You are on page 1of 103

สาขา: โยธา วิชา: CE61 Water Supply and Sanitary

Engineering

ขอที่ : 1


ขอมูลใดไมใชในการคํานวณหาปริมาณน้ําดิบสําหรับผลิตน้ําประปา

น่ า
คําตอบ 1 : จํานวนประชากรที่รับบริการน้ําประปา

ํจาห
คําตอบ 2 : อัตราการใชน้ําของประชากร
คําตอบ 3 : ขอบเขตและประเภทของพื้นที่รับบริการประปา
คําตอบ 4 : อายุเฉลี่ยของประชากรที่รับบริการน้ําประปา

ขอที่ :

้ าม
ิธ์ ห
2
ขอใดเปนลักษณะสมบัติทางกายภาพของน้ํา
คําตอบ 1 : ความขุน สี กลิ่น

ิท
คําตอบ 2 : ความขุน รส ความกระดาง


คําตอบ 3 : อุณหภูมิ ความเปนดาง พีเอช


คําตอบ 4 : อุณหภูมิ กลิ่น ความกระดาง

ง ว

ขอที่ : 3


ขอใดกลาวผิด

ร ข
คําตอบ 1 : น้ําบาดาลที่สูบขึ้นมาใหม มักมีคาพีเอชต่ํา


คําตอบ 2 : น้ําบาดาลที่สูบขึ้นมาใหม มีคาดีโอสูง


คําตอบ 3 : น้ําบาดาลมักมีปริมาณเหล็กและแมงกานีสสูงกวาน้ําผิวดิน



คําตอบ 4 : น้ําบาดาลที่สูบขึ้นมาใหม มักใส

าว
สภ
ขอที่ : 4
ความเปนดางของน้ําธรรมชาติ เกิดจาก

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

น่ า
ขอที่ : 5

ํจาห

อัตราการใชน้ําสวนบุคคล ไมขึ้นอยูกับปจจัยใด

้ า
คําตอบ 1 : คาน้ําประปา

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : สภาพอากาศ
คําตอบ 3 : น้ําใชเพื่องานสาธารณะประโยชน

ิท
คําตอบ 4 : คุณภาพน้ําประปา

ขอที่ :

นส

6


กระทรวงอุตสาหกรรม ไดกําหนดคามาตรฐานความขุนของน้ําดื่มไวที่เทาใด


คําตอบ 1 : 2 units


คําตอบ 2 : 3 units


คําตอบ 3 : 4 units


คําตอบ 4 : 5 units

วก


ขอที่ : 7


ขอใดกลาวผิด


สภ
คําตอบ 1 : น้ํากระดางทําใหสิ้นเปลืองสบูในงานซักลางตาง ๆ
คําตอบ 2 : น้ํากระดางทําใหเกิดตะกรันในหมอน้ํา
คําตอบ 3 : สาเหตุที่ทําใหเกิดความกระดางคือ แคลเซียม และ แมกนีเซียม
คําตอบ 4 : น้ําประปาไมควรมีความกระดางเกิน 150 มก./ล CaCO3

ขอที่ : 8
คราบสีเหลืองที่เกิดขึ้นในเครื่องสุขภัณฑในหองน้ํา เกิดจากอะไร
คําตอบ 1 : ทองแดง
คําตอบ 2 : เหล็ก
คําตอบ 3 : คลอไรด
คําตอบ 4 : แมกนีเซียม

่ าย

ขอที่ : 9

ํจาห
ในกรณีใดที่จําเปนตองมีอางเก็บน้ํา
คําตอบ 1 : อัตราเฉลี่ยของการไหลในแมน้ํา > อัตราเฉลี่ยของการใชน้ํา แตอัตราต่ําสุดของการไหลในแมน้ํา < อัตราเฉลี่ยการใชน้ํา
คําตอบ 2 : อัตราเฉลี่ยของการไหลของแมน้ํา = อัตราเฉลี่ยของความตองการน้ํา


คําตอบ 3 : อัตราต่ําสุดของการไหลในแมน้ํา > อัตราสูงสุดของการใชน้ํา

้ า
คําตอบ 4 : อัตราเฉลี่ยของการไหลของแมน้ํา > อัตราเฉลี่ยของความตองการน้ํา

ขอที่ : 10
ิธ์ ห
ิท
ประเทศไทยมาตรฐานน้ําดื่ม เรื่องแบคทีเรียที่อาจทําใหเกิดโรคตอมนุษยได กําหนดคา MPN เทาไร


คําตอบ 1 : นอยกวา 10.0 ตอน้ํา 100 ml

วน
คําตอบ 2 : นอยกวา 10.0 ตอนา 1000 ml


คําตอบ 3 : นอยกวา 2.2 ตอน้ํา 100 ml


คําตอบ 4 : มากกวา 2.2 ตอน้ํา 1000 ml

ขอที่ : 11

ร ขอ

เทคนิคที่ใชในการเจาะบอบาดาลแบบฉีดน้ําตามแนวดิ่งลงไปในดินเรียกวาอะไร


คําตอบ 1 : Jet Drilling



คําตอบ 2 :


Percussion


คําตอบ 3 : Rotary

สภ
คําตอบ 4 : Casing

ขอที่ : 12
ตามเกณฑมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมน้ําบริโภค คาดัชนีคุณภาพน้ําใดที่ตองไมพบในน้ําเลย
คําตอบ 1 : Coliform
คําตอบ 2 : E. Coli
คําตอบ 3 : Mercury
คําตอบ 4 : Lead

ขอที่ : 13


ขอใดไมจัดเปนแหลงน้ําดิบสําหรับการผลิตน้ําประปาที่สําคัญของไทย

่ า
คําตอบ 1 : น้ําบาดาล


คําตอบ 2 : น้ํากรอย

ํจาห
คําตอบ 3 : น้ําคลอง
คําตอบ 4 : แมน้ํา

้ าม
ขอที่ : 14

ิธ์ ห
หากพบวาในน้ํามีตะกอนสีแดง นาจะสันนิษฐานไดวาในน้ําดังกลาวมีการปนเปอนสิ่งใด
คําตอบ 1 : แมงกานีส
คําตอบ 2 : คลอไรด

