You are on page 1of 116

สาขา: สิ่งแวดลอม วิชา: EV14 Environmental Unit Operation

and Environmental Unit Processe

ขอที่ : 1
ถังปฏิกรณ Plug flow จะใหประสิทธิภาพดีกวา Mixed flow เทียบที่ขนาดปฏิกรณเทากัน เมื่อ
คําตอบ 1 : อันดับปฏิกิริยามีคามากกวา ศูนย

่ า ย
คําตอบ 2 : อันดับปฏิกิริยามีคานอยกวา ศูนย


คําตอบ 3 : อันดับปฏิกิริยามีคาเทากับ ศูนย


คําตอบ 4 : ประสิทธิภาพดีกวาเสมอไมขึ้นกับอันดับปฏิกิริยา

จ ำ

ขอที่ : 2

า้
กระบวนการใดที่การออกแบบตองคํานึงถึงอัตราเร็วของปฏิกิริยา

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ถังฆาเชื้อดวยคลอรีน
คําตอบ 2 : ถังกรองทราย

ิท
คําตอบ 3 : ถังลอยตะกอน


คําตอบ 4 : ถังตกตะกอน

ขอที่ : 3

ง ว น

Flow model ใดใกลเคียงแบบ Plug flow
คําตอบ 1 : บอน้ํา

ขอ
กร
คําตอบ 2 : แมน้ํา


คําตอบ 3 : ทะเลสาบ



คําตอบ 4 : มหาสมุทร

ขอที่ : 4

ภ าว

ถังปฏิกรณ Plug Flow เปน ideal reactor โดยถาปฏิกิริยาที่เกิดเปนอันดับหนึ่ง เพื่อไดประสิทธิภาพเทาเดิมขนาดของถังปฏิกรณจริงตอง
คําตอบ 1 : เทากับ Plug Flow
คําตอบ 2 : ใหญกวา Plug Flow
คําตอบ 3 : เล็กกวา Plug Flow
คําตอบ 4 : อาจเล็กหรือใหญกวาขึ้นกับ Dispersion number

1 of 116
ขอที่ : 5
ถาสัมประสิทธิใน Stoichiometric เปนดังนี้ A + 2B -----> C + 3D จงหาอัตราการเกิดสาร D ถาอัตราในการใชไปของสาร A เทากับ 0.9 โมล/ชม.
คําตอบ 1 : 0.3 โมล/ชม.
คําตอบ 2 : 0.9 โมล/ชม.
คําตอบ 3 : 1.8 โมล/ชม.
คําตอบ 4 : 2.7 โมล/ชม.

่ า ย
ขอที่ : 6


ถาสัมประสิทธิใน stoichiometric เปนดังนี้ A + 2 B ----> C + 3D ในการทดลองใส A และ B เทากัน เทากับ 100 มก./ล. โดยที่น้ําหนักโมเลกุลของ A มากกวา B อยู 2 เทา เมื่อ


เวลาผานไป 10 นาที เหลือ A อยู 2 โมล เพราะฉะนั้นจะมี B เหลืออยูเทาใด


คําตอบ 1 : 0.5 โมล

มจ
คําตอบ 2 : 1 โมล

า้
คําตอบ 3 : 2 โมล

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : 4 โมล

ิท
ขอที่ : 7


ขอใดตอไปนี้เปนอัตราสวนของกลไกที่เกี่ยวของกับการถายเทมวล


คําตอบ 1 : Reynolds number
คําตอบ 2 : Prandtl number

ง ว

คําตอบ 3 : Nusselt number


คําตอบ 4 : Stanton number

กร ข

ขอที่ : 8



ขอใดตอไปนี้ไมสัมพันธกัน

าว
คําตอบ 1 : Kinetic energy / Velocity head


คําตอบ 2 : Gravitational potential / Elevation head


คําตอบ 3 : Flow work / Pressure head
คําตอบ 4 : Total energy / Piezometric head

ขอที่ : 9
สัดสวนของ Kinematic viscosity ตอ Molecular diffusivity คือ
คําตอบ 1 : Reynolds number
2 of 116
คําตอบ 2 : Schmidt number
คําตอบ 3 : Prandtl number
คําตอบ 4 : Nusselt number

ขอที่ : 10
สัดสวนของ Kinematic viscosity ตอ Thermal diffusivity คือ
คําตอบ 1 : Reynolds number
คําตอบ 2 : Schmidt number
คําตอบ 3 : Prandtl number

่ า ย

คําตอบ 4 : Nusselt number

ขอที่ : 11

จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 : Langmuir


คําตอบ 2 : Freundlich


คําตอบ 3 : Hydrostatic


คําตอบ 4 : Barometric

อ ส
กร ข
ขอที่ : 12


ิ ว
คําตอบ 1 :

ภ าว
Langmuir


คําตอบ 2 : Freundlich
คําตอบ 3 : Hydrostatic
คําตอบ 4 : Barometric

ขอที่ : 13
กระบวนการเติมอากาศ (Aeration) สามารถกําจัดและ / หรือมีผลตอขอใด
3 of 116
คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

่ า ย

คําตอบ 3 : มีผลตอทั้งสารเคมีในคําตอบทั้งหมด


คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูกตอง

จ ำ

ขอที่ : 14

า้
จากสมการของ Stokes’ law ขอใดตอไปนี้มีความสําคัญตอกระบวนการโคแอกกูเลชัน

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ความหนาแนน
คําตอบ 2 : ความหนืด

ิท
คําตอบ 3 : ความลึก


คําตอบ 4 : ขนาดอนุภาค

ขอที่ : 15

ง ว น
อ ส
กร ข
คําตอบ 1 :


ิ ว
rectangular hyperbola

าว
คําตอบ 2 : normal distribution


คําตอบ 3 : exponential


คําตอบ 4 : linear

ขอที่ : 16
เมื่อเปรียบเทียบจากเวลาที่ใชในถังปฏิกรณของ CSTR และแบบ Plug flow สําหรับปฏิกิริยาแบบ first order เพื่อลดความเขมขนของสารตั้งตน ถังปฏิกรณชนิดใดมีขนาดเล็กกวา
คําตอบ 1 : CSTR
คําตอบ 2 : Plug flow 4 of 116
คําตอบ 3 : เทากัน
คําตอบ 4 : เทียบไมได

ขอที่ : 17
ถังปฏิกรณ CSTR ปริมาตร 8 ลิตร อัตราการไหล 0.125 ลิตรตอชม. มีความเขมขนของเซลลเขาเทากับ 333 mg/L เมื่อเติมของแข็งเฉื่อย ความเขมขน 50 mg/L ความเขมขนรวม
ของของแข็งแขวนลอยมีคาเทากับ
คําตอบ 1 : 383 mg/L

่ า ย
คําตอบ 2 : 333 mg/L


คําตอบ 3 : 283 mg/L


คําตอบ 4 : 50 mg/L

จ ำ

ขอที่ : 18

า้
หากตองการใชงานเรซิ่นในลักษณะ counter current แบบ up flow service ควรพิจารณาเลือกเรซิ่นจากคุณสมบัติขอใดเปนสําคัญ

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : % cross linkage
คําตอบ 2 : bulk density

ิท
คําตอบ 3 : % swelling


คําตอบ 4 : Uniformity coefficient

ขอที่ : 19

ง ว น

ถาออกแบบถังปฏิกรณสําหรับบําบัดน้ําเสียชุมชนแหงหนึ่งใหมีระยะเวลากักเก็บเทากัน ถังปฏิกรณประเภทใดตองใชปริมาตรรวมมากที่สุด
คําตอบ 1 :

ขอ
ถังปฏิกรณกวนสมบูรณแบบไหลตอเนื่อง

กร
คําตอบ 2 : ถังปฏิกรณแบบไหลตามกัน


คําตอบ 3 : ถังปฏิกรณแบบแบตช



คําตอบ 4 : ถังปฏิกรณกวนสมบูรณหลายใบตออนุกรมกัน

ขอที่ : 20

ภ าว

ขอใดถูกสําหรับอัตราการเกิดปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง เมื่อตองการประสิทธิภาพการบําบัดน้ําเสียเทากัน
คําตอบ 1 : ถังปฏิกรณแบบไหลตามกันใชระยะเวลากักเก็บสั้นกวาถังปฏิกรณแบบแบตช
คําตอบ 2 : ถังปฏิกรณแบบกวนสมบูรณสามารถใชระยะเวลากักเก็บนานกวาถังปฏิกรณแบบไหลตามกัน
ถังปฏิกรณแบบกวนสมบูรณขนาดเล็กหลายใบตออนุกรมกันใชระยะเวลากักเก็บนานกวาถังปฏิกรณแบบกวนสมบูรณขนาดใหญหนึ่งใบซึ่งมีปริมาตรเทากับปริมาตรรวม
คําตอบ 3 :
ของชุดถังอนุกรม
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ
5 of 116

ขอที่ : 21
พจนใดในสมการสมดุลมวลมีคาไมเปนศูนยสําหรับการคํานวณในระหวางการบําบัดน้ําเสียโดยใชถังปฏิกรณแบบแบตช
คําตอบ 1 : มวลเขาสูระบบ
คําตอบ 2 : มวลออกจากระบบ
คําตอบ 3 : มวลสะสมในระบบ
คําตอบ 4 : ถูกเฉพาะตัวเลือกที่ 1 และ 3

่ า ย
ขอที่ : 22


การวิเคราะหรูปแบบการไหลในถังปฏิกรณบําบัดน้ําเสียวาเปนการไหลแบบกวนสมบูรณหรือแบบไหลตามกัน สามารถกระทําไดโดยวิธีการใด


คําตอบ 1 : วัดปริมาตรของถังแลวหารดวยอัตราการไหล

จ ำ
คําตอบ 2 : หาอันดับของอัตราการเกิดปฏิกิริยาและคาสัมประสิทธิอัตราการเกิดปฏิกิริยาในระบบ


คําตอบ 3 : คํานวณจากแบบทางวิศวกรรมโดยใชหลักทางตรีโกณมิติ

า้
คําตอบ 4 : ปอนสีเขาระบบแลววัดความเขมขน ณ จุดออกตามเวลาตางๆ

ขอที่ : 23
ิธ์ ห
ิท
ในระบบบําบัดน้ําเสียทางชีวภาพมักแทนอันดับในการเกิดปฏิกิริยาเปนอันดับใด


คําตอบ 1 : อันดับศูนย

ว น
คําตอบ 2 : อันดับหนึ่ง


คําตอบ 3 : อันดับสอง


คําตอบ 4 : อันดับเศษหนึ่งสวนสอง

ขอ
กร
ขอที่ : 24


วิธีการบําบัดใดใชหลักการถายเทมวลของสารมลพิษในน้ําเสียสูตัวกลางของแข็ง



คําตอบ 1 : การตกตะกอนทางเคมี

าว
คําตอบ 2 : การกรองดวยทราย


คําตอบ 3 : การดูดซับดวยถาน


คําตอบ 4 : การหมักตะกอน

ขอที่ : 25
การกําจัดสารอินทรียระเหยงายในน้ําเสียดวยวิธีอยางงาย ควรเลือกใชระบบใด
คําตอบ 1 : ระบบไลกาซ
คําตอบ 2 : ระบบยอยสลายทางชีวภาพ
6 of 116
คําตอบ 3 : ระบบแยกสลายดวยสารเคมี
คําตอบ 4 : ระบบตะกอนดวยสารเคมี

ขอที่ : 26
การกําจัดสารอนินทรียละลายในน้ํา ควรเลือกใชกระบวนการใด
คําตอบ 1 : Coagulation
คําตอบ 2 : Precipitation
คําตอบ 3 : Filtration

่ า ย

คําตอบ 4 : Evaporation

ขอที่ : 27

จ ำ ห

จงคํานวณระยะเวลากักพักของถังปฏิกรณ dispersion plug flow ที่มีสัมประสิทธิการกระจายเทากับ 1.0 โดยกําหนดใหถังปฏิกรณนี้มีประสิทธิภาพการบําบัดสาร A เทากับถังปฏิกรณ

า้
ideal plug-flow ใบที่มีระยะเวลากักพัก 9 ชม. ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในถังเปนปฏิกิริยาอันดับหนึ่งมีคาคงที่อัตราการเกิดปฏิกิริยาเทากับ 0.3 ตอ ชม.

ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

7 of 116
คําตอบ 1 : 3 ชั่วโมง
คําตอบ 2 : 9 ชั่วโมง
คําตอบ 3 : 23 ชั่วโมง
คําตอบ 4 : 46 ชั่วโมง

ขอที่ : 28

่ า ย
จงคํานวณระยะเวลากักพักของถังปฏิกรณแบบ CSTR ที่ถูกออกแบบใหมีประสิทธิภาพกําจัดสารปนเปอนชนิดหนึ่งเทากับ 95% โดยที่ปฏิกิริยาการยอยสลายสารปนเปอนนี้เปน


ปฏิกิริยาอันดับหนึ่งมีคาคงที่ของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเทากับ 0.5 ตอชั่วโมง


คําตอบ 1 : 6 ชั่วโมง


คําตอบ 2 : 19 ชั่วโมง

มจ
คําตอบ 3 : 25 ชั่วโมง

า้
คําตอบ 4 : 38 ชั่วโมง

ขอที่ : 29
ิธ์ ห
ิท
จงหาคาคงที่ของอัตราการเกิดปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง เมื่อทดลองกําจัดสารมลพิษชนิดหนึ่งดวยถังปฏิกรณแบบไหลตามกัน (plug-flow reactor) ที่มีระยะเวลากักพัก 8 ชั่วโมง ได


ประสิทธิภาพการบําบัดรอยละ 80


คําตอบ 1 : 0.1 ตอชั่วโมง

ง ว
คําตอบ 2 : 0.2 ตอชั่วโมง


คําตอบ 3 : 0.4 ตอชั่วโมง


คําตอบ 4 : 2.0 ตอชั่วโมง

ขอที่ : 30

กร ข

การทดลองหาคาคงที่ของอัตราการเกิดปฏิกิริยาอันดับสองไดผลการทดลองโดยการวัดความเขมขนของสารตั้งตนที่เหลืออยูในถังปฏิกรณแบบแบตซ (batch reactor) ณ ที่เวลาตางๆ

าว ศ

ดังนี้ คือ 150, 17.6, 9.4, 6.4 และ 4.8 mg/l ณ ที่เวลา 0, 15, 30, 45 และ 60 นาที ตามลําดับ
คําตอบ 1 : 0.1 ตอชั่วโมง


คําตอบ 2 : 0.2 ตอชั่วโมง


คําตอบ 3 : 0.3 ตอชั่วโมง
คําตอบ 4 : 0.4 ตอชั่วโมง

ขอที่ : 31
ตองใชถังปฏิกรณ CSTR ตออนุกรมกันกี่ใบ เมื่อถังแตละใบมีระยะเวลากักพักเทากันเทากับ 45 นาที และปฏิกิริยาอันดับหนึ่งมีคาคงที่ 0.3 ตอชั่วโมง โดยกําหนดใหระบบมี
ประสิทธิภาพการบําบัดเทากับรอยละ 90
8 of 116
คําตอบ 1 : CSTR จํานวน 3 ใบตออนุกรมกัน
คําตอบ 2 : CSTR จํานวน 6 ใบตออนุกรมกัน
คําตอบ 3 : CSTR จํานวน 12 ใบตออนุกรมกัน
คําตอบ 4 : CSTR จํานวน 18 ใบตออนุกรมกัน

ขอที่ : 32
ถังตกตะกอนรับอัตราไหลน้ําเสีย 4000 ลูกบาศกเมตรตอวัน โดยมีอัตราไหลลนผิว (Surface Overflow rate) 40 ลูกบาศกเมตรตอตารางเมตรตอวัน และถังมีความลึก 4 เมตร จง


คํานวณระยะเวลากักเก็บน้ํา (HRT) ของถังใบนี้
คําตอบ 1 : 1 วัน

น่ า

คําตอบ 2 : 4 ชั่วโมง


คําตอบ 3 : 2 ชั่วโมง

มจ
คําตอบ 4 : 0.1 วัน

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 33
การติดตั้ง Equalization tank แบบ off-line ขนาดถังเมื่อเทียบกับการติดตั้งแบบ in-line ควรจะ

ิท
คําตอบ 1 : ใหญกวา


คําตอบ 2 : เล็กกวา


คําตอบ 3 : เทากัน
คําตอบ 4 : ขนาดอาจใหญหรือเล็กขื้นกับอัตราการไหล

ง ว
อ ส

ขอที่ : 34

กร
ขอใดถูกตองที่สุด ถังตกตะกอน 2 ถังใชกับน้ําทิ้งที่มีตะกอนแขวนลอยต่ํากวา 100 มก./ล. และคุณสมบัติตะกอนไมรวมตัว รับน้ําทิ้งดวยอัตราการไหลเขาเทากัน ประสิทธิภาพการ
กําจัดของถังทั้งสองจะเทากันเมื่อ
คําตอบ 1 :



ปริมาตรเทากัน


าว
คําตอบ 2 : ความลึกของถังเทากัน
คําตอบ 3 : พื้นที่ผิวหนาเทากัน

ส ภ
คําตอบ 4 : เวลากักเก็บ HRT เทากัน

ขอที่ : 35
ใบพัด impeller แบบใดขับน้ําใหไหลขนานกับแกน
คําตอบ 1 : Curve Blade Turbine
คําตอบ 2 : Straight Blade Turbine
คําตอบ 3 : Paddle 9 of 116
คําตอบ 4 : Pitch Blade Turbine
ขอที่ : 36
ถาตะกอนที่อัดอากาศจากถังอัดความดันมี rising velocity เทากับ 0.05 เมตร/นาที จงคํานวณพื้นที่ผิวของถัง flotation tank เมื่อรับน้ําเสีย 200 ลบ. เมตร / วัน
คําตอบ 1 : 8.72 ตารางเมตร
คําตอบ 2 : 7.58 ตารางเมตร
คําตอบ 3 : 5.82 ตารางเมตร


คําตอบ 4 : 2.78 ตารางเมตร

น่ า

ขอที่ : 37


น้ําหนักทรายทั้งหมดเทากับ 2 ตัน มี effective size 0.45 mm. และ uniform coefficient 1.5 จงหาน้ําหนักทรายรวมของทรายขนาดในชวง 0.45 mm. ถึง 0.675 mm.
คําตอบ 1 : 0.5 ตัน

มจ
า้
คําตอบ 2 : 1 ตัน

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : 1.5 ตัน
คําตอบ 4 : 2 ตัน

ขอที่ : 38

ส ิท
ว น
ขอใดไมใชหนาที่ของตะแกรงละเอียด (fine screen)


คําตอบ 1 : ลดปริมาณกรวดทรายที่เขาสูระบบบําบัดน้ําเสีย


คําตอบ 2 : ลดปริมาณเศษขยะชิ้นเล็กๆ ที่เขาสูระบบบําบัดน้ําเสีย


คําตอบ 3 : ลดปริมาณตะกอนแขวนลอยที่เขาสูระบบบําบัดน้ําเสีย
คําตอบ 4 :

กร ข
ลดปริมาณสารอินทรียที่เขาสูระบบบําบัดน้ําเสีย

ขอที่ : 39


ิ ว
าว
ขอใดตอไปนี้ไมถูกตองเกี่ยวกับการออกแบบตะแกรงราง (bar rack)


คําตอบ 1 : ควรออกแบบตะแกรงรางใหมีอยางนอย 2 ชุด เพื่อสะดวกในการซอมบํารุง


คําตอบ 2 : ความปนปวนของกระแสน้ําที่เขาและออกจากตะแกรงไมมีผลกับการทํางานของตะแกรง
คําตอบ 3 : ตะแกรงรางอาจเปนแบบทําความสะอาดดวยแรงคนหรือเครื่องกลก็ได
คําตอบ 4 : ควรออกแบบชองวางระหวางซี่ตะแกรงประมาณ 1 ใน 3 ของขนาดของแข็งที่เครื่องสูบยอมใหผานได

ขอที่ : 40
ขอใดตอไปนี้ไมใชหนาที่ของบอปรับสมดุล (equalization tank)
10 of 116
คําตอบ 1 : ลดการเกิด Shock Load
คําตอบ 2 : ทําใหเกิดการผสมของน้ําเสียใหเปนเนื้อเดียวกันกอนเขาสูระบบบําบัด
คําตอบ 3 : สรางโอกาสใหกรวดทรายตกตะกอนในบอ
คําตอบ 4 : ลดการแปรปรวนของอัตราไหลของน้ําเสียที่เขาสูระบบบําบัด

ขอที่ : 41
ขอใดตอไปนี้ไมถูกตองเกี่ยวกับบอปรับสมดุล
คําตอบ 1 : บอปรับสมดุลชวยใหความตองการเกี่ยวกับขนาดของระบบบําบัดเล็กลงได

่ า ย

คําตอบ 2 : บอปรับสมดุลมีสวนสําคัญที่ชวยใหระบบทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ


คําตอบ 3 : บอปรับสมดุลอาจทําหนาที่ทั้งปรับสมดุลการไหลของน้ําและปรับสมดุลคุณภาพน้ํา

จ ำ
คําตอบ 4 : บอปรับสมดุลสามารถบําบัดคาบีโอดีไดในชวงรอยละ 50-75

ขอที่ : 42

า้ ม
ิธ์ ห
ขอใดเปนชั้นสารกรองที่ใหประสิทธิภาพการกรองสูงที่สุดตามทฤษฎี
คําตอบ 1 : มีการเรียงตัวโดยสารกรองขนาดใหญอยูดานบน และสารกรองขนาดเล็กอยูดานลาง

ิท
คําตอบ 2 : มีการเรียงตัวโดยสารกรองขนาดเล็กอยูดานบน และสารกรองขนาดใหญอยูดานลาง


คําตอบ 3 : สารกรองขนาดใหญและขนาดเล็กกระจายตัวอยางสม่ําเสมอทั่วทั้งชั้น

ว น
คําตอบ 4 : มีเพียงสารกรองขนาดเล็กเทานั้น

ส ง

ขอที่ : 43


ขอใดตอไปนี้เปนการเรียงตัวของชั้นสารกรองจากบนลงลางที่จะพบหลังจากการลางยอน (backwash) เสร็จสิ้นแลว

กร
คําตอบ 1 : ทราย, ถานแอนทราไซท, ทรายการเน็ท


คําตอบ 2 : ถานแอนทราไซท, ทราย, ทรายการเน็ท



คําตอบ 3 : ทรายการเน็ท, ทราย, ถานแอนทราไซท

าว
คําตอบ 4 : ถานแอนทราไซท, ทรายการเน็ท, ทราย

ขอที่ : 44

ส ภ
ขอใดไมใชวัตถุประสงคของการทํา Aeration

คําตอบ 1 :

11 of 116
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 : ยับยั้งการเจริญเติบโตของสาหรายในน้ํา
คําตอบ 4 : ออกซิไดซเหล็กและแมงกานีสใหเปนสารประกอบที่ไมละลายน้ํา


ขอที่ : 45

น่ า
ขอใดไมใชปจจัยสําคัญตอการถายเทออกซิเจนจากอากาศสูน้ํา


คําตอบ 1 : พื้นที่ผิวสัมผัสระหวางน้ํากับอากาศ


คําตอบ 2 : ระยะเวลาการสัมผัสระหวางน้ํากับอากาศ


คําตอบ 3 : ความแตกตางของความเขมขนของออกซิเจนในน้ํากับในอากาศ
คําตอบ 4 : ความตานทานของ gas film ที่ Gas-Liquid Interface

า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 46

ส ิท
ง ว น
อ ส
คําตอบ 1 : 0.54 แรงมา

กร ข

ิ ว
คําตอบ 2 : 0.65 แรงมา

าว
คําตอบ 3 : 0.75 แรงมา
คําตอบ 4 : 0.82 แรงมา

ขอที่ : 47
ส ภ
ขอใดตอไปนี้เปนคา G และเวลาเก็บกักที่ไมเหมาะสมในถังกวน
คําตอบ 1 : G = 20 ตอวินาที และเวลาเก็บกัก 30 นาที สําหรับถังกวนชา
คําตอบ 2 : G = 80 ตอวินาที และเวลาเก็บกัก 60 นาที สําหรับถังกวนชา
คําตอบ 3 : G = 1200 ตอวินาที และเวลาเก็บกัก 30 วินาที สําหรับถังกวนเร็ว
คําตอบ 4 : G = 800 ตอวินาที และเวลาเก็บกัก 60 วินาที สําหรับถังกวนเร็ว 12 of 116
ขอที่ : 48
เม็ดทรายขนาดใหญซึ่งมีความเร็วตกตะกอนสุดทายเทากับ 20 มม.ตอวินาที เขามาในถังดักกรวดทรายที่ความลึก 0.4 ม. ดวยความเร็วในแนวราบ 0.3 ม.ตอวินาที เม็ดทรายนี้จะลอย
ไปไดระยะทางแนวราบเทาใดกอนจะตกตะกอนตามทฤษฎีถังตกตะกอนในอุดมคติ
คําตอบ 1 : 0.4 เมตร
คําตอบ 2 : 2.3 เมตร
คําตอบ 3 : 6.0 เมตร


