You are on page 1of 51

สาขา: เหมืองแร วิชา: MN12 Mechanical Behaviour of

Materials

ขอที่ : 1


ชิ้นงานทดสอบแรงดึงมีเสนผานศูนยกลาง 12 มิลลิเมตรและ gage length ยาว 50 มิลลิเมตร สามารถรับแรงไดสูงสุดที่ 90 kN และเกิดการแตกหักที่ 70 kN มีเส

่ า
ศูนยกลางของรอยแตก 10 มิลลิเมตร จงคํานวณหา Engineering fracture strain


คําตอบ 1 : 0.14

ํจาห
คําตอบ 2 : 0.24
คําตอบ 3 : 0.34


คําตอบ 4 : 0.44

ขอที่ : 2

ิธ์ ห้ า
เมื่อเพลารับแรงบิดเพียงแรงเดียวจะเกิดความเคนแบบใด

ิท
คําตอบ 1 : ความเคนดึง (Tensile stress) เพียงอยางเดียว


คําตอบ 2 : ความเคนกด (Compressive stress) เพียงอยางเดียว


คําตอบ 3 : ความเคนเฉือนบริสุทธิ์ (Pure shear stress) เพียงอยางเดียว


คําตอบ 4 : ความเคนฉาก (Normal stress) และความเคนเฉือนบริสุทธิ์ (Pure shear stress)

สง

ขอที่ : 3


โลหะทรงกลมลูกหนึ่งจมอยูใตทะเลลึก จะเกิดความเคนแบบใดกับโลหะทรงกลมนี้


คําตอบ 1 : ความเคนดึง (Tensile stress)

วก
คําตอบ 2 : ความเคนเฉือนบริสุทธิ์ (Pure shear stress)



คําตอบ 3 : ความเคนอุทกสถิตย (Hydrostatic stress)


คําตอบ 4 : ความเคนดึงและความเคนเฉือน (Tensile and shear stresses)


สภ
ขอที่ : 4
ขอใดเปนสภาวะของความเคนสองมิติ (Two Dimensional State of Stress)
คําตอบ 1 : ลวดสลิงรับแรงดึง
คําตอบ 2 : เสาอาคารรับแรงกด
คําตอบ 3 : เพลารับแรงบิด
คําตอบ 4 : นักประดาน้ําถูกกดดันดวยความดันน้ํา
1 of 51
ขอที่ : 5
ขอใดสื่อความหมายถึงความเคนหลัก (Principal stress)
คําตอบ 1 : คาความเคนฉากสูงสุด


คําตอบ 2 : คาความเคนฉากต่ําสุด

่ า
คําตอบ 3 : คาความเคนฉากปานกลาง


คําตอบ 4 : คาความเคนฉากที่กระทําบนระนาบซึ่งปราศจากความเคนเฉือน

ขอที่ : 6

ํจาห

ชวงที่ความเคนและความเครียดมีความสัมพันธเชิงเสนเปนการเปลี่ยนรูปแบบใด

้ า
คําตอบ 1 : อิลาสโตพลาสติก (Elastoplastic)

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : พลาสติก (Plastic)
คําตอบ 3 : อิลาสติก (Elastic)

ิท
คําตอบ 4 : แอนอิลาสติก (Anelastic)

นส

ขอที่ : 7


จากภาพขางลางขอใดถูกตอง เมื่อระบบอยูในสมดุล

อ ส
ก ร ข

ิ ว
าว
สภ คําตอบ 1 :

2 of 51
คําตอบ 2 :

่ าย

ํจาห
คําตอบ 3 :

้ าม
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 4 :

นส
ง ว

ขอที่ : 8


ขอใดถูกตอง

ร ข
คําตอบ 1 : ความเคน คือ แรงภายนอกที่กระทํากับวัสดุ


คําตอบ 2 : ความเคน คือ แรงตานทานในวัสดุตอพื้นที่ที่ตานทานแรงภายนอกกระทํา


คําตอบ 3 : ความเคนไมมีหนวย



คําตอบ 4 : ความเคนจะแปรผันตรงกับความเครียดในเหล็กกลาเสมอ

าว
สภ
ขอที่ : 9
ขอใดผิดเกี่ยวกับกฎขอฮุก
คําตอบ 1 : วัสดุทุกประเภทมีพฤติกรรมเปนไปตามกฎของฮุกเมื่อเกิดการยืดตัวแบบยืดหยุน
คําตอบ 2 : เปนพฤติกรรมที่พบในวัสดุบางชนิดที่ยืดตัวในชวงการยืดแบบยืดหยุน
คําตอบ 3 : เปนกฎที่อธิบายความสัมพันธระหวางความเคนและความเครียด
คําตอบ 4 : คาคงที่ในกฎของฮุก คือ modulus of elasticity

3 of 51
ขอที่ : 10
ขอใดเปนพฤติกรรมของวัสดุที่มีปรากฏการณ Bauschinger Effect
คําตอบ 1 : วัสดุเกิดคอคอดกอนการเสียหายจากการรับแรงดึง
คําตอบ 2 : เมื่อวัสดุไดรับแรงในทิศทางหนึ่งจนเกิน Yield Stress แลวปลดแรง เมื่อใหแรงในทิศทางตรงกันขามจะพบวามี Yield Stress ที่นอยลง


คําตอบ 3 : ภายในวัสดุมีการถายเทมวลสารที่ไมสมดุลกันระหวางแตละเฟส

่ า
คําตอบ 4 : การเปลี่ยนพฤติกรรมจากการแตกแบบเหนียวไปเปนแบบเปราะเมื่อนําโลหะไปใชงานที่อุณหภูมิต่ํา


ํจาห
ขอที่ : 11
สมบัติในขอใดตอไปนี้แสดงวาโลหะเสียรูปดวยแรงดึงไดยากหรืองาย


คําตอบ 1 :

้ า
Yield Strength
คําตอบ 2 :

ิธ์ ห
Ultimate Tensile Strength
คําตอบ 3 : Fatigue Strength
คําตอบ 4 : Hardness

ขอที่ : 12

สิท
วน
สมบัติในขอใดตอไปนี้แสดงวาโลหะเสียรูปดวยแรงกดไดยากหรืองาย


คําตอบ 1 : Yield Strength


คําตอบ 2 : Ultimate Tensile Strength


คําตอบ 3 : Fatigue Strength


คําตอบ 4 : Hardness

ก ร

ขอที่ : 13



การที่โลหะที่มีเกรนละเอียดมีความแข็งแรงกวาโลหะที่มีเกรนหยาบเปนผลมาจาก Strengthening Mechanism ในขอใด?

าว
คําตอบ 1 : Strain Hardening

สภ
คําตอบ 2 : Solid Solution Strengthening
คําตอบ 3 : Precipitation Hardening
คําตอบ 4 : Grain Boundary Strengthening

ขอที่ : 14
การใชเสนใย Silicon Carbide ผสมลงไปในโลหะผสมอะลูมิเนียมถือวาเปน Strengthening mechanism แบบใด?