ิท
คําตอบ 3 : เหล็ก


คําตอบ 4 : สารหนู

ขอที่ : 15

ง วน

ขอใดเปนปจจัยที่มีผลตอปริมาณการใชน้ําประปา

ขอ
คําตอบ 1 : ฤดูกาล


คําตอบ 2 : ฐานะของประชาชน


คําตอบ 3 : คุณภาพของน้ําประปาที่ผลิตได


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 16

าวศ

สภ
ขอใดไมใชผลกระทบของการที่มีความกระดางในน้ําประปาสูง
คําตอบ 1 : น้ํามีรสผิดปกติ
คําตอบ 2 : เกิดตะกรันใน boiler
คําตอบ 3 : น้ํามีความขุน ทําใหไมนาบริโภค
คําตอบ 4 : สิ้นเปลืองสบูในการซักลางมากกวาปกติ

ขอที่ : 17
การเก็บขอมูลปริมาณน้ําฝนของสถานีวัดปริมาณน้ําฝนที่ขาดหายไปสามารถกระทําไดจาก สถานีวัดปริมาณน้ําฝนใกลเคียงซึ่งจะใหคาที่นาเชื่อถือได ขอมูลจากสถานีดังกลาวจะตองมีคา แตกตางจากสถานีที่
ขาดหายไปโดยคิดจากปริมาณน้ําฝนตลอดทั้งปเทาใด
คําตอบ 1 : 10%
คําตอบ 2 : 15%


คําตอบ 3 : 20%

่ า
คําตอบ 4 : 25%


ํจาห
ขอที่ : 18
คุณภาพของน้ําดิบเพื่อใชในการผลิตน้ําประปา ประเภทน้ําผิวดินควรจะมีคา TDS เกินกวาเทาใด


คําตอบ 1 : 1000 mg/l

้ า
คําตอบ 2 : 1500 mg/l

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : 2000 mg/l
คําตอบ 4 : 2500 mg/l

ขอที่ : 19

สิท

คุณภาพของน้ําประปาเพื่อชุมชนไมควรมีคาความขุนเกินเทาใด.

ง ว
คําตอบ 1 : 2 หนวย


คําตอบ 2 : 3 หนวย


คําตอบ 3 : 4 หนวย


คําตอบ 4 : 5 หนวย

ก ร

ขอที่ : 20



น้ําที่มีคา pH มากกวา 11.0 จะมีอนุมูลใดบางปรากฏในน้ํา


คําตอบ 1 : Hydroxide


คําตอบ 2 : Hydroxide และ Carbonate

สภ
คําตอบ 3 : Carbonate
คําตอบ 4 : Bicarbonate ion

ขอที่ : 21
สารประกอบใดที่ปรากฏอยูในน้ําแลวทําใหเกิดความกระดางถาวร
คําตอบ 1 : Calcium bicarbonate
คําตอบ 2 : Calcium Sulfate
คําตอบ 3 : Sodium Chloride
คําตอบ 4 : Sodium carbonate

่ าย
ขอที่ : 22


มาตรฐานของน้ําดื่มกําหนดใหมีคลอไรดไดไมเกินเทาใด

ํจาห
คําตอบ 1 : 150 mg/l
คําตอบ 2 : 200 mg/l
คําตอบ 3 : 250 mg/l


คําตอบ 4 :

้ า
300 mg/l

ิธ์ ห
ขอที่ : 23
ปจจัยใดที่มีผลตอการใชน้ําในชุมชน

ิท
คําตอบ 1 : ขนาดของชุมชน


คําตอบ 2 : สภาพความเปนอยูของชุมชน

วน
คําตอบ 3 : ระบบจายน้ํา


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ :

อ ส

24


ลุมน้ําแมกลองมีน้ําบาดาลที่ระดับน้ําลึก 150-600 เมตร จัดอยูในชั้นหินประเภทใด


คําตอบ 1 : หินรวน


คําตอบ 2 : หินดินดาน



คําตอบ 3 : หินทราย

าว
คําตอบ 4 : หินปูน

สภ
ขอที่ : 25
ปริมาณการใชน้ําเฉลี่ยของของโรงพยาบาลคิดจากอะไรจึงจะถูกตองที่สุด
คําตอบ 1 : จํานวนคนที่มาใชบริการทั้งหมดตอวัน
คําตอบ 2 : จํานวนเตียงตอวัน
คําตอบ 3 : จากเครื่องสุขภัณฑของโรงพยาบาลทั้งหมด
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ
ขอที่ : 26
การไหลของน้ําใตดินไปสูที่มีระดับน้ําใตดินที่ต่ํากวาเรียกวา
คําตอบ 1 : Percolation


คําตอบ 2 :

่ า
Transpiration
คําตอบ 3 :


Evaporation
คําตอบ 4 : Infiltration

ขอที่ : 27

ํจาห

ในถังกรองชา ควรมีการออกแบบใหมีชั้นทรายหนาเทาใด

้ า
คําตอบ 1 :

ิธ์ ห
50 cm.
คําตอบ 2 : 60 cm.
คําตอบ 3 : 80 cm.

ิท
คําตอบ 4 : 90 cm.

นส

ขอที่ : 28


ในการกําจัดความขุนของน้ําผิวดิน ถามีความขุนต่ํามาก ควรใชสารใดลงไปเพื่อเพิ่มเปาการตกตะกอน


คําตอบ 1 : สารสม


คําตอบ 2 : ปูนขาว


คําตอบ 3 : ดินเบนโทไนท


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

วก


ขอที่ : 29


แหลงน้ําดิบใดที่ใชในการผลิตน้ําประปาที่มักจะพบความกระดางของน้ํามากกวา


สภ
คําตอบ 1 : น้ําฝน
คําตอบ 2 : น้ําผิวดิน
คําตอบ 3 : น้ําใตดิน
คําตอบ 4 : น้ําทะเล

ขอที่ : 30
ขอใดไมใชลักษณะของแหลงน้ําใตดินที่ใชในการผลิตน้ําประปา
คําตอบ 1 : มีความขุนนอย
คําตอบ 2 : มีคา DO ต่ํามาก
คําตอบ 3 : ตัวเชื้อจุลชีพมีมาก
คําตอบ 4 : มีความกระดางมาก

่ าย

ขอที่ : 31

ํจาห
ฝนกรดเกิดจากสารประกอบจําพวกใด
คําตอบ 1 : กาซซัลเฟอรไดออกไซด
คําตอบ 2 : กาซคารบอนไดออกไซด


