนตดัดใน round rod มากกวา

ิท
คําตอบ 3 : โมเมนตดัดใน Square rod มากกวา


โมเมนตดัดใน rod ทั้งสองเกือบเทากัน


คําตอบ 4 :

ง ว

ขอที่ : 59


เมื่อหมุดย้ํารับแรงเฉือนคู (double shear) จะเกิดความเคนเฉือนบนหนาตัดขวางของหมุดย้ําเทาใด


คําตอบ 1 : τ= F/A

กร
คําตอบ 2 : τ= 2F/A


คําตอบ 3 : τ= F/2A

าว ศ

คําตอบ 4 : τ= 3F/2A


ขอที่ :


60
ความเคนเฉือนที่เกิดขึ้นบนหนาตัดขวางของคานที่มีรูปรางหนาตัดเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผามีคาเทาไร
คําตอบ 1 : τ= V/A
คําตอบ 2 : τ = V/2A
คําตอบ 3 : τ = 2V/A
คําตอบ 4 : τ= 3V/2A

ขอที่ : 61
ความเคนเฉือนสูงสุดที่เกิดขึ้นในระบบความเคนผสมมีคาเทาใด
คําตอบ 1 : ครึ่งหนึ่งของความเคนดึงสูงสุด 23 of 150
คําตอบ 2 : ครึ่งหนึ่งของผลตางความเคน
คําตอบ 3 : ครึ่งหนึ่งของผลตางความเคนสูงสุด
คําตอบ 4 : ผลตางของความเคนสูงสุด

่ า ย
ขอที่ : 62


การออกแบบเพลาเพื่อใชรับความเคนผสมโดยใชทฤษฎีความเสียหายทั้งหมด ขนาดที่เล็กที่สุดจะหาไดโดยใชทฤษฎีใด


คําตอบ 1 : ทฤษฎีความเคนหลักสูงสุด

จ ำ
คําตอบ 2 : ทฤษฎีความเครียดหลักสูงสุด


คําตอบ 3 : ทฤษฎีความเคนเฉือนสูงสุด

า้
คําตอบ 4 : ทฤษฎีความเคนเฉือนออคตะฮีดรัล

ขอที่ : 63
ิธ์ ห
ิท
ขอใดกลาวไมถูกตอง กรณีที่ตองใชสูตร σ = F/A เพื่อหาความเคนดึง หรือความเคนอัด โดยตรง


คําตอบ 1 : Member ที่รองรับโหลดตองเปนเสนตรง

ว น
คําตอบ 2 : เสนกระทําของโหลดตองผานเซนทรอย (Centroid) หนาตัด Member


คําตอบ 3 : วัสดุของ Member ตองเปนเนื้อเดียวกัน (homogeneous) และมีคุณสมบัติเหมือนกันในทุกทิศทาง (isotropic)


คําตอบ 4 : Memberไมจําเปนตองมีหนาตัดสม่ําเสมอใกลบริเวณที่เริ่มตนคํานวณความเคน

ขอ
กร
ขอที่ : 64


ขอใดกลาวถูกตอง ถาแรงบิด (Torque) หรือ twisting moment กระทํากับเพลากลมตัน (Solid shaft)



คําตอบ 1 : Torsional Shear Stress สูงสุดเกิดที่จุดศูนยกลางเพลา และ Torsional Shear Stress นอยสุด เกิดที่รัศมีโตสุดของเพลา

าว
คําตอบ 2 : Torsional Shear Stress สูงสุดเกิดที่จุดศูนยกลางเพลา และ Torsional Shear Stress เทากับ ศูนยเกิดที่รัศมีโตสุดของเพลา


คําตอบ 3 : Torsional Shear Stress สูงสุดเกิดที่รัศมีโตสุดของเพลาและ Torsional Shear Stress นอยสุดเกิดที่จุดศูนยกลางเพลา


คําตอบ 4 : Torsional Shear Stress สูงสุดเกิดที่รัศมีโตสุดของเพลาและ Torsional Shear Stress เทากับศูนยเกิดที่จุดศูนยกลางเพลา

ขอที่ : 65
Modified Mohr theory ถูกใชเพื่อทํานายการแตกหักของ
คําตอบ 1 : วัสดุเหนียว
คําตอบ 2 : วัสดุเปราะ
คําตอบ 3 : วัสดุเหนียวและวัสดุเปราะ
คําตอบ 4 : วัสดุวิศวกรรม
24 of 150

ขอที่ : 66
Maximum-distortion-energy-theory ถูกใชเพื่อทํานาย
คําตอบ 1 : วัสดุเหนียว
คําตอบ 2 : วัสดุเปราะ
วัสดุเหนียวและวัสดุเปราะ

่ า ย
คําตอบ 3 :


คําตอบ 4 : วัสดุวิศวกรรม

ขอที่ : 67

จ ำ ห

Distortion energy theory ทํานายความเสียหายเมื่อ
ทุกจุดอยูในรูปสี่เหลี่ยม

า้
คําตอบ 1 :

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : ทุกจุดอยูนอกรูปสี่เหลี่ยม
คําตอบ 3 : ทุกจุดอยูนอกรูปวงรี

ิท
คําตอบ 4 : ทุกจุดอยูในรูปวงรี

นส

ขอที่ : 68

ส ง
ขอ
ว กร
าว ศ

ส ภ
เมื่อทานพิจารณาคาความปลอดภัย (Safety factor) จะตอง นําคาใดในกราฟ Stress-Strain มาพิจารณารวมกับความ เคนใชงาน (Working Stress)
25 of 150

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 : ความเคนที่จุด R

ง ว น

คําตอบ 2 : ความเคนที่จุด U


คําตอบ 3 : ความเคนสูงสุด Su

กร ข
คําตอบ 4 : ความเคนที่จุดคลาก Y

ขอที่ : 69


ิ ว
ภ าว

พิจารณากราฟ Stress-Strain ของวัสดุ AL 6061-T6 มีปจจัย อะไรที่ชวยใหวัสดุนี้ยืดตัวไดงาย (High strain rate)
26 of 150

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 : ตองการแรงดึงสูงๆเพื่อชวยใหยืดตัวงาย

ง ว น

คําตอบ 2 : ความเคนสูงๆชวยใหยืดตัวงาย


คําตอบ 3 : ความเคลียดมากๆจะชวยใหวัสดุยืดตัวงาย

กร ข
คําตอบ 4 : อุณหภูมิสูงจะทําใหวัสดุยืดตัวไดสูง

ขอที่ : 70


ิ ว
ภ าว

Shear modulus มีความสําคัญในการคํานวณ Deflection ที่เกิดจาก Shear เชน Torsion จากรูปเมื่อให Shear Strain เลือกสมการ Shear modulus ที่ถูกตอง
27 of 150

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 :

ง ว น
อ ส
คําตอบ 2 :

กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 3 :

ส ภ
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 71
จากรูป Positiove Strain ในแนวแกน x ทําใหเกิด Negative Strain ในแนวแกน y สัดสวนนี้เรียกวา Poisson’s Ratio ใหเลือกสมการ ที่ถูกตองของ Poisson’s Ratio
28 of 150

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น

คําตอบ 1 :

ขอ
คําตอบ 2 :

ว กร
าว ศ


คําตอบ 3 :


คําตอบ 4 :

ขอที่ : 72
ทฤษฎีความเสียหายอันเนื่องจากภาระตอเนื่อง (Steady load failure theory) ใชกับวัสดุชนิดใดไดบาง
คําตอบ 1 : วัสดุเหนียว(Ductile) และ/หรือเปราะ(Brittle) 29 of 150
คําตอบ 2 : วัสดุใชในงานกอสราง
คําตอบ 3 : วัสดุใชในงานเครื่องจักร
คําตอบ 4 : วัสดุออน (Soft material)

่ า ย
ขอที่ : 73


Stress/Strain field ที่ใชกับทฤษฎีความเสียหายตอเนื่อง (Steady load failure theory) สามารถประยุกตใชกับภาระ ตามแนวแกนชนิดใดไดบาง


คําตอบ 1 : ไดเฉพาะแนวแกนเดียว (Uniaxial)

จ ำ
คําตอบ 2 : ไดทั้งแนวแกนเดียว (Uni axial) และหลายแกน (Multi axial)


คําตอบ 3 : ใชไดเฉพาะแบบหายแกน (Multi axial)

า้
คําตอบ 4 : ใชกับแนวแกน X, Y, Z

ขอที่ : 74
ิธ์ ห
ิท
ทฤษฎีวาดวย Maximum-Normal-Strain Theory (ของ Saint-Venant) ตั้งขอสังเกตไววา เมื่อ Principal Strain มีคาเขา ใกล Strain และสอดคลองกับ Yield Strength


จะมีสภาวะอะไรเกิดขึ้น


Internal friction


คําตอบ 1 :


คําตอบ 2 : Stress/Strain fall


คําตอบ 3 : Yielding


คําตอบ 4 : Failure

กร ข

ขอที่ : 75



ทฤษฎีวาดวย Distorsion Energy Theory เมื่อคา Distorsion per unit volume เทากับ Distorsion per unit volume ที่เกิด จากแรงดึงตามแนวแกนเดียว (Uniaxial) บน

าว
ชิ้นงานทดสอบ (Specimen) จนกระทั่งคาความเคนสูงขึ้นถึงชวง Yield Strength จะทําใหเกิดสภาวะเชนไร
คําตอบ 1 : Yielding


คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ภ Failure
Stress/Strain fall
Internal friction

ขอที่ : 76

กราฟตามรูปเกิดจากการทดสอบแรงดึงบนชิ้นงานทดสอบ (Tensile specimen) พื้นที่ U-area ที่อยูใต Stress-Strain curve คืออะไร


30 of 150

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : Proportional area

ส ิท

คําตอบ 2 : Stress-Strain energy

ง ว
คําตอบ 3 : Strain energy area


คําตอบ 4 : Specimen stressed

ขอ
กร
ขอที่ : 77
เมื่อ Distorsion Energy per unit volume มีคาเทากับ Distorsion Energy per unit volume ในการทดสอบแรงดึงบนชิ้นงานทดสอบ จนกระทั่งความเคนสูงขึ้นเขาใกล


Yielding Strength จะเกิด สภาวะอะไรขึ้น

าว ศ

ส ภ
คําตอบ 1 : Yilding
คําตอบ 2 : Internal friction 31 of 150
คําตอบ 3 : Stress/Strain fall
คําตอบ 4 : Failure

ขอที่ : 78

่ า ย
เรานําประโยชนของพื้นที่แรงเงาเปนของวัสดุ ที่อยูใตสภาวะความเคนของ Plain Stress Condition ไปใชอยางไร

หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
คําตอบ 1 :


พื้นที่บริเวณนี้จะไมเกิดคา Yield



คําตอบ 2 : พื้นที่ภายใต Yield Strength

กร
คําตอบ 3 : พื้นที่ในสวนนี้จะไมเกิด Failure


คําตอบ 4 : พื้นที่ความแข็งแรงใชงาน

ขอที่ : 79

าว ศ

ส ภ

เราสามารถนําสภาวะอะไรจากวงกลมของโมร (Mohr’s Circle) มาใชประโยชนในการออกแบบ


32 of 150

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : Principal Stress

ส ิท

คําตอบ 2 : Pure Stress

ง ว
คําตอบ 3 : Maximum Shear


คําตอบ 4 : Pure Shear

ขอ
กร
ขอที่ : 80


ิ ว
ภ าว

ในสภาวะ Pure Shear สามารถกําหนดสูตรงายๆมาใชดังนี้
33 of 150

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท

คําตอบ 1 :

ง ว
คําตอบ 2 :

อ ส
กร ข

คําตอบ 3 :

าว ศ


คําตอบ 4 :

ขอที่ : 81

ทฤษฎีเกี่ยวกับ The Maximum-Normal-Stress Theory ตั้งขอสังเกตไววา เมื่อคา σ1 σ2 σ3 เปน Pricipal Stress เมื่อคําหนึ่งในสามนี้มีคามากจนเขาใกลคาความแข็งแรง
ดึง (Tensile strength) และความแข็งแรงอัด (Compressive strength ) จะมีสภาวะเชนใดเกิดขึ้น
คําตอบ 1 : Failue
คําตอบ 2 : Yielding
คําตอบ 3 : Stress/Strain fall
คําตอบ 4 : Internal friction 34 of 150

ขอที่ : 82
ชิ้นงานดังแสดงในรูปทําจากเหล็กกลาซึ่งมีคาความตานแรงดึงคราก σy = 440 MPa รับแรงสถิตขนาด 1000 N จงคํานวณหาการเคลื่อนตัวของจุด A ซึ่งไดแกการบิดตัว
เนื่องจากทอรก และการเคลื่อนตัวในแนวดิ่ง (E= 207 GN/m2 , G = 79.3 GN/m2)

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท

คําตอบ 1 : y = - 0.572 mm และ θ = 0.00658 เรเดียน


คําตอบ 2 : y = - 0.672 mm และ θ = 0.00758 เรเดียน
คําตอบ 3 : y = - 0.672 mm และ θ =


0.00658 เรเดียน



คําตอบ 4 : y = - 0.472 mm และ θ = 0.00658 เรเดียน

ขอที่ : 83

กร ข

ทฤษฏีความเสียหาย (Failure Theories) ใดเมื่อใชในการคํานวณออกแบบแลวใหคาความ ปลอดภัยสูงสุด

าว ศ

ทฤษฏีความความเคนหลักสูงสุด (Maximum Normal Stress Failure Theory)
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 : ทฤษฏีความความเคนเฉือนสูงสุด (Maximum Shear Stress Failure Theory)


คําตอบ 3 : ทฤษฏีความความเคนเฉือนออคตะฮีดรัล (Octahedral Shear Stress Failure Theory)

ขอที่ :

คําตอบ 4 :

84
ทฤษฏีความความเครียดหลักสูงสุด (Maximum Principle Strain Failure Theory)

ทฤษฎีความเคนหลักสูงสุดเหมาะสําหรับใชออกแบบวัสดุที่มีคุณสมบัติ
คําตอบ 1 : เปราะ
คําตอบ 2 : เหนียว
คําตอบ 3 : ยืดหยุนมาก
คําตอบ 4 : ยืดหยุนนอย
35 of 150

ขอที่ : 85
หนวยของความเคนคือ
คําตอบ 1 : N-m
คําตอบ 2 : N-m-1
คําตอบ 3 : N-m-2

่ า ย
N-m-3

คําตอบ 4 :

จ ำ ห

ขอที่ : 86

า้
จากการทําลองเพื่อหาความสัมพันธของความเคนความเครียด จะสามารคํานวณหาคุณสมบัติทางกล ใดของชิ้นงานนั้นได

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : สัมประสิทธความยืดหยุน (Modulus of Elasticity)
คําตอบ 2 : ความสามารถในการตัดกลึง (Maclineability)
ความหยุน (Malleability)

ิท
คําตอบ 3 :


คําตอบ 4 : ความเหนียว (Toughness)

ขอที่ : 87

ง ว น

เพลากลมเสนผานศูนยกลาง d รับแรง F = 50 kN ที่ระยะ a = 150 mm และแรงบิด T = 100 N–m ถาวัสดุมีคุณสมบัติ σy = 351.65 N/mm2 และใชทฤษฎีความเคน

ขอ
เฉือนสูงสุด โดยกําหนดคาความปลอดภัย N = 2.5 ขนาด d เปนเทาใด

ว กร
าว ศ

ส ภ
คําตอบ 1 : 81.83 mm
คําตอบ 2 : 82.39 mm
คําตอบ 3 : 82.81 mm 36 of 150
คําตอบ 4 : 83.59 mm

ขอที่ : 88
เพลากลมเสนผานศูนยกลาง d รับแรง F = 50 kN ที่ระยะ a = 150 mm และแรงบิด T = 100 N–m ถาวัสดุมีคุณสมบัติ σy = 351.65 N/mm2 และใชทฤษฎีความเคน
เฉือนสูงสุด โดยกําหนดคาความปลอดภัย N = 2.5 ขนาด d เปนเทาใด

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท

คําตอบ 1 : 80.17 mm
คําตอบ 2 : 81.71 mm

ง ว

คําตอบ 3 : 82.23 mm


คําตอบ 4 : 83.13 mm

กร ข

ขอที่ : 89



เพลากลมเสนผานศูนยกลาง d รับแรง F= 50 kN ที่ระยะ a = 150 mm และแรงบิด T = 100 N-m ถาวัสดุมีคุณสมบัติ σy = 351.62 N/mm2 และใชทฤษฎีความเคน

าว
เฉือนออกตะฮีดรัลสูงสุด โดยกําหนดคาความปลอดภัย N=2.5 ขนาด d เปนเทาใด

ส ภ
คําตอบ 1 : 81.77 mm
คําตอบ 2 : 81.98 mm 37 of 150
คําตอบ 3 : 82.19 mm
คําตอบ 4 : 82.91 mm

ขอที่ : 90

่ า ย
ในระบบความเคนผสม ระนาบคาความเคนเฉือนสูงสุด จะทํามุมเทาใด กับระนาบของความเคน หลักเสมอ

หน

คําตอบ 1 : 15o
คําตอบ 2 : 45o

มจ
า้
คําตอบ 3 : 90o

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : 135o

ิท
ขอที่ :


91


ในระนาบความเคนผสมที่มีคาความเคนหลักเปน และ คาความเคนตั้งฉากบนระนาบที่มีความเคนเฉือนสูงสุดจะมีคาเทาใด

ง ว

คําตอบ 1 :

ขอ
กร
คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :


ิ ว
ภ าว

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 92
ในกรณีของชิ้นงานที่มีความเคนเฉือน τxy กระทําเพียงอยางเดียว คาความเคนหลักที่เกิดขึ้นในระบบความเคนผสมจะมีคาเทาใด

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 : 38 of 150

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

่ า ย

ขอที่ : 93


ในทฤษฎีความเคนเฉือนสูงสุดหรือ เกณฑของเทรสกา วัสดุจะเริ่มเกิดการเสียหายเมื่อใด (τmax - ความเคนเฉือนสูงสุด, σy - ความตานแรงดึงคราก)

จ ำ

คําตอบ 1 :

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 2 :

ิท
คําตอบ 3 :

นส

คําตอบ 4 :

ส ง
ขอที่ : 94

ขอ
กร
ชิ้นงานดังแสดงในรูปมีพื้นที่หนาตัดเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีแรงดึง P กระทําเยื้องจากจุดศูนยกลางของพื้นที่หนาตัดเปนระยะเทากับ e ความเคนที่เกิดขึ้นที่พื้นที่หนาตัดจะมี
รูปแบบเปน


ิ ว
ภ าว

39 of 150

คําตอบ 1 :

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 2 :
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 3 :
40 of 150

คําตอบ 4 :

่ า ย
หน
จ ำ

ขอที่ : 95

า้
เพลากลมตันมีขนาดเสนผานศูนยกลาง d=20 mm ดังแสดงในรูปทําจากเหล็กกลาซึ่งมีคาความตานแรงดึงคราก , σy = 210 Mpa รับภาระแรงดึงในแนวแกนเทากับ 10.5

ิธ์ ห
kN และภาระดัดเทากับ 2040 N.m จงหาคาความเคนสูงสุดที่เกิดขึ้นในเพลานี้

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

คําตอบ 1 : 1,987.357 N/mm2
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :

าว ศ

2,629.675 N/mm2
2,797.345 N/mm2

ขอที่ :

คําตอบ 4 :

96
ภ 2,857.643 N/mm2

กานเหล็กกลมดัดงอเปนรูปตัว L ดังแสดงในรูปทําจากเหล็กที่มีคาคุณสมบัติเฉพาะคือยังสโมดูลัส (Young Modulus) E, โมดูลัสเฉือน (Shear Modulus) G, พื้นที่หนาตัด


(Cross Sectional Area) A, โมเมนตความเฉื่อยของพื้นที่หนาตัด (Area Moment of Inertia) I, และโมเมนตความเฉื่อยเชิงขั้วของพื้นที่หนาตัด (Polar Moment of
Inertia) J ถามีแรงบิด T กระทําการโกงตัวของปลายดานอิสระมีคาเทากับ
41 of 150

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 :
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 2 :

ง ว น
อ ส

คําตอบ 3 :

ว กร
คําตอบ 4 :

าว ศ

ขอที่ : 97
ส ภ
กานเหล็กหลมดัดงอเปนรูปตัว L ดังแสดงในรูปทําจากเหล็กที่มีคาคุณสมบัติเฉพาะคือยังสโมดูลัส (Young Modulus) E, โมดูลัสเฉือน (Shear Modulus) G, พื้นที่หนาตัด
(Cross Sectional Area) A, โมเมนตความเฉื่อยของพื้นที่หนาตัด (Area Moment of Inertia) I, และโมเมนตความเฉื่อยเชิงขั้วของพื้นที่หนาตัด (Polar Moment of
Inertia) J ถามีแรง F กระทําการเคลื่อนตัวของปลายดานอิสระมีคาเทากับ
42 of 150

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 1 :

นส
คําตอบ 2 :

ง ว
อ ส
คําตอบ 3 :

กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 98
ส ภ
ชิ้นสวนเครื่องกลที่รับแรงเปลี่ยนแปลงควรมีผิวสําเร็จอยางไรจึงจะใชงานไดอยางเหมาะสมที่สุด
คําตอบ 1 : ผิวตัดกลึง
คําตอบ 2 : ผิวรีดเย็น
คําตอบ 3 : ผิวเจียระไน
คําตอบ 4 : ผิวขัดมัน
ขอที่ : 99 43 of 150
ความเคนที่บริเวณรูเจาะบนชิ้นงานจะมีคาสูงกวาบริเวณที่หางออกไปจากรูเจาะเพราะเหตุใด
คําตอบ 1 : บริเวณรูเจาะมีพื้นที่หนาตัดเล็กกวา
คําตอบ 2 : บริเวณรูเจาะมีพื้นที่หนาตัดขาดความตอเนื่อง
คําตอบ 3 : บริเวณรูเจาะมีความเคนเปลี่ยนแปลง


คําตอบ 4 : บริเวณรูเจาะมีความเคนหนาแนน

น่ า

ขอที่ : 100


ขีดจํากัดความลา (fatigue limit) หมายถึงความเคนที่หาไดจากการรับภาระในลักษณะใด
คําตอบ 1 : ความเคนกระทําซ้ํากันสองทิศทางตอชิ้นทดสอบผิวเจียระไน

มจ
า้
คําตอบ 2 : ความเคนกระทําซ้ํากันสองทิศทางตอชิ้นทดสอบผิวขัดมัน

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : ความเคนกระทําสลับกันสองทิศทางตอชิ้นทดสอบผิวเจียระไน
คําตอบ 4 : ความเคนกระทําสลับกันสองทิศทางตอชิ้นทดสอบผิวขัดมัน

ขอที่ : 101

ส ิท

ขีดจํากัดความทนทาน (endurance limit) ของเหล็กหลอและเหล็กกลาหลอ สําหรับการคงอยู 50% มีคาประมาณเทาไร
คําตอบ 1 : 40% ของคาความตานแรงดึงสูงสุด

ง ว

คําตอบ 2 : 45% ของคาความตานแรงดึงสูงสุด


คําตอบ 3 : 50% ของคาความตานแรงดึงสูงสุด

กร ข
คําตอบ 4 : 60% ของคาความตานแรงดึงสูงสุด

ขอที่ : 102


ิ ว
าว
ความเคนที่ทําใหชิ้นงานที่รับแรงกระทําซ้ําๆ หลายวัฏจักร เกิดการแตกหักจะมีคาเทาไร


คําตอบ 1 : มีคาเทากับความตานแรงคราก


คําตอบ 2 : มีคานอยกวาความตานแรงคราก
คําตอบ 3 : มีคามากกวาความตานแรงคราก
คําตอบ 4 : มีคานอยกวาความตานแรงดึง

ขอที่ : 103
การทดสอบวัสดุเพื่อหาคาขีดจํากัดความทนทาน ตามปรกตินิยมใชวิธีการทดสอบแบบใด
คําตอบ 1 : การดึง
คําตอบ 2 : การกด
คําตอบ 3 : การบิด
คําตอบ 4 : การดัด 44 of 150

ขอที่ : 104
ในทางปฏิบัติ ชิ้นงานที่รับแรงไดมากกวาเทาไรไซเกิล จึงจะถือวาเปนชิ้นงานที่มีอายุใชงานไมจํากัด
คําตอบ 1 : หาแสนครั้ง
หนึ่งลานครั้ง

่ า ย
คําตอบ 2 :


คําตอบ 3 : หนึ่งลานหาแสนครั้ง


คําตอบ 4 : สองแสนครั้ง

จ ำ

ขอที่ : 105

า้
ตัวประกอบที่ใชสําหรับแกไขคาขีดจํากัดความทนทาน เมื่อชิ้นงานมีขนาดเสนผานศูนยกลางโตกวา 50 mm มีคาเทาไร

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 0.65
คําตอบ 2 : 0.75

ิท
คําตอบ 3 : 0.85


คําตอบ 4 : 0.95

ขอที่ :

ง ว น

106
ขอใดไมใช fatigue-life methods ที่ใชในการออกแบบและวิเคราะหความเสียหายเนื่องจากความลา
คําตอบ 1 : Stress-life method

ขอ
กร
คําตอบ 2 : Strain-life method


คําตอบ 3 : Endurance Limit method



คําตอบ 4 : Linear-elastic fracture mechanics method

ขอที่ : 107

ภ าว

จากรูป จงคํานวณหาคาความเคนเฉือนที่เกิดขึ้นกับสลัก ซึ่งมีขนาดเสนผานศูนยกลาง 25 mm. จะมีคาเทากับเทาใด
45 of 150

คําตอบ 1 : 5.38 MN/m2

่ า ย
คําตอบ 2 : 6.11 MN/m2

หน

คําตอบ 3 : 7.34 MN/m2
คําตอบ 4 : 8.26 MN/m2

มจ
า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 108
ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับความลาของโลหะ

ิท
คําตอบ 1 : ความเสียหายเนื่องจากความลาจะเริ่มตนที่บริเวณรองลิ่ม


คําตอบ 2 : ผิวหนาสําเร็จที่เรียบจะมีความตานทานความลานอยกวาผิวหนาสําเร็จที่หยาบ

ว น
คําตอบ 3 : การทําผิวหนาเหล็กกลาใหแข็งจะทําใหอายุความลาของผิวหนาลดลง


คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

อ ส

ขอที่ : 109

กร
ไดอะแกรมตามรูปเปนของเครื่องทดสอบอะไร


ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : Rotating beam fatigue test
คําตอบ 2 : Bearing life test
คําตอบ 3 : Cyclic Load test
คําตอบ 4 : Balance load test
ขอที่ : 110 46 of 150
ภาระ (Load) ในชื่อตางๆที่เราคุนเคยเชน Monotonic load, Static load, หรือ Steady load ซึ่งมีวัตถุประสงคอะไรทําไม นักออกแบบเครื่องจักรกลจึงมักคํานึงถึง

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 1 : Strength


คําตอบ 2 : Failure


คําตอบ 3 : Safty factor
คําตอบ 4 : Life cycle

ง ว
อ ส

ขอที่ : 111

กร
ภาระ (Load) ในชื่อตางๆที่เราคุนเคยเชน Dynamic load, Cyclic load, หรือ Unsteady load ซึ่งมีวัตถุประสงคอะไรทําไม นักออกแบบเครื่องจักรกลจึงมักคํานึงถึง


ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : Strength
คําตอบ 2 : Failure 47 of 150
คําตอบ 3 : Safty factor
คําตอบ 4 : Life cycle

ขอที่ : 112

่ า ย
จงบอกชื่อกราฟในรูปนี้

หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
คําตอบ 1 : S-N Curve

กร ข

คําตอบ 2 : Stress life cycle



คําตอบ 3 : Fatigue life

าว
คําตอบ 4 : Finite life

ขอที่ : 113

ส ภ

ระดับความเคนของวัสดุที่ทนไดจนถึง N-cycle นักออกแบบนิยมเรียกชื่อความแข็งแรงนี้วาอะไร


48 of 150

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : Fatigue Strength
คําตอบ 2 : Ultimate strength
คําตอบ 3 : Endurance strength

ส ิท

คําตอบ 4 : Working strength

ง ว

ขอที่ : 114


การเชื่อมตอวัสดุเขาดวยกัน (Connections) วิศวกรออกแบบมักคํานึงถึงภาระ (Load) อะไรบาง

กร ข
คําตอบ 1 : Tension, Shear load
คําตอบ 2 : Torsion load


คําตอบ 3 : Bending load
คําตอบ 4 :

าว ศ

Compressive load

ขอที่ : 115

ส ภ

ใหเลือกสูตรในการคํานวณ Bearing Stress ของแผนที่ตอกันและยึดดวยตัวยึด (Fastener) ดังรูป


49 of 150

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :

ิท
คําตอบ 2 :

นส
คําตอบ 3 :

ง ว
อ ส
คําตอบ 4 :

กร ข

ิ ว
าว
ขอที่ : 116

ส ภ
แผนเหล็กกลาดังแสดงในรูปมีรูเจาะที่ A และรอยบากที่ B ซึ่งจะเกิดความเคนหนาแนนที่บริเวณดังกลาว โดยจะมีคาตัวประกอบความเคนหนาแนนเนื่องจากแรงดึงที่ A และ
B คือ ktA = 2.2 และ ktB= 2.1 ถากําหนดใหแผนเหล็กกลาดังกลาวทํามาจากเหล็กกลาที่มีความตานแรงดึงคราก, σy = 350 MPa และแผนเหล็กกลานี้มีความหนา 30
mm จงหาวาแผนเหล็กกลานี้จะรับแรงสถิต F สูงสุดไดเทากับเทาใด
50 of 150

่ า ย
หน

คําตอบ 1 : 126,606.57 N


คําตอบ 2 : 238,636.36 N

า้ ม
คําตอบ 3 : 333,636.57 N

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : 538,785.48 N

ขอที่ : 117

ิท
แผนเหล็กกลาดังแสดงในรูปมีรูเจาะที่ A, รอยบากที่ B และลดขนาดที่ C ซึ่งจะเกิดความเคนหนาแนนที่บริเวณดังกลาว โดยจะมีคาตัวประกอบความเคนหนาแนนเนื่องจาก


แรงดึงที่บริเวณทั้ง 3 ที่ดังนี้คือ ktA = 2.2, ktB = 2.1 และ ktC = 1.8 ถาเพิ่มแรงสถิต , F ไปเรื่อย ๆ จงพิจารณาวาแผนเหล็กกลานี้จะขาดที่ไหนกอน

ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
A
B
คําตอบ 3 : C
คําตอบ 4 : A, B และ C

ขอที่ : 118
ขอความใดไมถูกตอง
ความเสียหายเนื่องจากความลา (Fatigue Failure) ของชิ้นงานเกิดจากชิ้นงานถูกแรง กระทําซ้ํา (Repeated Load) หรือเปลี่ยนแปลงไปตามเวลา
51 of 150
คําตอบ 1 :
(Fluctuating Load) ซึ่งทําให ความเคนที่เกิดขึ้นซ้ํา ๆ เปนจํานวนมากครั้งหรือหลายวัฏจักร (Cycle)
คําตอบ 2 : ความเคนหนาแนน (Stress Concentration) ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงพื้นที่หนาตัดของ ชิ้นงานไมมีผลตอการเสียหายเนื่องจากความลา
ขีดจํากัดความทนทน (Endurance Limit) หรือขีดจํากัดความลา (Fatigue Limit) หมายถึงคาความเคนสูงสุดที่กระทําซ้ํากันสองทิศทาง (Reversed Stress)
คําตอบ 3 :
ตอชิ้น ทดสอบผิวขัดมัน (Polished) ขนาดเสนผานศูนยกลางประมาณ 8 mm ที่จํานวนวัฎจักร นับไมถวนโดยที่ชิ้นทดสอบไมแตกหัก


คําตอบ 4 : การออกแบบชิ้นงานเพื่อปองกันการเสียหายเนื่องจากความลาสามารถดําเนินการได โดยใชเกณฑของโซเดอรเบอรก (Soderberg’s Criterion)

น่ า

ขอที่ : 119


ในการออกแบบสําหรับการแตกหักเนื่องจากความลา ผิวของชิ้นงานแบบใดจะทําใหชิ้นงานรับการ แตกหักไดดีที่สุด


คําตอบ 1 : ผิวเจียรนัย
คําตอบ 2 : ผิวขัดมัน

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 3 : ผิวตัดกลึงหรือรีดเย็น
คําตอบ 4 : ผิวรีดรอน

ขอที่ : 120

ส ิท

ในการออกแบบสําหรับการแตกหักเนื่องจากความลา ตัวประกอบการคํานวณใดที่มีคาเทากับ หรือ มากกวา 1

ง ว
คําตอบ 1 : ตัวประกอบผิว


คําตอบ 2 : ตัวประกอบของขนาด


คําตอบ 3 : ตัวประกอบของแรง

กร ข
คําตอบ 4 : ตัวประกอบความเคนหนาแนน


ขอที่ :



121

าว
ในการทดสอบเพื่อหาคาขีดจํากัดความลาของวัสดุ ชนิดของภาระที่ใชเปนหลักในการทดสอบคือ อะไร
คําตอบ 1 : การดึง


คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ภ การดัด
การบิด
การเฉือน

ขอที่ : 122
ชื่อตอไปนี้ชื่อใดที่ไมเกี่ยวกับเกณฑการออกแบบการแตกหักเนื่องจากความลา
คําตอบ 1 : Saderberg
คําตอบ 2 : Goodman
คําตอบ 3 : Gerber
คําตอบ 4 : Mohr 52 of 150

ขอที่ : 123
ถาชิ้นงานถูกกระทําดวยความเคนแบบไชนซอยคัลท มีความเคนสวนเปลี่ยน 20 MPa และมีความเคนเฉลี่ย 100 MPa ถาวัสดุมีคา σy = 280 MPa และ σx = 200 MPa
โดยการใชเกณฑของโซเดอรเมอรกคาความปลอดภัยจะเปนเทาใด
คําตอบ 1 : 1.70

่ า ย

คําตอบ 2 : 1.90


คําตอบ 3 : 2.0
คําตอบ 4 : 2.2

จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 124
ในการออกแบบชิ้นงานโดยเกณฑการแตกหักเนื่องจากความลา ถาชิ้นงานตองการรับความเคน เปลี่ยนแปลงจากคาสูงสุด 120 MPa และต่ําสุด 80 MPa คาความเคนสวน
เปลี่ยน และ คาความเคน เฉลี่ย มีคาเทาใด ตามลําดับ

ิท
คําตอบ 1 : 10 , 50 MPa


คําตอบ 2 : 20 , 100 MPa

ว น
คําตอบ 3 : 40 , 200 MPa


คําตอบ 4 : 200 , 40 MPa

อ ส

ขอที่ : 125

กร
ขอความใดไมถูกตอง


ความเสียหายเนื่องจากความลา (Fatigue Failure) ของชิ้นงานเกิดจากชิ้นงานถูกแรง กระทําซ้ํา (Repeated Load) หรือเปลี่ยนแปลงไปตามเวลา
คําตอบ 1 :



(Fluctuating Load) ซึ่งทําให ความเคนที่เกิดขึ้นซ้ํา ๆ เปนจํานวนมากครั้งหรือหลายวัฏจักร (Cycle)

าว
ความเคนหนาแนน (Stress Concentration) ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงพื้นที่หนาตัดของ ชิ้นงานมีผลตอการเสียหายเนื่องจากความลา ซึ่งมักจะเกิดการเสีย
คําตอบ 2 :
หายขึ้นกอนที่บริเวณ นี้


คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :
ภ ขีดจํากัดความทนทน (Endurance Limit) หรือขีดจํากัดความลา (Fatigue Limit) หมายถึงคาความเคนสูงสุดที่กระทําซ้ํากันสองทิศทาง (Reversed Stress)
ตอชิ้น ทดสอบผิวขัดมัน (Polished) ขนาดเสนผานศูนยกลางประมาณ 8 mm ที่จํานวนวัฎจักร นับไมถวนโดยที่ชิ้นทดสอบไมแตกหัก
การออกแบบชิ้นงานเพื่อปองกันการเสียหายเนื่องจากความลาสามารถดําเนินการได โดยการออกแบบใหคาของความเคนที่เกิดขึ้นในชิ้นงานมีคานอยกวาคา
ความตานแรง ดึงครากของชิ้นงาน

ขอที่ : 126

แผนเหล็กกลาเจาะรูดังแสดงในรูปทํามาจากเหล็กกลาซึ่งมีคาความตานแรงดึงคราก , σy = 210 MPa และคาความตานแรงดึงสูงสุด, σy = 380 MPa ถูกกระทําดวยแรงซึ่ง


เปลี่ยนแปลงจาก 0 ถึง 20 kN ถาผิดหนาของแผนเหล็กกลานี้เปนแบบผิวเจียระไน จงหาความหนาของแผนเหล็กกลาโดยกําหนดใหใชคาความปลอดภัย, N=2
53 of 150

่ า ย
หน

คําตอบ 1 : 11 mm


คําตอบ 2 : 14.21 mm

า้ ม
คําตอบ 3 : 12.56 mm

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : 9.56 mm

ขอที่ :

ิท
127


แผนเหล็กกลาดังแสดงในรูปมีรูเจาะที่ A และรอยบากที่ B ซึ่งจะเกิดความเคนหนาแนนที่บริเวณดังกลาว โดยจะมีคาประกอบความเคนหนาแนนเนื่องจากแรงดึงที่ A และ B


คือ ktA=2.2 และ ktB=2.1 ถากําหนดใหแผนเหล็กกลาดังกลาวทํามาจากเหล็กกลาซึ่งมีคาความตานแรงดึงคราก, σy = 210 MPa และคาความตานแรงดึงสูงสุด, σy =


380 MPa ถูกกระทําดวยแรง F ซึ่งเปลี่ยนแปลงจาก 0 ถึง 20 kN ถาผิวหนาของแผนเหล็กกลานี้เปนแบบผิวเจียระไน จงหาความหนาของแผนเหล็กกลาโดยกําหนดใหใช


คาความปลอดภัย, N = 2

อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 10.87 mm
คําตอบ 2 : 11.21 mm
คําตอบ 3 : 11.78 mm
คําตอบ 4 : 11.94 mm
ขอที่ : 128
รอยตอเกยสองแถวยึดดวยหมุดย้ําขนาด 20 mm จํานวน 3 ตัว แผนโลหะหนา 10 mm กวาง 160 mm ถาความเคนอัดที่ใชออกแบบมีคา 120 MPa แรงอั
54 ดofหมุ
150ดย้ํากับโลหะ
มีคาสูงสุดเทาไร
คําตอบ 1 : 72.0 kN
คําตอบ 2 : 92.5 kN
คําตอบ 3 : 113.1 kN


คําตอบ 4 : 226.2 kN

น่ า

ขอที่ : 129


รอยตอเกยสองแถวยึดดวยหมุดย้ําขนาด 20 mm จํานวน 3 ตัว แผนโลหะหนา 10 mm กวาง 160 mm ถาความเคนดึงที่ใชออกแบบมีคา 60 MPa แรงดึงที่ทําใหแผนโลหะ


ขาดมีคาเทาไร
58.3 kN

า้ ม
คําตอบ 1 :

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : 72.0 kN
คําตอบ 3 : 85.7 kN
คําตอบ 4 : 92.5 kN

ส ิท

ขอที่ : 130


รอยตอดวยหมุดย้ําที่ตองการกันความดันรั่วควรออกแบบรอยตออยางไร
คําตอบ 1 :


ออกแบบโดยใชรอยตอเกยแทนรอยตอชน


คําตอบ 2 : ออกแบบโดยใชรอยตอชนแทนรอยตอเกย

กร ข
คําตอบ 3 : ออกแบบโดยใชปะเก็นกันรั่วที่รอยตอ
คําตอบ 4 : ออกแบบโดยใชหมุดย้ําหลายแถว


ิ ว
าว
ขอที่ : 131
การออกแบบรอยตอชิ้นงานดวยหมุดย้ําควรเปนรอยตอลักษณะใด

ส ภ รอยตอที่ไมสามารถยึดใหติดกันโดยใชสลักเกลียว
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 : รอยตอที่ไมสามารถยึดใหติดกันโดยใชการเชื่อม
คําตอบ 3 : รอยตอที่สามารถยึดใหติดกันและถอดไดเพื่อการเคลื่อนยาย
คําตอบ 4 : รอยตอที่อาจจะตองถอดไดในบางครั้ง

ขอที่ : 132
ลวดเชื่อมไฟฟา E60XX หมายความวา
คําตอบ 1 : เปนลวดเชื่อมไฟฟามี Tensile strengths อยางนอย 60 ksi โดยตัวเลข 2 ตัวสุดทายแสดง รายละเอียดกระบวนการเชื่อม
คําตอบ 2 : เปนลวดเชื่อมไฟฟามี Tensile strengths ไมเกิน 60 ksi โดยตัวเลข 2 ตัวสุดทายแสดง รายละเอียดกระบวนการเชื่อม
คําตอบ 3 : เปนลวดเชื่อมไฟฟามี Yield strengths อยางนอย 60 ksi โดยตัวเลข 2 ตัวสุดทายแสดง รายละเอียดกระบวนการเชื่อม 55 of 150
คําตอบ 4 : เปนลวดเชื่อมไฟฟามี Yield strengths ไมเกิน 60 ksi โดยตัวเลข 2 ตัวสุดทายแสดง รายละเอียดกระบวนการเชื่อม

ขอที่ : 133
แผนเหล็กมี Yield strengths เทากับ 425 MPa หนา 17 mm. จํานวน 2 แผน ถูกเชื่อมตอเขาดวย กันแบบตอชน (Butt-welded) และมีรอยเชื่อมยาว 90 mm. โดยใชลวด


เชื่อม E70 series จงหา แรงดึงสูงสุดที่กระทํากับรอยเชื่อม กําหนดให Safety factor เทากับ 3 , 1 ksi = 6.89 MPa และ คา Yield strengths นอยกวา Tensile

่ า
strengths 12 ksi สําหรับลวดเชื่อม
คําตอบ 1 : 204 kN

หน

คําตอบ 2 : 246 kN


คําตอบ 3 : 611 kN
คําตอบ 4 : 738 kN

า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 134
แผนเหล็กมี Yield strengths เทากับ 52.5 ksi หนา 0.50 in จํานวน 2 แผน ถูกเชื่อมตอเขาดวย กันแบบตอชน (Butt-welded) โดยใชลวดเชื่อม E60 series จงหาแรงดึง

ิท
ที่กระทํากับแผน เหล็กตอนิ้วของความกวางรอยเชื่อม กําหนดให Safety factor เทากับ 3 และคา Yield strengths นอยกวา Tensile strengths 12 ksi สําหรับลวดเชื่อม
คําตอบ 1 : 8,000 lb

นส

คําตอบ 2 : 24,000 lb
คําตอบ 3 : 8,750 lb

ส ง

คําตอบ 4 : 26,250 lb

ขอที่ : 135

กร ข

จงหา Weld throat area ที่ดานAB และ CD ของรอยเชื่อมแบบ Convex fillet weld โดย มี Leg length เทากับ 5 mm. ให t = 0.707h

าว ศ

ส ภ

คําตอบ 1 : 177 mm2


คําตอบ 2 : 354 mm2
คําตอบ 3 : 625 mm2 56 of 150

คําตอบ 4 : 1250 mm2

ขอที่ : 136


จงหา Leg length ถารอยเชื่อมดาน AD และ BC ยาวดานละ 100 mm. กําหนดให 1 ksi = 6.89 MPa, t = 0.707h, Ssy = 0.58 Sy, และคา Yield strengths นอยกวา

่ า
Tensile strengths 12 ksi สําหรับลวดเชื่อม

หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 : 9 mm

ง ว น

คําตอบ 2 : 16 mm


คําตอบ 3 : 32 mm


คําตอบ 4 : 56 mm

ขอที่ :

ว กร


137

ภ าว

จงคํานวณหาขนาดเสนผานศูนยกลางของหมุดย้ํา ถา F = 26,700
57 of 150

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 8 mm

ิท
คําตอบ 2 : 10 mm


คําตอบ 3 : 11 mm


คําตอบ 4 : 14 mm

ง ว

ขอที่ : 138


งานตอยึดดวย Rivet ดังรูปเปนแบบตอเกย (Lap connection) วิศวกรทําการวิเคราะหความแข็งแรงดวยแรงชนิดใด

กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : Shear load
คําตอบ 2 : Tension load
คําตอบ 3 : Bending load
คําตอบ 4 : Compression load
ขอที่ : 139 58 of 150
เนื่องจากระยะ Offset มีระยะเพียงเล็กนอยทําใหคาโมเมนตดัดมีไมมากในการออกแบบมักนิยมใชอะไรมา พิจารณาอยางเหมาะสม

่ า ย
คําตอบ 1 : Factor of Safety

หน

คําตอบ 2 : K factor


คําตอบ 3 : Tension load factor
คําตอบ 4 : Load factor

า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 140

ิท
ในการพิจารณาคาเฉลี่ยความเคนเฉือนจากรูปนี้ จงเลือกสมการที่เหมาะสม

นส
ง ว
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :
59 of 150

คําตอบ 3 :

่ า ย
หน
จ ำ

คําตอบ 4 :

า้
ิธ์ ห
ิท
ขอที่ : 141


สําหรับมาตรฐานในการปฏิบัติมักสมมุติให Rivet ทั้งหมดรวมกันรับภาระที่มากระทํา จงเลือกสมการที่เหมาะสม

ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :
60 of 150


คําตอบ 3 :

น่ า
คําตอบ 4 :

จ ำ ห
า้ ม
ขอที่ : 142
ิธ์ ห
ิท
เมื่อวิศวกรยอมปลอยใหแรงบางอยางเกิดขึ้นกับตัวยึดเชน Screw, Rivet มากเกินไปอาจทําใหแรง Preload ลดลง กอนเวลา แรงนั้นคืออะไร

นส
คําตอบ 1 : Vibration


คําตอบ 2 : Impact


คําตอบ 3 : Tensile
คําตอบ 4 : Shear

อ ส
ขอที่ : 143

กร ข

แนวฉีก (Shear tear out) ที่เกิดขึ้นดังในรูปนี้ ทานเปนวิศวกรนักออกแบบสามารถควบคุมไมใหเกิดไดโดยกําหนดระยะหางจากขอบที่เหมาะสม(a) โดยใหทานเลือกกําหนดความสัมพันธกับ



ความโตของ Rivet

ภ าว

คําตอบ 1 : 5t
คําตอบ 2 : 5d 61 of 150
คําตอบ 3 : >=d
คําตอบ 4 : d

ขอที่ : 144


การเชื่อม (Welding) เปนกรรมวิธีที่เกิดจาการประยุกตการหลอมละลายวัสดุมาใชกับการเชื่อมตอวัสดุเขาดวยกันโดยใชความรอนบริเวณที่จะตอเขาดวยกันจนถึงจุดหลอมละลายโดยอาจจะเติม

่ า
วัสดุชนิดเดียวกันลงไปในน้ําโลหะวัสดุหลัก(Parent material) ซึ่งการเชื่อมตองการการควบคุมสิ่งใดจึงจะทําใหการเชื่อมตอสมบูรณ


คําตอบ 1 : อัตราการเติมน้ําโลหะ

ำ ห
คําตอบ 2 : การควบคุมอุณหภูมิ


คําตอบ 3 : การควบคุม Amp


คําตอบ 4 : การควบคุม Volt

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 145
งานเชื่อมแบบ Arc Welding เปนที่นิยมใชในอุตสาหกรรมเชื่อมโลหะทั่วๆไปมีหลักการคือปลอยใหกระแสไฟฟาไหลผานชองอากาศ (Air gab) โดยตลอด ซึ่งเปนชวงที่มีความตานทานสูงจึง

ิท
ทําใหเกิดการอารคแบบเขมขน อุณหภูมิบริเวณอารคจะประมาณเทาใด

นส
ง ว
อ ส
กร ข

ิ ว
คําตอบ 1 :

ภ าว
1200 ~ 1600


คําตอบ 2 : 1600 ~ 2500
คําตอบ 3 : 3000 ~ 5500
คําตอบ 4 : 5500 ~ 6500

ขอที่ : 146

งานเชื่อมแบบ MIG (Metal Inert Gas) เปนที่นิยมใชกับงานผลิตเปนจํานวนมากเชนงานอุตสาหกรรม เพราะหัวเชื่อมสามารถปลอยลวดเชื่อมเพื่อเติมน้ําโลหะไดอยางตอ


เนื่องแตการเชื่อม MIG ตองใชแกสเฉื่อยไดแก ARGON และ CO2 ผสมกันดวยสัดสวนเทาใดมาใชคลุมบริเวณหลอมละลายแนวเชื่อม
62 of 150

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 25% Argon : 75% CO2

ิท
คําตอบ 2 : 50% Argon : 50% CO2


คําตอบ 3 : 75% Argon : 25% CO2
คําตอบ 4 :

ว น
80% Argon : 20% CO2

ส ง

ขอที่ : 147

กร ข

ิ ว
ภ าว

การเชื่อแบบ TIG (Tungsten Inert Gas) นิยมใชกับงานที่มีลักษณะบางเบา และเชื่อมตอวัสดุไมเหมือนกันเปนกรรมวิธีที่ใหความแข็งแรงสะอาดใหความแนนอนและควบคุมไดดีขอใดไมใช
กาซเฉื่อยที่ใชในการเชื่อมแบบ TIG เพื่อคลุมแนวเชื่อม
63 of 150

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 1 : CO2


คําตอบ 2 : Argon


คําตอบ 3 :


Helium


คําตอบ 4 : Hydrogen

ขอที่ :

อ ส

148

กร
Soldering และ Brazing เปนกรรมวิธรยึดตอโลหะ 2 ชนิดเขาดวยกัน ไมนิยมเรียกกรรมวิธีเชื่อม (Welding process) เพราะเหตุใด
คําตอบ 1 : ไมทําใหวัสดุหลัก ( Parent material ) หลอมละลาย


คําตอบ 2 :



ใหความแขงแรงแนวเชื่อมสูงมาก

าว
คําตอบ 3 : ใชความรอนสูงมาก
คําตอบ 4 : ใชวัสดุที่แข็งมาเติมแนวเชื่อม

ขอที่ : 149
ส ภ

มาตรฐานที่ใชในการกําหนดเพื่อออกแบบเชน AWS ดังรูปวิศกรตองการออกแบบงานเชื่อมควรเลือกพิจารณาจุดใดเปนหลัก


64 of 150

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 : Yield strength ควรมีคานอยกวา 70 ksi จะใหความแข็งแรงดี

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : Electrode ไมจําเปนตองคุมความชื้น
คําตอบ 3 : ใชทาเชื่อมใดๆก็ไดในการเชื่อม
คําตอบ 4 : ใชกรรมวิธีเชื่อมใดๆ ก็ได

ส ิท

ขอที่ : 150


ความเคนตกคาง (Residual stress)ในเนื้องานเชื่อม สามารถเกิดไดจากหลายสาเหตุเชนระหวางกําลังเชื่อมใหความรอนและความเย็นไมสม่ําเสมอ การเชื่อมไมตอเนื่อง เนื้อวัสดุมีสวนผสมของ


carbon ไมแนนอน เปนตน ความเคนตกคางนี้ทําใหอายุงานทนความลาตัวไดสั้นลงและมีสวนทําใหชิ้นสวนเสียหายไดงาย วิศวกรสามารถเอาความเคนตกคางออกจากแนวเชื่อมไดอยางไร