คําตอบ 1 : Fiber Strengthening 4 of 51


คําตอบ 2 : Solid Solution Strengthening
คําตอบ 3 : Precipitation Hardening
คําตอบ 4 : Strain Hardening

่ าย
ขอที่ : 15


ภาพขางบนเปนผลการทดลองการหาเวลาที่เหมาะสมตอการทํา Artificial Aging ในโลหะผสม Al-Cu หากทํา Aging ที่อุณหภูมิ 204 องศาเซลเซียส จงเลือก

ํจาห
ทํา Aging ที่เหมาะสมตอการนําไปใชงาน

้ าม
ิธ์ ห
สิท
ง วน
อ ส
ก ร ข

ิ ว
าว
สภ
คําตอบ 1 : 30 นาที
คําตอบ 2 : 60 นาที
คําตอบ 3 : 1 วัน
คําตอบ 4 : 100 ชั่วโมง

ขอที่ : 16 5 of 51
ภาพขางบนเปนผลการทดลองการหาเวลาที่เหมาะสมตอการทํา Artificial Aging ในโลหะผสม Al-Cu หากทํา Aging ที่อุณหภูมิ 149 องศาเซลเซียส จงเลือก
ทํา Aging ที่เหมาะสมตอการนําไปใช

่ าย

ํจาห
้ าม
ิธ์ ห
สิท
ง วน
อ ส
ก ร ข
คําตอบ 1 : 30 นาที


คําตอบ 2 : 60 นาที



คําตอบ 3 : 1 วัน

าว
คําตอบ 4 : 100 ชั่วโมง

สภ
ขอที่ : 17

6 of 51
จากแผนภูมิสมดุลระหวาง Al และ Cu ถาตองการทํา Precipitation Hardening ควรเลือกโลหะผสมที่มีสวนผสมทางเคมีเทาใด?
่ าย

ํจาห
้ าม
ิธ์ ห
สิท
ง วน
อ ส
คําตอบ 1 : 0.1 wt%Cu - Al


คําตอบ 2 : 1 wt%Cu - Al


คําตอบ 3 : 4.5 wt%Cu - Al


คําตอบ 4 :


30 wt%Cu - Al

วศ

ขอที่ :


18

สภ
7 of 51
จากแผนภูมิสมดุลระหวาง Al และ Cu ถาตองการทํา Precipitation Hardening ควรเลือกอุณหภูมิ Solution Treatment เทาใด?
่ าย

ํจาห
้ าม
ิธ์ ห
สิท
ง วน
อ ส
คําตอบ 1 : 400 องศาเซลเซียส


คําตอบ 2 : 500 องศาเซลเซียส


คําตอบ 3 : 600 องศาเซลเซียส


คําตอบ 4 : 700 องศาเซลเซียส


ิ ว

ขอที่ : 19


ขอใดไมจัดเปนขอบกพรองในโครงผลึกโดยทั่วไปในโลหะ

สภ
คําตอบ 1 : vacancy
คําตอบ 2 : grain boundary
คําตอบ 3 : stacking fault
คําตอบ 4 : dislocation

ขอที่ : 20
8 of 51
สมบัติของโลหะสมบัติใดที่ไมขึ้นกับขอบกพรองในโครงผลึก
คําตอบ 1 : คาความเคนจุดคราก(yield strength)
คําตอบ 2 : คาการนําไฟฟา(electrical conductivity)
คําตอบ 3 : คาความหนาแนน(density)
คําตอบ 4 : คาความแข็งแรงในสภาวะคืบ(creep strength)

่ าย

ขอที่ : 21

ํจาห
สมบัติของโลหะสมบัติใดที่ขึ้นกับขอบกพรองในโครงผลึก
คําตอบ 1 : คาการนําไฟฟา(electrical conductivity)
คําตอบ 2 : คาความหนาแนน(Density)


คําตอบ 3 : จุดหลอมเหลวของโลหะ(melting point)

้ า
คําตอบ 4 : คาสัมประสิทธิ์การขยายตัวของโลหะ(thermal expansion coefficient)

ขอที่ : 22
ิธ์ ห
ิท
ขอใดผิดเกี่ยวของกับ point defect


คําตอบ 1 : vacancy คือขอบกพรองในโครงผลึกเนื่องจากการหายไปของอะตอมในตําแหนงที่ควรปรากฎอะตอมนั้น

วน
คําตอบ 2 : จํานวนของvacancyขึ้นกับอุณหภูมิ


คําตอบ 3 : อะตอมที่เขาไปแทรกที่อะตอมอื่นในบริเวณที่ไมควรมีอะตอมเรียกวา interstitial atom


คําตอบ 4 : stacking fault จัดเปน point defect

ขอที่ :

ร ข
23


ในทฤษฏีการแตกของ Griffith กลาววา Through-thickness crack มีขนาดเทากับ


คําตอบ 1 : 0.5c



คําตอบ 2 :


c


คําตอบ 3 : 1.414c

สภ
คําตอบ 4 : 2c

ขอที่ : 24
ขอใดเกี่ยวขอกับการศึกษา Linear Elastic Fracture Mechanics หรือ LEFM มากที่สุด

คําตอบ 1 : KIC Fracture toughness


คําตอบ 2 : Impact toughness
คําตอบ 3 : Ductile-to-Brittle Transition 9 of 51
คําตอบ 4 : Ductile failure

ขอที่ : 25


ขอใด ไมใช Fracture mode ในการศึกษา Fracture mechanics

่ า
คําตอบ 1 : Tension opening


คําตอบ 2 : Compressive

ํจาห
คําตอบ 3 : In plane shear sliding
คําตอบ 4 : Out of plane shear tearing

้ าม
ขอที่ : 26

ิธ์ ห
ในการศึกษา Fracture mechanics ประเภทของการแตกใดที่มีการศึกษามากที่สุด
คําตอบ 1 : Tension opening
คําตอบ 2 :

ิท
Compressive
คําตอบ 3 :


In plane shear sliding
คําตอบ 4 :


Out of plane shear tearing

ขอที่ : 27

ง ว

การศึกษา Fracture toughness นั้นเปนประโยชนในแงมุมใด

ขอ
คําตอบ 1 : ชวยในการเลือกใชและออกแบบวัสดุใหเหมาะสมในการใชงานที่ตองการการยืดตัวสูง


คําตอบ 2 : ชวยในการเลือกใชและออกแบบวัสดุใหเหมาะสมในการใชงานที่ตองการความแข็งแรงสูง


คําตอบ 3 : ชวยในการเลือกใชและออกแบบวัสดุใหเหมาะสมในการใชงานที่ตองการการเปลี่ยนรูปสูง


คําตอบ 4 : ชวยในการเลือกใชและออกแบบวัสดุใหเหมาะสมในการใชงานที่ตองการความแข็งสูง

าวศ

ขอที่ : 28

สภ
ตัวแปรในขอใดสงผลกระทบตอ Fracture toughness ของชิ้นงานหนึ่งๆ นอยที่สุด
คําตอบ 1 : ขนาดและตําแหนงของรอยแตก
คําตอบ 2 : ความหนาของชิ้นงาน
คําตอบ 3 : ความยาวของชิ้นงาน
คําตอบ 4 : อุณหภูมิ

ขอที่ : 29 10 of 51
เพราะเหตุใด ในวัสดุประเภทเดียวกัน พบวา ชิ้นงานหนาจะมี Fracture toughness ที่ต่ํากวาชิ้นงานบาง
คําตอบ 1 : การกระจายตัวของ Stress ในแกน x นั้นถูกละไวเนื่องจากมีผลกระทบนอยมากในชิ้นงานที่บาง
คําตอบ 2 : การกระจายตัวของ Stress ในแกน y นั้นถูกละไวเนื่องจากมีผลกระทบนอยมากในชิ้นงานที่บาง
คําตอบ 3 : การกระจายตัวของ Stress ในแกน z นั้นถูกละไวเนื่องจากมีผลกระทบนอยมากในชิ้นงานที่บาง


คําตอบ 4 : การกระจายตัวของ Stress ในแกน y และ z นั้นถูกละไวเนื่องจากมีผลกระทบนอยมากในชิ้นงานที่บาง

น่ า
ํจาห
ขอที่ : 30
ทฤษฏีการแตกของ Griffith กลาววา
คําตอบ 1 : จะเกิดการเติบโตของรอยแตกในวัสดุ เมื่อ Stress energy ในวัสดุนั้นถูกปลดปลอยออกมา โดยมีคาอยางนอยเทากับพลังงานที่ใชในการสรางผิ


คําตอบ 2 : จะเกิดการเติบโตของรอยแตกในวัสดุ เมื่อ Plasticity ในวัสดุนั้นถูกปลดปลอยออกมา โดยมีคาอยางนอยเทากับพลังงานที่ใชในการสรางผิวใหม

้ า
คําตอบ 3 : จะเกิดการเติบโตของรอยแตกในวัสดุ เมื่อ Dislocation ในวัสดุนั้นถูกปลดปลอยออกมา โดยมีคาอยางนอยเทากับพลังงานที่ใชในการสรางผิวใ

ิธ์ ห
จะเกิดการเติบโตของรอยแตกในวัสดุ เมื่อ Stored strain energy ในวัสดุนั้นถูกปลดปลอยออกมา โดยมีคาอยางนอยเทากับพลังงานที่ใชในกา
คําตอบ 4 :
ใหม