คําตอบ 3 : กาซคารบอนมอนนอไซด

้ า
คําตอบ 4 : กาซไฮโดรเจนซัลไฟด

ขอที่ : 32
ิธ์ ห
ิท
สารฟลูออไรด(Fluoride) ควรมีอยูในน้ําประปาเทาใดจึงจะเหมาะสม


คําตอบ 1 : 0.05 มิลลิกรัมตอลิตร

วน
คําตอบ 2 : 0.50 มิลลิกรัมตอลิตร


คําตอบ 3 : 0.10 มิลลิกรัมตอลิตร


คําตอบ 4 : 1.00 มิลลิกรัมตอลิตร

ขอที่ : 33

ร ขอ

คํานวณอัตราการไหลเฉลี่ยของปริมาณน้ําฝนที่วัดไดจากสถานีตรวจวัดดังนี้ : 0.065 ลบ.ม.ตอวินาที เปนระยะเวลา 3 วัน, 0.085 ลบ.ม.ตอวินาที เปนระยะเวลา 6 วัน, 16 ลบ.ม.ตอวินาที เปนระยะเวลา 2 วัน,


0.354 ลบ.ม.ตอวินาที เปนระยะเวลา 1 วัน, 0.15 ลบ.ม.ตอวินาที เปนระยะเวลา 10 วัน, 0.075 ลบ.ม.ตอวินาที เปนระยะเวลา 8 วัน



คําตอบ 1 : 0.6 ลบ.ม.ตอวินาที


คําตอบ 2 : 1.2 ลบ.ม.ตอวินาที


คําตอบ 3 : 16 ลบ.ม.ตอวินาที

สภ
คําตอบ 4 : 32 ลบ.ม.ตอวินาที

ขอที่ : 34
พันธะของน้ําในสถานะของเหลวคือ
คําตอบ 1 : เตตระฮีดรอล
คําตอบ 2 : โควาเลนท
คําตอบ 3 : ไฮโดรเจน
คําตอบ 4 : วาน เดอ วาวล


ขอที่ : 35

่ า
ตัวแปรใดที่เกี่ยวของในระบบการผลิตน้ําประปา


คําตอบ 1 : ความขุน, ของแข็งแขวนลอย, สี

ํจาห
คําตอบ 2 : ความเค็ม, ซีโอดี, บีโอดี
คําตอบ 3 : ความขุน, ทีเคเอ็น, ทีโอซี
คําตอบ 4 : ซีโอดี, บีโอดี, ของแข็งละลาย

้ าม
ิธ์ ห
ขอที่ : 36
พื้นที่รับน้ําขนาด 1000 ha โดยมีฝนตกเฉลี่ยตอปเทากับ 900 mm. มีการระเหยตอปเทากับ 290 mm. สูญเสียไปกับน้ําบาดาลเทากับ 80 mm. ตอป คํานวณปริมาตรน้ําที่สามารถกักเก็บได
คําตอบ 1 : 5.3 x 10^9 ลบ.ม.

ิท
คําตอบ 2 : 5.3 x 10^6 ลบ.ม.


คําตอบ 3 : 5.3 x 10^3 ลบ.ม.

วน
คําตอบ 4 : 530 ลบ.ม.

ขอที่ :

สง

37
NTU ยอมาจาก

ร ข
คําตอบ 1 : Nephelometric turbidity unit


คําตอบ 2 : Nernst turbidity unit


คําตอบ 3 : National turbidity unit



คําตอบ 4 :


Nelson turbidity unit


สภ
ขอที่ : 38
ขอใดถูกตองเกี่ยวกับน้ําบริสุทธิ์

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :

่ าย

คําตอบ 4 :

ํจาห
้ าม
ขอที่ : 39
สาหรายกอใหเกิดปญหาหลักใดในระบบการผลิตน้ําประปา

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : รา
คําตอบ 2 : รสและกลิ่น

ิท
คําตอบ 3 : ความเปนพิษ


คําตอบ 4 : การกัดกรอน

ขอที่ : 40

ง วน

ขอใดตอไปนี้เปนมลสารที่จําเปนตองกําจัดมากที่สุดสําหรับการผลิตน้ําประปาชุมชน

คําตอบ 1 :

ร ขอ
วก
คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

าวศ

สภ
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 41
ขอใดเปนมลสารที่ควรกําจัดออกจากน้ําประปานอยที่สุด
คําตอบ 1 : โลหะหนัก
คําตอบ 2 : แคลเซียม
คําตอบ 3 : แมกนีเซียม
คําตอบ 4 : คารบอเนต

่ าย
ขอที่ : 42


ตอไปนี้เปนขอมูลที่มีความจําเปนในการคํานวนหาปริมาณน้ําดิบสําหรับผลิตน้ําประปา ยกเวนขอใด

ํจาห
คําตอบ 1 : จํานวนประชากรที่รับบริการ
คําตอบ 2 : ประเภทของกิจกรรมในพื้นที่ใหบริการ
คําตอบ 3 : ชวงอายุการใชงานของระบบประปา


คําตอบ 4 : ปริมาณน้ําดิบจากแหลงน้ํา

ขอที่ : 43

ิธ์ ห้ า
ปญหาน้ําดิบใตดินเกิดตกผลึกสีแดงหรือสีคล้ําเกิดจากสาเหตุใด

ิท
คําตอบ 1 : สารอินทรียละลายน้ํา


คําตอบ 2 : ปริมาณคาของแข็งละลายน้ําสูงเกินไป

วน
คําตอบ 3 : pH ต่ําเกินไป


คําตอบ 4 : ปฏิกิริยาออกซิเดชันระหวางเหล็กกับออกซิเจนในอากาศ

ขอที่ :

อ ส

44


คุณสมบัติของน้ําดิบตอไปนี้มีความสัมพันธกับคา pH ยกเวนขอใด


คําตอบ 1 : Total Alkalinity


คําตอบ 2 : Fe



คําตอบ 3 :


Turbidity


คําตอบ 4 : acidity

สภ
ขอที่ : 45
ตามมาตรฐานน้ําดื่มขององคการอนามัยโลก ขอใดเรียงลําดับความอันตรายตอสุขภาพของโลหะหนักชนิดตางๆจากนอยไปมากไดอยางถูกตอง

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :


คําตอบ 3 :

น่ า
ํจาห
คําตอบ 4 :

้ าม
ขอที่ : 46

ิธ์ ห
ประเภทของการใชน้ําประปาสามารถแบงออกไดดังตอไปนี้ยกเวนขอใด
คําตอบ 1 : การใชน้ําภายในครัวเรือน
คําตอบ 2 : การใชน้ําเพื่อการเกษตร

สิท
คําตอบ 3 : การใชน้ําเพื่อสาธารณประโยชนและดับเพลิง


คําตอบ 4 : การใชน้ําเพื่อการคาและอุตสาหกรรม

ขอที่ :