คําตอบ 1 : Annealing


คําตอบ 2 :


Aging

กร
คําตอบ 3 : Tempering
คําตอบ 4 : Heat treatment


ิ ว
าว
ขอที่ : 151

ส ภ

ใชเกณฑอะไรมาใชในการออกแบบงานเชื่อม
65 of 150

่ า ย
หน

คําตอบ 1 : ความเคนออกแบบควรเทากับหรือมากกวาความเคนใชงาน

มจ
า้
คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 : ความเคนที่เกิดขึ้นในแนวเชื่อมไมสัมพันธกับคา Factor of safety

ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 4 : งานเชื่อมแบบ Butt weld ควรใชคา Factor of safety มากกวาแนวเชื่อมแบบอื่น

นส

ขอที่ : 152


แรงเฉือนในแนวเชื่อมแบบตอเกย (Fillet) วิศวกรพิจารณาคาพื้นที่ (A) ดังในรูปมาใชคํานวณความเคนเฉือนไดอยางไร

อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
66 of 150

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

่ า ย
ขอที่ : 153

หน

วิศกรทํางานการออกแบบงานเชื่อมตองการพิจารณาชิ้นงานในรูปทนตอแรงดึง (Shear load) ไดเทาไร

มจ
า้
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 : Design Stress ใหพิจารราเทากับ Working Stress


คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :
ขอที่ : 154 67 of 150
แรงดัด (Bending) ที่เกิดขึ้นจากการตอวัสดุแบบเกย (Lap connection) ทําใหเกิดโมเมนตดัด (Bending Moment) ตามแนวที่ตอเกยจะมีคาประมาณเทาใด

่ า ย
หน

คําตอบ 1 : M = F.t/2


คําตอบ 2 : M = F.r


คําตอบ 3 : M = t.r

า้
คําตอบ 4 : M = F.t

ขอที่ : 155
ิธ์ ห
ส ิท

จากสมการนี้ ในสวนของ Rivet จะขาดจากกันดวยแรงเฉือนตามแนว Shear plan จงบอกความสัมพันธสมการนี้

ง ว
อ ส
กร ข

คําตอบ 1 : พื้นที่หนาตัดของ Rivet นําไปในการคํานวณ Shear stress



คําตอบ 2 : เมื่อพิจารณา Contact area ดังนั้นจึงควรนําพื้นที่หนาตัดเฉลี่ยมาใชคํานวณหา Average shear stress

าว
คําตอบ 3 : แนว Shear plan เปนแนวที่แรง F กระทําผานควรคํานึงถึงระยะ Offset ประกอบการคํานวณ
คําตอบ 4 : เนื่องจากไมสามารถใชคาที่แนนอนของพื้นที่หนาตัดของ Rivet และแรงเฉือนไดแทจริงจึงใชคาเฉลี่ยความเคนเฉือน Average shear stress

ขอที่ : 156
ส ภ
แรงสิตย F มีขนาดเทากับ 24 kN กระทํากับแบรกเก็ต (Bracket) ที่ตอยึดติดกับเสาเหล็กดวยหมุดย้ําจํานวน 3 ตัว ดังแสดงในรูปกําหนดใหหมุดย้ําทําจากเหล็กกลาซึ่งมี

คา และใหใชคาความปลอดภัย N = 3 ถาหากแรงสถิต F เพิ่มขึ้นไปเรื่อยๆ จงหาวาหมุดย้ําตัวไหนจะขาดกอน


68 of 150

่ า ย
หน

คําตอบ 1 : A


คําตอบ 2 : B


คําตอบ 3 :

า้
C
คําตอบ 4 : A และ B

ขอที่ : 157
ิธ์ ห
ิท
เหล็กกลาแผนรูปสี่เหลี่ยมผืนผาตอยึดติดกับเหล็กกลารูปตัว C ดวยหมุดย้ําขนาดเสนผานศูนยกลางเทากับ 21 mm. จํานวน 4 ตัว ดังแสดงในรูป โดยมีระยะ AB = CD =


120 mm และมี ระยะ BC = DA = 150 mm รับแรงสถิต F = 16 kN หมุดย้ําซึ่งทําจากเหล็กกลาซึ่งมีคาความดานแรงดึงคราก σy 3172 N/mm2 และใชคาความ

ว น
ปลอดภัย , N = 3 ถาหากแรงสถิต F เพิ่มขึ้นไปเรื่อยๆ จงหาวาหมุดย้ําตัวไหนจะขาดกอน


อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

A และ B
คําตอบ 1 :
B และ C 69 of 150

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 : C และ D
คําตอบ 4 : A และ D

่ า ย
หน

ขอที่ : 158


การยึดชิ้นงานดสวยการตอเกยดวยหมุดย้ําแบบหนึ่งแถวดังแสดงในรูป ใชหมุดย้ําขนาดเสนผานศูนยกลางเทากับ 20 mm จํานวน 3 ตัว แผนชิ้นงาน, t = 25 mm มีความ


กวาง w = 130 mm ถากําหนดใหคาความเคนออกแบบเปนดังนี้ ความเคนดึง (Tensile Stress) σtd = 140 N/mm2 ความเคนกดและความเคนอัด (Compressive and

า้
Bearing Syresses) σcd = 110 N/mm2 และ ความเคนเฉือน (Shear Stress) τd = 60 N/mm2 จงหาแรงเฉือนรวมที่ทําใหหมุดย้ําทุกตัวขาด

ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข
คําตอบ 1 : 40 kN


ิ ว
าว
คําตอบ 2 : 42 kN
คําตอบ 3 : 45 kN

ขอที่ : ส
คําตอบ 4 :

159
ภ 56.5 kN

การยึดชิ้นงานดวยการตอเกยดวยหมุดย้ําแบบหนึ่งแถวดังแสดงในรูป ใชหมุดย้ําขนาดเสนผานศูนยกลางเทากับ 20 mm จํานวน 3 ตัว แผนชิ้นงานหนา, t=25 mm มีความ


กวาง w = 130 mm ถากําหนดใหคาความเคนออกแบบเปนดังนี้ ความเคนดึง (Tensile Stress) σtd = 140 N/mm2 ความเคนกดและความเคนอัด (Compressive and
Bearing Stresses) σcd = 110 N/mm2 และ ความเคนเฉือน (Shear Stress) τd = 60 N/mm2 จงหาแรงอัดรวม (Bearing Force) ระหวางหมุดย้ําอัดกับแผนชิ้นงานทุก
ตัว
70 of 150

่ า ย
หน

คําตอบ 1 : 140 kN


คําตอบ 2 : 145 kN

า้ ม
คําตอบ 3 : 165 kN

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : 200 kN

ขอที่ : 160

ิท
รอยตอเกยประกอบดวยหมุดย้ําขนาด 25 mm 3 ตัว แผนโลหะหนา t=12.5 mm กวาง b=175 mm คาความเคนออกแบบ คือ ความเคนดึง σtd = 70 N/mm2 , ความเคน



กด σcd = 140 N/mm2, ความเคนเฉือน τd = 60 N/mm2 ถาแรงต่ําที่สุดที่ทําใหสียหายคือ 88,357 N ประสิทธิภาพของรอยตอเปนเทาใด

ง ว
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
48.15%
57.70%
คําตอบ 3 : 60.08%
คําตอบ 4 : 70.28%

ขอที่ : 161
รอยตอเกยประกอบดวยหมุดย้ําขนาด 25 mm 3 ตัว แผนโลหะหนา t = 12.5 mm กวาง b = 175 mm คาความเคนออกแบบ คือ ความเคนดึง σtd = 70 N/mm2 , ความ
เคนกด σcd = 140 N/mm2 , ความเคนเฉือน τd = 60 N/mm2 แรงอัดหมุดย้ําแถวนอก 2 ตัว และแรงเฉือนหมุดย้ําแถวใน 1 ตัวเปนเทาใด 71 of 150

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 126,512 N
คําตอบ 2 : 116,952 N
คําตอบ 3 : 133,878 N
คําตอบ 4 : 141,752 N

ส ิท
ขอที่ : 162

ง ว น

รอยตอเกยประกอบดวยหมุดย้ําขนาด 25 mm 3 ตัว แผนโลหะหนา t = 12.5 mm กวาง b = 175 mm คาความเคนออกแบบ คือ ความเคนดึง σtd = 70 N/mm2 , ความ

ขอ
เคนกด σcd = 140 N/mm2 , ความเคนเฉือน τd = 60 N/mm2 แรงเฉือนหมุดย้ําขาดทุกตัวเทากับเทาใด

ว กร
าว ศ

ส ภ

คําตอบ 1 : 77,358 N
คําตอบ 2 : 88,357 N
คําตอบ 3 : 89,513 N 72 of 150
คําตอบ 4 : 98,315 N

ขอที่ : 163
รอยตอเกยประกอบดวยหมุดย้ําขนาด 25 mm 3 ตัว แผนโลหะหนา t = 12.5 mm กวาง b = 175 mm คาความเคนออกแบบ คือ ความเคนดึง σtd = 70 N/mm2 , ความ

่ า ย
เคนกด σcd = 140 N/mm2 , ความเคนเฉือน τd = 60 N/mm2 แรงเฉือนหมุดย้ําแถวนอก 2 ตัว และ แรงอัดหมุดย้ําแถวใน 1 ตัว เปนเทาใด

หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
คําตอบ 1 : 102,654 N

อ ส
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
120,546
103,748
N
N

กร ข
คําตอบ 4 : 130,487



N

ขอที่ : 164

ภ าว

รอยตอเกยประกอบดวยหมุดย้ําขนาด 25 mm 3 ตัว แผนโลหะหนา t = 12.5 mm กวาง b = 175 mm คาความเคนออกแบบ คือ ความเคนดึง σtd = 70 N/mm2 , ความ
เคนกด σcd = 140 N/mm2 , ความเคนเฉือน τd = 60 N/mm2 แรงดึงแผนโลหะแผนลางขาดตรงหมุดย้ําแถวนอกเปนเทาใด
73 of 150

่ า ย
หน
จ ำ
190,575 N

า้ ม
คําตอบ 1 :

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : 109,375 N
คําตอบ 3 : 180,175 N
คําตอบ 4 : 170,735 N

ส ิท

ขอที่ : 165

ง ว
รอยตอเกยประกอบดวยหมุดย้ําขนาด 25 mm 3 ตัว โลหะหนา t = 12.5 mm กวาง b = 175 mm คาความเคนออกแบบ คือ ความเคนดึง σtd = 70 N/mm2 ,ความเคนกด


σcd = 140 N/mm2 ความเคนเฉือน τd = 60 N/mm2 แรงอัดหมุดย้ํากับแผนโลหะที่ทําใหเสียหายเทากับเทาใด

ขอ
ว กร
าว ศ

ส ภ
คําตอบ 1 : 131,250 N
คําตอบ 2 : 121,350 N
คําตอบ 3 : 111,250 N
คําตอบ 4 : 131,520 N 74 of 150

ขอที่ : 166
รอยเชื่อมใชลวดไฟฟาที่มีความตานแรงดึงคราก 396 N/mm2 ตองการใชรอยเชื่อม ขนาด 9 mm ใหรับแรง 40 kN โดยใชคาความปลอดภัย N = 2 ความยาวของรอย
เชื่อมเปนเทาใด

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 26.9 mm

ส ิท
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
27.7
28.4
mm
mm

ง ว น

คําตอบ 4 : 29.5 mm

ขอ
กร
ขอที่ : 167


ิ ว
ภ าว

รอยเชื่อมใชลวดไฟฟาที่มีความตานแรงดึงคราก 396 N/mm2 ตองการใชรอยเชื่อม ขนาด 9 mm ใหรับแรง 40 kN โดยใชคาความปลอดภัย N = 2 ความยาวของรอย
เชื่อมเปนเทาใด
75 of 150

่ า ย
หน
จ ำ
23.5 mm

า้ ม
คําตอบ 1 :

ิธ์ ห
24.1 mm
คําตอบ 2 :

ิท
24.9 mm


คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 : 25.3 mm

ง ว น
ขอที่ : 168

อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

รอยเชื่อมใชลวดไฟฟาที่มีความดานแรงดึงคราก 396 N/mm2 ตองการใชรอยเชื่อมขนาด 9 mm ใหรับแรง 40 kN โดยใชคาความปลอดภัย N = 2 ความยาวของรอยเชื่อม
เปนเทาใด
76 of 150

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 28.4 mm
คําตอบ 2 : 29.1 mm
คําตอบ 3 : 26.7 mm

ส ิท

คําตอบ 4 : 25.2 mm

ง ว

ขอที่ : 169

ขอ
ว กร
าว ศ

ส ภ
การยึดชิ้นงานดวยการตอเกยดวยหมุดย้ําแบบหนึ่งแถวดังแสดงในรูปใชหมุดย้ําขนาดเสนผานศูนยกลางเทากับ 20 mm จํานวน 2 ตัว แผนชิ้นงานหนา, t = 25 mm มีความ
กวาง w = 130 mm ถากําหนดใหคาความเคนออกแบบเปนดังนี้ ความเคนดึง (Tensile Stress) σtd = 140 N/mm2 ความเคนกด และความเคนอัด (Compressive and
Bearing Stress) σcd = 110 N/mm2 และ ความเคนเฉือน (Shear Stress) τd = 60 N/mm2 จงหาแรงเฉือนรวมที่ทําใหหมุดย้ําทุกตัวขาด
77 of 150

่ า ย
หน
จ ำ
30.25 kN

า้ ม
คําตอบ 1 :

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : 33.47 kN
คําตอบ 3 : 37.70 kN
คําตอบ 4 : 56.5 kN

ส ิท

ขอที่ : 170

ง ว
การยึดชิ้นงานดวยการตอเกยดวยหมุดย้ําแบบหนึ่งแถวดังแสดงในรูปใชหมุดย้ําขนาดเสนผานศูนยกลางเทากับ 20 mm จํานวน 2 ตัว แผนชิ้นงานหนา, t = 25 mm มีความ


กวาง w = 130 mm ถากําหนดใหคาความเคนออกแบบเปนดังนี้ ความเคนดึง (Tensile Stress) σtd = 140 N/mm2 ความเคนกด และความเคนอัด (Compressive and


Bearing Stress) σcd = 110 N/mm2 และ ความเคนเฉือน (Shear Stress) τd = 60 N/mm2 จงหาแรงอัดรวม (Bearing Force) ระหวางหมุดย้ําอัดกับแผนชิ้นงานทุกตัว

กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
102 kN
110 kN 78 of 150
คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 : 165 kN
คําตอบ 4 : 200 kN

ขอที่ :

่ า ย

171
แรงสถิต F มีขนาดเทากับ 24 kN กระทํากับแบรกเก็ต (Bracket) ที่ตอยึดกับเสาเหล็กดวยหมุดย้ําจํานวน 4 ตัวดังแสดงในรูป กําหนดใหหมุดย้ําทําจากเหล็กกลาซึ่งมีคา

ำ ห
σy = 317.2 N/mm2 และใหใชคาความปลอดภัย , N = 3 ถาหากแรงสถิต F เพิ่มขึ้นไปเรื่อยๆ จงหาวาหมุดย้ําตัวไหนจะขาดกอน


า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
A และ C

อ ส
กร ข
คําตอบ 1 :


A และ B



คําตอบ 2 :


A และ D

าว

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 : B และ D

ขอที่ : 172

เหล็กกลาแผนยึดติดกันดวยหมุดย้ําขนาดเทากัน 3 ตัว ดังแสดงในรูปหมุดย้ําแตละตัวมีขนาดเสนผานศูนยกลางเทากับ 19 mm และหมุดย้ําทํามาจากเหล็กกลาซึ่งมีคา σy


= 317.2 N/mm2 ถากําหนดใหใชคาความปลอดภัย , N = 3 ถาหากแรงสถิตย F เพิ่มขึ้นไปเรื่อยๆ จงหาวาหมุดย้ําตัวไหนจะขาดกอน
79 of 150

่ า ย
คําตอบ 1 : A

หน
คําตอบ 2 : B

จ ำ

คําตอบ 3 : C

า้
คําตอบ 4 : B และ C

ขอที่ : 173
ิธ์ ห
ิท
โจทย การกําหนดตําแหนงการยึดดวยสลักเกลียวมีความสําคัญมากในการออกแบบ ในขณะที่ชิ้นงานซึ่งยึดดวยสลักเกลียวรับภาระ ควรออกแบบใหสลักเกลียวรับแรงชนิด


ใด

ว น
คําตอบ 1 : แรงดัดและแรงเฉือน


คําตอบ 2 : แรงเฉือนและแรงบิด


คําตอบ 3 : แรงดึงและแรงเฉือน


คําตอบ 4 : แรงเฉือนและแรงกด

กร ข

ขอที่ : 174



ทานมีหลักการอยางไรในการเลือกใชวิธีการยึดโดยใช สลักเกลียวสตัด (stud bolts)

าว
คําตอบ 1 : ใชกับรอยตอที่รับแรงเปลี่ยนแปลง


คําตอบ 2 : ใชกับรอยตอที่ตองการใหถอดได


คําตอบ 3 : ใชเมื่อไมสามารถสอดสลักเกลียว (bolt) ผานชิ้นงาน
คําตอบ 4 : ใชเมื่อไมสามารถยึดโดยใชสลักเกลียวและแปนเกลียว

ขอที่ : 175
ทานมีหลักการอยางไรในการเลือกใชวิธีการยึดโดยใช สลักเกลียวและแปนเกลียว (bolts and nuts)
คําตอบ 1 : บริเวณที่หมุนหัวของสลักเกลียวและแปนเกลียวไดสะดวก
คําตอบ 2 : บริเวณรอยตอดวยหนาแปลน
คําตอบ 3 : บริเวณรอยตอที่ตองการใหถอดได
คําตอบ 4 : บริเวณที่ไมสามารถใชการยึดดวยวิธีอื่น 80 of 150

ขอที่ : 176
ทานมีหลักการอยางไรในการเลือกใชวิธีการยึดโดยใช หมุดเกลียว (cap screws)
คําตอบ 1 : ใชกับรอยตอที่ขันแปนเกลียว (nut) ไมได
ใชกับรอยตอที่ไมมีการถอดบอยนัก

่ า ย
คําตอบ 2 :


คําตอบ 3 : ใชกับรอยตอที่ตองใชเกลียวยาวมาก


คําตอบ 4 : ใชกับรอยตอที่มีการถอดบอย

จ ำ

ขอที่ : 177

า้
M12 x 1.75 หมายความวา

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : เปนเกลียวเมตริกมีเสนผานศูนยกลางหลัก (Major diameter) เทากับ 12 mm. และพิตซ (Pitch) เทากับ 1.75 mm
คําตอบ 2 : เปนเกลียวเมตริกมีเสนผานศูนยกลางรอง (Minor diameter) เทากับ 12 mm. และพิตซ (Pitch) เทากับ 1.75 mm.

ิท
คําตอบ 3 : เปนเกลียวเมตริกมีเสนผานศูนยกลางเฉลี่ย (Mean diameter) เทากับ 12 mm. และพิตซ (Pitch) เทากับ 1.75 mm.


คําตอบ 4 : เปนเกลียวเมตริกมี lead เทากับ 12 mm. และพิตซ (Pitch) เทากับ 1.75 mm.

ขอที่ :

ง ว น

178
เกลียวแบบไหนที่นําไปใชในการสงถายกําลัง
คําตอบ 1 : เกลียวเมตริก

ขอ
กร
คําตอบ 2 : เกลียวอเมริกัน


คําตอบ 3 : เกลียวแอคเม



คําตอบ 4 : เกลียว UNR

ขอที่ : 179

ภ าว

ชิ้นสวนเครื่องกลชนิดไหนที่ใชในเครื่องจักรกลเพื่อเปลี่ยนการเคลื่อนที่เชิงมุมเปนการ เคลื่อนที่เชิงเสน หรือเพื่อสงถายกําลัง
คําตอบ 1 : สกรู
คําตอบ 2 : สกรูสงกําลัง
คําตอบ 3 : เพลา
คําตอบ 4 : เฟองบรรทัดและเฟองสะพาน

ขอที่ : 180
ประสิทธิภาพของสกรูสงกําลังขึ้นอยูกับ
คําตอบ 1 : สัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหวางนัตกับเกลียวและมุมฮีลิกซ (Helix angle) 81 of 150
คําตอบ 2 : สัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหวางนัตกับเกลียวและมุมความเสียดทาน (Friction angle)
คําตอบ 3 : สัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหวาง Thrust collar กับ Support และมุมฮีลิกซ (Helix angle)
คําตอบ 4 : สัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหวาง Thrust collar กับ Support และมุมความเสียดทาน (Friction angle)

่ า ย
ขอที่ : 181


การยึดชิ้นงานใหติดกันดวยเกลียว มีแรงสองชนิดที่รอยตอซึ่งทําใหมีผลตรงกันขาม แรงเหลานั้นคือแรงอะไร


คําตอบ 1 : แรงดึงขั้นตนและแรงยึดรอยตอ

จ ำ
คําตอบ 2 : แรงที่ทําใหรอยตอหลวมและแรงเสียดทาน


คําตอบ 3 : แรงดึงขั้นตนและแรงที่ทําใหเกลียวคลายตัว

า้
คําตอบ 4 : แรงตานทานการคลายตัวและแรงเสียดทาน

ขอที่ : 182
ิธ์ ห
ิท
อุปกรณล็อกไมใหแปนเกลียวคลายตัวใชหลักการอะไร


คําตอบ 1 : การดึงที่เกลียว

ว น
คําตอบ 2 : การกดที่เกลียว


คําตอบ 3 : การกันหมุนที่เกลียว


คําตอบ 4 : ความเสียดทานที่เกลียว

ขอ
กร
ขอที่ : 183


เกลียวสกรูมาตรฐานระบบอเมริกันระบุ 12-28 UNF ตัวเลข 28 หมายถึง



คําตอบ 1 : ขนาดของเกลียว

าว
คําตอบ 2 : จํานวนเกลียวตอนิ้ว


คําตอบ 3 : เกลียวหยาบ


คําตอบ 4 : เกลียวละเอียด

ขอที่ : 184
ขอใดเปนการกําหนดเกลียวสกรูระบบเมตริกถูกตอง
คําตอบ 1 : M 1.5 - 10
คําตอบ 2 : M 10 - 1.5
คําตอบ 3 : M 1.5 x 10
คําตอบ 4 : M 10 x 1.5
82 of 150

ขอที่ : 185
ชิ้นสวนที่ยึดติดกันดวยสกรู การใหคา Preload จะมีประโยชนอยางไรกับชิ้นสวนที่เรายึดเขาดวยกัน
คําตอบ 1 : ชวยทําใหเพิ่มแรงตานทานการยึด (Friction force)
คําตอบ 2 : ชวยทําใหเพิ่มความแข็งแรงตัวยึด
ชวยทําใหยืดอายุการใชงานสกรู

่ า ย
คําตอบ 3 :


คําตอบ 4 : ชวยเพิ่มคาปลอดภัยใหกับตัวยึด

ขอที่ : 186

จ ำ ห

Friction force ที่เกิดจากการ Preload มีประโยชนในการยืดอายุตัวยึดของงานตอกัน (Connction) แตวิศวกรนัก ออกแบบเครื่องจักรกลไมกําหนด Preload ไวในการออก

า้
แบบมักใชในทางปฏิบัติ และเขาใชอะไรชวยออกแบบ

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ใชคํานวณแรงเฉือน (Shear force) ชวยในการออกแบบ
คําตอบ 2 : ใชคํานวณแรงดึง (Tensile force) ชวยในการออกแบบ

ิท
คําตอบ 3 : ใชคํานวณแรงดัด (Bending force) ชวยในการออกแบบ


คําตอบ 4 : ใชคํานวณแรงบิด (Torsion force) ชวยในการออกแบบ

ขอที่ : 187

ง ว น

ภาระ (Load, P) ดังรูปซึ่งวางอยูในแนว Shear plan ในสภาวะทํางานจะเกิดภาระชนิดหนึ่งขึ้นเรามักเรียก ภาระแบบนี้วาอะไร

ขอ
ว กร
าว ศ

ส ภ
คําตอบ 1 : Compress load
คําตอบ 2 : Eccentric load
คําตอบ 3 : Steady load
คําตอบ 4 : Bending load 83 of 150

ขอที่ : 188
มอเตอรมีน้ําหนัก (P) กระทําลงบนคานรองรับดังรูป โดยที่คานมีตีวยึด (Fasteners) ชวยยึดไวใหทรงตัวอยูได อยางสมดุล ตองการทราบวาภาระ (Load) ชนิดใดที่ ชวย
ตานใหสมดุล

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 : Eccentric loads

ง ว น

คําตอบ 2 : Equivalent loads
คําตอบ 3 : Reverse loads

ขอ
กร
คําตอบ 4 : Reaction loads

ขอที่ :


ิ ว
าว
189

ส ภ
แรงตานสมดุลที่อยูในตัวยึด (Fastener) แตละตัว จะสมมติใหอยูในรูปสัดสวนกลับ (Inverse proportional) ของระยะระหวาง c.g (Center of gravity)ของกลุมตัวยึด ตอง
การทราบแรง มีขนาดเทาใด
84 of 150

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

ส ิท
ง ว น

คําตอบ 3 :

ขอ
คําตอบ 4 :

ว กร
าว ศ

ส ภ
ขอที่ : 190

วิศวกรออกแบบมักกําหนดขนาด(Diameter) ตัวยึด(Fastener) ใหมีขนาดเทาๆ กัน ดังนั้นในการคํานวณความแข็งแรงจึง พิจารณาเลือกผลลัพธชนิดใดมาใช


85 of 150

่ า ย
หน
จ ำ
Minimum resultant

า้ ม
คําตอบ 1 :

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : Maximum resultant
คําตอบ 3 : Average resultant
คําตอบ 4 : Oposite resultant

ส ิท

ขอที่ : 191

ง ว
รูปบิดเบี้ยวที่เกิดกับงานยึดติดกันดวยสกรูดังรูป เกิดอาการเปลี่ยนรูปโคงงอจากแรงโคงงอ (Prying force) จาก F.B.D.นี้จงหา fa

อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
86 of 150

คําตอบ 2 :

่ า ย
หน
จ ำ
คําตอบ 3 :

า้ ม
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 4 :

นส
ขอที่ : 192

ง ว

จากสูตรคํานวณความความเคนเสียหาย (Tensile failure) ของแผนที่ยึดตอดวยตัวยึด (Fasteners) ใชสมการดังใน รูปได แตในการออกแบบจะตองใชคา Stress


concentration factor ดวยเนื่องจากอาจเกิดความลาตัว (Fatigue) ในขณะใชงานซึ่งทําใหปรากฏการยืดฉีกบริเวณแนว รอบๆ รูเจาะได ดังนั้นสูตรคํานวณในการออกแบบ


ที่เหมาะสมคือ

ว กร
าว ศ

ส ภ
คําตอบ 1 :
87 of 150
คําตอบ 2 :


คําตอบ 3 :

น่ า
คําตอบ 4 :

จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 193
ฝาปดภาชนะความดันมีพื้นที่รับความดันเทากับ 210 x 103 mm2 ใชสลักเกลียวขนาด M20 จํานวน 10 ตัว ยึดฝาภาชนะความดัน ความแข็งตึงของชิ้นงานเปน 4 เทาของ

ิท
สลักเกลียว (k4 = 4kb) ความดันภายในถังเทากับ 1.5 MPa จงหาวาแรงบิดที่ตองใชขันสลักเกลียว จะมีคานอยที่สุดเทาใดจึงจะทําใหภาชนะความดันสามารถรับความดัน
ไดตามกําหนดพอดี

นส
ง ว
คําตอบ 1 : 95.2 Nm.


คําตอบ 2 : 98.7 Nm.


คําตอบ 3 : 99.8 Nm.

กร ข
คําตอบ 4 : 100.8 Nm.


ิ ว
ขอที่ : 194

ภ าว

การตอยึดชิ้นงานดวยสลักเกลียวขนาด M24 (จากตารางเกลียวมาตรฐานจะมีพื้นที่รับ ความเคน As = 353 mm2) ดังแสดงในรูปมีแรงดึงชั้นตนของสลักเกลียว Ft =
68,000 N มีคาความแข็งตึงของสลักเกลียว kb = 1,461 x 103 N/mm และมีคาความแข็งตึงของชิ้นงาน kc = 3,450.63 x 103 N/mm ถารอยตอของชิ้นงานนี้รับแรงภาย
นอก ke = 22,240 N จงคํานวณหาความเคนรวมในสลักเกลียว
88 of 150

่ า ย
หน
จ ำ
คําตอบ 1 : 189.27 N/mm2

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 : 211.38 N/mm2
คําตอบ 3 : 243.58 N/mm2

ิท
คําตอบ 4 : 320.51 N/mm2

นส

ขอที่ : 195


ใชประแจทอรกขันสลักเกลียวขนาด M10 (จากตารางเกลียวมาตรฐานจะมีพื้นที่รับความเคน As= 58.0 mm2) ดวยแรงบิดเทากับ 20 Nm ถากําหนดใหสลักเกลียวที่ใชเปน

อ ส
แบบไมมีการหลอลื่น (สัมประสิทธิ์ของทอรกสําหรับสลักเกลียวที่ไมมีการหลอลื่น, C = 0.2 ) จะเกิดความเคนดึงในเกลียวเทาใด


100.4 N/mm2

กร
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 : 155.4 N/mm2
คําตอบ 3 :



172.4 N/mm2

าว
คําตอบ 4 : 182.4 N/mm2

ขอที่ : 196

ส ภ
การตอยึดชิ้นงานดวยสลักเกลียวขนาด M24 (จากตารางเกลียวมาตรฐานจะมีพื้นที่รับความเคน As = 353 mm2) ดังแสดงในรูปชิ้นงานทําดวยอะลูมิเนียมซึ่งมีคา Ec = 71
(10)3 MPa และสลักเกลียวทําจากเหล็กกลาซึ่งมีคา Eb = 207(10)3 MPa สลักเกลียวนี้ไมมีการหลอลื่น (สัมประสิทธิ์ของทอรกสําหรับสลักเกลียวที่ไมมีการหลอลื่น, C =
0.2) ถาใชทอรกขันแปนเกลียวดวยขนาด 340 Nm จงหา

a) แรงดึงชั้นตนของสลักเกลียว

b) สวนยึดของสลักเกลียว
89 of 150

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 : 57,000 N และ 0.0465 mm
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 2 : 79,000 N และ 0.0465 mm


คําตอบ 3 : 68,000 N และ 0.0335 mm


และ


คําตอบ 4 : 68,000 N 0.0465 mm

ขอที่ :

ส ง

197


คุณสมบัติตอไปนี้ไมใชคุณสมบัติของการยึดดวยสลักเกลียว

กร
คําตอบ 1 : ราคาถูก


คําตอบ 2 : มีมาตรฐาน



คําตอบ 3 : มีความหนาแนนต่ํา

าว
คําตอบ 4 : ถอดประกอบได

ขอที่ : 198

ส ภ
ชนิดของเกลียวชนิดใดที่ไมนิยมใชทําสกรูสงกําลัง
คําตอบ 1 : เกลียวสี่เหลี่ยม
คําตอบ 2 : เกลียวแอคมิ
คําตอบ 3 : เกลียวบัตเตรส
คําตอบ 4 : เกลียวละเอียด
ขอที่ : 199
เครื่องกําเนิดไฟฟาหนัก 15 kN มีหวงสลักเกลียวติดไวเพื่อใชยกถาใชสลักเกลียวที่มีความเคนพิสูจน 540 N/mm2 คาความปลอดภัย N=5 สลักเกลียวจะมี
90 ofพ150
ื้นที่หนาตัด
เทาไร
คําตอบ 1 : 132.15 mm2
คําตอบ 2 : 138.89 mm2
คําตอบ 3 : 141.98 mm2
คําตอบ 4 : 142.12 mm2

่ า ย
หน

ขอที่ : 200


ในการออกแบบสกรูสงกําลัง คามุมฮีลิกซ มีผลตางประสิทธิภาพของสกรูดังนี้
คําตอบ 1 : เมื่อมุมฮีลิกซมีคาเพิ่มขึ้นประสิทธิภาพของสกรูเพิ่มขึ้น

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 : เมื่อมุมฮีลิกซมีคาเพิ่มขึ้นประสิทธิภาพของสกรูลดลง
คําตอบ 3 : เมื่อมุมฮีลิกซมีคาเพิ่มขึ้นประสิทธิภาพของสกรูเพิ่มขึ้นแลวลดลง
คําตอบ 4 : เมื่อมุมฮีลิกซมีคาเพิ่มขึ้นประสิทธิภาพของสกรูลดลงแลวเพิ่มขึ้น

ส ิท

ขอที่ : 201


ใชประแจทอรกขันสลักเกลียวขนาด M10 (จากตารางเกลียวมาตรฐานจะมีพื้นที่รับความเคน As= 58.0 mm2) ดวยแรงบิดเทากับ 20 Nm ถากําหนดใหสลักเกลียวที่ใชเปน

ส ง
แบบไมมีการหลอลื่น (สัมประสิทธิ์ของทอรกสําหรับสลักเกลียวที่ไมมีการหลอลื่น, C = 0.2 ) จะเกิดความเคนดึงในเกลียวเทาใด
100.4 N/mm2

ขอ
คําตอบ 1 :

กร
คําตอบ 2 : 155.4 N/mm2


คําตอบ 3 : 172.4 N/mm2



182.4 N/mm2

าว
คําตอบ 4 :


ขอที่ :


202
ใชประแจทอรกขันสลักเกลียวขนาด M8 (จากตารางเกลียวมาตรฐานจะมีพื้นที่รับความเคน As= 36.6 mm2) ดวยแรงบิดเทากับ 20 Nm ถากําหนดใหสลักเกลียวที่ใชเปน
แบบไมมีการหลอลื่น (สัมประสิทธิ์ของทอรกสําหรับสลักเกลียวที่ไมมีการหลอลื่น, C = 0.2 ) จะเกิดความเคนดึงในเกลียวเทาใด
คําตอบ 1 : 100.4 N/mm2
คําตอบ 2 : 155.4 N/mm2
คําตอบ 3 : 172.4 N/mm2
คําตอบ 4 : 341.53 N/mm2
ขอที่ : 203 91 of 150
ฝาปดภาชนะความดันมีพื้นที่รับความดันเทากับ 210 x 103 mm2 ใชสลักเกลียวขนาด M20 จํานวน 10 ตัวยึดฝาภาชนะความดัน ความแข็งตึงของชิ้นงานเปน 4 เทาของ
สลักเกลียว (kc = 4kb) ความดันภายในถังเทากับ 1.5 MPa จงหาวาแรงบิดที่ตองใชขันสลักเกลียวจะมีคานอยที่สุดเทาใดจึงจะทําใหภาชนะความดันสามารถรับความดันได
ตามกําหนดพอดี
คําตอบ 1 : 95.2 Nm.


คําตอบ 2 : 98.7 Nm.
คําตอบ 3 : 99.8 Nm.

น่ า

คําตอบ 4 : 100.8 Nm.

จ ำ

ขอที่ : 204

า้
ฝาปดภาชนะความดันมีพื้นที่รับความดันเทากับ 210 x 103 mm2 ใชสลักเกลียวขนาด M20 จํานวน 10 ตัวยึดฝาภาชนะความดัน ความแข็งตึงของชิ้นงานเปน 4 เทาของ

ิธ์ ห
สลักเกลียว (kc = 4kb) ความดันภายในถังเทากับ 1.5 MPa จงหาวาแรงดึงทั้งหมดบนสลักเกลียว
คําตอบ 1 : 29.8 kN

ิท
คําตอบ 2 : 29.95 kN


คําตอบ 3 : 31.5 kN

ว น
คําตอบ 4 : 32.38 kN

ส ง

ขอที่ : 205

กร ข

ิ ว
ภ าว

การตอยึดชิ้นงานดวยสลักเกลียวขนาด M24 (จากตารางเกลียวมาตรฐานจะมีพื้นที่รับความเคน As = 353 mm2) ดังแสดงในรูปมีแรงดึงชั้นตนของสลักเกลียว Fi = 68,000
N มีคาความแข็งตึงของสลักเกลียว Kb = 3,450.63 x 103 N/mm ถารอยตอของชิ้นงานนี้รับแรงภายนอก Fe = 22,240 N จงคํานวณหาแรงกดรวมบนชิ้นงาน
92 of 150

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 35,478.42 N
คําตอบ 2 : 45,482.89 N
คําตอบ 3 : 52,376.79 N

ส ิท

คําตอบ 4 : 65,782.68 N

ง ว

ขอที่ : 206


การออกแบบเพลาใหสามารถทํางานไดนั้น นอกจากตองรับแรงกระทําไดแลว ยังตองคํานึงถึงอะไรอีกบาง

กร ข
คําตอบ 1 : ขนาดมาตรฐานของเพลา
คําตอบ 2 : วัสดุที่ใชทําเพลา


คําตอบ 3 : แบริ่งที่ใชรองรับเพลา

าว ศ

ความแข็งเกร็ง (rigidity) ของเพลา
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 207

ส ภ
แนวคิดทั่วไปในการออกแบบเพลาคืออะไร
คําตอบ 1 : วางเพลาใหอยูใกลจุดที่ตองการขับมากที่สุด
คําตอบ 2 : วางเพลาใหขนานกันมากที่สุด
คําตอบ 3 : เลือกใชเพลาใหสั้นที่สุด
คําตอบ 4 : เลือกใชวัสดุเพลาที่มีคุณสมบัติเพียงพอสําหรับใชงาน

ขอที่ : 208
เมื่อใชลิ่มตอเพลากับดุมลอเพื่อสงทอรคขณะสงกําลังลิ่มตองรับแรงอะไรบาง
คําตอบ 1 : แรงที่เกิดจากการสงทอรค 93 of 150
คําตอบ 2 : แรงที่เกิดจากการสงทอรคและแรงในแนวแกนเพลา
คําตอบ 3 : แรงที่เกิดจากการสงทอรคและแรงจากการสวมอัดลิ่ม
คําตอบ 4 : แรงที่เกิดจากการสวมอัดลิ่มและแรงในแนวแกนเพลา

่ า ย
ขอที่ : 209


ลิ่มสี่เหลี่ยมผืนผา (rectangular key) และลิ่มแบน (parallel key) มีการใชงานแตกตางกันอยางไร


คําตอบ 1 : ลิ่มสี่เหลี่ยมผืนผาใชกับงานเบาแตตองตัดเจาะรองลิ่มบนเพลาลึก

จ ำ
คําตอบ 2 : ลิ่มแบนใชกับงานเบาแตตองตัดเจาะรองลิ่มบนเพลาหลายรอง


คําตอบ 3 : ลิ่มแบนใชกับงานเบา แตตองการตัดเจาะรองลิ่มบนดุมลอตื้น

า้
คําตอบ 4 : ลิ่มแบนใชกับงานเบา แตตองการตัดเจาะรองลิ่มบนดุมลอตื้น

ขอที่ : 210
ิธ์ ห
ิท
ชิ้นสวนเครื่องกลชนิดไหนที่ถูกใชกับเพลาเพื่อทําใหชิ้นสวนเครื่องกลอื่นเชน เฟอง ลอ เปน ตนหมุนไดอยางมั่นคงปลอดภัย


คําตอบ 1 : ลิ่มและสลัก

ว น
คําตอบ 2 : นัตและโบลท


คําตอบ 3 : รอยเชื่อม


คําตอบ 4 : กาว

ขอ
กร
ขอที่ : 211


ในการเลือกใชลิ่มที่กลาววา “ความยาวของลิ่มขึ้นอยูกับความยาวของดุม (Hub) และ ภาระบิด (Torsional load) ที่สงถาย” ในฐานะที่ทานเปนวิศวกรทานจะเลือกใชลิ่ม



แบบไหน

าว
คําตอบ 1 : Square key


คําตอบ 2 : Gib-head key


คําตอบ 3 : Woodruff key
คําตอบ 4 : General key

ขอที่ : 212
จงหากําลังที่สงถายผานเพลา ถาเพลาหมุนดวยความเร็ว 50 rpm และเพลาสามารถรับแรงบิดได 2000 N.m
คําตอบ 1 : 2 kW
คําตอบ 2 : 11 kW
คําตอบ 3 : 100 kW
คําตอบ 4 : 628 kW
94 of 150

ขอที่ : 213
สวนประกอบเครื่องจักรกลวางสอดระหวางเพลากับดุมของชิ้นสวนสงถายกําลังสําหรับสงถาย แรงบิด คือ
คําตอบ 1 : Pins
คําตอบ 2 : Nuts, Screws
คําตอบ 3 : Keys

่ า ย

คําตอบ 4 : Rivets

ขอที่ : 214

จ ำ ห

จะใชลิ่มชนิดใด เมื่อตองการติดตั้งลิ่มตองสอดมาจากปลายของเพลา หลังจากดุมอยูในตําแหนง ที่ตองการแลว
ลิ่มทั่วไป

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 : ลิ่มหนาตัดสี่เหลี่ยมจัตุรัส (Square keys)
คําตอบ 3 : ลิ่มหนาตัดสี่เหลี่ยมผืนผา (Rectangular keys)

ิท
คําตอบ 4 : ลิ่มเรียว (Taper keys)

นส

ขอที่ : 215


เพลาเสนผาศูนยกลางไมเกิน 6 ½ นิ้ว ปกติจะใชลิ่มชนิดใด
คําตอบ 1 : ลิ่มทั่วไป

อ ส

คําตอบ 2 : ลิ่มหนาตัดสี่เหลี่ยมจัตุรัส (Square keys)

กร
คําตอบ 3 : ลิ่มหนาตัดสี่เหลี่ยมผืนผา (Rectangular keys)


คําตอบ 4 : ลิ่มเรียว (Taper keys)

ขอที่ : 216

าว ศ


บาลิ่ม (keyseats) ที่เพลาและดุมควรออกแบบใหมีความลึกเทาไร


คําตอบ 1 : 1/4 ของความสูงลิ่มที่เพลา และ 3/4 ของความสูงลิ่มที่ดุม
คําตอบ 2 : 1/2 ของความสูงลิ่มที่เพลา และ 1/2 ของความสูงลิ่มที่ดุม
คําตอบ 3 : 3/4 ของความสูงลิ่มที่เพลา และ 1/4 ของความสูงลิ่มที่ดุม
คําตอบ 4 : ไมมีกฎเกณฑแนนอนแตความลึกที่เพลาและดุมเมื่อรวมกันแลวตองเทากับความสูงลิ่ม

ขอที่ : 217
รับโหลดเบาและงายตอการถอดประกอบ ควรจะใชลิ่มชนิดใด
คําตอบ 1 : ลิ่มหนาตัดสี่เหลี่ยมจัตุรัส (Square keys)
คําตอบ 2 : ลิ่มหนาตัดสี่เหลี่ยมผืนผา (Rectangular keys) 95 of 150
คําตอบ 3 : ลิ่มเรียว (Taper keys)
คําตอบ 4 : ลิ่มวงเดือน (Woodruff keys)

ขอที่ : 218

่ า ย
ลิ่มสงกําลังเกิดความเสียหายเนื่องจาก


คําตอบ 1 : การเฉือนตามขวางระหวางผิวหนาของเพลากับดุม


คําตอบ 2 : การอัดที่เกิดจากการกดดานขางของลิ่มกับเพลา

จ ำ
คําตอบ 3 : ถูกทั้งขอ ก. และ ข.