คําตอบ 4 : 8.6 เมตร

น่ า

ขอที่ : 49


ขอใดตอไปนี้มีคาเทากับอัตราน้ําลนผิว (surface overflow rate) 0.15 ม.ตอนาที

มจ
คําตอบ 1 : อัตราน้ําลนผิว 3.6 ลบ.ม.ตอวันตอเมตร

า้
คําตอบ 2 : อัตราน้ําลนผิว 9 ลบ.ม.ตอวันตอเมตร

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : อัตราน้ําลนผิว 9 ลบ.ม.ตอวันตอตารางเมตร
คําตอบ 4 : อัตราน้ําลนผิว 216 ลบ.ม.ตอวันตอตารางเมตร

ขอที่ : 50

ส ิท

ในการออกแบบถังตกตะกอนขั้นที่ 2 ซึ่งมีอัตราไหลของน้ําจากถังเติมอากาศเขาถัง 600 ลบ.ม.ตอชั่วโมง คา MLSS 2800 มก.ตอลิตร และจากการทดลองไดคา Limiting Flux 10


กก.ตอชม.ตอตารางเมตร จงคํานวณหาพื้นที่ผิวของถังที่ตองการโดยใชคา scale-up factor เทากับ 1.5
คําตอบ 1 : 120 ตารางเมตร

ส ง

คําตอบ 2 : 168 ตารางเมตร


คําตอบ 3 : 205 ตารางเมตร

กร
คําตอบ 4 : 252 ตารางเมตร


ิ ว
าว
ขอที่ : 51
ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับการทดลองการตกตะกอนแบบที่ 3 (TYPE III Sedimentaion) หรือ zone setting

ส ภ
คําตอบ 1 : ตะกอนจะตกแยกชั้น เห็นชั้นแบง (interface) ระหวางตะกอนกับน้ําใสชัดเจน
คําตอบ 2 : ความเร็วในการตกตะกอน (Settling Velocity) จะลดลงเรื่อย ๆ นับจากเริ่มการตกตะกอนสําหรับความเขมขนหนึ่ง ๆ
ในชวงความเขมขนในการตกตะกอนแบบนี้ ยิ่งหากความเขมขนของตะกอนสูง ความเร็วในการตกตะกอน (Settling Velocity) จะมีคาสูงกวาเมื่อความเขมขนของ
คําตอบ 3 :
ตะกอนต่ํา
คําตอบ 4 : ไมมีขอที่เหมาะสม

ขอที่ : 52 13 of 116
ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับการทดลองการตกตะกอนแบบที่ 2 (TYPE II Sedimentaion) หรือ flocculant setting
คําตอบ 1 : เปนการตกตะกอนแบบเกาะกลุม
คําตอบ 2 : โดยตะกอนจะเริ่มรวมตัวเปนกลุม และเมื่อเวลาผานไป กลุมตะกอนที่มีขนาดใหญขึ้น
คําตอบ 3 : ยิ่งเวลาผานไปนานขึ้น ความเร็วในการตกตะกอน (Settling Velocity) จะมีคาสูงขึ้น
คําตอบ 4 : ไมมีขอที่เหมาะสม

ขอที่ : 53

่ า ย
ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับตกตะกอนแบบที่ 1 (TYPE I Sedimentaion) หรือ Discrete setting


คําตอบ 1 : เปนการตกตะกอนแบบอนุภาคเดียว โดยไมมีกับรวมตัวกับอนุภาคอื่น ๆ


คําตอบ 2 : คาความเร็วในการตกตะกอน (Settling Velocity) ขึ้นอยูกับลักษณะความปนปวนของการไหลของน้ํา

จ ำ
คําตอบ 3 : ในชวงความปนปวนแบบ Laminar ยิ่งคา Reynold Number สูงขึ้น คาความเร็วในการตกตะกอน (Settling Velocity) ของอนุภาคหนึ่งจะมีคาต่ําลง


คําตอบ 4 : ไมมีขอที่เหมาะสม

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 54
ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับถังการตกตะกอนแบบที่ 1 ที่มีรูปรางสี่เหลี่ยมแบบอุดมคติ (Ideal Rectangular TYPE I Sedimentation Basin)

ิท
คําตอบ 1 : คาความเร็วในการตกตะกอน (Settling Velocity) ขึ้นอยูกับขนาดของอนุภาคตะกอน


หากนําคาอัตราการไหลของน้ําเขาถังตกตะกอน (Q) หารดวยคาความกวางและคาความยาวของถังดังกลาว จะไดเปนคาความเร็วในการตกตะกอน (Settling


คําตอบ 2 :
Velocity) ของอนุภาคขนาดเล็กที่สุดเคลื่อนที่เขาถังตกตะกอนที่จุดบนสุดของถุง แลวไมหลุดออกไปนอกถังตกตะกอน
คําตอบ 3 :

ง ว
ทิศทางการเคลื่อนที่ของอนุภาคตะกอนในถังการตกตะกอนจะเปนการเคลื่อนที่ลักษณะโปรเจคไทล (Projectile)


คําตอบ 4 : ไมมีขอที่เหมาะสม

ขอ
กร
ขอที่ : 55


ในการตกตะกอนแบบที่ 1 ขอใดไมถูกตองสําหรับแรงลัพธที่ทําบนตะกอนเคลื่อนที่ 1 มิติ



คําตอบ 1 : ในขณะเริ่มการตกตะกอน แรงลัพธจะมีทิศทางตามทิศของแรงโนมถวงของโลก

าว
คําตอบ 2 : แรงลัพธเปนผลจากแรงโนมถวงของโลก แรง drag และแรงลอยตัว


คําตอบ 3 : เมื่อตะกอนเคลื่อนที่ลงคาแรง drag จะมีคาสูงขึ้นจนกระทั่งมีคาคงที่ หากคอลัมนยาวพอ


คําตอบ 4 : ไมมีขอที่เหมาะสม

ขอที่ : 56
เราจะพบการตกตะกอนแบบที่ 3 ในขั้นตอนไหนของการบําบัดน้ําเสียดวยกระบวนการตะกอนเรง
คําตอบ 1 : ถังดักทราย (Grit chamber)
คําตอบ 2 : ถังตกตะกอนขั้นที่ 2 (Secondary clarifier)
คําตอบ 3 : ถังเติมอากาศ (Aeration Tank) 14 of 116

คําตอบ 4 : ถังยอยสลายตะกอนชีวภาพ (Sludge Digester)


ขอที่ : 57
สําหรับการถายเทออกซิเจนลงในน้ํา (Aeration) หากอุณหภูมิของน้ําสูงขึ้น คาความสามารถในการละลายน้ําสูงสุดของออกซิเจนในน้ําหนึ่ง ๆ จะมีคา
คําตอบ 1 : สูงขึ้น
คําตอบ 2 : ต่ําลง
คําตอบ 3 : ไมมีผล


คําตอบ 4 : อาจจะสูงขึ้นหรือต่ําลงก็ได

น่ า

ขอที่ : 58


หนาที่ของ Baffle ในการ Mixing คือ
คําตอบ 1 : เปลี่ยนลักษณะการไหลในแนว Radial ใหเปนแนว Axial

มจ
า้
คําตอบ 2 : เปลี่ยนลักษณะการไหลในแนว Axial ใหเปนแนว Radial

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : ลดการเกิด Dead Volume
คําตอบ 4 : เพิ่มการเกิด Vortex

ขอที่ : 59

ส ิท
ง ว น
อ ส
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
มากกวา 1
นอยกวา 1

กร ข
คําตอบ 3 : เทากับ 1


ิ ว
าว
คําตอบ 4 : อาจจะมากกวาหรือนอยกวา 1

ขอที่ : 60

ส ภ
สําหรับการไหลผานวัตถุจม ทิศทางของแรง drag ที่กระทําบนตัววัตถุจม จะอยูในทิศทาง
คําตอบ 1 : เดียวกับทิศทางการไหลของน้ํา
คําตอบ 2 : ตรงกันขามกับทิศทางการไหลของน้ํา
คําตอบ 3 : ตั้งฉากกับทิศทางการไหลของน้ํา
คําตอบ 4 : มีขอที่เหมาะสมมากกวา 1 ขอ
15 of 116

ขอที่ : 61
ถังกรองถังหนึ่ง มีการเรียงชั้นจากบนสุดถึงลางสุดดังนี้ (1) ทรายละเอียด (2) กรวด (3) ชั้นน้ําสะอาด ถังกรองถังกรองนี้มีการเรียงตัวกลางแบบใด
คําตอบ 1 : Single-Medium Filter
คําตอบ 2 : Dual-Medium Filter
คําตอบ 3 : Tri-Medium Filter
คําตอบ 4 : ไมมีขอที่เหมาะสม

่ า ย
ขอที่ : 62


ในกระบวนการกรองในถังกรองทรายเร็ว หากเกิด Negative Head Loss จะทําให


คําตอบ 1 : อัตราการกรองเร็วขึ้นกวาอัตราปกติ

จ ำ
คําตอบ 2 : ทิศทางการไหลของน้ําในการกรองเปลี่ยนจากทิศทางลงเปนทิศทางขึ้น


คําตอบ 3 : เกิด Head Loss นอยที่สุด

า้
คําตอบ 4 : ไมมีขอที่เหมาะสม

ขอที่ : 63
ิธ์ ห
ิท
วิธีการคํานวณหาพื้นที่หนาตัดของถังตกตะกอนขั้นที่ 2 ทําโดยใชวิธี Solid Flux ขอใดตอไปนี้ไมใชสวนประกอบของคา Solid Flux


คําตอบ 1 : Flux ของตะกอนที่เกิดการตะกอนตามแรงโนมถวงของโลก

ว น
คําตอบ 2 : Flux ของตะกอนที่เกิดจากความเร็วของการดูดตะกอนที่กนถัง


คําตอบ 3 : Flux ของตะกอนที่เกิดจากความปนปวนของการไหลของถัง


คําตอบ 4 : ไมมีคําตอบที่เหมาะสม

ขอ
กร
ขอที่ : 64


จงหาพื้นที่หนาตัดของถัง ตกตะกอนขั้นที่ 2 ทําโดยใชวิธี Solid Flux หากคํานวณคา Limiting Solid Flux ไดเทากับ 6 กิโลกรัมตอตารางเมตรตอชั่วโมง คาความเขมขนของ



MLSS เขาถังเทากับ 2,500 มิลลิกรัมตอลิตร คาอัตราการไหลของน้ําเขาถังเทากับ 600 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง

าว
คําตอบ 1 : 250 ตารางเมตร


คําตอบ 2 : 420 ตารางเมตร


คําตอบ 3 : 0.25 ตารางเมตร
คําตอบ 4 : 0.42 ตารางเมตร

ขอที่ : 65
อุปกรณหรือวิธีการขอใดไมสามารถใชวัดอัตราการไหลของน้ําได
คําตอบ 1 : Magnetic stirrer
16 of 116
คําตอบ 2 : Parshall flume
คําตอบ 3 : Ultrasonic
คําตอบ 4 : Venturi tube

ขอที่ : 66
การสูญเสียพลังงานเนื่องจากการอุดตันของตะแกรงดักเศษขยะในน้ําเสียไมขึ้นอยูกับปจจัยใด
คําตอบ 1 : อัตราการไหลของน้ําในรองน้ํา
คําตอบ 2 : พื้นที่ชองวางของรูตะแกรง
คําตอบ 3 : สัดสวนสารอินทรียตอสารอนินทรียของเศษขยะ

่ า ย

คําตอบ 4 : ความเร็วของน้ําผานชองวางของตะแกรง

ขอที่ : 67

จ ำ ห

วัตถุประสงคหลักในการติดตั้งเครื่องมือตัดยอยเศษขยะที่ถูกดักบนตะแกรงใหมีขนาดเล็กสามารถไหลผานตะแกรงไปสูกระบวนการขั้นตอไปไดคืออะไร

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ลดปริมาณขยะจากตะแกรงดักขยะที่ตองนําไปกําจัด
คําตอบ 2 : ลดการสะสมของตะกอนอนินทรียในถังเติมอากาศ
คําตอบ 3 : เพิ่มตัวกลางยึดเกาะใหตะกอนจุลินทรียในถังปฏิกรณ

ิท
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

นส

ขอที่ : 68


ตําแหนงในการติดตั้งถังปรับอัตราการไหลในระบบบําบัดน้ําเสียที่เหมาะสมคือที่ใด
คําตอบ 1 : หนาตะแกรงดักขยะ

อ ส

คําตอบ 2 : หนาบอดักกรวดทราย

กร
คําตอบ 3 : หลังบอดักกรวดทราย


คําตอบ 4 : หลังถังปรับความเปนกรดดาง

ขอที่ : 69

าว ศ


วัตถุประสงคของการกวนเร็วในกระบวนการโคแอกคูเลชันคืออะไร


คําตอบ 1 : รวมตะกอนขนาดเล็กใหมีขนาดใหญ ทําใหสามารถตกตะกอนไดเร็ว
คําตอบ 2 : ผสมสารเคมีในถังน้ําเสียในทั่วถึง
คําตอบ 3 : แยกตะกอนของแข็งออกจากน้ําดวยแรงหนีศูนยกลาง
คําตอบ 4 : เพิ่มปริมาณกาซละลายน้ํา

ขอที่ : 70 17 of 116
พารามิเตอรใดไมเกี่ยวของกับกระบวนการกวน
คําตอบ 1 : Velocity gradient
คําตอบ 2 : Viscosity of fluid
คําตอบ 3 : Tank volume
คําตอบ 4 : Overflow rate

ขอที่ : 71

่ า ย
ลักษณะการตกตะกอนประเภทใดที่เกิดขึ้นในถังดักกรวดทราย


คําตอบ 1 : Hindered settling


คําตอบ 2 : Flocculent settling

จ ำ
คําตอบ 3 : Compression settling


คําตอบ 4 : Discrete particle settling

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 72
เมื่อใดควรใชกระบวนการลอยตัว (flotation)

ิท
คําตอบ 1 : ตองการลดขนาดของถังแยกตะกอนในกรณีตะกอนมีขนาดเล็ก


คําตอบ 2 : ตองการประหยัดพลังงานในการเดินระบบ

ว น
คําตอบ 3 : ตองการใชปฏิกิริยาการสังเคราะหแสงที่ผิวน้ํา


คําตอบ 4 : ตองการเติมออกซิเจนใหกับตะกอนจุลินทรียในกระบวนการยอยสลายสารอินทรีย

อ ส

ขอที่ : 73

กร
เครื่องเติมอากาศหรือไลกาซชนิดใดเหมาะกับระบบประปาภูเขามากที่สุด


คําตอบ 1 : Cascade aerator



คําตอบ 2 : Multiple-tray aerator

าว
คําตอบ 3 : Jet aerator


คําตอบ 4 : Spray-nozzle aerator

ขอที่ : 74

18 of 116
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภาว

19 of 116
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภาว

20 of 116
คําตอบ 1 : 0.32 m
คําตอบ 2 : 0.64 m
คําตอบ 3 : 0.96 m
คําตอบ 4 : 1.28 m

ขอที่ : 75

่ า ย
กําหนดใหอัตราไหลลนผิว (Overflow rate)ของการออกแบบถังตกตะกอนขั้นที่หนึ่งเทากับ 40 เมตรตอวัน หากอัตราไหลน้ําเสียเทากับ 4,000 ลูกบาศกเมตรตอวัน พื้นที่ผิวน้ําที่ตอง


การเทากับกี่ตารางเมตร


คําตอบ 1 : 50 ตารางเมตร


คําตอบ 2 : 100 ตารางเมตร

มจ
คําตอบ 3 : 150 ตารางเมตร

า้
คําตอบ 4 : 200 ตารางเมตร

ิธ์ ห
ขอที่ : 76

ิท
เปาหมายของกระบวนการ Air Flotation คืออะไร


คําตอบ 1 : การทําใหอากาศลอย


คําตอบ 2 : การทําใหตะกอนลอย
คําตอบ 3 : การทําใหตะกอนลอยแลวจม

ง ว

คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอ
กร
ขอที่ : 77
กระบวนการใดไมใช Physical Unit Process
คําตอบ 1 : Mixing


ิ ว
าว
คําตอบ 2 : Adsorption


คําตอบ 3 : Gas Transfer


คําตอบ 4 : Flow measurement

ขอที่ : 78
หนาที่ของกระบวนการ Mixing คืออะไร
คําตอบ 1 : กวนสารเคมีใหเขากับน้ําอยางทั่วถึง
คําตอบ 2 : ปองกันการตกตะกอน
คําตอบ 3 : ถูกทั้ง 1 และ 2 21 of 116

คําตอบ 4 : ผิดทั้ง 1 และ 2


ขอที่ : 79
ขอใดไมใชอุปกรณวัดอัตราการไหลของน้ํา
คําตอบ 1 : Weir
คําตอบ 2 : Flume
คําตอบ 3 : Pump


คําตอบ 4 : Orifice

น่ า

ขอที่ : 80


ขอใดไมใชประเภทของ Flotation
คําตอบ 1 : Dissolved Air Flotation

มจ
า้
คําตอบ 2 : Vacuum Flotation

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : Air flotation
คําตอบ 4 : Centrifuge Flotation

ขอที่ : 81

ส ิท
ว น
ถังกรองทรายแบบสองสารกรองประกอบไปดวยสารอะไรบาง


คําตอบ 1 : ทรายกับถาน


คําตอบ 2 : ทรายกับกรวด


คําตอบ 3 : ทรายกับเรซิน
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

กร ข
ขอที่ : 82


ิ ว
าว
การกรองน้ําในถังกรองทรายจะหยุดเพื่อลางยอนเมื่อใด


คําตอบ 1 : เมื่อน้ําที่กรองแลวมีความสกปรก


คําตอบ 2 : เมื่อ Headloss มากกวาที่ออกแบบ
คําตอบ 3 : ขอ 1 และขอ 2 ถูกทั้งคู
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 83
การเติมอากาศนั้นถูกวิเคราะหโดยทฤษฎีอะไร
22 of 116
คําตอบ 1 : Two-film theory
คําตอบ 2 : Three-film theory
คําตอบ 3 : Four-film theory
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 84
Grit Chambers คืออะไร
คําตอบ 1 : ระบบกําจัดตะกอนสารอินทรีย

่ า ย

คําตอบ 2 : ระบบกําจัดทรายหรือเศษวัสดุอื่นๆที่มีความถวงจําเพาะสูง


คําตอบ 3 : ระบบกําจัดเชื้อโรค

จ ำ
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 85

า้ ม
ิธ์ ห
โดยทั่วไป Mixing อาจทําโดยการใช
คําตอบ 1 : การอัดอากาศ

ิท
คําตอบ 2 : การหมุนเวียนน้ํา


คําตอบ 3 : การใช Hydraulic Jump

ว น
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ส ง

ขอที่ : 86


ถัง Thickening มีไวเพื่ออะไร

กร
คําตอบ 1 : ทําตะกอนใหเขมขนขึ้น


คําตอบ 2 : ตกตะกอนใหน้ําใส



คําตอบ 3 : หมักตะกอนใหเหลือปริมาตรนอยลง

าว
คําตอบ 4 : หมักตะกอนใหเกิดกาซชีวภาพ

ขอที่ : 87

ส ภ
ขอใดไมใชวิธีการทํา thickening
คําตอบ 1 : Grinding
คําตอบ 2 : Flotation
คําตอบ 3 : Centrifugation
คําตอบ 4 : Sedimentation
23 of 116
ขอที่ : 88
Gas stripping เกิดไดที่ตําแหนงใด
คําตอบ 1 : บอสูบ
คําตอบ 2 : ถังเติมอากาศ
คําตอบ 3 : ถังตกตะกอน
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

่ า ย

ขอที่ : 89


ขอใดไมใชกลไกการกรอง

จ ำ
คําตอบ 1 : Straining


คําตอบ 2 : Flocculation

า้
คําตอบ 3 : Interception

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : Stabilization

ิท
ขอที่ : 90


ประสิทธิภาพของระบบ Dissolved Air Flotation ขึ้นอยูกับปจจัยใดเปนหลัก

ว น
คําตอบ 1 : Air to Solids ratio


คําตอบ 2 : Air to Soluble Organics ratio


คําตอบ 3 : Air to Settleable Solids ratio


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

กร ข

ขอที่ : 91



ในการจําแนกประเภทการตกตะกอนนั้นมีกี่ประเภท

าว
คําตอบ 1 : 3 ประเภท


คําตอบ 2 : 4 ประเภท


คําตอบ 3 : 5 ประเภท
คําตอบ 4 : 6 ประเภท

ขอที่ : 92
การตกตะกอนของเม็ดทรายนั้นเปนการตกตะกอนแบบใด
คําตอบ 1 : Discrete Settling
24 of 116
คําตอบ 2 : Flocculent Settling
คําตอบ 3 : Zone Settling
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 93
อุปกรณการกวนประเภทใดใหคาความปนปวนสูงสุด
คําตอบ 1 : In-line Blender
คําตอบ 2 : Static mixer

่ า ย

คําตอบ 3 : Turbine mixer


คําตอบ 4 : Propeller mixer

จ ำ

ขอที่ : 94
อุปกรณตะแกรงแบบใดที่ตองการการบํารุงรักษาต่ําสุด

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : Centrifugal screen
คําตอบ 2 : Rotary drum screen

ิท
คําตอบ 3 : Incline fixed screen


คําตอบ 4 : Mechanical cleaned bar rack

ขอที่ : 95

ง ว น
อ ส
หากคา KLa ของเครื่องเติมอากาศเครื่องหนึ่งซึ่งวัดคาที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส มีคาเทากับ 4.2 ตอชั่วโมง คา KLa ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียสจะมีคาเปนอยางไรเมื่อ


กําหนดใหคา Ө เทากับ 1.020

กร
คําตอบ 1 : มากกวา 4.2 ตอชั่วโมง


คําตอบ 2 : นอยกวา 4.2 ตอชั่วโมง



คําตอบ 3 : เทากับ 4.2 ตอชั่วโมง

าว
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูกตอง

ขอที่ : 96

ส ภ
25 of 116
คําตอบ 1 : 12.5 watt

่ า ย

คําตอบ 2 : 12.5 kilowatt

ำ ห
คําตอบ 3 : 17.8 watt


คําตอบ 4 : 17.8 kilowatt

า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 97
จงหาความสูญเสียเฮด (headloss) เมื่อน้ําไหลผานตะแกรงแบบหยาบโดยที่ความเร็วในรางกอนถึงตะแกรงเทากับ 0.6 เมตรตอวินาที ความเร็วไหลผานชองตะแกรง 0.8 เมตรตอ
วินาที และสัมประสิทธิ์สูญเสียเฮด (headloss coefficient) เทากับ 0.65

ิท
คําตอบ 1 : 0.022 m


คําตอบ 2 : 0.038 m

ว น
คําตอบ 3 : 0.041 m


คําตอบ 4 : 0.053 m

อ ส

ขอที่ : 98

กร
จงหาความสูญเสียเฮด (headloss) เมื่อน้ําไหลผานตะแกรงแบบหยาบที่มีขยะอุดตันอยูคิดเปนพื้นที่ 50% ของชองตะแกรง โดยที่ความเร็วในรางกอนถึงตะแกรงเทากับ 0.6 เมตรตอ
วินาที ความเร็วไหลผานชองตะแกรงเมื่อไมมีขยะตกคางเทากับ 0.8 เมตรตอวินาที และสัมประสิทธิ์สูญเสียเฮด (headloss coefficient) เมื่อมีขยะตกคางเทากับ 0.6
คําตอบ 1 : 0.105 m


ิ ว
าว
คําตอบ 2 : 0.138 m


คําตอบ 3 : 0.187 m


คําตอบ 4 : 0.243 m

ขอที่ : 99
กระบวนใดตอไปนี้จัดวาเปน Physical Unit Processes
คําตอบ 1 : การเติมอากาศ (Aeration)
คําตอบ 2 : การทําใหลอยตัว (Flotation)
คําตอบ 3 : การกรอง (Filtration) 26 of 116

คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ
ขอที่ : 100
ขอใดตอไปนี้ไมใชแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบแอเรชันและดีแอเรชัน (ทั้งแบบใบพัดและแบบฟองอากาศ)
คําตอบ 1 : ปดฝาถังปฏิกิริยา เพื่อเพิ่มความดัน
คําตอบ 2 : เพิ่มขนาดของฟองอากาศ เพื่อเพิ่มพื้นที่ผิวสัมผัสระหวางอากาศกับน้ํา
คําตอบ 3 : เพิ่มความเร็วใบพัด เพื่อเพิ่มความปนปวนภายในถังปฏิกิริยา


คําตอบ 4 : ลดขนาดถังปฏิกิริยา เพื่อเพิ่มความปนปวนภายในถังปฏิกิริยา

น่ า

ขอที่ : 101


ขอใดตอไปนี้ไมใชปจจัยสําคัญที่มีผลตอกระบวนการ Coagulation - Flocculation
คําตอบ 1 : รูปแบบถังปฏิกิริยาที่ใช (Reactor types)

มจ
า้
คําตอบ 2 : คาพีเอชของน้ํา (pH)

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : คาความปนปวนหรือความเร็วเเกรเดียนท (Velocity gradient)
คําตอบ 4 : เวลาสัมผัสหรือเวลากักน้ํา (Detention time)

ขอที่ : 102

ส ิท
ว น
ขอใดตอไปนี้ไมใชวัตถุประสงคในการทําแอเรชันและดีแอเรชันใหกับน้ําในระบบประปา


คําตอบ 1 : เพื่อกําจัดกลิ่นและรสของน้ําดิบ


คําตอบ 2 : เพื่อปองกันการกัดกรอนที่อาจเกิดขึ้นจากสารประกอบตางๆ ในน้ําดิบ


คําตอบ 3 : เพื่อลดพีเอชของน้ําและปองกันการตกผลึกของหินปูน
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

กร ข
ขอที่ : 103


ิ ว
าว
ขอใดตอไปนี้ไมถูกตองเกี่ยวกับเทคนิคและเกณฑการออกแบบถังกวนเร็ว (Rapid mixing tank)


คําตอบ 1 : ถังกวนเร็วรูปทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส ใหผลดีกวาถังรูปทรงกระบอก


คําตอบ 2 : แผนกั้นน้ําตามขอบถัง (Stator baffle) ชวยใหการกวนน้ํามีประสิทธิภาพดีขึ้น
คําตอบ 3 : การเติมสารเคมีควรเติมบริเวณที่ไกลใบพัด เพื่อใหโคแอกกูเลชันเกิดไดดีที่สุด
คําตอบ 4 : ไมควรเติมสารโคแอกกูเลชันเอด (Coagulation aid) พรอมกับโคแอกูแลนท

ขอที่ : 104
ขอใดตอไปนี้ไมถูกตองเกี่ยวกับเทคนิคและเกณฑการออกแบบถังกวนชา (Flocculation tank)
27 of 116
คําตอบ 1 : ถังกวนชาตองการความปนปวนสูงและเวลาสัมผัสนานๆ
คําตอบ 2 : การสรางฟล็อคคูเลชันโดยมีการลดความปนปวนไปตามความยาวของถังกวนชา จะสงผลใหประสิทธิภาพดีขึ้น
คําตอบ 3 : ควรออกแบบใหทางเชื่อมระหวางถังกวนชาและถังตกตะกอนมีโครงสรางรวมกัน
คําตอบ 4 : เครื่องกวนน้ําแบบใบพัดเรือ (Axial Flow propeller) สามารถสรางความปนปวนไดทั่วทั้งถังกวนชามากกวาใบพัดกวนน้ําแบบอื่นๆ

ขอที่ : 105
ขอใดตอไปนี้กลาวไดถูกตองเกี่ยวกับกระบวนการ Coagulation - Flocculation
คําตอบ 1 : เปนกระบวนการที่ทําใหคอลลอยด (Colloid) หลายๆ อนุภาคจับตัวกันเปนฟล็อค (Floc)

่ า ย

คําตอบ 2 : เปนการทําลายหรือลดเสถียรภาพของอนุภาคคอลลอยดที่อยูในระบบ


คําตอบ 3 : การสรางสัมผัสใหกับอนุภาคคอลลอยด เพื่อเพิ่มขนาดของฟล็อค (Floc)

จ ำ
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 106

า้ ม
ิธ์ ห
ขอใดตอไปนี้กลาวไดถูกตองเกี่ยวกับกระบวนการกรองอนุภาคแขวนลอยในน้ําเสีย
คําตอบ 1 : เครื่องกรองทรายแบบกรองชามีการสูญเสียเฮด (Head loss) เกิดขึ้นต่ํามาก เนื่องจากใชอัตราการกรองต่ํามาก

ิท
คําตอบ 2 : เครื่องกรองทรายแบบกรองเร็วมักจะไมมีปฎิกิริยาทางชีวภาพของจุลินทรียเกิดขึ้น


รูปแบบการเรียงตัวของชั้นสารกรองทรายหลังการลางยอนสามารถสงผลถึงความลึกของชั้นกรองก็สามารถใชประโยชนได เพื่อเปรียบเทียบกับชั้นทรายกรองแบบ


คําตอบ 3 :
อุดมคติ
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ง ว
อ ส

ขอที่ : 107

กร
ขอใดตอไปนี้ไมถูกตองเกี่ยวกับกระบวนการดูดติดผิว (Adsorption)


คําตอบ 1 : สามารถกําจัดสารปนเปอนที่มีขนาดเล็กจนถึงขั้นระดับโมเลกุล



คําตอบ 2 : เปนการเคลื่อนยายมวลสารจากของเหลวหรือกาซมายังผิวของของแข็ง

าว
คําตอบ 3 : การเกาะจับของโมเลกุลสารปนเปอนบนสารที่ใชเกิดขึ้นไดจากแรงทางเคมี เทานั้น


คําตอบ 4 : Activated Carbon สามารถนํามาใชในกระบวนการดูดติดผิวไดเปนอยางดี

ขอที่ : 108

ขอใดตอไปนี้ไมถูกตองเกี่ยวกับการออกแบบถังตกตะกอนในระบบบําบัดน้ําเสีย
คําตอบ 1 : การใสทอหรือแผนตางๆ เขาไปในถังตกตะกอนเปนการเพิ่มประสิทธิภาพของถังตกตะกอน
คําตอบ 2 : ลดความสูง (ลึก) ของถังตกตะกอนลงจะสามารถเพิ่มประสิทธิภาพของถังตกตะกอน
คําตอบ 3 : ความเร็วในการตกตะกอนของอนุภาคแปรผกผันกับความหนืดของน้ําเสียซึ่งมีความสัมพันธโดยตรงกับอุณหภูมิของน้ํา
คําตอบ 4 : การติดรางน้ําลน (Weir plates) ชวยแกไขปญหาการไหลลัดทางของน้ําเสียในถังตกตะกอน 28 of 116
ขอที่ : 109
เครื่องกรองน้ําแบบหลายชั้นกรอง จะใชสารกรองซึ่งประกอบดวย ทราย สารกาเน็ท และถานแอนทราไซด เพื่อใหการกรองไดประสิทธิภาพสูงที่สุด ขอใดตอไปนี้ควรเปนลําดับการ
เรียงตัวของสารกรองที่เหมาะสม จากบนลงลาง
คําตอบ 1 : ทราย สารกาเน็ท ถานแอนทราไซด
คําตอบ 2 : ถานแอนทราไซด ทราย สารกาเน็ท


คําตอบ 3 : สารกาเน็ท ทราย ถานแอนทราไซด

่ า
คําตอบ 4 : ทราย ถานแอนทราไซด สารกาเน็ท

หน

ขอที่ : 110


ขอใดตอไปนี้เปนกลไกการเคลื่อนยายสารแขวนลอยเขาหาสารกรอง (Transport mechanism) ที่สอดคลองกับหมายเลข 1 ถึง 3 ตามลําดับ

า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 : Brownian, Interception, Sedimentation


คําตอบ 2 : Interception, Brownian, Sedimentation


คําตอบ 3 : Sedimentation, Brownian, Interception
คําตอบ 4 : Interception, Sedimentation, Brownian

ขอที่ : 111

29 of 116

จงเรียงลําดับขั้นตอนตางๆ ที่เกิดขึ้นในระหวางการดูดติดผิว ซึ่งไดแก


คําตอบ 1 : 1234
คําตอบ 2 : 4123


คําตอบ 3 : 4312

่ า
คําตอบ 4 : 4213

หน

ขอที่ : 112


การออกแบบถังกวนเร็วดวยสารสมปริมาณ 18 มก/ล ที่พีเอชเทากับ 6.4 จงคํานวณหาคาความเปนดางอยางนอยที่จําเปนตองมีเพื่อควบคุมใหพีเอชมีคาคงที่และโคแอกกูเลชันมี


ประสิทธิภาพสูงสุด

า้
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
คําตอบ 1 :

อ ส
กร ข

คําตอบ 2 :

าว ศ


คําตอบ 3 :


คําตอบ 4 :

ขอที่ : 113 30 of 116

สําหรับประเภทการตกตะกอนแบบโดด (Discrete particle settling) ของพวกกรวดและทรายที่มีขนาดเทากับ 0.1 มม. จงคํานวณหาคาความเร็วในการตกตะกอนอยางคราวๆ จากกฎ


ของสโตค (Stoke’s law) ไดแก

คําตอบ 1 : 0.00724 ม/วินาที


คําตอบ 2 : 0.00624 ม/วินาที

่ า
คําตอบ 3 : 0.00824 ม/วินาที


คําตอบ 4 : 0.00924 ม/วินาที

ขอที่ : 114

จ ำ ห
า้ ม
สําหรับประเภทการตกตะกอนแบบโดด (Discrete particle settling) ของพวกกรวดและทรายที่มีขนาดเทากับ 0.1 มม. (ดูสมการขางลาง) จงคํานวณหาพื้นที่ของถังตกตะกอนที่จํา

ิธ์ ห
เปน (A) ในการตกตะกอนแยกอนุภาค ที่มีความเร็วในการตกตะกอน 6.24 มม/ วินาทีเมื่ออัตราไหลของน้ําเสียที่จะตองบําบัด (Q) มีคาเทากับ 1,000 ลบ.ม./วัน

ส ิท

คําตอบ 1 : 1.86 ตารางเมตร

ง ว
คําตอบ 2 : 2.26 ตารางเมตร


คําตอบ 3 : 2.68 ตารางเมตร


คําตอบ 4 : 3.25 ตารางเมตร

ขอที่ : 115

กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 0.51 เมตร
คําตอบ 2 : 0.73 เมตร
คําตอบ 3 : 1.25 เมตร
31 of 116
คําตอบ 4 : 1.85 เมตร
ขอที่ : 116
จงคํานวณหาพื้นที่ผิวสัมผัสทั้งหมดตอปริมาตรถังปฎิกิริยา (Interfacial area - a) ของฟองอากาศจากระบบเติมอากาศแบบ Diffused aerators โดยที่ปริมาณอากาศคิดเปน 25%
ของปริมาตรทั้งหมดและขนาดฟองอากาศโดยเฉลี่ยเทากับ 3 มม. (สมมติใหฟองอากาศมีลักษณะเปนทรงกลม)
คําตอบ 1 : 1.66 /มม
คําตอบ 2 : 3.86 /มม


คําตอบ 3 : 1.25 /มม

่ า
คําตอบ 4 : 2.45 /มม

หน

ขอที่ : 117


การใช Mechanical bar screen ซึ่งชองวางที่น้ําเสียไหลผานกวาง 30 มม. และความหนาของ Bar หนา 10 มม. จงคํานวณหาความเร็วของน้ําเสียที่ไหลผานระหวาง Bar เมื่ออัตรา

า้ ม
การไหลของน้ําเสียเขาสูระบบ (Q) เทากับ 80,000 ลูกบาศกเมตร/วัน ความกวาง (W) และความสูง (D) ของชองทางเขาของน้ําเสีย (Channel) เทากับ 1.5 ม. และ 1 ม. ตามลําดับ

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 0.52 ม/วินาที
คําตอบ 2 : 0.75 ม/วินาที
คําตอบ 3 : 1.25 ม/วินาที

ิท
คําตอบ 4 : 0.83 ม/วินาที

นส

ขอที่ : 118

ส ง
ขอ
ว กร
าว ศ


คําตอบ 1 : 0.023 ม.


คําตอบ 2 : 0.033 ม.
คําตอบ 3 : 0.025 ม.
คําตอบ 4 : 0.019 ม.

ขอที่ : 119
สําหรับตัวเลือกตอไปนี้ ตัวเลือกใดเปนวิธีเหมาะสมที่สุดในการกําจัดอนุภาคขนาดเล็กในน้ํา
32 of 116
คําตอบ 1 : Screening
คําตอบ 2 : Sedimentation
คําตอบ 3 : Titration
คําตอบ 4 : Filtration

ขอที่ : 120
การบําบัดน้ําเสียในขั้นตอนใดตอไปนี้ ที่กลไกในการบําบัดหลักอาศัยการตกตะกอนแบบที่ 3 (TYPE III Sedimentation)
คําตอบ 1 : Filtration

่ า ย

คําตอบ 2 : Secondary clarifier


คําตอบ 3 : Sedimentation basin

จ ำ
คําตอบ 4 : มีคําตอบที่ถูกมากกวา 1 ขอ

ขอที่ : 121

า้ ม
ิธ์ ห
ขอใดเปนการเรียงลําดับกระบวนการทําน้ําประปาที่ถูกตองสําหรับการใชน้ําผิวดินเปนแหลงน้ํา

ิท
คําตอบ 1 :

นส
ง ว

คําตอบ 2 :

ขอ
กร
คําตอบ 3 :


ิ ว
คําตอบ 4 :

ภ าว
ขอที่ : 122

ขอใดไมถูกตองสําหรับกระบวนการ Coagulation/Flocculation
คําตอบ 1 : เปนกระบวนการเติมสารเคมี เพื่อใหคอยลอยดสูญเสียเสถียรภาพ
คําตอบ 2 : เปนกระบวนการในการกําจัดความขุนของน้ํา
33 of 116
คําตอบ 3 : ทําใหเกิดปุยตะกอนที่มีขนาดใหญขึ้น
คําตอบ 4 : จะตองใชการกวนแบบกวนเร็วตลอดกระบวนการ

ขอที่ : 123
ในถังตกตะกอนแบบทรงสี่เหลี่ยม ทิศทางการไหลของน้ําออกจากถังตกตะกอน และทิศทางการเคลื่อนที่ของตะกอนที่ถูกกําจัดตรงกับความสัมพันธแบบใดมากที่สุด
คําตอบ 1 : ตรงกันขาม
คําตอบ 2 : ทิศทางเดียวกัน
คําตอบ 3 : ทํามุมระหวาง 0 ถึง 90 องศา

่ า ย

คําตอบ 4 : ไมมีคําตอบที่ถูกตอง

ขอที่ : 124

จ ำ ห

ขั้นตอนใดตอไปนี้ไมจําเปนสําหรับกระบวนการทําน้ําประปาโดยใชน้ําดิบจากแหลงน้ําใตดิน

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : การตกตะกอน (Sedimentation)
คําตอบ 2 : การกรอง (Filtration)
คําตอบ 3 : การกําจัดเชื้อโรค (Disinfection)

ิท
คําตอบ 4 : มีคําตอบที่ถูกมากกวา 1 ขอ

นส

ขอที่ : 125


คา Gt (ผลคูณระหวาง Velocity gradient และเวลา) ที่เหมาะสมสําหรับถังกวนเร็ว (Rapid tank mixing) มีคาอยูในชวงใดตอไปนี้
คําตอบ 1 : 30 - 60

อ ส

คําตอบ 2 : 300 - 600

กร
คําตอบ 3 : 3,000 - 6,000


คําตอบ 4 : 30,000 - 60,000

ขอที่ : 126

าว ศ


Reynolds Number มีความจําเปนในการใชคํานวณเพื่อออกแบบถังตกตะกอน ขอใดตอไปนี้เกี่ยวของกับ Reynolds Number สําหรับการคํานวณเพื่อออกแบบถังตกตะกอนนอยที่


สุด
คําตอบ 1 : ความเร็วในการตกตะกอน (Settling Velocity)
คําตอบ 2 : ความหนืดของน้ํา (Viscosity)
คําตอบ 3 : ขนาดของอนุภาค (Particle Size)
คําตอบ 4 : พื้นที่ผิวของอนุภาค (Particle Surface Area)

34 of 116
ขอที่ : 127
Pump ทําหนาที่อะไร
คําตอบ 1 : ทําหนาที่รับน้ําเสีย
คําตอบ 2 : ทําหนาที่สูบน้ําเสีย
คําตอบ 3 : ทําหนาที่ระเหยน้ําเสีย
คําตอบ 4 : ทําหนาที่กรองน้ําเสีย

่ า ย
ขอที่ : 128


การออกแบบ Pump ตองมีเกณฑดังนี้


คําตอบ 1 : ตองออกแบบใหรับ Peak Demand

จ ำ
คําตอบ 2 : ตองออกแบบใหรับ Peak Flow


คําตอบ 3 : ตองออกแบบใหรับ Peak Capacity

า้
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 129
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว
คําตอบ 1 : 3 Hp


คําตอบ 2 : 5 Hp
คําตอบ 3 : 7.5 Hp
คําตอบ 4 : 10 Hp

ขอที่ : 130
ทานควรเลือกใชอุปกรณที่ใชในการวัด Flow rate ของน้ําเสียในรางระบายเปด ซึ่งน้ําเสียมี SS สูง ดังนี้
35 of 116
คําตอบ 1 : V-notch Weir
คําตอบ 2 : Rectangular Weir
คําตอบ 3 : Current flow meter
คําตอบ 4 : Parshall Flume

ขอที่ : 131

่ า ย
หน
จ ำ

คําตอบ 1 :

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 2 :

ส ิท
ว น
คําตอบ 3 :

ส ง
คําตอบ 4 :

ขอ
ว กร
าว ศ

ขอที่ : 132
เครื่องมือที่ใชในการวัดอัตราการไหลของน้ําเสียจากโรงงานชุบโลหะโดยสูบน้ําผานทอจายขนาด 2 นิ้ว ควรติดตั้งเครื่องมือชนิดใด


คําตอบ 1 : Current flow meter


คําตอบ 2 : Rota meter
คําตอบ 3 : V-notch Weir
คําตอบ 4 : Hydro meter

ขอที่ : 133
36 of 116
่ า ย
คําตอบ 1 : ใชทอขนาด 400 มม.


คําตอบ 2 : ใชทอขนาด 500 มม.


คําตอบ 3 : ใชทอขนาด 600 มม.


คําตอบ 4 : ใชทอขนาด 800 มม.

มจ
า้
ขอที่ : 134

ิธ์ ห
ทอระบายน้ําคอนกรีตเสริมเหล็กขนาด 500 มม. วางโดยมีความลาดเอียง 1:1000 สามารถรับน้ําเสียที่น้ําไหลเต็มทอ (Flow full) ไดเทาใด (กําหนด n = 0.015)

ิท
คําตอบ 1 :

นส
คําตอบ 2 :

ง ว
อ ส
กร ข
คําตอบ 3 :


ิ ว
าว
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 135
ส ภ
การออกแบบทอระบายน้ําเสียใหมีการไหลแบบ Gravity flow ตองออกแบบใหมีความเร็วของน้ําในเสนทอไมนอยกวาเทาใด
คําตอบ 1 : 0.3 m/s
คําตอบ 2 : 0.4 m/s
คําตอบ 3 : 0.5 m/s
คําตอบ 4 : 0.6 m/s 37 of 116
ขอที่ : 136
การกัดกรอนของทอระบายน้ําเสียชนิดคอนกรีตเสริมเหล็กเกิดจากอิทธิพลของแกสใด

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

่ า ย
หน
คําตอบ 3 :

จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 137

ส ิท
การแกปญหาของกลิ่นเหม็นในทอระบายน้ําเสีย ควรดําเนินการโดยการละลายและเติมสารเคมีชนิดใด

คําตอบ 1 :

ง ว น
อ ส

คําตอบ 2 :

ว กร


คําตอบ 3 :

ภ าว

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 138
ทอสงน้ําเสียที่รับแรงดันควรเลือกทอชนิด
คําตอบ 1 : RC
38 of 116
คําตอบ 2 : AC
คําตอบ 3 : PVC
คําตอบ 4 : HDPE

ขอที่ : 139
ถังตกตะกอนตัวที่สอง (Secondary sedimentation tank) ที่ใชในกระบวนการ Activated sludge ถาเพิ่มพื้นที่ผิวหนาของถังมากขึ้น ขอใดถูกตองที่สุด
คําตอบ 1 : น้ําลนออกมีตะกอนแขวนลอยต่ําลง
คําตอบ 2 : น้ําลนออกมีตะกอนแขวนลอยสูงขึ้น

่ า ย

คําตอบ 3 : ความเขมขนของตะกอนกนถังสูงขึ้น


คําตอบ 4 : ความเขมขนของตะกอนกนถังต่ําลง

จ ำ

ขอที่ : 140
ถาตองการลดความกระดางของน้ําควรใชเครื่องแลกเปลี่ยนประจุอยางไร

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : เครื่องแลกเปลี่ยนประจุบวก
คําตอบ 2 : เครื่องแลกเปลี่ยนประจุบวกตามดวยเครื่องแลกเปลี่ยนประจุลบ

ิท
คําตอบ 3 : เครื่องแลกเปลี่ยนประจุลบ


คําตอบ 4 : เครื่องแลกเปลี่ยนประจุลบตามดวยเครื่องแลกเปลี่ยนประจุบวก

ขอที่ : 141

ง ว น
อ ส
โดยทั่วไปขอใดไมใชตัวแปรในการดําเนินงานที่มีผลทําให mass transfer zone ในหอดูดซับดวยถานกัมมันตเปลี่ยน


คําตอบ 1 : ความยาวของถัง

กร
คําตอบ 2 : อัตราการปอนน้ํา


คําตอบ 3 : ขนาดของถานกัมมันต



คําตอบ 4 : ชนิดของถานกัมมันต

ขอที่ : 142

ภ าว

สารที่ทําหนาที่เพิ่มความแข็งแรงใหกับโครงสรางของเรซินคือสารใด
คําตอบ 1 : Acrylic
คําตอบ 2 : Styrene
คําตอบ 3 : Divinyl Benzene
คําตอบ 4 : Vinyl Chloride

39 of 116
ขอที่ : 143
ขอใดไมใชหนาที่ของกระบวนการแลกเปลี่ยนไอออน
คําตอบ 1 : กําจัดไอออนตางๆ ออกจากน้ํา
คําตอบ 2 : ทําใหไอออนตางๆ มีความเขมขนสูงขึ้น
คําตอบ 3 : กรองคอลลอยดหรือโมเลกุลขนาดใหญที่อยูในรูปของไอออน
คําตอบ 4 : ใชเปนสารดูดเกาะติดผิว (Adsorbent)

่ า ย
ขอที่ : 144

หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

ส ิท
ง ว น

คําตอบ 3 :

ขอ
กร
คําตอบ 4 :


ิ ว
าว
ขอที่ : 145


คํากลาวใดถูกตอง


คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
ความลึกของชั้นเรซินมีความสําคัญตอการแลกเปลี่ยนไอออนมาก
อัตราการไหลของน้ําผานชั้นเรซินไมมีอิทธิพลตออํานาจในการแลกเปลี่ยนไอออน
ความเขมขนของเกลือแรในน้ําดิบมีอิทธิพลอยางมากตออํานาจหรือความสามารถในการแลกเปลี่ยนไอออนของเรซิน
คําตอบ 4 : การใชปริมาณสารฟนสภาพเรซินยิ่งมากยิ่งทําใหเพิ่มอํานาจการแลกเปลี่ยนไอออนมากยิ่งขึ้น

ขอที่ : 146 40 of 116


ขอใดไมใชคุณสมบัติของเรซินแบบกรดแก
คําตอบ 1 : ประสิทธิภาพในการฟนสภาพต่ํา

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 : มีคุณสมบัติ salt splitting


คําตอบ 4 :

น่ า
ขอที่ : 147

จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : แบบกรดออน
คําตอบ 2 : แบบกรดแก