ขอที่ : 31

สิท

ทฤษฏีการแตกของ Griffith ไมไดกลาวถึง

ง ว
คําตอบ 1 : ใชหลักการของ Energy balance


คําตอบ 2 : การแตกหักในวัสดุเปราะ


คําตอบ 3 : จุดกําเนิดของรอยแตก


คําตอบ 4 : การเติบโตของรอยแตก

ก ร

ขอที่ : 32



ในการทดสอบเพื่อหาคา Fracture toughness ของวัสดุที่สามารถนําไปใชงานในการออกแบบอยางปลอดภัยควรทดสอบในสภาวะที่เปน


คําตอบ 1 :


Plane-stress condition
คําตอบ 2 :

สภ
Plane-strain condition
คําตอบ 3 : Low-stress condition
คําตอบ 4 : Low-strain condition

ขอที่ : 33
ขอใดคือความแตกตางระหวาง LEFM และ EPFM

คําตอบ 1 : Applied stresses


11 of 51
คําตอบ 2 : Plastic-zone size
คําตอบ 3 : จุดกําเนิดของรอยแตก
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

่ าย
ขอที่ : 34


Fracture toughness คือ

ํจาห
คําตอบ 1 : ความสามารถของวัสดุในการตานทานตอแรงกระแทก
คําตอบ 2 : ความสามารถของวัสดุในการตานทานตอการเปลี่ยนรูป
คําตอบ 3 : ความสามารถของวัสดุในการตานทานตอการเติบโตของรอยแตก


คําตอบ 4 : ความสามารถของวัสดุในการตานทานตอแรงกระทําและสภาพการกัดกรอน

ขอที่ : 35

ิธ์ ห้ า
ในการทดสอบ Fracture toughness KIC การเตรียมชิ้นงานทดสอบจะตองเปนไปตามขอกําหนด โดยคาตัวแปรที่เกี่ยวของจะตองมีคาที่เกินกวา 2.5(KIC/yield

ิท
คาตัวแปรใดไมเกี่ยวของกับขอกําหนดนี้


คําตอบ 1 : ao – Original crack length


คําตอบ 2 : B – Specimen thickness

ง ว
คําตอบ 3 : W- Specimen width


คําตอบ 4 : W-ao - Ligament

ขอที่ :

ร ข
36


ในการทดสอบคา Plane-strain fracture toughness KIC โดยเลือกใชชิ้นงานที่มีความหนา 15 มิลลิเมตร ความกวาง 20 มิลลิเมตร และมีความยาวรอยแตกเริ่มต


มิลลิเมตร หลังจากทําการทดสอบ สามารถคํานวณคา KQ ได 45 MPa.m1/2 หากชิ้นงานดังกลาวมีคา Yield strength ณ อุณหภูมิทดสอบเดียวกันเทากับ 950
จากการพิจารณา KIC Validation ตอไปนี้ ขอใดถูก

วศ

คําตอบ 1 : ชิ้นงานนี้ไมผาน KIC Validation เนื่องจากคาความหนาชิ้นงานไมผานตามขอกําหนด


คําตอบ 2 : ชิ้นงานนี้ไมผาน KIC Validation เนื่องจากคาความกวางชิ้นงานไมผานตามขอกําหนด

สภ
คําตอบ 3 : ชิ้นงานนี้ผาน KIC Validation เนื่องจากคา Yield strength ของชิ้นงานผานตามขอกําหนด
คําตอบ 4 : ชิ้นงานนี้ผาน KIC Validation เนื่องจากคาขนาดของชิ้นงานและขนาดรอยแตกผานตามขอกําหนด

ขอที่ : 37
ในการทดสอบคา Plane-strain fracture toughness KIC โดยเลือกใชชิ้นงานที่มีความหนา 5 มิลลิเมตร ความกวาง 10 มิลลิเมตร และมีความยาวรอยแตกเริ่มตน
มิลลิเมตร หลังจากทําการทดสอบ สามารถคํานวณคา KQ ได 40 MPa.m1/2 หากชิ้นงานดังกลาวมีคา Yield strength ณ อุณหภูมิทดสอบเดียวกันเทากับ 910
จากการพิจารณา KIC Validation ตอไปนี้ ขอใดผิด
12 of 51
คําตอบ 1 : ชิ้นงานนี้ไมผาน KIC Validation เนื่องจากคาความหนาชิ้นงานไมผานตามขอกําหนด
คําตอบ 2 : ชิ้นงานนี้ไมผาน KIC Validation เนื่องจากคาความกวางชิ้นงานไมผานตามขอกําหนด
คําตอบ 3 : ชิ้นงานนี้ไมผาน KIC Validation เนื่องจากคาความยาวรอยแตกเริ่มตนของชิ้นงานไมผานตามขอกําหนด
คําตอบ 4 : ชิ้นงานนี้ไมผาน KIC Validation เนื่องจากคาความแตกตางของความกวางและความยาวรอยแตกเริ่มตนของชิ้นงานไมผานตามขอกําหนด

่ าย

ขอที่ : 38

ํจาห
ในการทดสอบ Fracture toughness ที่อุณหภูมิหอง เมื่อเรากําหนดใหขนาดของความหนาของชิ้นงานเพิ่มขึ้น เราจะพบวา
คําตอบ 1 : คา Fracture toughness เพิ่มขึ้น
คําตอบ 2 : Plastic zone size ที่บริเวณใกลปลายรอยแตกเพิ่มขึ้น


คําตอบ 3 : Local stresses ที่บริเวณใกลปลายรอยแตกเพิ่มขึ้น

้ า
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 39
ิธ์ ห
ิท
หากทําการทดสอบ Fracture toughness โดยวัสดุชนิดเดียวกัน แตชิ้นงานมีความหนาตางกันคือ 10 มิลลิเมตรและ 30 มิลลิเมตร เราจะพบวา


คําตอบ 1 : คา Fracture toughness จะเทากันในทั้งสองกรณี

วน
คําตอบ 2 : คา Fracture toughness ในชิ้นงานหนาจะมากกวา


คําตอบ 3 : คา Fracture toughness ในชิ้นงานบางจะมากกวา


คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ :

ร ข
40


เมื่อเราทําการทดสอบ Fracture toughness ของชิ้นงานที่อุณหภูมิตางๆกัน เราจะพบวา


คําตอบ 1 : คา Fracture toughness จะเพิ่มขึ้นเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น



คําตอบ 2 : คา Fracture toughness จะลดลงเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น

าว
คําตอบ 3 : คา Fracture toughness ไมขึ้นอยูกับอุณหภูมิ

สภ
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 41
ในการศึกษา Fracture toughness ในชิ้นงานโลหะ ขอใดกลาว ถูก เมื่ออุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น

คําตอบ 1 : Plastic zone size เพิ่มขึ้น


คําตอบ 2 : Local stresses ที่บริเวณใกลปลายของรอยแตกเพิ่มมากขึ้น
คําตอบ 3 : คา Fracture toughness ลดลง 13 of 51
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 42


ขอใดถูกเกี่ยวกับ คารัศมีของ Plastic zone ใกลบริเวณปลายของรอยแตก

่ า
คําตอบ 1 : คารัศมีของ Plastic zone ในสภาวะที่เปน Plane stress มากกวา Plane strain


คําตอบ 2 : คารัศมีของ Plastic zone ในสภาวะที่เปน Plane stress นอยกวา Plane strain

ํจาห
คําตอบ 3 : คารัศมีของ Plastic zone ในสภาวะที่เปน Plane stress เทากับ Plane strain
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

้ าม
ขอที่ : 43

ิธ์ ห
ขอใดเกี่ยวของกับการศึกษา Plastic-elastic fracture mechanics นอยที่สุด
คําตอบ 1 : KIC fracture toughness
คําตอบ 2 :

ิท
Crack Tip Opening Displacement
คําตอบ 3 :