คําตอบ 4 : ผิดทุกขอ

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 219
จงคํานวณหาแรงบิด (Torque) ในเพลา เมื่อเพลาสงถายกําลัง 750 W ที่ 183 rad

ิท
คําตอบ 1 : 0.2 N.m


คําตอบ 2 : 2.0 N.m

ว น
คําตอบ 3 : 4.1 N.m


คําตอบ 4 : 1.4 N.m

อ ส

ขอที่ : 220

กร
ขอใดกลาวถูกตอง ถาแรงบิด (Torque) หรือ twisting moment กระทํากับเพลากลมตัน (Solid shaft)


คําตอบ 1 : Torsional Shear Stress สูงสุดเกิดที่จุดศูนยกลางเพลา และ Torsional Shear Stress นอยสุด เกิดที่รัศมีโตสุดของเพลา



คําตอบ 2 : Torsional Shear Stress สูงสุดเกิดที่จุดศูนยกลางเพลา และ Torsional Shear Stress เทากับ ศูนยเกิดที่รัศมีโตสุดของเพลา

าว
คําตอบ 3 : Torsional Shear Stress สูงสุดเกิดที่รัศมีโตสุดของเพลาและ Torsional Shear Stress นอยสุดเกิดที่จุดศูนยกลางเพลา


คําตอบ 4 : Torsional Shear Stress สูงสุดเกิดที่รัศมีโตสุดของเพลาและ Torsional Shear Stress เทากับศูนยเกิดที่จุดศูนยกลางเพลา

ขอที่ : 221

ในการสงกําลังดวยเพลาสวนมาก นิยมใชเพลา
คําตอบ 1 : เพลากลมตัน
คําตอบ 2 : เพลาสี่เหลี่ยมตัน
คําตอบ 3 : เพลากลมกลวง
คําตอบ 4 : เพลาสี่เหลี่ยมกลวง
ขอที่ : 222 96 of 150
เพลากลมตันใชในการถายทอดกําลังจากเครื่องยนตโดยใชสายพาน และพูเลย เพลาสงกําลังตอไปยังคลัชดังแสดงในรูป พูเลยทํามาจากเหล็กหลอมีขนาดเสนผานศูนย
กลางเทากับ 120 mm และมีความยาวของดุมลอเทากับ 30 mm พูเลยประกอบติดกับเพลาโดยใชลิ่ม โดยเพลาสงกําลังมีขนาดเสนผานศูนยกลาง 35 mm และไดเลือกใช
ลิ่มมาตรฐานสี่เหลี่ยมผืนผา (ISO/R 774) ขนาดพื้นที่หนาตัด (bxh) 10 mm x 8 mm ถากําหนดใหคาความเคนออกแบบของลิ่มเปนดังนี้ ความเคนกดและความเคนอัด
(Compressive and Bearing Stresses) σcd = 80 N/mm2 และความเคนเฉือน (Shear Stress) τd = 50 N/mm2 จงหาความยาวของลิ่มเพื่อใชกับระบบการถายทอด


กําลังนี้

น่ า
จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
คําตอบ 1 : 6.86 mm

อ ส
กร ข
คําตอบ 2 : 10.71 mm
คําตอบ 3 : 12.34 mm


คําตอบ 4 : 30 mm

ขอที่ :

าว ศ


223


ฮันติงทูธ (hunting tooth) มีประโยชนอยางไร
คําตอบ 1 : ชวยปรับอัตราทดใหถูกตอง
คําตอบ 2 : ชวยลดการสึกหรอ
คําตอบ 3 : ชวยเพิ่มความแข็งแรงของฟนเฟอง
คําตอบ 4 : ชวยเพิ่มความสม่ําเสมอในการขับ

ขอที่ : 224

การถายทอดกําลังโดยใชเพลาพูเลย และสายพานเพื่อใชในการถายทอดแรงบิด ขนาด 7400 Nm จากเพลาไปยังพูเลย และสายพานเพื่อไปใชขับเครื่องอัดอากาศ โดย


เพลาสงกําลัง มีขนาดเสนผานศูนยกลาง 75 mm. และไดเลือกใชลิ่มมาตรฐานสี่เหลี่ยม (ISO/R 774) ขนาดพื้นที่หนาตัด (bxh) 20 mm x 12 mm จงหาความยาวของลิ่ม
ที่นอยที่สุดเพื่อใชกับระบบการถายทอดกําลังนี้ 97 of 150
คําตอบ 1 : 147.57 mm
คําตอบ 2 : 185.34 mm
คําตอบ 3 : 195.47 mm
คําตอบ 4 : 295.15 mm

่ า ย

ขอที่ : 225


การถายทอดกําลัง โดยใชเพลาพูเลย และสายพานเพื่อใชในการถายทอดแรงบิดขนาด 7400 Nm จากเพลาไปยังพูเลย และสายพานเพื่อไปใชขับเครื่องอัดอากาศ โดย


เพลาสงกําลังมีขนาดเสนผานศูนยกลาง 75 mm. และไดเลือกใชลิ่มมาตรฐานสี่เหลี่ยม (ISO/R 774) ขนาดพื้นที่หนาตัด (bxh) 20 mm. x 12 mm. และมีความยาว 1 =


300 mm.จงหาขนาดของความเคนเฉือนที่เกิดขึ้นในลิ่ม
15.74 N/mm2

า้ ม
คําตอบ 1 :

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : 25.32 N/mm2
คําตอบ 3 : 32.89 N/mm2

ิท
คําตอบ 4 : 35.78 N/mm2

นส

ขอที่ : 226


การถายทอดกําลังโดยใชเพลาพูเลย และสายพานเพื่อใชในการถายทอดแรงบิดขนาด 7400 Nm จากเพลาไปยังพูเลยและสายพานเพื่อไปใชขับเครื่องอัดอากาศ โดย


เพลาสงกําลังมีขนาดเสนผานศูนยกลาง 75 mm และไดเลือกใชลิ่มมาตรฐานสี่เหลี่ยม (ISO/R 774) ขนาดพื้นที่หนาตัด (bxh) 20 mm x 12 mm และมีความยาว l = 300


mm. จงหาขนาดของ ความเคนอัดที่เกิดขึ้นในลิ่ม
คําตอบ 1 : 89.92 N/mm2

กร ข

คําตอบ 2 : 109.63 N/mm2



คําตอบ 3 : 110.54 N/mm2

าว
คําตอบ 4 : 145.41 N/mm2

ขอที่ : 227

ส ภ
หลักการในการตรวจสอบความเร็ววิกฤตของระบบเพลาเพื่อใชงาน ควรใชงานตางจากความเร็ว วิกฤตเทาใด
คําตอบ 1 : 10 %
คําตอบ 2 : 15 %
คําตอบ 3 : 20 %
คําตอบ 4 : 25 %
ขอที่ : 228
เพลากลมมีขนาดเสนผานศูนยกลาง 10 mm รับแรงบิด 4.10 N-m จะเกิดความเคนเฉือนเทากับ 98 of 150
คําตอบ 1 : 41.8 MPa
คําตอบ 2 : 27.7 MPa
คําตอบ 3 : 20.9 MPa
คําตอบ 4 : 10.5 MPa

่ า ย

ขอที่ : 229


เพลาใชสงกําลัง 750 Watt โดยหมุนดวยความเร็ว 1750 รอบตอนาที จะมีแรงบิดเกิดขึ้นเทากับ

จ ำ
คําตอบ 1 : 3.10 N-m


คําตอบ 2 : 4.10 N-m

า้
คําตอบ 3 : 5.10 N-m

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : 6.10 N-m

ิท
ขอที่ : 230


เพลาเหล็กกลมขนาด เสนผานศูนยกลาง 35 mm ยาว 500 mm ใชสงกําลัง 20 kW ที่ความเร็ว 500 rpm จะเกิดความเคนเฉือนสูงสุดเทาใด

ว น
คําตอบ 1 : 40.5 MPa


คําตอบ 2 : 45.5 MPa


คําตอบ 3 : 50.5 MPa


51.5 MPs


คําตอบ 4 :

ว กร
ขอที่ : 231



เพลาเหล็กกลมขนาด เสนผานศูนยกลาง 35 mm ยาว 500 mm ใชสงกําลัง 20 kW ที่ความเร็ว 500 rpm จะมีมุมบิดเกิดขึ้นเทาใด

าว
คําตอบ 1 : 0.90o


คําตอบ 2 : 0.80o

ส 0.70o
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 : 0.60o

ขอที่ : 232
เพลาเหล็กกลมขนาดเสนผาศูนยกลาง 35 mm ยาว 500 mm ใชสงกําลัง 20 kW ที่ความเร็ว 500 rpm จะใชแรงบิดเทาใด
คําตอบ 1 : 370 N-m
คําตอบ 2 : 382 N-m
คําตอบ 3 : 391 N-m
คําตอบ 4 : 398 N-m 99 of 150

ขอที่ : 233
เพลากลมตันทํามาจากเหล็กกลาใชสงกําลัง 20 kW หมุนดวยความเร็วรอบ 1450 rpm วัสดุที่ใชมีคา σy = 524 N/mm2 , E= 207 GN/mm2 , G = 79.306 N/m2 ถาใช


คา safety factor = 2 ขนาดเสนผานศูนยกลางจะเปน

่ า
คําตอบ 1 : 16.22 mm


คําตอบ 2 : 32.22 mm

ำ ห
คําตอบ 3 : 12.44 mm


คําตอบ 4 : 22.44 mm

า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 234
เพลากลมตันทํามาจากหล็กกลายาว 500 mm ใชสงกําลัง 20 kW หมุนดวยความเร็วรอบ 1450 rpm วัสดุที่ใชมีคาคุณสมบัติ σy = 524 N/mm2 , E= 207 GN/mm2 , G
= 79.306 N/m2 ถาใชคา Safety factor = 2 เพลาจะมีมุมบิดเทาใด
คําตอบ 1 : 6๐

ส ิท
6.5๐

ว น
คําตอบ 2 :


คําตอบ 3 : 7๐
คําตอบ 4 : 7.5๐

อ ส
ขอที่ : 235

กร ข

เพลากลม และกลวง มีอัตตราสวนของเสนผานศูนยกลาง d/di = 2 ใชสงกําลัง 20 kW หมุนดวยความเร็วรอบ 1450 rpm วัสดุที่ใชมีคา ถาใชคา Safety factor = 2 ขนาด

าว
เสนผานศูนยกลาง d คือ
คําตอบ 1 : 16.58 mm ศ

ส ภ
คําตอบ 2 : 32.58 mm
คําตอบ 3 : 12.88 mm
คําตอบ 4 : 22.88 mm

ขอที่ : 236
เพลากลมและกลวง มีอัตตราสวนของเสนผานศูนยกลาง d/di = 2 ใชสงกําลัง 20 kW หมุนดวยความเร็วรอบ 1450 rpm วัสดุที่ใชมีคา ถาใชคา Safety factor = 2 มุมบิด
เกิดขึ้นเทาใดถาเพลายาว 500 mm
คําตอบ 1 :
5.2๐
คําตอบ 2 : 6.8 ๐ 100 of 150

คําตอบ 3 : 7.2๐
คําตอบ 4 : 8.8๐


ขอที่ :

่ า
237
การถายทอดกําลังโดยใชเพลา พูเลย และสายพานเพื่อใชในการถายทอดแรงบิดขนาด 7400 Nm จากเพลาไปยังพูเลยและสายพานเพื่อไปใชขับเครื่องอัดอากาศ โดย


เพลาสงกําลังมีขนาดเสนผานศูนยกลาง 65 mm และไดเลือกใชลิ่มมาตรฐานสี่เหลี่ยม (ISO/R 774) ขนาดพื้นที่หนาตัด (bxh) 18 mm x 11 mm และมีความยาว l =300

ำ ห
mm. จงหาขนาดของความเคนเฉือนที่เกิดขึ้นในลิ่ม


คําตอบ 1 : 15.74 N/mm2
คําตอบ 2 : 25.32 N/mm2

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 3 : 42.17 N/mm2
คําตอบ 4 : 48.76 N/mm2

ขอที่ : 238

ส ิท
ว น
การถายทอดกําลังโดยใชเพลา พูเลย และสายพานเพื่อใชในการถายทอดแรงบิดขนาด 7400 Nm จากเพลาไปยังพูเลยและสายพานเพื่อไปใชขับเครื่องอัดอากาศ โดย


เพลาสงกําลังมีขนาดเสนผานศูนยกลาง 65 mm และไดเลือกใชลิ่มมาตรฐานสี่เหลี่ยม (ISO/R 774) ขนาดพื้นที่หนาตัด (bxh) 18 mm x 11 mm และมีความยาว l =300


mm. จงหาขนาดของความเคนอัดที่เกิดขึ้นในลิ่ม


คําตอบ 1 : 89.92 N/mm2
คําตอบ 2 : 109.63 N/mm2

กร ข

คําตอบ 3 : 120.37 N/mm2



137.99 N/mm2

าว
คําตอบ 4 :

ส ภ
ขอที่ : 239

เพลากลมตันใชในการถายทอดกําลังจากเครื่องยนตโดยใชสายพานและพูเลย เพลาสงกําลังตอไปยังคลัชดังแสดงในรูป พูเลยทํามาจากเหล็กหลอมีขนาดเสนผานศูนย


กลางเทากับ 120 mm และมีความยาวของคุมลอเทากับ 20 mm พูเลยประกอบติดกับเพลาโดยใชลิ่ม โดยเพลาสงกําลังมีขนาดเสนผานศูนยกลาง 35 mm และไดเลือกใช
ลิ่มมาตรฐานสี่เหลี่ยมผืนผา (ISO/R 774) ขนาดพื้นที่หนาตัด (bxh) 10 mm x 8 mm ถากําหนดใหคาความเคนออกแบบของลิ่มเปนดังนี้ความเคนกดและความเคนอัด
(Compressive and Bearing Stresses) σcd = 80 N/mm2 และความเคนเฉือน (Shear Stress) τd = 50 N/mm2 จงหาความยาวของลิ่มเพื่อใชกับระบบการถายทอด
กําลังนี้
101 of 150

่ า ย
หน
จ ำ
คําตอบ 1 : 6.86 mm

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 : 10.71 mm
คําตอบ 3 : 20 mm

ิท
คําตอบ 4 : 30 mm

ขอที่ :

นส

240


การถายทอดกําลังโดยใชเพลา พูเลย และสายพานเพื่อใชในการถายทอดแรงบิดขนาด 7400 Nm จากเพลาไปยังพูเลยและสายพานเพื่อไปใชขับเครื่องอัดอากาศ โดย


เพลาสงกําลังมีขนาดเสนผานศูนยกลาง 75 mm และไดเลือกใชลิ่มมาตรฐานสี่เหลี่ยม (ISO/R 774) ขนาดพื้นที่หนาตัด (bxh) 20 mm x 12 mm ถากําหนดใหคาความ


เคนออกแบบของลิ่มเปนดังนี้ ความเคนกดและความเคนอัด (Compressive and Bearing Stresses) σcd = 114.43 N/mm2 และความเคนเฉือน (Shear Stress) τd =

กร ข
66.86 N/mm2 จงหาความยาวของลิ่มที่นอยที่สุดเพื่อใชกับระบบการถายทอดกําลังนี้
คําตอบ 1 : 147.57 mm
คําตอบ 2 : 185.34 mm


ิ ว
าว
คําตอบ 3 : 195.47 mm
คําตอบ 4 : 295.15 mm

ขอที่ : 241
ส ภ
การถายทอดกําลังโดยใชเพลา พูเลย และสายพานเพื่อใชในการถายทอดแรงบิดขนาด 7400 Nm จากเพลาไปยังพูเลยและสายพานเพื่อไปใชขับเครื่องอัดอากาศ โดย
เพลาสงกําลังมีขนาดเสนผานศูนยกลาง 60 mm และไดเลือกใชลิ่มมาตรฐานสี่เหลี่ยม (ISO/R 774) ขนาดพื้นที่หนาตัด (bxh) 18 mm x 11 mm ถากําหนดใหคาความ
เคนออกแบบของลิ่มเปนดังนี้ ความเคนกดและความเคนอัด (Compressive and Bearing Stresses) σcd = 80 N/mm2 และความเคนเฉือน (Shear Stress) τd = 50
N/mm2 จงหาความยาวของลิ่มที่นอยที่สุดเพื่อใชกับระบบการถายทอดกําลังนี้
คําตอบ 1 : 147.57 mm
คําตอบ 2 : 274.07 mm
คําตอบ 3 : 295.15 mm
คําตอบ 4 : 560.61 mm 102 of 150

ขอที่ : 242
อัตราสวนการขบของเฟองหมายถึงอะไร
คําตอบ 1 : อัตราสวนระหวางจํานวนฟนของเฟองขับตอเฟองตาม
อัตราสวนระหวางจํานวนฟนของเฟองตามตอเฟองขับ

่ า ย
คําตอบ 2 :


คําตอบ 3 : อัตราสวนระหวางระยะการขบของเฟองกับพิตช (pitch)


คําตอบ 4 : อัตราสวนระหวางระยะการขบของเฟองกับพิตชฐาน (base pitch)

จ ำ

ขอที่ :

า้
243
โมดุล (module) ของเฟองคืออะไร

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : อัตราสวนระหวางขนาดเสนผานศูนยกลางกับจํานวนฟน
คําตอบ 2 : อัตราสวนระหวางขนาดเสนผานศูนยกลางพิตชกับจํานวนฟน

ิท
คําตอบ 3 : อัตราสวนระหวางจํานวนฟนกับขนาดเสนผานศูนยกลาง


คําตอบ 4 : อัตราสวนระหวางจํานวนฟนกับขนาดเสนผานศูนยกลางพิตช

ขอที่ :

ง ว น

244
แบ็กแล็ช (backlash) ของเฟองคืออะไร
คําตอบ 1 :

ขอ
ผลตางระหวางคาดีเดนดัมกับแอดเด็นดัมของเฟองที่ขบกัน

กร
คําตอบ 2 : ผลตางระหวางความกวางชองวางของฟนเฟองที่ขบกัน


คําตอบ 3 : ผลตางระหวางคาไดอะมัทรัลพิตชของฟนเฟองที่ขบกัน



คําตอบ 4 : ผลตางระหวางคาเซอรคิวลารพิตชของฟนเฟองที่ขบกัน

ขอที่ : 245

ภ าว

เฟองแบบไหนที่ใชเพื่อสงถายการเคลื่อนที่ระหวางเพลาขนานและไมขนาน
คําตอบ 1 : เฟองตรง
คําตอบ 2 : เฟองเฉียง
คําตอบ 3 : เฟองดอกจอก
คําตอบ 4 : เฟองหนอน

ขอที่ : 246
อัตราสวนของเสนผานศูนยกลางพิตซตอจํานวนฟน คือขอใด
คําตอบ 1 : Circular pitch 103 of 150
คําตอบ 2 : Diametral pitch
คําตอบ 3 : Module
คําตอบ 4 : Contact ratio

่ า ย
ขอที่ : 247


ขอไหนคือสูตรสําหรับหา กําลังในการสงถาย (The transmitted power) ของเฟองตรง


คําตอบ 1 : แรงยอยในแนวสัมผัส x ความเร็วเชิงเสนที่วงกลมพิตซ

จ ำ
คําตอบ 2 : แรงยอยในแนวรัศมี x ความเร็วเชิงเสนที่วงกลมพิตซ


คําตอบ 3 : แรงลัพธ x ความเร็วเชิงเสนที่วงกลมพิตซ

า้
คําตอบ 4 : แรง x ความเร็วเชิงเสนที่วงกลมพิตซ

ขอที่ : 248
ิธ์ ห
ิท
ขอไหนกลาวไมถูกตองเกี่ยวกับเฟองตรง


คําตอบ 1 : การเพิ่มขนาดฟน (Tooth size) จะเพิ่มความแข็งแรงดัด (Bending strength) มากกวาความ แข็งแรงผิวหนา (Surface strength)

ว น
คําตอบ 2 : การเพิ่มความแข็งผิวหนา (Surface hardness) เฟองเหล็กจะใหผลคุมคามากพอเกี่ยวกับ ความทนทานผิวหนา (Surface endurance)


คําตอบ 3 : เฟองที่แข็งกวาจะมีราคาสูงกวาในการผลิต แตเฟองจะเล็กกวาทําใหเรือนเฟองและสวน อื่นๆ เล็กกวาและเบากวา ดังนั้นราคาโดยรวมทั้งหมดจะลดลง


คําตอบ 4 : การเพิ่มกรรมวิธีการผลิตเฟองจะเพิ่มความแข็งแรงความลาดัด

ขอ
กร
ขอที่ : 249


ิ ว
ภ าว

จงหาคา Train value (e) ของขบวนเฟองนี้
104 of 150

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : e = n6/n2
คําตอบ 2 : n2/n6
คําตอบ 3 : N6/N2

ส ิท

คําตอบ 4 : N2/N6

ง ว

ขอที่ : 250


เคลียแร็นซ (clearance) ของเฟองคืออะไร

กร ข
คําตอบ 1 : ผลตางระหวางคาดีเดนดัมกับแอดเดนดัมของเฟองที่ขบกัน
คําตอบ 2 : ผลตางระหวางความกวางชองวางของเฟองที่ขบกัน


คําตอบ 3 : ผลตางระหวางคาไดอะมิทรัลพิตชของฟนเฟองที่ขบกัน

าว ศ

ผลตางระหวางคาเซอรคิวลารพิตชของฟนเฟองที่ขบกัน
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 251

ส ภ
การกําหนดขนาดของเฟองที่ผลิตโดยวิธีการหลอ เพื่อความสะดวกในการผลิตควรกําหนดขนาดดวยมาตรฐานใด
คําตอบ 1 : โมดุล
คําตอบ 2 : ไดอะมิทรัลพิตช
คําตอบ 3 : เซอรคิวลารพิตช
คําตอบ 4 : วงกลมพิตช

ขอที่ : 252
การกําหนดขนาดฟนเฟองที่ผลิตโดยวิธีการตัดปาดผิว (machining) เพื่อความสะดวกในการผลิตควรกําหนดขนาดดวยมาตรฐานใด
คําตอบ 1 : โมดุลพิตช 105 of 150
คําตอบ 2 : ไดอะมิทรัลพิตช
คําตอบ 3 : เซอรคิวลาพิตช
คําตอบ 4 : วงกลมพิตช

่ า ย
ขอที่ : 253


มุมกด (pressure angle) ของเฟองที่นิยมใชมีคากี่องศา


คําตอบ 1 : 22 องศา

จ ำ
คําตอบ 2 : 23 องศา


คําตอบ 3 : 24 องศา

า้
คําตอบ 4 : 25 องศา

ขอที่ : 254
ิธ์ ห
ิท
ขอใดกลาวถูกตอง


คําตอบ 1 : เฟองเฉียงและเฟองดอกจอกทํางานบนเพลาขนาน

ว น
คําตอบ 2 : จํานวนฟนบนเฟองใดๆ ตองเปนจํานวนเต็ม


คําตอบ 3 : ระบบเฟองขบภายใน ( Internal meshing ) เฟองขับและเฟองตามมีทิศทางการหมุนตรงขามกัน


คําตอบ 4 : เฟองขบกัน เฟองขับและเฟองตามตองมีโมดูลตางกัน

ขอ
กร
ขอที่ : 255


Train value (TV) หาไดจาก



คําตอบ 1 : TV = Input velocity ratio / Output velocity ratio

าว
คําตอบ 2 : TV = Input speed / Output speed


คําตอบ 3 : TV = ผลคูณของจํานวนฟนเฟองขับ / ผลคูณของจํานวนฟนเฟองตาม


คําตอบ 4 : TV = ผลคูณของจํานวนรอบเฟองตาม / ผลคูณของจํานวนรอบเฟองขับ

ขอที่ : 256
ใชสงถายการเคลื่อนที่ระหวางเพลาที่ไมขนานกัน (Nonparallel shafts) คือ
คําตอบ 1 : เฟองตรง
คําตอบ 2 : เฟองเฉียง
คําตอบ 3 : เฟองดอกจอก
คําตอบ 4 : ชุดเฟองหนอน
106 of 150

ขอที่ : 257
สงถายการเคลื่อนที่และกําลังระหวางเพลาที่ไมตัดกัน (Nonintersecting shafts) คือ
คําตอบ 1 : เฟองตรง
คําตอบ 2 : เฟองเฉียง
เฟองดอกจอก

่ า ย
คําตอบ 3 :


คําตอบ 4 : ชุดเฟองหนอน

ขอที่ : 258

จ ำ ห

ชุดกระบวนเฟองแบบไหนที่ใหอัตราทดสูง
ชุดเฟองตรง

า้
คําตอบ 1 :

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : ชุดเฟองเฉียง
คําตอบ 3 : ชุดเฟองดอกจอก

ิท
คําตอบ 4 : ชุดเฟองหนอน

นส

ขอที่ : 259


ในการออกแบบเฟองเฉียงผูออกแบบตองสนใจมุมอะไร
คําตอบ 1 : Helix angle

อ ส

คําตอบ 2 : Normal pressure angle

กร
คําตอบ 3 : Transverse pressure angle


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 260

าว ศ


จํานวนฟนตอนิ้วของเสนผาศูนยกลางพิตซคือ


คําตอบ 1 : Circular pitch
คําตอบ 2 : Diametral pitch
คําตอบ 3 : Pitch
คําตอบ 4 : Module

ขอที่ : 261
เฟองตรงในระบบเมตริกเรียกวา
คําตอบ 1 : Diametral pitch
คําตอบ 2 : Module 107 of 150
คําตอบ 3 : Module pitch
คําตอบ 4 : Diametral module

ขอที่ : 262

่ า ย
เฟองตรงมุมกด (Pressure angle) มีอิทธิพลตอ


คําตอบ 1 : ขนาดของวงกลมฐาน (Base circle)


คําตอบ 2 : ขนาดของวงกลมพิตซ (Pitch circle)
ขนาดของวงกลมแอดเดนดัม (Addendum circle)

จ ำ
คําตอบ 3 :


คําตอบ 4 : ผิดทุกขอ

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 263
ในระบบเฟองตรง เฟองขบกันคูหนึ่งกําลัง (Power) หาไดจาก

ิท
คําตอบ 1 : Power = Tangential force x Pitch line velocity


คําตอบ 2 : Power = Radial force x Pitch line velocity

ว น
คําตอบ 3 : Power = Normal force x Pitch line velocity


คําตอบ 4 : Power = force x Pitch line velocity

อ ส

ขอที่ : 264

กร
ในการผลิตเฟอง ฟนเฟองสําเร็จ (Finished) ดวยกระบวนการผลิตใด


คําตอบ 1 : กระบวนการ milling



คําตอบ 2 : กระบวนการ shaping

าว
คําตอบ 3 : กระบวนการ grinding


คําตอบ 4 : กระบวนการ hobbing

ขอที่ : 265

อะไรไมใชสาเหตุการไมไดศูนยของฟนเฟองบนเฟองขับเทียบกับเฟองตาม
คําตอบ 1 : เสนผาศูนยกลางเพลาใหญ (ความแข็งตึงสูง)
คําตอบ 2 : การบิดเบี้ยวเนื่องจากความรอนระหวางการทํางาน
คําตอบ 3 : ชองวางระหวางเพลากับเฟอง เพลากับแบริ่ง หรือแบริ่งกับตัวเรือน
คําตอบ 4 : การเปลี่ยนรูปชั่วคราวของเฟอง เพลา แบริ่ง ตัวเรือน และโครงสรางรองรับ
ขอที่ : 266 108 of 150

่ า ย
หน

ขอใดไมเหมาะกับ Spur Gear set
คําตอบ 1 : มีรูปฟนที่ขนานกับแกนเพลา

มจ
า้
คําตอบ 2 : ใชไดดีกับเพลาที่วางขนานกัน

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : เนื่องจากมีรูปทรงงายๆ จึงออกแบบงายแตมีตนทุนสูง
คําตอบ 4 : เกิดเสียงดังงายมักมาจากเกิดการผิดพลาด (Error) ของฟนเฟอง

ขอที่ : 267

ส ิท
ว น
ขอใดไมเหมาะสมกับ Helical Gear set

ส ง
ขอ
ว กร
าว ศ


คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
ภ มีฟนรูปทรงเฉียงทํามุมกับแกนเพลา
มีเสียงดังมาก
คําตอบ 3 : ใชไดกับแกนเพลาที่ขนานกันหรือไมก็ได
คําตอบ 4 : สงแรงลัพธ (Reaction) ไปตามแนว Axial load

ขอที่ : 268
ขอใดไมเหมาะสมกับ Bevel Gear set
109 of 150

่ า ย
หน
จ ำ

คําตอบ 1 : รูปทรงของฟนเฟองอยูบนผิวรูปทรงกรวย

า้
คําตอบ 2 : ใชไดกับเพลาที่ขนานกันเทานั้น

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : เมื่อใชกับที่ไมขนานกัน แกนเพลาขางหนึ่งจะวางแบบ Intersection
คําตอบ 4 : รูปทรงของฟนเฟองอาจเปนแบบตรง (Straight) หรือแบบเกลียว (Spiral)

ขอที่ : 269

ส ิท
ว น
ขอใดไมเหมาะสมกับ Worm Gear set

ส ง
ขอ
ว กร
าว ศ


คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
ภ มี Gear Ratio ที่ต่ํามากๆ (Out put หารดวย In put)
ปกติเฟอง Gear มักใชเปนตัวขับ (Input) และเฟอง Worm ใชเปนตัวตาม (Out put)
คําตอบ 3 : การเลื่อนตัว (Slide) ไดของ Worm-Gear ขณะหมุนทํางานเปนเหตุใหเกิดการสูญเสียเนื่องจากความฝด (Friction losses)
คําตอบ 4 : แกนเพลาไมขนานกัน และไม Intersection กัน

ขอที่ : 270
เมื่อ Gear Ratio ของชุดเกียรดังรูปคือ ใหพิจารณา Center Distance ที่ถูกตอง
110 of 150

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

ส ิท
ง ว น

คําตอบ 3 :

ขอ
คําตอบ 4 :

ว กร
าว ศ

ส ภ
ขอที่ : 271

ฟนเฟองถูกออกแบบมาเพื่อใหรักษาความเร็วใหคงที่ การออกแบบใหผิงฟนสัมผัสกันตลอดมีชื่อเรียกคือ
111 of 150

่ า ย
หน

คําตอบ 1 : Involute profile


คําตอบ 2 : Curve profile

า้ ม
คําตอบ 3 : Contour profile

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : Contact profile

ขอที่ : 272

ิท
ชองหางดังในรูปมีชื่อเรียกวาอะไร

นส
ง ว
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : Air gab
คําตอบ 2 : Tolerance
คําตอบ 3 : Tolerance
คําตอบ 4 : Space
ขอที่ : 273 112 of 150
ให Gear Ratio ของชุดเกียรดังรูปคือ ใหพิจารณา Cd(Center Distance)

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :

ส ิท
ง ว น

คําตอบ 2 :

ขอ
ว กร
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

าว ศ

ขอที่ : 274 ส ภ

ใหพิจารณาเลือก Gear Ratiio ที่เหมาะสมกับชุดเฟองดังรูป


113 of 150

่ า ย

คําตอบ 1 :

จ ำ ห
คําตอบ 2 :

า้ ม
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 3 :

นส
คําตอบ 4 :

ง ว
อ ส
ขอที่ : 275

กร ข

การออกแบบการสงกําลังของคลัตชแผน (disc clutches) มักใชสมมติฐานอะไร



คําตอบ 1 : แรงกดสม่ําเสมอ

าว
คําตอบ 2 : การสึกหรอสม่ําเสมอ


คําตอบ 3 : ความดันสม่ําเสมอ


คําตอบ 4 : สงแรงสม่ําเสมอ

ขอที่ : 276
จุดออนของคลัตชแผน (disc clutches) คืออะไร
คําตอบ 1 : เกิดการสลิประหวางผิวหนาแผนคลัตช
คําตอบ 2 : รับแรงกระแทกระหวางผิวหนาแผนคลัตช
คําตอบ 3 : ใชความเสียดทานระหวางผิวหนาแผนคลัตช
คําตอบ 4 : เกิดความรอนระหวางผิวหนาแผนคลัตช
114 of 150

ขอที่ : 277
คําตอบขอใดที่ไมใชวัตถุประสงคของการตอเพลาเขาดวยกันโดยใชคัปปลิง
คําตอบ 1 : ใชตอเพลาของอุปกรณที่ผลิตแยกกัน
คําตอบ 2 : สงกําลังโดยใชความเสียดทานระหวางผิวสัมผัส
ชวยปองกันการโอเวอรโหลด

่ า ย
คําตอบ 3 :


คําตอบ 4 : ชวยลดการสั่นสะเทือน

ขอที่ : 278

จ ำ ห

ขอคิดสําคัญในการเลือกเบรกคืออะไร
ความสามารถในการรับทอรค

า้
คําตอบ 1 :

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : ความสามารถในการดูดซึมพลังงานจลน
คําตอบ 3 : ความสามารถในการรับและระบายความรอน

ิท
คําตอบ 4 : ความสามารถในการเบรก

นส

ขอที่ : 279


กลอุปกรณ (Devices) ชนิดใดที่ทําหนาที่ตัด-ตอการสงกําลังของเพลาสองเพลา
คําตอบ 1 : Brakes

อ ส

คําตอบ 2 : Clutches

กร
คําตอบ 3 : Couplings


คําตอบ 4 : Keys และ Pins

ขอที่ : 280

าว ศ

ส ภ
จงพิจารณาสูตรหา Module ของเฟอง
115 of 150

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :

ส ิท

คําตอบ 2 :

ง ว
อ ส

คําตอบ 3 :

ว กร
คําตอบ 4 :

าว ศ

ขอที่ : 281
ส ภ
Clutches ชนิดไหนที่นําไปใชสําหรับกลไกความเร็วต่ํา
คําตอบ 1 : Fluid clutches
คําตอบ 2 : Electric clutches
คําตอบ 3 : Jaw clutches
คําตอบ 4 : Plate clutches
ขอที่ : 282 116 of 150
คลัปปลิงแบบหนาแปลน (Flanged coupling) มีวงกลมโบลท (Bolt circle) ขนาด เสนผานศูนยกลางเทากับ 4 นิ้ว ออกแบบใหใช Bolts ขนาดเสนผานศูนยกลาง 1/4 นิ้ว
ถา Bolt รับแรงบิดเทากับ 5000 ปอนด-นิ้ว และความเคนเฉือนอนุญาต (Allowable shear stress) เทากับ 10,000 ปอนดตอตารางนิ้ว จงคํานวณหาวาคลัปปลิงนี้ตองใช
Bolts (N) กี่ตัว? กําหนดให T = FrN
คําตอบ 1 : 4 ตัว


คําตอบ 2 : 5 ตัว

่ า
คําตอบ 3 : 6 ตัว


คําตอบ 4 : 7 ตัว

ขอที่ : 283

จ ำ ห
า้ ม
ใหพิจารณาเลือก Gear Ratio ที่เหมาะสมกับชุดเฟอง N51 ดังในรูป

ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 :


คําตอบ 2 : ภ
คําตอบ 3 :
117 of 150
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 284

่ า ย
ขอไหนคือความมุงหมายที่สําคัญในการนําสปริงไปใชงาน


คําตอบ 1 : ควบคุมการเคลื่อนที่ในเครื่องจักร


คําตอบ 2 : วัดแรงบิด

จ ำ
คําตอบ 3 : เก็บกําลัง


คําตอบ 4 : ประกอบกับชิ้นสวนเครื่องจักรกล

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 285
จากชุดเฟองทดดังรูปนี้ใหหาความเร็วรอบของเฟอง E โดยกําหนดสมการใหดังนี้

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
-166.7
-176.6
-107.6
คําตอบ 4 : -100.6

ขอที่ : 286
รัศมีความเสียดทาน (friction radius) หมายถึงรัศมีในขอใด
คําตอบ 1 : รัศมีเฉลี่ยของวัสดุความเสียดทาน
คําตอบ 2 : รัศมีเฉลี่ยของแผนคลัตช 118 of 150
คําตอบ 3 : รัศมีที่แรงเสียดทานกระทํา
คําตอบ 4 : รัศมีที่ใชหาแรงเสียดทาน

ขอที่ : 287

่ า ย
เมื่อตองการใหคลัตชแผนสงกําลังไดมากขึ้น ในทางปฏิบัติสามารถทําไดอยางไร


คําตอบ 1 : เพิ่มจํานวนชุดของคลัตช


คําตอบ 2 : เพิ่มขนาดแผนคลัตช

จ ำ
คําตอบ 3 : เพิ่มพื้นที่แผนคลัตช


คําตอบ 4 : เพิ่มจํานวนแผนคลัตช

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 288
การถายทอดกําลังโดยใชเฟองตรงประกอบไปดวยพิเนียน (Pinion) ทําจากเหล็กหลอ ASTM 50 ขับกับเฟอง (Gear) ทําจากบรอนซ SAE 65 ดวยอัตราทด 3.5 เฟองเปน

ิท
ระบบ 14.5๐ เพื่อใชถายทอดกําลัง 4500 W ดวยความเร็วรอบของพีเนียน 1800 rpm โดยเฟองอันเล็กมีจํานวนฟนไมนอยกวา 16 ฟน ในการคํานวณออกแบบโดยใชสม


การของลูอิส (Lewis Equation) สมการของแรงดัด (Bending Force) , Fb และสมการของแรงพลวัต (Dynamic Load) , Fd มีดังตอไปนี้

ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
โดย m = Module

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
ส ภ
จงหาขนาดที่เล็กที่สุดของเฟองคูนี้
m
m
=
=
2
3
mm
mm
คําตอบ 3 : m = 4 mm
คําตอบ 4 : m = 5 mm

ขอที่ : 289
คลัทชลิ่ม (cone clutch) ที่มีขนาดเสนผานศูนยกลางภายนอกเทากับคลัทชแผน มีขอไดเปรียบคลัทชแผนอยางไร
คําตอบ 1 : มีมุมลิ่มชวยในการสงกําลัง 119 of 150
คําตอบ 2 : มีพื้นที่สัมผัสมากกวา
คําตอบ 3 : มีคุณสมบัติของลิ่ม
คําตอบ 4 : สงกําลังไดมากกวา

่ า ย
ขอที่ : 290


การถายทอดกําลังโดยใชเฟองตรงประกอบไปดวยพิเนียน (Pinion) มีจํานวนฟนเทากับ 15 ฟน ขับกับเฟอง (Gear) ซึ่งมีจํานวนฟนเทากับ 45 ฟน พิเนียน และเฟองมีคา


Modulem, m = 8 mm และเปนระบบ 14.5๐ FD จงหาขนาดของวงกลมพิตชของ พิเนียน และเฟอง (Pitch Diameters), d1 และ d2 = 120 mm และ ระยะระหวางจุด

จ ำ
ศูนยกลางของเพลา (Center Distance),C


คําตอบ 1 : d1 = 360 mm, d2 = 120 mm และ C = 240 mm

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 2 : d1 = 140 mm, d2 = 360 mm และ C = 250 mm
คําตอบ 3 : d1 = 120 mm, d2 = 360 mm และ C = 240 mm
d1 = 360 mm, d2 = 140 mm และ C = 250 mm

ิท
คําตอบ 4 :

นส

ขอที่ : 291


ชิ้นสวนใดที่สามารถสงถาย input torque ได 100 %


คําตอบ 1 : Toothed Belts หรือ Timing Belts
คําตอบ 2 : Roller Chains

ขอ
กร
คําตอบ 3 : Inverted –Tooth Chains


คําตอบ 4 : Fluid Coupling

ขอที่ : 292

าว ศ


ขอใดกลาวไมถูกตอง


คําตอบ 1 : เบรกทําหนาที่คลายกับคลัทช
คําตอบ 2 : หนาที่พื้นฐานของเบรกคือดูดซับพลังงาน
คําตอบ 3 : เปลี่ยนพลังงานจลนและพลังงานศักยเปนความรอนเนื่องจากความเสียดทาน
คําตอบ 4 : คลัทชมีทั้งแบบเปยกและแบบแหง

ขอที่ : 293
พารามิเตอรขอใดที่ไมมีอิทธิพลตอการกําหนดความสามารถของคลัทชและเบรก
คําตอบ 1 : ความเฉื่อยของชิ้นสวนหมุนหรือเคลื่อนที่
คําตอบ 2 : อายุและความเชื่อถือไดของระบบ 120 of 150
คําตอบ 3 : สภาพแวดลอมของระบบ
คําตอบ 4 : ไมมีคําตอบ

ขอที่ : 294

่ า ย
สปริงขดแบบรับแรงกด (Helical Coil Spring) ดังแสดงในรูปทําจากวัสดุ Hard Drawn Wire (ASTM A229) (E = 200 kN/mm2 และ G = 80 kN/mm2) ถากําหนดให


สปริงมีปลายเปนแบบปลายธรรมดา (Plain Ends) จงหาความแข็งตึงของสปริง (Spring Stiffness, k)

จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 0.125 N/mm

ส ิท
ว น
คําตอบ 2 : 0.855 N/mm


คําตอบ 3 : 0.974 N/mm


คําตอบ 4 : 1.21 N/mm

ขอ
กร
ขอที่ : 295


ขอความใดไมถูกตอง



การปองกันไมใหเกิดการขัดกันของเฟอง (Interference) สามารถดําเนินการไดโดยการ ตัดเนื้อโลหะที่อยูต่ํากวาวงกลมฐาน (Base Circle) ออกบาง

าว
คําตอบ 1 :
(Undercut) แตจะมีขอเสีย คือทําใหอัตราทดลดลงและทําใหเฟองบอบบางลง


การปองกันไมใหเกิดการขัดกันของเฟอง (Interference) สามารถดําเนินการไดโดยการ ตัดปลายฟนใหสั้น (Stub Teeth) ลง แตจะทําใหอัตราสวนการขบ
คําตอบ 2 :


กันของฟนเฟอง (Contact Ratio) ลดลง
การปองกันไมใหเกิดการขัดกันของเฟอง (Interference) สามารถดําเนินการไดโดยการ เพิ่มมุมกด (Pressure Angle) ของเฟองซึ่งจะทําใหขนาดของวง
คําตอบ 3 :
กลมฐานลดลง แตจะทํา ใหแรงปฏิกิริยาแนวรัศมีของเฟองเพิ่มขึ้น และมีความราบเรียบลดลง
คําตอบ 4 : เฟองตรง (Involute Spur Gear) สามารถใชในการการถายทอดกําลังไดทั้งเพลาที่ขนาน กัน และไมขนานกัน

ขอที่ : 296
ขอความใดไมถูกตอง
คําตอบ 1 : เฟองเฉียง (Helical Gear) สามารถใชในการการถายทอดกําลังไดทั้งเพลาที่ขนานกัน และไมขนานกัน
เฟองเฉียง (Helical Gear) สามารถใชในการการถายทอดกําลังไดมากกวาเฟองตรง (Involute Spur Gear) และมีเสียงในการทํางานนอยกวา เหมาะสําหรับ
คําตอบ 2 :
การใชงานที่ ความเร็วสูง 121 of 150
คําตอบ 3 : เฟองดอกจอกฟนตรง (Straight Bevel Gear) สามารถใชในการการถายทอดกําลังไดทั้ง เพลาที่ขนานกัน และไมขนานกัน
แรงที่กระทําบนเฟองเฉียงสามารถแยกไดออกเปน 3 แรงยอย ๆ คือ 1) แรงที่กระทําใน แนวรัศมีของเฟอง 2) แรงที่กระทําในแนวสัมผัสกับวงกลมพิตช และ
คําตอบ 4 :
3) แรงที่กระทํา ในแนวแกนหมุน


ขอที่ : 297

่ า
ในการออกแบบเฟอง สภาวะแรงในขอใดที่ไมไดใชในการคํานวณ
คําตอบ 1 : Static Force in Bending

หน

คําตอบ 2 : Dynamic Load


คําตอบ 3 : Wear (pitting) Force
คําตอบ 4 : Torsional Force

า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 298
บนฟนเฟอง สวนโคงที่เชื่อม หนาซี่เฟองกับ ฐานของชองวางระหวางฟน เรียกวาอะไร
คําตอบ 1 : โมดุล (Module)

ส ิท

คําตอบ 2 : ฟลเลต (Fillet)

ง ว
คําตอบ 3 : เซอคิวลาพิตซ (Circular pitch)


คําตอบ 4 : แบ็ตแลช (Backlash)

ขอ
กร
ขอที่ : 299


ิ ว
ภ าว

122 of 150

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 :
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 2 :

ง ว น
คําตอบ 3 :

อ ส
กร ข

คําตอบ 4 :

าว ศ


ขอที่ : 300


บนฟนเฟอง ผลตางระหวางความกวางของชองวางระหวางฟน เรียกวาอะไร
คําตอบ 1 : โมดุล (Module)
คําตอบ 2 : ฟลเลต (Fillet)
คําตอบ 3 : เซอคิวลาพิตซ (Circular pitch)
คําตอบ 4 : แบ็ตแลช (Backlash)

ขอที่ : 301
สปริงขดทําดวย ลวดมีเสนผาศูนยกลาง 1 นิ้ว มีขนาดเสนผาศูนยกลางเฉลี่ยของขด 4 นิ้ว รับแรงกด 2000 lb ถาคา Wahl factor เปน 1.4 ความเคนเฉือนสูงสุดในสปริงคือ
คําตอบ 1 : 28,500 lb/in2 123 of 150

คําตอบ 2 : 25,800 lb/in2


คําตอบ 3 : 26,500 lb/in2
คําตอบ 4 : 23,500 lb/in2

่ า ย

ขอที่ : 302


สปริงขดแบบรับแรงกดตองยุบตัว 5 นิ้ว เมื่อรับแรงกด 50 Ib ถาคุณสมบัติของวัสดุ G = 12 x 106 Ib/in2 , τmax = 80,000 Ib/in2 , ดัชนีสปริง C = 8 , Wahl factor =


1.18 เสนผาศูนยกลางของลวดคือ
คําตอบ 1 : 0.1226 in

มจ
า้
คําตอบ 2 : 0.1566 in

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : 0.1488 in
คําตอบ 4 : 0.1376 in

ขอที่ : 303

ส ิท
ว น
สปริงขดรับแรงดึงตองยืด 100 mm เมื่อรับแรง 50 kg คุณสมบัติของวัสดุ G = 83 GPa ,tmax = 500 MPa ดัชนีสปริง C = 8 , Wahl factor = 1.18 ขนาดเสนผานศูนย


กลางของลวดคือ


คําตอบ 1 : 3.28 mm
คําตอบ 2 : 4.86 mm

ขอ
กร
คําตอบ 3 : 5.12 mm


คําตอบ 4 : 5.85 mm

ขอที่ : 304

าว ศ


สปริงขดรับแรงดึงตองยืด 100 mm เมื่อรับแรง 50 kg ทําจากวัสดุที่มีคุณสมบัติของวัสดุ G=83 GPa,τmax = 500 MPa ดัชนีสปริง C = 8 , Wahl factor = 1.18 ถาใชลวด


ขนาดเสนผานศูนยกลาง 5.0 mm จํานวนขดสปริงคือ

คําตอบ 1 : 20.7 ขด
คําตอบ 2 : 21.1 ขด
คําตอบ 3 : 19.8 ขด
คําตอบ 4 : 21.5 ขด
ขอที่ : 305
บนฟนเฟอง ระยะที่วัดบนวงกลมพิทซ จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง ณ ตําแหนงเดียวกันบนฟน ถัดไป มีชื่อเรียกวาอะไร 124 of 150
คําตอบ 1 : โมดุล (Module)
คําตอบ 2 : ฟลเลต (Fillet)
คําตอบ 3 : เซอคิวลาพิตซ (Circular pitch)
คําตอบ 4 : แบ็ตแลช (Backlash)

่ า ย

ขอที่ : 306


สปริงขดแบบรับแรงกด (Helical Coil Spring) ดังแสดงในรูปทําจากวัสดุ Hard Drawn Wire (ASTM A227) (E = 200 kN/mm2 และ G = 80 kN/mm2) กําหนดใหสปริง


มีปลายเปนแบบปลายธรรมดา (Plain Ends) ถามีแรงกดในแนวแกนเทากับ 200 N กระทํากับสปริงขดแบบรับแรงกดตัวนี้ จงหาระยะยุบตัวของสปริง

มจ
า้
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 : 99 mm

ง ว น

คําตอบ 2 : 120 mm
คําตอบ 3 : 171 mm

ขอ
กร
คําตอบ 4 : 178 mm

ขอที่ : 307


ิ ว
าว
เมื่อฟนเฟองหมุนมาขบกันระหวางการสงกําลังจุดสัมผัสระหวางฟนเฟองทั้งสอง เคลื่อนที่ในทิศทางใด เมื่อเปรียบเทียบกับหนาของซี่เฟองของเพลาขับ


คําตอบ 1 : แอคเดนดัม - จุดพิตซ


คําตอบ 2 : จุดพิตซ – ดีเดนดัม
คําตอบ 3 : แอคเดนดัม- ดีเดนดัม
คําตอบ 4 : ดีเดนดัม - แอคเดนดัม

ขอที่ : 308
ชุดเฟองชุดใดที่ไมสามารถปรับเปลี่ยนทิศทางการหมุนยอนกลับได
คําตอบ 1 : เฟองตรง
คําตอบ 2 : เฟองเฉียง
คําตอบ 3 : เฟองดอกจอก 125 of 150
คําตอบ 4 : เฟองหนอน

ขอที่ : 309
ชุดเฟองชนิดใดที่ไมสามารถใชสงกําลังไปยังเหลาที่ตั้งฉากกับเพลาขับได


คําตอบ 1 : เฟองตรง

น่ า
คําตอบ 2 : เฟองเฉียง


คําตอบ 3 : เฟองดอกจอก


คําตอบ 4 : เฟองหนอน

มจ
า้
ขอที่ : 310

ิธ์ ห
เบรกกามปูแบบสั้น (Short-shoe Drum Brake) ดังแสดงในรูป มีดรัม (Drum) ขนาดเสนผานศูนยกลางเทากับ 300 mm ที่ปลายคันเบรกแตละขางมีแรงกระทําโดยแรง F

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข
= 6 kN ถากําหนดใหสัมประสิทธิของความเสียดทานเบรกและดรัม, μ = 0.3


คําตอบ 1 : ขางซายเกิด Self-energizi
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :

าว ศ

ขางซายและขางขวาเกิด Self-energizing
ขางขวาเกิด Self-energizing


ขางซายและขางขวาไมเกิด Self-energizing


คําตอบ 4 :

ขอที่ : 311
ในการคํานวณการออกแบบความแข็งแรงของฟนใน เฟองตรงจากการใชสมการของ ลูอิส(Lewis) มีการตั้งสมมติฐาน ใหฟนเฟองมีลักษณะเปน
คําตอบ 1 : เสา
คําตอบ 2 : คานธรรมดา
คําตอบ 3 : คานยื่น
คําตอบ 4 : เพลา
ขอที่ : 312 126 of 150

เฟองคูหนึ่งมีโมดูล 12 mm ประกอบดวยเฟองซึ่งมี 16 ฟน ขับเฟองซึ่งมีฟน 40 ฟน ฟนเฟอง เปนระบบ 20 FD ระยะหางระหวางจุดศูนยกลางของเฟองคือ
คําตอบ 1 : 336 mm
คําตอบ 2 : 672 mm
คําตอบ 3 : 640 mm


คําตอบ 4 : 192 mm

น่ า

ขอที่ : 313


เบรกกามปูแบบสั้น (Short-shoe Drum Brake) ดังแสดงในรูป มีดรัม (Drum) ขนาดเสนผานศูนยกลางเทากับ 300 mm ที่ปลายคันเบรกมีแรง F กระทําโดยแรง F = 6 kN


ถากําหนดใหสัมประสิทธิ์ของความเสียดทานเบรกและดรัม, μ = 0.3

า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว
คําตอบ 1 :
ส จงตรวจสอบวาเบรกจะเกิด Self- energizing
เกิด Self-energizing ในทิศทางที่ดรัมหมุนอยูในรูป
คําตอบ 2 : ไมเกิด Self-energizing ในทิศทางที่ดรัมหมุนอยูในรูป
คําตอบ 3 : เกิด Self-energizing ในทิศทางที่ดรัมหมุนอยูในรูป และทิศทางตรงขาม
คําตอบ 4 : ไมเกิด Self-energizing ในทิศทางที่ดรัมหมุนอยูในรูป และทิศทางตรงขาม
ขอที่ : 314
เฟองอันหนึ่งมี 45 ฟน โมดุล 8 mm และมุมกด 127 of 150

FD ขับโดย พิเนี่ยน ที่ทําใหมีอัตราทด 3 ขนาดของวงกลมฐานของเฟองคือ


คําตอบ 1 : 360 mm


คําตอบ 2 : 135 mm

่ า
คําตอบ 3 : 380 mm


คําตอบ 4 : 140 mm

ขอที่ : 315

จ ำ ห

เบรกแผนคาด (Differential Band Brake) มีแรง P กระทําบนคันเบรคดังแสดงในรูป จงพิจารณาวาระบบเบรกนี้จะเริ่มเกิด Self Locking เมื่อใด

า้
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
คําตอบ 1 :

ภ าว
คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :
ขอที่ : 316
ขอความใดไมถูกตอง 128 of 150
การปองกันไมใหเกิดการขัดกันของเฟอง (Interference) สามารถดําเนินการไดโดยการ ตัดเนื้อโลหะที่อยูต่ํากวาวงกลมฐาน (Base Circle) ออกบาง
คําตอบ 1 :
(Undercut) แตจะมีขอเสีย คือทําใหอัตราทดลดลงและทําใหเฟองบอบบางลง
การปองกันไมใหเกิดการขัดกันของเฟอง (Interference) สามารถดําเนินการไดโดยการ ตัดปลายฟนใหสั้น (Stub Teeth) ลง แตจะทําใหอัตราสวนการขบ
คําตอบ 2 :
กันของฟนเฟอง (Contact Ratio) ลดลง


การปองกันไมใหเกิดการขัดกันของเฟอง (Interference) สามารถดําเนินการไดโดยการ ลดมุมกด (Pressure Angle) ของเฟองซึ่งจะทําใหขนาดของวงกลม
คําตอบ 3 :

่ า
ฐานเพิ่มขึ้น แตจะทํา ใหแรงปฏิกิริยาของเฟองเพิ่มขึ้น


คําตอบ 4 : เฟองตรง (Involute Spur Gear) สามารถใชในการการถายทอดกําลังระหวางเพลาที่ ขนานกัน

ขอที่ : 317

จ ำ ห

เบรกกามปูแบบสั้น (Short-shoe Drum Brake) ดังแสดงในรูป มีดรัม (Drum) ขนาดเสนผานศูนยกลางเทากับ 300 mm ที่ปลายคันเบรกแตละขางมีแรงกระทําโดยแรง F

า้
= 6 kN ถากําหนดใหสัมประสิทธิ์ของความเสียดทานของเบรกและดรัม, μ = 0.3

ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : ขางซายเกิด Self-energizing ในทิศทางที่ดรัมหมุนอยูในรูป
คําตอบ 2 : ขางซายและขางขวาเกิด Self-energizing ในทิศทางที่ดรัมหมุนอยูในรูป
คําตอบ 3 : ขางขวาเกิด Self-energizing ในทิศทางที่ดรัมหมุนอยูในรูป
คําตอบ 4 : ขางซายและขางขวาไมเกิด Self-energizing ในทิศทางที่ดรัมหมุนอยูในรูป

ขอที่ : 318
ขอความใดไมถูกตอง
คําตอบ 1 : เฟองเฉียง (Helical Gear) สามารถใชในการการถายทอดกําลังระหวางเพลาที่ขนานกัน เทานั้น
เฟองเฉียง (Helical Gear) สามารถใชในการการถายทอดกําลังไดมากกวาเฟองตรง (Involute Spur Gear) และมีเสียงในการทํางานนอยกว า 150
129 of เหมาะสําหรับ
คําตอบ 2 :
การใชงานที่ ความเร็วสูง
คําตอบ 3 : เฟองดอกจอกฟนตรง (Straight Bevel Gear) สามารถใชในการการถายทอดกําลังไดทั้ง เพลาที่ทํามุมตอกัน และ/หรือไมขนานกัน
แรงที่กระทําบนเฟองเฉียง (Helical Gear) สามารถแยกไดออกเปน 3 แรงยอย ๆ คือ 1) แรงที่กระทําในแนวรัศมีของเฟอง 2) แรงที่กระทําในแนวสัมผัสกับวง
คําตอบ 4 :
กลมพิตช และ 3) แรงที่กระทําในแนวแกนหมุน

ขอที่ :

่ า ย

319
การถายทอดกําลังโดยใชเฟองตรงคูหนึ่งในระบบ 20 องศา FD ประกอบไปดวยพิเนียม (Pinion) ขับกับเฟอง (Gear) ดวยอัตราทด 5.2 : 1 เพื่อใชถายทอดกําลัง 32.52 kW ดวยความเร็ว

ำ ห
รอบของพีเนียน 1125 rpm โดยเฟองอันเล็กมีจํานวนฟนไมนอยกวา 10 ฟน และกําหนดใหเฟองทั้งคูทํามาจาก เหล็กกลาผสม SAE 2320 Case Hardened และ WQT

ในการคํานวณออกแบบโดยใชสมการของลูอิส (Lewis Equation) สมการของแรงดัด (Bending Force), F

มจ
และสมการของแรงพลวัต (Dynamic Load), F มีดังตอไปนี้

า้
b d

ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น

จงหาขนาดที่เล็กที่สุดของเฟองคูนี้

ขอ
คําตอบ 1 : m = 4 mm

กร
คําตอบ 2 : m = 53 mm
คําตอบ 3 :


m = 6 mm
คําตอบ 4 :



m = 8 mm

ภ าว
ขอที่ : 320


การถายทอดกําลังโดยใชเฟองตรงคูหนึ่งในระบบ 20 องศา FD ประกอบไปดวยพิเนียน (Pinion) ขับกับเฟอง (Gear) ดวยอัตราทด 1.5 : 1 เพื่อใชถายทอดกําลัง 55 kW ดวยความเร็วรอบ
ของพิเนียน 1750 rpm โดยเฟองอันเล็กมีจํานวนฟนไมนอยกวา 18 ฟน และกําหนดใหเฟองทั้งคูทํามาจากเหล็กกลาผสม SAE 3115 Case Hardened และ OQT

ในการคํานวณออกแบบโดยใชสมการของลูอิส (Lewis Equation) สมการของแรงตัด (Bending Force),F และสมการของแรงพลวัต (Dynamic Load), F มีดังตอไปนี้
b d
130 of 150

จงหาขนาดที่เล็กที่สุดของเฟองคูนี้


คําตอบ 1 :