ิท
คําตอบ 3 : แบบดางออน


คําตอบ 4 : แบบดางแก

ขอที่ : 148

ง ว น
อ ส
สารใดตอไปนี้ไมเหมาะที่จะใชเปนสารฟนสภาพเรซิน


คําตอบ 1 : โซเดียมคลอไรด

กร
คําตอบ 2 : โซเดียมไฮดรอกไซด


คําตอบ 3 : กรดกํามะถัน



คําตอบ 4 : กรดไนตริก

ขอที่ : 149

ภ าว

คํากลาวใดไมถูกตองสําหรับเรซินแบบดางออน
คําตอบ 1 : ไมเกิดการแลกเปลี่ยนไอออน
คําตอบ 2 : กําจัดไดเฉพาะกรดแก
คําตอบ 3 : ไมจําเปนตองมีไอออนอิสระ
คําตอบ 4 : ประสิทธิภาพในการฟนสภาพต่ํา

41 of 116
ขอที่ : 150
่ า ย

คําตอบ 1 : 50 kg/d


คําตอบ 2 : 100 kg/d


คําตอบ 3 : 125 kg/d
คําตอบ 4 : 150 kg/d

มจ
า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 151
หากตองการกําจัดความเปนดาง (alkalinity) ออกจากน้ําควรใชเรซิน ประเภทใดจึงจะเหมาะสมและคุมคาที่สุด

ิท
คําตอบ 1 : แบบกรดออน


คําตอบ 2 : แบบกรดแก


คําตอบ 3 :


แบบดางออน


คําตอบ 4 : แบบดางแก

อ ส

ขอที่ : 152

กร
ขอใดไมถูกตอง


ประสิทธิภาพในการฟนสภาพเรซินหมายถึง อัตราสวนระหวางจํานวนสมมูลของไอออนในสารที่ใชฟนสภาพที่นํามาแลกเปลี่ยน ตอจํานวนสมมูลของไอออนในเรซินที่
คําตอบ 1 :



เสื่อมแลว

าว
คําตอบ 2 : เรซินประเภทกรดออนและดางออนจะมีประสิทธิภาพในการฟนสภาพสูงกวาเรซินประเภทกรดแกและดางแก
คําตอบ 3 : เรซินประเภทกรดแกและดางแกสิ้นเปลืองสารที่ใชฟนสภาพมากกวาเรซิ่นประเภทกรดออนและดางออน

ส ภ
คําตอบ 4 : ความเขมขนของสารละลาย NaCl ที่เหมาะสมสําหรับการฟนสภาพเรซินคือ 10-15%

ขอที่ : 153
ขอใดไมใชคุณลักษณะของเรซินที่มีระดับองศาของแรงยึดเหนี่ยว (degree of cross linkage) สูง
คําตอบ 1 : เรซินมีความแข็งมากกวา
คําตอบ 2 : มีชองวางภายในมาก มีโอกาสบวมน้ํามาก
คําตอบ 3 : มีความสามารถในการแลกเปลี่ยนไอออนสูง 42 of 116
คําตอบ 4 : เรซินแตกงาย
ขอที่ : 154
ขอใดเรียงลําดับความชอบไอออนของเรซินจากมากไปนอยไดถูกตอง

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

่ า ย
หน
คําตอบ 3 :

จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 155

ส ิท

ขอใดไมใชวิธีการปรับสภาพพีเอชของน้ําที่มีฤทธิ์เปนกรด

ง ว

คําตอบ 1 :

ขอ
กร
คําตอบ 2 :


ิ ว
าว
คําตอบ 3 :

ขอที่ :
คําตอบ 4 :

156
ส ภ ใหน้ําไหลผานชั้นหินปูน

ขอใดไมใชวิธีการปรับสภาพพีเอชของน้ําที่มีฤทธิ์เปนดาง

คําตอบ 1 :
43 of 116
คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :


คําตอบ 4 :

น่ า
ขอที่ : 157
ขอใดไมใชการชวยเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการ coagulation

จ ำ ห
คําตอบ 1 : การเติมสารโพลีเมอร

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 : การเติมตะกอนเพื่อใหเกิดการชนกันของอนุภาคเพิ่มขึ้น
คําตอบ 3 : การลดคาความเปนดาง (alkalinity) ใหเหลือนอยที่สุด
คําตอบ 4 : การปรับคาพีเอชใหเหมาะสมกับสาร coagulant

ส ิท

ขอที่ : 158

ง ว
ขอใดไมใชสาร coagulant ที่ใชในงานวิศวกรรมประปา


คําตอบ 1 : Ferric chloride


คําตอบ 2 : Ferrous sulfate

กร ข
คําตอบ 3 : Ferric sulfate
คําตอบ 4 : Aluminum chloride


ิ ว
าว
ขอที่ : 159
ขอใดถูกตองเกี่ยวกับคอลลอยด


คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 : ภ การทําลายเสถียรภาพของคอลลอยดเกิดขึ้นในกระบวนการ coagulation
อนุภาคคอลลอยดจะตกตะกอนไดดวยแรงโนมถวง

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 : อนุภาคคอลลอยดที่เปนตะกอนดิน มักมีประจุเปนบวก

44 of 116

ขอที่ : 160
ขอใดไมใชสารเคมีที่ใชในการบําบัดความกระดางของน้ําดวยวิธีตกผลึก
คําตอบ 1 : ปูนขาว
คําตอบ 2 : กรดเกลือ
คําตอบ 3 : โซดาแอช
คําตอบ 4 : โซดาไฟ

่ า ย
ขอที่ : 161


ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับการทํา Breakpoint Chlorination


คําตอบ 1 : Breakpoint Chlorination จะทําในระบบผลิตน้ําประปาแตไมทําในระบบบําบัดน้ําเสีย

จ ำ
คําตอบ 2 : คลอรีนที่เติมในชวงแรกจะทําการออกซิไดซสารตางๆ ที่มีอยูในน้ํา


คําตอบ 3 : ที่จุด breakpoint จะมีสัดสวนโมลคลอรีนตอโมลแอมโมเนียประมาณ 1 ตอ 1

า้
คําตอบ 4 : คลอรีนที่เติมหลังจุด breakpoint จะเปน free residual chlorine

ขอที่ : 162
ิธ์ ห
ิท
ขอใดไมใชขอดีของการฆาเชื้อโรคในน้ําประปาดวยโอโซน


คําตอบ 1 : ไมทําใหเกิด trihalomethane

ว น
คําตอบ 2 : ไมทําใหเกิด haloacetic acid


คําตอบ 3 : มีประสิทธิภาพในการฆาเชื้อโรคสูง


คําตอบ 4 : ไมมีฤทธิ์ในการฆาเชื้อตกคางอยูในน้ําประปาที่เขาระบบทอจาย

ขอ
กร
ขอที่ : 163


ในการคํานวณออกแบบเพื่อหาปริมาตรเรซินที่ตองการในถังแลกเปลี่ยนไอออนดวยวิธี Scale-up Approach หาก Test Column ใช Qb = 1.5 BV/hr และอัตราไหลของน้ําที่เขา



ระบบจริงเทากับ 120 ลบ.ม.ตอวัน จงหาปริมาตรเรซินที่ตองใชในถัง

าว
คําตอบ 1 : 3.3 ลบ.ม.


คําตอบ 2 : 5.0 ลบ.ม.


คําตอบ 3 : 7.5 ลบ.ม.
คําตอบ 4 : 80 ลบ.ม.

ขอที่ : 164
จงหาเวลาสัมผัสระหวางน้ําเกลือกับเรซินในการฟนสภาพเรซินที่อัตราไหล 40 ลิตรตอนาทีตอ ลบ.ม.เรซิน
คําตอบ 1 : 20 นาที
45 of 116
คําตอบ 2 : 25 นาที
คําตอบ 3 : 30 นาที
คําตอบ 4 : 35 นาที

ขอที่ : 165
การทดสอบการดูดซับในหองปฏิบัติการ โดยใหถานกัมมันตดูดซับสาร A และจดบันทึกคาตางๆ ของความเขมขนของ A ในน้ําที่สภาวะสมดุล (C) และสัดสวนมวลของสาร A ตอมวล
ถาน (x/m) แลวสรางกราฟโดยใหแกน X คือ log C และแกน Y คือ log (x/m) จากการทดสอบนี้ หากอานคาความชันจากกราฟไดเทากับ 0.41 และทราบวาที่ C = 1.0 มก./ลิตร
คา x/m = 0.26 จงเขียน Freundlich Isotherm ของการดูดซับสาร A ในสภาวะการทดสอบนี้


คําตอบ 1 : x/m = (0.41) C1/2.44
คําตอบ 2 : x/m = (0.41) C1/0.41

น่ า

คําตอบ 3 : x/m = (0.26) C1/2.44


คําตอบ 4 : x/m = (0.26) C1/0.41

มจ
า้
ขอที่ : 166

ิธ์ ห
จงคํานวณหาขนาดเสนผาศูนยกลางของถังบรรจุถานกัมมันตที่ตองการในระบบประปาแหงหนึ่งซึ่งผลิตน้ําประปา 500 ลบ.ม.ตอวัน เดินระบบวันละ 7 ชั่วโมง โดยใชคาอัตราไหลของ
น้ําผานชั้นถานกัมมันตเทากับ 5.5 ม.ตอชม. และใชถัง 2 ถังตอแบบขนาน คาที่ไดใหปดเปนจํานวนเต็มในหนวยเมตร
คําตอบ 1 : 6 เมตร
คําตอบ 2 : 5 เมตร

ส ิท

คําตอบ 3 : 4 เมตร


คําตอบ 4 : 3 เมตร

ส ง

ขอที่ : 167

กร ข
ในการทํา Chemical Coagulation โดยเติมสารเคมี เพื่อทําใหตะกอนมีขนาดใหญขึ้น มีขั้นตอนในการทําตามขอใด
คําตอบ 1 : เติมสารเคมี กวนเร็ว กวนชา


คําตอบ 2 : กวนชา เติมสารเคมี กวนเร็ว
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :

าว ศ

เติมสารเคมี กวนชา กวนเร็ว
ไมมีขอถูก

ขอที่ : 168
ส ภ
อนุภาคคอลลอยดในน้ํายากแกการกําจัดโดยวิธีการตกตะกอนธรรมดา เนื่องจาก
คําตอบ 1 : มักมีขนาดเล็ก ทําใหตองใชเวลานานกวาที่จะตกตะกอน
คําตอบ 2 : มักมีประจุลบ ทําใหอยูอยางมีเสถียรภาพในน้ําไมตกตะกอน
คําตอบ 3 : มักมีประจุบวก ทําใหอยูอยางมีเสถียรภาพในน้ําไมตกตะกอน
คําตอบ 4 : มีคําตอบที่ถูกมากกวา 1 ขอ 46 of 116
ขอที่ : 169

คําตอบ 1 : ลดความหนาชั้นสนามไฟฟารอบๆ คอลลอยด


คําตอบ 2 : เปลี่ยนประจุบนคอลลอยด
คําตอบ 3 : Sweep Floc

น่ า

คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูกตอง

จ ำ

ขอที่ : 170

า้
การทดลองหาปริมาณของ Coagulant ที่เหมาะสมในกระบวน Coagulation เรียกวา

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : Titration test
คําตอบ 2 : Jar test

ิท
คําตอบ 3 : Conductivity test


คําตอบ 4 : Hardness test

ขอที่ : 171

ง ว น
อ ส
คําตอบ 1 : มากกวา

กร ข

ิ ว
คําตอบ 2 : นอยกวา

าว
คําตอบ 3 : เทากับ
คําตอบ 4 : อาจจะมากกวาหรือนอยกวา

ขอที่ : 172
ส ภ
Combined chlorine residual มีความสามารถอยางไรในการฆาเชื้อโรค เมื่อเทียบกับ Free chlorine residual
คําตอบ 1 : มากกวา
คําตอบ 2 : นอยกวา
คําตอบ 3 : เทากับ
คําตอบ 4 : ไมเกี่ยวของกัน 47 of 116
ขอที่ : 173
การเติมสารใดตอไปนี้ลงไปในน้ํา จัดเปนการฆาเชื้อโรคในน้ํา
คําตอบ 1 : Alum
คําตอบ 2 : Lime
คําตอบ 3 : Chlorine
คําตอบ 4 : มีขอถูกมากกวา 1 ขอ

่ า ย

ขอที่ : 174


ขอใดไมใชสมมติฐานของการดูดติดผิวแบบ Langmuir

จ ำ
คําตอบ 1 : ตัวดูดซับมีจํานวนที่สําหรับดูดซับที่คงที่แนนอน


คําตอบ 2 : พลังงานในการดูดติดผิวมีคาคงที่สําหรับทุกที่สําหรับดูดซับบนตัวดูดซับ

า้
คําตอบ 3 : เปนการดูดติดผิวแบบชั้นเดียว

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ไมมีขอที่เหมาะสม

ิท
ขอที่ : 175


ขอใดไมใชพารามิเตอรที่ใชในการบอกคุณสมบัติของถานกัมมันต

ว น
คําตอบ 1 : พื้นที่ผิว


คําตอบ 2 : ขนาดของรูพรุน


คําตอบ 3 : เลขไอโอดีน


คําตอบ 4 : ไมมีขอที่เหมาะสม

กร ข

ขอที่ : 176

าว ศ

ส ภ
คําตอบ 1 :

48 of 116
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :


คําตอบ 4 :

น่ า
ขอที่ : 177
สาร Coagulant ที่ใชมากที่สุดในกระบวนการทําน้ําประปาคือสารใด

จ ำ ห
า้ ม
คําตอบ 1 : Alum

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : Copper
คําตอบ 3 : Ferric Sulphate
คําตอบ 4 : Ferric Chloride

ส ิท

ขอที่ : 178


สถานการณใดเหมาะสําหรับการใชปูนขาวในการลดความเปนกรดในน้ําเสีย
คําตอบ 1 :


มีปริมาณอลูมิเนียมละลายอยูในน้ําสูง



คําตอบ 2 : มีปริมาณเหล็กละลายอยูในน้ําสูง


คําตอบ 3 : มีปริมาณกาซคารบอนไดออกไซดละลายต่ํา

กร
คําตอบ 4 : มีปริมาณกรดซัลฟูริกละลายอยูในน้ํามากกวา 1%


ิ ว
าว
ขอที่ : 179
สารประกอบชนิดใดไมเหมาะที่จะใชกระบวนการโคแอกคูเลชันในการกําจัด

ส ภ
คําตอบ 1 : ของแข็งละลายน้ํา
คําตอบ 2 : สีปรากฏ
คําตอบ 3 : สารแขวนลอย
คําตอบ 4 : ความขุน

ขอที่ : 180
ขอใดถูก 49 of 116

คําตอบ 1 : กระบวนการโคแอกคูเลชันตองการ HRT มากกวากระบวนฟล็อกคูเลชัน


คําตอบ 2 : กระบวนการโคแอกคูเลชันตองใชคา G สูงกวากระบวนฟล็อกคูเลชัน
คําตอบ 3 : กระบวนการโคแอกคูเลชันตองใชปริมาตรถังปฏิกรณใหญกวากระบวนฟล็อกคูเลชัน
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 181
อิออนบวกในขอใดถูกกําจัดยากที่สุดโดยกระบวนการแลกเปลี่ยนประจุ (ion exchange)
คําตอบ 1 : แคลเซียม

่ า ย

คําตอบ 2 : ตะกั่ว


คําตอบ 3 : ทองแดง

จ ำ
คําตอบ 4 : โปแตสเซียม

ขอที่ : 182

า้ ม
ิธ์ ห
การฆาเชื้อโรควิธีใดเหมาะสําหรับระบบผลิตน้ําประปาที่มีการขนสงน้ําประปาในระยะไกล
คําตอบ 1 : แสงอัลตราไวโอเลต

ิท
คําตอบ 2 : โอโซน


คําตอบ 3 : คลอรีน

ว น
คําตอบ 4 : แอมโมเนีย

ส ง

ขอที่ : 183


การกําจัดสารขอใดไมเหมาะที่จะใชการดูดซับดวยถานกัมมันตมากที่สุด

กร
คําตอบ 1 : COD


คําตอบ 2 : NOM



คําตอบ 3 : TOC

าว
คําตอบ 4 : TDS

ขอที่ : 184

ส ภ
สารเคมีขอใดควรเก็บในสถานะของแข็ง
คําตอบ 1 : แคลเซียมออกไซด
คําตอบ 2 : เฟอรริกคลอไรด
คําตอบ 3 : เฟอรรัสซัลเฟต
คําตอบ 4 : โซเดียมไฮดรอกไซด
50 of 116
ขอที่ : 185
กระบวนใดตอไปนี้ จัดวาเปน Chemical Unit Processes
คําตอบ 1 : การแลกเปลี่ยนไอออน
คําตอบ 2 : การฆาเชื้อโรคและการเติมฟลูออไรด
คําตอบ 3 : การปรับพีเอชของน้ํา
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

่ า ย

ขอที่ : 186


การกําจัดโลหะออกจากน้ําเสียโรงงานชุบโลหะ นิยมใชวิธีใด

จ ำ
คําตอบ 1 : Chlorination


คําตอบ 2 : Filtration

า้
คําตอบ 3 : Chemical precipitation

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : Sedimentation

ิท
ขอที่ : 187


ยูนิตใดตอไปนี้ไมควรเปนสวนหนึ่งของระบบบําบัดน้ําเสียโรงงานแปงมันสําปะหลัง

ว น
คําตอบ 1 : Anaerobic pond


คําตอบ 2 : pH adjustment


คําตอบ 3 : Facultative pond


คําตอบ 4 : Ion exchange

กร ข

ขอที่ : 188



สารใดตอไปนี้สามารถแยกออกจากน้ําโดยกระบวนการแลกเปลี่ยนอิออน

าว
คําตอบ 1 : ไฮโดรเจนอิออน


คําตอบ 2 : ไฮดรอกไซดอิออน


คําตอบ 3 : แคลเซียมอิออน
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 189

51 of 116
คําตอบ 1 : ความเขมขนกอนการทดลอง
คําตอบ 2 : ความเขมขนใดๆ ระหวางการทดลอง
คําตอบ 3 : ความเขมขนที่เหลือสุดทาย
คําตอบ 4 : ความเขมขนที่ถูกกําจัดออก

ขอที่ : 190

่ า ย
ในการเติมสารสมนั้น ฟลอคสารสมที่เกิดขึ้นนั้นคืออะไร

คําตอบ 1 :

หน
จ ำ
คําตอบ 2 :

า้ ม
คําตอบ 3 :
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 4 :

ง ว น
อ ส

ขอที่ : 191

กร
สารใดตอไปนี้ไมใชสารเคมีที่ใชในการปรับพีเอช


คําตอบ 1 : Calcium oxide



คําตอบ 2 : Sodium hydroxide

าว
คําตอบ 3 : Sodium sulfide


คําตอบ 4 : Sulfuric acid

ขอที่ : 192

วัตถุประสงคของกระบวนการ Disinfection คือขอใด
คําตอบ 1 : การทําลายจุลินทรียทุกชนิด
คําตอบ 2 : การทําลายเชื้อโรค
คําตอบ 3 : การทําลายแบคทีเรีย
52 of 116
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก
ขอที่ : 193
การฆาเชื้อโรควิธีใดที่ทําใหมีสารตกคางสําหรับฆาเชื้อโรค
คําตอบ 1 : UV
คําตอบ 2 : Chlorine
คําตอบ 3 : Ozone


คําตอบ 4 : UV และ Ozone

น่ า

ขอที่ : 194


กระบวนการ Adsorption นั้น เกิดขึ้นไดดีในวัสดุใด
คําตอบ 1 : พลาสติก

มจ
า้
คําตอบ 2 : น้ํา

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : ถาน
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 195

ส ิท
ว น
ขอใดไมใชวิธีการที่ทําใหตะกอนมีความเสถียรไมเหม็น


คําตอบ 1 : Disinfection


คําตอบ 2 : Lime addition


คําตอบ 3 : Aerobic digestion
คําตอบ 4 : Composting

กร ข
ขอที่ : 196


ิ ว
าว
โมเลกุลใดของสารใดที่ไมสามารถกําจัดโดยวิธี Gas stripping


คําตอบ 1 : โซเดียมคลอไรด


คําตอบ 2 : คารบอนไดออกไซด
คําตอบ 3 : ไฮโดรเจนซัลไฟด
คําตอบ 4 : แอมโมเนีย

ขอที่ : 197
จงคํานวณขนาดของระบบไรอากาศที่รับน้ําเสียวันละ 300 ลูกบาศกเมตรตอวัน บีโอดีน้ําเสีย 3,000 มิลลิกรัมตอลิตร และกําหนดใหอัตราภาระสารอินทรีย (Organic loading rate)
เทากับ 3 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตรตอวัน 53 of 116

คําตอบ 1 : 220 ลูกบาศกเมตร


คําตอบ 2 : 250 ลูกบาศกเมตร
คําตอบ 3 : 280 ลูกบาศกเมตร
คําตอบ 4 : 300 ลูกบาศกเมตร

ขอที่ : 198
ขอใดตอไปนี้ไมใชสาเหตุสําคัญในการปรับคาพีเอช ในกระบวนการผลิตน้ําประปาและการบําบัดน้ําเสีย
คําตอบ 1 : ทําใหกระบวนการโคแอกกูเลชัน-ฟลอคคูเลชันทํางานอยางมีประสิทธิภาพ

่ า ย

คําตอบ 2 : ปองกันการกัดกรอนหรือตกผลึกในระบบ


คําตอบ 3 : ปรับสีของน้ําในระบบใหนาดูยิ่งขึ้น

จ ำ
คําตอบ 4 : ทําใหแบคทีเรียในระบบบําบัดน้ําเสียเจริญเติบโตไดดี

ขอที่ : 199

า้ ม
ิธ์ ห
ขอใดตอไปนี้ไมจัดวาเปนพารามิเตอรในการคํานวณความเปนดางทั้งหมด (Alkalinity)
คําตอบ 1 : คารบอนไดออกไซด

ิท
คําตอบ 2 : คารบอเนต


คําตอบ 3 : ไฮดรอกไซดอิออน

ว น
คําตอบ 4 : ไบคารบอเนต

ส ง

ขอที่ : 200


ขอใดตอไปนี้เปนสาเหตุสําคัญในการกําจัดเหล็กและแมงกานีสในระบบผลิตน้ําประปา

กร
คําตอบ 1 : สามารถกอใหเกิดปญหาการอุดตันของทอสงน้ํา


คําตอบ 2 : ทําใหน้ํามีลักษณะไมนาดื่มนาใช (น้ําขุน มีสี และมีกลิ่น)



คําตอบ 3 : เกิดปญหาคราบสนิมที่เครื่องสุขภัณฑตาง

าว
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 201

ส ภ
วิธีใดตอไปนี้ไมสามารถนํามาใชในการกําจัดความกระดางของน้ํา
คําตอบ 1 : การแลกเปลี่ยนไอออน (Ion exchange)
คําตอบ 2 : การตกผลึกดวยสารเคมีประเภทปูนขาว โซดาแอช หรือโซดาไฟ
คําตอบ 3 : การเติมคลอรีน
คําตอบ 4 : กระบวนการโคแอกกูเลชัน-ฟลอคคูเลชัน
54 of 116
ขอที่ : 202
ขอใดตอไปนี้กลาวไดถูกตองเกี่ยวกับคาความเปนกรด (Acidity)
คําตอบ 1 : เปนความสามารถทําใหดางเปนกลาง
คําตอบ 2 : ความเปนกรดไมขึ้นกับอุณหภูมิเหมือนคาความเปนดาง
คําตอบ 3 : น้ําใดๆ ที่มีคาพีเอชต่ํากวา 8.3 ถือวามีคาความเปนกรดเสมอ
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

่ า ย

ขอที่ : 203


ขอใดตอไปนี้ไมถูกตองเกี่ยวกับเทคนิคการปรับคาพีเอชของน้ํา

จ ำ
คําตอบ 1 : ควรใชสารที่มีราคาถูกและหาไดงาย

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 :

ิท
คําตอบ 3 : ควรคํานึงถึงความเปนพิษตอผูใชงาน

นส
คําตอบ 4 :

ง ว
อ ส
กร ข

ขอที่ : 204



ขอใดตอไปนี้ไมถูกตองเกี่ยวกับกระบวนการแลกเปลี่ยนไอออน (Ion exchange)

าว
คําตอบ 1 : สารเรซินที่ใชสวนใหญพัฒนามาจากสารอินทรียโพลีเมอร


คําตอบ 2 : ใชในการกําจัดไอออนตางๆ ออกจากน้ําได


คําตอบ 3 : กําจัดสิ่งสกปรกขนาดใหญๆ ที่ไมละลายน้ําไดเปนอยางดี
คําตอบ 4 : สารเรซินสามารถฟนสภาพและนํากลับมาใชใหมได