J-integral
คําตอบ 4 : ทุกขอที่กลาวมา

ขอที่ : 44

ง วน

โครงสรางทางโลหวิทยาใดมีผลตอคา Fracture toughness ของชิ้นงาน

ขอ
คําตอบ 1 : ขนาดของเกรน


คําตอบ 2 : ปริมาณธาตุผสม


คําตอบ 3 : ขนาดของขอตําหนิที่เกิดขึ้นในชิ้นงาน


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

าวศ

ขอที่ : 45

สภ
โดยทั่วไปแลวการปรับปรุงวัสดุเพื่อทําให Strength เพิ่มขึ้นมักมีผลทําให Fracture toughness ของวัสดุมีคาที่ดอยลง อยากทราบวาการปรับปรุงวัสดุในขอใดมีผ
ทั้งการเปลี่ยนแปลงของทั้ง Strength และ Fracture toughness เปนไปในทางที่ดีขึ้น
คําตอบ 1 : Cold working
คําตอบ 2 : การทํา Strain hardening
คําตอบ 3 : ลดขนาดของเกรน
คําตอบ 4 : เพิ่ม Alloying elements

14 of 51
ขอที่ : 46
LEFM ถูกนํามาใชในการศึกษาความลาอยางไร
คําตอบ 1 : ศึกษาอัตราการเติบโตของรอยแตกในสภาวะ Combined loading
คําตอบ 2 : ศึกษาอัตราการเติบโตของรอยแตกในสภาวะ Cyclic loading


คําตอบ 3 : ศึกษาจุดกําเนิดของรอยแตกในสภาวะ Combined loading

่ า
คําตอบ 4 : ศึกษาจุดกําเนิดของรอยแตกในสภาวะ Cyclic loading


ํจาห
ขอที่ : 47
วัสดุประเภทใดมี Fracture toughness ที่นอยที่สุด


คําตอบ 1 :

้ า
Steels
คําตอบ 2 :

ิธ์ ห
Aluminium alloys
คําตอบ 3 : Titanium alloys
คําตอบ 4 : Concrete

ขอที่ : 48

สิท
วน
ทําอยางไรจึงจะสามารถเพิ่มสมบัติ Fracture toughness ในวัสดุที่เปราะมากๆ


คําตอบ 1 : เสริมแรงดวยวัสดุเสนใย


คําตอบ 2 : ทําใหโครงสรางเกิดรูพรุน


คําตอบ 3 : เพิ่มความแข็งใหกับวัสดุ


คําตอบ 4 : ทําใหเกิด Oxide scale ที่ผิว

ก ร

ขอที่ : 49



การเสริมแรงดวยเสนใยในวัสดุที่เปราะมีผลอยางไรตอสมบัติ Fracture toughness ของวัสดุ (สมมติใหการยึดเหนี่ยวระหวางเสนใยและวัสดุพื้นสมบูรณ)

าว
คําตอบ 1 : ทําใหชิ้นงานมี Fracture toughness ที่ลดลง

สภ
คําตอบ 2 : ทําใหรอยแตกของวัสดุเรียบขึ้น
คําตอบ 3 : วัสดุเสนใยทําใหเกิดการชะลอการเติบโตของรอยแตก
คําตอบ 4 : วัสดุเสนใยทําใหอัตราการการเติบโตของรอยแตกเพิ่มขึ้น

ขอที่ : 50
Fracture mechanics มีประโยชนในการศึกษา วิจัยและพัฒนาการใชงานทางดานใด
คําตอบ 1 : Electronics applications 15 of 51
คําตอบ 2 : Medical applications
คําตอบ 3 : Aerospace applications
คําตอบ 4 : ทุกชอที่กลาวมา

่ าย
ขอที่ : 51


ขอใดตอไปนี้ผิด

ํจาห
คําตอบ 1 : Fatigue เปนปรากฏการณที่โลหะเสียหายที่ความเคนต่ํากวา Ultimate Tensile Strength โดยไดรับความเคนเปนวัฏจักรเปนระยะเวลานาน
คําตอบ 2 : Creep เปนปรากฏการณที่โลหะเสียหายที่ความเคนต่ํากวา Ultimate Tensile Strength โดยไดรับความเคนที่อุณหภูมิสูงเปนระยะเวลานาน
คําตอบ 3 : การชุบแข็งผิวมีวัตถุประสงคเพื่อเพิ่ม Creep Resistance


คําตอบ 4 : โลหะนอกกลุมเหล็กสวนใหญ (ยกเวนไททาเนียม) ไมมี Endurance Limit

ขอที่ : 52
ขอใดผิด
ิธ์ ห้ า
ิท
คําตอบ 1 : โลหะนอกกลุมเหล็กสวนใหญจะไมปรากฏ Endurance limit


คําตอบ 2 : Shot peening เปนวิธีการปรับปรุง Fatigue Strength โดยอาศัย Residual Stress

วน
คําตอบ 3 : Surface rolling เปนวิธีการปรับปรุง Fatigue Strength ที่เหมาะสําหรับชิ้นงานที่มีรูปรางซับซอน


คําตอบ 4 : รอยแตกเนื่องจากความลามักจะมีจุดเริ่มตนจากบริเวณผิวชิ้นงาน

ขอที่ :

อ ส

53


ชิ้นสวนในขอใดตอไปนี้มีความเสี่ยงตอการเสียหายจาก Creep มากที่สุด


คําตอบ 1 : ใบกังหันเครื่องยนต Gas Turbine


คําตอบ 2 : เพลาขอเหวี่ยง



คําตอบ 3 : เสื้อสูบ

าว
คําตอบ 4 : ใบพัดเฮลิคอปเตอร

สภ
ขอที่ : 54
ขอใดผิด
คําตอบ 1 : วัสดุที่มีจุดหลอมตัวสูงมักจะมี Creep resistance สูง
คําตอบ 2 : วัสดุที่มี Second phase จําพวก Intermetallic compound ที่มีจุดหลอมตัวสูงจะมี Creep resistance สูง
คําตอบ 3 : Stress-Rupture test เปนการทดสอบ Creep resistance ที่ละเอียดใชเวลายาวนานกวาการทดสอบ Creep ปกติ
คําตอบ 4 : Creep rate หาไดจากความชันที่นอยที่สุดของ Creep curve
16 of 51
ขอที่ : 55
ขอใดไมใชกลไกการเกิด Creep
คําตอบ 1 : Dislocation Glide


คําตอบ 2 :

่ า
Dislocation Creep
คําตอบ 3 :


Grain Boundary Sliding
คําตอบ 4 : Transitional Glide

ขอที่ : 56

ํจาห

ขอใดเปนคําอธิบายเกี่ยวกับ Superplasticity ที่ถูกตอง

้ า
คําตอบ 1 : เปนปรากฏการณที่โลหะเกิดความเครียดไดมากโดยไมทําใหเกิดการเสียรูปอยางถาวร

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : เปนปรากฏการณที่โลหะเกิดความเครียดอยางถาวรไดมากกอนเกิดการขาดหรือเสียหาย
คําตอบ 3 : เปนปรากฏการณที่โลหะสามารถรับแสงสั่นสะเทือนไดมากกอนพังทลาย

ิท
คําตอบ 4 : เปนปรากฏการณที่โลหะสามารถเชื่อมประสานกับวัสดุพอลิเมอรประเภทเทอโมพลาสติกไดดีเปนพิเศษ

นส

ขอที่ : 57

สง
ร ขอ
วก
าวศ

สภ
จากแผนภาพ Stress - Larson-Miller parameter ของ Astroloy ขางบน จงคํานวณหาความเคนที่ทําให Astroloy เสียหายในเวลา 100,000 ชั่วโมง ที่อุณหภู
17 of 51
องศาเคลวิน
่ าย

ํจาห
้ าม
ิธ์ ห
สิท
ง วน
อ ส

คําตอบ 1 : 100 MPa


คําตอบ 2 :


350 MPa


คําตอบ 3 : 500 MPa



คําตอบ 4 : 85 MPa

าว
สภ
ขอที่ : 58

จากแผนภาพ Stress - Larson-Miller parameter ของ Astroloy ขางบน จงคํานวณหาความเคนที่ทําให Astroloy เสียหายในเวลา 100,000 ชั่วโมง ที่อุณหภู
18 of 51
องศาเคลวิน
่ าย

ํจาห
้ าม
ิธ์ ห
สิท
ง วน
อ ส

คําตอบ 1 : 100 MPa


คําตอบ 2 :