่ า
m = 4 mm


คําตอบ 2 : m = 53 mm


คําตอบ 3 : m = 6 mm


คําตอบ 4 : m = 8 mm

มจ
า้
ขอที่ : 321

ิธ์ ห
คลัทชรถยนตมีพื้นที่สัมผัสสองหนา (คลัทชแหง) ตองการสงกําลังไมเกิน 30 kW ที่ความเร็วรอบ 200 rpm. กําหนดให ro / ri = 3 , f = 0.3 และความดันสูงสุดที่สปริง
แผนคลัทช กดแผนคลัทชไมเกิน 0.3 MPa จงคํานวณหาขนาดของแผนคลัทช โดยใชสมการทฤษฎีการสึกหรอสม่ําเสมอ

ิท
กําหนดให

นส
และ T = πfr1 (r02 – r12) P max

ง ว
อ ส
คําตอบ 1 :

กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 : ส ภ
ขอที่ : 322
สมการของพีทรอฟ (Petroff) มีสมมติฐานอยางไร
คําตอบ 1 : เจอรนัลไมสัมผัสแบริ่ง
คําตอบ 2 : เจอรนัลหมุนดวยความเร็วสูง
คําตอบ 3 : เจอรนัลหมุนอยูตรงกลางแบริ่ง 131 of 150
คําตอบ 4 : เจอรนัลไมมีความเสียดทานในแบริ่ง

ขอที่ : 323
ผิวโคงบนหนาลอสายพานทําไวเพื่ออะไร
เพิ่มความเสียดทานระหวางสายพานกับลอสายพาน

่ า ย
คําตอบ 1 :


คําตอบ 2 : เพิ่มแรงดึงในสายพาน


คําตอบ 3 : ลดความสึกหรอของสายพาน

จ ำ
คําตอบ 4 : ควบคุมการเคลื่อนที่ของสายพาน

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
324
การพรีโหลด (preload) แบริ่ง มีวัตถุประสงคสําคัญอยางไร
คําตอบ 1 : เพิ่มความแมนยําในการประกอบ

ิท
คําตอบ 2 : เพิ่มความสามารถรับแรงภายนอก


คําตอบ 3 : เพิ่มความแข็งเกร็ง (rigidity) ใหกับเพลา

ว น
คําตอบ 4 : รักษาตําแหนงของชิ้นสวน

ส ง

ขอที่ : 325


ความหนานอยที่สุดของฟลมน้ํามันในการใชงานเจอรนัลแบริ่งขึ้นอยูกับอะไร

กร
คําตอบ 1 : ขนาดและความยาวของเจอรนัลและแบริ่ง


คําตอบ 2 : วัสดุของเจอรนัลและแบริ่ง



คําตอบ 3 : ความหยาบของผิวหนาเจอรนัลและแบริ่ง

าว
คําตอบ 4 : เคลียแร็นซระหวางเจอรนัลและแบริ่ง

ขอที่ : 326

ส ภ
ขอใดกลาวไมถูกตองเกี่ยวกับสปริง
คําตอบ 1 : เปนวัสดุที่มีความยืดหยุนมากกวา
คําตอบ 2 : ทํามาจากโลหะ และอโลหะ
คําตอบ 3 : ใชเปนแหลงพลังงานใหกับกลไกในเครื่องจักร
คําตอบ 4 : ใชสงถายกําลังจากชิ้นสวนหนึ่งไปยังอีกชิ้นสวนหนึ่ง
ขอที่ : 327
การหลอลื่นในเจอรนัลแบริ่ง (journal bearing) ที่ทํางานตามปกติ เปนการหลอลื่นชนิดใด 132 of 150
คําตอบ 1 : การหลอลื่นแบบไฮโดรไดนามิก (hydrodynamic lubrication)
คําตอบ 2 : การหลอลื่นแบบไฮโดรสแตติก (hydrostatic lubrication)
คําตอบ 3 : การหลอลื่นแบบอิลาสโตไฮโดรไดนมิก (elastohydrodynamic lubrication)
คําตอบ 4 : การหลอลื่นแบบเบาวนดะรี่ (boundary lubrication)

่ า ย

ขอที่ : 328


ลอสายพานที่สามารถใชงานที่ความเร็วขอบสูงสุดควรทําดวยวัสดุชนิดใด

จ ำ
คําตอบ 1 : ไฟเบอร


คําตอบ 2 : ไม

า้
คําตอบ 3 : เหล็กหลอ

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : เหล็กกลาขึ้นรูป

ิท
ขอที่ : 329


เมื่อแบริ่งตองทํางานที่อุณหภูมิสูงเปนพิเศษ การหลอลื่นควรจะเปนชนิดใด

ว น
คําตอบ 1 : Hydrodynamic lubrication


คําตอบ 2 : Hydrostatic lubrication


คําตอบ 3 : Boundary lubrication


คําตอบ 4 : Solid-film lubrication

กร ข

ขอที่ : 330



พารามิเตอรที่สําคัญในการหลอลื่นของ Petroff’s equation คือ

าว
คําตอบ 1 : ? n/P และ R/c


คําตอบ 2 : ? P/n และ R/c


คําตอบ 3 : n/P และ ? R/c
คําตอบ 4 : n/P และ ? c/R

ขอที่ : 331
การสลิป (slip) ของสายพานคืออะไร
คําตอบ 1 : การเปลี่ยนแปลงแรงดึงในสายพาน
คําตอบ 2 : การเปลี่ยนแปลงความยาวบนลอสายพาน
คําตอบ 3 : การเปลี่ยนแปลงความเร็วบนลอสายพาน
คําตอบ 4 : การเปลี่ยนแปลงความเร็วในสายพาน 133 of 150

ขอที่ : 332
ในการออกแบบ Sliding bearing ผูออกแบบสามารควบคุมตัวแปรอะไร
คําตอบ 1 : สัมประสิทธิ์ความเสียดทาน
อัตราการไหลของน้ํามันหลอลื่น

่ า ย
คําตอบ 2 :


คําตอบ 3 : ความหนานอยสุดของฟลมน้ํามันหลอลื่น


คําตอบ 4 : ความหนืดสัมบูรณ

จ ำ

ขอที่ : 333

า้
การขับดวยโซมีขอเสียอยางไร

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ความเร็วไมสม่ําเสมอ
คําตอบ 2 : ติดตั้งยากกวาสายพาน

ิท
คําตอบ 3 : เฟองโซตองมีขนาดใหญกวาลอสายพานที่มีอัตราทดเทากัน


คําตอบ 4 : ไมมีความออนตัวในการสงกําลัง

ขอที่ :

ง ว น

334
ถาตองการใหแบริ่งรับ radial loads หรือ thrust loads หรือทั้งสองอยาง ทานจะใชแบริ่งชนิดใด
คําตอบ 1 : Ball bearing

ขอ
กร
คําตอบ 2 : Straight roller bearing


คําตอบ 3 : Needle bearing



คําตอบ 4 : Tapered roller bearing

ขอที่ : 335

ภ าว

เฟองโซ (Sprocket) ควรมีจํานวนฟน (teeth) นอยสุดกี่ฟน
คําตอบ 1 : 15 ฟน
คําตอบ 2 : 16 ฟน
คําตอบ 3 : 17 ฟน
คําตอบ 4 : 18 ฟน

ขอที่ : 336
ขอไหนเปนชนิดของ Sliding bearing หรือ Plain bearing
คําตอบ 1 : Journal bearing กับ Sleeve bearing 134 of 150
คําตอบ 2 : Journal bearing กับ Thrust bearing
คําตอบ 3 : Journal bearing กับ Rolling- element bearing
คําตอบ 4 : Journal bearing

่ า ย
ขอที่ : 337


ขอไหนเปนขอดีของสายพาน (Belts) ที่มีเหนือเฟอง (Gears) และโซ (Chains)


คําตอบ 1 : มีอัตราสวนความเร็ว (Speed ratio) ที่แนนอน

จ ำ
คําตอบ 2 : สามารถทํางานที่ความเร็วสูง


คําตอบ 3 : สามารถสงถายกําลังไดมากกวา

า้
คําตอบ 4 : มีความคลองตัวในการตอกับเพลา

ขอที่ : 338
ิธ์ ห
ิท
ระบบขับสายพานแบบ Open-belt drive ประกอบดวยพุลเลยขนาดเสนผานนศูนยกลาง 4 นิ้วและ 8 นิ้ว ตามลําดับ โดยพุลเลยตัวเล็กเปนตัวขับและหมุนดวยความเร็ว 500


รอบตอนาที จงคํานวณ หาความเร็วรอบของพุลเลยตัวใหญ กําหนดใหมีการสูญเสียความเร็วระหวางการสงเทากับ 3 %


คําตอบ 1 : 243 รอบตอนาที
คําตอบ 2 : 250 รอบตอนาที

ง ว

คําตอบ 3 : 970 รอบตอนาที


คําตอบ 4 : 1000 รอบตอนาท

กร ข

ขอที่ : 339

าว ศ

ส ภ
จงหา Power loss (f) กําหนดให และ Power loss = 2 .f.F.R.n
135 of 150

่ า ย
คําตอบ 1 :

หน

106 W


คําตอบ 2 : 116 W


คําตอบ 3 : 206 W

า้
คําตอบ 4 : 226 W

ขอที่ : 340

ิธ์ ห
ิท
การออกแบบการขับดวยโซ (Chain drives) ขอไหนไมถูกตอง


คําตอบ 1 : เฟองโซตัวใหญ (Larger sprocket) ปรกติควรมีจํานวนฟนไมเกิน 120 ฟน


มุมโอบของโซบนเฟองโซตวั เล็ก (Smaller sprocket) ไมควรเล็กกวา 120 องศา


คําตอบ 2 :


คําตอบ 3 : อัตราสวนความเร็วสูงสุดในการออกแบบการขับดวยโซเทากับ 7.0


คําตอบ 4 : ระยะหางศูนยกลาง (Center distance) ระหวางแกนเฟองโซ (Sprocket axes) ไมควรนอยกวา 30- 50 พิตซ

ขอ
กร
ขอที่ : 341
การครีพ (creep) ของสายพานคืออะไร
คําตอบ 1 :


ิ ว
การเปลี่ยนแปลงแรงดึงในสายพาน

าว
คําตอบ 2 : การเปลี่ยนแปลงความยาวบนลอสายพาน


คําตอบ 3 : การเปลี่ยนแปลงความเร็วบนลอสายพาน


คําตอบ 4 : การเปลี่ยนแปลงความเร็วในสายพาน

ขอที่ : 342
การขับดวยโซมีขอดีเหนือการขับดวยสายพานอยางไร
คําตอบ 1 : การบํารุงรักษางาย
คําตอบ 2 : มีขนาดกะทัดรัดกวาสายพาน
คําตอบ 3 : มีความเร็วขอบสูง
คําตอบ 4 :
มีความออนตัวในการสงกําลัง
136 of 150

ขอที่ : 343
จงหา Bearing characteristic number (S) และ ความหนาของฟลมน้ํามันเครื่องที่บางสุด กําหนดให = 2.7 x 10-6 reyn, Bearing characteristic

number , , ho/c = 0.47

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 0.41, 0.00047 in

ส ิท
ว น
คําตอบ 2 : 0.21, 0.0047 in


คําตอบ 3 : 24.6, 0.0047 in


คําตอบ 4 : 0.31, 0.00047 in

ขอ
กร
ขอที่ : 344


การขับดวยโซเพื่อใหทํางานไดอยางราบรื่นและมีอายุใชงานสูงสุด มีวิธีการกําหนดจํานวนฟนบนเฟองโซและจํานวนพิตชของโซอยางไร



คําตอบ 1 : จํานวนฟนบนเฟองโซเปนเลขคู จํานวนพิตชของโซเปนเลขคู

าว
คําตอบ 2 : จํานวนฟนบนเฟองโซเปนเลขคี่ จํานวนพิตชของโซเปนเลขคี่


คําตอบ 3 : จํานวนฟนบนเฟองโซเปนเลขคู จํานวนพิตชของโซเปนเลขคี่


คําตอบ 4 : จํานวนฟนบนเฟองโซเปนเลขคี่ จํานวนพิตชของโซเปนเลขคู

ขอที่ : 345
ชิ้นสวนยืดหยุน (Flexible elements) ชนิดใดที่ใชสงกําลังระหวางเพลา
คําตอบ 1 : เฟอง
คําตอบ 2 : โซ
คําตอบ 3 : ลูกเบี้ยวกับตัวตาม
คําตอบ 4 : พุลเลย
137 of 150

ขอที่ : 346
โรลลิ่งแบริ่งมีขอดีเหนือกวาเจอรนัลแบริ่งอยางไร
คําตอบ 1 : มีความเสียดทานขณะสตารทนอยกวา
คําตอบ 2 : ใชเนื้อที่ทางดานรัศมีนอย
อายุใชงานยาวนานกวา

่ า ย
คําตอบ 3 :


คําตอบ 4 : ขณะทํางานมีเสียงดังนอยกวา

ขอที่ : 347

จ ำ ห

การสลิประหวางสายพานกับพุลเลยทําใหเกิด
การสั่นสะเทือนในการสงกําลังลดลง

า้
คําตอบ 1 :

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : อัตราสวนความเร็วไมแนนอน
คําตอบ 3 : การสะทานในการสงกําลังลดลง

ิท
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

นส

ขอที่ : 348


ขอใดกลาวไมถูกตอง
คําตอบ 1 : สายพานรูปตัว V

อ ส
ทํางานดวยแรงดึงสายพานนอยกวา


คําตอบ 2 : สายพานรูปตัว V ทํางานไดราบเรียบและเงียบกวา

กร
คําตอบ 3 : สายพานรูปตัว V สามารถดูดซับ shock load ไดนอยกวา


คําตอบ 4 : สายพานรูปตัว V ทํางานในที่กะทัดรัดกวาเพราะวาระยะหางระหวางศูนยกลางพุลเลยสั้นกวา

ขอที่ : 349

าว ศ


ขอใดไมมีผลตอการเลือกสายพานรูปตัว V


คําตอบ 1 : แรงดึงเริ่มตนบนสายพาน
คําตอบ 2 : กําลังขับของมอเตอรหรือเครื่องตนกําลัง
คําตอบ 3 : ความยาวสายพาน
คําตอบ 4 : วัสดุที่ใชทําสายพาน

ขอที่ : 350
อายุใชงานของโรลลิ่งแบริ่งแปรผันตามตัวประกอบใด
คําตอบ 1 : แรงในแนวรัศมี
คําตอบ 2 : แรงในแนวแกน 138 of 150
คําตอบ 3 : ความเร็วรอบของเพลา
คําตอบ 4 : ชนิดของแบริ่ง

ขอที่ : 351

่ า ย
ความสามารถในการสงกําลังดวยโซไมขึ้นอยูกับขอใด


คําตอบ 1 : แผนประกบ (Link plates) ดานขางของโซ


คําตอบ 2 : ลูกกลิ้งโซ (rollers) กับฟนเฟองโซ

จ ำ
คําตอบ 3 : สลักโซ (Pin) กับบูช


คําตอบ 4 : ลูกกลิ้งโซกับบูช

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 352
การกําหนดอายุประเมินของแบริ่ง คิดจากจํานวนแบริ่งรอยละเทาใดที่สามารถหมุนไดโดยไมเกิดความเสียหายเนื่องจากความลา

ิท
คําตอบ 1 : รอยละ 60


คําตอบ 2 : รอยละ 70

ว น
คําตอบ 3 : รอยละ 80


คําตอบ 4 : รอยละ 90

อ ส

ขอที่ : 353

กร
แรงสมมูล (equivalent force) ที่ใชเลือกแบริ่ง มีเงื่อนไขในการกําหนดชนิดของแรงอยางไร


คําตอบ 1 : แรงในแนวรัศมีที่กระทําตอแบริ่ง



คําตอบ 2 : แรงในแนวรัศมีและแนวแกนที่กระทําตอแบริ่ง

าว
คําตอบ 3 : แรงที่กระทําโดยที่วงแหวนในหมุน


คําตอบ 4 : แรงที่กระทําโดยวงแหวนนอกหมุน

ขอที่ : 354

แบริ่งชนิดไหนรับภาระดานขางไดดีเลิศ
คําตอบ 1 : Single-row, deep-groove ball
คําตอบ 2 : Cylindrical roller
คําตอบ 3 : Tapered roller
คําตอบ 4 : Needle
ขอที่ : 355 139 of 150
แบริ่งชนิดไหนรับภาระในแนวรัศมีไดดี
คําตอบ 1 : Single-row, deep-groove ball
Cylindrical roller
คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 : Tapered roller

่ า ย

คําตอบ 4 : Needle

ขอที่ : 356

จ ำ ห

แบริ่งชนิดไหนสามารถปรับศูนยไดดีเลิศ

า้
ิธ์ ห
Single-row, deep-groove ball
คําตอบ 1 :

ิท
คําตอบ 2 : Cylindrical roller


คําตอบ 3 : Tapered roller


คําตอบ 4 : Spherical roller

ง ว

ขอที่ : 357


ขอความใดไมถูกตอง

คําตอบ 1 :

กร ข
โรลลิ่งแบริ่ง (Rolling Bearing) ในขณะทํางานจะมีเสียงดังกวาเนื่องจากมีการสัมผัส ระหวางผิวของลูกกลิ้งและแหวนบางในบางชวงของการทํางาน และจะมี
อายุการใช งานสั้นกวาทั้งนี้เนื่องมาจากความเคนที่เกิดขึ้นมีคาสูง และเปนประเภทการกระทําซ้ํา (Repeating Load) จึงทําใหเกิดการเสียหายเนื่องจากความ


ลา เมื่อเปรียบเทียบกับเจอร นัลแบริ่ง (Journal Bearing)

าว ศ

โรลลิ่งแบริ่ง (Rolling Bearing) โดยทั่วไปแลวจะสามารถแบงออกเปนสองพวกใหญ ๆ คือ บอลแบริ่งซึ่งมีลูกกลิ้งเปนรูปทรงกลม (Ball Bearing) และโร
คําตอบ 2 :
ลเลอรแบริ่ง (Roller Bearing) ซึ่งมีลูกกลิ้งเปนรูปทรงกระบอกตรง (Straight Roller) หรือเปนรูป ทรงกระบอกเรียว (Tapered Roller)


เจอรนัลแบริ่ง (Journal Bearing) เปนอุปกรณของเครื่องจักรกลที่ใชรองรับเพลา โดยทั่วไปแลวเจอรนัลแบริ่งจะใชน้ํามันเปนสารหลอลื่น (Lubrication) เพื่อ


คําตอบ 3 :
ลดความ เสียดทาน ความสึกหรอ และความรอนที่เกิดขึ้นในชิ้นสวนที่มีการเสียดสีกัน
บอลแบริ่ง (Radial Ball Bearing) หรือตลับลูกปนเปนแบริ่งแบบที่นิยมใชกันอยู โดยทั่วไป สามารถนําไปใชสําหรับการรับภาระไดทั้งในแนวรัศมี (Radial
คําตอบ 4 :
Load) และ ในแนวแกน (Axial or Thrust Load)

ขอที่ : 358
แบริ่งชนิดใดที่เหมาะสมกับการใชงานเพื่อใชสําหรับการรองรับเพลาที่รับกําลังมาจากเฟอง เฉียง (Bevel Gear) ที่ติดอยูกับเพลา ซึ่งจะเกิดภาระที่กระทําขึ้นทั้งในแนวรัศมี
(Radial Load) และในแนวแกน (Axial or Thrust Load)
คําตอบ 1 : Radial Ball Bearings
คําตอบ 2 : Deep-Groove Ball Bearings และ Single-row Spherical Roller Bearing
คําตอบ 3 : Cylindrical หรือ Straight Roller Bearings 140 of 150
คําตอบ 4 : Needle Roller Bearings

ขอที่ : 359
การหลอลื่นในเจอรนอล แบริ่งมีหลักการของการหลอลื่นดังนี้

่ า ย
คําตอบ 1 : การหลอลื่นแบบไฮโรไดนามิคส

หน

คําตอบ 2 : การหลอลื่นแบบไฮโดรสแตติก


คําตอบ 3 : การหลอลื่นแยยอิลาสโคไฮโดรไดนามิก

า้ ม
คําตอบ 4 : การหลอลื่นแบบเบาวนดอรี่

ิธ์ ห
ขอที่ : 360
คุณสมบัติของวัสดุขอใดที่ไมใชเปนขอหลักในการพิจารณาขั้นตนในการเลือกวัสดุมาทําแบริ่ง
คุณสมบัติในการรับแรง

ส ิท

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 : คุณสมบัติในการทนการกัดกรอน

ง ว

คําตอบ 3 : คุณสมบัติการออนตัวติดตั้งงาย
คําตอบ 4 : คุณสมบัติในการนําไฟฟา

ขอ
ขอที่ : 361

ว กร


คุณสมบัติขอใดที่เปนขอดีของโรลลิ่งแบริ่ง เทื่อเปรียบกับเจอรนับแบริ่ง

าว
คําตอบ 1 : ราคาถูกกวา


คําตอบ 2 : อายุใชงานยาวนานกวา


คําตอบ 3 : มีทิศทางการรับแรงมากกวา
คําตอบ 4 : เสียงเบากวาขณะทํางาน

ขอที่ : 362
ขอเหวี่ยงของเครื่องอัดอากาศตองรับภาระ 50 kg ถาเสนผานศูนยกลางของแบริ่งเปน 20 mm และ อัตราสวน L/D ใชคา 1.7 ความดันของแบริ่งจะเปนเทาใด
620 kPa
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 : 721 kPa
คําตอบ 3 : 650 kPa 141 of 150
คําตอบ 4 : 751 kPa

ขอที่ : 363
ขอเหวี่ยงของเครื่องอัดอากาศตองรับภาระ 50 kg ถาเสนผานศูนยกลางของแบริ่งเปน 20 mm และ อัตราสวน L/D ใชคา 1.7 ความยาวของแบริ่งจะเปนเทาใด

่ า ย
คําตอบ 1 : 34 mm

หน

35 mm


คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 : 36 mm

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 4 : 37 mm

ิท
ขอที่ : 364


สมการพีทรอป (Petroff) แสดงถึงความสัมพันธระหวางสัมประสิทธิ์ความเสียดทานในเจอรนอลแบริ่ง กับกลุมตัวแปรไรมิติ ซึ่งประกอบดวยความหนืด μ ( Pa.s ) อัตราการ
หมุน n( rad / s ) และความดันแบริ่ง P ( N / mm2 )

μnP
ง ว น

คําตอบ 1 :

ขอ
กร
คําตอบ 2 :


ิ ว
าว
คําตอบ 3 :


คําตอบ 4 : ภ
ขอที่ : 365
โคนคลัทชมีมุมของโคน 12o มีรัศมีเฉลี่ย 8 นิ้ว สัมประสิทธิ์ความเสียดทาน 0.35 ถาใชสงกําลัง 1000 Ib-in ตองใชแรงในการกดเทาไร
คําตอบ 1 : 73.2 lb
คําตอบ 2 : 74.3 lb
คําตอบ 3 : 75.4 lb 142 of 150
คําตอบ 4 : 76.5 lb

ขอที่ : 366
โคนคลัชตมีมุมของโคน 12o มีรัศมีเฉลี่ย 8 นิ้ว สัมประสิทธิ์ความเสียดทาน 0.35 ถาหมุนดวยความเร็ว 1800 rpm จะสงกําลังไดเทาไร
คําตอบ 1 : 24.3 hp

่ า ย

คําตอบ 2 : 26.5 hp

ำ ห
28.6 hp


คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 : 30.2 hp

า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 367

ิท
ขอความใดไมถูกตอง


โรลลิ่งแบริ่ง (Rolling Bearing) ในขณะทํางานจะมีเสียงดังกวาเนื่องจากมีการสัมผัส ระหวางผิวของลูกกลิ้งและแหวนบางในบางชวงของการทํางาน และจะมี


คําตอบ 1 : อายุการใช งานสั้นกวาทั้งนี้เนื่องมาจากความเคนที่เกิดขึ้นมีคาสูง และเปนประเภทการกระทําซ้ํา (Repeating Load) จึงทําใหเกิดการเสียหายเนื่องจากความ


ลา เมื่อเปรียบเทียบกับเจอร นัลแบริ่ง (Journal Bearing)

คําตอบ 2 :

ส ง
โรลลิ่งแบริ่ง (Rolling Bearing) โดยทั่วไปแลวจะสามารถแบงออกเปนสองพวกใหญ ๆ คือ บอลแบริ่งซึ่งมีลูกกลิ้งเปนรูปทรงกลม (Ball Bearing) และโร


ลเลอรแบริ่ง (Roller Bearing) ซึ่งมีลูกกลิ้งเปนรูปทรงกระบอกตรง (Straight Roller) หรือเปนรูป ทรงกระบอกเรียว (Tapered Roller)


เจอรนัลแบริ่ง (Journal Bearing) เปนอุปกรณของเครื่องจักรกลที่ใชรองรับเพลาหรือ เจอรนัล (Journal) โดยทั่วไปแลวเจอรนัลแบริ่งจะใชลูกกลิ้ง (Rolling

กร
คําตอบ 3 : Element) สัมผัส ระหวางระหวางเจอรนัล (Journal) และแบริ่ง (Bearing) เพื่อลดความเสียดทาน ความ สึกหรอ และความรอนที่เกิดขึ้นในชิ้นสวนที่มีการ
เสียดสีกัน

คําตอบ 4 :


ิ ว
บอลแบริ่ง (Radial Ball Bearing) หรือตลับลูกปนเปนแบริ่งแบบที่นิยมใชกันอยู โดยทั่วไป เหมาสมกับการนําไปใชสําหรับการรับภาระในแนวรัศมี (Radial

าว
Load)

ขอที่ : 368

ส ภ
แบริ่งชนิดใดที่เหมาะสมกับการใชงานเพื่อใชสําหรับการรองรับเพลาซึ่งเกิดภาระที่กระทํากับ เพลาในแนวรัศมี (Radial Load) เทานั้น

Radial Ball Bearings


คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :
Deep-Groove Ball Bearings และ Single-row Spherical Roller Bearing
คําตอบ 3 : Cylindrical หรือ Straight Roller Bearings 143 of 150
คําตอบ 4 : Needle Roller Bearings

ขอที่ : 369
การถายทอดกําลังดวยสายพาน ปลายทั้งสองขางของเพลารองรับดวย Angular Ball Bearing (α = 25๐) No.218 (มี Bore = 90 mm และมี Rated Load Capacities, C

่ า ย
= 29 kN สําหรับอายุการใชงาน 90 x 106 รอบ ) เพลาหมุนดวยอัตราเร็ว 1200 rpm แบริ่งทํางานภายใตแรงกระตุกปานกลาง (ใช Ka = 1.7) และกําหนดให Reliability


Factor, KF = 0.7 จงหาอายุการใชงานของแบริ่งแตละอัน ถาแบริ่งแตละอันรับ Thrust Load เทากัน คือ 13 kN (ใหตอบเปนหนวยชั่วโมง)

จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
คําตอบ 1 :

กร ข
L1 = 282.76 hr, L2 = 722.85 hr


คําตอบ 2 : L1 = 299.89 hr, L2 = 726.86 hr

าว ศ

คําตอบ 3 : L1 = 322.89 hr, L2 = 846.57 hr
L1 = 400.57 hr, L2 = 827.43 hr


คําตอบ 4 :

ขอที่ : 370
ส α
วิศวกรออกแบบ Angular Ball Bearing ( =25๐) No.204 (มี Bore = 20 mm และมี Rated Load Capacities, C = 3.05 kN สําหรับอายุการใชงาน 90x106 รอบ )
เพลาหมุนดวยอัตราเร็ว 1000 rpm แบริ่งทํางานภายใตภาระการทํางานคอนขางเรียบ (ใช Ka = 1) แลกําหนดให Reliability Factor, Kr = 1 จงหาอายุการใชงานของแบ
ริ่งแตละอัน ถาแบริ่งรับภาระ Radial Load = 2.0 kN และ Thrust Load = 1.0 kN (ใหตอบเปนหนวยชั่วโมง)
คําตอบ 1 : L = 59765.42 hr

L = 5987.32 hr
คําตอบ 2 :
L = 6000.32 hr 144 of 150

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 : L = 6114.77 hr


ขอที่ :

่ า
371


วิศวกรออกแบบ Angular Ball Bearing (α=25๐) No.204 (มี Bore = 20 mm และมี Rated Load Capacities, C = 3.05 kN สําหรับอายุการใชงาน 90x106 รอบ ) เพลา


หมุนดวยอัตราเร็ว 1000 rpm แบริ่งทํางานภายใตภาระการทํางานคอนขางเรียบ (ใช Ka = 1) แลกําหนดให Reliability Factor, Kr = 1 จงหาอายุการใชงานของแบริ่งแต


ละอัน ถาแบริ่งรับภาระ Radial Load = 1.0 kN และ Thrust Load = 2.0 kN (ใหตอบเปนหนวยชั่วโมง)
คําตอบ 1 : L = 2115.87 hr

มจ
า้
คําตอบ 2 : L = 4817.99 hr

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : L = 5742.87 hr
คําตอบ 4 : L = 6512.82 hr

ขอที่ : 372

ส ิท
ว น
ขอใดกลาวถูกตอง


คําตอบ 1 : การสงกําลังดวยเฟองโซคูหนึ่ง ดานตึง (Tight side) และดานหยอน (Slack side) จะมีแรงบน เฟองโซเทากัน


คําตอบ 2 : การสงกําลังดวยเฟองโซคูหนึ่ง ดานตึง (Tight side) มีแรงบนเฟองโซมากกวาดานหยอน (Slack side) ซึ่งดานนี้จะมีแรงมากกวาศูนย
คําตอบ 3 :

ขอ
การขับดวยสายพานรูปตัว V บนพุลเลยคูหนึ่งทั้งดานตึงและดานหยอนจะอยูภายใตแรงดึง แตแรงดึงดานตึงจะมากกวาดานหยอน

กร
คําตอบ 4 : การขับดวยสายพานรูปตัว V บนพุลเลยคูหนึ่งทั้งดานตึงและดานหยอนจะอยูภายใตแรงดึง เทากัน

ขอที่ : 373


ิ ว
าว
ในการถายทอดกําลังโดยใชสายพานวีผูออกแบบตองใชพูเลย ขนาด 100 mm และ 200 mm เพื่อตองการใหไดอัตราทดเทากับ 2 :1 พอดี กําลังสูงสุดที่ตองการถายทอด


เทากับ 8.3 kW (N3 = 1.2) ถาพูเลยตัวใหญหมุนดวยอัตราเร็ว 800 rpm จงหาวาจะใชสายพานวีหนาตัดแบบใดจึงจะเหมาะสม


คําตอบ 1 : หนาตัดแบบ Y
คําตอบ 2 : หนาตัดแบบ Z
คําตอบ 3 : หนาตัดแบบ A
คําตอบ 4 : หนาตัดแบบ B

ขอที่ : 374

โซโรลเลอร (Roller Chain) ISO/R 606 06B-1 (มีระยะพิทชของโซ , p = 9.525 mm และแรงแตกหักนอยที่สุดของโซ, Fb = 8.93 kN)ใชในการถายทอดกําลังเทากับ
2.2 kW ดวยอัตราเร็วรอบของเฟองโซเทากับ 1200 rpm ถาอัตราทดเทากับ 1 และ จํานวนฟนของเฟองโซ (Sprocket) เทากับ
145 of 150
คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

่ า ย

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 375

จ ำ ห

ขอความใดไมถูกตอง

า้
ิธ์ ห
สายพานสามารถใชในการถายทอดกําลังระหวางเพลาหนึ่งไปยังอีกเพลาหนึ่ง มีราคา ถูกและใชงาย สามารถรับแรงกระตุกและการสั่นสะเทือนไดดี แตมีขอ
คําตอบ 1 :
เสียคืออัตราทด ไมแนนอนเนื่องมาจากการลื่นไถลของสายพาน (Slip) และการยืดตัวของสายพาน (Creep)
เนื่องจากคุณสมบัติในการออนตัวของสายพาน (Flexibility) สายพานสามารถ ประกอบการขับของสายพานเปนแบบ Open Drive สําหรับเพลาที่ขนานกันเพื่อ

ิท
คําตอบ 2 : ทําให เพลาขับและเพลาตามหมุนในทิศทางเหมือนกัน และเปนแบบ Cross Drive สําหรับ เพลาที่ขนานกันเพื่อทําใหเพลาขับและเพลาตามหมุนในทิศทาง


ตรงขามกัน


คําตอบ 3 : สายพานแบน (Flat Belt) สามารถสงกําลังไดดีกวาสายพานวี (V-Belt)

ง ว
คําตอบ 4 : ไมสามารถใชโซสงกําลังประกอบติดตั้งแบบ Cross Drive ได

ขอที่ :

อ ส

376

กร
ในการถายทอดกําลังโดยใชสายพานวี ใชมอเตอรกระแสสลับขนาด 4 kW มีอัตราเร็วรอบ 1450 rpm ถายทอดกําลังผานพูเลย และสายพานไปขับเครื่องอัดอากาศที่อัตรา
เร็วรอบ 815 rpm (ใหใช Ns = 1.3) จงหาวาจะใชสายพานวีหนาตัดแบบใดจึงจะเหมาะสม
คําตอบ 1 : หนาตัดแบบ



Y

าว
คําตอบ 2 : หนาตัดแบบ Z
หนาตัดแบบ


คําตอบ 3 : A


คําตอบ 4 : หนาตัดแบบ B

ขอที่ : 377
ระบบสงกําลังดวยสายพานมี pulley 2 ตัว ที่มีเสนผานศูนยกลาง 4 นิ้ว และ 8 นิ้ว มีระยะระหวาง ศูนยกลาง 24 นิ้ว pulley ตัวเล็กหมุนดวยความเร็ว 500 rpm ถามีการสลิป
3 % ความเร็วของpulley ตัวใหญคือ
คําตอบ 1 : 243 rpm
คําตอบ 2 : 245 rpm
คําตอบ 3 : 247 rpm
คําตอบ 4 : 249 rpm
146 of 150

ขอที่ : 378
ระบบสงกําลังดวยสายพานมี pulley 2 ตัวที่มีเสนผานศูนยกลาง 4 นิ้ว และ 8 นิ้ว มีระยะระหวาง ศูนยกลาง 24 นิ้ว pulley ตัวเล็กหมุนดวยความเร็ว 500 rpm ความยาวของ
สายพานเล็กจะเปน
คําตอบ 1 : 61.01 นิ้ว

่ า ย
คําตอบ 2 : 63.53 นิ้ว


คําตอบ 3 : 65.04 นิ้ว


คําตอบ 4 : 67.02 นิ้ว

จ ำ

ขอที่ : 379

า้
ระบบสงกําลังดวยสายพานมี pulley 2 ตัวที่มีเสนผานศูนยกลาง 4 นิ้ว และ 8 นิ้ว มีระยะระหวาง ศูนยกลาง 24 นิ้ว pulley ตัวเล็กหมุนดวยความเร็ว 500 rpm มุมของการ

ิธ์ ห
สัมผัสของ pulley เล็กจะ เปน
คําตอบ 1 : 170.4๐

ิท
คําตอบ 2 : 160.2๐


คําตอบ 3 : 150.3๐
คําตอบ 4 : 140.4๐

ง ว น
ขอที่ : 380

อ ส

ระบบสงกําลังดวยสายพานมี pulley ที่มีเสนผานศูนยกลาง 200 mm และ 100 mm มีระยะหาง ระหวางศูนยกลาง 600 mm มุมสัมผัสของ pulley ใหญคือ

กร
คําตอบ 1 : ๐
170


คําตอบ 2 : 180๐
คําตอบ 3 : 190๐
200๐

าว ศ


คําตอบ 4 :

ขอที่ : 381

ระบบสงกําลังดวยสายพานมี pulley ที่มีเสนผานศูนยกลาง 200 mm และ 100 mm มีระยะหาง ระหวางศูนยกลาง 600 mm มุมสัมผัสของ pulley เล็กคือ
คําตอบ 1 : 170๐
คําตอบ 2 : 180๐
คําตอบ 3 : 190๐
คําตอบ 4 : 200๐
ขอที่ : 382 147 of 150
ระบบสงกําลังดวยสายพานมี pulley ที่มีเสนผานศูนยกลาง 200 mm และ 100 mm มีระยะหาง ระหวางศูนยกลาง 600 mm ความยาวของสายพานจะเปน
คําตอบ 1 : 1.40 m
คําตอบ 2 : 1.52 m
คําตอบ 3 : 1.68 m


คําตอบ 4 : 1.74 m

น่ า

ขอที่ : 383


ความเคนที่เกิดขึ้นในสายพานสงกําลังมีดังนี้
คําตอบ 1 : ความเคนดึง และ ความเคนดัด

มจ
า้
คําตอบ 2 : ความเคนเฉือน และ ความเคนดึง

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : ความเคนดัด และความเคนเฉือน
คําตอบ 4 : ความเคนดึงอยางเดียว

ขอที่ : 384

ส ิท

ขอเสียของการใชสายพานสงกําลังคือ
คําตอบ 1 : อัตราทดไมแนนอน

ง ว

คําตอบ 2 : ราคาแพง


คําตอบ 3 : ใชงานมีเสียงดัง
รับการสั่นสะเทือนไมได

กร ข
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 385


ิ ว
าว
ขอความใดไมถูกตอง


สายพานสามารถใชในการถายทอดกําลังระหวางเพลาหนึ่งไปยังอีกเพลาหนึ่ง มีราคา ถูกและใชงาย สามารถรับแรงกระตุกและการสั่นสะเทือนไดดี แตมีขอ
คําตอบ 1 :


เสียคืออัตราทด ไมแนนอนเนื่องมาจากการลื่นไถลของสายพาน (Slip) และการยืดตัวของสายพาน (Creep)
เนื่องจากคุณสมบัติในการออนตัวของสายพาน (Flexibility) สายพานสามารถ ประกอบการขับของสายพานเปนแบบ Open Drive สําหรับเพลาที่ขนานกันเพื่อ
คําตอบ 2 : ทําให เพลาขับและเพลาตามหมุนในทิศทางเหมือนกัน และเปนแบบ Cross Drive สําหรับ เพลาที่ขนานกันเพื่อทําใหเพลาขับและเพลาตามหมุนในทิศทาง
ตรงขามกัน
คําตอบ 3 : สายพานวี (V-Belt) สามารถสงกําลังไดดีกวาสายพานแบน (Flat Belt)
คําตอบ 4 : สามารถใชโซสงกําลังประกอบติดตั้งแบบ Cross Drive ได

ขอที่ : 386
ในการถายทอดกําลังโดยใชสายพานวี ใชมอเตอรกระแสสลับขนาด 5 kW มีอัตราเร็วรอบ 1250 rpm ถายทอดกําลังผานพูเลยและสายพานไปขับเครื่องดูดควันซึงมีความ
เร็วรอบ 480 rpm (ใหใช Ns = 1.3) จงหาวาจะใชสายพานวีหนาตัดแบบใดจึงจะเหมาะสม 148 of 150

คําตอบ 1 : หนาตัดแบบ Y
คําตอบ 2 : หนาตัดแบบ Z
คําตอบ 3 : หนาตัดแบบ A
คําตอบ 4 : หนาตัดแบบ B

่ า ย

ขอที่ : 387


ในการถายทอดกําลังโดยใชสายพานวี ผูออกแบบตองใชพูเลย ขนาด 100 mm และ 200 mm เพื่อตองการใหไดอัตราทดเทากับ 2 :1 พอดี กําลังสูงสุดที่ตองการถายทอด


เทากับ 8.3 kW (Ns = 1.2) ถาพูเลยตัวใหญหมุนดวยอัตราเร็ว 800 rpm จงหาวาจะใชสายพานวีหนาตัดแบบใดจึงจะเหมาะสม
คําตอบ 1 : หนาตัดแบบ Y

มจ
า้
คําตอบ 2 : หนาตัดแบบ Z

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : หนาตัดแบบ A
คําตอบ 4 : หนาตัดแบบ B

ขอที่ :

ส ิท

388


ในการถายทอดกําลังโดยใชสายพานวี ผูออกแบบตองใชพูเลย ขนาด 100 mm และ 300 mm เพื่อตองการใหไดอัตราทดเทากับ 3 :1 พอดี กําลังสูงสุดที่ตองการถายทอด


เทากับ 10 kW (Ns = 1.3) ถาพูเลยตัวใหญหมุนดวยอัตราเร็ว 650 rpm จงหาวาจะใชสายพานวีหนาตัดแบบใดจึงจะเหมาะสม
คําตอบ 1 : หนาตัดแบบ Y

อ ส

คําตอบ 2 : หนาตัดแบบ Z

กร
คําตอบ 3 : หนาตัดแบบ A


คําตอบ 4 : หนาตัดแบบ B

ขอที่ : 389

าว ศ


โซโรลเลอร (Roller Chain) ISO/R 606 08B-1 (มีระยะพิตยของโซ, p = 12.70 mm และแรงแตกหักนอยที่สุดของโซ , Fb = 17.85 kN) ใชในการถายทอดกําลังเทากับ


5.5 kW ดวยอัตราเร็วรอบของพิเนียนเทากับ 1450 rpm ถาอัตราทดเทากับ 2.5 และจํานวนฟนของพิเนียนเทากับ 23 ฟน จงหาแรงดึงในโซ, Ft (โดยถือวาแรงหนีศูนย
กลางของโซมีคานอยมากเมื่อเปรียบเที่ยบกับแรงดึงในแนวสัมผัส) และคาความปลอดภัยของโซ
คําตอบ 1 : Ft = 0.451 kN และ N = 19.33
คําตอบ 2 : Ft = 0.471 kN และ N = 20.33
คําตอบ 3 : Ft = 0.780 kN และ N = 22.88
คําตอบ 4 : Ft = 0.795 kN และ N = 19.33
ขอที่ : 390 149 of 150
ขอใดถูกตองที่สุดถาหากหนาตัดดังกลาวนําไปใชเปนคาน

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
รูป ก.

ิธ์ ห
รูป ข.

ิท
คําตอบ 1 : หนาตัดรูป ข. รับโมเมนตดัดไดมากกวา รูป ก.


คําตอบ 2 : หนาตัดรูป ก. แข็งแรงมากกวา รูปตัด ข. เทากับ 4.21 เทา


หนาตัดรูป ก. แข็งแรงมากกวา รูปตัด ข. เทากับ 3.2 เทา


คําตอบ 3 :


คําตอบ 4 : หนาตัดรูป ก. แข็งแรงมากกวา รูปตัด ข. เทากับ 2

อ ส

ขอที่ : 391

กร
เฟองตรงในระบบนิ้วถา Diametral pitch เปนจํานวนเต็มต่ํากวา 20 เรียกวา


คําตอบ 1 : Coarse pitch



คําตอบ 2 : Medium pitch

าว
คําตอบ 3 : Fine pitch


คําตอบ 4 : ผิดทุกขอ

ขอที่ : 392

การถายทอดกําลังดวยสายพาน ปลายทั้งสองขางของเพลารองรับดวย Angular Ball Bearing (α = 25๐) No.218 (มี Bore = 90 mm และมี Rated Load Capacities, C
= 29 kN สําหรับอายุการใชงาน 90 x 106 รอบ ) เพลาหมุนดวยอัตราเร็ว 1200 rpm แบริ่งทํางานภายใตแรงกระตุกปานกลาง (ใช Ka = 1.7) และกําหนดให Reliability
Factor, Kf = 0.7 จงหาอายุการใชงานของแบริ่งแตละอัน ถาแบริ่งแตละอันรับ Thrust Load เทากัน คือ 10 kN (ใหตอบเปนหนวยชั่วโมง)
150 of 150

่ า ย
หน
จ ำ
คําตอบ 1 : L1 = 782.56 hr, L2 = 22.85 hr

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 : L1 = 688.76 hr, L2 = 68.43 hr
คําตอบ 3 : L1 = 422.89 hr, L2 = 46.57 hr

ิท
คําตอบ 4 : L1 = 400.57 hr, L2 = 27.43 hr

นส
ง ว
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

สาขา: เครื่องกล วิชา: ME11 Mechanics of Machinery/
Dynamics of Machines /Theory of
Mach

ขอที่ : 1
จากในรูป หมุนในระนาบราบรอบจุด O ดวยความเร็วเชิงมุมคงที่ ω = 1 rad/s ตามเข็มนาฬิกา ลูกเลื่อน A เคลื่อนที่อยูในรางของจานที่อยูหางจุดศูนยกลางจาน 150 มิลลิเมตร ดวย


2 2

่ า
2
ความเร็วสัมพัทธ 150 mm/s ไปทางขวา และความเรงสัมพัทธ 0.25 m/s ไปทางขวา จงหาขนาดความเรง A ที่ตําแหนงตามรูป

หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :

ส ิท
คําตอบ 2 :

ง ว น
อ ส

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ว กร
าว ศ


ขอที่ : 2


จากในรูป หมุนในระนาบราบรอบจุด O ดวยความเร็วเชิงมุมคงที่ ω = 1 rad/s ทวนเข็มนาฬิกา ลูกเลื่อน A เคลื่อนที่อยูในรางของจานที่อยูหางจุดศูนยกลางจาน 150 มิลลิเมตร
2 2
2
ดวยความเร็วสัมพัทธ 150 mm/s ไปทางขวา และความเรงสัมพัทธ 0.25 m/s ไปทางขวา จงหาขนาดความเรง A ที่ตําแหนงตามรูป 1 of 244
คําตอบ 1 :

่ า ย

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 3

ส ิท

จากในรูป หมุนในระนาบราบรอบจุด O ดวยความเร็วเชิงมุมคงที่ ω = 1 rad/s ทวนเข็มนาฬิกา ลูกเลื่อน A เคลื่อนที่อยูในรางของจานที่อยูหางจุดศูนยกลางจาน 150 มิลลิเมตร


2 2


2
ดวยความเร็วสัมพัทธ 150 mm/s ไปทางขวา และความเรงสัมพัทธ 0.25 m/s ไปทางซาย จงหาขนาดความเรง A ที่ตําแหนงตามรูป

อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

2 of 244
คําตอบ 4 :
ขอที่ : 4
จากในรูป หมุนในระนาบราบรอบจุด O ดวยความเร็วเชิงมุมคงที่ ω = 1 rad/s ตามเข็มนาฬิกา ลูกเลื่อน A เคลื่อนที่อยูในรางของจานที่อยูหางจุดศูนยกลางจาน 150 มิลลิเมตร ดวย
2 2
2
ความเร็วสัมพัทธ 150 mm/s ไปทางขวา และความเรงสัมพัทธ 0.25 m/s ไปทางซาย จงหาขนาดความเรง A ที่ตําแหนงตามรูป

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 :
ิธ์ ห
ส ิท

คําตอบ 2 :

ง ว

คําตอบ 3 :

ขอ
กร
คําตอบ 4 :


ิ ว
าว
ขอที่ : 5


2 2
จากรูป ถาจุด B มีความเรงในแนวสัมผัสขนาดเทากับ 6 m/s และมีความเรงเขาสูศูนยกลางขนาดเทากับ 8 m/s จงหาขนาดความเรงที่จุด B


3 of 244
คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

่ า ย
หน

คําตอบ 4 :

มจ
า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 6

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

4 of 244

ชิ้นตอโยง 2 หมุนดวยความเร็วคงที่ 10 rad/sec CW จงหาความเรงของ กลไกที่จุด A2


่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
188.5 cm/sec2
380 cm/sec2
คําตอบ 3 : 38 cm/sec2
คําตอบ 4 : 18.85 cm/sec2
5 of 244

ขอที่ : 7
กลไกดังรูป จงหาคาความเรงของ A2 ในแนวตั้งฉากกับแกน O2A

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 0 cm/sec2
คําตอบ 2 : 380 cm/sec2
คําตอบ 3 : 188.5 cm/sec2
คําตอบ 4 : 38 cm/sec2 6 of 244
ขอที่ : 8
จากภาพสมการความเรงใดถูกตอง

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
7 of 244
คําตอบ 2 :

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 3 :

ส ิท
คําตอบ 4 :

ง ว น
อ ส
กร ข

ขอที่ : 9

าว ศ

ส ภ
8 of 244

จากภาพ จงหาคาความเรงของ A ในแนวขนานกับ O2A และทิศทาง


่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
38 cm/sec2 ทิศทางชี้เขาหา O2
480 cm/sec2 ทิศทางชี้เขาหา A
คําตอบ 3 : 488 cm/sec2 ทิศทางชี้เขาหา A
คําตอบ 4 : 380 cm/sec2 ทิศทางชี้เขาหา O2
9 of 244

ขอที่ : 10
2 2
จากรูป ถาจุด B มีความเรงในแนวสัมผัสขนาดเทากับ 6 m/s และมีความเรงเขาสูศูนยกลางขนาดเทากับ 8 m/s จงหามุมที่ความเรงของจุด B ทํากับแขน OB

่ า ย
หน
จ ำ
คําตอบ 1 :

า้ ม
คําตอบ 2 :
ิธ์ ห
ส ิท

คําตอบ 3 :

ง ว

คําตอบ 4 :

ขอ
กร
ขอที่ : 11


2 2
จากรูป ถาจุด B มีความเรงในแนวสัมผัสขนาดเทากับ 3 m/s และมีความเรงเขาสูศูนยกลางขนาดเทากับ 4 m/s จงหาขนาดความเรงที่จุด B

าว ศ

ส ภ
10 of 244
คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :


คําตอบ 3 :

น่ า
คําตอบ 4 :

จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 12
2 2
จากรูป ถาจุด B มีความเรงในแนวสัมผัสขนาดเทากับ 3 m/s และมีความเรงเขาสูศูนยกลางขนาดเทากับ 5 m/s จงหามุมที่ความเรงของจุด B ทํากับแขน OB

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
คําตอบ 1 :

ภ าว

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

11 of 244
คําตอบ 4 :
ขอที่ : 13
เมื่อทราบความเรงที่จุด C สมการใดที่สามารถใชคํานวณหาความเรงของจุด C
3 4

AC3 = AC4n + AC4t + AC3/C4 + 2VC3/C4ω4 ---------[1]

่ า ย
หน

n t n t
AC3 = AC4 + AC4 + AC3/C4 + AC3/C4 + 2VC3/C4ω4 ---------[2]

มจ
า้
AC3 = AC3n + AC3t + AC4/C3 + 2VC4/C3ω4 ---------[3]

ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น

คําตอบ 1 : สมการ 1 และ 2


คําตอบ 2 : สมการ 3 เทานั้น


คําตอบ 3 : สมการ 1 และ 3

กร
คําตอบ 4 : สมการ 2 และ 3


ิ ว
าว
ขอที่ : 14

ส ภ
จงเลือกคําตอบที่ถูกตอง จากกลไก 6 ขอตอและสมการที่ใหมา

AC3 = AC4 + AC4t + AC3/C4 + 2VC3/C4ω4 ---------[1]


n

AC3 = AC4n + AC4t + AC3/C4n + AC3/C4t + 2VC3/C4ω4 ---------[2]

12 of 244
AC3 = AC3n + AC3t + AC4/C3 + 2VC4/C3ω4 ---------[3]

ความเรง 2V ω เรียกความเรง Coriolis มีทิศตั้งฉากกับ O4C

่ า
C3/C4 4
คําตอบ 1 :

หน

ความเรง 2V ω เรียกความเรง Coriolis มีทิศขนานกับ O4C


C3/C4 4
คําตอบ 2 :