ขอที่ : 205
ขอใดตอไปนี้ไมเปนคุณสมบัติทั่วไปในการผลิตเรซินเพื่อใชในการแลกเปลี่ยนไอออน
คําตอบ 1 : ตองมีไอออนอิสระที่สามารถใชแลกเปลี่ยนกับไอออนในน้ําได
55 of 116
คําตอบ 2 : ตองไมละลายน้ํา
คําตอบ 3 : ตองมีขนาดเรซินใหญมาก ๆ
คําตอบ 4 : ตองมีชองวางในโครงสรางไฮโดรคารบอนอยางพอเพียง

ขอที่ : 206
ขอใดตอไปนี้เปนสารที่นิยมใชในกระบวนการฆาเชื้อโรคดวยคลอรีน (Chlorination)
คําตอบ 1 : กาซคลอรีน
คําตอบ 2 : สารประกอบไฮโปคลอไรต

่ า ย

คําตอบ 3 : คลอรีนไดออกไซด


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

จ ำ

ขอที่ : 207
ขอใดตอไปนี้ไมเปนสวนประกอบที่สําคัญของโครงสรางเรซินที่ใชในการแลกเปลี่ยนไอออน

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : สารประกอบไฮโดรคารบอนจํานวนมากชนิดเดียวกันที่ตอกันเปนเสนยาว
คําตอบ 2 : ตัวประสาน (สวนใหญจะเปนไฮโดรคารบอน) เพื่อทําใหเกิดเปนรูปรางเรซินแบบ 3 มิติ

ิท
คําตอบ 3 : หมูไอออน (Functional group) ของเรซิน


คําตอบ 4 : น้ํากลั่น

ง ว น

ขอที่ : 208

ขอ
ว กร
าว ศ


คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

56 of 116
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :

่ า ย
ขอที่ : 209

หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :

ส ิท

คําตอบ 2 :

ง ว

คําตอบ 3 :

ขอ
กร
คําตอบ 4 :


ิ ว
ขอที่ : 210

ภ าว

57 of 116

จากรูปแบบการแลกเปลี่ยนไอออนของเรซินดังแสดงในรูปดานลาง ทานคิดวาจะเปนการทํางานของระบบเรซินแบบใด
่ า ย
หน

คําตอบ 1 : กรดแก


คําตอบ 2 : กรดออน
คําตอบ 3 : ดางแก

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ดางออน

ิท
ขอที่ : 211


ขอใดตอไปนี้ไมถูกตองเกี่ยวกับการฆาเชื้อโรคในน้ําดวยการใชคลอรีน


คําตอบ 1 : สภาพพีเอชต่ํา ทําใหประสิทธิภาพในการฆาเชื้อโรคสูงขึ้นและสิ้นเปลืองคลอรีนนอยลง

ง ว
คําตอบ 2 : การใชคลอรีนรวม (Combined chlorine) ทําใหสามารถใชเวลาสัมผัสต่ํากวาการใชคลอรีนอิสระ (Free available chlorine)


คําตอบ 3 : ความตองการคลอรีนในระบบทั่วไปจะตองคํานึงถึงปริมาณคลอรีนที่ตองการใหตกคางเพื่อสํารองไวฆาเชื้อโรค


คําตอบ 4 : ความขุนของน้ําอาจเปนเกราะกําบังใหกับเชื้อโรคหรือจุลินทรีย สงผลใหคลอรีนไมสามารถเขาไปสัมผัสและฆาเชื้อโรคได

ขอที่ : 212

กร ข

ิ ว
ภ าว

58 of 116
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 1 : น้ําประปา น้ําที่มีแอมโมเนียและสารอื่น ๆ น้ําบริสุทธิ์


คําตอบ 2 : น้ําบริสุทธิ์ น้ําประปา น้ําที่มีแอมโมเนียและสารอื่น ๆ

ว น
คําตอบ 3 : น้ําบริสุทธิ์ น้ําที่มีแอมโมเนียและสารอื่น ๆ น้ําประปา


คําตอบ 4 : น้ําที่มีแอมโมเนียและสารอื่นๆ น้ําบริสุทธิ์ น้ําประปา

อ ส

ขอที่ : 213

ว กร
าว ศ

ส ภ
59 of 116
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ว น
คําตอบ 1 :

ส ง
ขอ
คําตอบ 2 :

วกร


คําตอบ 3 :

ภ าว

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 214

60 of 116
คําตอบ 1 : 20 กรัม/ชั่วโมง-ลิตร


คําตอบ 2 : 40 กรัม/ชั่วโมง-ลิตร

่ า
คําตอบ 3 : 60 กรัม/ชั่วโมง-ลิตร


คําตอบ 4 : 80 กรัม/ชั่วโมง-ลิตร

ขอที่ : 215

จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

61 of 116

ขอใดคือ คา Reaction order และคาคงที่ของปฏิกิริยา k ที่สอดคลองกับคาผลการทดลอง


่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
1 และ 0.011575 1/ชม.
0 และ 0.00069 มก/ล-ชม
1 และ 0.021550 1/ชม.
คําตอบ 4 : 2 และ 0.011750 ล/มก.-ชม.

ขอที่ : 216 62 of 116

จากการศึกษาคุณสมบัติของน้ําดิบพบวามีลักษณะดังตอไปนี้ (หนวย มก/ล หินปูน)


่ า ย

คําตอบ 1 : 500 และ 350 มก/ล หินปูน


คําตอบ 2 : 350 และ 350 มก/ล หินปูน


คําตอบ 3 : 500 และ 300 มก/ล หินปูน


คําตอบ 4 : 350 และ 500 มก/ล หินปูน

า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 217
การใชสารสมในอัตรา 50 มิลลิกรัมตอลิตรสําหรับระบบบําบัดที่มีอัตราไหลน้ําเสีย 200 ลูกบาศกเมตรตอวันนั้น จะมีตะกอนเคมีเกิดขึ้นวันละกี่กิโลกรัม (มวลโมเลกุลสารสมเทากับ 666
และมวลโมเลกุลตะกอนอะลูมิเนียมไฮดรอกไซดเทากับ 78 และกําหนดใหสารสมตกตะกอนทั้งหมด)
คําตอบ 1 : 1.17 กิโลกรัม

ส ิท

คําตอบ 2 : 2.34 กิโลกรัม


คําตอบ 3 : 3.51 กิโลกรัม
คําตอบ 4 : 4.68 กิโลกรัม

ส ง
ขอ
กร
ขอที่ : 218
ในการกําจัดความกระดางดวยวิธีการตกตะกอนทางเคมี (Chemical coagulation) แคลเซียมไอออนในน้ําจะถูกกําจัดดวยการตกตะกอนใหอยูในรูปสารประกอบใด


คําตอบ 1 : แคลเซียมคารบอเนต
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :

าว ศ

แคลเซียมไฮดรอกไซค
แคลเซียมฟอสเฟต


คําตอบ 4 : มีคําตอบที่ถูกมากกวา 1 ขอ

ขอที่ : 219 ส
ในการกําจัดความกระดางดวยวิธีตกตะกอนทางเคมี (Chemical coagulation) แมกนีเซียมไอออนในน้ําจะถูกกําจัดโดยการตกตะกอนในรูปสารประกอบใด
คําตอบ 1 : แมกนีเซียมคารบอเนต
คําตอบ 2 : แมกนีเซียมไฮดรอกไซค
คําตอบ 3 : แมกนีเซียมฟอสเฟต 63 of 116
คําตอบ 4 : มีคําตอบที่ถูกมากกวา 1 ขอ
ขอที่ : 220
สําหรับการกําจัดความกระดางของน้ําดวยกระบวนการ Excess lime-soda นั้น การทําลายความเปนดางของน้ําเกิดขึ้นในขั้นตอนใด
คําตอบ 1 : First stage treatment (Lime addition)
คําตอบ 2 : First stage recarbonation
คําตอบ 3 : Second stage treatment (Soda addition)


คําตอบ 4 : Second stage recarbonation

น่ า

ขอที่ : 221


คลอรามีนเกิดจากการรวมตัวในน้ําระหวางคลอรีนและสารใดตอไปนี้
คําตอบ 1 : ไฮโดรเจนซัลไฟด

มจ
า้
คําตอบ 2 : แอมโมเนีย

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : ไฮโปรคลอรัส
คําตอบ 4 : ฟลูออรีน

ขอที่ : 222

ส ิท
ว น
หากผลการวิเคราะหคุณสมบัติทางเคมีของน้ําตัวอยางหนึ่งพบวา คาความเปนดางทั้งหมด (Total alkalinity) มากกวาคาความกระดางทั้งหมด (Total hardness) โดยคาทั้ง 2 คามี


หนวยเปน มก./ล. ของหินปูน ขอใดตอไปนี้สรุปถูกตอง


คําตอบ 1 : ความกระดางของน้ํานี้สามารถกําจัดไดดวยวิธีการตม


คําตอบ 2 : ควรจะพบไอออนประจุบวกอื่น ๆ นอกจากประจุบวก 2 ในน้ําตัวอยางนี้

กร ข
คําตอบ 3 : NCH (Non Carbonate Hardness) = 0 มก./ล. หินปูน
คําตอบ 4 : มีคําตอบที่ถูกมากกวา 1 ขอ


ิ ว
าว
ขอที่ : 223

ส ภ
64 of 116
การทดลองในหองปฏิบัติการเพื่อหา Breakpoint chlorination ของน้ําตัวอยางหนึ่งไดผลการทดลองดังกราฟความสัมพันธดังรูป ความตองการคลอรีนของน้ําตัวอยางนี้ (Chlorine
demand) มีคาประมาณเทาไรในหนวยมิลลิกรัม/ลิตร
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 : 1
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 2 : 3


คําตอบ 3 : 5

ว น
คําตอบ 4 : 7

ส ง

ขอที่ : 224

กร ข

ิ ว
ภ าว

65 of 116
การทดลองในหองปฏิบัติการเพื่อหา Breakpoint chlorination ของน้ําตัวอยางหนึ่งไดผลการทดลองดังกราฟความสัมพันธดังรูป ความเขมขนของคลอรีนในหนวยมิลลิกรัมตอลิตรที่
ใชในการออกซิไดซสารประกอบที่พบอยูแลวในน้ํานอกเหนือจากแอมโมเนีย มีคาประมาณเทาใดในหนวยมิลลิกรัมตอลิตร
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 : 1
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 2 : 3


คําตอบ 3 : 5

ว น
คําตอบ 4 : 6

ส ง

ขอที่ : 225

กร ข

ิ ว
ภ าว

66 of 116
การทดลองในหองปฏิบัติการเพื่อหา Breakpoint chlorination ของน้ําตัวอยางหนึ่งไดผลการทดลองดังกราฟความสัมพันธดังรูป หากเราเติมคลอรีน (Chlorine added) ลงไปในน้ํา
ตัวอยางนี้เทากับ 6 มิลลิกรัมตอลิตร เมื่อปฏิกิริยาสิ้นสุดเราจะพบความเขมขนของคลอรีนอิสระมีคาประมาณเทาใดในหนวยมิลลิกรัมตอลิตร
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 : 0
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 2 : 0.6


คําตอบ 3 : 1.1

ว น
คําตอบ 4 : 2

ส ง

ขอที่ : 226

กร ข

ิ ว
ภ าว

67 of 116
การทดลองในหองปฏิบัติการเพื่อหา Breakpoint chlorination ของน้ําตัวอยางหนึ่งไดผลการทดลองดังกราฟความสัมพันธดังรูป หากเราเติมคลอรีน (Chlorine added) ลงไปในน้ํา
ตัวอยางนี้เทากับ 6 มิลลิกรัมตอลิตร เมื่อปฏิกิริยาสิ้นสุดเราจะพบความเขมขนของ Combined chlorine มีคาประมาณเทาใดในหนวยมิลลิกรัมตอลิตร
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 : 0
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 2 : 0.5


คําตอบ 3 : 1.1

ว น
คําตอบ 4 : ไมมีคําตอบที่ถูกตอง

ส ง

ขอที่ : 227

กร ข

ิ ว
ภ าว

68 of 116
การทดลองในหองปฏิบัติการเพื่อหา Breakpoint chlorination ของน้ําตัวอยางหนึ่งไดผลการทดลองดังกราฟความสัมพันธดังรูป หากเราเติมคลอรีน (Chlorine added) ลงไปในน้ํา
ตัวอยางนี้เทากับ 8 มิลลิกรัมตอลิตร เมื่อปฏิกิริยาสิ้นสุดเราจะพบความเขมขนของคลอรีนอิสระมีคาประมาณเทาใดในหนวยมิลลิกรัมตอลิตร
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 : 0.5
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 2 : 1


คําตอบ 3 : 2

ว น
คําตอบ 4 : 2.5

ส ง

ขอที่ : 228

กร ข

ิ ว
ภ าว

69 of 116
การทดลองในหองปฏิบัติการเพื่อหา Breakpoint chlorination ของน้ําตัวอยางหนึ่งไดผลการทดลองดังกราฟความสัมพันธดังรูป ที่จุด Breakpoint chlorination คา Chlorine
added มีคาประมาณคาใดตอไปนี้ในหนวยมิลลิกรัมตอลิตร
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 : 1
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 2 : 3


คําตอบ 3 : 5

ว น
คําตอบ 4 : ไมมีคําตอบใดถูกตอง

ส ง

ขอที่ : 229

กร ข

ิ ว
ภ าว

70 of 116
การทดลองในหองปฏิบัติการเพื่อหา Breakpoint chlorination ของน้ําตัวอยางหนึ่งไดผลการทดลองดังกราฟความสัมพันธดังรูป คลอรามีนจะเริ่มเกิดขึ้นอยางชัดเจนเมื่อความเขม
ขนคลอรีนที่เติมลงไปมีคาประมาณเทาใดในหนวยมิลลิกรัมตอลิตร
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 : 0
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 2 : 1


คําตอบ 3 : 3

ว น
คําตอบ 4 : 5

ส ง

ขอที่ : 230

กร ข

ิ ว
ภ าว

71 of 116
การทดลองในหองปฏิบัติการเพื่อหา Breakpoint chlorination ของน้ําตัวอยางหนึ่งไดผลการทดลองดังกราฟความสัมพันธดังรูป ชวงความเขมขนของคลอรีนที่เติมในชวงใดตอไปนี้
ที่สารประกอบระหวางคลอรีนและแอมโมเนียถูกทําลาย
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 : 0 - 1 มิลลิกรัมตอลิตร
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 2 : 1 - 3 มิลลิกรัมตอลิตร


คําตอบ 3 : 3 - 5 มิลลิกรัมตอลิตร

ว น
คําตอบ 4 : 5 - 7 มิลลิกรัมตอลิตร

ส ง

ขอที่ : 231

กร ข

ิ ว
ภ าว

72 of 116
การทดลองในหองปฏิบัติการเพื่อหา Breakpoint chlorination ของน้ําตัวอยางหนึ่งไดผลการทดลองดังกราฟความสัมพันธดังรูป ชวงความเขมขนของคลอรีนที่เติมในประมาณชวง
ใดตอไปนี้ที่คลอรีนที่เติมเพิ่มเขาไปจะอยูในรูปของคลอรีนอิสระทั้งหมด
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 : นอยกวา 1 มิลลิกรัมตอลิตร
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 2 : ระหวาง 1 - 3 มิลลิกรัมตอลิตร


คําตอบ 3 : ระหวาง 3 - 5 มิลลิกรัมตอลิตร

ว น
คําตอบ 4 : มากกวา 5 มิลลิกรัมตอลิตร

ส ง

ขอที่ : 232

กร ข

ิ ว
ภ าว

73 of 116
การทดลองในหองปฏิบัติการเพื่อหา Breakpoint chlorination ของน้ําตัวอยางหนึ่งไดผลการทดลองดังกราฟความสัมพันธดังรูป ความเขมขนของสารประกอบระหวางคลอรีนและ
แอมโมเนียที่มากที่สุดที่เปนไปไดสําหรับน้ําตัวอยางนี้ มีคาประมาณเทาใดในหนวยมิลลิกรัมตอลิตร
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 : 0.7
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 2 : 1.5


คําตอบ 3 : 2.1

ว น
คําตอบ 4 : ไมสามารถหาคาได เพราะขอมูลไมเพียงพอ

ส ง

ขอที่ : 233


ในการกําจัดความกระดางในน้ําที่มีแตแคลเซี่ยมไอออน และ Carbonate hardness โดยใชวิธีการตกตะกอนทางเคมี (Chemical coagulation) ควรเติมสารเคมีแบบใดตอไปนี้

กร
คําตอบ 1 : Lime


คําตอบ 2 : Lime + Excess Lime



คําตอบ 3 : Lime + Soda Ash

าว
คําตอบ 4 : Excess Lime + Soda Ash

ขอที่ : 234

ส ภ
74 of 116
การทดลองในหองปฏิบัติการเพื่อหา Breakpoint chlorination ของน้ําตัวอยางหนึ่งไดผลการทดลองดังกราฟความสัมพันธดังรูป หากเราจะนําน้ําจากแหลงตัวอยางนี้มาทําน้ําประปา
โดยกําหนดใหน้ําประปามีความเขมขนของคลอรีนอิสระเทากับ 0.6 มิลลิกรัมตอลิตร เราจะตองเติมคลอรีนทั้งหมดประมาณขอใดตอไปนี้ในหนวยมิลลิกรัมตอลิตร
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 : 1.9
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 2 : 5


คําตอบ 3 : 6

ว น
คําตอบ 4 : 7

ส ง

ขอที่ : 235

กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 : 75 of 116
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 236
คา yield ของจุลินทรียผสมที่อิงกับ COD ที่หมดไปได 0.8 กรัม VSS / กรัม COD จงคํานวณหาคา yield ที่อิงกับโมลอิเลคตรอนที่ถูกใชไป
คําตอบ 1 : 6.4 กรัม VSS / โมลอิเลคตรอน

่ า ย

คําตอบ 2 : 0.1 กรัม VSS / โมลอิเลคตรอน


คําตอบ 3 : 0.2 กรัม VSS / โมลอิเลคตรอน
คําตอบ 4 : 3.2 กรัม VSS / โมลอิเลคตรอน

จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 237

ส ิท
ง ว น
อ ส
คําตอบ 1 : S = 70 mg / l

กร ข

คําตอบ 2 : S = 60 mg/l



คําตอบ 3 : S = 50 mg/l

าว
คําตอบ 4 : S = 40 mg/l

ขอที่ : 238

ส ภ
มวลของสารแขวนลอยที่เขาระบบ Activated sludge ขอใด ที่มีผลใหประสิทธิภาพการบําบัดสารอินทรียดีขึ้น
คําตอบ 1 : มวลสารแขวนลอยที่เปนสารอินทรีย
คําตอบ 2 : มวลสารแขวนลอยเฉื่อย
คําตอบ 3 : มวลสารแขวนลอยที่เปนจุลินทรีย
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก
76 of 116
ขอที่ : 239
กระบวนการ Activated sludge จัดเปน
คําตอบ 1 : Anaerobic suspended growth process
คําตอบ 2 : Anaerobic attached growth process
คําตอบ 3 : Aerobic attached growth process
คําตอบ 4 : Aerobic suspended growth process

่ า ย

ขอที่ : 240


จุลินทรียที่บําบัดสารอินทรียคารบอนในระบบ Trickling filter คือขอใด

จ ำ
คําตอบ 1 : Aerobic heterotrophs


คําตอบ 2 : Anaerobic heterotrophs

า้
คําตอบ 3 : Aerobic autotrophs

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : Anaerobic autotrophs

ิท
ขอที่ : 241


กระบวนการใดจัดเปน Attached growth

ว น
คําตอบ 1 : Stabilization pond


คําตอบ 2 : Anaerobic filter


คําตอบ 3 : Anaerobic digester


คําตอบ 4 : Aerated lagoon

กร ข

ขอที่ : 242



ความเขมขน MLSS จากถังเติมอากาศของ Activated sludge เทากับ 3,000 มก. /ล. วัด SV30 ได 750 มิลลิลิตร คา SVI เทากับ

าว
คําตอบ 1 : 250 ml/g


คําตอบ 2 : 250 ml/mg


คําตอบ 3 : 250 l/g
คําตอบ 4 : 250 l /mg

ขอที่ : 243
ความเขมขน MLSS จากถังเติมอากาศของ Activated sludge เทากับ 3,000 มก. /ล. วัด SV30 ได 750 มิลลิลิตร คา Solid density index (SDI) เทากับ
คําตอบ 1 : 8,000 mg /l
77 of 116
คําตอบ 2 : 6,000 mg/l
คําตอบ 3 : 4,000 mg/l
คําตอบ 4 : 3,000 mg/l

ขอที่ : 244
ระบบ Activated sludge ที่มีถังปฏิกรณเปนแบบ Plug flow มีขนาดถังเติมอากาศ 40 ลบ.ม. รับน้ําเสีย 120 ลบ.ม./วัน มีคา recycle ratio เทากับ 1.0 จะมีคา HRT เทากับ
คําตอบ 1 : 3 ชั่วโมง
คําตอบ 2 : 4 ชั่วโมง

่ า ย

คําตอบ 3 : 6 ชั่วโมง


คําตอบ 4 : 8 ชั่วโมง

จ ำ

ขอที่ : 245

า้
ระบบ Activated sludge ที่มีถังปฏิกรณเปนแบบ completely mixed ขนาดถังเติมอากาศ 40 ลบ.ม. รับน้ําเสีย 120 ลบ.ม./วัน มีคา recycle ratio เทากับ 2.0 จะมีคา HRT เทากับ

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 3 ชั่วโมง
คําตอบ 2 : 4 ชั่วโมง

ิท
คําตอบ 3 : 6 ชั่วโมง


คําตอบ 4 : 8 ชั่วโมง

ขอที่ : 246

ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 : 24 ลบ.ม.
คําตอบ 2 : 120 ลบ.ม.


คําตอบ 3 : 60 ลบ.ม.

ขอที่ : 247

คําตอบ 4 : 600 ลบ.ม.

78 of 116
คําตอบ 1 : 3,000 มก./ล.


คําตอบ 2 : 4,000 มก./ล.
คําตอบ 3 : 5,000 มก./ล.

น่ า

คําตอบ 4 : 6,000 มก./ล.