350 MPa


คําตอบ 3 : 500 MPa



คําตอบ 4 : 85 MPa

าว
สภ
ขอที่ : 59

จากแผนภาพถาชิ้นงานเหล็กกลา Unnotched AISI 4340 ไดรับแรงที่เปนวัฏจักร (Cyclic Stress) โดยมี Maximum Stress 850 MPa และ Minimum Stres
19 of 51
จงทํานายอายุการใชงานของชิ้นงานดังกลาว
่ าย

ํจาห
้ าม
ิธ์ ห
สิท
ง วน
อ ส
ก ร ข

ิ ว คําตอบ 1 : 100000 รอบ

าว
คําตอบ 2 : 1000000 รอบ

สภ
คําตอบ 3 : 1000000 รอบ
คําตอบ 4 : 1000000 รอบ

ขอที่ : 60

จากแผนภาพถาชิ้นงานเหล็กกลา Notched AISI 4340 ไดรับแรงที่เปนวัฏจักร (Cyclic Stress) โดยมี Alternating Stress 200 MPa และ Mean Stress 400
20 of 51
ทํานายอายุการใชงานของชิ้นงานดังกลาว
่ าย

ํจาห
้ าม
ิธ์ ห
สิท
ง วน
อ ส
ก ร ข

ิ ว คําตอบ 1 : 100000 รอบ

าว
คําตอบ 2 : 1000000 รอบ

สภ
คําตอบ 3 : 10000000 รอบ
คําตอบ 4 : 100000000 รอบ

ขอที่ : 61
ชิ้นสวนใดตอไปนี้มีความเสี่ยงตอการเสียหายจากความลามากที่สุด
คําตอบ 1 : กรอปหนาตาง
คําตอบ 2 : ผาเบรกรถยนต 21 of 51
คําตอบ 3 : ปกเครื่องบิน
คําตอบ 4 : กลอนประตู


ขอที่ : 62

่ า
ขอใดผิด


คําตอบ 1 : ความเสียหายจากความลาถือเปนแบบที่ไมมีการเตือน เพราะสังเกตรอยแตกขณะใชงานไดยาก

ํจาห
คําตอบ 2 : ความเรียบของผิวมีผลตอ Fatigue Strength
คําตอบ 3 : รอยแตกเนื่องจากความลาจะมีลักษณะเหมือนรอยคลื่นบนหาดทรายเรียกวา “Striation”
คําตอบ 4 : การชุบแข็งผิวมักใหผลเสียตอ Fatigue Strength

้ าม
ิธ์ ห
ขอที่ : 63
ขอใดตอไปนี้ไมใชปจจัยที่ทําใหเกิดการแตกแบบ Brittle-Cleavage
คําตอบ 1 :

ิท
Triaxial State of Stress
คําตอบ 2 :


High Strain Rate
คําตอบ 3 : อุณหภูมิต่ํา

วน
คําตอบ 4 : ผิดทุกขอ

ขอที่ :

สง

64

ก ร ข

ิ ว
าว
สภ
22 of 51
จากภาพชิ้นงานดานบนเกิดการแตกแบบใดดวยแรงกระทําแบบใด?
่ าย

ํจาห
้ าม
ิธ์ ห
สิท
ง วน

คําตอบ 1 : แตกแบบเหนียว - แรงดึง


คําตอบ 2 : แตกแบบเปราะ - แรงดึง


คําตอบ 3 : แตกแบบเหนียว – แรงบิด


คําตอบ 4 : แตกแบบเปราะ – แรงบิด

วก


ขอที่ : 65

าว
สภ
23 of 51
จากภาพชิ้นงานดานลางเกิดการแตกแบบใดดวยแรงกระทําแบบใด?
่ าย

ํจาห
้ าม
ิธ์ ห
สิท
ง วน

คําตอบ 1 : แตกแบบเหนียว - แรงดึง


คําตอบ 2 : แตกแบบเหนียว – แรงบิด


คําตอบ 3 : แตกแบบเปราะ - แรงดึง


คําตอบ 4 : แตกแบบเปราะ – แรงบิด

วก


ขอที่ : 66

าว
สภ
24 of 51
จากภาพชิ้นงานดานซายเกิดการแตกแบบใดดวยแรงกระทําแบบใด?
่ าย

ํจาห
้ าม
ิธ์ ห
สิท

คําตอบ 1 : แตกแบบเหนียว - แรงดึง

ง ว
คําตอบ 2 : แตกแบบเปราะ - แรงดึง


คําตอบ 3 : แตกแบบเหนียว – แรงบิด


คําตอบ 4 : แตกแบบเปราะ – แรงบิด

ขอที่ :

ก ร ข
67


ิ ว
าว
สภ
25 of 51
จากภาพชิ้นงานดานขวาเกิดการแตกแบบใดดวยแรงกระทําแบบใด?
่ าย

ํจาห
้ าม
ิธ์ ห
สิท

คําตอบ 1 : แตกแบบเหนียว - แรงดึง

ง ว
คําตอบ 2 : แตกแบบเปราะ - แรงดึง


คําตอบ 3 : แตกแบบเหนียว – แรงบิด


คําตอบ 4 : แตกแบบเปราะ – แรงบิด

ขอที่ :

ก ร ข
68


ขอใดเปนหนึ่งในกลไกการเกิดความลาในโลหะทั่วไป



คําตอบ 1 : การกอตัวของรอยแตก(crack initiation)


คําตอบ 2 : การขยายตัวของรอยแตก(crack propagation)


คําตอบ 3 : การแตกหักเนื่องจากคาความเคนเกิดคา Ultimate tensile strength

สภ
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 69
ขอใดคือปจจัยที่สําคัญของการเกิดความลาในโลหะ
คําตอบ 1 : คาความเคนแรงดึงสูงสุดขณะรับภาระกรรมแบบไดนามิกสตองมีคามากพอ
คําตอบ 2 : การเปลี่ยนแปลงคาความเคนตองมีขนาดที่กวางพอ
26 of 51
คําตอบ 3 : การรับภาระกรรมแบบซ้ําที่จํานวนรอบมากพอ
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ


ขอที่ : 70

่ า
ชิ้นสวนในขอใดตอไปนี้เสี่ยงตอการเสียหายเนื่องจากความลา (Fatigue) นอยที่สุด


คําตอบ 1 : จานโซรถจักรยานยนต

ํจาห
คําตอบ 2 : ปกเครื่องบิน
คําตอบ 3 : ฟนเฟองนาฬิกาขอมือ
คําตอบ 4 : เพลารถสิบลอ

้ าม
ิธ์ ห
ขอที่ : 71
ขอใดตอไปนี้ไมนาจะชวยปองกันการเสียหายจากความลาได
คําตอบ 1 : ขัดผิวชิ้นสวนใหเรียบที่สุดเทาที่จะทําได

ิท
คําตอบ 2 : ชุบแข็งผิวชิ้นสวน


คําตอบ 3 : ออกแบบไมใหมีจุดเปลี่ยนแปลงมิติอยางฉับพลัน

วน
คําตอบ 4 : ออกแบบใหชิ้นสวนรับแรงไมต่ํากวา Fatigue Limit

ขอที่ :

สง

72
ขอใดผิด

ร ข
คําตอบ 1 : ความเสียหายจากความลาถือเปนแบบที่ไมมีการเตือน เพราะสังเกตรอยแตกขณะใชงานไดยาก


คําตอบ 2 : ความเรียบของผิวมีผลตอ Fatigue Strength


คําตอบ 3 : แตกเนื่องจากความลาจะมีลักษณะเหมือนรอยคลื่นบนหาดทรายเรียกวา “Striation”



คําตอบ 4 : การชุบแข็งผิวดวยวิธี Nitriding มักใหผลเสียตอ Fatigue Strength

าว
สภ
ขอที่ : 73
วัสดุที่เหมาะสมตอการนําไปใชงานเปนแหนบรถยนต, สปริงควรมีสมบัติเชิงกลในขอใดสูง
คําตอบ 1 : Ultimate Tensile Strength
คําตอบ 2 : Hardness
คําตอบ 3 : Modulus of Resilience
คําตอบ 4 : Fracture Toughness