า้ ม
ิธ์ ห
ความเรง 2V ω เรียกความเรงสัมพัทธ มีทิศตั้งฉากกับ O4C
C3/C4 4
คําตอบ 3 :

ิท
ความเรง 2V ω เรียกความเรงสัมพัทธ มีทิศขนานกับ O4C


C3/C4 4
คําตอบ 4 :

ง ว น
ขอที่ : 15

อ ส

เมื่อทราบความเรงของจุด A ความเรงของจุด A4 สามารถหาไดจากสมการ

ว กร
าว ศ

ส ภ
AA4n + AA4t = AA3 + 2VA4/A3.ω3 + AA4/A3
คําตอบ 1 :

13 of 244

คําตอบ 2 :
AA4n + AA4t = AA3 + 2VA4/A3.ω2 + AA4/A3

คําตอบ 3 : AA4n + AA4t = AA2 + 2VA4/A2.ω2 + AA4/A3


AA2n + AA2t = AA4 + 2VA2/A4.ω4 + AA2/A4


คําตอบ 4 :

น่ า
ขอที่ : 16
เมื่อทราบความเรงของขอตอทั้ง 4 และความเรงจุด A ความของจุด A ไดจากสมการ

จ ำ ห

4

า้
ิธ์ ห
AA4n + AA4t = AA3 + 2VA4/A3.ω3 + AA4/A3

จงเลือกคําตอบที่ถูกตอง

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

คําตอบ 1 : 2VA4/A3.ω3 มีทิศตั้งฉากกับ BOA

าว ศ

2VA4/A3.ω3 มีทิศขนานกับ BOA


คําตอบ 2 :


คําตอบ 3 : 2VA4/A3.ω3 มีทิศตั้งฉากกับ AOA
2VA4/A3.ω3 มีทิศขนานกับ AOA
คําตอบ 4 :

14 of 244

ขอที่ : 17
ชิ้นสวนที่อยูในสภาพสมดุลภายใตแรงกระทําในรูปเรียกวา

คําตอบ 1 : Frame member


คําตอบ 2 : 2-force member

่ า
คําตอบ 3 :


Longitudinal member


คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

จ ำ

ขอที่ : 18

า้
แรงปฏิกิริยาของชิ้นสวนในรูปคือขอใด

ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น

คําตอบ 1 :

ขอ
ว กร
คําตอบ 2 :

าว ศ

ส ภ
คําตอบ 3 :

15 of 244
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก
ขอที่ : 19
ชิ้นสวนที่รับแรงดังแสดงในรูป และอยูในสภาพสมดุลมีชื่อเรียกวา

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 : Shell member
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 2 :


3-force member
คําตอบ 3 :


Plate member


คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ส ง

ขอที่ : 20


คําตอบขอใดแสดงแรงปฏิกิริยาที่ถูกตองของคานที่รับแรงดังรูป

ว กร
าว ศ


คําตอบ 1 : ภ
คําตอบ 2 : 16 of 244
่ า ย

คําตอบ 3 :

จ ำ ห

คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 21
ชิ้นตอโยงที่ถูกกระทําดวยแรง 2 แรง จะสมดุลก็ตอเมื่อแรง 2 แรงนั้นเปนอยางไร

ิท
คําตอบ 1 : มีขนาดเทากัน


คําตอบ 2 : มีทิศทางตรงกันขาม

ว น
คําตอบ 3 : กระทําอยูบนแนวเสนตรงเดียวกัน


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

อ ส

ขอที่ : 22

กร
กลไกสมดุลดังรูป ถาแรง P= 100N มากระทําที่ Link 4 ดังรูป และ O2B = 10 cm แรงกระทํา F43 มีคาและทิศทางอยางไร


ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 115 N ทิศทางขนานกับAB เขาหาจุด A
คําตอบ 2 : 60 N ทิศทางขนานกับ AB เขาหาจุด A
คําตอบ 3 : 115 N ทิศทางขนานกับ AB เขาหาจุด B
คําตอบ 4 : 60 N ทิศทางขนานกับ AB เขาหาจุด B 17 of 244
ขอที่ : 23
กลไกสมดุลยดังรูป ถาแรง P= 100N มากระทําที่ Link 4 ดังรูป และ O2B = 10 cm แรงที่พื้นกระทําตอลูกสูบ มีคาและทิศทางอยางไร

่ า ย
หน

คําตอบ 1 : 58 N ทิศทางขนานกับ แรง Pเขาหาจุด B


คําตอบ 2 : 58 N ทิศทางตั้งฉากกับ แรง P เขาหาจุด B

า้ ม
คําตอบ 3 : 115 N ทิศทางขนานกับ แรง P ออกจากจุด B

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : 115 N ทิศทางตั้งฉากกับ แรง P ออกจากจุด B

ขอที่ :

ิท
24


กลไกสมดุลยดังรูป ถาแรง P= 100N มากระทําที่ Link 4 ดังรูป และ O2B = 10 cm AB =7.8 cm O2A = 5.5 cm แรงกระทําระหวางพื้นกับ Link 2 ( F12) มีคาและทิศทางอยาง


ไร

ง ว
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 : 58 N ทิศทางขนานกับ AB แนว B ไป A


คําตอบ 2 : 58 N ทิศทางตั้งฉากกับ AB แนว O2 ไป A


คําตอบ 3 : 115 N ทิศทางขนานกับ AB แนว B ไป A
คําตอบ 4 : 115 N ทิศทางตั้งฉากกับ AB แนว O2 ไป A

ขอที่ : 25
เงื่อนไขที่ทําใหชิ้นตอโยงที่ถูกกระทําดวยแรง 2 แรงสมดุลคือขอใด
คําตอบ 1 : มีขนาดไมเทากัน
18 of 244
คําตอบ 2 : มีทิศทางเดียวกัน
กระทําอยูบนแนวเสนตรงเดียวกัน
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 26
ขอใดไมเปนเงื่อนไขที่ทําใหชิ้นตอโยงที่ถูกกระทําดวยแรง 2 แรงสมดุล
คําตอบ 1 : มีขนาดเทากัน
คําตอบ 2 : มีทิศทางเดียวกัน

่ า ย

คําตอบ 3 : กระทําอยูบนแนวเสนตรงเดียวกัน


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

จ ำ

ขอที่ :

า้
27
ชิ้นตอโยงที่ถูกกระทําดวยแรง 2 แรง จะสมดุลก็ตอเมื่อแรง 2 แรงนั้นเปนอยางไร

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : มีขนาดไมเทากัน
คําตอบ 2 : มีทิศทางเดียวกัน

ิท
คําตอบ 3 : กระทําอยูบนแนวเสนตรงที่ขนานกัน


คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

ขอที่ :

ง ว น

28


กลไก 6 ขอตอในรูป ใหแรง F = 330 N จงคํานวณหาแรงที่ขอตอ 5 กระทํากับขอตอ 6 แรง F (ไมคิดแรงเสียดทาน)
6 56

กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
335.1 N เปนแรงกด
58.2 N เปนแรงกด
325.0 N เปนแรงดึง
คําตอบ 4 : 345.6 N เปนแรงดึง

ขอที่ : 29 19 of 244

กลไก 6 ขอตอในรูป ใหแรง F = 330 N จงคํานวณหาแรงที่ขอตอ 1 กระทํากับขอตอ 6 แรง F (ไมคิดแรงเสียดทาน)


6 16
่ า ย

58.2 N
คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 : 335.1 N

จ ำ ห

คําตอบ 3 : 325.0 N

า้
คําตอบ 4 :

ิธ์ ห
345.6 N

ขอที่ : 30

ิท
จงเลือกคําตอบที่ถูกตอง จากกลไก 6 ขอตอในรูป

นส
ง ว
อ ส
กร ข
คําตอบ 1 :


ิ ว
แรง F45 และแรง F65 มีขนาดเทากันแตทิศทางตรงขาม

าว
แรง F และแรง F มีขนาดเทากันแตทิศทางตรงขาม


54 65
คําตอบ 2 :


คําตอบ 3 :
แรง F
65
เปนแรงที่ขอตอ 6 กระทํากับขอตอ 5 ที่จุด B และเปนแรงดึง

แรง F มีทิศตั้งฉากกับ O A
45 4
คําตอบ 4 :
20 of 244
ขอที่ : 31

กลไกสมดุลดังรูป ถาแรง P= 100 N มากระทําที่ Link 4 ดังรูปและ O B= 10 cm ,AB= 7.8 cm, O A = 5.5 cm คาโมเมนตควบคูที่ Link 2 เพื่อให
2 2

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ระบบสมดุลเทากับเทาไร

ิท
3.18 N-m CW

คําตอบ 1 :

ง ว น

31.8 N-m CCW


คําตอบ 2 :

63.7 N-m CCW


กร ข
คําตอบ 3 :

63.7 N-mว ศ
ิ ว
ภ า CW

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 32

21 of 244

ขอใดที่กลาวไวถูกตอง
่ า ย
หน
คําตอบ 1 : ขอตอ 5 และขอตอ 3 เปนขอตอรับ 2 แรงทั้งคู

จ ำ

คําตอบ 2 : ขอตอ 5 และขอตอ 2 เปนขอตอรับ 2 แรงทั้งคู

า้
คําตอบ 3 : แรงที่ขอตอ 5 รับ เปนแรงดึง

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ไมมีขอตอรับ 2 แรงในกลไกนี้

ิท
ขอที่ : 33


สวนหนึ่งของกลไกลูกสูบถูกแสดงในรูป คาสัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหวางพื้นกับลูกสูบเปน 0.3 ระหวางสลักรัศมี 25 มิลลิเมตร กับรูที่ลูกสูบและกานตอเปน 0.08 ลูกสูบกําลัง


เคลื่อนที่ไปทางซาย ขนาดของวงกลมความเสียดทานเปน แรงที่กดที่พื้นโดยลูกสูบเปน 500 นิวตัน ขนาดของโมเมนตเนื่องจากแรงเสียดทานและทิศทางที่กระทําตอลูกสูบคือ

ง ว
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 : ก. 299 Nm CW
คําตอบ 2 : ข. 299 Nm CCW


คําตอบ 3 : ค. 287 Nm CCW


คําตอบ 4 : ง. 287 Nm CW

ขอที่ : 34

22 of 244
สวนหนึ่งของกลไกลูกสูบถูกแสดงในรูป คาสัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหวางพื้นกับลูกสูบเปน 0.3 ระหวางสลักรัศมี 25 มิลลิเมตร กับรูที่ลูกสูบและกานตอเปน 0.08 ลูกสูบกําลัง
เคลื่อนที่ไปทางขวา ขนาดของวงกลมความเสียดทานเปน แรงที่กดที่พื้นโดยลูกสูบเปน 500 นิวตัน ขนาดของโมเมนตเนื่องจากแรงเสียดทานและทิศทางที่กระทําตอลูกสูบคือ

คําตอบ 1 : ก. 299 Nm CW

่ า
คําตอบ 2 : ข. 299 Nm CCW
คําตอบ 3 : ค. 287 Nm CCW

หน

คําตอบ 4 : ง. 287 Nm CW

มจ
า้
ขอที่ : 35

ิธ์ ห
สวนหนึ่งของกลไกลูกสูบถูกแสดงในรูป คาสัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหวางพื้นกับลูกสูบเปน 0.4 ระหวางสลักรัศมี 20 มิลลิเมตร กับรูที่ลูกสูบและกานตอเปน 0.08 ลูกสูบกําลัง
เคลื่อนที่ไปทางขวา ขนาดของวงกลมความเสียดทานเปน แรงที่กดที่พื้นโดยลูกสูบเปน 400 นิวตัน ขนาดของโมเมนตเนื่องจากแรงเสียดทานและทิศทางที่กระทําตอลูกสูบคือ

ส ิท
ง ว น
อ ส

คําตอบ 1 : ก. 238 Nm CW

กร
คําตอบ 2 : ข. 238 Nm CCW
คําตอบ 3 : ค. 255 Nm CCW
คําตอบ 4 :



ง. 255 Nm CW


ขอที่ : 36

ภ าว

สวนหนึ่งของกลไกลูกสูบถูกแสดงในรูป คาสัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหวางพื้นกับลูกสูบเปน 0.4 ระหวางสลักรัศมี 20 มิลลิเมตร กับรูที่ลูกสูบและกานตอเปน 0.08 ลูกสูบกําลัง
เคลื่อนที่ไปทางซาย ขนาดของวงกลมความเสียดทานเปน แรงที่กดที่พื้นโดยลูกสูบเปน 400 นิวตัน ขนาดของโมเมนตเนื่องจากแรงเสียดทานและทิศทางที่กระทําตอลูกสูบคือ

23 of 244
คําตอบ 1 : ก. 238 Nm CW
คําตอบ 2 : ข. 238 Nm CCW
คําตอบ 3 : ค. 255 Nm CCW
คําตอบ 4 : ง. 255 Nm CW

ขอที่ :


37

น่ า
จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

24 of 244

Press Mechanism มีแรง P ที่รูขนาดและทิศทางกระทํากับชิ้นงาน 7 ดังรูป เวคเตอรของแรงที่กระทํา F 67 จะเปนไปดังภาพไหน .


่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภาว

25 of 244
่ า ย
คําตอบ 1 :

หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

คําตอบ 2 :

าว ศ

ส ภ
26 of 244
่ า ย

คําตอบ 3 :

จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข
คําตอบ 4 :


ิ ว
ภ าว

27 of 244
ขอที่ : 38
Press Mechanism มีแรง P ที่รูขนาดและทิศทางกระทํากับชิ้นงาน 7 ดังรูป เวคเตอรของแรงที่กระทําที่ link 4 จะเปนไปดังภาพไหน .

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

28 of 244
่ า ย
คําตอบ 1 :

หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
คําตอบ 2 :

กร ข

ิ ว
ภ าว

29 of 244
่ า ย

คําตอบ 3 :

จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
คําตอบ 4 :

กร ข

ิ ว
ภ าว

ขอที่ : 39

จากรูป ใหหาขนาดของแรงปฏิกิริยาที่พื้นกระทํากับ Slider C เมื่อ Slider C มีแรงจาก แขน AC ขนาด 120 N ทํามุม 30? กับแนวระดับกระทํา
30 of 244
่ า ย

คําตอบ 1 :


60 N


คําตอบ 2 : 70 N


คําตอบ 3 : 80 N


คําตอบ 4 :

า้
90 N

ิธ์ ห
ขอที่ : 40
ใน pin joint ที่มี Friction รูปของแรงตางๆที่กระทําที่ Pin Joint ที่ถูกตองคือรูป

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

คําตอบ 1 :

าว ศ

ส ภ
31 of 244
่ า ย
คําตอบ 2 :

หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส

คําตอบ 3 :

วกร
าว ศ

ส ภ
32 of 244
่ า ย
คําตอบ 4 :

หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ิท
ขอที่ : 41


การเขียนคา Friction circle ใน force diagram คา รัศมีของ Friction Circle ควรมีขนาด =?

ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : r = sin K
คําตอบ 2 : r = MSin K
คําตอบ 3 : r = MR 33 of 244
คําตอบ 4 : r =M tan K
ขอที่ : 42
จากรูป ใหหาขนาดของแรงปฏิกิริยาที่พื้นกระทํากับ Slider C เมื่อ Slider C มีแรงจาก แขน AC ขนาด 100 N ทํามุม 40? กับแนวระดับกระทํา

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 50.24 N
คําตอบ 2 : 64.28 N
คําตอบ 3 : 76.60 N

ิท
คําตอบ 4 :


83.90 N

ขอที่ :

จากรูป ใหหาขนาดของแรงปฏิกิริยาที่พื้นกระทํากับ Slider C เมืว


43

ง น

่อแขน AC มีแรงสถิตยขนาดเทากับ 200 N ทํามุม 30? กับแนวระดับ

ร ข อ
ว ก
า ว ศ


คําตอบ 1 :
ภ 50 N
คําตอบ 2 : 100 N
คําตอบ 3 : 150 N
คําตอบ 4 : 200 N
34 of 244

ขอที่ : 44
จากรูป ใหหาขนาดของแรงปฏิกิริยาที่พื้นกระทํากับ Slider C เมื่อแขน AC มีแรงสถิตยขนาดเทากับ 250 N ทํามุม 45? กับแนวระดับ

่ า ย
หน

คําตอบ 1 :


276.78 N


คําตอบ 2 : 250 N

า้
คําตอบ 3 : 200 N


คําตอบ 4 : 176.78 N

ขอที่ :

น) มีคธ
ใหสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานสถิตระหวางขอตอ 6 (Slider) และขอตอ 1 (แทิท
45 ์ ิ
จงคํานวณมุมของแรงเสียดทาน φ และเติมแรงลงในผังวัตถุอิสว น ส า μ =0.1

ส ง ระ (ขอตอ6) ใหถูกตองเมื่อขอตอ 6 กําลังจะเคลื่อนที่ไปทางขวา

ร ข อ
ว ก
า ว ศ

ส ภ
-1 35 of 244

φ=tan 0.1=5.7?
คําตอบ 1 :

่ า ย
หน

-1
φ=tan 0.1=5.7?

มจ
า้
คําตอบ 2 :
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
-1
φ=sin 0.1=5.7?
กร ข

ิ ว
คําตอบ 3 :

ภ าว

-1 36 of 244
φ=sin 0.1=5.7?
คําตอบ 4 :

่ า ย
ห น

ขอที่ : 46

ใหสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานสถิตระหวางขอตอ 6 (Slider) และขอตอ 1 (แทน) มีคา μ =0.1


ม จ
จงคํานวณมุมของแรงเสียดทาน φ และเติมแรงลงในผังวัตถุอิสระ (ขอตอ6) ใหถูกตองเมื่อขอตอ 6้า
ิธ์ ห กําลังจะเคลื่อนที่ไปทางซาย

ส ิท
ง ว น
อ ส
ก ร ข

ิ ว
า ว
ส ภ
คําตอบ 1 :

-1 37 of 244

φ=tan 0.1=5.7?
่ า ย

-1


φ=tan 0.1=5.7?

จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 :

ส ิท
ง ว น

-1


φ=sin 0.1=5.7?

กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 3 :

ส ภ
-1
φ=sin 0.1=5.7?
38 of 244
คําตอบ 4 :

่ า ย
ขอที่ :

กลไก 6 ขอตอในรูป ขอตอ 3 กําลังจะเคลื่อนที่สัมพัทธกับขอตอ 4 ในทิศจาก O →A โดยสัมประสิทธิ์แรงเสียำ


47

ห น
4
ม จ ดทานระหว างขอตอทั้งสอง คือ μ



ิธ์ ห
= 0.15 จงคํานวณหามุมของแรงเสียดทานสถิต φ

ส ิท
ง ว น
อ ส
ก ร ข
φ = 8.5?

ิ ว

คําตอบ 1 :

ภ า

φ = 5.7?
คําตอบ 2 :

φ = 9.6?
คําตอบ 3 :

39 of 244
φ = 7.4?
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 48

่ า ย
กลไก 6 ขอตอในรูป เมื่อให F = 341 N จงคํานวณขนาดของแรง F สัมประสิทธิ์แรงเสียดทานสถิตยระหวางขอตอ 6 (Slider) และขอตอ 1 คือ μ


6 16


= 0.1 เมื่อขอตอ 6 กําลังจะเคลื่อนที่ไปทางขวามือ

จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

F = 59.5 N



คําตอบ 1 :
16

F =า


คําตอบ 2 :ภ 94.2 N
16

F = 58.2 N
คําตอบ 3 :
16
40 of 244
F = 42.4 N
คําตอบ 4 :
16

ขอที่ :


49

่ า
2 2
มวล A ขนาด 4 กิโลกรัม วิ่งขึ้นดวยความเรง 25 เมตรตอ(วินาที ) และมวล B ขนาด 3 กิโลกรัม วิ่งไปทางซายดวยความเรง 30 เมตรตอ(วินาที )

หน
ความยาวกานตอ AB เทากับ 200 มิลลิเมตรและมีมวลนอยมาก พื้นไมมีความเสียดทาน แรงสั่นสะเทือนจากการเคลื่อนที่โดยไมคิดน้ําหนักของ A
และ B เทากับ
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 : ก. 134.5 N down to the right


คําตอบ 2 : ข. 134.5 N up to the left


คําตอบ 3 : ค. 134.5 N down to the left
คําตอบ 4 : ง. 134.5 N up to the right

ขอที่ : 50

มวล A ขนาด 4 กิโลกรัม วิ่งลงดวยความเรง 25 เมตรตอ(วินาที2) และมวล B ขนาด 3 กิโลกรัม วิ่งไปทางขวาดวยความเรง 30 เมตรตอ(วินาที2) ความยาวกานตอ AB41เทof า244
กับ 200
มิลลิเมตรและมีมวลนอยมาก พื้นไมมีความเสียดทาน แรงสั่นสะเทือนจากการเคลื่อนที่โดยไมคิดน้ําหนักของ A และ B เทากับ
่ า ย
หน
คําตอบ 1 : ก. 134.5 N down to the right

จ ำ
า้ ม
คําตอบ 2 : ข. 134.5 N up to the left

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : ค. 134.5 N down to the left
คําตอบ 4 : ง. 134.5 N up to the right

ขอที่ : 51

ส ิท

2 2


มวล A ขนาด 5 กิโลกรัม วิ่งลงดวยความเรง 25 เมตรตอ(วินาที ) และมวล B ขนาด 3 กิโลกรัม วิ่งไปทางขวาดวยความเรง 30 เมตรตอ(วินาที )

ส ง
ความยาวกานตอ AB เทากับ 200 มิลลิเมตรและมีมวลนอยมาก พื้นไมมีความเสียดทาน แรงสั่นสะเทือนจากการเคลื่อนที่โดยไมคิดน้ําหนักของ A
และ B เทากับ
ขอ
ว กร
าว ศ

ส ภ
42 of 244
คําตอบ 1 : ก. 154 N down to the right
คําตอบ 2 : ข. 154 N up to the left
คําตอบ 3 : ค. 154 N down to the left
คําตอบ 4 : ง. 154 N up to the right

ขอที่ : 52
2

่ า ย 2
มวล A ขนาด 5 กิโลกรัม วิ่งขึ้นดวยความเรง 25 เมตรตอ(วินาที ) และมวล B ขนาด 3 กิโลกรัม วิ่งไปทางซายดวยความเรง 30 เมตรตอ(วินาที )

หน
ความยาวกานตอ AB เทากับ 200 มิลลิเมตรและมีมวลนอยมาก พื้นไมมีความเสียดทาน แรงสั่นสะเทือนจากการเคลื่อนที่โดยไมคิดน้ําหนักของ A
และ B เทากับ
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

คําตอบ 1 : ก. 154 N down to the right
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :

าว ศ

ข. 154 N up to the left
ค. 154 N down to the left


คําตอบ 4 : ง. 154 N up to the right

ขอที่ : 53 ส
แขนกลแขนหนึ่งเคลื่อนที่โดยที่จุดศูนยถวงมวลมีความเรง แรงเฉื่อยจะเกิดขึ้นกับแขนกลตรงจุดไหนและทิศทางใด
คําตอบ 1 : เกิดขึ้นที่จุดศูนยถวงมวลและมีทิศตรงขามกับความเรง
คําตอบ 2 : เกิดที่จุดศูนยถวงมวลและมีเทิศทางเดียวกับความเรง
คําตอบ 3 : เกิดขึ้นที่ปลายของแขนกลและมีทิศตรงขามกับความเรง 43 of 244
คําตอบ 4 : เกิดขึ้นที่ปลายของแขนกลและมีทิศทางเดียวกับความเรง
ขอที่ : 54
เครื่องทดสอบ Impact test ดังรูป มีน้ําหนัก 20 kg. ที่ปลาย น้ําหนักของกานเทากับ 10 kg. เหวี่ยงขึ้นมํามุม 45 องศา แลวเหวียงเขากระทบชิ้นงาน จงหาความเร็วเชิงมุมของลูกตุม
กอนกระทบชิ้นงาน

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
คําตอบ 1 : 2.02 rad/sec

กร ข

คําตอบ 2 : 3.33 rad/sec



คําตอบ 3 : 1.85 rad/sec

าว
คําตอบ 4 : 1.8 rad/sec

ขอที่ : 55

ส ภ
44 of 244
เครื่องทดสอบ Impact test ดังรูป มีน้ําหนัก 20 kg. ที่ปลาย น้ําหนักของกานเทากับ 10 kg. เหวี่ยงขึ้นมํามุม 45 องศา แลวเหวียงเขากระทบชิ้นงาน จงหาความเร็วเชิงเสนของลูกตุม
กอนกระทบชิ้นงาน
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 : 1.85 m/sec

ง ว น

คําตอบ 2 : 1.65 m/sec


คําตอบ 3 : 3.33 m/sec

กร ข
คําตอบ 4 : 6.66 m/sec

ขอที่ : 56


ิ ว
ภ าว

45 of 244
เครื่องทดสอบ Impact test ดังรูป มีน้ําหนัก 20 kg. ที่ปลาย น้ําหนักของกานเทากับ 10 kg. เหวี่ยงขึ้นมํามุม 45 องศา แลวเหวียงเขากระทบชิ้นงาน แลวเหวี่ยงขึ้นไปเปนมุม 20
องศา จงหาพลังงานที่กระทํากับชิ้นงาน(Energy Absorbed)
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 : 133.3 Joules

ง ว น

คําตอบ 2 : 129.3 Joules


คําตอบ 3 : 102.7 Joules

กร ข
คําตอบ 4 : 186.2 Joules

ขอที่ : 57


ิ ว
ภ าว

46 of 244
เครื่องทดสอบ Impact test ดังรูป มีน้ําหนัก 20 kg. ที่ปลาย น้ําหนักของกานเทากับ 10 kg. เหวี่ยงขึ้นมํามุม 45 องศา แลวเหวียงเขากระทบชิ้นงาน จงหาพลังงานที่เหลือหลังจาก
การกระแทก (Energy Absorbed)
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 : 126.5 Joules

ง ว น

คําตอบ 2 : 26.5 Joules


คําตอบ 3 : 129.3 Joules

กร ข
คําตอบ 4 : 37.8 Joules

ขอที่ : 58


ิ ว
าว
แขนกลแขนหนึ่งเคลื่อนที่โดยที่จุดศูนยถวงมวลมีความเรง a แรงเฉื่อยจะเกิดขึ้นกับแขนกลในทิศทางใด
G


คําตอบ 1 :
ภ ทิศทางทํามุม 45?กับความเรง a
G

คําตอบ 2 :
ทิศทางเดียวกับความเรง a 47 of 244

G
ทิศทางตรงขามกับความเรง a
คําตอบ 3 :
G

ทิศทางตั้งฉากกับความเรง a

G

่ า
คําตอบ 4 :

หน
จ ำ

ขอที่ : 59



แขนกลแขนหนึ่งเคลื่อนที่โดยที่จุดศูนยถวงมวลมีความเรง a แรงเฉื่อยจะเกิดขึ้นกับแขนกลในทิศทางใด

ิธ์ ห
G

คําตอบ 1 : ทิศทางตั้งฉากกับแนวของแขนกล

ส ิท
ว น
คําตอบ 2 : ทิศทางตามแนวของแขนกล

ทิศทางตรงขามกับความเรง a
G
ส ง

คําตอบ 3 :

ทิศทางเดียวกับความเรง a ร
ก ข

ิ ว G


คําตอบ 4 :

ภ า
ขอที่ : 60

จงคํานวณแรงเฉื่อย (inertia force) และแรงบิดเฉื่อย (inertia torque) ของขอตอ 3
2 2 2
ให I = 0.011 kg.m , m = 1 kg และจากรูปเหลี่ยมของความเรง A = 94 m/s , α =190 rad/s ทิศทางทวนเข็มนาฬิกา 48 of 244

G3 3 G3 3
่ า ย
หน
แรง เฉื่อย f = 94 N
3
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
แรงบิดเฉื่อย T = 2.09 N.m
3

ส ิท
คําตอบ 1 :

ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 2 :

แรง เฉื่อย f = 94 N
3

แรงบิดเฉื่อย T = 2.09 N.m 49 of 244

3
แรง เฉื่อย f = 94 N
่ า ย

3

แรงบิดเฉื่อย T = 2.09 N.m


จ ำ ห

3

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 3 :

ส ิท
ง ว น
อ ส
แรง เฉื่อย f = 94 N
3

กร ข

ิ ว
าว
แรงบิดเฉื่อย T = 2.09 N.m
3


คําตอบ 4 :

50 of 244
ขอที่ : 61
2 2
กลไก 4 ขอตอในรูป จากรูปเหลี่ยมของความเรงจะได A = 94 m/s , α =190 rad/s ทิศทางทวนเข็มนาฬิกา
G3 3


ให I = 0.011 kg.m , m = 1 kg จะไดแรงเฉื่อยของขอตอ 3 คือ f = 94 N จงหารัศมีวงกลมของแรงเฉื่อย h
่ า
G3 3 3

หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
h = 0.022 m
ง ว น
อ ส
คําตอบ 1 :

กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 2 :

51 of 244
h = 0.022 m
่ า ย
h = 0.022 m
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 3 :

ส ิท
ง ว น
h = 0.022 m
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 4 :

ส ภ
ขอที่ : 62
52 of 244
2 2
กลไก 4 ขอตอในรูปให m = 2.1 kg , I = 0.018 kg.m และจากรูปเหลี่ยมของความเรง จะได A = 49 m/s จงคํานวณแรงเฉื่อย f
2 G2 G2 2

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
f = 102.9 N
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 1 :
2

นส
f = 97.86 N
ง ว

2


คําตอบ 2 :

f = 107.60 N
กร ข
คําตอบ 3 :
2


ิ ว
า วN
ส ภ
f = 10.29
คําตอบ 4 :
2

ขอที่ : 63
53 of 244
2 2
กลไก 4 ขอตอ ในรูป ให m =2.1 kg, I = 0.018 kg.m และจากรูปเหลี่ยมของความเรงจะได A = 49 m/s จงคํานวณแรงบิดเฉื่อย t รอบจุด G
2 G2 G2 2 2

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
t = 2.88 N.m
คําตอบ 1 :
2

ส ิท
คําตอบ 2 :
t = 2.09 N.m
2

ง ว น
อ ส
t = 0.88 N.m
2
กร ข

คําตอบ 3 :

าว ศ

t = 2.28 N.m

2


คําตอบ 4 :

ขอที่ : 64

54 of 244
คําตอบ 1 : เกิดขึ้นที่จุด CG และมีทิศตรงขามกับความเรง

่ า ย
คําตอบ 2 : เกิดขึ้นที่จุด CG และมีทิศเดียวกันกับความเรง


คําตอบ 3 : เกิดขึ้นที่ปลายแขนกล และมีทิศเดียวกันกับความเรง


คําตอบ 4 : เกิดขึ้นที่ปลายแขนกล และมีทิศตรงกันขามกับความเรง

จ ำ

ขอที่ : 65

า้
มวล A ขนาด 4 กิโลกรัม วิ่งขึ้นดวยความเรง 5 เมตรตอ (วินาที2) และมวล B ขนาด 3 กิโลกรัม วิ่งไปทางซายดวยความเรง 3 เมตร/(วินาที2) ความยาวกานตอ AB เทากับ 200 มิลลิเมตร

ิธ์ ห
และมีมวลนอยมาก พื้นไมมีความเสียดทาน แรงสั่นสะเทือนจากการเคลื่อนที่เทากับ

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 : ก. 89.1 N down to the right


คําตอบ 2 : ข. 89.1 N up to the left


คําตอบ 3 : ค. 89.1 N down to the left
คําตอบ 4 : ง. 89.1 N up to the right

ขอที่ : 66

2 2
มวล A ขนาด 4 กิโลกรัม วิ่งลงดวยความเรง 5 เมตรตอ (วินาที ) และมวล B ขนาด 3 กิโลกรัม วิ่งไปทางขวาดวยความเรง 3 เมตร/(วิ55นofาที
244
) ความ
ยาวกานตอ AB เทากับ 200 มิลลิเมตรและมีมวลนอยมาก พื้นไมมีความเสียดทาน แรงสั่นสะเทือนจากการเคลื่อนที่เทากับ
่ า ย
หน
จ ำ
คําตอบ 1 : ก. 49.5 N down to the right

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 : ข. 49.5 N up to the left
คําตอบ 3 : ค. 49.5 N down to the left

ิท
คําตอบ 4 : ง. 49.5 N up to the right

ขอที่ :

มวล A ขนาด 5 กิโลกรัม วิ่งลงดวยความเรง 5 เมตรตอ (วินาที ว


67
น ส

2 2


) และมวล B ขนาด 3 กิโลกรัม วิ่งไปทางขวาดวยความเรง 3 เมตร/(วินาที ) ความ

ข อ
ยาวกานตอ AB เทากับ 200 มิลลิเมตรและมีมวลนอยมาก

พื้นไมมีความเสียดทาน แรงสั่นสะเทือนจากการเคลื่อนที่เทากับ

ว ก
า ว ศ

ส ภ
56 of 244
คําตอบ 1 : ก. 54.2 N down to the right
คําตอบ 2 : ข. 54.2 N up to the left
คําตอบ 3 : ค. 54.2 N down to the left
คําตอบ 4 : ง. 54.2 N up to the right

ขอที่ : 68
2

่ า ย
มวล A ขนาด 5 กิโลกรัม วิ่งขึ้นดวยความเรง 5 เมตรตอ (วินาที ) และมวล B ขนาด 3 กิโลกรัม วิ่งไปทางซายดวยความเรง 3 เมตร/(วินาที ) ความ
2

ยาวกานตอ AB เทากับ 200 มิลลิเมตรและมีมวลนอยมาก พื้นไมมีความเสียดทาน แรงสั่นสะเทือนจากการเคลื่อนที่เทากับ


หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข
คําตอบ 1 :


ิ ว
ก. 103.8 N down to the right

าว
คําตอบ 2 : ข. 103.8 N up to the left


คําตอบ 3 : ค. 103.8 N down to the left


คําตอบ 4 : ง. 103.8 N up to the right

ขอที่ : 69

57 of 244
ถา Link No.2 เคลื่อนที่ในทิศทางตามเข็มนาฬิกาดวยความเร็ว 600 รอบ/นาที แลว Slider B กําลังเคลื่อนที่ไปทางขวา ถามวา เวคเตอรของแรงที่กระทํากับ Link No. 3 จะเปนไป
ดังภาพไหน .
่ า ย
หน
คําตอบ 1 :

จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท

คําตอบ 2 :

ง ว
อ ส
กร ข
คําตอบ 3 :


ิ ว
ภ าว

คําตอบ 4 :

58 of 244
ขอที่ : 70
ถา Link No.2 เคลื่อนที่ในทิศทางทวนเข็มนาฬิกาดวยความเร็ว 600 รอบ/นาที แลว Slider B กําลังเคลื่อนที่ไปทางซาย ถามวา เวคเตอรของแรงที่กระทํากับ Link No. 3 จะเปนไป
ดังภาพไหน .

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 :
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
คําตอบ 2 :

กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 3 :

59 of 244
คําตอบ 4 :

่ า ย

ขอที่ : 71


ถา Link No.2 เคลื่อนที่ในทิศทางทวนเข็มนาฬิกาดวยความเร็ว 300 รอบ/นาที แลว Slider B กําลังเคลื่อนที่ไปทางขวา ถามวา เวคเตอรของแรงที่กระทํากับ Link No. 2 จะเปนไป


ดังภาพไหน .

มจ
า้
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
คําตอบ 1 :

กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 2 :

60 of 244
คําตอบ 3 :

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 4 :
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
ขอที่ : 72

กร ข
ถา Link No.2 เคลื่อนที่ในทิศทางทวนเข็มนาฬิกาดวยความเร็ว 600 รอบ/นาที แลว Slider B กําลังเคลื่อนที่ไปทางขวา ถามวา เวคเตอรของแรงที่กระทํากับ Link No. 3 จะเปนไป


ดังภาพไหน .

าว ศ

ส ภ
61 of 244
คําตอบ 1 :

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 :

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
คําตอบ 3 :

ภ าว

62 of 244
คําตอบ 4 :

่ า ย
หน

ขอที่ : 73


ขอใดคือคุณสมบัติของแรงเฉื่อยออฟเซตสมมูลยที่ไมถูกตอง

มีขนาดเทากับ a
G
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :

มีทิศตรงขามกับ
ส ิท
าน
คําตอบ 2 :

ง ว

ทําใหเกิดโมเมนตรอบจุดศูนยถวงมวลโดยมีทิศตรงข มกับทิศการหมุนของ


คําตอบ 3 :

มีระยะเยื้องศูนยออกจากจุดร
ก ข

คําตอบ 4 : ศูนยถวงมวลเทากับ

า ว ศ


ขอที่ : 74

สมีขนาดเทากับ ma
ขอใดคือคุณสมบัติของแรงเฉื่อยออฟเซตสมบูรณที่ไมถูกตอง

คําตอบ 1 :
G
คําตอบ 2 : มีทิศตรงขามกับ
คําตอบ 3 : ทําใหเกิดโมเมนตรอบจุดศูนยถวงมวลโดยมีทิศตรงขามกับทิศการหมุนของ
63 of 244
คําตอบ 4 : มีระยะเยื้องศูนยออกจากจุดศูนยถวงมวลเทากับ
ขอที่ : 75
ขอใดคือคุณสมบัติของแรงเฉื่อยออฟเซตสมบูรณที่ถูกตอง

คําตอบ 1 : มีขนาดเทากับ a
G
มีทิศทางเดียวกับตรงขามกับ


คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 : ทําใหเกิดโมเมนตรอบจุดศูนยถวงมวลโดยมีทิศทางเดียวกับกับทิศการหมุนของ

น ่ า
มีระยะเยื้องศูนยออกจากจุดศูนยถวงมวลเทากับ

ำ ห
คําตอบ 4 :

ม จ
จงคํานวณหาแรง F กําหนดให m = 2.3 kg, I = 0.005 kg-m , m = 0 kg และ m =2.7 kg,A ้า
ขอที่ : 76

14 2 G2
2

ิธ์ 3 ห 4 G4
2
= 950m/s และ P= 18000 N

ส ิท
ง ว น
อ ส
ก ร ข

ิ ว
า ว

ส = 2805 N
F
14
คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 : F = 2805 N 64 of 244

14
F = 3737.3 N
คําตอบ 3 :
14

F = 3737.3 N

14

่ า
คําตอบ 4 :

หน
จ ำ

ขอที่ : 77

า้
จงคํานวณหาแรงเฉื่อย f2กําหนดให m2= 2.3 kg ,IG2= 0.005 kg-m2, m3= 0 kg และm4= 2.7 kg ,AG2= 1776.5 m/s2 และ P = 18000 N

ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
า วN

คําตอบ 1 : ภ
f = 4086
2

f = 2805 N
คําตอบ 2 :
2
65 of 244
f = 4237.3 N
คําตอบ 3 :
2

f = 3737.3 N
2


คําตอบ 4 :

น ่ า
ขอที่ : 78

จ ำ ห

2 2 2



จงคํานวณหาแรงเฉื่อย f กําหนดให m = 3.6 kg ,I = 0.04 kg-m และจากรูปเหลี่ยมของความเรง A = 1775 m/s ,α = 8333.33 rad/s ทิศทาง

ิธ์ ห
3 3 G3 G3 3
ทวนเข็มนาฬิกา

ส ิท
ง ว น
อ ส
ก ร ข

ิ ว
fภ า ว

คําตอบ 1 :
= 6390 N แนวแรงขนานกับความเรง A แตทิศทางตรงขาม
3 G3

f = 6.39 N แนวแรงขนานกับความเรง A แตทิศทางเดียวกัน


คําตอบ 2 :
3 G3
66 of 244
f = 5390 N แนวแรงขนานกับความเรง A แตทิศทางตรงขาม
คําตอบ 3 :
3 G3

f = 5.39 N แนวแรงขนานกับความเรง A แตทิศทางเดียวกัน


3 G3


คําตอบ 4 :

น ่ า
ขอที่ :

จงคํานวณหาแรงบิดเฉื่อยของขอตอ 3 m = 3.6 kg ,I = 0.04 kg-m และจากรูปเหลี่ยมของความเรง A =จ


79
ำ ห

2 2 2



1775 m/s ,α = 8333.33 rad/s ทิศทาง

ิธ์ ห
3 G3 G3 3
ทวนเข็มนาฬิกา

ส ิท
ง ว น
อ ส
ก ร ข
แรงบิดเฉื่อว ศ
ิ ว
ภ า ย t = 333.33 N.m ทิศตามเข็มนาฬิกา


คําตอบ 1 :
3

แรงบิดเฉื่อย t = 333.33 N.m ทิศทวนเข็มนาฬิกา


คําตอบ 2 :
3

67 of 244
แรงบิดเฉื่อย t = 639.03 N.m ทิศตามเข็มนาฬิกา
คําตอบ 3 :
3

แรงบิดเฉื่อย t = 639.03 N.mทิศทวนเข็มนาฬิกา


3


คําตอบ 4 :

น่ า
ขอที่ : 80

จ้ ำ ห

้ ม
มวล 3 กอนถูกจัดตามตําแหนงในรูป หมุนในระนาบเดียวกันรอบจุด O มีคามวล แขนมวล และมุมดังตอไปนี

m = 10 kg, R = 110 mm ิธ์ ห




A A

น ส
R = 75 mm, θ = 100 R = 90 mm, θ = 220

ο ο

B B C C

มวล B และ C ตองเปนเทาไรเพื่อใหระบบสมดุลอ ส ง


ก ร ข

ิ ว
า ว
ส ภ
68 of 244
m = 14.7 kg, m = 18.7 kg
คําตอบ 1 :
B C

m = 10.9 kg, m = 13.9 kg


B C


คําตอบ 2 :

น่ า

m = 18.7 kg, m = 14.7 kg

B C


คําตอบ 3 :

า้ ม
ิธ์ ห
m = 13.9 kg, m = 10.9 kg
คําตอบ 4 :
B C

ส ิท
ขอที่ : 81

ง ว น
อ ส

มวล 3 กอนถูกจัดตามตําแหนงในรูป หมุนในระนาบเดียวกันรอบจุด O มีคามวล แขนมวล และมุมดังตอไปนี้

กร
m = 10 kg, R = 110 mm

ิ ว
าว
A A

ส ภ
m = 12 kg, θ = 100
B B
o

o
m = 15 kg, θ = 220
C C
69 of 244

แขนมวล B และ C ตองเปนเทาไรเพื่อใหระบบสมดุล


่ า ย

R = 68.0 mm, R = 83.4 mm
B C


คําตอบ 1 :

จ ำ
R = 83.40 mm, R = 68.0 mm
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 :
B C

R = 91.7 mm, R = 112.0 mm


B C
ส ิท

คําตอบ 3 :

ง ว
อ ส
R = 112.0 mm, R = 91.7 mm


B C

กร
คําตอบ 4 :


ิ ว
าว
ขอที่ : 82

ส ภ
มวล 3 กอนถูกจัดตามตําแหนงในรูป หมุนในระนาบเดียวกันรอบจุด O มีคามวล แขนมวล และมุมดังตอไปนี้

m = 10 kg, R = 110 mm
A A

m = 15 kg, θ = 100οm = 12 kg, θ = 220ο 70 of 244

B B C C
แขนมวล B และ C ตองเปนเทาไรเพื่อใหระบบสมดุล

่ า ย
หน
R = 73 mm, R = 140 mm
จ ำ

B C

า้
คําตอบ 1 :

R = 140 mm, R = 73 mm
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 2 :
B C

นส
R = 54 mm, R = 104 mm
ง ว

B C


คําตอบ 3 :

R = 104 mm, R = 54 mm ข
ก ร
คําตอบ 4 :
B


ิ ว C

า ว
ขอที่ : 83
ส ภ
มวล 3 กอนถูกจัดตามตําแหนงในรูป หมุนในระนาบเดียวกันรอบจุด O มีคามวล แขนมวล และมุมดังตอไปนี้

m = 10 kg, R = 110 mm 71 of 244

A A
R = 70 mm, θ = 100ο
B B

R = 100 mm, θ = 220ο


C C

มวล B และ C ตองเปนเทาไรเพื่อใหระบบสมดุล


่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
m = 16.8 kg, m = 15.7 kg
ง ว น

B C


คําตอบ 1 :

m = 15.7 kg, m = 16.8 kgร


ก ข
B


ิ ว C


คําตอบ 2 :

m =า

คําตอบ 3 :ภ 12.5 kg, m = 11.7 kg
B C

m = 11.7 kg, m = 12.5 kg


คําตอบ 4 :
B C
72 of 244
ขอที่ : 84

สมมุติวา มีน้ําหนัก W1,W2 &W3 อยูที่ตําแหนง R1 , R2 และ R3 และตองการหาคา WA , WB จะมาถวงทั้งสองตัวโดยใหรัศมีอยูที่ 3 ของความยาว ดังรูป

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

73 of 244
่ า ย
หน
จ ำ

คําตอบ 1 : Wa =7.88, Wb =4.5

า้
คําตอบ 2 : Wa =3.5, Wb =2.5

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : Wa =7.58, Wb =4.33
คําตอบ 4 : Wa =2.5, Wb =3.5

ขอที่ : 85

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

74 of 244

สมมุติวา มีน้ําหนัก W1,W2 &W3 อยูที่ตําแหนง R1 , R2 และ R3 และตองการหาคา WA , WB จะมาถวงทั้งสองตัวโดยใหรัศมีอยูที่ 3 ของความยาว ดังรูป
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

75 of 244
คําตอบ 1 : Wa= 7.88 ; Wb=4.5
คําตอบ 2 : Wa= 3.5 ; Wb=2.5
คําตอบ 3 : Wa= 7.58 ; Wb=4.33
คําตอบ 4 : Wa= 7.59 ; Wb=4.08

ขอที่ : 86
สมมุติวา มีน้ําหนัก W1,W2 &W3 อยูที่ตําแหนง R1 , R2 และ R3 และตองการหาคา WA , WB จะมาถวงทั้งสองตัวโดยใหรัศมีอยูที่ 3 ของความยาว ดังรูป

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

76 of 244
คําตอบ 1 : Wa= 6.49 ; Wb= 3.14
คําตอบ 2 : Wa= 3.25 ; Wb= 1.57
คําตอบ 3 : Wa =7.58 ; Wb= 4.33
คําตอบ 4 : Wa = 2.078 ; Wb= 4.08

ขอที่ : 87
จากรูป ถาระบบไมสมดุล จะเกิดอะไรขึ้นที่ฐานรองเพลา

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : แรงเขยา
คําตอบ 2 : โมเมนตเขยา
คําตอบ 3 : แรงเขยาและโมเมนตเขยา
คําตอบ 4 : แรงหนีศูนยกลาง

ขอที่ : 88
77 of 244

การทําสมดุลสถิต จะทําเพื่อกําจัดแรงอะไรใหหมดไป
่ า ย
หน
จ ำ

คําตอบ 1 : แรงหนีศูนยกลางเขยา

า้
คําตอบ 2 : โมเมนตเขยา

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : แรงเขยา
คําตอบ 4 : แรงเฉื่อยเขยา

ขอที่ : 89

ส ิท
จากรูป การทําสมดุลจะทําใหกําจัดแรงอะไรออกไปจากระบบ

ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : โมเมนตเขยา
คําตอบ 2 : แรงเขยา
คําตอบ 3 : แรงหนีศูนยกลาง
78 of 244
คําตอบ 4 : แรงเขยาและโมเมนตเขยา
ขอที่ : 90

จากรูป การทําสมดุลจะทําใหกําจัดแรงอะไรออกไปจากระบบ

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 1 : โมเมนตเขยา


คําตอบ 2 : แรงหนีศูนยกลางเขยา


คําตอบ 3 : แรงเฉื่อยเขยา


คําตอบ 4 : แรงเขยา

ส ง

ขอที่ :


91

ว กร
าว ศ

ส ภ
จงคํานวณหามวล m ที่ทําใหระบบอยูในสมดุล มวล m , m และ m หมุนอยูในระนาบเดียวกันดวยความเร็วเชิงมุม ω
e 1 2 e

ให m = 1.5 kg, m = 2 kg, R = 20 cm, R = 20 cm และ R = 25 cm 79 of 244

1 2 1 2 e
่ า ย
หน
จ ำ

m = 2 kg

า้
คําตอบ 1 :
e

m = 2.5 kg ิธ์ ห
คําตอบ 2 :
e

ส ิท
ง ว น

m = 5 kg


e


คําตอบ 3 :

m = 3 kg
ว กร


e

าว
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 92 ส ภ
จงคํานวณหามุม θ ที่ทําใหระนาบอยูในสมดุล มวล m , m และ m หมุนในระนาบเดียวกันดวยความเร็วเชิงมุม ω
e 1 2 e

ให m = 1.5 kg, m = 2 kg, m = 2 kg, R = 20 cm, R = 20 cm และ R = 25 cm 80 of 244

1 2 e 1 2 e
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
θ = 30ο+180ο+53.1ο
คําตอบ 1 : e

ส ิท
θ = 30ο+180ο+36.9ο
e
ง ว น

คําตอบ 2 :

ร ขอ

θ = 30 +90 +53.1
ο ο ο


e



คําตอบ 3 :

า ว

คําตอบ 4 :ภ
θ = 30
e
ο ο
+90 +36.9 ο

ขอที่ : 93
81 of 244
จงคํานวณหามวล m ที่ทําใหระบบอยูในสมดุล มวล m , m และ m หมุนอยูในระนาบเดียวกัน
e 1 2 e

ให m = 3 kg, m = 2 kg, R = 20 cm, R = 30 cm และ R = 20 cm โดย θ = 60? และθ = 180?