ง ว

47
ขอใดมิใชความสําคัญของระบบประปาชุมชน

ขอ
คําตอบ 1 : ผลิตน้ําที่มีความสะอาดปลอดภัย


คําตอบ 2 : ผลิตน้ําใหมีปริมาณพอเพียงตอความตองการ


คําตอบ 3 : แจกจายน้ําประปาอยางทั่วถึง


คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

ขอที่ : 48

าวศ

สภ
แหลงน้ําดิบมีความสําคัญตอระบบผลิตน้ําเพื่ออุตสาหกรรมอยางไร
คําตอบ 1 : กําหนดรูปแบบของกระบวนการผลิตน้ํา
คําตอบ 2 : กําหนดราคาคากอสรางระบบผลิตน้ํา
คําตอบ 3 : สงผลตอตนทุนในการผลิตน้ํา
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 49
ปริมาณน้ําของแหลงน้ําตางๆบนโลกแหลงใดมีปริมาณมากที่สุด
คําตอบ 1 : น้ําเค็ม
คําตอบ 2 : น้ําในบรรยากาศ
คําตอบ 3 : น้ําแข็ง


คําตอบ 4 : น้ําจืดผิวดิน

น่ า
ํจาห
ขอที่ : 50
ปริมาณน้ําผิวดินที่เกิดจากฝนตกนั้นจะมากหรือนอยขึ้นอยูกับปจจัยในขอใด
คําตอบ 1 : ปริมาณน้ําฝนที่ตก


คําตอบ 2 : ลักษณะของพื้นที่รองรับน้ําฝน

้ า
คําตอบ 3 : ขอบเขตของพื้นที่รองรับน้ําฝน

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ิท
ขอที่ : 51


ขอใดเปนคุณสมบัติทางกายภาพของน้ําดิบ

วน
คําตอบ 1 : COD


คําตอบ 2 : ความขุน


คําตอบ 3 : BOD


คําตอบ 4 : ความเปนดาง

ขอที่ : 52

ก ร ข

ขอใดกอใหเกิดผลกระทบทางลบตอคุณสมบัติของแหลงน้ําดิบ



คําตอบ 1 : การปนเปอนสารเคมีทางการเกษตร

าว
คําตอบ 2 : การปลอยน้ําเสียจากชุมชน

สภ
คําตอบ 3 : การชะละลายสินแรใตดิน
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 53
คา “ส.ป.ส. การไหลนอง” สามารถบงบอกถึงลักษณะของพื้นที่รับน้ําไดในลักษณะใด

คําตอบ 1 : ปริมาณน้ําฝนในพื้นที่รับน้ํา
คําตอบ 2 : ปริมาณการสูญเสียของน้ําฝนในพื้นที่รับน้ํา
คําตอบ 3 : ปริมาณน้ําไหลนอง (รอยละของปริมาณน้ําฝน)
คําตอบ 4 : ถูกทั้งขอ ข. และ ขอ ค.


ขอที่ : 54

่ า
กรดแฮโลอาซิติกมีโทษตอรางกายอยางไร


คําตอบ 1 : เกิดการระคายเคืองตอทางเดินอาหาร

ํจาห
คําตอบ 2 : อาจเปนสารกอมะเร็ง
คําตอบ 3 : กอใหเกิดความผิดปกติของทารกในครรภ
คําตอบ 4 : สงผลตอระบบประสาท

้ าม
ิธ์ ห
ขอที่ : 55
กรดแฮโลอาซิติกเกิดจากกระบวนการใดในการผลิตน้ําประปา
คําตอบ 1 : การกรองตรง

ิท
คําตอบ 2 : การกวนเร็ว


คําตอบ 3 : การตกตะกอน

วน
คําตอบ 4 : การฆาเชื้อโรคดวยคลอรีน

ขอที่ :

สง

56
สารไตรแฮโลมีเทนเกิดจากกระบวนการใดในการผลิตน้ําประปา

ร ข
คําตอบ 1 : การฆาเชื้อโรคดวยคลอรีน


คําตอบ 2 : การกวนเร็ว


คําตอบ 3 : การตกตะกอน



คําตอบ 4 : การกรองตรง

าว
สภ
ขอที่ : 57
ขอใดตอไปนี้ไมใชสารพลอยไดจากการฆาเชื้อโรคดวยคลอรีน
คําตอบ 1 : ไตรแฮโลมีเทน
คําตอบ 2 : HCl
คําตอบ 3 : กรดแฮโลอาซิติก
คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก
ขอที่ : 58
แหลงน้ําดิบใดที่ควรมีระบบ Filtration เพื่อกําจัดความขุนมากที่สุด
คําตอบ 1 : น้ําบาดาล
คําตอบ 2 : น้ําฝน


คําตอบ 3 : น้ําผิวดิน

่ า
คําตอบ 4 : น้ําทะเล


ํจาห
ขอที่ : 59
คา pH ของน้ําดื่ม ตามมาตรฐานจะอยูในชวงใด


คําตอบ 1 : 5.5 – 7.5

้ า
คําตอบ 2 : 5.8 – 7.2

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : 6.5 – 8.5
คําตอบ 4 : 6.8 – 8.2

ขอที่ : 60

สิท
วน
อัตราการใชน้ําสวนบุคคลของประเทศไทยมีคาประมาณเทาใด


คําตอบ 1 : 50 – 100 ลิตรตอคนตอวัน


คําตอบ 2 : 100 - 300 ลิตรตอคนตอวัน


คําตอบ 3 : 300 – 500 ลิตรตอคนตอวัน


คําตอบ 4 : 500 – 700 ลิตรตอคนตอวัน

ก ร

ขอที่ : 61



มาตรฐานน้ําดื่มขององคการอนามัยโลก ไดกําหนดคาความขุนไววา น้ําดื่มควรมีคาความขุนอยูในชวงใด

าว
คําตอบ 1 : 1 - 5 NTU

สภ
คําตอบ 2 : 5 - 15 NTU
คําตอบ 3 : 5 - 25 NTU
คําตอบ 4 : 15 - 50 NTU

ขอที่ : 62
ขอใดกลาวผิดเกี่ยวกับการวัดหาคา pH ของน้ํา

คําตอบ 1 : ตองเก็บไวในภาชนะที่อยูในอุณหภูมิต่ําถึง 4 องศาเซลเซียส


คําตอบ 2 : ตองทําการวัดภายใน 24 ชม. หลังจากไดเก็บตัวอยางน้ําขึ้นมาแลว
คําตอบ 3 : วิธี Electrometric method ใชหลักการของแรงดันไฟฟาที่เกิดจาก H+
คําตอบ 4 : วิธี Colorimetric method จะใชหลักการเทียบสีมาตรฐาน