27 of 51
ขอที่ : 74
สมบัติเชิงกลในขอใดตอไปนี้เปนดัชนีชี้วัดวาวัสดุมีความเหนียวมากนอยแคไหน
คําตอบ 1 : Ultimate Tensile Strength
คําตอบ 2 : Modulus of Elasticity


คําตอบ 3 :

่ า
%Reduction of Area
คําตอบ 4 :


Yield Strength

ํจาห
ขอที่ : 75
สมบัติเชิงกลในขอใดตอไปนี้เปนดัชนีชี้วัดวาวัสดุรับแรงไดเทาใดจึงจะเกิดการเสียรูปอยางถาวร


คําตอบ 1 :

้ า
Ultimate Tensile Strength
คําตอบ 2 :

ิธ์ ห
Modulus of Elasticity
คําตอบ 3 : %Reduction of Area
คําตอบ 4 : Yield Strength

ขอที่ : 76

สิท
วน
สมบัติเชิงกลในขอใดตอไปนี้เปนดัชนีชี้วัดวาวัสดุรับแรงกระแทกไดมากนอยเทาใด


คําตอบ 1 : Ultimate Tensile Strength


คําตอบ 2 : Modulus of Elasticity


คําตอบ 3 : %Reduction of Area


คําตอบ 4 : Toughness

ก ร

ขอที่ : 77



ขอความใดตอไปนี้ผิด

าว
คําตอบ 1 : Modulus of Elasticity หาไดจาก Stress หารดวย Strain ในชวง Elastic Deformation

สภ
คําตอบ 2 : การเสียหายแบบเปราะเปนการเสียหายแบบมีการเตือน โดยจะวัสดุสงเสียงดังกอนที่จะเกิดการเสียหาย
คําตอบ 3 : Ultimate Tensile Strength เปนดัชนีบอกความแข็งแรงของวัสดุ
คําตอบ 4 : Elongation เปนดัชนีบอกความสามารถในการขึ้นรูปดวยแรงทางกลของวัสดุ

ขอที่ : 78
ขอความใดตอไปนี้ผิด
คําตอบ 1 : การวัดความแข็งแบบ Brinell มีขอไดเปรียบคือมีพื้นที่วัดความแข็งกวางทําใหไดคาความแข็งเฉลี่ยในวัสดุที่ประกอบไปดวยหลายเฟส 28 of 51
คําตอบ 2 : คาความแข็งของเพชรเทากับ 100 HRC
คําตอบ 3 : การวัดความแข็งแบบ Vicker ใชหัวกดเปนลูกบอลเหล็กกลาใหรอยกดเปนวงกลม
คําตอบ 4 : เหล็กหลอนิยมใชการวัดความแข็งแบบ Brinell

่ าย
ขอที่ : 79


ขอความใดตอไปนี้ผิด

ํจาห
คําตอบ 1 : Microhardness มีพื้นที่รอยกดเล็กเหมาะสําหรับใชวัดความแข็งเฉพาะบริเวณ
คําตอบ 2 : คาความแข็ง Rockwell ขึ้นอยูกับระยะการจมลึกลงของหัวกด
คําตอบ 3 : คาความแข็ง Vicker คํานวณไดจากความยาวของเสนทแยงมุมของรอยกด


คําตอบ 4 : การวัดความแข็งแบบ Rockwell scale C ใชน้ําหนักกด 100 กิโลกรัม

ขอที่ : 80

ิธ์ ห้ า
ขอใดตอไปนี้ไมเขาพวก

ิท
คําตอบ 1 :


Rockwell Hardness
คําตอบ 2 :


Brinell Hardness


คําตอบ 3 : Micro Hardness


คําตอบ 4 : Vicker Hardness

ขอที่ :

อ ส

81


ขอใดตอไปนี้ไมเขาพวก


คําตอบ 1 : Scratch Hardness


คําตอบ 2 : Vicker Hardness



คําตอบ 3 :


Brinell Hardness


คําตอบ 4 : Rockwell Hardness

สภ
ขอที่ : 82
ชิ้นงานทดสอบแรงดึงมีเสนผานศูนยกลาง 12 มิลลิเมตรและ gage length ยาว 50 มิลลิเมตร สามารถรับแรงไดสูงสุดที่ 90 kN และเกิดการแตกหักที่ 70 kN มีเส
ศูนยกลางของรอยแตก 10 มิลลิเมตร จงคํานวณหา Engineering stress สูงสุดที่ชิ้นงานรับได (Ultimate Tensile Stress)

คําตอบ 1 : 596 MPa


คําตอบ 2 : 696 MPa
คําตอบ 3 : 796 MPa
29 of 51
คําตอบ 4 : 896 MPa

ขอที่ : 83


ชิ้นงานทดสอบแรงดึงมีเสนผานศูนยกลาง 12 มิลลิเมตรและ gage length ยาว 50 มิลลิเมตร สามารถรับแรงไดสูงสุดที่ 90 kN และเกิดการแตกหักที่ 70 kN มีเส

่ า
ศูนยกลางของรอยแตก 10 มิลลิเมตร จงคํานวณหา True fracture stress


คําตอบ 1 : 791 MPa

ํจาห
คําตอบ 2 : 891 MPa
คําตอบ 3 : 991 MPa
คําตอบ 4 : 1091 MPa

้ าม
ิธ์ ห
ขอที่ : 84
Modulus of Rigidity หาไดจากการทดสอบแบบใด
คําตอบ 1 : Tension Test

ิท
คําตอบ 2 : Torsion Test


คําตอบ 3 : Compression Test


คําตอบ 4 :


Bending Test

ขอที่ : 85

สง

ชิ้นงานทดสอบแรงดึงมีเสนผานศูนยกลาง 12 มิลลิเมตรและ gage length ยาว 50 มิลลิเมตร สามารถรับแรงไดสูงสุดที่ 90 kN และเกิดการแตกหักที่ 70 kN มีเส


ศูนยกลางของรอยแตก 10 มิลลิเมตร จงคํานวณหา True fracture strain


คําตอบ 1 :


0.265


คําตอบ 2 : 0.365



คําตอบ 3 : 0.465


คําตอบ 4 : 0.565


สภ
ขอที่ : 86
ชิ้นงานทดสอบแรงดึงมีเสนผานศูนยกลาง 12 มิลลิเมตรและ gage length ยาว 50 มิลลิเมตร สามารถรับแรงไดสูงสุดที่ 90 kN และเกิดการแตกหักที่ 70 kN มีเส
ศูนยกลางของรอยแตก 10 มิลลิเมตร จงคํานวณหา Engineering fracture strain
คําตอบ 1 : 0.14
คําตอบ 2 : 0.24
คําตอบ 3 : 0.34
คําตอบ 4 : 0.44 30 of 51
ขอที่ : 87
ชิ้นงานทดสอบแรงดึงทรงกระบอกมีเสนผานศูนยกลาง 13 มิลลิเมตร มี Gage length ยาว 50 มิลลิเมตร แรงสูงสุด (Maximum load) ที่ชิ้นงานรับไดเทากับ 840
กิโลกรัม เสนผานศูนยกลางหนาตัดของรอยแตก 8 มิลลิเมตร ความยาวของชิ้นงานหลังจากขาดเทากับ 65 มิลลิเมตร จงคํานวณหา Ultimate Tensile Strength


คําตอบ 1 : 580 MPa

่ า
คําตอบ 2 : 600 MPa


คําตอบ 3 : 620 MPa

ํจาห
คําตอบ 4 : 640 MPa


ขอที่ : 88

้ า
ชิ้นงานทดสอบแรงดึงทรงกระบอกมีเสนผานศูนยกลาง 13 มิลลิเมตร มี Gage length ยาว 50 มิลลิเมตร แรงสูงสุด (Maximum load) ที่ชิ้นงานรับไดเทากับ 840

ิธ์ ห
กิโลกรัม เสนผานศูนยกลางหนาตัดของรอยแตก 8 มิลลิเมตร ความยาวของชิ้นงานหลังจากขาดเทากับ 65 มิลลิเมตร จงคํานวณหา %Reduction of Area
คําตอบ 1 : 58%
คําตอบ 2 :

ิท
60%
คําตอบ 3 :