1 2 1 2 e 1 2

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น

m = 3 kg

e


คําตอบ 1 :

m = 2 kg
ว กร
คําตอบ 2 :
e

าว ศ


คําตอบ 3 :
ภ m = 2.5 kg
e

คําตอบ 4 :
m = 3.5 kg 82 of 244

e
ขอที่ : 94

มวล m ทําใหระบบอยูในสมดุล มวล m , m และ m หมุนอยูในระนาบเดียวกัน


e 1 2 e

ให m = 3 kg, m = 2 kg, R = 20 cm, R = 30 cm และ R = 20 cm โดย θ = 60ο และθ = 180ο


่ า ย
1 2 1 2 e 1 2

หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
θ = 300ο
e


คําตอบ 1 :

สθ = 280ο
e
คําตอบ 2 :

83 of 244
θ = 180ο
คําตอบ 3 : e

θ = 270ο

e

่ า
คําตอบ 4 :

หน
จ ำ

ขอที่ : 95

า้
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
สมมติวา มีน้ําหนัก W1, W2, W3 อยูที่ตําแหนง R1, R2, R3 และตองการหาคา WA, WB จะมาถวงทั้งสองตัวโดยใหรัศมีอยูที่ 3 ของความยาวดังรูป

กร ข

ิ ว
ภ าว

84 of 244
่ า ย
หน
จ ำ
คําตอบ 1 :

า้ ม
คําตอบ 2 :
ิธ์ ห
คําตอบ 3 :

ส ิท
คําตอบ 4 :

ง ว น
อ ส
ขอที่ : 96

กร ข

ิ ว
ภ าว

มวล 4 กอน A, B, C และ D ถูกจัดวางใหอยูหางกันเปนระยะ 40 เซนติเมตร ตามรูป ถา m = 4 kg, m = 8 kg, แขนมวลทุกกอนยาว 10 เซนติเมตร
B C
มุมของแขนมวล (วัดจากแนวดิ่งทวนเข็มนาฬิกา) เปน θ = 120? และ θ = 210? จงหาขนาด m ที่ทําใหระบบสมดุล 85 of 244

B C A
่ า ย
คําตอบ 1 : 3.772 kg

หน

คําตอบ 2 :


4.772 kg


คําตอบ 3 : 5.772 kg

า้
คําตอบ 4 : 6.772 kg

ขอที่ : 97
ิธ์ ห
ส ิท
ว น
มวล 4 กอน A, B, C และ D ถูกจัดวางใหอยูหางกันเปนระยะ 40 เซนติเมตร ตามรูป ถา mB= 5 kg, mC = 8 kg, แขนมวลทุกกอนยาว 10 เซนติเมตร มุมของแขนมวล (วัดจากแนวดิ่งทวน



เข็มนาฬิกา) เปน θB = 120ο และ θC = 210ο จงหาขนาด mA ที่ทําใหระบบสมดุล

ขอ
ว กร
าว ศ

ส ภ
86 of 244
คําตอบ 1 : 3.344 kg
คําตอบ 2 : 4.344 kg
คําตอบ 3 : 5.344 kg
คําตอบ 4 : 6.344 kg

่ า ย
ขอที่ : 98

ห น
มวล 4 กอน A, B, C และ D ถูกจัดวางใหอยูหางกันเปนระยะ 40 เซนติเมตร ตามรูป ถา m = 4 kg, m = 10 kg, แขนมวลทุกกอนยาว 10 เซนติเมตร

B C
ο ο

ม จ
มุมของแขนมวล (วัดจากแนวดิ่งทวนเข็มนาฬิกา) เปน θ = 120 และ θ = 210 จงหาขนาด m ที่ทําใหระบบสมดุ ล


B C A

ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
ก ร ข
คําตอบ 1 : 3.458 kg


ิ ว
า ว
คําตอบ 2 : 4.458 kg


คําตอบ 3 : 5.458 kg


คําตอบ 4 : 6.458 kg

ขอที่ : 99

มวล 4 กอน A, B, C และ D ถูกจัดวางใหอยูหางกันเปนระยะ 40 เซนติเมตร ตามรูป ถา m = 5 kg, m = 10 kg, แขนมวลทุกกอนยาว 10 เซนติเมตร
87 of 244

B C
มุมของแขนมวล (วัดจากแนวดิ่งทวนเข็มนาฬิกา) เปน θ = 120ο และ θ = 210ο จงหาขนาด m ที่ทําใหระบบสมดุล
B C A

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท

คําตอบ 1 : 3.935 kg

ง ว
คําตอบ 2 : 4.935 kg


คําตอบ 3 : 5.935 kg


คําตอบ 4 : 6.935 kg

ขอที่ :

กร ข

100

าว ศ

ส ภ
88 of 244

ให W1,W2 &W3 ดังในรูป ตองการหาน้ําหนักมาถวง We เพื่อถวงสมดุลยที่ระยะ 3.5 หนวยความยาว และตําแหนง Degree ของ e
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

คําตอบ 1 : We =15 Degree e= 59.0



คําตอบ 2 : We = 15 Degree e= 259.0

าว
คําตอบ 3 : We =9.09 Degree e= 264.0


คําตอบ 4 : We = 9.09 Degree e= 84.9

ขอที่ : 101

ให W1,W2 &W3 ดังในรูป ตองการหาน้ําหนักมาถวง We เพื่อถวงสมดุลยที่ระยะ 3.5 หนวยความยาว และตําแหนง Degree ของ e 89 of 244
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

คําตอบ 1 : We = 15 Degree ของ e =59.0



คําตอบ 2 : We = 15 Degree ของ e = 259.0

าว
คําตอบ 3 : We = 13.37 Degree ของ e = 263.34


คําตอบ 4 : We = 13.37 Degree ของ e = 83.34

ขอที่ : 102

90 of 244

ให W1,W2 &W3 ดังในรูป ตองการหาน้ําหนักมาถวง We เพื่อถวงสมดุลยที่ระยะ 3.5 หนวยความยาว และตําแหนง Degree ของ e
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
คําตอบ 1 :

กร ข
W = 15.66 : Degree ของ e = 53.22


คําตอบ 2 : W = 15.66 : Degree ของ e = 253.22



คําตอบ 3 : W = 9.09 : Degree ของ e = 264.9

าว
คําตอบ 4 : W = 9.09 : Degree ของ e = 84.9

ขอที่ : 103
ส ภ
91 of 244

ให W1,W2 &W3 ดังในรูป ตองการหาน้ําหนักมาถวง We เพื่อถวงสมดุลยที่ระยะ 3.5 หนวยความยาว และตําแหนง Degree ของ e
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
คําตอบ 1 : W = 5.38 : Degree ของ e = 265.7

าว
คําตอบ 2 : W = 15.38 : Degree ของ e = 265.7
คําตอบ 3 : W = 9.09 : Degree ของ e = 264.9


คําตอบ 4 : W = 9.09 : Degree ของ e = 84.9

ขอที่ : 104 ส
ขอใดถูกตองสําหรับการทําสมดุลพลวัต
คําตอบ 1 : ทําเพื่อกําจัดโมเมนตเขยาและแรงเขยา
คําตอบ 2 : ตองใสมวลอยางนอย 3 มวลเพิ่มเขาไป
คําตอบ 3 : ใชในกรณีที่มีมวลเพียงอันเดียวที่หมุนในระนาบ 92 of 244
คําตอบ 4 : ใชหลักผลรวมของแรงเฉื่อยเทากับศูนยเพียงอยางเดียว
ขอที่ : 105
ขอใดถูกตองสําหรับการทําสมดุลพลวัต
คําตอบ 1 : ทําเพื่อกําจัดโมเมนตเขยาเพียงอยางเดียว
คําตอบ 2 : ตองใสมวลอยางนอย 3 มวลเพิ่มเขาไป
คําตอบ 3 : ใชในกรณีที่มีมวลเพียงอันเดียวที่หมุนในระนาบ


คําตอบ 4 : ใชหลักผลรวมของแรงเฉื่อยเทากับศูนยและผลรวมของโมเมนตรอบจุดใดๆเทากับศูนย

น่ า

ขอที่ : 106


ขอใดถูกตองสําหรับการทําสมดุลพลวัต
คําตอบ 1 : ทําเพื่อกําจัดโมเมนตเขยาเพียงอยางเดียว

มจ
า้
คําตอบ 2 : ตองใสมวลอยางนอย 2 มวลเพิ่มเขาไป

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : ใชในกรณีที่มีมวลเพียงอันเดียวที่หมุนในระนาบ
คําตอบ 4 : ใชหลักผลตางของแรงเฉื่อยเทากับศูนยและผลตางของโมเมนตรอบจุดใดๆเทากับศูนย

ขอที่ : 107

ส ิท
ว น
ขอใดไมถูกตองสําหรับการทําสมดุลพลวัต


คําตอบ 1 : ทําเพื่อกําจัดแรงเขยาและโมเมนตเขยา


คําตอบ 2 : ตองใสมวลอยางนอย 2 มวลเพิ่มเขาไป


คําตอบ 3 : ใชในกรณีที่มีมวลเพียงอันเดียวที่หมุนในระนาบ
คําตอบ 4 :

กร ข
ใชหลักผลรวมของแรงเฉื่อยเทากับศูนยและผลรวมของโมเมนตรอบจุดใดๆเทากับศูนย

ขอที่ : 108


ิ ว
ภ าว

จงหามวล m เพื่อถวงสมดุลแรงบนระนาบ A เมื่อระบบมีโมเมนตที่สมดุล จากการเติมมวล m ลงบนระนาบ B โดย m = 4 หนวยน้ําหนัก
A B B

m = 1 หนวยน้ําหนัก, m = 3 หนวยน้ําหนัก
1 2

R = 2 หนวยความยาว, R = 2 หนวยความยาว 93 of 244

1 2
่ า ย
หน
R = 2 หนวยความยาว และให θ =θ +180ο
จ ำ

B 2 1

า้
ิธ์ ห
m = 6 หนวยน้ําหนัก
คําตอบ 1 :
A

ส ิท

m = 2.5 หนวยน้ําหนัก

A


คําตอบ 2 :

อ ส
คําตอบ 3 :
m = 3 หนวยน้ําหนัก
A

กร ข

ิ ว
าว
m = 2 หนวยน้ําหนัก


A


คําตอบ 4 :

ขอที่ : 109

จงหามวล m = เพื่อถวงสมดุลโมเมนตรอบแกนอางอิงในระนาบ A โดนให m อยูในระนาบ B 94 of 244

B B
ให m = 5 หนวยน้ําหนัก, m = 3 หนวยน้ําหนัก
1 2

R = 2 หนวยความยาว, R = 2 หนวยความยาว
1 2

R = 1 หนวยความยาว
่ า ย

B

จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
m = 8 หนวยน้ําหนัก
อ ส

B

กร
คําตอบ 1 :


ิ ว
m = 6 หนวยน้ําหนัก

าว
คําตอบ 2 :
B

ส ภ m = 4 หนวยน้ําหนัก
B
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 : m = 2 หนวยน้ําหนัก 95 of 244

B
ขอที่ : 110

จงหามวล m = เพื่อถวงสมดุลโมเมนตรอบแกนอางอิงในระนาบ A โดนให m อยูในระนาบ B


B B

ให m = 1 หนวยน้ําหนัก, m = 3 หนวยน้ําหนัก


่ า ย

1 2

R = 2 หนวยความยาว, R = 2 หนวยความยาว
จ ำ ห

1 2

า้
ิธ์ ห
R = 2 หนวยความยาว
B

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

96 of 244
m = 4 หนวยน้ําหนัก
คําตอบ 1 :
B

m = 2 หนวยน้ําหนัก
B


คําตอบ 2 :

น่ า

m = 2.5 หนวยน้ําหนัก

B


คําตอบ 3 :

า้ ม
ิธ์ ห
m = 3 หนวยน้ําหนัก
คําตอบ 4 :
B

ส ิท
ขอที่ : 111

ง ว น
อ ส
ก ข
ร A เมื่อระบบมีโมเมนตที่สมดุล จากการเติมมวล m ลงบนระนาบ B โดย m = 4 หนวยน้ําหนัก

ิ ว
จงหามวล m เพื่อถวงสมดุลแรงบนระนาบ

A B B

m = 1 หนวยน้ําหนัา
1
ส ภ ก, m = 3 หนวยน้ําหนัก
2

R = 2 หนวยความยาว, R = 2 หนวยความยาว
1 2

R = 2 หนวยความยาว และให θ =θ2 97 of 244

B 1
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท

m = 8 หนวยน้ําหนัก

B


คําตอบ 1 :

อ ส
m = 2 หนวยน้ําหนัก
B

กร ข

คําตอบ 2 :

าว ศ

m = 2.5 หนวยน้ําหนัก

B


คําตอบ 3 :

m = 3 หนวยน้ําหนัก
คําตอบ 4 : B
98 of 244
ขอที่ : 112
ผลรวม Primary unbalanced force ในเครื่องยนต 3 สูบแบบแถวเรียงเปน
คําตอบ 1 : 0


คําตอบ 2 :

่ า
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :

หน
จ ำ

ขอที่ : 113

า้
ผลรวม Secondary unbalanced force ในเครื่องยนต 3 สูบแบบแถวเรียงเปน

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 0
คําตอบ 2 :

ิท
คําตอบ 3 :


คําตอบ 4 :

ง ว น

ขอที่ : 114


ผลรวม Primary unbalanced force ในเครื่องยนต 4 สูบแบบแถวเรียงเปน

กร ข
คําตอบ 1 : 0
คําตอบ 2 :


คําตอบ 3 :

าว ศ

คําตอบ 4 :


ขอที่ :


115
ผลรวม Secondary unbalanced force ในเครื่องยนต 4 สูบแบบแถวเรียงเปน
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 : 99 of 244
ขอที่ : 116
เครื่องยนตลูกสูบเดี่ยว ดังรูป จงคะเนตําแหนง และน้ําหนักถวงที่ดีทีสุด ถาน้ําหนักทั้งหมดที่ปลายขอเหวี่ยง = WC น้ําหนักทั้งหมดของลูกสูบ = WP

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 90 Degree, WC+WP
คําตอบ 2 : 180 Degree, WC+WP/2
คําตอบ 3 : 30 Degree , (WC+WP)/2
คําตอบ 4 : 210 Degree, WC+WP/2

ขอที่ : 117
ในการทํา Balancing เพลาขอเหวี่ยงของเครื่องยนต 4 สูบ อุปกรณที่นิยมใช คืออะไร ติดตั้งไวที่ไหน 100 of 244
คําตอบ 1 : Manchaester Balancer ถวงบริเวณสูบ 2 และ3
คําตอบ 2 : Lonchaester Balancer ถวงบริเวณสูบ 1 และ3
คําตอบ 3 : Lanchaester Balancer ถวงบริเวณสูบ 2 และ3
คําตอบ 4 : Lanchaester Balancer ถวงบริเวณสูบ 3 และ 4

ขอที่ : 118

่ า ย
ในเครื่องยนต 4 สูบ นิยมใช Lanchaster Balancer ถวงดวยนําหนักเทาไหร และตรงไหน ถา W =น้ําหนักที่ลูกสูบทั้งหมด R = รัศมีเพลาขอเหวี่ยง Rc = รัศมีเฟองถวง L= ความ


ยาวกานขอเหวี่ยง a = ระยะระหวางลูกสูบ


คําตอบ 1 : = 1/2 (W) R^2/RcL ที่ระยะ 3a/2


คําตอบ 2 : = (W) R^2/RcL ที่ระยะ 3a/2

มจ
คําตอบ 3 : = 4(W) R^2/RcL ที่ระยะ 3a/2

า้
คําตอบ 4 : = 2 (W) R^2/RcL ที่ระยะ 3a/2

ขอที่ : 119
ิธ์ ห
ิท
เครื่องยนตเบนซินขนาด 2000 ซีซี 6 สูบแถวเรียง หมุนดวยความเร็วคงที่ 1000 รอบตอนาที ถา W = Total Piston weight R= radius of crankshaft L= Piston rod จงหาคา


Total Inertia force และ Couple ของเครื่องยนต


คําตอบ 1 : Fs = 0 M =0

ง ว
คําตอบ 2 : Fs = WR(6R/L) M= WRw^2(6aR/L)


คําตอบ 3 : Fs = WR(4R/L) M= WRw^2(4aR/L)


คําตอบ 4 : Fs = WR(R/L) M= WRw^2(aR/L)

ขอที่ :

กร ข

120

าว ศ

ส ภ
101 of 244

จากรูปแรงคูใดที่ทําใหเกิดโมเมนตคูควบ
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
F และ F
y

กร ข

คําตอบ 1 : 14 12

า Fว



x
F และ

คําตอบ 2 : 14 12

y
F และ F
คําตอบ 3 : 12
102 of 244
x
F และ F
คําตอบ 4 : 12


ขอที่ : 121
จากรูปแรงคูใดที่ทําใหเกิดโมเมนตคูควบ

น่ า
จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข
F และ F

ิ ว x

าว
คําตอบ 1 : 14 12

คําตอบ 2 :
ส ภ F และ F
14

y
คําตอบ 3 :
F และ F 103 of 244

12
y x
F และ F
คําตอบ 4 : 12 12

่ า ย

ขอที่ : 122


จากรูปแรงคูใดที่ทําใหเกิดโมเมนตคูควบ

จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข
F และ F

ิ ว
าว
คําตอบ 1 :
14

ส ภ F และ F
12
x
คําตอบ 2 :

y
คําตอบ 3 : F และ F 104 of 244

12
x
F และ F
คําตอบ 4 : 14 12

่ า ย

ขอที่ : 123


จากรูปแรงคูใดที่ทําใหเกิดโมเมนตคูควบ

จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
า วF

y x
F และ

คําตอบ 1 : 12 12

y
F และ F
คําตอบ 2 : 12
105 of 244
x
F และ F
คําตอบ 3 : 14 12

y
F และ F

14 12

่ า
คําตอบ 4 :

ห น
จ ำ

ขอที่ : 124

ห า

เครื่องยนตสูบเดียวหมุนดวยความเร็วเชิงมุม ω =125 rad/s ความยาวกานสูบ L= 35 cm ความยาวข อเหวี่ยง R= 4 cm มวลรวมที่ C และ P แสดงใน
์ ิ
2
รูป
ิท ธ
น ส
เมื่อ θ =45 จงหาแรง f

ο


P

อ ส

2


ให f =m Rω [cosθ+(R/L)cos2θ]


P P 2


ิ ว
า ว
ส ภ
106 of 244
f = 441.9 N
คําตอบ 1 :
P

f = 1250 N
P


คําตอบ 2 :

น่ า

f = 1325.8 N

P


คําตอบ 3 :

า้ ม
ิธ์ ห
f = 1691.9 N
คําตอบ 4 :
P

ส ิท
ขอที่ : 125

ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
เครื่องยนตสูบเดียวหมุนดวยความเร็วเชิงมุม ω =125 rad/s ความยาวกานสูบ L= 35 cm ความยาวขอเหวี่ยง R= 4 cm มวลรวมที่ C และ P แสดงใน
2
รูป
ส ภ
เมื่อ θ =45ο จงหาแรงทุติยภูมิของ f
P

2
ให f =m Rω [cosθ+(R/L)cos2θ] 107 of 244

P P 2
่ า ย
หน
จ ำ

f” = 0 N

า้
P

ิธ์ ห
คําตอบ 1 :

ิท
f” = 1250 N


คําตอบ 2 :
P

ง ว น

f” = 441.9 N


P


คําตอบ 3 :


f” = 1691.9 N
กร


P

าว
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 126 ส ภ
เครื่องยนตสูบเดียวหมุนดวยความเร็วเชิงมุม ω =125 rad/s ความยาวกานสูบ L= 35 cm ความยาวขอเหวี่ยง R= 4 cm มวลรวมที่ C และ P แสดงใน
2
108 of 244

รูป
เมื่อ θ =0ο จงหาแรงปฐมภูมิของ f
P

2
ให f =m Rω [cosθ+(R/L)cos2θ]
P P 2

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
f’ = 625 N
P
อ ส

คําตอบ 1 :

ว กร


f’ = 1250 N

าว
คําตอบ 2 :
P


คําตอบ 3 :
ภ f’ = 441.9 N
P

คําตอบ 4 :
f’ = 1691.9 N 109 of 244

P
ขอที่ : 127

เครื่องยนตสูบเดียวหมุนดวยความเร็วเชิงมุม ω =125 rad/s ความยาวกานสูบ L= 35 cm ความยาวขอเหวี่ยง R= 4 cm มวลรวมที่ C และ P แสดงใน


2
รูป
่ า ย
หน
เมื่อ θ =90ο จงหาแรงปฐมภูมิของ f
P
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
2
ให f =m Rω [cosθ+(R/L)cos2θ]
P P 2

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว
คําตอบ 1 :ส f’ = 0 N
P

คําตอบ 2 :
f’ = 1250 N 110 of 244

P
f’ = 441.9 N
คําตอบ 3 :
P

f’ = 1691.9 N

P

่ า
คําตอบ 4 :

หน
จ ำ

ขอที่ : 128

า้
การสัมผัสระหวางผิวลูกสูบกับกระบอกสูบจัดเปนคูสัมผัสแบบ

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : คูสัมผัสเลื่อนไหล (Sliding pairs)
คําตอบ 2 : คูสัมผัสเกลียว (Helical pairs)

ิท
คําตอบ 3 : คูสัมผัสทรงกระบอก (Cylindrical pairs)


คําตอบ 4 : คูสัมผัสทรงกลม (Spherical pairs)

ขอที่ : 129

ง ว น

การสัมผัสระหวางผิวสลักเกลียวกับแปนเกลียวจัดเปนคูสัมผัสแบบ
คําตอบ 1 :

ขอ
คูสัมผัสเลื่อนไหล (Sliding pairs)

กร
คําตอบ 2 : คูสัมผัสเกลียว (Helical pairs)


คําตอบ 3 : คูสัมผัสทรงกระบอก (Cylindrical pairs)



คําตอบ 4 : คูสัมผัสทรงกลม (Spherical pairs)

ขอที่ : 130

ภ าว

การสัมผัสระหวางผิวของรองลื่นแบบ journal กับเพลาจัดเปนคูสัมผัสแบบ
คําตอบ 1 : คูสัมผัสเลื่อนไหล (Sliding pairs)
คําตอบ 2 : คูสัมผัสเกลียว (Helical pairs)
คําตอบ 3 : คูสัมผัสทรงกระบอก (Cylindrical pairs)
คําตอบ 4 : คูสัมผัสทรงกลม (Spherical pairs)

111 of 244
ขอที่ : 131
คูสัมผัสเกลียว (Helical pairs) ไดแกการสัมผัสระหวาง
คําตอบ 1 : ผิวลูกสูบกับกระบอกสูบ
คําตอบ 2 : ลอรถยนตกับพื้นถนน
คําตอบ 3 : ฟนเฟองคูหนึ่ง
คําตอบ 4 : สลักเกลียวกับแปนเกลียว

่ า ย
ขอที่ : 132


คูสัมผัสแบบ Lower pair คือ


คําตอบ 1 : คูสัมผัสที่ถูกยึดใหติดกันทางเชิงกลอยางเดียว

จ ำ
คําตอบ 2 : คูสัมผัสระหวางลูกบอลกับเบา


คําตอบ 3 : คูสัมผัสที่สัมผัสกันเปนพื้นที่

า้
คําตอบ 4 : คูสัมผัสที่มีสวนสัมผัสกันเปนเสนหรือจุด

ขอที่ : 133
ิธ์ ห
ิท
คูสัมผัสทรงกลม ( Spherical Pairs) คือ


คําตอบ 1 : คูสัมผัสที่ถูกยึดดวยแรงภายนอก หรือ แรงโนมถวง

ว น
คําตอบ 2 : คูสัมผัสที่เคลื่อนที่โดยหมุนไปพรอมๆกับการเคลื่อนที่ไปตามแกนการหมุน


คําตอบ 3 : คูสัมผัสระหวางลูกบอลกับเบา


คําตอบ 4 : คูสัมผัสที่มีสวนสัมผัสกันเปนพื้นที่

ขอ
กร
ขอที่ : 134


คูสัมผัสแบบคูขั้นสูง (Higher Pairs) คือ



คําตอบ 1 : คูสัมผัสที่มีสวนสัมผัสกันเปนเสนหรือจุด

าว
คําตอบ 2 : คูสัมผัสที่มีสวนสัมผัสกันเปนพื้นที


คําตอบ 3 : คูสัมผัสที่มีสวนสัมผัสกันเปนแบบเชิงไมบังคับ


คําตอบ 4 : คูสัมผัสที่มีสวนสัมผัสกันอยูสวนบนของกลไก

ขอที่ : 135
Prismatic pairs คือ
คําตอบ 1 : คูสัมผัสของสามเหลี่ยมปริซึม
คําตอบ 2 : คูสัมผัสของลอกลิ้งโดยไมลื่นไถล
112 of 244
คําตอบ 3 : คูสัมผัสของกลไกที่ยอมใหขอตอหนึ่งเคลื่อนที่ไดโดยการหมุน
คําตอบ 4 : คูสัมผัสของกลไกที่ยอมใหขอตอหนึ่งเคลื่อนที่ไดโดยเลื่อนไถลไปมา

ขอที่ : 136
ขอใดเปนชนิดของการเคลื่อนที่แบบ Plane Motion
คําตอบ 1 : Translation Motion
คําตอบ 2 :


Spherical Motion

่ า
คําตอบ 3 : Helical Motion


คําตอบ 4 : Absolute Motion

ขอที่ : 137

จ ำ ห

ขอใดเปนชนิดของการเคลื่อนที่แบบ Plane Motion

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : Spherical Motion
คําตอบ 2 : Rotation Motion
คําตอบ 3 : Helical Motion

ิท
คําตอบ 4 : Absolute Motion

นส

ขอที่ : 138


ขอใดไมใชชนิดของการเคลื่อนที่แบบ Plane Motion
คําตอบ 1 : Translation Motion

อ ส

คําตอบ 2 : Rotation Motion

กร
คําตอบ 3 : Rectilinear Motion


คําตอบ 4 : Absolute Motion

ขอที่ : 139

าว ศ


ขอใดไมใชชนิดของการเคลื่อนที่แบบ Plane Motion


คําตอบ 1 : Rectilinear Motion
คําตอบ 2 : Curvilinear Motion
คําตอบ 3 : Helical Motion
คําตอบ 4 : Translation Motion

ขอที่ : 140 113 of 244


โซคิเนแมติก (Kinematic chain) ในขอใดเปนโซคิเนแมติกเชิงบังคับ (constrained kinematic chain)
คําตอบ 1 :

่ า ย
หน
จ ำ

คําตอบ 2 :

า้
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 3 :

ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 4 :

ส ภ
ขอที่ : 141
คําตอบขอใดไมถูกตอง
114 of 244

คูสัมผัสขั้นต่ํา (Lower Pair)


คําตอบ 1 :

่ า ย
คูสัมผัสแบบทรงกระบอก (Cylindrical pairs)
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 :

ส ิท
ง ว น

คูสัมผัสแบบทรงกลม (Spherical pairs)

ขอ
คําตอบ 3 :

ว กร
าว ศ

ส ภ
คําตอบ 4 :

115 of 244
คูสัมผัสแบบปด (Form-closed pairs)
่ า ย
หน

ขอที่ :


142


เมื่อแบงตามลักษณะของการเคลื่อนที่สัมพัทธ คูสัมผัสในรูปเปนคูสัมผัสชนิดใด

า้
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข
คูสัมผัส 23 เปนแบบหมุน(Tuning pair)


คําตอบ 1 : คูสัมผัส 12 เปนแบบเลื่อน (Sliding pair)

าว ศ


คูสัมผัส 23 เปนแบบทรงกระบอก (Cylindrical pair)

คําตอบ 2 :
ส คูสัมผัส 12 เปนแบบเลื่อน (Sliding pair)

คูสัมผัส 23 เปนแบบคูขั้นสูง
คําตอบ 3 : 116 of 244

คูสัมผัส 12 เปนแบบคูขั้นต่ํา
คูสัมผัส 23 เปนคูสัมผัสที่มีระดับขั้นความเสรีเปน 1

คําตอบ 4 : คูสัมผัส 12 เปนคูสัมผัสที่มีระดับขั้นความเสรีเปน 1

่ า ย

ขอที่ : 143


เมื่อแบงตามลักษณะการเคลื่อนที่สัมพัทธ คูสัมผัสในรูปเปนคูสัมผัสชนิดใด

จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : คูสัมผัสแบบกลิ้งพรอมไถล

ส ิท

คําตอบ 2 : คูสัมผัสขั้นสูง


คําตอบ 3 : คูสัมผัสแบบเลื่อนไถล
คําตอบ 4 : คูสัมผัสแบบหมุน

ส ง
ขอ
กร
ขอที่ : 144
โครงสรางสะพานพุทธจัดเปนโซคิเนแมติก (Kinematic chain)


คําตอบ 1 : แบบเปด
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :

าว
เชิงบังคับ



แบบบังคับไมได


คําตอบ 4 : แบบล็อก

ขอที่ : 145 ส
โซคิเนแมติกแบบล็อก (Locked kinematic chain) ไดแก
คําตอบ 1 : โครงสรางสะพานพุทธ
คําตอบ 2 : เพลาขอเหวี่ยงเครื่องยนต
คําตอบ 3 : ชุดเฟองทด 117 of 244
คําตอบ 4 : สายพานลําเลียง
ขอที่ : 146
ชุดเฟองทดเปนโซคิเนแมติก (Kinematic chain)
คําตอบ 1 : แบบล็อก
คําตอบ 2 : เชิงบังคับ
คําตอบ 3 : แบบเปด


คําตอบ 4 : แบบบังคับไมได

น่ า

ขอที่ : 147


บานประตูแบบแกวง (Swinging door) จัดเปนโซคิเนแมติก (Kinematic chain)
คําตอบ 1 : แบบล็อก

มจ
า้
คําตอบ 2 : เชิงบังคับ

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : แบบเปด
คําตอบ 4 : แบบปด

ขอที่ : 148

ส ิท
ว น
กลไกที่กําหนดการเคลื่อนที่ของจุดๆหนึ่ง เรียกวา


คําตอบ 1 : Path Generation


คําตอบ 2 : Motion Generation


คําตอบ 3 :


Function Generation

กร
คําตอบ 4 : Change point Mechanism

ขอที่ : 149


ิ ว
าว
กลไกที่สนใจกําหนดการเคลื่อนที่ของกานสง เชน ฝากระโปรงรถยนต เรียกวา


คําตอบ 1 : Motion Generation


คําตอบ 2 : Path Generation
คําตอบ 3 : Function Generation
คําตอบ 4 : Change point Mechanism

ขอที่ : 150
โครงสรางแบบโซล็อคชนิด Statically determinate คือ
118 of 244
คําตอบ 1 : โครงสรางของลูกเบี้ยวและตัวตาม
คําตอบ 2 : Peaucellier Mechanism
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 151
คูสัมผัสของ Camshaft กับ Valve ในเครื่องยนตเปนคูสัมผัสแบบ
คําตอบ 1 : Lower Pairs & Form- Closed Pairs

่ า ย

คําตอบ 2 : Lower Pairs & Force-closed Pairs


คําตอบ 3 : Higher Pairs & Form-closed Pairs

จ ำ
คําตอบ 4 : Higher Pairs & Force-Closed Pairs

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
152
ขอใดไมใชประเภทของการสงผานการเคลื่อนที่
คําตอบ 1 : การสงผานการเคลื่อนที่แบบสัมผัสกันโดยตรง

ิท
คําตอบ 2 : การสงผานการเคลื่อนที่แบบสัมผัสกันโดยออม


คําตอบ 3 : การสงผานการเคลื่อนที่โดยอาศัยชิ้นตอโยงที่ยืดหดได

ว น
คําตอบ 4 : การสงผานการเคลื่อนที่โดยอาศัยชิ้นตอโยงตัวกลาง

ส ง

ขอที่ : 153


ขอใดคือการสงผานการเคลื่อนที่โดยอาศัยชิ้นตอโยงที่ยืดหดได

กร
คําตอบ 1 : ลูกเบี้ยวและตัวตาม


คําตอบ 2 : กานสูบและลูกสูบ



คําตอบ 3 : สายพาน

าว
คําตอบ 4 : coupling

ขอที่ : 154

ส ภ
ขอใดคือการสงผานการเคลื่อนที่แบบสัมผัสกันโดยตรง
คําตอบ 1 : สายพาน
คําตอบ 2 : ลูกเบี้ยวและตัวตาม
คําตอบ 3 : กานสูบและลูกสูบ
คําตอบ 4 : coupling
119 of 244
ขอที่ : 155
ขอใดคือการสงผานการเคลื่อนที่โดยอาศัยชิ้นตอโยงตัวกลาง
คําตอบ 1 : coupling
คําตอบ 2 : ลูกเบี้ยวและตัวตาม
คําตอบ 3 : กานสูบและลูกสูบ
คําตอบ 4 : สายพาน

่ า ย

ขอที่ : 156


ขอเหวี่ยง (Crank) หมายถึงขอใด

จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ขอตอ O A ที่สามารถหมุนไดรอบจุดหมุนที่อยูกับที่ O

ง ว น

2 2
คําตอบ 1 :

ขอ
กร
1. ขอตอ O4B ที่แกวงไปมารอบจุดหมุน O4
คําตอบ 2 :


ิ ว
าว
ขอตอ AB ที่สามารถหมุนไดรอบจุด A และจุด B
คําตอบ 3 :


คําตอบ 4 : ภ ขอตอ O O ที่มี O และ O เปนจุดหมุนที่อยูกับที่ของกลไก 4-ขอตอ
2 4 2 4

ขอที่ : 157
กานสง (Coupler) หมายถึงขอตอในรูปใด 120 of 244
คําตอบ 1 : ขอตอ 3

่ า ย
คําตอบ 2 : ขอตอ 2


คําตอบ 3 : ขอตอ 4


คําตอบ 4 : ขอตอ 1

จ ำ

ขอที่ : 158

า้
ขอใดเปนการแบงชนิดของคูสัมผัสตามลักษณะของพื้นผิวที่สัมผัสกันของคูสัมผัส

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : คูขั้นสูง และคูขั้นต่ํา
คําตอบ 2 : คูปดโดยเชิงกล และคูปดโดยแรง

ิท
คําตอบ 3 : คูสัมผัสแบบเลื่อนไถล และแบบหมุน


คําตอบ 4 : คูสัมผัสแบบกลิ้งโดยไมไถล และกลิ้งโดยมีการไถล

ขอที่ : 159

ง ว น
อ ส
ขอใดเปนการแบงคูสัมผัสตามลักษณะของการบังคับเชิงกล


คําตอบ 1 : คูปดโดยเชิงกล และคูปดโดยแรง

กร
คําตอบ 2 : คูขั้นสูง และคูขั้นต่ํา


คําตอบ 3 : สัมผัสแบบกลิ้งโดยไมไถล และแบบกลิ้งพรอมไถล



คําตอบ 4 : คูสัมผัสแบบเกลียว และคูสัมผัสทรงกระบอก

ขอที่ : 160

ภ าว

กลไก 4 ขอตอ (Four bars linkage) ตัวหนึ่งประกอบดวยขอตอ 4 ชิ้นที่มีความยาวดังนี้ S เปนความยาวของขอตอที่สั้นที่สุด L เปนความยาวของขอตอที่ยาวที่สุด P และ Q เปน
ความยาวของขอตออีก 2 ขอที่เหลือ ถากลไกชุดนี้ถูกประกอบให S+L < P+Q โดยที่ขอตอสั้นที่สุดเปนแทนเครื่อง เราจะไดกลไกแบบ
คําตอบ 1 : ขอเหวี่ยงคู (Double crank)
คําตอบ 2 : ขอเหวี่ยง-แขนแกวง (Crank-Rocker)
คําตอบ 3 : แขนแกวงคู (Double rocker)
คําตอบ 4 : มีจุดเปลี่ยน
121 of 244
ขอที่ : 161
กลไก 4 ขอตอ (Four bars linkage) ตัวหนึ่งประกอบดวยขอตอ 4 ชิ้นที่มีความยาวดังนี้ S เปนความยาวของขอตอที่สั้นที่สุด L เปนความยาวของขอตอที่ยาวที่สุด P และ Q เปน
ความยาวของขอตออีก 2 ขอที่เหลือ ถากลไกชุดนี้ถูกประกอบให S+L < P+Q โดยที่ขอตอสั้นที่สุดเปนขอตอดานขาง เราจะไดกลไกแบบ
คําตอบ 1 : ขอเหวี่ยงคู (Double crank)
คําตอบ 2 : ขอเหวี่ยง-แขนแกวง (Crank-Rocker)
คําตอบ 3 : แขนแกวงคู (Double rocker)


คําตอบ 4 : มีจุดเปลี่ยน

น่ า

ขอที่ : 162


กลไก 4 ขอตอ (Four bars linkage) ตัวหนึ่งประกอบดวยขอตอ 4 ชิ้นที่มีความยาวดังนี้ S เปนความยาวของขอตอที่สั้นที่สุด L เปนความยาวของขอตอที่ยาวที่สุด P และ Q เปน


ความยาวของขอตออีก 2 ขอที่เหลือ ถากลไกชุดนี้ถูกประกอบให S+L < P+Q โดยที่ขอตอสั้นที่สุดเปนกานสง เราจะไดกลไกแบบ

า้ ม
คําตอบ 1 : ขอเหวี่ยงคู (Double crank)

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : ขอเหวี่ยง-แขนแกวง (Crank-Rocker)
คําตอบ 3 : แขนแกวงคู (Double rocker)
คําตอบ 4 : มีจุดเปลี่ยน

ส ิท

ขอที่ : 163


กลไก 4 ขอตอ (Four bars linkage) ตัวหนึ่งประกอบดวยขอตอ 4 ชิ้นที่มีความยาวดังนี้ S เปนความยาวของขอตอที่สั้นที่สุด L เปนความยาวของขอตอที่ยาวที่สุด P และ Q เปน


ความยาวของขอตออีก 2 ขอที่เหลือ ถากลไกชุดนี้ถูกประกอบให S+L = P+Q โดยที่ขอตอสั้นที่สุดเปนกานสง เราจะไดกลไกแบบ
คําตอบ 1 : ขอเหวี่ยงคู (Double crank)

อ ส

คําตอบ 2 : ขอเหวี่ยง-แขนแกวง (Crank-Rocker)

กร
คําตอบ 3 : แขนแกวงคู (Double rocker)


คําตอบ 4 : มีจุดเปลี่ยน

ขอที่ : 164

าว ศ

ส ภ
122 of 244

กลไก Double rocker ประกอบดวย ขนาดดังนี้ O2B = 3 cm BC = 1.5 cm CO4 = 3.2 cm O2O4 = 2.5 cm กาน O2B เปนตัวขับ ตําแหนงจุดตายของตัวขับ คือ
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
คําตอบ 1 :

กร ข
145.5 degree and 62.87 degree


คําตอบ 2 : 34.5 degree and 117.13 degree



คําตอบ 3 : 214.5 degree and 117.13 degree

าว
คําตอบ 4 : 34.5 degree and 297.13 degree

ขอที่ : 165

ส ภ
123 of 244

กลไก Double rocker ประกอบดวย ขนาดดังนี้ O2B = 3 cm BC = 1.5 cm CO4 = 3.2 cm O2O4 = 2.5 cm กาน O4C เปนตัวตาม ตําแหนงจุดตายของตัวตาม คือ
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
คําตอบ 1 :

กร
89.06 degree and 34.6 degree


คําตอบ 2 : 269.06 degree and 34.6 degree



คําตอบ 3 : 89.06 degree and 24.6 degree

าว
คําตอบ 4 : 69.06 degree and 24.6 degree

ขอที่ : 166

ส ภ
124 of 244

จากรูป เสนสงผานการเคลื่อนที่คือชิ้นตอโยงใด
่ า ย
หน
จ ำ
คําตอบ 1 : ชิ้นตอโยง 1

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 : ชิ้นตอโยง 2
คําตอบ 3 : ชิ้นตอโยง 3
คําตอบ 4 : ชิ้นตอโยง 4

ส ิท

ขอที่ :


167


ตําแหนงจุดตายของกลไก 4 ขอตอ คือ


คําตอบ 1 : ตําแหนงที่ขอตอกานสงอยูในระนาบ


คําตอบ 2 : ตําแหนงที่กานสงอยูในแนวเดียวกันกับตัวตาม (ตัวถูกขับ)

กร ข
คําตอบ 3 : ตําแหนงที่ดานขางอยูในแนวเดียวกันกับตัวตาม (ตัวถูกขับ)
คําตอบ 4 : ตําแหนงที่แนวแทนเครื่องอยูในแนวเดียวกันกับตัวตาม (ตัวถูกขับ)


ิ ว
าว
ขอที่ : 168

ส ภ
125 of 244

กลไกในภาพมีชื่อเรียกวา
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น

คําตอบ 1 : Paralelligram


คําตอบ 2 :


Galloway

กร
คําตอบ 3 : Watt
คําตอบ 4 : Stephenson


ิ ว
าว
ขอที่ : 169

ส ภ
126 of 244

จากรูป ชิ้นตอโยงใดบางที่เปนเสนสงผานการเคลื่อนที่
่ า ย
หน
จ ำ

คําตอบ 1 : ชิ้นตอโยง 2 และ 4

า้
คําตอบ 2 : ชิ้นตอโยง 2 ชิ้นเดียว

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : ชิ้นตอโยง 3 และ 4
คําตอบ 4 : ชิ้นตอโยง 3 ชิ้นเดียว

ขอที่ : 170

ส ิท

จากรูป เสนสงผานการเคลื่อนที่คือชิ้นตอโยงใด

ง ว
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : ชิ้นตอโยง 1
คําตอบ 2 : ชิ้นตอโยง 2
คําตอบ 3 : ชิ้นตอโยง 3
127 of 244
คําตอบ 4 : ชิ้นตอโยง 4
ขอที่ : 171
จากรูป เสนสงผานการเคลื่อนที่คือชิ้นตอโยงใด

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 1 : ชิ้นตอโยง 2 และ 4


คําตอบ 2 : ชิ้นตอโยง 2 ชิ้นเดียว
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ชิ้นตอโยง 3 และ 4
ชิ้นตอโยง 3 ชิ้นเดียว

ง ว น
อ ส

ขอที่ :

กร
172
การแบงชนิดของกลไก 4-ขอตอ แบงไดเปน 5 ชนิดในรูป s & l เปนความยาวของขอตอที่สั้นที่สุดและยาวที่สุด p และ q เปนความยาวของขอตอที่เหลือ เมื่อ s + l = p + q กลไก 4-
ขอตอนี้จะเปนชนิดใด


ิ ว
ภ าว

128 of 244
คําตอบ 1 : กลไกที่มีจุดเปลี่ยน (change point mechanism) เมื่อใหขอตอที่สั้นที่สุดอยูที่ใดก็ได
คําตอบ 2 : กลไกแขนแกวงคู (double-rocker) เมื่อใหขอตอที่สั้นที่สุดเปนกานสง (coupler)
คําตอบ 3 : กลไกขอเหวี่ยงแขนแกวง (crank-rocker) เมื่อใหขอตอที่สั้นที่สุดเปนดานขาง
คําตอบ 4 : กลไกขอเหวี่ยงคู (double-crank) เมื่อใหขอตอที่สั้นที่สุดเปนแทน

ขอที่ : 173
การแบงชนิดของกลไก 4-ขอตอ แบงไดเปน 5 ชนิดในรูป s & l เปนความยาวของขอตอที่สั้นที่สุดและยาวที่สุด p และ q เปนความยาวของขอตอที่เหลือ เมื่อ s + l < p + q กลไก 4-


ขอตอนี้จะเปนชนิดใด

น่ า
จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 1 : กลไกขอเหวี่ยงคู (double-crank)


คําตอบ 2 : กลไกแขนแกวงคู (double-rocker)

ว น
คําตอบ 3 : กลไกขอเหวี่ยงแขนแกวง (crank-rocker)


คําตอบ 4 : กลไกที่มีจุดเปลี่ยน (change point mechanism)

อ ส

ขอที่ : 174

กร
Coupler curve หมายถึงเสนโคงใด


คําตอบ 1 : เปนสวนโคงที่ไดจากจุดบนกานสงลากไปบนระนาบที่อยูกับที่



คําตอบ 2 : เปนสวนโคงที่ไดจากจุดบนขอเหวี่ยงที่ลากไปบนระนาบที่อยูกับที่

าว
คําตอบ 3 : เปนสวนโคงที่ไดจากจุดบนขอบของวงลอที่ลากไปบนระนาบ เมื่อวงลอกลิ้งไปบนพื้นราบโดยไมมีการไถลที่อยูกับที่


คําตอบ 4 : เปนสวนโคงที่เกิดจากจุดบนขอตอใดขอตอหนึ่งในกลไกกราชอฟ ที่ลากไปบนระนาบที่อยูกับที่

ขอที่ : 175

จากโซคิเนแมติกเชิงบังคับ 4 ขอตอ จากการสับเปลี่ยน (inversion) จะไดกลไกทั้งหมดกี่ชนิด
คําตอบ 1 : 4 ชนิด
คําตอบ 2 : 2 ชนิด
คําตอบ 3 : 3 ชนิด
129 of 244
คําตอบ 4 : 1 ชนิด หรือเหมือนเดิม
ขอที่ : 176
กลไก 4 ขอตอในรูปมีขนาด O2A = 15 mm, AB = 32 mm, O4B = 30 mm และ O2O4 = 25 mmถา O2ZA เปนตัวขับ ตําแหนงขีดจํากัด ( มุม O4O2A) เปน

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ก.65.5
คําตอบ 2 : ข.83.3
คําตอบ 3 : ค.49.6

ิท
คําตอบ 4 : ง.114.5

นส

ขอที่ :


177


กลไก 4 ขอตอในรูปมีขนาด O2A = 15 mm, AB = 32 mm, O4B = 30 mm และ O2O4 = 25 mmถา O2A เปนตัวขับ ตําแหนงขีดจํากัด (มุม O2O4B) เปน

ขอ
ว กร
าว ศ


คําตอบ 1 :
ภ ก.100.6O
คําตอบ 2 : ข.130.5O
คําตอบ 3 : ค.65.5O
คําตอบ 4 : ง.114.5O
130 of 244
ขอที่ : 178
กลไก 4 ขอตอในรูปมีขนาด O2A = 15 mm, AB = 32 mm, O4B = 30 mm และ O2O4 = 25 mmถา O4B เปนตัวขับ ตําแหนงจุดตาย (มุม O2O4B) เปน

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 : ก.100.6O

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : ข.130.5O
คําตอบ 3 : ค.65.5O
คําตอบ 4 : ง.114.5O

ส ิท

ขอที่ : 179


กลไก 4 ขอตอในรูปมีขนาด O2A = 15 mm, AB = 32 mm, O4B = 30 mm และ O2O4 = 25 mmถา O4B เปนตัวขับ ตําแหนงจุดตาย (มุม O4O2A) เปน

ส ง
ขอ
ว กร
าว ศ


คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
ภ ก.65.5O
ข.83.3O
คําตอบ 3 : ค.49.6O
คําตอบ 4 : ง.114.5O

131 of 244
ขอที่ : 180
กลไก ชนิด 4 ขอตอ มีคาตามรูป a = 1.5 cm b = 3.0 cm c = 3.2 cm ฐานหางกัน = 2.5 cm จงหาตําแหนงขีดจํากัดของตัวขับ a

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 34.51 degree และ 89.06 degree
คําตอบ 2 : 34.6 degree และ 89.05 degree

ิท
คําตอบ 3 : 47 degree และ 104.037degree
คําตอบ 4 : 34.51 degree และ 104.037 degree

นส
ง ว

ขอที่ : 181


กลไก ชนิด 4 ขอตอ มีคาตามรูป a = 1.5 cm b = 3.0 cm c = 3.2 cm ฐานหางกัน = 2.5 cm จงหาตําแหนงขีดจํากัดของตัวตาม b

กร ข

ิ ว
ภ าว

132 of 244
คําตอบ 1 : 62.9 Degree และ 145.5 Degree
คําตอบ 2 : 117.13 Degree และ 34.6 Degree
คําตอบ 3 : 34.6 Degreeและ 104.5 Degree
คําตอบ 4 : 104.6 Degreeและ 34.4 Degree

ขอที่ : 182
กลไก ชนิด 4 ขอตอ มีคาตามรูป a = 2 cm b = 3.5 cm c = 3.2 cm ฐานหางกัน = 2.5 cm จงหาตําแหนงขีดจํากัดของตัวตาม b

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น

คําตอบ 1 : 12.87 degree to 119.21 degree


คําตอบ 2 : 60 degree to 160 degree

กร ข
คําตอบ 3 : 79 degree to 13 degree
คําตอบ 4 : 60.79 degree to 167.13 degree


ิ ว
าว
ขอที่ : 183

ส ภ
133 of 244

กลไก ชนิด 4 ขอตอ มีคาตามรูป a = 2 cm b = 3.5 cm c = 3.2 cm ฐานหางกัน = 2.5 cm จงหาตําแหนงขีดจํากัดของตัวขับ a


่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 215.98 degree to 139.46 degree
คําตอบ 2 : 35.98 degree to 139.46 degree
คําตอบ 3 :

ิท
35.98 degree to 319.46 degree


คําตอบ 4 : 215.98 degree to 319.46 degree

ขอที่ : 184

ง ว น

จากรูปใหชิ้นตอโยง 2 เปนตัวขับและชิ้นตอโยง 4 เปนตัวตาม จะไดมุม Transmission คือมุมระหวางชิ้นตอโยงใด

ขอ
ว กร
าว ศ

ส ภ
คําตอบ 1 : ชิ้นตอโยง 3 กับชิ้นตอโยง 4 134 of 244
คําตอบ 2 : ชิ้นตอโยง 1 กับชิ้นตอโยง 2
คําตอบ 3 : ชิ้นตอโยง 2 กับชิ้นตอโยง 3
คําตอบ 4 : ชิ้นตอโยง 4 กับชิ้นตอโยง 1

ขอที่ : 185
จากรูปใหชิ้นตอโยง 4 เปนตัวขับและชิ้นตอโยง 2 เปนตัวตาม จะไดมุม Transmission คือมุมระหวางชิ้นตอโยงใด

่ า ย
หน

คําตอบ 1 : ชิ้นตอโยง 3 กับชิ้นตอโยง 1
คําตอบ 2 : ชิ้นตอโยง 2 กับชิ้นตอโยง 3

มจ
า้
คําตอบ 3 : ชิ้นตอโยง 3 กับชิ้นตอโยง 4

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ชิ้นตอโยง 2 กับชิ้นตอโยง 4

ิท
ขอที่ : 186


จากรูปใหชิ้นตอโยง 2 เปนตัวขับและชิ้นตอโยง 4 เปนตัวตาม จะไดมุม Transmission คือมุมระหวางชิ้นตอโยงใด

ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

135 of 244
คําตอบ 1 : ชิ้นตอโยง 1 กับชิ้นตอโยง 2
คําตอบ 2 : ชิ้นตอโยง 3 กับชิ้นตอโยง 4
คําตอบ 3 : ชิ้นตอโยง 2 กับชิ้นตอโยง 3
คําตอบ 4 : ชิ้นตอโยง 4 กับชิ้นตอโยง 1

ขอที่ : 187
จากรูปใหชิ้นตอโยง 4 เปนตัวขับแลวชิ้นตอโยง 2 เปนตัวตาม จะไดมุม Transmission คือมุมระหวางชิ้นตอโยงใด

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 : ชิ้นตอโยง 3 กับชิ้นตอโยง 4

ง ว น

คําตอบ 2 : ชิ้นตอโยง 1 กับชิ้นตอโยง 2


คําตอบ 3 : ชิ้นตอโยง 2 กับชิ้นตอโยง 3

กร ข
คําตอบ 4 : ชิ้นตอโยง 4 กับชิ้นตอโยง 1

ขอที่ : 188


ิ ว
ภ าว

136 of 244

ตําแหนง ของกลไก 4-ขอตอในรูป คือตําแหนงใด เมื่อขอตอ 2 เปนตัวขับ


่ า ย
หน
คําตอบ 1 : ตําแหนงขีดจํากัด

จ ำ

คําตอบ 2 : ตําแหนงจุดเปลี่ยน

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 3 : ตําแหนงจุดตาย
คําตอบ 4 : ตําแหนงที่ใหมุมสงทอดที่เล็กที่สุด

ิท
ขอที่ :


189


ตําแหนง ของกลไก 4-ขอตอในรูป คือตําแหนงใด เมื่อขอตอ 4 เปนตัวขับ

ง ว
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : ตําแหนงจุดตาย
คําตอบ 2 : ตําแหนงจุดเปลี่ยน
คําตอบ 3 : ตําแหนงขีดจํากัด
คําตอบ 4 : ตําแหนงที่ใหมุมสงทอดที่เล็กที่สุด 137 of 244
ขอที่ : 190
กลไกเลื่อนขอเหวี่ยงในรูป ตําแหนงขีดจํากัดหมายถึงตําแหนงใด