่ าย
ขอที่ : 63


ขอใดไมใชตัวการที่สําคัญตอการมีสภาพความเปนดางของน้ํา

ํจาห
คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

้ าม
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 3 :

นส

คําตอบ 4 :

สง
ขอที่ : 64

ร ขอ
ขอใดไมใชลักษณะของน้ําที่มีความกระดาง

วก
คําตอบ 1 : ทําใหเกิดตะกรันในหมอน้ํา



คําตอบ 2 : ทําใหการซักฟอกไมมีฟอง เกิดความสิ้นเปลืองสบูมากกวาปกติในขณะอาบน้ํา


คําตอบ 3 : น้ําดื่มจะมีรสหวานเกินปกติ


คําตอบ 4 : อาจจะทําใหเปนนิ่วในกระเพาะปสสาวะ

สภ
ขอที่ : 65
ระดับความกระดางของน้ําใชที่ครอบครัวทั่วไปพอใจควรจะมีคาเทาใด

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

่ าย

คําตอบ 4 :

ํจาห
้ าม
ิธ์ ห
ขอที่ : 66
ระดับความกระดางของน้ําดื่มตามมาตรฐานของการประปานครหลวงมีคาเทาใด

สิท

คําตอบ 1 :

ง ว

คําตอบ 2 :

ร ขอ

คําตอบ 3 :


ิ ว
าว
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 67
สภ
ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับสารประเภท Chloramines

คําตอบ 1 : สาร Chloramines ก็สามารถฆาเชื้อโรคในน้ําประปาไดเชนเดียวกับคลอรีนอิสระ


คําตอบ 2 : สาร Chloramines มีความสามารถในการฆาเชื้อโรคไดต่ํากวาของคลอรีนอิสระ
คําตอบ 3 : สาร Chloramines สามารถคงรูปอยูในน้ําประปาไดนานกวาคลอรีนอิสระ
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 68


วิธีที่นิยมกําจัดไนเตรทโดยเฉพาะน้ําประปาในโรงพยาบาล คือวิธีใด

่ า
คําตอบ 1 : Ultraviolet


คําตอบ 2 : Ion exchange

ํจาห
คําตอบ 3 : Activated carbon
คําตอบ 4 : Electrodyalysis

้ าม
ขอที่ : 69

ิธ์ ห
ตามมาตรฐานน้ําดื่มขององคการอนามัยโลกไดกําหนดไววาควรมีคาคลอไรดในน้ําประปาไมเกินเทาใด
คําตอบ 1 : 100 มก./ลิตร
คําตอบ 2 : 200 มก./ลิตร

ิท
คําตอบ 3 : 300 มก./ลิตร


คําตอบ 4 : 400 มก./ลิตร

ขอที่ : 70

ง วน

มาตรฐานน้ําดื่มขององคการอนามัยโลกไดกําหนดไววาควรมีเหล็กไมเกินเทาใดในน้ําประปา

ขอ
คําตอบ 1 : 1.0 มก./ลิตร


คําตอบ 2 : 1.5 มก./ลิตร


คําตอบ 3 : 2.0 มก./ลิตร


คําตอบ 4 : 2.5 มก./ลิตร

ขอที่ : 71

าวศ

สภ
ขอใดไมใชปจจัยในการคํานวณหาปริมาณน้ําดิบสําหรับการวางโครงการจัดหาน้ําประปาและการระบายน้ําเสีย
คําตอบ 1 : อัตราการใชน้ําสวนบุคคลของประชากรอาชีพตาง ๆ
คําตอบ 2 : หนวยงานที่ดูแลการจายน้ําประปา
คําตอบ 3 : อายุการใชงานของสวนประกอบตาง ๆ ของระบบประปา
คําตอบ 4 : จํานวนประชากรที่รับบริการน้ําประปา ภายในชั่วอายุใชงานของระบบประปา

ขอที่ : 72
ขอใดไมใชดัชนีชี้วัดคุณภาพน้ําผิวดิน โดยกรมควบคุมมลพิษ กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม
คําตอบ 1 : ปริมาณออกซิเจนละลาย (Dissolve Oxygen-DO)
คําตอบ 2 : บีโอดี (Biochemical Oxygen Demand-BOD)
คําตอบ 3 : ความขุน(Turbidity)


คําตอบ 4 : คลอไรด (Cl)

น่ า
ํจาห
ขอที่ : 73
ขอใดกลาวผิดเกี่ยวกับคุณภาพน้ําของแหลงน้ําประเภทที่ 3
คําตอบ 1 : คุณภาพน้ําอยูในระดับพอใช


คําตอบ 2 : เปนแหลงน้ําเพื่อการเกษตรการอุปโภคและบริโภคโดยตองการทําการฆาเชื้อโรคและปรับปรุงคุณภาพน้ํากอน

้ า
คําตอบ 3 : FCBไมเกินกวา 1,000 หนวย

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : DO ไมต่ํากวา 4.0 มิลลิกรัมตอลิตร

ิท
ขอที่ : 74


ขอใดกลาวผิด

วน
คําตอบ 1 : DO คือ ปริมาณออกซิเจนละลายน้ํา การตรวจวัดคา DO เพื่อบงชี้วาแหลงน้ํามี ปริมาณออกซิเจนเพียงพอตอสิ่งมีชีวิตหรือไม


คําตอบ 2 : BOD คือ ปริมาณความสกปรกในรูปบีโอดี เปนการหาความตองการออกซิเจน เพื่อยอยสลายสารอินทรียของจุลินทรียในน้ํา เพื่อเปนตัวชี้วัดความสกปรกของน้ํา


คําตอบ 3 : คาบีโอดีที่มีปริมาณมากๆ แสดงวาคา ดีโอ จะมีคามากดวย


คําตอบ 4 : FCB คือ แบคทีเรียกลุมฟคอลโคลิฟอรมเปนแบคทีเรียที่มีอยูในระบบขับถายของสัตวเลือดอุน

ขอที่ : 75

ก ร ข

มาตรฐานน้ําดื่มของกระทรวงอุตสาหกรรม (มอก.) ระบุคาความเปนกรดหรือดาง (pH Value) มีคาเทาใด



คําตอบ 1 : 5.5 – 7.5

าว
คําตอบ 2 : 5.5 – 8.5

สภ
คําตอบ 3 : 6.5 – 7.5
คําตอบ 4 : 6.5 – 8.5

ขอที่ : 76
มาตรฐานน้ําดื่มของกระทรวงอุตสาหกรรม (มอก.) ระบุกลิ่นและรส (Odour and Taste) มีคาเทาใด