62%


คําตอบ 4 : 64%

ขอที่ :

ง ว

89
ชิ้นงานทดสอบแรงดึงทรงกระบอกมีเสนผานศูนยกลาง 13 มิลลิเมตร มี Gage length ยาว 50 มิลลิเมตร แรงสูงสุด (Maximum load) ที่ชิ้นงานรับไดเทากับ 840


กิโลกรัม เสนผานศูนยกลางหนาตัดของรอยแตก 8 มิลลิเมตร ความยาวของชิ้นงานหลังจากขาดเทากับ 65 มิลลิเมตร จงคํานวณหา %Elongation

ร ข
คําตอบ 1 : 30%


คําตอบ 2 : 35%


คําตอบ 3 : 40%



คําตอบ 4 : 45%

าว
สภ
ขอที่ : 90
ชิ้นงานทดสอบแรงดึงชิ้นหนึ่งมี Gage length ยาว 61 มิลลิเมตร มีพื้นที่หนาตัด 3 ตารางมิลลิเมตร ถาตองการปรับลดขนาดชิ้นงานทดสอบแรงดึงใหมีพื้นที่หนาตั
ตารางมิลลิเมตร จะตองใหชิ้นงานทดสอบแรงดึงมี Gage length ใหมยาวเทาใด
คําตอบ 1 : 45 มิลลิเมตร
คําตอบ 2 : 50 มิลลิเมตร
คําตอบ 3 : 55 มิลลิเมตร
คําตอบ 4 : 60 มิลลิเมตร
31 of 51
ขอที่ : 91
จากภาพจงคํานวณหา Modulus of Elasticity

่ าย

ํจาห
้ าม
ิธ์ ห
สิท
ง วน
อ ส
ก ร ข

ิ ว
าว
สภ คําตอบ 1 : 83.8 MPa
คําตอบ 2 : 93.8 MPa
32 of 51
คําตอบ 3 : 83.8 GPa
คําตอบ 4 : 93.8 GPa


ขอที่ : 92

่ า
จากภาพจงคํานวณหา Yield Stress


ํจาห
้ าม
ิธ์ ห
สิท
ง วน
อ ส
ก ร ข

ิ ว
าว
สภ
33 of 51
คําตอบ 1 : 150 MPa
คําตอบ 2 : 250 MPa
คําตอบ 3 : 200 MPa
คําตอบ 4 : 300 MPa

่ าย

ขอที่ : 93

ํจาห
้ าม
ิธ์ ห
สิท
ง วน
อ ส
ก ร ข

ิ ว
าว
สภ
34 of 51
จากภาพถาชิ้นงานทรงกระบอกมีเสนผานศูนยกลาง 12.8 มิลลิเมตร จะสามารถรับแรงไดสูงสุดเทาใด?
่ าย

ํจาห
้ าม
ิธ์ ห
สิท
ง วน
อ ส
ก ร ข

ิ ว
าว
สภ คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
38.7 kN
43.5 kN
57.9 kN
73.8 kN

35 of 51
ขอที่ : 94
จากภาพถาชิ้นงานที่มี gage length 250 มิลลิเมตร ไดรับความเคน 350 MPa ชิ้นงานจะยืดออกเทาใด?

่ าย

ํจาห
้ าม
ิธ์ ห
สิท
ง วน
อ ส
ก ร ข

ิ ว
าว
สภ คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
5 mm
10 mm
คําตอบ 3 : 15 mm
36 of 51
คําตอบ 4 : 30 mm

ขอที่ : 95


จงหาคา Ultimate Tensile Strength (UTS)

น่ า
ํจาห
้ าม
ิธ์ ห
สิท
ง วน
อ ส
ก ร ข

ิ ว คําตอบ 1 : 1350 MPa


คําตอบ 2 :


1650 MPa
คําตอบ 3 :

สภ
1950 MPa
คําตอบ 4 : 2350 MPa

ขอที่ : 96

37 of 51
ถาชิ้นงานมีพื้นที่หนาตัดเทากับ 5 cm2 ชิ้นงานจะสามารถรับแรงไดเทาใดโดยที่ไมเกิด plastic deformation
่ าย

ํจาห
้ าม
ิธ์ ห
สิท
ง วน
อ ส
คําตอบ 1 : 675 kN


คําตอบ 2 :


825 kN
คําตอบ 3 :


975 kN


คําตอบ 4 : 1175 kN

าวศ

ขอที่ : 97

สภ
38 of 51
จงหาคา Young’s Modulus (Modulus of Elasticity)
่ าย

ํจาห
้ าม
ิธ์ ห
สิท
ง วน
อ ส
คําตอบ 1 : 110.1 GPa


คําตอบ 2 :


110.1 MPa
คําตอบ 3 :


222.2 GPa


คําตอบ 4 : 222.2 MPa

าวศ

ขอที่ : 98

สภ
39 of 51
ถานําโลหะชนิดนี้ไปใชงานมีรูปรางทรงกระบอกรับแรงดึง 3500 kN จงคํานวณรัศมีที่นอยที่สุดของทรงกระบอกที่สามารถรับแรงไดโดยไมเกิดการเสียหาย
่ าย

ํจาห
้ าม
ิธ์ ห
สิท
ง วน
อ ส
คําตอบ 1 : 28.7 mm


คําตอบ 2 :


25.9 mm
คําตอบ 3 :


23.9 mm


คําตอบ 4 : 21.7 mm

าวศ

ขอที่ : 99

สภ
40 of 51
จากแผนภาพ S-N curve จงระบุ endurance limit ของเหล็กกลาคารบอน 1045
่ าย

ํจาห
้ าม
ิธ์ ห
สิท
ง วน
อ ส
ก ร ข

ิ ว
าว คําตอบ 1 : 235 MPa

สภ
คําตอบ 2 : 315 MPa
คําตอบ 3 : 280 MPa
คําตอบ 4 : 350 MPa

ขอที่ : 100

41 of 51
เพลาทําจาก Red Brass ถูกใชงานภายใต Cyclic stress ขนาด 110 MPa จงทํานายอายุการใชงานของเพลา
่ าย

ํจาห
้ าม
ิธ์ ห
สิท
ง วน
อ ส
ก ร ข

ิ ว
าว คําตอบ 1 : 10000 รอบ

สภ
คําตอบ 2 : 100000 รอบ
คําตอบ 3 : 1000000 รอบ
คําตอบ 4 : 10000000 รอบ

ขอที่ : 101

42 of 51
จากภาพจงประมาณ Transition Temperature ของเหล็กกลา AISI 1020
่ าย

ํจาห
้ าม
ิธ์ ห
สิท
ง วน
อ ส
คําตอบ 1 : -60 องศาเซลเซียส

ร ข
คําตอบ 2 : -25 องศาเซลเซียส


คําตอบ 3 : 0 องศาเซลเซียส


คําตอบ 4 : 50 องศาเซลเซียส

าวศ

ขอที่ : 102

สภ
43 of 51
จากภาพจงประมาณ Transition Temperature ของเหล็กกลา AISI 1045
่ าย

ํจาห
้ าม
ิธ์ ห
สิท
ง วน
อ ส
คําตอบ 1 : -60 องศาเซลเซียส

ร ข
คําตอบ 2 : -20 องศาเซลเซียส


คําตอบ 3 : 0 องศาเซลเซียส


คําตอบ 4 : 50 องศาเซลเซียส

าวศ

ขอที่ : 103

สภ
44 of 51
จากภาพจงประมาณ Transition Temperature ของเหล็กกลา AISI 4340 ที่ผานการอบชุบใหเปน Martensite
่ าย

ํจาห
้ าม
ิธ์ ห
สิท
ง วน
อ ส
ก ร ข

ิ ว
าว
สภ คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
-110 องศาเซลเซียส
-50 องศาเซลเซียส
คําตอบ 3 : -75 องศาเซลเซียส
คําตอบ 4 : -25 องศาเซลเซียส 45 of 51
ขอที่ : 104
จากภาพจงประมาณ Transition Temperature ของเหล็กกลา AISI 4140 ที่ผานการอบชุบใหเปน Martensite