จ ำ

ขอที่ : 248

า้
ระบบ Activated sludge ที่เติมน้ําเสียเปนชวงตลอดแนวถัง คือ

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : Step feed
คําตอบ 2 : Tapered aeration

ิท
คําตอบ 3 : Modified aeration


คําตอบ 4 : Extended aeration

ขอที่ : 249

ง ว น

ระบบ Activated sludge ที่มีคา F/M ratio ต่ํา
คําตอบ 1 : Step aeration

ขอ
กร
คําตอบ 2 : Tapered aeration


คําตอบ 3 : Modified aeration



คําตอบ 4 : Extended aeration

ขอที่ : 250

ภ าว

เมื่อเปรียบเทียบระบบ Activated sludge กับ Aerated lagoon ในการบําบัดน้ําเสียชนิดเดียวกัน และไดประสิทธิภาพการบําบัด BOD ละลายเทากัน ขอใดผิด
คําตอบ 1 : มวลเซลลในถังเติมอากาศเทากัน
คําตอบ 2 : อายุ Sludge เทากัน
คําตอบ 3 : HRT เทากัน
คําตอบ 4 : คาคงที่จลนศาสตรเทากัน

79 of 116
ขอที่ : 251
กระบวนการ Activated sludge 2 กระบวนการไดแก A และ B รับน้ําเสียชนิดเดียวกันในอัตราเทากัน ใหประสิทธิภาพการบําบัดใกลเคียงกัน อัตราความตองการออกซิเจนทางทฤษฎี
จะเทากันเมื่อ
คําตอบ 1 : ขนาดถังเติมอากาศเทากัน
คําตอบ 2 : ควบคุมอายุสลัดจเทากัน
คําตอบ 3 : ความเขมขนจุลินทรียในถังเติมอากาศเทากัน
คําตอบ 4 : อัตราการเวียนกลับสลัดจเทากัน

่ า ย

ขอที่ : 252


Fresh sludge ที่ปอนเขา Anaerobic digestion 1,000 kg/day มี dry solids 5% ใน dry solids มี VSS 70% คา % dry solids ใน digested sludge เทากับเทาใด


คําตอบ 1 : เทากับ 5%

มจ
คําตอบ 2 : มากกวา 5%

า้
คําตอบ 3 : นอยกวา 5%

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : นอยหรือมากกวาขึ้นกับเปอรเซ็นตการยอยสลายของ VSS

ิท
ขอที่ : 253


กระบวนการใดไมไดลดไนโตรเจนในน้ํา


คําตอบ 1 : Assimilation for cell synthesis
คําตอบ 2 : Amnamox

ง ว

คําตอบ 3 : Denitrification


คําตอบ 4 : Nitrification

ขอที่ : 254

กร ข

ิ ว
การอธิบายอัตราการตายของจุลินทรียดวยแบบจําลองที่ใชหลักการของ first order โดยใหสอดคลองกับขอใดตอไปนี้

าว
คําตอบ 1 : จํานวนเซลลที่ตาย


คําตอบ 2 : จํานวนเซลลที่มีชีวิตเหลืออยู


คําตอบ 3 : จํานวนเซลลที่สลายตัว
คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

ขอที่ : 255
ในวัฎจักรของคารบอนและออกซิเจน กระบวนการใดเกิดสวนทางกัน
คําตอบ 1 : photosynthesis / respiration
80 of 116
คําตอบ 2 : photosynthesis / combustion
คําตอบ 3 : respiration / combustion
คําตอบ 4 : มีขอที่ถูกมากกวา 1 ขอ

ขอที่ : 256
predator หลักที่พบในระบบ Activated sludge คือ
คําตอบ 1 : Protozoa
คําตอบ 2 : Bacteria
คําตอบ 3 : Fungi

่ า ย

คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

ขอที่ : 257

จ ำ ห

จุลชีพกลุมใดพบในระบบ Activated sludge

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : Floc-forming organism / Nuisance organism
คําตอบ 2 : Saprophytes / Nuisance organism
คําตอบ 3 : Nuisance organism / Predator

ิท
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

นส

ขอที่ : 258


จํานวนของ Adenosine Triphosphate (ATP) ที่เกิดในระหวางกระบวนการสรางมีเทน (methanogenesis) เปนอยางไร
คําตอบ 1 : สูง

อ ส

คําตอบ 2 : กลาง

กร
คําตอบ 3 : ต่ํา


คําตอบ 4 : ไมเกิด

ขอที่ : 259

าว ศ


ในระบบ Activated sludge การวัดคาออกซิเจนละลายน้ําเปนสิ่งจําเปน แตผูควบคุมระบบอาจสังเกตไดจากคาใดตอไปนี้แทนการวัดคาดีโอ


คําตอบ 1 : สีของตะกอน
คําตอบ 2 : กลิ่น
คําตอบ 3 : พีเอช
คําตอบ 4 : มีขอถูกมากกวา 1 ขอ

ขอที่ : 260 81 of 116

ถังเติมอากาศของระบบ Activated sludge ขนาด 500 ลบ.ม. มีอัตราการไหลเขาของน้ําเสีย 1,200 ลบ.ม./วัน ความเขมขนของ BOD 300 มก./ล. และมีความเขมขนตะกอน
จุลินทรียในถังเติมอากาศ (MLSS) เทากับ 4,000 มก./ล. จะคํานวณคาอัตราสวนอาหารตอจุลินทรียไดเปนเทาใด
คําตอบ 1 : 0.144 1/วัน
คําตอบ 2 : 0.180 1/วัน
คําตอบ 3 : 0.225 1/วัน
คําตอบ 4 : 0.148 1/วัน

่ า ย
ขอที่ : 261


ความสัมพันธระหวางคา MLVSS กับคา F/M คือ


คําตอบ 1 : แปรผันตามกัน

จ ำ
คําตอบ 2 : แปรผกผัน


คําตอบ 3 : s-curve

า้
คําตอบ 4 : normal curve

ขอที่ : 262
ิธ์ ห
ิท
การบําบัดน้ําเสียทางชีวภาพดวยกระบวนการ Activated Sludge ประกอบดวยสวนสําคัญอยางนอย 2 สวน คืออะไร


คําตอบ 1 : ถังเติมอากาศ และถังตกตะกอน

ว น
คําตอบ 2 : ถังปรับสมดุล และถังเติมอากาศ


คําตอบ 3 : ถังเติมอากาศ และถังยอยตะกอน


คําตอบ 4 : ถังกวนเร็ว และถังกวนชา

ขอ
กร
ขอที่ : 263


ขอใดเปนระบบบําบัดน้ําเสียทางชีวภาพแบบไรอากาศ



คําตอบ 1 : ระบบแผนหมุนชีวภาพ

าว
คําตอบ 2 : ระบบ UASB


คําตอบ 3 : ระบบ SBR


คําตอบ 4 : ระบบคูวนเวียน

ขอที่ : 264
ขอใดอธิบายกระบวนการ Acidogenesis
คําตอบ 1 : แบคทีเรียนํากรดไขมันระเหยงายไปผลิตเปนกรดอะเซติกและกรดฟอรมิก
คําตอบ 2 : แบคทีเรียนํากรดอะเซติกและกรดฟอรมิกไปผลิตเปนมีเทน
82 of 116
คําตอบ 3 : แบคทีเรียนําสารอินทรียไปผลิตเปนกรดประเภทกรดไขมันระเหยงาย
คําตอบ 4 : แบคทีเรียขับเอนไซมออกมาเรงปฏิกิริยาเปลี่ยนสารอินทรียที่ซับซอนเปนสารอินทรียโมเลกุลเล็ก

ขอที่ : 265
ขอใดไมใชลักษณะของบอแฟคัลเททีฟ
คําตอบ 1 : เปนบอปรับเสถียรที่มีความลึกประมาณ 1-2 เมตร
คําตอบ 2 : ไมมีการหมุนเวียนตะกอน
คําตอบ 3 : น้ําสวนบนของบอมีสภาพแอโรบิก สวนน้ําสวนลางของบอมีสภาพแอนแอโรบิก

่ า ย

คําตอบ 4 : ใชเพื่อการปรับสภาพน้ําและกําจัดเชื้อโรคกอนปลอยน้ําลงสูแหลงน้ํา

ขอที่ : 266

จ ำ ห

ขอใดถูกตองเกี่ยวกับการเติบโตของแบคทีเรียในชวง Endogenous Growth Phase

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ระยะที่แบคทีเรียตองใชอาหารภายในเซลลเพื่อดํารงชีพ
คําตอบ 2 : ระยะที่แบคทีเรียกําลังแบงตัวอยางรวดเร็ว
คําตอบ 3 : ระยะที่แบคทีเรียมีอัตราการตายสูงกวาและอัตราการเจริญ

ิท
คําตอบ 4 : ระยะที่แบคทีเรียมีอัตราการเจริญและอัตราการตายใกลเคียงกัน

นส

ขอที่ : 267


ขอใดถูกตองเกี่ยวกับการเติบโตของแบคทีเรียในชวง Declined Growth Phase
คําตอบ 1 :

อ ส
ระยะที่แบคทีเรียกําลังแบงตัวอยางรวดเร็ว


คําตอบ 2 : ระยะที่แบคทีเรียมีอัตราการตายสูงกวาและอัตราการเจริญ

กร
คําตอบ 3 : ระยะที่แบคทีเรียตองใชอาหารภายในเซลลเพื่อดํารงชีพ


คําตอบ 4 : ระยะที่แบคทีเรียกําลังปรับตัวใหเขากับสารอาหารที่ไดรับ

ขอที่ : 268

าว ศ


ขอใดถูกตองเกี่ยวกับการเติบโตของแบคทีเรียในชวง Stationary Phase


คําตอบ 1 : ระยะที่แบคทีเรียกําลังปรับตัวใหเขากับสารอาหารที่ไดรับ
คําตอบ 2 : ระยะที่แบคทีเรียตองใชอาหารภายในเซลลเพื่อดํารงชีพ
คําตอบ 3 : ระยะที่แบคทีเรียมีอัตราการเจริญและอัตราการตายใกลเคียงกัน
คําตอบ 4 : ระยะที่แบคทีเรียมีอัตราการตายสูงกวาและอัตราการเจริญ

ขอที่ : 269 83 of 116


ขอใดถูกตองเกี่ยวกับการเติบโตของแบคทีเรียในชวง Log Growth Phase
คําตอบ 1 : ระยะที่แบคทีเรียมีอัตราการตายสูงกวาและอัตราการเจริญ
คําตอบ 2 : ระยะที่แบคทีเรียมีอัตราการเจริญและอัตราการตายใกลเคียงกัน
คําตอบ 3 : ระยะที่แบคทีเรียกําลังปรับตัวใหเขากับสารอาหารที่ไดรับ
คําตอบ 4 : ระยะที่แบคทีเรียกําลังแบงตัวอยางรวดเร็ว

ขอที่ : 270

่ า ย
แบคทีเรียไนโตรโซโมนัส มีบทบาทอยางไรในปฏิกิริยาไนทริฟเคชั่น


คําตอบ 1 : เปลี่ยนแอมโมเนียไปเปนไนไตรท


คําตอบ 2 : เปลี่ยนแอมโมเนียไปเปนไนเตรท

จ ำ
คําตอบ 3 : เปลี่ยนไนไตรทไปเปนไนเตรท


คําตอบ 4 : เปลี่ยนไนไตรทไปเปนแกสไนโตรเจน

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 271
แบคทีเรียไนโตรแบกเทอรมีบทบาทอยางไรในปฏิกิริยาไนทริฟเคชั่น

ิท
คําตอบ 1 : เปลี่ยนแอมโมเนียไปเปนไนไตรท


คําตอบ 2 : เปลี่ยนไนไตรทไปเปนไนเตรท

ว น
คําตอบ 3 : เปลี่ยนแอมโมเนียไปเปนไนเตรท


คําตอบ 4 : เปลี่ยนไนไตรทไปเปนแกสไนโตรเจน

อ ส

ขอที่ : 272

กร
ขอใดตอไปนี้ถูกตองเกี่ยวกับระบบ Activated Sludge ที่ดัดแปลงเพื่อใหสามารถกําจัดไนโตรเจน 2 แบบ คือ ระบบแยกเชื้อและระบบเชื้อผสม


คําตอบ 1 : ทั้งสองระบบตองใชถังตกตะกอนมากกวา 1 ชุด



คําตอบ 2 : ทั้งสองระบบใชถังตกตะกอนเพียงชุดเดียว

าว
คําตอบ 3 : ระบบแยกเชื้อใชถังตกตะกอนหลายชุด แตระบบเชื้อผสมใชถังตกตะกอนเพียงชุดเดียว


คําตอบ 4 : ระบบแยกเชื้อใชถังตกตะกอนชุดเดียว แตระบบเชื้อผสมใชถังตกตะกอนหลายชุด

ขอที่ : 273

ขอใดเปนปญหาการเดินระบบบําบัดน้ําเสียแบบ Activated Sludge ที่เกิดจากปฏิกิริยาดีไนตริฟเคชั่น
คําตอบ 1 : ออกซิเจนละลายในถังตกตะกอนมีไมเพียงพอ
คําตอบ 2 : ปญหา Bulking Sludge
คําตอบ 3 : แบคทีเรียชนิดเสนใยในถังตกตะกอนเติบโตไดดีมากเกินไป
84 of 116
คําตอบ 4 : ตะกอนในถังตกตะกอนขั้นที่สองลอยขึ้น
ขอที่ : 274


คําตอบ 1 : 0.084 ตอวัน

่ า
คําตอบ 2 : 0.118 ตอวัน


คําตอบ 3 : 0.145 ตอวัน

ำ ห
คําตอบ 4 : 0.166 ตอวัน

มจ
า้
ขอที่ : 275

ิธ์ ห
ส ิท

คําตอบ 1 : 1.14 วัน

ง ว
คําตอบ 2 : 1.49 วัน


คําตอบ 3 : 2.36 วัน


คําตอบ 4 : 2.97 วัน

ขอที่ : 276

กร ข

ในแหลงน้ําบริเวณที่มีแสงแดดสองถึงจะพบการเจริญของจุลินทรียกลุมใดมากที่สุด
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :

าว ศ

nitrifying bacteria
stem bacteria

ส ภ
คําตอบ 3 : photosynthetic bacteria
คําตอบ 4 : sheathed bacteria

ขอที่ : 277
ขอใดไมใชบทบาทหลักของจุลินทรียในแหลงน้ํา
คําตอบ 1 : ยอยสลายสารอินทรียในน้ํา
คําตอบ 2 : เปนสวนหนึ่งในสายใยอาหาร 85 of 116

คําตอบ 3 : ทําใหคา DO ของน้ําลดลง


คําตอบ 4 : ทําใหคาพีเอชของน้ําเปลี่ยนแปลง

ขอที่ : 278
จุลินทรียในกลุมใดที่จัดเปนแบคทีเรียชี้แนะในการตรวจสอบคุณภาพน้ํา
คําตอบ 1 : coliform bacteria
คําตอบ 2 : nitrifying bacteria
คําตอบ 3 : sulfur bacteria

่ า ย

คําตอบ 4 : stalk bacteria

ขอที่ : 279

จ ำ ห

ขอใดไมใชคุณสมบัติของ coliform bacteria

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : gram negative bacteria
คําตอบ 2 : rod shape and non-spore forming bacteria
คําตอบ 3 : anaerobic bacteria

ิท
คําตอบ 4 : ferment glucose to acid and gas

นส

ขอที่ : 280


ขอใดกลาวผิดเกี่ยวกับ aerobic biological treatment
คําตอบ 1 : มีประสิทธิภาพในการสราง ATP

อ ส

คําตอบ 2 : มีจํานวนจุลินทรียในระบบมากจึงตองมีการกําจัดตะกอน

กร
คําตอบ 3 : operation cost สูง


คําตอบ 4 : ใชไดดีกับน้ําเสียที่มีสารอินทรียสูง (BOD>1000 มก/ล)

ขอที่ : 281

าว ศ


ระบบบําบัดที่ใชจุลชีพเกาะติดอยูบนตัวกลาง (FFB) แตกตางจากระบบที่ใชจุลชีพแขวนลอยคือ


คําตอบ 1 : ระบบ FFB มีทั้งจุลชีพที่ใชออกซิเจนและไมใชออกซิเจนอยูรวมกัน
คําตอบ 2 : ระบบ FFB จะมี cell yield สูงกวา
คําตอบ 3 : ระบบ FFB รับภาระสารอินทรียไดมากกวา
คําตอบ 4 : ระบบ FFB ตองใชพลังงานในการเดินระบบมากกวา

ขอที่ : 282 86 of 116


ในการควบคุมระบบบําบัดแบบแอ็คติเวดเต็ดสลัดจ ถากําหนดให F/M > 1 จะพบจุลชีพกลุมใดเปนกลุมเดน
คําตอบ 1 : แฟลคเจลเลตโปรโตซัว
คําตอบ 2 : ซิลิเอตโปรโตซัว
คําตอบ 3 : โรติเฟอร
คําตอบ 4 : วอติเซลลา

ขอที่ : 283

่ า ย
ปริมาณจุลชีพในระบบบําบัดน้ําเสีย สามารถวัดไดโดยการวิเคราะหหาคาใด


คําตอบ 1 : SV60


คําตอบ 2 : SVI

จ ำ
คําตอบ 3 : MLSS


คําตอบ 4 : SDI

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 284
ความแตกตางที่สําคัญและเดนชัดที่สุดระหวาง prokaryote และ eukaryote คือ

ิท
คําตอบ 1 : prokaryote มีเยื่อหุมเซลล 2 ชั้น


คําตอบ 2 : prokaryote มีไรโบโซมชนิด 80S

ว น
คําตอบ 3 : eukaryote มีโครโมโซมลองลอยในเซลล


คําตอบ 4 : eukaryote 1 เซลลหมายถึง 1 ชีวิต

อ ส

ขอที่ : 285

กร
สิ่งมีชีวิตในกลุมใดจัดเปน eukaryote


คําตอบ 1 : แบคทีเรีย โปรโตซัว ไวรัส



คําตอบ 2 : สาหราย แบคทีเรีย โปรโตซัว

าว
คําตอบ 3 : รา สาหราย โปรโตซัว


คําตอบ 4 : แบคทีเรีย ยีสต สาหราย

ขอที่ : 286

โครงสรางใดที่ทําหนาที่เปนแหลงสรางโปรตีนในเซลล
คําตอบ 1 : endospore
คําตอบ 2 : ribosome
คําตอบ 3 : mesosome
87 of 116
คําตอบ 4 : mitochondria
ขอที่ : 287
ขอใดเปนการเขียนชื่อวิทยาศาสตรที่ถูกตอง

คําตอบ 1 :

่ า ย
คําตอบ 2 :

หน

คําตอบ 3 :

มจ
า้
คําตอบ 4 :

ิธ์ ห
ิท
ขอที่ : 288


ขอใดไมใชคุณสมบัติของโปรโตซัว


คําตอบ 1 : กินแบคทีเรียและสารอินทรียเปนอาหาร

ง ว
คําตอบ 2 : เปน indicator ในการตรวจสอบวงจรทางชีวภาพ


คําตอบ 3 : เกิดจากการรวมตัวของเซลลเดี่ยวหลายเซลล


คําตอบ 4 : กอใหเกิดปญหา eutrophication

ขอที่ : 289

กร ข

ิ ว
การยอมสีแบบ gram strain เปนการจําแนกแบคทีเรียโดยอาศัยโครงสรางใด

าว
คําตอบ 1 : flagella
คําตอบ 2 : inclusion


คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ภ cell wall
capsule

ขอที่ : 290
โครงสรางใดในเซลลถาขาดหายไป เซลลจุลินทรียจะยังคงมีชีวิตอยูได
คําตอบ 1 : ribosome
คําตอบ 2 : flagella 88 of 116

คําตอบ 3 : mitochondria
คําตอบ 4 : mesosome

ขอที่ : 291
สิ่งมีชีวิตกลุมใดสามารถเปลี่ยนรูปพลังงานแสงอาทิตยใหเปนพลังงานเคมีเพื่อใชในการเจริญเติบโต
คําตอบ 1 : แบคทีเรีย
คําตอบ 2 : โปรโตซัว
คําตอบ 3 : สาหราย

่ า ย

คําตอบ 4 : เชื้อรา

ขอที่ : 292

จ ำ ห

สิ่งมีชีวิตในกลุมใดที่ไมสามารถสรางอาหารเองได ตองใชสารอินทรียเปนวัตถุดิบ

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : autotroph
คําตอบ 2 : heterotroph
คําตอบ 3 : lithotroph

ิท
คําตอบ 4 : phototroph

นส

ขอที่ : 293


ขอใดไมใชความตองการพื้นฐานในการเจริญเติบโตของเซลลจุลินทรีย
คําตอบ 1 : สารอาหาร

อ ส

คําตอบ 2 : อุณหภูมิที่เหมาะสม

กร
คําตอบ 3 : น้ํา


คําตอบ 4 : รังสีอุลตราไวโอเลต

ขอที่ : 294

าว ศ


สารใดในเซลลที่สงผลใหเกิดการเรงการทํางานหรือกระบวนการเมตาบอริซึมในเซลลจุลินทรีย


คําตอบ 1 : protein
คําตอบ 2 : enzyme
คําตอบ 3 : DNA
คําตอบ 4 : antigen

ขอที่ : 295 89 of 116


ขอใดไมใชคุณสมบัติของเอนไซม
คําตอบ 1 : เปนสารโปรตีนที่สังเคราะหจากสิ่งมีชีวิต
คําตอบ 2 : ถูกทําลายและสลายตัวดวยความรอน
คําตอบ 3 : เปนตัวเรงปฏิกิริยาชีวเคมีตางๆ ในเซลล
คําตอบ 4 : เปนตัวชะลอปฏิกิริยาชีวเคมีตางๆ ในเซลล

ขอที่ : 296

่ า ย
โครงสรางของเอนไซมในรูปที่ active สําหรับการเรงปฏิกิริยาในเซลลคือ


คําตอบ 1 : apoenzyme


คําตอบ 2 : coenzyme

จ ำ
คําตอบ 3 : holoenzyme


คําตอบ 4 : methanoenzyme

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 297
ขอใดคือความแตกตางระหวาง catabolism และ anabolism

ิท
คําตอบ 1 : ขนาดของสารตั้งตนที่ใชในการทําปฏิกิริยา


คําตอบ 2 : พลังงานของปฏิกิริยา

ว น
คําตอบ 3 : ผลจากปฏิกิริยา


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

อ ส

ขอที่ : 298

กร
กระบวนการเมตาบอริซึมที่สําคัญที่เกิดขึ้นในเซลลจุลินทรีย ซึ่งมีผลกอใหเกิดพลังงานคือ


คําตอบ 1 : การหายใจ



คําตอบ 2 : การยอยอาหาร

าว
คําตอบ 3 : การเคลื่อนไหว


คําตอบ 4 : การนอนหลับ

ขอที่ : 299

สารประกอบในรูปใดที่มีคาพลังงานในตัวสูงที่สุด
คําตอบ 1 : ATP
คําตอบ 2 : ADP
คําตอบ 3 : AMP
90 of 116
คําตอบ 4 : NTP
ขอที่ : 300
ตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุดทายในกระบวนการหายใจแบบใชออกซิเจน คือ

คําตอบ 1 :

่ า ย
คําตอบ 2 :

หน

คําตอบ 3 :

มจ
า้
คําตอบ 4 :

ิธ์ ห
ิท
ขอที่ : 301


พลังงานรวมทั้งสิ้นที่ไดจากกระบวนการหายใจแบบใชออกซิเจน เมื่อใชกลูโคส 1 โมเลกุล เปนสารตั้งตน คือ


คําตอบ 1 : 38 ATP

ง ว
คําตอบ 2 : 34 ATP


คําตอบ 3 : 32 ATP


คําตอบ 4 : 30 ATP

ขอที่ : 302

กร ข

ิ ว
กระบวนการใดจัดเปน anabolism

าว
คําตอบ 1 : photosynthesis
คําตอบ 2 : fermentation


คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ภ respiration
consumption

ขอที่ : 303
วัฎจักรใดของการหายใจแบบใชออกซิเจน ที่ใหพลังงานออกมามากที่สุด
คําตอบ 1 : glycolysis
คําตอบ 2 : electron transport system 91 of 116

คําตอบ 3 : Kreb’s cycle


คําตอบ 4 : Embden-Meyerhof pathway

ขอที่ : 304
ขอใดไมใชความหมายของ bacterial growth
คําตอบ 1 : การสืบพันธุ
คําตอบ 2 : การเพิ่มจํานวนเซลล
คําตอบ 3 : การสรางสปอร

่ า ย

คําตอบ 4 : การเพิ่มมวลเซลล

ขอที่ : 305

จ ำ ห

จากเสนกราฟการเจริญของแบคทีเรีย เซลลในระยะใดที่มีคา F/M ratio > 1

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : decline phase
คําตอบ 2 : stationary phase
คําตอบ 3 : exponential phase

ิท
คําตอบ 4 : death phase

นส

ขอที่ : 306


เซลลในระยะใดที่มีแตการเพิ่มขนาดและมวลเซลล ในขณะที่จํานวนเซลลยังคงเดิม
คําตอบ 1 : lag phase

อ ส

คําตอบ 2 : stationary phase

กร
คําตอบ 3 : exponential phase


คําตอบ 4 : death phase

ขอที่ : 307

าว ศ


ขอใดไมจัดเปนวิธีการวัดการเจริญของจุลินทรีย


คําตอบ 1 : การนับจํานวนเซลลภายใตกลองจุลทรรศน
คําตอบ 2 : การวัดความขุนดวย spectrophotometer
คําตอบ 3 : การนับจํานวนสปอรในเซลล
คําตอบ 4 : การกรองและชั่งหาน้ําหนักเซลล

ขอที่ : 308 92 of 116


ระบบบําบัดน้ําเสียประเภทใดจัดเปนระบบบําบัดดวยรูปแบบ Activated Sludge Processes
คําตอบ 1 : Sequencing Batch Reactor
คําตอบ 2 : Rotating Biological Contactor
คําตอบ 3 : Polishing Pond
คําตอบ 4 : Up flow Anaerobic Sludge Blanket

ขอที่ : 309

่ า ย
การเกิดสภาวะ Anoxic ในระบบบําบัดทางชีวภาพ หมายถึง


คําตอบ 1 : สภาวะที่น้ําเสียมีออกซิเจนละลายน้ําเกิน 5.0 มก./ล.


คําตอบ 2 : สภาวะที่น้ําเสียมีออกซิเจนละลายน้ําต่ํากวา 2.0 มก./ล.