คําตอบ 1 : 50 TON
คําตอบ 2 : 75 TON
คําตอบ 3 : 100 TON
คําตอบ 4 : ไมเปนที่นารังเกียจ


ขอที่ : 77

่ า
อัตราเร็วของการไหลของน้ําภายในทอขนสงน้ํา มีคาประมาณ


คําตอบ 1 : 0.2-0.5 เมตร/วินาที

ํจาห
คําตอบ 2 : 0.5-1.0 เมตร/วินาที
คําตอบ 3 : 1.0-1.5 เมตร /วินาที
คําตอบ 4 : 2.0-3.0 เมตร/วินาที

้ าม
ิธ์ ห
ขอที่ : 78
ถามีอางเก็บน้ําสํารอง ทอขนสงน้ําควรมีขนาดใหญเพื่อรองรับ
คําตอบ 1 :

ิท
Maximum Daily Rate
คําตอบ 2 :


Average Daily Rate
คําตอบ 3 :


Minimum Daily Rate


คําตอบ 4 : Minimun Weekly Rate

ขอที่ :

สง

79
ระบบสงน้ําแบบใดที่เหมาะกับประปาชุมชนขนาดใหญ และมีระบบทอจายน้ํายาวมาก

ร ข
คําตอบ 1 : ระบบการไหลอิสระจากระดับสูงตามธรรมชาติ


คําตอบ 2 : ระบบการสูบสงและหอถังสูง


คําตอบ 3 : ระบบการสูบสงโดยตรง



คําตอบ 4 : ระบบการสูบสงและถังยืน

าว
สภ
ขอที่ : 80
ลิ้นระบายอากาศหรือ Air Relief Valve มักติดตั้งในระบบทอสงประปาเพื่อวัตถุประสงคใด
คําตอบ 1 : ปลอยอากาศในทอออกไปภายนอกในกรณีแรงดันสูงเกินกําหนด
คําตอบ 2 : ปรับอัตราการไหลของน้ํา
คําตอบ 3 : ลดความดันในทอจายน้ําที่อยูต่ํากวาจุดสงน้ํามาก ๆ
คําตอบ 4 : ปองกันไมใหน้ําไหลยอนกลับเวลาเครื่องสูบน้ําหยุดทํางาน
ขอที่ : 81
วาลวประเภทใดในระบบทอสงน้ําประปาที่นิยมมากในงานปรับลดการไหล
คําตอบ 1 : วาลวปกผีเสื้อ (Butterfly valve)
คําตอบ 2 : ปลั๊กวาลว (Plug valve)


คําตอบ 3 : โกลปวาลว (Globe valve)

่ า
คําตอบ 4 : วาลวประตูน้ํา (Gate valve)


ํจาห
ขอที่ : 82
อัตราสวนระหวางอัตราการใชน้ําในชั่วโมงที่ใชมากที่สุดตออัตราเฉลี่ยตลอดป สําหรับชุมชนขนาดเล็กกวา 100,000 คนเปนอยางไร


คําตอบ 1 :

้ า
100-200 %
คําตอบ 2 :

ิธ์ ห
150-250%
คําตอบ 3 : 300-400%
คําตอบ 4 : 500-600%

ขอที่ : 83

สิท
วน
จงคํานวณอัตราการไหลสูงสุดของฝนตกบนผิวดินที่มีหญาปกคลุมดวยวิธี Rational Method จํานวน 100 ไร อัตราน้ําฝน 100 mm/hr กําหนดคาคงที่ สัมประสิทธิ์ของการไหลผิวดิน = 0.7 มีคาเทาใด


คําตอบ 1 : 2.0 cu.m./sec


คําตอบ 2 : 3.11 cu.m./sec


คําตอบ 3 : 3.15 cu.m./sec


คําตอบ 4 : 3.3 cu.m./sec

ก ร

ขอที่ : 84



มาตรฐานการออกแบบทอระบายน้ําเสียภายนอกอาคารมีขนาดเสนผานศูนยกลางต่ําสุดเทาใด

าว
คําตอบ 1 : 3 นิ้ว

สภ
คําตอบ 2 : 4 นิ้ว
คําตอบ 3 : 6 นิ้ว
คําตอบ 4 : 8 นิ้ว

ขอที่ : 85
การระบายน้ําเสียที่มีคุณสมบัติการกัดกรอนสูงควรเลือกวัสดุทอประเภทใด
คําตอบ 1 : ทอคอนกรีตเสริมเหล็ก
คําตอบ 2 : ทอเหล็กเหนียว
คําตอบ 3 : ทอ PVC
คําตอบ 4 : ทอ PE

่ าย
ขอที่ : 86


โดยทั่ว ๆไป การออกแบบทอระบายน้ําฝนมักใชทอขนาดเสนผาศูนยกลางเทาใด

ํจาห
คําตอบ 1 : มากกวาหรือเทากับ 200 mm.
คําตอบ 2 : มากกวาหรือเทากับ 300 mm.
คําตอบ 3 : มากกวาหรือเทากับ 400 mm.


คําตอบ 4 : มากกวาหรือเทากับ 500 mm.

ขอที่ : 87

ิธ์ ห้ า
เครื่องสูบน้ําที่ใช มอเตอร แบบ squirrel-eage induction ซึ่งมีกําลังระหวาง 15-17 กิโลวัตต ชวงเวลาระหวางการสตารทเครื่องแตละครั้งไมควรนอยกวาเทาใด

ิท
คําตอบ 1 : 10 นาที


คําตอบ 2 : 15 นาที

วน
คําตอบ 3 : 20 นาที


คําตอบ 4 : 30 นาที

ขอที่ :

อ ส

88


การออกแบบหัวดับเพลิง ริมถนนสาธารณะควรมีระยะหางกันไมเกินเทาใด


คําตอบ 1 : 100 เมตร


คําตอบ 2 : 150 เมตร



คําตอบ 3 : 200 เมตร

าว
คําตอบ 4 : 250 เมตร

สภ
ขอที่ : 89
ความเร็วของน้ําไหลในทอประปา ในทอ main ขนาด 4-16 นิ้ว ควรมีคาต่ําสุดเทาใด
คําตอบ 1 : 0.6 m/sec
คําตอบ 2 : 0.7 m/sec
คําตอบ 3 : 0.8 m/sec
คําตอบ 4 : 0.9 m/sec
ขอที่ : 90
ขนาดทอประปาที่ใชภายในอาคารมีขนาดต่ําสุดเทาใดเพื่อจายน้ําในเวลาที่ตองการใชน้ําสูงสุด
คําตอบ 1 : 1/4 นิ้ว