่ าย

ํจาห
้ าม
ิธ์ ห
สิท
ง วน
อ ส
ก ร ข

ิ ว
าว
สภ
คําตอบ 1 : -110 องศาเซลเซียส 46 of 51
คําตอบ 2 : -75 องศาเซลเซียส
คําตอบ 3 : -50 องศาเซลเซียส
คําตอบ 4 : -25 องศาเซลเซียส

่ าย
ขอที่ : 105


จงหาคาความแข็งแรงดึงสูงสุด (Ultimate Tensile Strength) ของ Stainless Steel 18-8

ํจาห
้ าม
ิธ์ ห
สิท
ง วน
อ ส
ก ร ข

ิ ว
าว
สภ
คําตอบ 1 : 180 psi
คําตอบ 2 : 180,000 psi
คําตอบ 3 : 210 psi
คําตอบ 4 : 210,000 psi

ขอที่ : 106 47 of 51
ขอใดตอไปนี้เรียงลําดับ %Elongation จากมากไปหานอยไดถูกตอง

่ าย

ํจาห
้ าม
ิธ์ ห
สิท
ง วน
อ ส
ก ร ข
คําตอบ 1 : Structural Steel > Stainless Steel 18 – 8 > Magnesium


คําตอบ 2 : Stainless Steel 18 – 8 > Magnesium > Structural Steel



คําตอบ 3 : Structural Steel > Magnesium > Stainless Steel 18 – 8


คําตอบ 4 : Magnesium > Stainless Steel 18 – 8 > Structural Steel


สภ
ขอที่ : 107
คาสมบัติทางกลใดที่ไมไดจากการทดสอบแรงดึง
คําตอบ 1 : Percent elongation
คําตอบ 2 : Elastic modulus
คําตอบ 3 : Tensile strength
คําตอบ 4 : Fracture toughness
48 of 51
ขอที่ : 108
ขอใดไมใชปจจัยที่ตองทําการควบคุมในการทดสอบแรงดึง
คําตอบ 1 : ความเรียบของผิวชิ้นงานในกรณีที่เปนโลหะที่สมบัติเชิงกลไวตอรอยบาก


คําตอบ 2 : อัตราการใหคาความเครียด(strain rate)

่ า
คําตอบ 3 : ระยะเกจ


คําตอบ 4 : สัดสวนของเกจตอความยาวชิ้นงาน

ขอที่ : 109

ํจาห

ในการใชงานโลหะในงานดานโครงสรางสมบัติเชิงกลตัวใดมีความสําคัญนอยที่สุดเมื่อเทียบกับสมบัติอื่นๆ

้ า
คําตอบ 1 :

ิธ์ ห
Elastic Modulus
คําตอบ 2 : Percent elongation
คําตอบ 3 : Tensile strength

ิท
คําตอบ 4 : Yield Strength

นส

ขอที่ : 110


สมบัติใดบางที่จําเปนตองพิจารณาในการเลือกใชโลหะที่ใชทําแกนของกังหันของเครื่องกําเนิดไฟฟา


คําตอบ 1 : Creep strength


คําตอบ 2 : corrosion resistance


คําตอบ 3 : Fracture toughness


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

วก


ขอที่ : 111


ขอใดผิดเกี่ยวกับการทดลองความแข็ง


สภ
คําตอบ 1 : การทดสอบความแข็งของโครงสรางขนาดเล็กควรใชเครื่องทดสอบแบบ micro vickers
คําตอบ 2 : หัวกดที่ใชในการทดสอบความแข็งแบบ brinell เปนหัวเพชรรูปหกเหลี่ยม
คําตอบ 3 : การทดสอบความแข็งดวยวิธี brinell สามารถประมาณความแข็งเฉลี่ยของโลหะได
คําตอบ 4 : ในกรณีที่เราไมสามารถหาเครื่องวัดความแข็งไดเราสามารถประมาณความแข็งอยางคราวไดจากการ scratch test

ขอที่ : 112
ขอใดถูกตองเกี่ยวกับ Transition Temperature
49 of 51
คําตอบ 1 : ไมควรนําโลหะไปใชงานที่อุณหภูมิสูงกวา Transition Temperature
คําตอบ 2 : Transition Temperature คืออุณหภูมิที่โลหะเปลี่ยนเฟสทําใหมีความแข็งต่ําลง
คําตอบ 3 : Transition Temperature คืออุณหภูมิที่โลหะเปลี่ยนพฤติกรรมการแตก
คําตอบ 4 : การใชงานโลหะที่อุณหภูมิสูงกวา Transition Temperature จะทําใหเสี่ยงตอการเกิดความคืบ (Creep)

่ าย

ขอที่ : 113

ํจาห
ขอใดผิด
คําตอบ 1 : ขอไดเปรียบของการวัดความแข็งแบบ Brinell คือไดคาความแข็งเฉลี่ยจากหลายเฟส
คําตอบ 2 : การวัดความแข็งแบบ Rockwell สะดวกและรวดเร็ว


คําตอบ 3 : ขอเสียเปรียบของการวัดความแข็งแบบ Vickers คือไดรอยกดขนาดใหญ ทําใหชิ้นงานเสียหายมาก

้ า
คําตอบ 4 : Microhardness เหมาะสมสําหรับการวัดความแข็งของชั้นชุบผิวแข็ง

ขอที่ : 114
ิธ์ ห
ิท
ขอใดตอไปนี้ผิด


คําตอบ 1 : การวัดความแข็งแบบ Rockwell Scale C ใชแรงกด 150 kgf

วน
คําตอบ 2 : การวัดความแข็งแบบ Brinell สําหรับเหล็กกลาใชแรงกด 3000 kgf


คําตอบ 3 : การวัดความแข็งแบบ Macro Vickers ใหรอยกดรูปขาวหลามตัด


คําตอบ 4 : ความแข็ง 100 HRC เทากับความแข็งของเพชร

ขอที่ :

ร ขอ
115


ขอใดตอไปนี้จับคูวิธีการวัดความแข็งและหัวกดผิด


คําตอบ 1 : Rockwell Scale A – 1/16” Steel Ball



คําตอบ 2 : Rockwell Scale B – 1/16” Steel Ball

าว
คําตอบ 3 : Rockwell Scale C – Diamond Cone (Brale Indentor)

สภ
คําตอบ 4 : Brinell - 10 mm Steel Ball

ขอที่ : 116
หากตองเลือกโลหะไปใชงานตานทานการสึกหรอควรพิจารณาจากสมบัติในขอใด
คําตอบ 1 : Hardness
คําตอบ 2 : Ultimate Tensile Strength
คําตอบ 3 : Transverse Rupture Strength 50 of 51
คําตอบ 4 : Elongation

ขอที่ : 117


หากตองการทราบวาโลหะชนิดหนึ่งสามารถขึ้นรูปดวยแรงทางกลไดดีหรือไม ตองทําการทดสอบใดตอไปนี้

่ า
คําตอบ 1 : Hardness Test


คําตอบ 2 : Impact Test

ํจาห
คําตอบ 3 : Tension Test
คําตอบ 4 : Creep Test

้ าม
ขอที่ : 118

ิธ์ ห
หากตองการทราบวาโลหะชนิดหนึ่งสามารถใชงานที่อุณหภูมิสูงไดดีหรือไม ตองทําการทดสอบใดตอไปนี้
คําตอบ 1 : Hardness Test
คําตอบ 2 :

ิท
Impact Test
คําตอบ 3 :


Tension Test
คําตอบ 4 :


Creep Test

ขอที่ : 119

ง ว

หากตองการทราบวาโลหะชนิดหนึ่งสามารถใชงานที่อุณหภูมิต่ําไดดีหรือไม ตองทําการทดสอบใดตอไปนี้

ขอ
คําตอบ 1 : Hardness Test


คําตอบ 2 : Impact Test


คําตอบ 3 : Tension Test


คําตอบ 4 : Creep Test

าวศ

ขอที่ : 120

สภ
สมบัติเชิงกลในขอใดนาจะแปรผันตรงกับ Impact Energy
คําตอบ 1 : Yield Strength
คําตอบ 2 : Ultimate Tensile Strength
คําตอบ 3 : Fatigue Strength
คําตอบ 4 : Hardness

51 of 51

You might also like