จ ำ
คําตอบ 3 : สภาวะที่น้ําเสียไมมีออกซิเจนละลายน้ําอยูเลย


คําตอบ 4 : ไมมีออกซิเจนละลายน้ําแตมีไนเตรทอยูในระบบ

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 310
จุลชีพ Nitrosomonas และ Nitrobacter ที่กอใหเกิดกระบวนการ Nitrification จัดเปนจุลชีพประเภทใด

ิท
คําตอบ 1 : Autotrophic photosynthetic


คําตอบ 2 : Autotrophic chemosynthetic

ว น
คําตอบ 3 : Heterotrophic photosynthetic


คําตอบ 4 : Heterotrophic chemosynthetic

อ ส

ขอที่ : 311

กร
ระบบบําบัดน้ําเสียใดจัดเปนระบบบําบัดแบบ Suspended growth treatment


คําตอบ 1 : Rotating Biological Contactor



คําตอบ 2 : Constructed Wetland แบบ Free water surface

าว
คําตอบ 3 : Stabilization pond


คําตอบ 4 : Anaerobic Filter

ขอที่ : 312

Ammonification หมายถึง
คําตอบ 1 : การเปลี่ยนแอมโมเนียไนโตรเจนเปนไนไตรท
คําตอบ 2 : การเปลี่ยนไนไตรทเปนไนเตรท
คําตอบ 3 : การเปลี่ยนแอมโมเนียเปนแกสไนโตรเจน
93 of 116
คําตอบ 4 : การเปลี่ยนไนโตรเจนอินทรียเปนแอมโมเนีย
ขอที่ : 313
บอบําบัดแบบ Facultative pond ในระบบ Stabilization pond หมายถึง
คําตอบ 1 : บอบําบัดที่มีความลึก 1 ถึง 2 เมตร มีการเติมอากาศดวยเครื่องเติมอากาศแบบ Jet Aeration และมีออกซิเจนละลายน้ําทั่วทั้งบอ
คําตอบ 2 : บอบําบัดที่มีความลึก 0.30-0.60 เมตร มีสาหรายแพรอยูในบอและมีออกซิเจนละลายน้ําทั่วทั้งบอ
คําตอบ 3 : บอบําบัดที่มีความลึก 1 ถึง 2 เมตร มีสาหรายอยูในบอและมีออกซิเจนอยูบริเวณผิวบนของบอ แตบริเวณน้ําลึกและกนบอไมมีออกซิเจนละลายน้ํา


คําตอบ 4 : บอบําบัดที่มีความลึกเกิน 2.5 เมตร และในบอไมมีออกซิเจนละลายน้ํา

น่ า

ขอที่ : 314


การเกิด Symbiosis ในบอบําบัดในระบบ Stabilization pond หมายถึง
คําตอบ 1 :

มจ
จุลชีพยอยสารอินทรียจนเจริญเติบโตเพื่อใหสัตวน้ําขนาดจิ๋ว เชน โรติเฟอร คลัสตาเซียน กินจุลชีพเปนอาหาร

า้
คําตอบ 2 : การทําลาย pathogen ดวยจุลชีพไลลา

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : จุลชีพประเภท aerobic และ anaerobic อยูรวมกันและชวยกันยอยสลายสารอินทรีย
คําตอบ 4 : สาหรายสังเคราะหแสงและจุลชีพยอยสลายสารอินทรียเพื่อแลกเปลี่ยนแหลงพลังงานและแหลงคารบอนในการสรางเซลล

ขอที่ : 315

ส ิท
ว น
ลําดับขั้นตอน (sequence) ที่ถูกตองของระบบบําบัดน้ําเสียทั่วไปแบบเติมอากาศจนจบขั้น secondary treatment เปนไปตามคําตอบขอใด


คําตอบ 1 : ตะแกรงหยาบ ถังดักกรวดทราย ถังเติมอากาศ ถังตกตะกอนใบแรก ถังตกตะกอน ถังเติมอากาศใบที่สอง


คําตอบ 2 : ถังดักกรวดทราย ตะแกรงหยาบ ถังตกตะกอนใบแรก ถังเติมอากาศ ถังตกตะกอนใบที่สอง


คําตอบ 3 : ตะแกรงหยาบ ถังดักกรวดทราย ถังตกตะกอนใบแรก ถังเติมอากาศ ถังตกตะกอนใบที่สอง
คําตอบ 4 :

กร ข
ถังตกตะกอนใบแรก ถังเติมอากาศ ถังตกตะกอนใบที่สอง ถังดักกรวดทราย

ขอที่ : 316


ิ ว
าว
กลุมของหนวยบําบัดขอใดที่จัดเปนกระบวนการแยกน้ําออกจากตะกอน (liquid-solids separation)


คําตอบ 1 : ถังดักกรวดทราย ถังเติมอากาศ ถังตกตะกอนใบแรก ถังตกตะกอนใบที่สอง


คําตอบ 2 : ตะแกรงหยาบ ถังดักกรวดทราย ถังตกตะกอนใบแรก ถังเติมอากาศ
คําตอบ 3 : ตะแกรงหยาบ ถังปรับสภาพการไหล ถังเติมอากาศ ถังตกตะกอนใบที่สอง
คําตอบ 4 : ถังดักกรวดทราย ถังตกตะกอนใบแรก ถังลอยตัว (flotation tank) ถังตกตะกอนใบที่สอง

ขอที่ : 317
ระบบบําบัดน้ําเสียแบบ Activated Sludge โดยทั่วไปมักพิจารณาอัตราสวนระหวาง BOD : N : P ใหมีคาที่เหมาะสม คาดังกลาวดังตอไปนี้ คาในขอใดที่จัดวาเปนคาที่ไมจําเปนตอง
เติมสาร N และ/หรือ P เขาไปในระบบ 94 of 116

คําตอบ 1 : 150 : 12 : 4
คําตอบ 2 : 200 : 5 : 1
คําตอบ 3 : 120 : 10 : 0.5
คําตอบ 4 : 100 : 7 : 0.1

ขอที่ : 318
ปฏิกิริยาชีวเคมีที่สารอินทรียโมเลกุลใหญ เชน โปรตีน คารโบไฮเดรท ไขมัน ถูก extracellular enzyme ยอยจนกลายเปนสารประกอบอินทรียที่มีโมเลกุลเล็กลงและละลายน้ําได เรา


เรียกปฏิกิริยานี้วา
คําตอบ 1 : Hydrolysis

น่ า

คําตอบ 2 : Hydrophobic


คําตอบ 3 : Acetogenesis

มจ
คําตอบ 4 : Solidification

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 319
ระบบ Activated Sludge ที่ใชรูปแบบ Conventional เทียบกับรูปแบบ Completely-mixed มีลักษณะแตกตางที่เดนชัดใน parameter ที่สําคัญ คือ

ิท
คําตอบ 1 : อายุตะกอน (sludge age)


คําตอบ 2 : อัตราสวนอาหารตอจุลชีพ (F/M ratio)


คําตอบ 3 : อัตราการไหลยอนกลับของตะกอน (returned sludge)
คําตอบ 4 : ลักษณะการไหลของน้ําในถังเติมอากาศ (flow pattern)

ง ว
อ ส

ขอที่ : 320

กร
สภาวะที่สําคัญของการเกิดกระบวนการ Denitrification ในระบบบําบัด คือ


คําตอบ 1 : ควบคุมสภาวะออกซิเจนใหอยูในสภาพ Oxic



คําตอบ 2 : ควบคุมสภาวะออกซิเจนใหอยูในสภาพ Aerobic

าว
คําตอบ 3 : ควบคุมสภาวะออกซิเจนใหอยูในสภาพ Anaerobic


คําตอบ 4 : ควบคุมสภาวะออกซิเจนใหอยูในสภาพ Anoxic

ขอที่ : 321

การบําบัดน้ําเสียจนถึงขั้น Nitrification ที่สมบูรณ ถาทิ้งลงในแหลงน้ําธรรมชาติจะมีแนวโนมกอใหเกิดสภาวะใดในแหลงน้ํานั้น
คําตอบ 1 : เกิด eutrophication
คําตอบ 2 : เกิดสภาพ anaerobic
คําตอบ 3 : เกิดสภาพพิษกับสัตวน้ํา
คําตอบ 4 : เพิ่มปริมาณออกซิเจนละลายน้ํา 95 of 116
ขอที่ : 322
ถังปฏิกิริยาที่มีการไหลของน้ําเสียแบบ Plug Flow มีลักษณะที่กอใหเกิดปรากฏการณใด
คําตอบ 1 : มีการหยุดเติมน้ําเสียและเริ่มเติมอากาศเมื่อน้ําเสียไหลเขามาเต็มถัง
คําตอบ 2 : มีการหยุดเติมอากาศในถังเปนระยะ ๆ
คําตอบ 3 : ความสกปรกของน้ําเสียในถังจะเทากันทุกตําแหนงและจะต่ํากวาคาความสกปรกกอนบําบัด


คําตอบ 4 : ความสกปรกของน้ําเสียจะแปรผันผกผันกับระยะทางหรือความยาวของถังที่เพิ่มขึ้น

น่ า

ขอที่ : 323


เซลลจุลชีพที่เกิดขึ้นในถังตกตะกอนใบที่สอง โดยทั่วไปจัดเปนสารแขวนลอยที่สามารถตกตะกอนในรูปแบบใดเปนสวนใหญ
คําตอบ 1 : Discrete settling

มจ
า้
คําตอบ 2 : Flocculent settling

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : Hindered settling
คําตอบ 4 : Compression settling

ขอที่ : 324

ส ิท
ว น
ระบบบําบัดประเภทใดจัดเปนรูปแบบของการบําบัดแบบเติมอากาศระยะยาว (Extended Aeration)


คําตอบ 1 : Oxidation Ditch


คําตอบ 2 : Trickling Filter


คําตอบ 3 : Pure Oxygen
คําตอบ 4 : ไมมีขอมูลใดถูก

กร ข
ขอที่ : 325


ิ ว
าว
ระบบบําบัดน้ําเสียแบบแอ็คติเวดเต็ดสลัดจ มีลักษณะที่สําคัญ คือ


คําตอบ 1 : ใชจุลชีพแบบแขวนลอย


คําตอบ 2 : มีการนําตะกอนจุลินทรียกลับมาใชใหม
คําตอบ 3 : มีการเติมออกซิเจน
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 326
ขอใดจัดเปน primary treatment ในการบําบัดน้ําเสีย
96 of 116
คําตอบ 1 : การใชสารเคมีในการฆาเชื้อโรคในน้ําเสีย
คําตอบ 2 : การใชจุลินทรียเพื่อลดคา BOD ในน้ํา
คําตอบ 3 : การฉายรังสีเพื่อกระตุนการแตกตัวของน้ํา
คําตอบ 4 : การกรองดวยตะแกรงเพื่อแยกเอาสารแขวนลอยออก

ขอที่ : 327
น้ําเสียโรงงานแหงหนึ่งมีคาบีโอดี 200 มิลลิกรัมตอลิตร และอัตราไหลน้ําเสีย 100 ลูกบาศกเมตรตอวัน หากตองการใหบีโอดีน้ําทิ้งนอยกวา 20 มิลลิกรัมตอลิตร ระบบบําบัดแบบใด


ไมเหมาะสม
คําตอบ 1 : ระบบเอสบีอาร

น่ า

คําตอบ 2 : ระบบเอเอส


คําตอบ 3 : ระบบบอแฟคคัลเททีฟ

มจ
คําตอบ 4 : ระบบบอหมักไรอากาศ

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 328
ขอใดกลาวถูกตอง

ิท
คําตอบ 1 : Primary sedimentation tank มีไวเพื่อตกตะกอนจุลินทรีย


คําตอบ 2 : ระบบเอสบีอารเปนระบบเอเอสแบบหนึ่ง


คําตอบ 3 : การเติมสารอีเอ็มเหมาะสําหรับการบําบัดน้ําเสียโรงงานชุบโลหะ
คําตอบ 4 : กลาวผิดทุกขอ

ง ว
อ ส

ขอที่ : 329

กร
เมื่อเกิดปญหาเรื่องตะกอนอืด (Bulking sludge) ควรตรวจสอบอะไร


คําตอบ 1 : บีโอดีในถังปฏิกรณ



คําตอบ 2 : ชนิดของสายพันธุแบคทีเรียที่มีในระบบ

าว
คําตอบ 3 : ไนโตรเจนและฟอสฟอรัสในระบบ


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 330

Flocculent Settling หมายถึงอะไร
คําตอบ 1 : การตกตะกอนที่ตะกอนไมมีการเพิ่มขนาด
คําตอบ 2 : การตกตะกอนแบบชั้น
คําตอบ 3 : การตกตะกอนแบบอัดตัว
คําตอบ 4 : การตกตะกอนแบบเพิ่มขนาด 97 of 116
ขอที่ : 331
ในการปรับพีเอชสําหรับระบบไรออกซิเจนนั้น สารใดไมควรใช
คําตอบ 1 : กรดไฮโดรคลอริก
คําตอบ 2 : กรดไนตริก
คําตอบ 3 : โซเดียมไบคารบอเนต


คําตอบ 4 : โซเดียมไฮดรอกไซด

น่ า

ขอที่ : 332


ปจจัยใดที่ไมมีผลตอคาออกซิเจนละลายน้ําอิ่มตัว
คําตอบ 1 : อุณหภูมิ

มจ
า้
คําตอบ 2 : ปริมาณคลอไรดในน้ํา

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : ความเขมขนของออกซิเจนเริ่มตน
คําตอบ 4 : ระดับความสูงจากน้ําทะเล

ขอที่ : 333

ส ิท
ว น
F/M ratio หมายถึงอะไร


คําตอบ 1 : “อัตราการปอนสารอาหาร” หารดวย “มวลของจุลินทรีย”


คําตอบ 2 : “อัตราการปอนสารอาหาร” คูณดวย “มวลของจุลินทรีย”


คําตอบ 3 : “อัตราการใชสารอาหาร”หารดวย “มวลของจุลินทรีย”
คําตอบ 4 :

กร ข
“อัตราการใชสารอาหาร”คูณดวย “มวลของจุลินทรีย”

ขอที่ : 334


ิ ว
าว
ขอใดกลาวถูกตอง


คําตอบ 1 : ระบบไรออกซิเจนตองการอาหารเสริมนอยกวาระบบใชออกซิเจน


คําตอบ 2 : ระบบไรออกซิเจนตองการอาหารเสริมมากกวาระบบใชออกซิเจน
คําตอบ 3 : ระบบไรออกซิเจนมักถูกออกแบบใหน้ําทิ้งมีคาบีโอดีต่ํากวา 20 มิลลิกรัมตอลิตร
คําตอบ 4 : ถูกทั้งขอ 1. และ ขอ 3.

ขอที่ : 335
ปจจัยใดที่สงผลใหเกิดภาวะตะกอนอืด (Sludge Bulking) ไดงาย
98 of 116
คําตอบ 1 : คา F/M สูงเกินไป
คําตอบ 2 : สารอาหารเสริมไมเพียงพอ
คําตอบ 3 : ออกซิเจนละลายอยูระหวาง 1-2 มิลลิกรัมตอลิตร
คําตอบ 4 : คําตอบถูกมากกวา 1 ขอ

ขอที่ : 336
หนาที่หลักของถัง Equalization Tank คืออะไร
คําตอบ 1 : ปรับอัตราไหลของน้ําเสียใหสม่ําเสมอ

่ า ย

คําตอบ 2 : ปรับความเขมขนของน้ําเสียใหสม่ําเสมอ


คําตอบ 3 : ลดคาบีโอดีและซีโอดี

จ ำ
คําตอบ 4 : ถูกมากกวา 1 ขอ

ขอที่ : 337

า้ ม
ิธ์ ห
กระบวนการ Gas Transfer มีวัตถุประสงคเพื่ออะไร
คําตอบ 1 : ลดคาบีโอดี

ิท
คําตอบ 2 : เพิ่มหรือลดกาซที่ละลายในน้ํา


คําตอบ 3 : เพิ่มปริมาณแบคทีเรีย

ว น
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูกตอง

ส ง

ขอที่ : 338


กระบวนการ Dewatering มีวัตถุประสงคเพื่ออะไร

กร
คําตอบ 1 : ฆาเชื้อโรค


คําตอบ 2 : เพิ่มความเขมขนของตะกอน



คําตอบ 3 : ลดปริมาณสารอินทรียในตะกอน

าว
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 339

ส ภ
การทํา Dewatering แบบใดทําใหตะกอนมีความชื้นนอยที่สุด
คําตอบ 1 : Drying bed
คําตอบ 2 : Vacuum filter
คําตอบ 3 : Belt press
คําตอบ 4 : Filter press
99 of 116
ขอที่ : 340
จงคํานวณบีโอดีโหลด (BOD Load) ของระบบเอเอสที่รับน้ําเสีย1000 ลูกบาศกเมตรตอวัน ซึ่งมีคาบีโอดี 2000 มิลลิกรัมตอลิตร
คําตอบ 1 : 1000 กิโลกรัมตอวัน
คําตอบ 2 : 1500 กิโลกรัมตอวัน
คําตอบ 3 : 2000 กิโลกรัมตอวัน
คําตอบ 4 : 2500 กิโลกรัมตอวัน

่ า ย

ขอที่ : 341


จงคํานวณขนาดของบอ Aerated lagoon สําหรับอัตราไหลน้ําเสีย 1000 ลูกบาศกเมตรตอวัน บีโอดีเขา 200 มิลลิกรัมตอลิตร และตองการประสิทธิภาพการบําบัด 90 เปอรเซ็นต


กําหนดใหคา k (overall first - order BOD removal rate constant) เทากับ 3 ตอวัน

มจ
คําตอบ 1 : 3000 ลูกบาศกเมตร

า้
คําตอบ 2 : 2750 ลูกบาศกเมตร

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : 2500 ลูกบาศกเมตร
คําตอบ 4 : 2000 ลูกบาศกเมตร

ขอที่ : 342

ส ิท

น้ําเสียมีอัตราไหล 1000 ลูกบาศกเมตรตอวันและมีคาบีโอดี 250 มิลลิกรัมตอลิตร สวนถังเติมอากาศมีขนาดความจุน้ํา 500 ลูกบาศกเมตร และมีคาเอ็มแอลวีเอสเอส (MLVSS)


3000 มิลลิกรัมตอลิตร จงคํานวณคา F/M ratio
คําตอบ 1 : 0.15 ตอวัน

ส ง

คําตอบ 2 : 0.17 ตอวัน


คําตอบ 3 : 0.19 ตอวัน

กร
คําตอบ 4 : 0.21 ตอวัน


ิ ว
าว
ขอที่ : 343


คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
ภ 500 มิลลิกรัมตอลิตร
750 มิลลิกรัมตอลิตร
คําตอบ 3 : 1000 มิลลิกรัมตอลิตร
คําตอบ 4 : 1500 มิลลิกรัมตอลิตร

100 of 116
ขอที่ : 344
คําตอบ 1 : 1.22 กรัม
คําตอบ 2 : 1.42 กรัม
คําตอบ 3 : 1.62 กรัม

่ า ย
คําตอบ 4 : 1.82 กรัม

หน

ขอที่ : 345


กระบวนใดตอไปนี้ จัดวาเปน Biological Unit Processes


คําตอบ 1 : การบําบัดน้ําเสียแบบ Suspended and attached growth

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 2 : การฆาเชื้อโรค (Disinfection)
คําตอบ 3 : การแลกเปลี่ยนอิออน (ion exchange)
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ส ิท

ขอที่ : 346


ขอใดตอไปนี้เปนคํากลาวที่ไมถูกตองเกี่ยวกับการบําบัดน้ําเสียชุมชน


คําตอบ 1 :


เปนน้ําเสียที่บําบัดไดงายที่สุด


คําตอบ 2 : ควรใชวิธีบําบัดแบบชีวภาพ


คําตอบ 3 : มีสวนประกอบที่เปนสารอินทรียที่ยอยสลายไดยากและมีความเขมขนสูง

กร
คําตอบ 4 : เกิดจากกิจกรรมประจําวันของประชาชนที่อาศัยอยูในชุมชนรวมทั้งกิจกรรมที่เปนอาชีพดวย


ิ ว
าว
ขอที่ : 347
ขอใดตอไปนี้จัดเปนการบําบัดน้ําเสีย (Wastewater treatment) แบบ attached growth


คําตอบ 1 : ระบบเอเอส (Activated sludge)


คําตอบ 2 : ระบบบอเติมอากาศ (Aeration lagoon)
คําตอบ 3 : ระบบจานหมุนชีวภาพ (Bio disc or RBC)
คําตอบ 4 : ระบบบอบําบัดน้ําเสีย (Oxidation pond)

ขอที่ : 348
101 of 116

จงเติมขอความที่สอดคลองกับสมการความสัมพันธที่แสดงดานลางตามลําดับ 1 ถึง 4
คําตอบ 1 : จุลินทรีย, คารบอนไดออกไซด, แอโรบิค, แอนแอโรบิค


คําตอบ 2 : แอโรบิค, จุลินทรีย, คารบอนไดออกไซด, แอนแอโรบิค

่ า
คําตอบ 3 : จุลินทรีย, แอโรบิค, แอนแอโรบิค, คารบอนไดออกไซด


คําตอบ 4 : จุลินทรีย, คารบอนไดออกไซด, แอนแอโรบิค, แอโรบิค

ขอที่ : 349

จ ำ ห
า้ ม
ขอใดตอไปนี้เปนระบบบําบัดน้ําเสียที่มีลักษณะเปนถังปฏิกิริยาแบบปลักโฟลว (Plug-flow reactor)

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ระบบเอเอสแบบคูวนเวียน
คําตอบ 2 : ระบบบอบําบัดน้ําเสีย
คําตอบ 3 : ระบบจานหมุนชีวภาพ

ิท
คําตอบ 4 :


ไมมีขอถูกตอง

ขอที่ : 350

ง ว น

ขอใดตอไปนี้กลาวไดถูกตองเกี่ยวกับระบบบําบัดน้ําเสียแบบบอเติมอากาศกลางแจง (Aerated lagoon)


คําตอบ 1 : เปนระบบถังปฏิกิริยาการกวนแบบสมบูรณ (CSTR)

กร ข
คําตอบ 2 : เปนระบบที่จําเปนตองมีการหมุนเวียนตะกอน เพื่อเพิ่มปริมาณจุลชีพในระบบ
คําตอบ 3 : ใหคุณภาพน้ําที่มีคุณภาพสูงที่สุดเมื่อเทียบกับระบบบําบัดอื่นๆ


คําตอบ 4 : มีลักษณะเปนบอดินขนาดใหญ ที่ใชเวลากักน้ํานานๆ

ขอที่ : 351

าว ศ


คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :

ขอใดตอไปนี้ไมจัดวาเปนสวนประกอบของระบบบําบัดน้ําเสียแบบเอเอส (Activated sludge)
ถังเติมอากาศ (Aeration tank)
ถังตกตะกอน (Sedimentation tanl)
คําตอบ 3 : ถังกรองน้ํา (Filtration tank)
คําตอบ 4 : ระบบหมุนเวียนตะกอน (Sludge recycle system)

ขอที่ : 352 102 of 116

ขอใดตอไปนี้ไมถูกตองเกี่ยวกับระบบบําบัดน้ําเสียแบบชีวภาพ
คําตอบ 1 : มีการกําจัดสารอินทรียที่ละลายอยูในน้ํา โดยจุลินทรียในถังปฎิกิริยา
คําตอบ 2 : ความเขมขนของสารอินทรียที่เหมาะสมควรต่ํากวา 50 มิลลิกรัมตอลิตร
คําตอบ 3 : สรางเสถียรภาพใหกับตะกอบอินทรีย สวนใหญมักเกิดขึ้นโดยระบบไรออกซิเจน
คําตอบ 4 : ปฎิกิริยา Nitrification และ Denitrification จัดเปนการเปลี่ยนรูปของสารอนินทรียที่ละลายน้ํา

ขอที่ : 353

่ า ย
ขอใดตอไปนี้ไมถูกตองเกี่ยวกับการออกแบบถังปฎิกิริยาที่มีการหมุนเวียนตะกอน


คําตอบ 1 : เนื่องจากจํานวนจุลินทรียในถังปฏิกิริยาไมเพียงพอ


คําตอบ 2 : เกิดขึ้นในระบบ conventional activated sludge

จ ำ
คําตอบ 3 : เพื่อเปนการเพิ่มอัตราการยอยสลายในถังปฏิกิริยา


คําตอบ 4 : การระบายน้ําใสที่ออก กลับคืนมายังถังปฎิกิริยาแบบ CSTR อีกรอบ

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 354
ขอใดตอไปนี้ เปนลักษณะเฉพาะของถังปฏิกิริยาแบบปลักโฟลว (Plug-flow reactor) ในระบบบําบัดน้ําเสียแบบชีวภาพ

ิท
คําตอบ 1 : จุลินทรียในถังจะมีสภาพทางชีววิทยาที่เหมือนกันทั้งหมด


คําตอบ 2 : มีความงายในการควบคุมและการนําไปใช

ว น
คําตอบ 3 : ความเขมขนของน้ําเสียไมเทากันทั้งถัง


คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูกตอง

อ ส

ขอที่ : 355

กร
ขอใดตอไปนี้ ไมถูกตองเกี่ยวกับการออกแบบถังปฎิกิริยาแบบใบเดียวสําหรับปฎิกิริยาเดียว (Single reaction) โดยสมมติใหไมมีการเปลี่ยนแปลงของความหนาแนนของน้ําเสียที่จะ


บําบัด

คําตอบ 1 :

าว ศ


คําตอบ 2 : ภ
คําตอบ 3 :

103 of 116
คําตอบ 4 :
ขอที่ : 356


ขอใดตอไปนี้ ไมถูกตองเกี่ยวกับการออกแบบถังปฏิกิริยาที่มีการตอกันหลายใบในระบบบําบัดน้ําเสีย โดยสมมติใหมีการทําปฎิกิริยาเดี่ยว (Single reaction) และเปนปฎิกิริยาอันดับ

่ า
หนึ่ง (First order reaction)


คําตอบ 1 : กรณีของ Batch reactor ที่ตออนุกรมกัน สามารถลดขนาดของถังโดยรวมลงได

ำ ห
คําตอบ 2 : กรณีของ CSTR reactor ที่ตออนุกรมกันจะทําใหขนาดโดยรวมของถังลดลงเมื่อเทียบกับถัง CSTR ใบเดียว


คําตอบ 3 : กรณีของ CSTR reactor ที่ตออนุกรมกันในจํานวนมากๆ จะมีลักษณะหรือขนาดถังโดยรวมเขาใกลถังปฎิกิริยาแบบปลักโฟลว


คําตอบ 4 : กรณีของ Plug flow reactor ที่ตอกันแบบอนุกรม ไมมีความแตกตางจากการใชถังปลักโฟลวใบเดียว (ที่มีปริมาตรเทากัน)

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 357

ส ิท
ง ว น
อ ส
คําตอบ 1 :

กร ข

ิ ว
คําตอบ 2 :

ภ าว

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :
104 of 116
ขอที่ : 358
จากการใชงานถังปฏิกิริยาการกวนแบบสมบูรณ (CSTR) โดยกําหนดใหความเขมขนของสารตั้งตนทางดานเขา 200 มก./ล. และคาคงที่ของของปฏิกิริยา k (แบบ First-order
reaction) เทากับ 2.5 ชั่วโมง จงคํานวณหาคาความเขมขน ที่เวลา 6 ชั่วโมง ภายในถังปฏิกิริยาแบบ CSTR
คําตอบ 1 : 12.5 มก./ล.
คําตอบ 2 : 18 มก./ล.