คําตอบ 2 : 1/2 นิ้ว

่ า
คําตอบ 3 : 3/4 นิ้ว


คําตอบ 4 : 1 นิ้ว

ขอที่ : 91

ํจาห

การวางทอระบายน้ําเสียคูกับทอประปา ควรมีระยะหางกันไมนอยกวาเทาใด

้ า
คําตอบ 1 : 2 เมตร

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : 3 เมตร
คําตอบ 3 : 4 เมตร

ิท
คําตอบ 4 : 5 เมตร

นส

ขอที่ : 92


การเลือกขนาดของเครื่องสูบน้ําจะตองพิจารณาจากปจจัยใดบาง


คําตอบ 1 : อัตราการไหลในชวงตางๆ


คําตอบ 2 : ตําแหนงของสถานีสูบน้ํา


คําตอบ 3 : คาความสัมพันธระหวางคา head ที่ตองการกับคาอัตราการไหล


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

วก


ขอที่ : 93


ในการออกแบบปริมาณน้ําประปาที่ไหลในทอ main ควรมีปริมาณเทาใด ของปริมาณน้ําที่ใชเฉลี่ยของชุมชน


สภ
คําตอบ 1 : 0.5-1 เทา
คําตอบ 2 : 1.2-1.5 เทา
คําตอบ 3 : 2-3 เทา
คําตอบ 4 : 3-4 เทา

ขอที่ : 94
ระบบการแจกจายน้ําประปาของหมูบานจัดสรรควรใชระบบใดจึงจะเหมาะสม
คําตอบ 1 : ระบบแขนง
คําตอบ 2 : ระบบวงจร
คําตอบ 3 : ระบบรวมกัน
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

่ าย

ขอที่ : 95

ํจาห
วัสดุใดที่ไมใชในงานทอประปา
คําตอบ 1 : ทอ PVC
คําตอบ 2 : ทอ PE


คําตอบ 3 : ทอเหล็กอาบสังกะสี

้ า
คําตอบ 4 : ทอเหล็กหลอ

ขอที่ : 96
ิธ์ ห
ิท
จุดต่ําสุดของทอประปา ควรอยูสูงกวาจุดใดของทอระบายน้ําไมนอยกวาเทาใด


คําตอบ 1 :


200 mm.


คําตอบ 2 : 300 mm.


คําตอบ 3 : 500 mm.


คําตอบ 4 : 600 mm.

ขอที่ : 97

ร ขอ

ขนาดทอระบายน้ําต่ําสุดตาม พ.ร.บ. การจัดสรรที่ดินมีคาเทาใด


คําตอบ 1 : 200 mm.



คําตอบ 2 :


300 mm.


คําตอบ 3 : 400 mm.

สภ
คําตอบ 4 : 500 mm.

ขอที่ : 98
ทอ PVC class 13.5 หมายถึงอะไร

คําตอบ 1 : ทอประปาที่มีขนาดเสนผานศูนยกลาง 13.5 เซนติเมตร


คําตอบ 2 : ทอประปาที่มีขนาดเสนผานศูนยกลาง 13.5 นิ้ว
คําตอบ 3 : ทอประปาที่สามารถทนแรงดันไดสูงสุด 13.5 psi
คําตอบ 4 : ทอประปาที่สามารถทนแรงดันไดสูงสุด 13.5 ksc

ขอที่ : 99


ขอใดตอไปนี้ไมสอดคลองกัน

่ า
คําตอบ 1 : kinetic energy/velocity head


คําตอบ 2 : gravitational potential energy/elevation head

ํจาห
คําตอบ 3 : the flow work/pressure head
คําตอบ 4 : the total head/piezometric head

้ าม
ขอที่ : 100

ิธ์ ห
น้ําประปาหนัก 10 กิโลกรัม และน้ําประปาหนัก 1 ปอนด ที่ระดับความสูง 50 ฟุตจากพื้นดิน น้ําประปาทั้งสองคานี้ มีคา elevation head เทาไร
คําตอบ 1 : 50 ฟุต และ 50 ฟุต
คําตอบ 2 : 5 ฟุต และ 50 ฟุต

ิท
คําตอบ 3 : 0.2 ฟุต และ 0.02 ฟุต


คําตอบ 4 : 1.2 ฟุต และ 0.2 ฟุต

ขอที่ : 101

ง วน

น้ําประปาหนัก 10 กิโลกรัมเคลื่อนที่ดวยความเร็ว 0.6 เมตรตอวินาที คํานวณ velocity head

ขอ
คําตอบ 1 : 0.01 เมตร


คําตอบ 2 : 0.02 เมตร


คําตอบ 3 : 0.03 เมตร


คําตอบ 4 : 0.04 เมตร

ขอที่ : 102

าวศ

สภ
ความแตกตางของความสูง (height difference) ของ Pitot tube มีคา 5 เซนติเมตร น้ําหนักจําเพาะของปรอท (specific weight) เทากับ 13.6 คํานวณความเร็วของการไหลของน้ํา
คําตอบ 1 : 0.037 เมตรตอวินาที
คําตอบ 2 : 0.37 เมตรตอวินาที
คําตอบ 3 : 3.7 เมตรตอวินาที
คําตอบ 4 : 37 เมตรตอวินาที

ขอที่ : 103
หัวฉีดน้ํา (nozzle) เสนผานศูนยกลาง 10 เซนติเมตร ติดตั้งที่ดานลางของถังเก็บน้ํา โดยมีระดับน้ําเหนือหัวฉีด 4 เมตร คํานวณความเร็ว (efflux velocity) และอัตราการจายน้ํา (discharge) จากหัวฉีด
คําตอบ 1 : 6.85 m/s , 0.08 m^3/s
คําตอบ 2 : 7.85 m/s , 0.09 m^3/s
คําตอบ 3 : 8.85 m/s , 0.10 m^3/s


คําตอบ 4 :

่ า
9.85 m/s , 0.11 m^3/s


ํจาห
ขอที่ : 104
ขอใดตอไปนี้คือมาตรวัดอัตราการไหลชนิดแรงดันตาง (pressure differential type meter)
คําตอบ 1 : Flow tubes


คําตอบ 2 :

้ า
Parshall flumes
คําตอบ 3 :

ิธ์ ห
V-notch weirs
คําตอบ 4 : Magnetic flow

ิท
ขอที่ : 105


ถาตองการผลิตน้ําประปา 50 ลานแกลลอนตอวันดวยระบบ conventional plant ขนาดพื้นที่ตั้งของระบบโดยประมาณกี่ตารางเมตร