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 :
ิธ์ ห
เมื่อขอตอ 2 เปนตัวขับ ตําแหนงขีดจํากัดเปนตําแหนงที่ขอตอ 2 และขอตอ 3 มาอยูในแนวเสนตรงเดียวกัน

ิท
คําตอบ 2 : เมื่อขอตอ 4 เปนตัวขับ ตําแหนงขีดจํากัดเปนตําแหนงที่ขอตอ 2 และขอตอ 3 มาอยูในแนวเสนตรงเดียวกัน


เมื่อขอตอ 2 เปนตัวขับ ตําแหนงขีดจํากัดหมายถึงตําแหนงที่ขอตอ 2 เคลื่อนที่มาอยูในตําแหนงที่ทํามุมฉากกับ AoB

ว น
คําตอบ 3 :

ส ง

คําตอบ 4 : เมื่อขอตอ 4 เปนตัวขับ ตําแหนงขีดจํากัดหมายถึงตําแหนงที่ขอตอ 2 เคลื่อนที่มาอยูในตําแหนงที่ทํามุมฉากกับ AoB

กร ข

ขอที่ : 191

าว ศ

ส ภ
กลไกเลื่อนขอเหวี่ยงในรูป ตําแหนงจุดตายของกลไกหมายถึงตําแหนงใด
138 of 244
่ า ย
หน

คําตอบ 1 : เมื่อขอตอ 4 เปนตัวขับ ตําแหนงจุดตายเปนตําแหนงที่ขอตอ 2 และขอตอ 3 มาอยูในแนวเสนตรงเดียวกัน

มจ
คําตอบ 2 : เมื่อขอตอ 2 เปนตัวขับ ตําแหนงจุดตายเปนตําแหนงที่ขอตอ 2 และขอตอ 3 มาอยูในแนวเสนตรงเดียวกัน

า้
เมื่อขอตอ 4 เปนตัวขับ ตําแหนงจุดตายเปนตําแหนงที่ขอตอ 2 เคลื่อนที่มาอยูในตําแหนงที่ทํามุมฉากกับ AoB

ิธ์ ห
คําตอบ 3 :

ิท
เมื่อขอตอ 2 เปนตัวขับ ตําแหนงจุดตายเปนตําแหนงที่ขอตอ 2 เคลื่อนที่มาอยูในตําแหนงที่ทํามุมฉากกับ AoB


คําตอบ 4 :

ง ว น

ขอที่ :


192


กลไกที่ใชในการเชื่อมตอเพลา 2 เสนที่ขนานและเยื้องกันเล็กนอยคือ

กร
คําตอบ 1 : Watt’s six-bar


คําตอบ 2 : Scotch yoke



คําตอบ 3 : Peaucellier mechanism

าว
คําตอบ 4 : Oldham coupling

ขอที่ : 193

ส ภ
กลไกใดที่ไมใช Toggle effect
คําตอบ 1 : Peaucellier mechanism
คําตอบ 2 : Stone crusher
คําตอบ 3 : Vise-grip pliers
คําตอบ 4 : Punch press
139 of 244
ขอที่ : 194
กลไกใดที่ดัดแปลงเปนเครื่องเขียนรูปวงรีได
คําตอบ 1 : Watt’s six-bar
คําตอบ 2 : Scotch yoke
คําตอบ 3 : Peaucellier mechanism
คําตอบ 4 : Whitworth mechanism

่ า ย

ขอที่ : 195


กลไกใดไมใชกลไกไปชากลับเร็ว

จ ำ
คําตอบ 1 : Whitworth mechanism


คําตอบ 2 : Crank-shaper mechanism

า้
คําตอบ 3 : Peaucellier mechanism

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : Off-set slider crank mechanism

ิท
ขอที่ : 196


ในการออกแบบขอเหวี่ยงคู ( Double Crank) มีขอตอ A,B,C และD มีความยาว เทากับ 5,7,10 และ 12 cm.จะตองใชสวนใดเปนฐานของกลไกชนิดนี้

ว น
คําตอบ 1 : A


คําตอบ 2 : B


คําตอบ 3 : C


คําตอบ 4 :


D

ว กร
ขอที่ : 197



ในการออกแบบขอเหวี่ยง แขนแกวง ( Crank-rocker) มีขอตอ A,B,C และD มีความยาว เทากับ 5,10,10 และ 12 cm. ขอตอ A จะตองอยูที่ใด

าว
คําตอบ 1 : แทนเครื่อง


คําตอบ 2 : กานสง


คําตอบ 3 : ดานขาง
คําตอบ 4 : ทีไหนก็ได

ขอที่ : 198

140 of 244

กลไกดังภาพ ใชประโยชนในการ
่ า ย

คําตอบ 1 : เขียนเสนตรง

ำ ห
คําตอบ 2 : เขียนวงรี


คําตอบ 3 : ลอกรูปแบบ


คําตอบ 4 : ลากเสนเกือบตรง

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 199
กลไกดังรูปใชในอุปกรณอะไร

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

141 of 244
คําตอบ 1 : เครื่องตอกหมุด
คําตอบ 2 : เครื่องบดหิน
คําตอบ 3 : เครื่องรดน้ํา
คําตอบ 4 : เครื่องฉายภาพยนตร

ขอที่ : 200

่ า ย
จากรูป ชิ้นตอโยง 3 จะมีชื่อเรียกวาอะไร

หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 : Connecting Rod

ง ว น

คําตอบ 2 : Crank


คําตอบ 3 : Cam

กร ข
คําตอบ 4 : Piston

ขอที่ : 201


ิ ว
าว
จากรูป ชิ้นตอโยง 3 จะมีชื่อเรียกวาอะไร

ส ภ
142 of 244
คําตอบ 1 : Coupling
คําตอบ 2 : Gear
คําตอบ 3 : Slider
คําตอบ 4 : Cam

ขอที่ : 202

่ า ย
จากรูป ชิ้นตอโยง 2 จะมีชื่อเรียกวาอะไร

หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 : Connecting Rod

ง ว น

คําตอบ 2 : Crank


คําตอบ 3 : Cam


คําตอบ 4 :

กร
Piston


ขอที่ :



203

าว
จากรูป ชิ้นตอโยง 1 จะมีชื่อเรียกวาอะไร

ส ภ
143 of 244
คําตอบ 1 : Piston
คําตอบ 2 : Connecting Rod
คําตอบ 3 : Crank
คําตอบ 4 : Coupling

ขอที่ : 204
ตําแหนงของกลไก 4-ขอตอที่เห็น เปนตําแหนงอะไร

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 : ตําแหนงที่ใหมุมสงทอดที่เล็กที่สุด

ง ว น

คําตอบ 2 : ตําแหนงจุดตายของกลไก


คําตอบ 3 : ตําแหนงจุดเปลี่ยนของกลไก

กร ข
คําตอบ 4 : ตําแหนงขีดจํากัดของกลไก


ิ ว
ขอที่ : 205

าว
มุมสงทอดในกลไก 4-ขอตอ หมายถึง
คําตอบ 1 : มุมที่กานสงกับขอตอตัวถูกขับหรือตัวตามกระทํากัน และตองเปนมุมที่เล็กกวา


คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ภ มุมที่กานสงกับขอตอตัวถูกขับหรือตัวตามกระทํากัน และตองเปนมุมที่ใหญกวา
มุมที่กานสงกับขอตอที่เปนตัวขับกระทํากัน และตองเปนมุมที่เล็กกวา
มุมที่กานสงกับขอตอที่เปนตัวขับกระทํากัน และตองเปนมุมที่ใหญกวา

ขอที่ : 206

ในรูปเปนกลไก 4-ขอตอ ที่มีการสงทอดการเคลื่อนที่เหมือนกันทุกประการกลไกทางขวามือสามารถเปลี่ยนมาเปนกลไกซายมือไดดวยวิธีการใด


144 of 244

คําตอบ 1 : การเปลี่ยนรูปทรง

่ า
คําตอบ 2 : การขยายคูสัมผัส


คําตอบ 3 : เปลี่ยนขอตอที่เปนแทน
คําตอบ 4 : เปลี่ยนชนิดของคูสัมผัส 34

จ ำ ห
ขอที่ : 207

า้ ม
ิธ์ ห
กลไกกราชอฟ หมายถึง
คําตอบ 1 : กลไก 4-ขอตอที่ความยาวของดานที่สั้นที่สุดรวมกับความยาวของดานที่ยาวที่สุด เทากับหรือนอยกวาดานที่เหลือรวมกัน
คําตอบ 2 : กลไก 4-ขอตอที่ความยาวของดานที่สั้นที่สุดรวมกับความยาวของดานที่ยาวที่สุด นอยกวาดานที่เหลือรวมกันเทานั้น
คําตอบ 3 :

ส ิท
กลไก 4-ขอตอที่มีดานที่ยาวที่สุดเปนแทน และดานที่สั้นที่สุดเปนขอเหวี่ยง


คําตอบ 4 : กลไก 4-ขอตอที่มีตําแหนงจุดเปลี่ยน

ง ว

ขอที่ : 208


กลไกที่เปนโซคิเนแมติกเชิงบังคับตองมี Degree of freedom เปน

กร ข
คําตอบ 1 : 0
คําตอบ 2 : 1


คําตอบ 3 :



2

าว
คําตอบ 4 : 3

ขอที่ : 209

ส ภ
กลไกแบบ 5-ขอตอโดยทั่วไปมี Degree of freedom เปน
คําตอบ 1 : 0
คําตอบ 2 : 1
คําตอบ 3 : 2
คําตอบ 4 : 3
145 of 244

ขอที่ : 210
โครงสรางสะพานเปนโซคิเนแมติกที่มี Degree of freedom เปน
คําตอบ 1 : 0
คําตอบ 2 : 1
คําตอบ 3 : 2
คําตอบ 4 : 3

่ า ย
ขอที่ : 211


กลไกแบบ 4-ขอตอโดยทั่วไปมี Degree of freedom เปน


คําตอบ 1 : 0

จ ำ
คําตอบ 2 : 1


คําตอบ 3 : 2

า้
คําตอบ 4 : 3

ขอที่ : 212
ิธ์ ห
ิท
จงหาคา Degree of Freedom ของกลไกดังภาพ

นส
ง ว
อ ส
กร ข
คําตอบ 1 : 2


ิ ว
าว
คําตอบ 2 : 3


คําตอบ 3 : 4


คําตอบ 4 : 0

ขอที่ : 213

146 of 244

จงหาคา Degree of Freedom ของกลไกดังภาพ


่ า ย
หน

คําตอบ 1 : 0


คําตอบ 2 : 1


คําตอบ 3 : 2

า้
คําตอบ 4 : 3

ขอที่ : 214
ิธ์ ห
ิท
จงหาคา Degree of Freedom ของกลไกดังภาพ

นส
ง ว
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 0
คําตอบ 2 : 1
คําตอบ 3 : 2
คําตอบ 4 : 3
147 of 244
ขอที่ : 215
Degree of freedom มีชื่อเรียกอีกชื่อวาอะไร
คําตอบ 1 : No.of joints
คําตอบ 2 : Mobility
คําตอบ 3 : No.of links
คําตอบ 4 : Mobilisation

่ า ย

ขอที่ : 216


ลูกเบี้ยวที่มีการเคลื่อนที่แบบกลิ้งและไถลพรอมกัน จะมีคา Degree of Freedom เทาไร

จ ำ
คําตอบ 1 : 0


คําตอบ 2 : 1

า้
คําตอบ 3 : 2

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : 3

ิท
ขอที่ : 217


ลูกเบี้ยวที่มีการเคลื่อนที่แบบกลิ้งโดยไมไถล จะมีคา Degree of Freedom เทาไร

ว น
คําตอบ 1 : 0


คําตอบ 2 : 1


คําตอบ 3 : 2


คําตอบ 4 :


3

ว กร
ขอที่ : 218



หมุดที่มีการเคลื่อนที่แบบ pure rotation จะมีคา Degree of Freedom เทาไร

าว
คําตอบ 1 : 0


คําตอบ 2 : 1


คําตอบ 3 : 2
คําตอบ 4 : 3

ขอที่ : 219
ลูกสูบที่มีการเคลื่อนที่แบบ pure sliding จะมีคา Degree of Freedom เทาไร
คําตอบ 1 : 0
148 of 244
คําตอบ 2 : 1
คําตอบ 3 : 2
คําตอบ 4 : 3

ขอที่ : 220
รอยตอหรือคูสัมผัสใดที่มีระดับขั้นความเสรี f = 2

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : รอยตอ 23

ิท
คําตอบ 2 : รอยตอ 13


คําตอบ 3 : รอยตอ 12


คําตอบ 4 : รอยตอ 13 และ 23

ง ว

ขอที่ :


221
ให J เปนจํานวนรอยตอที่มีระดับขั้นความเสรีเปน 1 และ J เปนจํานวนรอยตอที่มีระดับขั้นความเสรีเปน 2 กลไกในรูปจะมี J และ J เทาใด


1 2 1 2

ว กร
าว ศ

ส ภ
J1 = 3 , J2 = 1
คําตอบ 1 :

149 of 244
คําตอบ 2 :
J1 = 2 , J2 = 2
J1 = 1 , J2 = 3
คําตอบ 3 :

J1 = 4 , J2 = 0
คําตอบ 4 :

่ า ย
ขอที่ : 222

หน
กลไกที่เห็นมีระดับขั้นความเสรีเทาใด

จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท

คําตอบ 1 :


1


คําตอบ 2 : 2


คําตอบ 3 : 0


คําตอบ 4 : 3

ขอที่ :

กร ข

223



ขอตอที่เคลื่อนที่อิสระในระนาบจะมีระดับขั้นความเสรี F เทาใด

าว
คําตอบ 1 : F=3


คําตอบ 2 : F=2


คําตอบ 3 : F=4
คําตอบ 4 : F=0

ขอที่ : 224

150 of 244

กลไกดังแสดงในรูปมี Degree of freedom เปน


คําตอบ 1 : 0


คําตอบ 2 : 1

่ า
คําตอบ 3 :


2
คําตอบ 4 :


3

ขอที่ :

จ ำ

225

า้
กลไกดังแสดงในรูปมี Degree of freedom เปน

ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
0

ง ว น

1


คําตอบ 3 : 2


คําตอบ 4 : 3

ขอที่ : 226

ว กร


กลไกดังแสดงในรูปมี Degree of freedom เปน

ภ าว

คําตอบ 1 : 0
คําตอบ 2 : 1
คําตอบ 3 : 2
คําตอบ 4 : 3 151 of 244
ขอที่ : 227
กลไกดังแสดงในรูปมี Degree of freedom เปน

คําตอบ 1 :

่ า ย

0


คําตอบ 2 : 1


คําตอบ 3 : 2


คําตอบ 4 : 3

า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 228

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

152 of 244

กลไกดังแสดงในรูปมี Degree of freedom เปน


่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
คําตอบ 1 : 3

กร ข

คําตอบ 2 : 0



คําตอบ 3 : 1

าว
คําตอบ 4 : 2

ขอที่ : 229

ส ภ
153 of 244

กลไกดังแสดงในรูปมี Degree of freedom เทากับเทาไหร ถาขอตอ 4 เชื่อมติดกับลูกกลิ้ง 3


่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
1
2

ง ว น

คําตอบ 3 :


3


คําตอบ 4 : 4

ขอที่ : 230

ว กร
าว ศ

ส ภ
154 of 244

คีมลอคตามรูป มีคา Degree of freedom เทากับเทาไร (ถาไมนับถึงนอตปรับตั้ง)


่ า ย
หน
จ ำ
คําตอบ 1 : 1

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 : 2
คําตอบ 3 : 3
คําตอบ 4 :

ิท
4

ขอที่ :

นส

231


คีมล็อคดังแสดงในรูป มี Degree of freedom เปนเทาไหร ใหรวมถึงนอตปรับตั้งปากกาดวย

อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 1
คําตอบ 2 : 2
คําตอบ 3 : 3
155 of 244
คําตอบ 4 : 4
ขอที่ : 232
กลไกดังรูปจะมีคา Degree of Freedom เทากับเทาไร

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส

คําตอบ 1 : 0

กร
คําตอบ 2 : 1


คําตอบ 3 : 2



คําตอบ 4 : 3

ขอที่ : 233

ภ าว

กลไกดังรูปจะมีคา Degree of Freedom เทากับเทาไร

156 of 244
คําตอบ 1 : 0
คําตอบ 2 : 1
คําตอบ 3 : 2
คําตอบ 4 : 3

ขอที่ : 234
กลไกดังรูปจะมีคา Degree of Freedom เทากับเทาไร

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น

คําตอบ 1 : 0


คําตอบ 2 : 1


คําตอบ 3 :

กร
2
คําตอบ 4 : 3


ิ ว
าว
ขอที่ : 235
กลไกดังรูปจะมีคา Degree of Freedom เทากับเทาไร

ส ภ
คําตอบ 1 : 0 157 of 244
คําตอบ 2 : 1
คําตอบ 3 : 2
คําตอบ 4 : 3

ขอที่ : 236
โซคิเนแมติก (Kinematic chains) ที่มีระดับขั้นความเสรี (Degree of Freedom) เทากับ 1 จะเปนโซคิเนแมติกชนิดใด
คําตอบ 1 : โซคิเนแมติกเชิงบังคับ
คําตอบ 2 : โซคิเนแมติกแบบบังคับไมได

่ า ย

คําตอบ 3 : โซลอค


คําตอบ 4 : โซคิเนแมติกแบบขับเคลื่อน 2 ทาง

จ ำ

ขอที่ :

า้
237
จงหาระดับขั้นความเสรี (Degree of Freedom ของกลไกในรูป

ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
คําตอบ 1 :

อ ส

2

กร
คําตอบ 2 : 1
คําตอบ 3 :


3



คําตอบ 4 : 0

ขอที่ : 238

ภ าว

158 of 244

จงหาระดับขั้นความเสรี (Degree of Freedom ) ของกลไกในรูป


่ า ย

คําตอบ 1 : 1

ำ ห
คําตอบ 2 : 2


คําตอบ 3 : 3


คําตอบ 4 :

า้
0

ิธ์ ห
ขอที่ : 239
จงคํานวณระดับขั้นความเสรีของโซคิเนเมติกในรูป

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

คําตอบ 1 : 1



คําตอบ 2 : 2

าว
คําตอบ 3 : 3


คําตอบ 4 : 0

ขอที่ : 240

กลไก 8-ขอตอ ชุดหนึ่งประกอบดวยขอตอแบบ 2-รอยตอ 7 ตัว ขอตอตัวที่แปดตองเปนชนิดมีกี่รอยตอ
คําตอบ 1 : 3
คําตอบ 2 : 4
คําตอบ 3 : 5
159 of 244
คําตอบ 4 : 6
ขอที่ : 241
กลไก 8-ขอตอ ชุดหนึ่งประกอบดวยขอตอแบบ 2-รอยตอ 4 ตัว ขอตอที่เหลือตองเปนชนิดมีกี่รอยตอ
คําตอบ 1 : 3
คําตอบ 2 : 4
คําตอบ 3 : 5


คําตอบ 4 : 6

น่ า

ขอที่ : 242


กลไก 8-ขอตอ ชุดหนึ่งประกอบดวยขอตอแบบ 2-รอยตอ 6 ตัว ขอตอที่เหลือตองเปนชนิดมีกี่รอยตอ
คําตอบ 1 : 3

มจ
า้
คําตอบ 2 : 4

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : 5
คําตอบ 4 : 6

ขอที่ : 243

ส ิท

กลไก 6-ขอตอ ชุดหนึ่งประกอบดวยขอตอแบบ 2-รอยตอ 5 ตัว ขอตอที่เหลือตองเปนชนิดมีกี่รอยตอ
คําตอบ 1 : 3

ง ว

คําตอบ 2 : 4


คําตอบ 3 :


5

กร
คําตอบ 4 : 6

ขอที่ : 244


ิ ว
าว
ในกลไกชนิด 4 ขอตอ ถา S= ขอตอที่สั้นที่สุด L=ขอตอที่ยาวที่สุด P และ Q เปนความยาวของขอตอที่เหลือ
ถา S+L < P+Q และ S เปนแทนเครื่อง กลไกนี้คือ


คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
ภ Drag link mechanism
Crank Rocker
Double Rocker
คําตอบ 4 : Change point mechanism

ขอที่ : 245
ในกลไกชนิด 4 ขอตอ ถา S= ขอตอที่สั้นที่สุด L=ขอตอที่ยาวที่สุด P และ Q เปนความยาวของขอตอที่เหลือ 160 of 244
ถา S+L < P+Q และ S เปนดานขาง กลไกนี้คือ
คําตอบ 1 : Drag link Mechanism
คําตอบ 2 : Double rocker
คําตอบ 3 : Change point mechanism
คําตอบ 4 : Crank rocker

ขอที่ : 246

่ า ย
ในกลไกชนิด 4 ขอตอ ถา S= ขอตอที่สั้นที่สุด L=ขอตอที่ยาวที่สุด P และ Q เปนความยาวของขอตอที่เหลือ


ถา S+L < P+Q และ S เปนกานสง กลไกนี้คือ


คําตอบ 1 : Drag link Mechanism


คําตอบ 2 :


Crank Rocker


คําตอบ 3 : Double Rocker

า้
คําตอบ 4 : Change point mechanism

ขอที่ : 247
ิธ์ ห
ิท
ในกลไกชนิด 4 ขอตอ ถา S= ขอตอที่สั้นที่สุด L=ขอตอที่ยาวที่สุด P และ Q เปนความยาวของขอตอที่เหลือ


ถา S+L = P+Q และ S เปนแทนเครื่อง กลไกนี้คือ


คําตอบ 1 : Change point Mechanism

ง ว
คําตอบ 2 : Double rocker


คําตอบ 3 : Crank rocker


คําตอบ 4 : Double rocker of the second kind of triple rocker

ขอที่ :

กร ข

248

าว ศ

ส ภ
161 of 244

กลไกดังรูป มีชิ้นตอโยง 2 เปนตัวขับเคลื่อนที่กลับไปกลับมาได กลไกนี้จะเกิด Dead Points ไดเมื่อไร


่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท

คําตอบ 1 : เมื่อชิ้นตอโยง 3 และชิ้นตอโยง 4 อยูในแนวเดียวกัน

ง ว
คําตอบ 2 : เมื่อชิ้นตอโยง 2 และชิ้นตอโยง 3 อยูในแนวเดียวกัน


คําตอบ 3 : เมื่อชิ้นตอโยง 1 และชิ้นตอโยง 4 อยูในแนวเดียวกัน


คําตอบ 4 : เมื่อชิ้นตอโยง 2 และชิ้นตอโยง 4 อยูในแนวเดียวกัน

กร ข

ขอที่ : 249



กลไกดังรูป มีชิ้นตอโยง 2 เปนตัวขับเคลื่อนที่กลับไปกลับมาได กลไกนี้จะเกิด Dead Points ไดเมื่อไร

ภ าว

คําตอบ 1 : เมื่อชิ้นตอโยง 1 และชิ้นตอโยง 4 อยูในแนวเดียวกัน
คําตอบ 2 : เมื่อชิ้นตอโยง 3 และชิ้นตอโยง 4 อยูในแนวเดียวกัน 162 of 244
คําตอบ 3 : เมื่อชิ้นตอโยง 1 และชิ้นตอโยง 4 ตั้งฉากกัน
คําตอบ 4 : เมื่อชิ้นตอโยง 3 และชิ้นตอโยง 4 ตั้งฉากกัน

ขอที่ : 250
กลไกดังรูป มีชิ้นตอโยง 2 เปนตัวขับเคลื่อนที่กลับไปกลับมาได กลไกนี้จะเกิด Dead Points ไดเมื่อไร

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 : เมื่อชิ้นตอโยง 2 และชิ้นตอโยง 4 อยูในแนวเดียวกัน
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 2 : เมื่อชิ้นตอโยง 1 และชิ้นตอโยง 4 อยูในแนวเดียวกัน
คําตอบ 3 : เมื่อชิ้นตอโยง 2 และชิ้นตอโยง 3 อยูในแนวเดียวกัน

นส

คําตอบ 4 : เมื่อชิ้นตอโยง 3 และชิ้นตอโยง 4 อยูในแนวเดียวกัน

ส ง

ขอที่ : 251


กลไกดังรูป มีชิ้นตอโยง 2 เปนตัวขับเคลื่อนที่กลับไปกลับมาได กลไกนี้จะเกิด Dead Point ไดเมื่อไร

ว กร
าว ศ


คําตอบ 1 :
ภ เมื่อชิ้นตอโยง 3 และชิ้นตอโยง 4 อยูในแนวเดียวกัน
คําตอบ 2 : เมื่อชิ้นตอโยง 1 และชิ้นตอโยง 4 ตั้งฉากกัน
คําตอบ 3 : เมื่อชิ้นตอโยง 1 และชิ้นตอโยง 4 อยูในแนวเดียวกัน
คําตอบ 4 : เมื่อชิ้นตอโยง 3 และชิ้นตอโยง 4 ตั้งฉากกัน
163 of 244

ขอที่ : 252
จงระบุระดับขั้นความเสรี ( Degree of Freedom ) ของกลไกในรูป

่ า ย
คําตอบ 1 : 1

หน
จ ำ
คําตอบ 2 : 0


คําตอบ 3 : 2

า้
คําตอบ 4 : 3

ขอที่ : 253
ิธ์ ห
ิท
กลไก 6-ขอตอ ที่มีรอยตอทุกรอยเปนแบบหมุน และมีระดับขั้นความเสรีเทากับ 1จะมีขอตอที่มีรอยตอสูงสุดไดกี่รอย


คําตอบ 1 : 3 รอย

ว น
คําตอบ 2 : 2 รอย


คําตอบ 3 : 4 รอย


คําตอบ 4 : 5 รอย

ขอ
กร
ขอที่ : 254


กลไก 8-ขอตอ ที่มีรอยตอทุกรอยเปนแบบหมุน และมีระดับขั้นความเสรีเทากับ 1จะมีขอตอที่มีรอยตอสูงสุดไดกี่รอย



คําตอบ 1 : 4 รอย

าว
คําตอบ 2 : 3 รอย


คําตอบ 3 : 5 รอย


คําตอบ 4 : 6 รอย

ขอที่ : 255
โซคิเนแมติกเชิงบังคับที่มีรอยตอทุกรอยเปนแบบหมุน จะมีจํานวนขอตอที่มี 2 รอยตอ (binary link) อยางนอยที่สุดกี่ขอตอ
คําตอบ 1 : 4 ขอตอ
คําตอบ 2 : 5 ขอตอ
164 of 244
คําตอบ 3 : 6 ขอตอ
คําตอบ 4 : 2 ขอตอ

ขอที่ : 256
กลไก 4-ขอตอตัวหนึ่ง มีจุดหมุนบนแทนเครื่องหางกัน 65 มม. ขอตอตัวขับยาว 20 มม. และขอตอตัวตามยาว 52 มม. ตองการใหกลไกนี้เปนกลไกแบบขอเหวี่ยง-แขนแกวงที่แกวง
เปนมุม 45O ดังนั้นกานสงของกลไกนี้ตองยาวกี่มิลลิเมตร
คําตอบ 1 : 44

่ า ย
คําตอบ 2 : 62


คําตอบ 3 : 81


คําตอบ 4 : 95

จ ำ

ขอที่ : 257

า้
กลไก 4-ขอตอตัวหนึ่ง มีจุดหมุนบนแทนเครื่องหางกัน 65 มม. ขอตอตัวขับยาว 20 มม. และขอตอกานสงยาว 44 มม. ตองการใหกลไกนี้เปนกลไกแบบขอเหวี่ยง-แขนแกวงที่แกวง

ิธ์ ห
เปนมุม 45O ดังนั้นขอตอตัวตามของกลไกนี้ตองยาวกี่มิลลิเมตร
คําตอบ 1 : 35

ิท
คําตอบ 2 : 52


คําตอบ 3 : 71


คําตอบ 4 : 85

ง ว

ขอที่ : 258


กลไก 4-ขอตอตัวหนึ่ง มีจุดหมุนบนแทนเครื่องหางกัน 65 มม. ขอตอตัวตามยาว 52 มม. และขอตอกานสงยาว 44 มม. ตองการใหกลไกนี้เปนกลไกแบบขอเหวี่ยง-แขนแกวงที่แกวง

กร ข
เปนมุม 45O ดังนั้นขอตอตัวขับของกลไกนี้ตองยาวกี่มิลลิเมตร
คําตอบ 1 : 20


คําตอบ 2 :



35

าว
คําตอบ 3 : 40
คําตอบ 4 : 55

ขอที่ : 259
ส ภ
กลไก 4-ขอตอตัวหนึ่ง มีขอตอตัวขับยาว 20 มม. ขอตอตัวตามยาว 52 มม. และขอตอกานสงยาว 44 มม. ตองการใหกลไกนี้เปนกลไกแบบขอเหวี่ยง-แขนแกวงที่แกวงเปนมุม 45O
ดังนั้นจุดหมุนบนแทนเครื่องของกลไกนี้ตองหางกันกี่มิลลิเมตร
คําตอบ 1 : 40
คําตอบ 2 : 45
คําตอบ 3 : 51
165 of 244
คําตอบ 4 : 65
ขอที่ : 260
ในการออกแบบกลไกประเภท Quick-Return คาอัตราสวนเวลาของกลไกประเภทนี้ควรจะมีคาเปนอยางไร
คําตอบ 1 : นอยกวา 0
คําตอบ 2 : อยูในชวงระหวาง 0 กับ 1
คําตอบ 3 : เทากับ 1


คําตอบ 4 : มากกวา 1

น่ า

ขอที่ : 261


คาอัตราสวนเวลาของกลไกประเภท Quick-Return ในขอใดถูกตอง
คําตอบ 1 : 0

มจ
า้
คําตอบ 2 : 0.5

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : 1
คําตอบ 4 : 1.5

ขอที่ : 262

ส ิท

กลไกประเภท Quick-Return คืออะไร
คําตอบ 1 : ชวงเวลาการทํางานนานกวาชวงเวลาการเคลื่อนที่กลับ

ง ว

คําตอบ 2 : ชวงเวลาการทํางานนอยกวาชวงเวลาการเคลื่อนที่กลับ


คําตอบ 3 : ชวงเวลาการทํางานเทากับชวงเวลาการเคลื่อนที่กลับ
คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

กร ข
ขอที่ : 263


ิ ว
าว
กลไกขอใดไมใชกลไกประเภท Quick-Return


คําตอบ 1 : Drag Link


คําตอบ 2 : Whitworth
คําตอบ 3 : Scotch Yoke
คําตอบ 4 : Crank Shaper

ขอที่ : 264

166 of 244

กลไก Crank & Rocker ดังภาพ จะมีคา Time ratio =?


่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 : 0.3

ง ว น

คําตอบ 2 : 1.0


คําตอบ 3 : 1.3

กร ข
คําตอบ 4 : 1.5

ขอที่ : 265


ิ ว
ภ าว

167 of 244

โจทยแสดงเปนรูปภาพ
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 1.05
คําตอบ 2 : 1.30
คําตอบ 3 : 1.35
คําตอบ 4 : 1.5

ขอที่ : 266
168 of 244

โจทยแสดงเปนรูปภาพ
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 1.554
คําตอบ 2 : 1.354
คําตอบ 3 : 1.278
คําตอบ 4 : 1.05

ขอที่ : 267
169 of 244

กลไกดังภาพ ถา a =20.0? และมีคา φ =45? กลไกนี้จะมีคา Time ratio = ?


่ า ย

คําตอบ 1 : 1.25


คําตอบ 2 :


1.15


คําตอบ 3 : 1.05


คําตอบ 4 : 1.03

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 268
โซคิเนแมติกเชิงบังคับ 6-ขอตอ สามารถมีขอตอที่มีรอยตอสูงสุดไดกี่รอยตอ

ิท
คําตอบ 1 : 3 รอยตอ


คําตอบ 2 : 2 รอยตอ

ว น
คําตอบ 3 : 4 รอยตอ


คําตอบ 4 : 5 รอยตอ

อ ส

ขอที่ :

กร
269
ในการออกแบบกลไก 4-ขอตอแบบ Grashof crank-rocker ถากําหนดตําแหนงของแขนแกวงมาให 2 ตําแหนง ดังแสดงในรูป การกําหนดขนาดของขอตอที่เหลือจะเริ่มตนที่ใดกอน


ิ ว
ภ าว

เลือกตําแหนงของจุดหมุน O บนเสนที่ลากตอระหวาง จุด B และ B ที่ตอยาวออกไปในทิศใดก็ได ซึ่งจะเปนการกําหนดความยาวของขอตอ 1 ไปในตัว
2 1 2
คําตอบ 1 : 170 of 244
คําตอบ 2 : เลือกความยาวของขอตอ 2 กอน
เลือกความยาวของกานสง 3 กอน
คําตอบ 3 :

กําหนดความยาวของขอตอ 1 เปนที่แนนอนกอน
คําตอบ 4 :

่ า ย
ขอที่ : 270

หน

ในการออกแบบกลไก 4-ขอตอ ที่กําหนดตําแหนงของกานสง CD มา 2 ตําแหนง ดังในรูปขั้นตอนแรกของการออกแบบคือการกําหนดจุดหมุน O และ O ดังนี้


2 4

า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
1C2และD1D2 เลือกจุดหมุน
บนเสนแบงครึ่งตั้งฉากกับ C

ง ว น O2 และ O4 ตามลําดับ


คําตอบ 1 :

ขอ
กร
บนเสนแบงครึ่งตั้งฉากกับ C D และ C D เลือกจุดหมุน O และ O ตามลําดับ
1 1 2 2 2 4


คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

าว ศ

จุด O และ O ไมสามารถกําหนดไดเนื่องจากโจทยใหตําแหนงของขอตอ CD มาเพียง 2ตําแหนง
2 4


คําตอบ 4 :
ภ บนเสนแบงครึ่งตั้งฉากกับ C D และ C D เลือกจุดหมุน O และ O ตามลําดับ
1 2 2 1 2 4

ขอที่ : 271
171 of 244

ขอใดเปนคําตอบที่ถูกตองในการออกแบบกลไก 4-ขอตอ แบบ Crank-rocker เมื่อกําหนดตําแหนงของแขนแกวง (Rocker) มา 2 ตําแหนงดังรูป


เมื่อกลไกที่ไดไมเปนกลไกกราชอฟ ใหเลือกตําแหนงจุดหมุน O และ O ใหม

่ า ย

2 4
คําตอบ 1 :

เมื่อกลไกที่ไดปนกลไกกราชอฟ ใหเลือกตําแหนงจุดหมุน O และ O ใหม


2 4

จ ำ ห

คําตอบ 2 :

า้
ิธ์ ห
เมื่อกลไกที่ไดไมเปนกลไกกราชอฟ ใหตรวจสอบมุมสงทอดใหไดมุมสงทอดที่เล็กที่สุด
คําตอบ 3 :

ิท
เมื่อกลไกที่ไดเปนกลไกกราชอฟ ใหเลือกตําแหนงจุดหมุน O และ O ใหมพรอมตรวจสอบมุมสงทอดใหไดมุมสงทอดที่เล็กที่สุด


2 4


คําตอบ 4 :

ง ว
ขอที่ : 272

อ ส

กลไกที่ใชในการถายทอดการหมุนระหวางเพลา 2 เสนที่ไมขนานกันคือ

กร
คําตอบ 1 : Universal joint


คําตอบ 2 : Plate clutch

าว ศ

คําตอบ 3 : Oldham coupling
คําตอบ 4 : Jaw clutch

ขอที่ : 273
ส ภ
กลไกที่ใชในสงถายการเคลื่อนที่จากเพลากลางของรถยนตไปเขาชุดเฟองทายคือ
คําตอบ 1 : Plate clutch
คําตอบ 2 : Universal joint
คําตอบ 3 : Oldham coupling
คําตอบ 4 : Jaw clutch
172 of 244
ขอที่ : 274
กลไกที่ใชในการถายทอดการหมุนระหวางเพลา 2 เสนที่ไมขนานกันคือ
คําตอบ 1 : Oldham coupling
คําตอบ 2 : Clutch
คําตอบ 3 : Hooke’s joint
คําตอบ 4 : Jaw clutch

่ า ย

ขอที่ : 275


กลไกที่ใชในสงถายการเคลื่อนที่จากเพลากลางของรถยนตไปเขาชุดเฟองทายคือ

จ ำ
คําตอบ 1 : Oldham coupling


คําตอบ 2 : Plate clutch

า้
คําตอบ 3 : Jaw clutch

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : Hooke’s joint

ิท
ขอที่ : 276


ขอใดเปนกลไกที่สรางมาเพื่อใชในการลอกแบบ ทั้งขยายหรือ ยอขนาด

ว น
คําตอบ 1 : Peaucellier


คําตอบ 2 : Watt


คําตอบ 3 : Pantograph


คําตอบ 4 :


Scotch-Russel

ว กร
ขอที่ : 277



กลไกของเครื่องฉายภาพยนตแบบใชฟลมอาศัยการทํางานของขอตอที่สามารถสรางสวนโคงชนิด

าว
คําตอบ 1 : Banana


คําตอบ 2 : Cycloid


คําตอบ 3 : Crunode
คําตอบ 4 : Half Moon

ขอที่ : 278
ในกลไกอุปกรณบังคับเลี้ยวของรถยนต แบบ Ackermann มุมองศาที่เทาไหรจะทําใหลอกลิ้งเกือบจะไมมีการไถล
คําตอบ 1 : 10
173 of 244
คําตอบ 2 : 15
คําตอบ 3 : 25
คําตอบ 4 : 30

ขอที่ : 279
กลไกที่ใชเขียนรูปวงรี คือ
คําตอบ 1 :


Scotch yoke

่ า
คําตอบ 2 : Oldham


คําตอบ 3 : Peaucellier


คําตอบ 4 : Hart

จ ำ

ขอที่ :

า้
280
กลไกที่ใชเขียนเสนตรง เรียกวา

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : Peaucellier
คําตอบ 2 : Scotch yoke

ิท
คําตอบ 3 : Oldham


คําตอบ 4 : Pantograph

ง ว น

ขอที่ : 281


กลไกดังรูปมีชื่อเรียกวาอะไร

กร ข

ิ ว
ภ าว

174 of 244
คําตอบ 1 : Slider Crank
คําตอบ 2 : Crank Shaper
คําตอบ 3 : Scotch Yoke
คําตอบ 4 : Straight Line

ขอที่ : 282

่ า ย
กลไกดังรูปมีชื่อเรียกวาอะไร

หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : Scotch Yoke
คําตอบ 2 : Chamber Wheel
คําตอบ 3 : Quick-Return

ิท
คําตอบ 4 : Pantograph

นส

ขอที่ :


283


กลไกดังรูปมีชื่อเรียกวาอะไร

ขอ
ว กร
าว ศ


คําตอบ 1 : Chamber Wheel


คําตอบ 2 : Scotch Yoke
คําตอบ 3 : Crank Shaper
คําตอบ 4 : Quick-Return

ขอที่ : 284
กลไกดังรูปมีชื่อเรียกวาอะไร 175 of 244

คําตอบ 1 : Pantograph

่ า
คําตอบ 2 : Straight Line


คําตอบ 3 : Crank Shaper


คําตอบ 4 :


Scotch Yoke

ขอที่ :

มจ
า้
285

ิธ์ ห
คําตอบขอใดไมถูกตอง

ส ิท
ง ว น
อ ส
คําตอบ 1 :

กร ข
คีมล็อคในรูปเปนโซคิเนแมติก 4-ขอตอ


คําตอบ 2 : แรงบีบหรือจับ Q ที่มีขนาดสูงมาก เปนผลจากหลักการที่เรียกวา toggle effect



คําตอบ 3 : แรงบีบหรือจับ Q ที่มีขนาดสูงมาก เกิดจากแขนของโมเมนต BC ที่ยาวกวาระยะ AB

าว
คําตอบ 4 : การเลื่อนของรอยตอ A ไมสงผลตอ toggle effect

ขอที่ : 286

ส ภ
Coupler Curve หมายถึง เสนโคงใด
คําตอบ 1 : เปนเสนโคงที่ไดจากจุดที่อยูบนกานสงของกลไก 4-ขอตอ ลากหรือเขียนไปบนระนาบที่อยูกับที่
คําตอบ 2 : เปนเสนโคงที่ไดจากจุดที่อยูบนเสนรอบวงของวงกลมที่กลิ้งไปบนพื้นราบโดยไมมีการไถล ลากไปบนระนาบที่อยูกับที่
คําตอบ 3 : เปนเสนโคงที่ไดจากจุดที่อยูบนขอเหวี่ยงของกลไก 4-ขอตอ ลากหรือเขียนไปบนระนาบที่อยูกับที่
คําตอบ 4 : หมายถึงรูปวงรีที่ไดจากเครื่องเขียนวงรี เขียนไปบนระนาบที่อยูกับที่
176 of 244
ขอที่ : 287
กลไกไปชากลับเร็ว (quick return mechanism) เปนกลไกที่ถูกนํามาใชงานแบบใด
คําตอบ 1 : กลไกจะถูกขับดวยความเร็วของขอเหวี่ยงคงที่ ในชวงทํางาน ขอตอที่ทํางานจะเคลื่อนที่ชา แตชวงเคลื่อนที่กลับจะเร็ว
คําตอบ 2 : กลไกจะถูกขับดวยความเร็วไมคงที่ ขณะทํางานจะขับชา เนื่องจากขณะทํางานมีภาระสูง ขณะเคลื่อนที่กลับจะเปนชวงเวลาที่สั้น
คําตอบ 3 : กลไกจะเคลื่อนที่ขณะทํางานเร็ว เพื่อใหไดงาน เวลาเคลื่อนที่กลับ ไมตองการงานจะเคลื่อนที่ชา
คําตอบ 4 : กลไกจะถูกขับดวยความเร็วของขอเหวี่ยงที่คงที่ แตชวงทํางานจะเคลื่อนที่เร็ว เพื่อใชกําลังสูงสุด ชวงดึงกลับจะดึงกลับชาเพื่อใชกําลังต่ําสุด

่ า ย

ขอที่ : 288


ขอใดที่ไมถูกตอง สําหรับกลไกสี่เหลี่ยมดานขนาน

จ ำ
คําตอบ 1 : เปนกลไกที่ไมสามารถนํามาใชประโยชนได เนื่องจากมีจุดเปลี่ยน


คําตอบ 2 : เปนกลไก 4-ขอตอที่มีตําแหนงจุดเปลี่ยน

า้
คําตอบ 3 : เปนกลไก 4-ขอตอที่มีขอเหวี่ยงกับตัวตามมีความยาวเทากัน

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : เปนกลไกที่นํามาประยุกตใชสงทอดการเคลื่อนที่กับลอขับของรถไฟ โดยแตละลอจะหมุนดวยความเร็วที่เทากัน

ิท
ขอที่ : 289


กลไกในรูปเรียกวา

ง ว น
อ ส
กร ข
คําตอบ 1 :


ิ ว
าว
Pantograph
คําตอบ 2 : Tchebysheff’s four-bar mechanism


คําตอบ 3 : Engine Indictor


คําตอบ 4 : The Hart mechanism

ขอที่ : 290

177 of 244

กลไกในรูปใชประโยชนสําหรับ
คําตอบ 1 : เขียนกราฟความดัน-ปริมาตรของเครื่องยนต

่ า ย

คําตอบ 2 : ลอกแบบ

ำ ห
คําตอบ 3 : เขียนเสนตรงแท


คําตอบ 4 : เขียนเสนเกือบตรง

า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 291
กลไกในรูปใชประโยชนสําหรับ

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 : เขียนกราฟความดัน-ปริมาตรของเครื่องยนต
คําตอบ 2 : เขียนเสนตรงแท


คําตอบ 3 : ลอกแบบ

ขอที่ : 292

คําตอบ 4 : เขียนเสนเกือบตรง

178 of 244

กลไกในรูปเรียกวา
่ า ย
หน
คําตอบ 1 : The Hart mechanism

จ ำ

คําตอบ 2 :

า้
Tchebysheff’s four-bar mechanism
คําตอบ 3 :

ิธ์ ห
Engine Indictor
คําตอบ 4 : Pantograph

ิท
ขอที่ :


293

ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

179 of 244

กลไกดังรูปเรียกวา
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
คําตอบ 1 : Watt Chain

กร ข

คําตอบ 2 : Steohenson chain



คําตอบ 3 : Kinematic Chain

าว
คําตอบ 4 : Stephenson chain

ขอที่ : 294

ส ภ
180 of 244

จากรูป ลักษณะของตัวตามมีชื่อเรียกวาอะไร
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :

ส ิท

Knife-edged


คําตอบ 2 : Flat-faced


คําตอบ 3 : Spherical-faced


คําตอบ 4 :


Roller

ขอที่ : 295

กร ข

ิ ว
ภ าว

181 of 244

กลไกในรูปมีชื่อวา
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น

คําตอบ 1 : Watt Chain


คําตอบ 2 :


Stephenson Chain

กร
คําตอบ 3 : Linkage Chain
คําตอบ 4 : Scoth Yoke


ิ ว
าว
ขอที่ : 296

ส ภ
182 of 244

กลไกในภาพใชกับอุปกรณ
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น

คําตอบ 1 : เครืองบดหิน


คําตอบ 2 : เตรื่องเขียนแบบ

กร ข
คําตอบ 3 : รถยนต
คําตอบ 4 : เรือ


ิ ว
าว
ขอที่ : 297

ส ภ
183 of 244

กลไกในภาพใชในอุปกรณ
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น

คําตอบ 1 : อุปกรณเขียนวงร


คําตอบ 2 : อุปกรณเขียนแบบ

กร ข
คําตอบ 3 : อุปกรณรอกผอนแรง
คําตอบ 4 : อุปกรณชิงชา


ิ ว
าว
ขอที่ : 298


จากรูป ลักษณะของตัวตามมีชื่อเรียกวาอะไร


184 of 244
คําตอบ 1 : Knife-edged
คําตอบ 2 : Flat-faced
คําตอบ 3 : Spherical-faced
คําตอบ 4 : Roller

ขอที่ : 299
จากรูป ลักษณะของตัวตามมีชื่อเรียกวาอะไร

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : Knife-edged

ส ิท

คําตอบ 2 : Flat-faced

ง ว
คําตอบ 3 : Spherical-faced


คําตอบ 4 : Roller

ขอ
กร
ขอที่ : 300
จากรูป ลักษณะของตัวตามมีชื่อเรียกวาอะไร


ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : Knife-edged
คําตอบ 2 : Flat-faced
คําตอบ 3 : Spherical-faced 185 of 244
คําตอบ 4 : Roller
ขอที่ : 301
กลไกตัวอยางจากเครื่องมือเขียนแบบที่เรียกวา Universal drafting machine ในรูปขอใดไมถูกตอง

่ า ย
หน

คําตอบ 1 : เครื่องมือนี้เปนกลไก 8-ขอตอ ที่ไดจากกลไก 4-ขอตอ นํามาตอกัน โดยมีขอตอทุกขอเปนขอตอทวิภาคหรือขอตอที่มี 2 รอยตอ (binary link)


คําตอบ 2 : เครื่องมือนี้เปนกลไก 8-ขอตอ ที่มีขอตอที่มีรอยตอสูงสุด 4 รอยตอ หรือมีขอตอหนึ่งเปน ขอตอจตุภาค (quaternary link)

า้ ม
คําตอบ 3 : เครื่องมือเขียนแบบนี้ไดจากกลไก 4-ขอตอ แบบมีจุดเปลี่ยน

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : เมื่อกลไกเคลื่อนที่ ไมฉากจะเคลื่อนที่ขนานกับแนวเดิมเสมอ

ขอที่ :

ิท
302


คีมล็อกสามารถจับล็อกชิ้นงานดวยแรง Q ที่สูงมาก การล็อกเกิดขึ้นไดโดย

ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 : อาศัยตําแหนงจุดตายของกลไก เมื่อขอตอ AB และ BC เคลื่อนที่มาเรียงอยูในแนวเสนตรงเดียวกัน
คําตอบ 2 : อาศัยตําแหนงจุดตายของกลไก เมื่อขอตอ OA และ AB ทํามุมฉากกันพอดี


คําตอบ 3 : เมื่อจุด B, C และ D เรียงอยูในแนวเสนตรงเดียวกัน


คําตอบ 4 : เมื่อเรากดขอตอ EF เพื่อใหขอตอ AB และ EF อยูในแนวเสนตรงเดียวกัน

ขอที่ : 303

186 of 244

กลไกบดหินในรูปเปนกลไกกี่ขอตอ
่ า ย
หน

คําตอบ 1 : กลไก 6 ขอตอ


คําตอบ 2 : กลไก 8 ขอตอ


คําตอบ 3 : กลไก 4 ขอตอ 2 ชุด มาตอเขาดวยกัน

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 4 : กลไก 7 ขอตอ

ขอที่ : 304

ิท
คีมลอกในรูปเปนโซคิเนแมติกแบบใด

นส
ง ว
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 : เปนโซคิเนแมติก 4-ขอตอ
คําตอบ 2 : เปนโซคิเนแมติกแบบบังคับไมไดในขณะลอก


คําตอบ 3 : เปนโซคิเนแมติกแบบ 6-ขอตอ

ขอที่ : 305

คําตอบ 4 : คีมลอกไมใชโซคิเนแมติก

ถาตองการสงถายความเร็วดวยอัตราทดแนนอนและเสียงเงียบ ทานจะเลือกใชอุปกรณใด
คําตอบ 1 : เฟอง
คําตอบ 2 : โซ 187 of 244

คําตอบ 3 : สายพาน
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 306
อุปกรณสงถายความเร็วใดที่ควรมีราคาแพงที่สุด
คําตอบ 1 : ชุดเฟองทด
คําตอบ 2 : โซ
คําตอบ 3 : สายพาน

่ า ย

คําตอบ 4 : ราคาใกลเคียงกัน

ขอที่ : 307

จ ำ ห

อุปกรณสงถายความเร็วใดที่ควรมีราคาถูกที่สุด

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : เฟอง
คําตอบ 2 : โซ
คําตอบ 3 : สายพาน

ิท
คําตอบ 4 : ราคาใกลเคียงกัน

นส

ขอที่ : 308


อุปกรณสงถายความเร็วใดที่ถอดเปลี่ยนงายที่สุด
คําตอบ 1 : เฟอง

อ ส

คําตอบ 2 : โซ

กร
คําตอบ 3 : สายพาน


คําตอบ 4 : เหมือนกัน

ขอที่ : 309

าว ศ


Coupling ที่ใชของไหลเปนตัวสงผานการเคลื่อนที่คือ Coupling ชนิดใด


คําตอบ 1 : Rigid Coupling
คําตอบ 2 : Flexible Coupling
คําตอบ 3 : Fluid Coupling
คําตอบ 4 : Hooke’s Coupling