คําตอบ 3 : 14 มก./ล.

่ า
คําตอบ 4 : 8 มก./ล.

หน

ขอที่ : 359


ถังปฏิกิริยาการกวนแบบสมบูรณ (CSTR) ที่มีปริมาตรเทากับ 120 ลิตร ใชในการสลายเซลลจุลชีพ โดยความเขมขนของเซลลในกระแสเขา 1200 ก./ลบ.ม. อัตราการไหลเทากับ 1

า้ ม
ลิตร/ชั่วโมง กําหนดใหอัตราการสลายตัวของเซลลเทากับ 0.02 ตอชม. จงคํานวณหาความเขมขนของเซลลในถังปฏิกิริยา CSTR

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 125 ก./ลบ.ม.
คําตอบ 2 : 216 ก./ลบ.ม.
คําตอบ 3 : 352 ก./ลบ.ม.

ิท
คําตอบ 4 : 455 ก./ลบ.ม.

นส
ง ว
ขอที่ : 360


จากการวิเคราะหสมดุลมวล (Mass balance) ของถังปฏิกิริยาแบบเท (Batch reactor) และถังปฏิกิริยาแบบปลักโฟลว (Plug-flow reactor) ดังรูปดานลาง (กําหนดใหปฏิกิริยาเปน


แบบ First-order reaction)ที่มีคาคงที่ k เทากัน และเวลาในการทําปฏิกิริยา (Residence time) เทากัน ขอใดตอไปนี้เปนการสรุปที่ถูกตอง

กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : Plug-flow reactor มีประสิทธิภาพดีกวา Batch reactor 105 of 116
คําตอบ 2 : ทั้งสองระบบมีประสิทธิภาพการทํางานเทากัน
คําตอบ 3 : Batch reactor มีประสิทธิภาพดีกวา Plug-flow reactor
คําตอบ 4 : ไมสามารถเปรียบเทียบกันได

ขอที่ : 361
จงคํานวณเปรียบเทียบขนาดถังปฎิกิริยาแบบปลักโฟลว (Plug-flow reactor) ตอขนาดของถังปฏิกิริยาการกวนแบบสมบูรณ (CSTR) ที่มีปฎิกิริยาอันดับหนึ่งและมีคาคงที่เทากับ k
กําหนดให คาความเขมขนขาเขาและออกจากถังปฎิกิริยาทั้งสองแบบของตัวทําปฎิกิริยา A มีคาเทากับ 100 และ 10 มก./ล. ตามลําดับ

่ า ย
คําตอบ 1 : 0.15 เทา


คําตอบ 2 : 0.26 เทา


คําตอบ 3 : 0.32 เทา


คําตอบ 4 : 0.42 เทา

มจ
า้
ขอที่ : 362

ิธ์ ห
จงคํานวณหาจํานวนถังกวนสมบูรณ CSTR ซึ่งแตละถังมีขนาดเทากันคือ 1,000 ลิตร ตออนุกรมกันเพื่อลดความเขมขนของสารอินทรีย A จาก 20 กรัมตอลิตร ใหเหลือนอยกวา 0.2
กรัมตอลิตร โดยกําหนดใหอัตราการไหลของน้ําเสียเทากับ 10,000 ลิตรตอชั่วโมง กําหนดใหเปนปฎิกิริยาอันดับหนึ่ง (First order reaction) และมีคาคงที่ k เทากับ 20 ตอชั่วโมง

ิท
คําตอบ 1 : 4 ถัง


คําตอบ 2 : 6 ถัง


คําตอบ 3 : 2 ถัง

ง ว
คําตอบ 4 : 5 ถัง

ขอที่ : 363

อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 1.5 และ 2 กรัมตอลิตร
คําตอบ 2 : 1.5 และ 1.5 กรัมตอลิตร
คําตอบ 3 : 2 และ 2 กรัมตอลิตร
คําตอบ 4 : 2 และ 1.5 กรัมตอลิตร
106 of 116
ขอที่ : 364
ปฎิกิริยาอันดับหนึ่ง (First order reaction) ที่เกิดขึ้นในถังปฎิกิริยาแบบเท (Batch reactor) ตองการเวลา 10 ชั่วโมง ในการทําใหตัวทําปฎิกิริยาลดลง 50% ถาตองการใหตัวทําปฎิ
กิริยาลดลง 75% จะตองใชเวลาเทาใด
คําตอบ 1 : 10 ชั่วโมง
คําตอบ 2 : 15 ชั่วโมง
คําตอบ 3 : 20 ชั่วโมง


คําตอบ 4 : 25 ชั่วโมง

น่ า

ขอที่ : 365


จงคํานวณขนาดของระบบไรออกซิเจนที่รับน้ําเสียวันละ 300 ลูกบาศกเมตรตอวัน บีโอดีน้ําเสีย 3000 มิลลิกรัมตอลิตร และกําหนดให อัตราภาระสารอินทรีย (Organic loading rate)


เทากับ 3 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตรตอวัน

า้ ม
คําตอบ 1 : 220 ลูกบาศกเมตร

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : 250 ลูกบาศกเมตร
คําตอบ 3 : 280 ลูกบาศกเมตร
คําตอบ 4 : 300 ลูกบาศกเมตร

ส ิท

ขอที่ : 366


จงคํานวณปริมาณตะกอนที่เกิดขึ้น เมื่ออัตราไหลน้ําเสีย 500 ลูกบาศกเมตรตอวัน บีโอดี 250 มิลลิกรัมตอลิตร ประสิทธิภาพการกําจัดบีโอดีเทากับ 98 เปอรเซ็นต กําหนดให


Observed Yield เทากับ 0.3
คําตอบ 1 : 36.75 กิโลกรัมตอวัน

อ ส

คําตอบ 2 : 40.75 กิโลกรัมตอวัน

กร
คําตอบ 3 : 50.25 กิโลกรัมตอวัน


คําตอบ 4 : 73.50 กิโลกรัมตอวัน

ขอที่ : 367

าว ศ


หากการเติมอากาศดวยหัวฟูทําใหออกซิเจนละลายน้ําอิ่มตัวเทากับ 7 มิลลิกรัมตอลิตร ภายใตสภาวะบรรยากาศปกติ คาออกซิเจนละลายน้ําอิ่มตัวจะประมาณเทาใด เมื่อทดลองภาย


ใตสภาวะ Pure Oxygen
คําตอบ 1 : 14 มิลลิกรัมตอลิตร
คําตอบ 2 : 21 มิลลิกรัมตอลิตร
คําตอบ 3 : 28 มิลลิกรัมตอลิตร
คําตอบ 4 : 35 มิลลิกรัมตอลิตร

107 of 116
ขอที่ : 368
อุปกรณอะไรไมมีความจําเปนตองใชในระบบ Aerated Lagoon
คําตอบ 1 : Aerator
คําตอบ 2 : Pump
คําตอบ 3 : Secondary Sedimentation Tank
คําตอบ 4 : Electrical Supply

่ า ย
ขอที่ : 369


ระบบ AS ใชเครื่องเติมอากาศผิวน้ําขนาด 20 Hp จํานวน 4 Units ทํางาน และ 1 เครื่อง ขนาด 20 Hp สํารอง ใหคํานวณคากระแสไฟฟาในการเดินเครื่องเติมอากาศดังกลาวตอคา


กระแสไฟฟา 2 บาท/Unit (ใช 1 เดือนเทากับ 30 วัน)


คําตอบ 1 : 64477 บาท/เดือน

มจ
คําตอบ 2 : 85970 บาท/เดือน

า้
คําตอบ 3 : 107462 บาท/เดือน

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : 115200 บาท/เดือน

ิท
ขอที่ : 370


หากพบวาระบบ AS รับ Load มากกวาที่ออกแบบไว เนื่องจากปริมาณน้ําเสียเขาระบบมากกวาคาที่ออกแบบ ควรปรับปรุงระบบอยางไร


คําตอบ 1 : ควบคุมโดยเพิ่ม F/M ratio
คําตอบ 2 : เอาตะกอน Excess Sludge ออกมากขึ้น

ง ว

คําตอบ 3 : ควบคุมโดยเพิ่ม Sludge age


คําตอบ 4 : ขยายถังเติมอากาศใหใหญขึ้น

กร ข

ขอที่ : 371



คา Kinetic Coefficients ในสมการของ Monod คือ

าว
คําตอบ 1 :


คําตอบ 2 : ภ
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 : 108 of 116


ขอที่ : 372
จากผลวิเคราะหน้ําตัวอยาง 2 ลิตร พบวา Settleable Solids เทากับ 180 ml/l คา MLSS เทากับ 3600 mg/l คา SVI มีคาเทาใด
คําตอบ 1 : SVI มีคา 20
คําตอบ 2 : SVI มีคา 50
คําตอบ 3 : SVI มีคา 100


คําตอบ 4 : SVI มีคา 200

น่ า

ขอที่ : 373


การวิเคราะห SVI ( Sludge Volume Index) นําตัวอยางจากจุดเก็บตัวอยาง คือ
คําตอบ 1 : น้ําเสียกอนเขาระบบ

มจ
า้
คําตอบ 2 : น้ําทิ้งออกจากถังตกตะกอนขั้นที่ 2

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : จาก Aeration Tank
คําตอบ 4 : ตะกอนจาก Primary Sedimentation Tank

ขอที่ : 374

ส ิท
ว น
การวิเคราะหเพื่อหาคา SVI จะตองดําเนินการอยางไร


คําตอบ 1 : นําตะกอนจากถังเติมอากาศมาตกตะกอนใน Imhoff Cone และหาคา MLSS แลวนําไปคํานวณ


คําตอบ 2 : นําตะกอนจากถังเติมอากาศมาตกตะกอนใน Imhoff Cone และหาคา TS แลวนําไปคํานวณ


คําตอบ 3 : นําตะกอนจากถังตกตะกอนขั้นที่ 1 มาตกตะกอนใน Imhoff Cone และหาคา MLSS แลวนําไปคํานวณ
คําตอบ 4 :

กร ข
นําตะกอนจากถังตกตะกอนขั้นที่ 1 มาตกตะกอนใน Imhoff Cone และหาคา TS แลวนําไปคํานวณ

ขอที่ : 375


ิ ว
าว
คา SVI (Sludge Volume Index) ชวยบอกสมรรถนะในการตกตะกอนดังนี้


คําตอบ 1 : SVI < 100 ดีมาก


คําตอบ 2 : SVI < 400 ดีมาก
คําตอบ 3 : SVI > 100 ดีมาก
คําตอบ 4 : SVI > 400 ดีมาก

ขอที่ : 376
สารอาหารเสริมหลัก (Nutrients) ที่มักจะเติมในระบบ AS คือ
109 of 116
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

่ า ย
คําตอบ 4 :

หน
จ ำ
ขอที่ : 377

า้ ม
ิธ์ ห
สารอาหารเสริมรอง (Trace elements) ที่ควรจะเติมในระบบ AS คืออะไร

คําตอบ 1 :

ส ิท
ว น
คําตอบ 2 :

ส ง

คําตอบ 3 :

กร ข

คําตอบ 4 :

าว ศ


ขอที่ : 378


Nocardia foam เปนปรากฎการณที่เกิดขึ้นในถังอะไรของระบบบําบัดน้ําเสีย
คําตอบ 1 : Equalization Tank
คําตอบ 2 : Dissolved Air Flotation Tank
คําตอบ 3 : Aeration Tank
คําตอบ 4 : Secondary Sedimentation Tank

110 of 116
ขอที่ : 379
การแก Filamentous bacteria ในระบบ AS หากพบวาใน Aeration Tank มีปริมาณ MLSS มีคานอยและมีตะกอนสีขาวขุน ควรแกปญหาโดยวิธีใด
คําตอบ 1 : ลดคา F/M ratio
คําตอบ 2 : ลดคา BOD ของน้ําเสีย
คําตอบ 3 : เพิ่มคา F/M ratio
คําตอบ 4 : เพิ่มคา BOD ของน้ําเสีย

่ า ย
ขอที่ : 380


หากตองการเพิ่มประสิทธิภาพในการควบคุมระบบ AS ควรดําเนินการดังนี้


คําตอบ 1 : เพิ่มการเติมอากาศ

จ ำ
คําตอบ 2 : เพิ่ม Sludge age


คําตอบ 3 : เพิ่ม Flow rate

า้
คําตอบ 4 : เพิ่ม BOD น้ําเสียเขาระบบ

ขอที่ : 381
ิธ์ ห
ิท
โรงงานผลิตอาหารกระปองแหงหนึ่งออกแบบเปนระบบ AS ผูควบคุมดูแลระบบพบวาคา MLSS ต่ํากวาเกณฑที่กําหนด สาเหตุควรมาจากขอใด


คําตอบ 1 : ออกแบบถังเติมอากาศเล็กเกินไป

ว น
คําตอบ 2 : ออกแบบถังเติมอากาศใหญเกินไป


คําตอบ 3 : ออกแบบถังตกตะกอนขั้นสองเล็กเกินไป


คําตอบ 4 : ออกแบบถังตกตะกอนขั้นสองใหญเกินไป

ขอ
กร
ขอที่ : 382


หากคา MLSS ในถังเติมอากาศมีคา 3500 mg/l คาความเขมขน Recycle Sludge เทากับ 10000 mg/l ตองควบคุม Recycle ratio เทากับ



คําตอบ 1 : 35 %

าว
คําตอบ 2 : 45 %


คําตอบ 3 : 54 %


คําตอบ 4 : 65 %

ขอที่ : 383
Still well ในถังตกตะกอนขั้นที่ 2 ทําหนาที่
คําตอบ 1 : ปองกันไมใหตะกอนสัมผัสกับน้ําเสีย
คําตอบ 2 : ปองกันไมใหตะกอนสัมผัสกับออกซิเจน
111 of 116
คําตอบ 3 : ปองกันไมใหตะกอนลอยขึ้นผิวน้ํา
คําตอบ 4 : ปองกันไมใหตะกอนจมลงสูกนถัง

ขอที่ : 384

่ า ย
หน
จ ำ

คําตอบ 1 : 2 Units @ 6 Hp

า้
คําตอบ 2 : 2 Units @ 5 Hp

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : 2 Units @ 7.5 Hp
คําตอบ 4 : 2 Units @ 10 Hp

ขอที่ : 385

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

คําตอบ 1 : 3.39 mg/l



คําตอบ 2 : 3.54 mg/l

าว
คําตอบ 3 : 4.53 mg/l


คําตอบ 4 : 5.34 mg/l

ขอที่ : 386

Microorganism ในการบําบัดน้ําเสียประเภท AS อาจจะสามารถเขียนแทนดวยสูตรเคมีดังนี้

คําตอบ 1 :

112 of 116
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :


ขอที่ : 387

น่ า
จุลินทรียในการยอยสลายสารอินทรียใน Carbonaceous phase เปนชนิดใด


คําตอบ 1 : Autotrophic


คําตอบ 2 : Heterotrophic


คําตอบ 3 : Biophilic
คําตอบ 4 : Thermophilic

า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 388

ิท
NBOD คือคา BOD ที่จุลินทรียใชไปในการยอยสลายสารอินทรียประเภท


คําตอบ 1 : Organic Carbon


คําตอบ 2 : Organic Nitrogen

ง ว
คําตอบ 3 : TKN


คําตอบ 4 : ถูกทั้งขอ 1 และขอ 2

ขอ
กร
ขอที่ : 389
ระบบ Completely mixed AS มีเกณฑการออกแบบคา F/M ratio อยูในชวงใด
คําตอบ 1 :


ิ ว
0.1 – 0.2 kg-BOD/kg-MLVSS.d

าว
คําตอบ 2 : 0.2 – 0.4 kg-BOD/kg-MLVSS.d
คําตอบ 3 : 0.2 – 0.6 kg-BOD/kg-MLVSS.d

ขอที่ : 390 ส
คําตอบ 4 :

ภ 0.2 – 1.0 kg-BOD/kg-MLVSS.d

ระบบ Extended Aeration คือ


คําตอบ 1 : ระบบที่มีการเติมอากาศนานกวาปรกติ
คําตอบ 2 : ระบบที่มีการเติมอากาศมากกวาปรกติ
คําตอบ 3 : ระบบที่มีสารอาหาร F/M < 0.15 113 of 116

คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ
ขอที่ : 391
Oxidation Ditch เปนระบบ
คําตอบ 1 : F/M < 0.1
คําตอบ 2 : F/M > 0.2
คําตอบ 3 : F/M 0.1 – 0.2


คําตอบ 4 : สามารถ Design ไดตามผูออกแบบจะกําหนด

น่ า

ขอที่ : 392


Anoxic Process หมายถึง
คําตอบ 1 : กระบวนการยอยสลายสารอินทรียในสภาวะ Anaerobic

มจ
า้
คําตอบ 2 : กระบวนการกําจัดกาซไขเนาจากน้ําเสีย

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : ขบวนการเกิด Biogas จากน้ําเสีย
คําตอบ 4 : ขบวนการเกิด Denitrification ในการกําจัด Nitrate

ขอที่ : 393

ส ิท
ว น
Eutrophication คือปรากฎการณดังนี้


คําตอบ 1 : เกิดสาหรายเจริญเติบโตอยางมากมายในบอเติมอากาศ


คําตอบ 2 : เกิดสาหรายเจริญเติบโตอยางมากมายในบอ Polishing Pond


คําตอบ 3 : เกิดการเจริญเติบโตของสาหรายอยางมากมายในบอ Facultative Pond
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

กร ข
ขอที่ : 394


ิ ว
าว
ขบวนการ Phostrip มีประโยชนในการกําจัด


คําตอบ 1 : กําจัด Photoelectric cells


คําตอบ 2 : กําจัด Nitrogen
คําตอบ 3 : กําจัด Phosphorus
คําตอบ 4 : กําจัด Algae

ขอที่ : 395
โรงงานที่มีน้ําเสียที่มีคา BOD สูง และ TKN สูง ที่ดินราคาต่ํา ระบบบําบัดควรออกแบบดวยกระบวนการตามลําดับดังนี้
114 of 116
คําตอบ 1 : AS + Anaerobic Pond + Anoxic
คําตอบ 2 : Anoxic + Anaerobic Pond + AS
คําตอบ 3 : Anaerobic Pond + AS + Anoxic
คําตอบ 4 : Anaerobic Pond + Anoxic + AS

ขอที่ : 396
ในระบบบอบําบัดน้ําเสีย Waste Stabilization Pond บอที่เกิดปญหาเรื่องกลิ่น คือ
คําตอบ 1 : Anaerobic Pond

่ า ย

คําตอบ 2 : Facultative Pond


คําตอบ 3 : Aerobic Pond

จ ำ
คําตอบ 4 : Polishing Pond

ขอที่ : 397

า้ ม
ิธ์ ห
บอ Polishing Pond ที่เกิด Algae Bloom จะกอใหเกิดปญหาปลาตายภายในบอ เนื่องจากสาเหตุ
คําตอบ 1 : บอเขียวเกินไป

ิท
คําตอบ 2 : Algae ที่อยูในบอใหออกซิเจนมากไป


คําตอบ 3 : Algae ในบอใชออกซิเจนในเวลากลางคืนมากจนปลาไมสามารถดํารงชีวิตได

ว น
คําตอบ 4 : Bacteria ใชออกซิเจนในบอมากเกินไป

ส ง

ขอที่ : 398


หากทานตองการใชพืชน้ําเชน ผักตบชวาในการบําบัดน้ําเสียทานควรนําไปใสในบอ

กร
คําตอบ 1 : Polishing Pond


คําตอบ 2 : Facultative Pond



คําตอบ 3 : Anaerobic Pond

าว
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 399

ส ภ
สีของน้ําในบอ Facultative Pond มักจะพบวามีสี
คําตอบ 1 : สีขาวขุน
คําตอบ 2 : สีน้ําตาล
คําตอบ 3 : สีดํา
คําตอบ 4 : เขียว
115 of 116
ขอที่ : 400
สาเหตุใดปลาจึงตายในบอบําบัดชนิด Polishing Pond ที่มีสาหรายอยูเปนสีเขียวเต็มบอ
คําตอบ 1 : ในเวลากลางวันขาดออกซิเจน
คําตอบ 2 : เวลากลางวันออกซิเจนมากเกินไป
คําตอบ 3 : เวลากลางคืนขาดออกซิเจน
คําตอบ 4 : เวลากลางคืนขาดแสงแดด

่ า ย

ขอที่ : 401


บอสูบน้ําเสียจากบอเก็บ Molasse ของโรงงานน้ําตาล ควรออกแบบใหมี

จ ำ
คําตอบ 1 : การระบายอากาศที่ดี


คําตอบ 2 : ใชสวิตซแบบ Non-Explosion Proof

า้
คําตอบ 3 : ใชเครื่องสูบน้ําที่ทนการกัดกรอน

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ิท
ขอที่ : 402


บอบําบัดน้ําเสียชนิด Polishing Pond ซึ่งเปนบอสุดทายของระบบบําบัดมักพบปญหาปลาตายในวันที่มีฝนตกหนักและไหลไปในบอดังกลาวซึ่งเกิดจากสาเหตุดังนี้

ว น
คําตอบ 1 : น้ําฝนมี DO ต่ําจะไปเจือจางคา DO ในบอ ทําใหคา DO ลดลง


คําตอบ 2 : น้ําฝนพัดพาสิ่งสกปรกประเภทสารอินทรียลงไปในบอ


คําตอบ 3 : น้ําฝนอาจพัดพาสารพิษลงในบอรับน้ํา


คําตอบ 4 : ขอ 2 และ 3 ถูก

กร ข

ิ ว
ภ าว

116 of 116

You might also like