ขอที่ : 310 188 of 244


Oldham Coupling ทําหนาที่
คําตอบ 1 : เชื่อมเพลาที่ขนานกัน อยูระนาบเดียวกันเขาดวยกัน
คําตอบ 2 : เชื่อมเพลาที่ขนานกัน อยูเยื้องกันเล็กนอยเขาดวยกัน
คําตอบ 3 : เชื่อมเพลาที่ไมขนานกัน อยูทํามุมกันเล็กนอยเขาดวยกัน
คําตอบ 4 : เชื่อมเพลาที่ขนานกัน และทํามุม มากกวา 30 องศาเขาดวยกัน

ขอที่ : 311

่ า ย
Hooke Joint คือขอตอ


คําตอบ 1 : ใชตอเพลา 2 เพลาที่อยูในระนาบเดียวกัน ไมขนานกัน และทํามุมกัน เขาดวยกัน


คําตอบ 2 : ใชตอเพลา 2 เพลาที่ไมอยูในระนาบเดียวกัน ขนานกัน และทํามุมกัน เขาดวยกัน

จ ำ
คําตอบ 3 : ใชตอเพลา 2 เพลาที่อยูในระนาบเดียวกัน ขนานกัน และเยื้องกัน เขาดวยกัน


คําตอบ 4 : ใชตอเพลา 2 เพลาที่อยูในระนาบเดียวกัน ขนานกัน เขาดวยกัน

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 312
Cognate Linkages คือ อุปกรณ

ิท
คําตอบ 1 : กลไกที่ใชเขียนเสนโคงวงกลม


คําตอบ 2 : กลไกที่ใชเขียนเสนตรง

ว น
คําตอบ 3 : กลไกที่ใชเขียนเสนโคง Cognate Curve


คําตอบ 4 : กลไกที่ใชเขียนเสนโคง Coupler Curve

อ ส

ขอที่ : 313

ว กร
าว ศ

ส ภ
189 of 244

กลไกในรูปใช
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น

คําตอบ 1 : ในเครื่องยนตของเครื่องบิน


คําตอบ 2 : เขียนรูปวงรี

กร ข
คําตอบ 3 : เครื่องสูบน้ํา
คําตอบ 4 : เครื่องจักรกลหนัก


ิ ว
าว
ขอที่ : 314


Coupling ที่ใชในการเชื่อมตอระหวางเพลาที่อยูในแนวเสนตรงเดียวกันคือ Coupling ชนิดใด


คําตอบ 1 : Rigid Coupling
คําตอบ 2 : Flexible Coupling
คําตอบ 3 : Fluid Coupling
คําตอบ 4 : Hooke’s Coupling

ขอที่ : 315
Coupling ที่ใชตอเพลาที่ทํามุมซึ่งกันและกันคือ Coupling ชนิดใด 190 of 244
คําตอบ 1 : Rigid Coupling
คําตอบ 2 : Flexible Coupling
คําตอบ 3 : Fluid Coupling
คําตอบ 4 : Hooke’s Coupling

ขอที่ : 316

่ า ย
Coupling ที่ใชในการตอเพลาที่ขนานกันแตไมไดอยูในแนวเดียวกันคือ Coupling ชนิดใด


คําตอบ 1 : Rigid Coupling


คําตอบ 2 : Oldham Coupling

จ ำ
คําตอบ 3 : Fluid Coupling


คําตอบ 4 : Hooke’s Coupling

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 317
แพนโตกราฟ (Pantograph) เปนกลไกที่ใชลอกรูปทั้งแบบขยายและยอขนาด คําตอบขอใดไมถูกตอง

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 : จุด A จะวาดรูปเดียวกันกับจุด C แตมีขนาดที่ยอสวนลง
คําตอบ 2 : จุด P จะวาดรูปเดียวกันกับจุด C แตมีขนาดที่ยอสวนลง


คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ภ แพนโตกราฟเปนกลไกที่ไดจากกลไกสี่เหลี่ยมดานขนาน
กลไกสี่เหลี่ยมดานขนานเปนกลไกที่มีจุดเปลี่ยน

ขอที่ : 318

กลไกในรูปคือ 191 of 244


่ า ย

คําตอบ 1 : แพนโตกราฟ (Pantograph) ชนิดหนึ่ง เปนกลไกที่ใชลอกรูปทั้งแบบขยายและยอขนาด
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
กลไกที่มีจุดหนึ่งเคลื่อนที่เกือบเปนเสนตรง (Approximate straight-line mechanism)
กลไกที่มีจุดหนึ่งเคลื่อนที่เปนเสนตรงแท (Exact straight-line mechanism)

จ ำ ห

คําตอบ 4 : กลไกผอนแรงที่ใช toggle effect

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 319
กลไกในรูปคือ

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 : กลไกผอนแรง (Toggle mechanism) ที่อาศัยหลักการของ toggle effect
คําตอบ 2 : กลไกล็อกที่อาศัย toggle effect


คําตอบ 3 : กลไกแพนโตกราฟที่ใชในการบดหิน


คําตอบ 4 : กลไกปอนหินอัตโนมัติที่ไดจากกลไกของวัตต

ขอที่ : 320

ขอใดถูกตอง จากกลไกในรูป 192 of 244


่ า ย

แรง Q จะสูงสุดเมื่อขอตอ 5 และ 4 อยูในแนวเสนตรงเดียวกัน เมื่อจุด A ทับกับ A’


คําตอบ 1 :

แรง Q จะสูงสุดเมื่อขอตอ 3 และ 2 อยูในแนวเดียวกัน หรือ A O A’ อยูในแนวเสนตรงเดียวกัน

จ ำ

2

า้
คําตอบ 2 :

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : แรง Q จะนอยสุดเมื่อขอตอ 5 และ 4 อยูในแนวเสนตรงเดียวกัน เมื่อจุด Aทับกับ A’

ิท
แรง Q จะนอยสุดเมื่อขอตอ 3 และ 2 อยูแนวเดียวกัน หรือ A O A’ อยูในแนวเสนตรงเดียวกัน
2


คําตอบ 4 :

ง ว น

ขอที่ :


321

กร ข

ิ ว
ภ าว

193 of 244
กลไกลูกสูบในรูปหมุนดวยความเร็วเชิงมุม 1 เรเดียนตอวินาที ทวนเข็มนาฬิกา ขอเหวี่ยง O2A ยาว 15 ซม. กานตอ AB ยาว 60 ซม. จุด C อยูบน AB โดยที่ AC = 15 ซม. ความ
เร็วของจุด C มีคาเทากับ
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น

คําตอบ 1 :


17.2 cm
คําตอบ 2 :


18.2 cm

กร
คําตอบ 3 : 20.4 cm
คําตอบ 4 :


24.1 cm

ขอที่ : 322

าว ศ

ส ภ
194 of 244
กลไกลูกสูบในรูปหมุนดวยความเร็วเชิงมุม 1 เรเดียนตอวินาที ทวนเข็มนาฬิกา ขอเหวี่ยง O2A ยาว 15 ซม. กานตอ AB ยาว 60 ซม. จุด C อยูบน AB โดยที่ AC = 20 ซม. ความ
เร็วของจุด C มีคาเทากับ
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 : 17.2 cm

ง ว น

คําตอบ 2 :


18.2 cm


คําตอบ 3 : 20.4 cm

กร
คําตอบ 4 : 24.1 cm

ขอที่ :


ิ ว
าว
323

ส ภ
195 of 244
กลไกลูกสูบในรูปหมุนดวยความเร็วเชิงมุม 1 เรเดียนตอวินาที ทวนเข็มนาฬิกา ขอเหวี่ยง O2A ยาว 15 ซม. กานตอ AB ยาว 60 ซม. จุด C อยูบน AB โดยที่ AC = 30 ซม. ความ
เร็วของจุด C มีคาเทากับ
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 : 17.2 cm

ง ว น

คําตอบ 2 : 18.2 cm


คําตอบ 3 :


20.4 cm

กร
คําตอบ 4 : 24.1 cm

ขอที่ : 324


ิ ว
ภ าว

196 of 244
กลไกลูกสูบในรูปหมุนดวยความเร็วเชิงมุม 1 เรเดียนตอวินาที ทวนเข็มนาฬิกา ขอเหวี่ยง O2A ยาว 15 ซม. กานตอ AB ยาว 60 ซม. จุด C อยูบน AB โดยที่ AC = 45 ซม. ความ
เร็วของจุด C มีคาเทากับ
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 : 17.2 cm

ง ว น

คําตอบ 2 :


18.2 cm


คําตอบ 3 : 20.4 cm

กร
คําตอบ 4 : 24.1 cm

ขอที่ :


ิ ว
าว
325
ถา Crank Slider หมุนดวยความเร็ว 600 รอบ/นาที จะมีความเร็วสัมพัทธ Vc/a = ?

ส ภ
197 of 244
คําตอบ 1 : 6.28 rad/sec
คําตอบ 2 : 62.8 cm/sec
คําตอบ 3 : 86.7 cm/sec
คําตอบ 4 : 628 mm/sec

ขอที่ : 326

่ า ย
ถา Crank Slider หมุนดวยความเร็ว 60 รอบ/นาที จะมีความเร็วสัมพัทธ Vc/a = ?

หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท

คําตอบ 1 : 8.67 cm/sec


คําตอบ 2 : 62.8 cm/sec


คําตอบ 3 :


62.8 rad/sec


คําตอบ 4 : 628 mm/sec

ขอที่ : 327

กร ข

ถา Crank Slider หมุนดวยความเร็ว 1,200 รอบ/นาที จะมีความเร็วสัมพัทธ Vb/a = ?

าว ศ

ส ภ
คําตอบ 1 : 12.56 rad / sec 198 of 244

คําตอบ 2 : 125.6 cm/sec


คําตอบ 3 : 520 cm /sec
คําตอบ 4 : 1,256 mm/sec

ขอที่ : 328
ถา Crank Slider หมุนดวยความเร็ว 60 รอบ/นาที จะมีความเร็วสัมพัทธ Vb/a= ?

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 : 26 cm/sec
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 2 :


37 cm/sec


คําตอบ 3 : 47 rad/sec


คําตอบ 4 : 8.67 mm/sec

ส ง

ขอที่ : 329

กร ข

ิ ว
ภ าว

199 of 244

จากรูป ความเร็วของจุด B2 เทียบกับจุด B4 จะอยูในแนวใด


่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : แนวของชิ้นตอโยง 2
คําตอบ 2 : แนวของชิ้นตอโยง 4
คําตอบ 3 : ตั้งฉากกับชิ้นตอโยง 2
คําตอบ 4 : ตั้งฉากกับชิ้นตอโยง 4

ขอที่ : 330
200 of 244

จากรูป ทิศของความเร็วของจุด B2 เทียบกับจุด B4 คือขอใด


่ า ย
หน
จ ำ
คําตอบ 1 : แนวของชิ้นตอโยง 2 และพุงขึ้น

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 : แนวของชิ้นตอโยง 2 และพุงลง
คําตอบ 3 : แนวของชิ้นตอโยง 4 และพุงขึ้น
คําตอบ 4 : แนวของชิ้นตอโยง 4 และพุงลง

ส ิท

ขอที่ :


331


จากรูป ความเร็วของจุด B4 เทียบกับจุด B2 จะอยูในแนวใด

อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
แนวของชิ้นตอโยง 2
แนวของชิ้นตอโยง 4
ตั้งฉากกับชิ้นตอโยง 2
คําตอบ 4 : ตั้งฉากกับชิ้นตอโยง 4

201 of 244
ขอที่ : 332
จากรูป ความเร็วของจุด B4 เทียบกับจุด B2 จะอยูในแนวใด

่ า ย
หน
คําตอบ 1 : แนวของชิ้นตอโยง 2 และพุงลง

จ ำ
า้ ม
คําตอบ 2 : แนวของชิ้นตอโยง 2 และพุงขึ้น

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : แนวของชิ้นตอโยง 4 และพุงลง
คําตอบ 4 : แนวของชิ้นตอโยง 4 และพุงขึ้น

ขอที่ : 333

ส ิท

คําตอบขอใดถูกตอง กําหนดให มาตราสวนรูป คือ k [cm/cm] มาตราสวนความเร็วคือ k [cm/s/cm]


S V

ส ง
ขอ
ว กร
าว ศ


คําตอบ 1 :
ภ จากรูปเหลี่ยมของความเร็ว ขนาดของความเร็วสัมพัทธ V
C/A
= kV(ac) cm/s มีทิศ ⊥ กับ AC

จากรูปเหลี่ยมของความเร็ว ขนาดของความเร็วสัมพัทธ V = kV(bc) cm/s มีทิศจาก B ไป C


C/B
คําตอบ 2 :

202 of 244
คําตอบ 3 :
จากรูปเหลี่ยมของความเร็ว ขนาดของความเร็วสัมพัทธ V
B/A
= kV(ab) cm/s มีทิศ ⊥ กับ O4B
จากรูปเหลี่ยมของความเร็ว ขนาดของความเร็วสัมพัทธ V = kV(bc) cm/s มีทิศจาก C ไป B
B/C
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 334
คําตอบขอใดถูกตอง กําหนดให มาตราสวนรูป คือ kS [cm/cm] มาตราสวนความเร็วคือ kV [cm/s/cm]

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ิท
จากรูปสามเหลี่ยม ABC และ abc เปนสามเหลี่ยมคลาย


คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

ว น
จากรูปขนาดของ ac เมื่อคูณกับมาตราสวนรูป kS จะไดขนาดของความเร็วVC/A


อ ส
จากรูปสามเหลี่ยม ABC และ abc ไมมีความเกี่ยวของใดๆกัน


คําตอบ 3 :

กร
จากรูปสามเหลี่ยม abc ในรูปเหลี่ยมของความเร็วเปนภาพเสมือนของขอตอ ABC ที่หมุนทวนเข็มเปนมุมใดๆ


คําตอบ 4 :

าว ศ

ขอที่ : 335

ส ภ
203 of 244
กลไก 4-ขอตอในรูป ให ω2 มาตองการหา ω4 จะตองใชสมการใดคํานวณ
่ า ย
VB2 = VB3

VB4 = VB3 +VB4/B3

หน

คําตอบ 1 :

และ ω4 = VB4/BOB
มจ
า้
ิธ์ ห
VB2 = VB3

ิท
VB4 = VB3 +VB4/B3


คําตอบ 2 :


และ ω = V /BOB


4 B4/B3

ส ง

VB3 = VB4

VB4 = VB2 +VB4/B2

กร ข

คําตอบ 3 :



และ ω = V

าว
4 B4/B2
/BOB

ส ภ VB2 = VB3

VB4 = VB3 +VB4/B3


คําตอบ 4 :
และ ω = V /BOB
4 B3

204 of 244
ขอที่ : 336
ในรูปเปนกลไก 4-ขอตอ เมื่อทราบขนาดของขอตอตาง และขนาดของ ω ความเร็ว V หาไดจาก
2 B2

่ า ย
หน
จ ำ
VB2 = VB3 = AOB?ω2

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :

ิท
VB2 = VB4 = AOB?ω2


คําตอบ 2 :

VB2 = VB3 = AOB?ω4

ง ว น

คําตอบ 3 :

ขอ
กร
VB2 = VB4 = AOB?ω4
คําตอบ 4 :


ิ ว
ขอที่ : 337

ภ าว

205 of 244

มวล A วิ่งขึ้นดวยความเร็ว 0.4 เมตรตอวินาที และมวล B วิ่งไปทางซายดวยความเร็ว 0.3 เมตรตอวินาที ความยาว AB เทากับ 200 มิลลิเมตร ความเร็วเชิงมุมของ AB เทากับ
่ า ย
หน
คําตอบ 1 : 150 เรเดียนตอนาที CW

จ ำ
า้ ม
คําตอบ 2 : 150 เรเดียนตอนาที CCW

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : 100 เรเดียนตอนาที CW
คําตอบ 4 : 100 เรเดียนตอนาที CCW

ขอที่ : 338

ส ิท

มวล A วิ่งลงดวยความเร็ว 0.4 เมตรตอวินาที และมวล B วิ่งไปทางขวาดวยความเร็ว 0.3 เมตรตอวินาที ความยาว AB เทากับ 200 มิลลิเมตร ความเร็วเชิงมุมของ AB เทากับ

ง ว
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
150 เรเดียนตอนาที CW
150 เรเดียนตอนาที CCW
100 เรเดียนตอนาที CCW
คําตอบ 4 : 100 เรเดียนตอนาที CW

206 of 244
ขอที่ : 339
มวล A วิ่งลงดวยความเร็ว 0.3 เมตรตอวินาที และมวล B วิ่งไปทางขวาดวยความเร็ว 0.4 เมตรตอวินาที ความยาว AB เทากับ 200 มิลลิเมตร ความเร็วเชิงมุมของ AB เทากับ
่ า ย
หน
คําตอบ 1 : 100 เรเดียนตอนาที CW

จ ำ
า้ ม
คําตอบ 2 : 100 เรเดียนตอนาที CCW

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : 150 เรเดียนตอนาที CCW
คําตอบ 4 : 150 เรเดียนตอนาที CW

ขอที่ : 340

ส ิท

มวล A วิ่งขึ้นดวยความเร็ว 0.3 เมตรตอวินาที และมวล B วิ่งไปทางซายดวยความเร็ว 0.4 เมตรตอวินาที ความยาว AB เทากับ 200 มิลลิเมตร ความเร็วเชิงมุมของ AB เทากับ

ง ว
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
100 เรเดียนตอนาที CW
100 เรเดียนตอนาที CCW
150 เรเดียนตอนาที CCW
คําตอบ 4 : 150 เรเดียนตอนาที CW

207 of 244
ขอที่ : 341
ถาความเร็วของจุด A =240 cm/sec และ เวคเตอร ความเร็วเปนไปตามรูป ความเร็วเชิงมุมของชิ้นงาน 3 จะมีคาประมาณเทาไหร ถาความยาว AC =14 cm ; BC = 12.5 cm
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท

คําตอบ 1 : 8.72 rad/sec


คําตอบ 2 :


122.09 rad/sec


คําตอบ 3 : 109rad/sec


คําตอบ 4 : 42.1 rad/sec

ขอที่ : 342

กร ข

ิ ว
ภ าว

208 of 244

ถาความเร็วของจุด A =200 cm/sec และ เวคเตอร ความเร็วเปนไปตามรูป ความเร็วเชิงมุมของชิ้นงาน 3 จะมีคาประมาณเทาไหร ถาความยาว AC =14 cm ; BC = 12.5 cm
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท

คําตอบ 1 : 8.72 rad/sec


คําตอบ 2 :


7.3 rad/sec


คําตอบ 3 : 101.75 rad/sec


คําตอบ 4 : 35.09 rad /sec

ขอที่ : 343

กร ข

ิ ว
ภ าว

209 of 244

ถาความเร็วของจุด A =240 cm/sec และ เวคเตอร ความเร็วเปนไปตามรูป ความเร็วเชิงมุมของชิ้นงาน 3 จะมีคาประมาณเทาไหร ถาความยาว AC =7 cm ; BC = 6.3 cm
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท

คําตอบ 1 : 8.72 rad /sec


คําตอบ 2 :


27.4 rad/sec


คําตอบ 3 : 30.53 rad/sec


คําตอบ 4 : 2.19 rad/sec

ขอที่ : 344

กร ข

ิ ว
ภ าว

210 of 244

ถาความเร็วของจุด A =60 cm/sec และ เวคเตอร ความเร็วเปนไปตามรูป ความเร็วเชิงมุมของชิ้นงาน 3 จะมีคาประมาณเทาไหร ถาความยาว AC =14 cm ; BC = 12.5 cm
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท

คําตอบ 1 : 8.72 rad/sec


คําตอบ 2 :


27.4 rad/sec


คําตอบ 3 : 30.53 rad/sec


คําตอบ 4 : 2.19 rad/sec

ขอที่ : 345

กร ข

จากรูป เมื่อชิ้นตอโยง O1B เคลื่อนที่ดวยความเร็วเชิงมุม W โดยมีทิศตามเข็มนาฬิกา จะไดความเร็วของจุด C เทื่อเทียบกับจุด B มีทิศทางใด

าว ศ

ส ภ
211 of 244
คําตอบ 1 : ตั้งฉากกับแขน BC และมีทิศทางพุงขึ้น
คําตอบ 2 : ตั้งฉากกับแขน BC และมีทิศทางพุงลง
คําตอบ 3 : ตั้งฉากกับแขน O1B
คําตอบ 4 : อยูในทิศเดียวกันกับทิศการเคลื่อนที่ของ Slider C

ขอที่ : 346

่ า ย
จากรูป เมื่อชิ้นตอโยง O1B เคลื่อนที่ดวยความเร็วเชิงมุม w โดยมีทิศตามเข็มนาฬิกา จะไดความเร็วของจุด B เทื่อเทียบกับจุด C มีทิศทางใด

หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : อยูในทิศเดียวกันกับทิศการเคลื่อนที่ของ Slider C
คําตอบ 2 : ตั้งฉากกับแขน BC และมีทิศทางพุงลง

ิท
คําตอบ 3 : ตั้งฉากกับแขน BC และมีทิศทางพุงขึ้น


คําตอบ 4 : ตั้งฉากกับแขน O1B

ขอที่ : 347

ง ว น

จากรูป เมื่อชิ้นตอโยง O B เคลื่อนที่ดวยความเร็วเชิงมุม ω โดยมีทิศทวนเข็มนาฬิกา จะไดความเร็วของจุด C เมื่อเทียบกับจุด B มีทิศทางใด


1

กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
ในทิศเดียวกันกับทิศการเคลื่อนที่ของ Slider C
ตั้งฉากกับแขน BC และมีทิศทางพุงลง
คําตอบ 3 : ตั้งฉากกับแขน BC และมีทิศทางพุงขึ้น
คําตอบ 4 : ตั้งฉากกับแขน O1Bอยู

212 of 244
ขอที่ : 348
จากรูป เมื่อชิ้นตอโยง O B เคลื่อนที่ดวยความเร็วเชิงมุม ω โดยมีทิศทวนเข็มนาฬิกา จะไดความเร็วของจุด B เมื่อเทียบกับจุด C มีทิศทางใด
1

่ า ย

คําตอบ 1 : ตั้งฉากกับแขน BC และมีทิศทางพุงลง


คําตอบ 2 : ตั้งฉากกับแขน BC และมีทิศทางพุงขึ้น

จ ำ
คําตอบ 3 : อยูในทิศเดียวกันกับทิศการเคลื่อนที่ของ Slider C


คําตอบ 4 : ตั้งฉากกับแขน O1B

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 349
คําตอบขอใดถูกตอง

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข
VB=VA+VB/A จากสมการความเร็วสัมพัทธนี้ สามารถหาความเร็ว VB , ω4 และ ω3 ได

ิ ว
คําตอบ 1 :

า ว ศ
จากสมการความเร็วสัมพัทธ V =V +V
C A C/A
สามารถหาความเร็วของจุด C และ ω ได
3


คําตอบ 2 :


คําตอบ 3 :
ทิศของ ω ไมสามารถดูไดจากรูปเหลี่ยมของความเร็ว
3

รูปเหลี่ยมความเร็งที่ไดยังไมถูกตอง เห็นไดจากความเร็ว V คือ O c สั้นกวา O a และ O b


C v v v
คําตอบ 4 :
213 of 244
ขอที่ : 350
ขอใดเปนสมการที่ใชคํานวณความเร็วของจุด C โดยไมตองคํานวณหา ω
3

่ า ย
หน
จ ำ

VB=VA+VB/A

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :
VC=VA+VC/A=VB+VC/B

ิท
VC=VA+VC/A


คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 : VC=VB+VC/B

ง ว น
VB=VA+VC/A

อ ส
คําตอบ 4 : VC=VB+VC/B

กร ข

ิ ว
ขอที่ : 351

ภ าว

คําตอบขอใดถูกตอง 214 of 244
ในรูปเหลี่ยมของความเร็วจะมีภาพเสมือนของขอตอ 3 แตจะหมุนไปจากเดิม 90? ในทิศของ ω

่ า ย

3
คําตอบ 1 :


ในรูปเหลี่ยมของความเร็วจะมีภาพเสมือนของขอตอ 3 ที่มีขนาดเทากันแตจะหมุนไปจากเดิม 180? ในทิศของ ω

ำ ห 3


คําตอบ 2 :

า้
ิธ์ ห
ในรูปเหลี่ยมของความเร็วจะมีภาพเสมือนของขอตอ 3 เปนรูปคลายที่หมุนไปจากเดิม 180? ในทิศตรงขามกับ ω
3
คําตอบ 3 :

ส ิท
ในรูปเหลี่ยมของความเร็วจะมีภาพเสมือนของขอตอ 3 เปนรูปคลายที่หมุนไปจากเดิม 90? ในทิศตรงขามกับ ω


3
คําตอบ 4 :

ง ว
อ ส

ขอที่ : 352

กร
กลไก 4-ขอตอในรูป คําตอบขอใดถูกตอง


ิ ว
ภ าว
ส VA2=VA3 ความเร็วของจุด A ที่อยูบนขอตอ 2 และขอตอ 3 จะเทากัน
คําตอบ 1 :

215 of 244
คําตอบ 2 : VA2=VA4 ความเร็วของจุด A ที่อยูบนขอตอ 2 และขอตอ 4 จะเทากัน
ความเร็วเชิงมุม ω = ω
2 3
คําตอบ 3 :

ความเร็วเชิงมุม ω = ω
2 4
คําตอบ 4 :

่ า ย
ขอที่ :

หน

353


กลไกในรูปมีจุดหมุนเฉพาะกาลกี่จุด

า้ ม
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 1 :


12


คําตอบ 2 : 13


คําตอบ 3 : 14


คําตอบ 4 :


15

ขอ
กร
ขอที่ : 354
กลไกในรูปมีจุดหมุนเฉพาะกาลกี่จุด


ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
10
11
12
คําตอบ 4 : 13

ขอที่ : 355 216 of 244

กลไกในรูปมีจุดหมุนเฉพาะกาลกี่จุด

คําตอบ 1 : 4

่ า
คําตอบ 2 : 5


คําตอบ 3 : 6

ำ ห
คําตอบ 4 : 7

มจ
า้
ขอที่ : 356

ิธ์ ห
กลไกในรูปมีจุดหมุนเฉพาะกาลกี่จุด

ส ิท
ง ว น
อ ส
คําตอบ 1 : 9

กร ข

คําตอบ 2 : 10



คําตอบ 3 : 11

าว
คําตอบ 4 : 12

ขอที่ : 357

ส ภ
217 of 244

จงหาจํานวนจุดหมุนเฉพาะกาลของกลไกในรูป
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 : 2
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 2 : 3


คําตอบ 3 :


4


คําตอบ 4 : 6

ส ง

ขอที่ : 358


จงหาจํานวนจุดหมุนเฉพาะกาลของกลไกในรูป

ว กร
าว ศ


คําตอบ 1 :
ภ 2
คําตอบ 2 : 3
คําตอบ 3 : 4
คําตอบ 4 : 6
218 of 244
ขอที่ : 359
ตําแหนนงจุดเพาะกาล 14 อยูที่

่ า ย
หน

คําตอบ 1 : แนวเดียวกับ Link 3
คําตอบ 2 : ตั้งฉากกับจุดหมุน o และแนวระดับตัดกับแนว link 3

มจ
า้
คําตอบ 3 : ตั้งฉากกับจุด C และทิศทางการเคลื่อนที่ของ Slider ตัดกันที่อนันต

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ไมมี

ิท
ขอที่ : 360


จงหาจํานวนจุดหมุนเฉพาะกาลของกลไกในรูป

ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 6
คําตอบ 2 : 8
คําตอบ 3 : 16
219 of 244
คําตอบ 4 : 15
ขอที่ : 361
จุดศูนยกลางชั่วขณะของคูชิ้นตอโยงคูหนึ่งจะตองมีคุณสมบัติอยางไร
คําตอบ 1 : เปนจุดรวมหรือจุดเชื่อมตอของชิ้นตอโยงทั้งสอง
คําตอบ 2 : เปนจุดที่มีความเร็วสัมพัทธระหวางคูชิ้นตอโยงเปนศูนย
คําตอบ 3 : เปนจุดที่ชิ้นตอโยงทั้งสองมีความเร็วสัมบูรณเทากันทั้งขนาดและทิศทาง


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

น่ า

ขอที่ : 362


คุณสมบัติของจุดศูนยกลางชั่วขณะของคูชิ้นตอโยงคูหนึ่งขอใดไมถูกตอง
คําตอบ 1 : เปนจุดรวมหรือจุดเชื่อมตอของชิ้นตอโยงทั้งสอง

มจ
า้
คําตอบ 2 : เปนจุดที่มีความเร็วสัมพัทธระหวางคูชิ้นตอโยงไมเทากับศูนย

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : เปนจุดที่ความเร็วสัมบูรณของชิ้นตอโยงทั้งสองมีขนาดเทากัน
คําตอบ 4 : เปนจุดที่ความเร็วสัมบูรณของชิ้นตอโยงทั้งสองมีทิศทางเดียวกัน

ขอที่ : 363

ส ิท
ว น
จุดศูนยกลางชั่วขณะของคูชิ้นตอโยงคูหนึ่งจะตองมีคุณสมบัติอยางไร


คําตอบ 1 : เปนจุดรวมหรือจุดเชื่อมตอของชิ้นตอโยงทั้งสอง


คําตอบ 2 : เปนจุดที่มีความเร็วสัมพัทธระหวางคูชิ้นตอโยงเปนหนึ่ง


คําตอบ 3 : เปนจุดที่ความเร็วสัมบูรณของชิ้นตอโยงทั้งสองมีขนาดไมเทากัน
คําตอบ 4 :

กร ข
เปนจุดที่ความเร็วสัมบูรณของชิ้นตอโยงทั้งสองมีทิศทางตรงกันขาม

ขอที่ : 364


ิ ว
าว
คุณสมบัติของจุดศูนยกลางชั่วขณะของคูชิ้นตอโยงคูหนึ่งขอใดไมถูกตอง


คําตอบ 1 : เปนจุดที่ความเร็วสัมบูรณของชิ้นตอโยงทั้งสองมีทิศทางตรงกันขาม


คําตอบ 2 : เปนจุดที่ความเร็วสัมบูรณของชิ้นตอโยงทั้งสองมีขนาดเทากัน
คําตอบ 3 : เปนจุดที่มีความเร็วสัมพัทธระหวางคูชิ้นตอโยงเทากับศูนย
คําตอบ 4 : เปนจุดรวมหรือจุดเชื่อมตอของชิ้นตอโยงทั้งสอง

ขอที่ : 365
กลไกเลื่อน-ขอเหวี่ยง (Slider-crank) ที่เห็นมีจํานวนจุดหมุนเฉพาะกาล (Instantaneous Center of Rotation) เทาใด และจุดหมุนเฉพาะกาลที่หาไดโดยงายคื อ
220 of 244
คําตอบ 1 : 6 จุด จุดหมุนเฉพาะกาลที่หาไดโดยงายคือ 12 23 34 14
คําตอบ 2 : 5 จุด จุดหมุนเฉพาะกาลที่หาไดโดยงายคือ 12 23 34

่ า ย

คําตอบ 3 : 4 จุด จุดหมุนเฉพาะกาลที่หาไดโดยงายคือ 12 23 13


คําตอบ 4 : 6 จุด จุดหมุนเฉพาะกาลที่หาไดโดยงายคือ 12 23 34

จ ำ

ขอที่ :

า้
366
กลไกเลื่อน-ขอเหวี่ยง (Slider-crank) ที่เห็นมีจํานวนจุดหมุนเฉพาะกาล (Instantaneous Center of Rotation) เทาใด และจุดหมุนเฉพาะกาลที่หาไดโดยงายคือ

ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
คําตอบ 1 :

กร ข
6 จุด จุดหมุนเฉพาะกาลที่หาไดโดยงายคือ 12 23 34 14


คําตอบ 2 : 5 จุด จุดหมุนเฉพาะกาลที่หาไดโดยงายคือ 12 23 34

าว ศ

คําตอบ 3 : 4 จุด จุดหมุนเฉพาะกาลที่หาไดโดยงายคือ 12 23 13
คําตอบ 4 : 6 จุด จุดหมุนเฉพาะกาลที่หาไดโดยงายคือ 12 23 34

ขอที่ : 367
ส ภ
จงหาจํานวนจุดหมุนเฉพาะกาล (Instantaneous Center of Rotation) ทั้งหมดของกลไกในรูป 221 of 244
คําตอบ 1 : 15 จุด

่ า ย

คําตอบ 2 : 14 จุด


คําตอบ 3 : 13 จุด

จ ำ
คําตอบ 4 : 12 จุด

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
368
จุดหมุนเฉพาะกาลที่กําหนดไดโดยงาย ในรูปมีจุดใดบาง

ส ิท
ง ว น
อ ส
คําตอบ 1 :

กร
จุด 12 , 14 , 23 และจุด 34


คําตอบ 2 : จุด 12 , 14 , 23

าว ศ

คําตอบ 3 : จุด 12 , 14 , 34
คําตอบ 4 : จุด 12 , 14 , 34 และจุด 13

ขอที่ : 369
ส ภ
222 of 244

จุดหมุนเฉพาะกาลในรูปไดแก
่ า ย
คําตอบ 1 : จุด 12

หน
คําตอบ 2 : จุด 13

จ ำ

คําตอบ 3 : จุด 14

า้
คําตอบ 4 : จุด 15

ขอที่ : 370
ิธ์ ห
ิท
จุดหมุนเฉพาะกาลในรูปไดแก

นส
ง ว
อ ส

คําตอบ 1 : จุด 12

กร
คําตอบ 2 : จุด 23


คําตอบ 3 : จุด 24



คําตอบ 4 : จุด 25

ขอที่ : 371

ภ าว

จุดหมุนเฉพาะกาลในรูปไดแก

223 of 244
คําตอบ 1 : จุด 12
คําตอบ 2 : จุด 13
คําตอบ 3 : จุด 14
คําตอบ 4 : จุด 15

ขอที่ : 372

่ า ย
จุดหมุนเฉพาะกาลในรูปไดแก

หน
จ ำ
คําตอบ 1 : จุด 24

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 : จุด 34
คําตอบ 3 : จุด 46

ิท
คําตอบ 4 : จุด 46

นส

ขอที่ : 373

ส ง
ขอ
ว กร
าว ศ

ส ภ
Crank O2A หมุนดวยความเร็ว 200 รอบ/นาที ดังรูปเหลี่ยมความเร็ว กําหนดให O2O4 = 20 cm.:O2A =7.5 cm: O4B = 35 cm.:O2C =16cm คาความเร็วเชิงเสนของ Link 3
คือ 224 of 244
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 157.08 cm/sec
คําตอบ 2 : 20.944 rad/sec
คําตอบ 3 : 1.125 m/sec
คําตอบ 4 : 1.10 m/sec 225 of 244
ขอที่ : 374
Crank O2A หมุนดวยความเร็ว 200 รอบ/นาที ดังรูปเหลี่ยมความเร็ว กําหนดให O2O4 = 20 cm.:O2A =7.5 cm: O4B = 35 cm.:O2C =16cm คาความเร็วเชิงเสนของ Link 4
คือ

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข
คําตอบ 1 :


ิ ว
157.04 cm/sec

าว
คําตอบ 2 : 157.04 rad/sec


คําตอบ 3 : 184.8 cm/sec


คําตอบ 4 : 1.10 m/sec

ขอที่ : 375

226 of 244
Crank O2A หมุนดวยความเร็ว 200 รอบ/นาที ดังรูปเหลียมความเร็ว กําหนดให O2O4 = 20 cm.:O2A =7.5 cm: O4B = 35 cm.:O2C =16cm คาความเร็วเชิงเสนของ จุด C
สัมพัทธ กับ B คือ
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

คําตอบ 1 : 157.04 cm/sec



คําตอบ 2 :

าว
64.7 cm/sec
คําตอบ 3 : 1.125 cm/sec


คําตอบ 4 : 1,194.04 cm/sec

ขอที่ : 376 ส
227 of 244

Crank O2A หมุนดวยความเร็ว 200 รอบ/นาที ดังรูปเหลียมความเร็ว กําหนดให O2O4 = 20 cm.:O2A =7.5 cm: O4B = 35 cm.:O2C =16cm คาความเร็วเชิงเสนของ B คือ
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
157.04 cm/sec
20.944 rad/sec
184.8 cm/sec
คําตอบ 4 : 1.10 cm/sec

ขอที่ : 377 228 of 244

จากรูป จุด a คือจุดศูนยกลางชั่วขณะของคูชิ้นตอโยงใด


่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ชิ้นตอโยง 1 กับชิ้นตอโยง 2
คําตอบ 2 : ชิ้นตอโยง 2 กับชิ้นตอโยง 3

ิท
คําตอบ 3 : ชิ้นตอโยง 2 กับชิ้นตอโยง 4


คําตอบ 4 : ชิ้นตอโยง 3 กับชิ้นตอโยง 1

ขอที่ : 378

ง ว น

จากรูป จุด a คือจุดศูนยกลางชั่วขณะของคูชิ้นตอโยงใด

ขอ
ว กร
าว ศ

ส ภ
คําตอบ 1 : ชิ้นตอโยง 1 กับชิ้นตอโยง 2 229 of 244

คําตอบ 2 : ชิ้นตอโยง 3 กับชิ้นตอโยง 1


คําตอบ 3 : ชิ้นตอโยง 3 กับชิ้นตอโยง 4
คําตอบ 4 : ชิ้นตอโยง 1 กับชิ้นตอโยง 4

ขอที่ : 379
กลไกดังรูปสามารถมีจุดหมุนชั่วขณะไดกี่จุด

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 1 : 4


คําตอบ 2 : 5


คําตอบ 3 : 6


คําตอบ 4 :


7

ขอที่ : 380

อ ส
กร ข
กลไกดังรูปสามารถมีจุดหมุนชั่วขณะไดกี่จุด


ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 4
คําตอบ 2 : 6
คําตอบ 3 : 8
คําตอบ 4 : 10 230 of 244
ขอที่ : 381
ให ω และมาตราสวนของรูป k จงหาความเร็วของขอตอ 4 ระยะตางๆ เชน 13-A, O A สามารถวัดตําแหนง และคํานวณไดจากรูป
2 s 2

่ า ย
หน
จ ำ

คําตอบ 1 : V4 = VB = ω2(O2A)(13-B)/(13-A) ทิศ →

า้
ิธ์ ห
V4 = VB = ω2(O2A)(13-B)/(13-A) ทิศ ?
คําตอบ 2 :

V4 = VB = ω2(O2A)(13-A)/(13-B) ทิศ →

ส ิท

คําตอบ 3 :

ง ว

V4 = VB = ω2(O2A)(13-A)/(13-B) ทิศ ?


คําตอบ 4 :

กร ข
ขอที่ : 382


ิ ว
าว
จงหาตําแหนงจุดหมุนเฉพาะกาล 13 ของกลไก 4-ขอตอดังรูป

ส ภ
231 of 244

แนว O A และ O B ตัดกันที่จุด 13


2 4
คําตอบ 1 :
แนว AB และ O O ตัดกันที่จุด 13
2 4
คําตอบ 2 :

จุด O เปนจุดที่ แนวของ O A ตัดกับ O O และ เปนจุด 13 ดวย


2 2 2 4
คําตอบ 3 :

่ า ย

จุด O เปนจุดที่ แนวของ O B ตัดกับ O O และเปนจุด 13 ดวย


4 4 2 4
คําตอบ 4 :

จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 383
จงหาตําแหนงของจุดหมุนเฉพาะกาล 14 ของกลไกเลื่อน-ขอเหวี่ยงในรูป

ส ิท
ง ว น
อ ส

จุดหมุนเฉพาะกาล 14 เปนจุดที่ไดจากเสนที่ลากจากจุด B ตั้งฉากกับ O B และเสนที่ลากจากจุด O ตั้งฉากกับ O B ตัดกันที่อนันต

กร
2 2 2
คําตอบ 1 :


ิ ว
จุดหมุนเฉพาะกาล 14 เปนจุดที่เสนที่ลากจากจุด B ตั้งฉากกับ O2B กับเสนที่ตอแนว O2A

าว
คําตอบ 2 :

จุดหมุนเฉพาะกาล คือ จุด B


คําตอบ 3 :


คําตอบ 4 :
จุดหมุนเฉพาะกาล 14 ไมสามารถหาตําแหนง ได

ขอที่ : 384
232 of 244

จากรูปขอใดเปนคําตอบที่ไมถูกตอง
คําตอบ 1 : จุด B เปนจุดหมุนเฉพาะกาล 13
่ า ย
จุด B เปนจุดหมุนเฉพาะกาล 14
O

หน

คําตอบ 2 :

มจ
า้
จุด A เปนจุดหมุนเฉพาะกาล 12
O

ิธ์ ห
คําตอบ 3 :

จุดหมุนเฉพาะกาล 34 อยูบนเสนตั้งฉากกับแนวทางเดินสัมพัทธของขอตอ 3 เทียบ 4 และอยูที่อนันต

ิท
คําตอบ 4 :

นส
ขอที่ : 385

ง ว

มวล A ของกลไกในรูปมีความเรง 10 m/s2 ขึ้น ในขณะที่ มวล B มีความเรง 5 m/s2 ไปทางซาย กานตอ AB ยาว 200 มิลลิเมตร ในขณะดังกลาว ความเรงเชิงมุมของ AB เปน

ขอ
ว กร
าว ศ

ส ภ
คําตอบ 1 : 5 rad/s CW
คําตอบ 2 : 5 rad/s CCW
คําตอบ 3 : 7.07 rad/s CW 233 of 244
คําตอบ 4 : 7.07 rad/s CCW
ขอที่ : 386
มวล A ของกลไกในรูปมีความเรง 10 m/s2 ลง ในขณะที่ มวล B มีความเรง 5 m/s2 ไปทางซาย กานตอ AB ยาว 200 มิลลิเมตร ในขณะดังกลาว ความเรงเชิงมุมของ AB เปน

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 5 rad/s CW
คําตอบ 2 : 5 rad/s CCW

ิท
คําตอบ 3 : 7.07 rad/s CW


คําตอบ 4 :


7.07 rad/s CCW

ง ว

ขอที่ : 387


มวล A ของกลไกในรูปมีความเรง 5 m/s2 ลง ในขณะที่ มวล B มีความเรง 10 m/s2 ไปทางซาย กานตอ AB ยาว 200 มิลลิเมตร ในขณะดังกลาว ความเรงเชิงมุมของ AB เปน

กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 5 rad/s CW
คําตอบ 2 : 5 rad/s CCW
คําตอบ 3 : 7.07 rad/s CW 234 of 244

คําตอบ 4 : 7.07 rad/s CCW


ขอที่ : 388
มวล A ของกลไกในรูปมีความเรง 5 m/s2 ลง ในขณะที่ มวล B มีความเรง 10 m/s2 ไปทางขวา กานตอ AB ยาว 200 มิลลิเมตร ในขณะดังกลาว ความเรงเชิงมุมของ AB เปน

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 5 rad/s CW
คําตอบ 2 : 5 rad/s CCW

ิท
คําตอบ 3 :


7.07 rad/s CW


คําตอบ 4 : 7.07 rad/s CCW

ง ว

ขอที่ : 389


Crank 2 หมุนดวยความเร็ว 10 rad/sec ตามเข็มนาฬิกา ความเรงเชิงมุม = 20 rad/sec 2 ทวนเข็มนาฬิกา จงหาความเรงของชิ้นตอโยง 4. O2-B=5cm,BC=3.8cm,O4R=10.1


cm,O2O4=10cm.

ว กร
าว ศ

ส ภ
คําตอบ 1 : 215.873 rad/sec2 ccw 235 of 244

คําตอบ 2 : 2
2,158.73 rad/sec ccw
คําตอบ 3 : 2,226.055 rad/sec2 cw
คําตอบ 4 : 6.667 rad/sec2 ccw

ขอที่ : 390
Crank 2 หมุนดวยความเร็ว 10 rad/sec ตามเข็มนาฬิกา ความเรงเชิงมุม = 20 rad/sec 2 ทวนเข็มนาฬิกา จงหาความเรงของจุด C.O2-B=10cm,BC=7.6cm,O4R=20.2


cm,O2O4=20cm.

น่ า
จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 2777 cm/sec2

ส ิท

คําตอบ 2 : 215.078 cm/sec2

ง ว
คําตอบ 3 : 225.552 cm/sec2


คําตอบ 4 : 2555 cm/sec2

ขอ
กร
ขอที่ : 391
Crank 2 หมุนดวยความเร็ว 10 rad/sec ตามเข็มนาฬิกา ความเรงเชิงมุม = 20 rad/sec 2 ทวนเข็มนาฬิกา จงหาความเรงของจุด C.O2-B=5cm,BC=3.8cm,O4R=10.1


cm,O2O4=10cm.

าว ศ

ส ภ
คําตอบ 1 : 77.50 cm/sec2 236 of 244

คําตอบ 2 : 1388 cm/sec2


คําตอบ 3 : 1360 cm/sec2
คําตอบ 4 : 280 cm/sec2

ขอที่ : 392
Crank 2 หมุนดวยความเร็ว 10 rad/sec ตามเข็มนาฬิกา ความเรงเชิงมุม = 20 rad/sec 2 ทวนเข็มนาฬิกา จงหาความเรงของจุด R O2-B=5cm,BC=3.8cm,O4R=10.1
cm,O2O4=10cm.

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 : 6667 cm/sec 2

ง ว น

คําตอบ 2 : 66.67 cm/sec2
คําตอบ 3 : 2,226.05 cm/sec2

ขอ
กร
คําตอบ 4 : 66.67 cm/sec 2


ิ ว
าว
ขอที่ : 393

ส ภ
237 of 244

จากรูป ใหระยะ BC มีคาเทากับ 10 cm. และระยะ BE มีคาเทากับ 3 cm. ถาจุด C มีความเรงสัมพัทธเทียบกับจุด B เทากับ 5 จงหาขนาดของความเรงสัมพัทธของจุด E เทียบกับ B
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 :


คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 : 238 of 244


ขอที่ : 394
2
จากรูปใหระยะ BC มีคาเทากับ 20 cm. และระยะ BE มีคาเทากับ 4 cm. ถาจุด C มีความเรงสัมพัทธเทียบกับจุด B เทากับ 10m/s จงหาขนาดของ
ความเรงสัมพัทธของจุด E เทียบกับ B

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
2
ส ิท

1 m/s

คําตอบ 1 :

ส ง

2


2 m/s

กร
คําตอบ 2 :


ิ ว
าว
2
3 m/s


คําตอบ 3 :

ส4 m/s
คําตอบ 4 :
2

239 of 244
ขอที่ : 395
2
จากรูปใหระยะ BC มีคาเทากับ 20 cm. และระยะ BE มีคาเทากับ 4 cm. ถาจุด C มีความเรงสัมพัทธเทียบกับจุด B เทากับ 5 m/s จงหาขนาดของความเรงสัมพัทธของจุด E เทียบ
กับ B

่ า ย
หน
1 m/s2

จ ำ

คําตอบ 1 :

า้
ิธ์ ห
2 m/s2
คําตอบ 2 :

3 m/s2

ส ิท

คําตอบ 3 :

ง ว

4 m/s2


คําตอบ 4 :

กร ข

ขอที่ :



396

าว
2
จากรูปใหระยะ BC มีคาเทากับ 10 cm. และระยะ BE มีคาเทากับ 3 cm. ถาจุด C มีความเรงสัมพัทธเทียบกับจุด B เทากับ 10 m/s จงหาขนาดของความเรงสัมพัทธของจุด E
เทียบกับ B

ส ภ
240 of 244

1 m/s2
คําตอบ 1 :

2 m/s2
คําตอบ 2 :

3 m/s2


คําตอบ 3 :

4 m/s2
น่ า

คําตอบ 4 :

จ ำ

ขอที่ :

า้
397
คําตอบขอใดถูกตอง

AB = AAn + AAt + AB/An + AB/At


ิธ์ ห
AC3 = AA + AC3/An + AC3/At = AB+ AC3/BB +AC3/Bt

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
เมื่อทราบความเร็วในกลไกแลวความเรงของจุด C ซึ่งเปนจุดที่อยูบนขอตอ 3 สามารถคํานวณไดจากสมการที่ใหมาทั้งสอง


3
คําตอบ 1 :


คําตอบ 2 :
แมทราบความเร็วในกลไกทั้งหมดแลว สมการที่ใหมาทั้งสองสมการ ไมสามารถใชคํานวณหาความเรงของจุด C ซึ่งเปนจุดที่อยูบนขอตอ 3
3

สมการความเรงที่ใหมาทั้งสองสมการ เปนสมการความเรงของจุด C ซึ่งซอนอยูกับจุด C และ C


3 4 5
คําตอบ 3 :
241 of 244
ในรูปเหลี่ยมของความเรงจะมีภาพเสมือน (Image) ของขอตอ 3 ที่จากเดิมไป 90? ในทิศของ ω
3
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 398


จงเลือกคําตอบที่ถูกตองในรูปให ω2 มีคาคงที่

น่ า
จ ำ ห
า้ ม
ความเรงของจุด B หาไดจากสมการ
ิธ์ ห
ABn + ABt = AA + AB/An + AB/At

ส ิท

คําตอบ 1 :

ง ว

ความเรงของจุด B ไมสามารถหาได เนื่องจากในสมการ

ขอ
กร
ABn + ABt = AA + AB/An + AB/At
คําตอบ 2 :


ิ ว
มีตัวแปรไมทราบคาเกิน 1 ตัว

ภ าว
ความเรงของจุด B ไมสามารถหาได เนื่องจากในสมการ

คําตอบ 3 :ส ABn + ABt = AA + AB/An + AB/At

มีตัวแปรไมทราบคาเกิน 2 ตัว

242 of 244

ความเรงของจุด B ไมสามารถหาได เนื่องจากสมการ


ABn + ABt = AA + AB/An + AB/At

คําตอบ 4 : ไมถูกตอง

่ า ย
ขอที่ : 399


จงเลือกใชสมการที่ถูกตองเพื่อคํานวณหาความเรงของจุด C

จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
ิท
ABn + ABt = AA + AB/An + AB/At

นส

คําตอบ 1 : AC = AB + AC/Bn + AC/Bt = AA + AC/An + AC/At

ส ง
ขอ
ABn + ABt = AAn +AAt+ AB/An + AB/At

คําตอบ 2 :

ว กร
ACn+ ACt = AB + AC/Bn + AC/Bt

าว ศ


ACn + ACt = AAn + AAt + AC/An + AC/At


คําตอบ 3 :

ABn + ABt = ACn +ACt+ AB/Cn + AB/Ct


คําตอบ 4 :

243 of 244

ขอที่ : 400
สมการที่ใชหาความเรงเชิงมุมของขอตอ 4 เมื่อทราบความเรงของจุด A โดย ω มีคาคงที่ คือขอใด
2

่ า ย
ABn + ABt = AA + AB/An + AB/At และ α4 = ABt/O4B

หน

คําตอบ 1 :

มจ
า้
ABn + ABt = AA + AB/An + AB/At และ α4 = AB/At/O4B

ิธ์ ห
คําตอบ 2 :

ิท
ABn + ABt = AA + AA/Bn + AA/Bt และ α4 = AB/At/O4B


คําตอบ 3 :

n t n t
AB + AB = AA + AA/B + AA/B และ α4 = AB /O4B t

ง ว น

คําตอบ 4 :

ขอ
ว กร
าว ศ

ส ภ
244 of 244

You might also like