วน
คําตอบ 1 : 10,000


คําตอบ 2 : 15,000


คําตอบ 3 : 20,000


คําตอบ 4 : 25,000

ขอที่ : 106

ก ร ข

ขอใดไมใชสวนประกอบที่จําเปนในการขนสงน้ําจากแหลงน้ําดิบไปสูโรงผลิตน้ําประปา



คําตอบ 1 : คลองสงน้ํา

าว
คําตอบ 2 : เครื่องสูบน้ํา

สภ
คําตอบ 3 : สถานีสูบน้ํา
คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

ขอที่ : 107
โดยทั่วไปปริมาณน้ําสูญเสียโดยไมตั้งใจจะมีคาเฉลี่ยประมาณเทาใด
คําตอบ 1 : 1% ของปริมาณน้ําประปาที่ผลิตไดทั้งหมด
คําตอบ 2 : 5% ของปริมาณน้ําประปาที่ผลิตไดทั้งหมด
คําตอบ 3 : 20% ของปริมาณน้ําประปาที่ผลิตไดทั้งหมด
คําตอบ 4 : 50% ของปริมาณน้ําประปาที่ผลิตไดทั้งหมด


ขอที่ : 108

่ า
กิจกรรมในขอใดมีความตองการใชน้ําในปริมาณสูงสุด


คําตอบ 1 : อุตสาหกรรม

ํจาห
คําตอบ 2 : เกษตรกรรม
คําตอบ 3 : คมนาคม
คําตอบ 4 : พาณิชยกรรม

้ าม
ิธ์ ห
ขอที่ : 109
กิจกรรมในขอใดมีความตองการน้ําที่มีความสะอาดสูงสุด
คําตอบ 1 : เกษตรกรรม

ิท
คําตอบ 2 : คมนาคม


คําตอบ 3 : อุปโภค บริโภค

วน
คําตอบ 4 : นันทนาการ

ขอที่ :

สง

110
ขอใดมิใชมาตรการเพื่อการประหยัดน้ําดิบสําหรับการผลิตน้ําประปา

ร ข
คําตอบ 1 : การนําน้ําเสียที่ผานการบําบัดแลวมาใชใหมในกิจกรรมที่เหมาะสม


คําตอบ 2 : การลดปริมาณการสูญเสียน้ําในระบบขนสงน้ํา


คําตอบ 3 : การกําหนดประเภทของกิจกรรมตางๆในชุมชน



คําตอบ 4 : การบํารุงรักษาระบบผลิตน้ําประปาและมาตรวัดตางๆ

าว
สภ
ขอที่ : 111
อัตราการใชน้ําสวนบุคคลในแตละชุมชนอาจเปลี่ยนแปลงไดขึ้นอยูกับปจจัยในขอใด
คําตอบ 1 : สภาพอากาศ
คําตอบ 2 : ขนาดของชุมชน
คําตอบ 3 : ระดับรายไดของประชากร
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ
ขอที่ : 112
การควบคุมปริมาณของฟลูออไรดที่ละลายอยูในน้ําประปาในปริมาณเทาใดจึงจะสามารถชวยปองกันโรคฟนผุไดดี และปองกันการเกิดโรคฟนลายได
คําตอบ 1 : 0.5 มิลลิกรัมตอลิตร
คําตอบ 2 : 1.0 มิลลิกรัมตอลิตร


คําตอบ 3 : 1.5 มิลลิกรัมตอลิตร

่ า
คําตอบ 4 : 2.0 มิลลิกรัมตอลิตร


ํจาห
ขอที่ : 113
โดยทั่วไปน้ําประปาระหวางการสงจายน้ําประปาจากโรงผลิตน้ําประปาไปถึงผูบริโภค กําหนดไววาคลอรีนอิสระควรมีอยูในน้ําประปาที่กอกน้ําอยางต่ําเทาใด


คําตอบ 1 : 0.2-0.5 มก./ลิตร

้ า
คําตอบ 2 : 0.5-1.0 มก./ลิตร

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : 1.0-1.5 มก./ลิตร
คําตอบ 4 : 1.5-2.0 มก./ลิตร

ขอที่ : 114

สิท
วน
ในการจายน้ําประปาโดยปกติอัตราเร็วของการไหลของน้ําภายในทอมักอยูระหวางเทาใด


คําตอบ 1 : 0.5 - 1.0 เมตร/วินาที


คําตอบ 2 : 1.0 - 2.0 เมตร/วินาที


คําตอบ 3 : 2.0 - 4.0 เมตร/วินาที


คําตอบ 4 : 4.0 - 6.0 เมตร/วินาที

ก ร

ขอที่ : 115



ขอใดเรียงลําดับของหนวยในกระบวนการผลิตประปาไดอยางถูกตอง

าว
คําตอบ 1 : ถังกวนชา ถังกวนเร็ว ถังกรอง ถังตกตะกอน

สภ
คําตอบ 2 : ถังกวนเร็ว ถังกวนชา ถังตกตะกอน ถังกรอง
คําตอบ 3 : ถังตกตะกอน ถังกวนชา ถังกวนเร็ว ถังกรอง
คําตอบ 4 : ถังกวนเร็ว ถังกวนชา ถังกรอง ถังตกตะกอน

ขอที่ : 116
ขอใดกลาวผิดสําหรับการออกแบบถังกวนเร็ว
คําตอบ 1 : ถังกวนเร็วที่มีรูปทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส จะใหผลดีกวาถังรูปทรงกระบอก
คําตอบ 2 : ใบพัดแบบใบพัดเรือใหผลดีกวาใบพัดแบบแบน
คําตอบ 3 : การเติมสารเคมีใสตรงใบพัดทําใหเกิดโคแอกกูเลชันเกิดไดดีที่สุด
คําตอบ 4 : Stator Baffle ชวยทําใหการกวนน้ํามีประสิทธิภาพดีขึ้น

่ าย
ขอที่ : 117


เทคนิคใดไมสามารถนํามาใชในการกวนเร็วได

ํจาห
คําตอบ 1 : การกวนเร็วโดยใช Static Mixer
คําตอบ 2 : การกวนเร็วโดยใช Hydraulic Jump
คําตอบ 3 : การกวนเร็วโดยใช Orifice


คําตอบ 4 : การกวนเร็วโดยใช Water Hammer

ขอที่ : 118

ิธ์ ห้ า
ขอใดจัดเปนวิธีการฆาเชื้อโรคในน้ําประปา

ิท
คําตอบ 1 : การเติมคลอรีน


คําตอบ 2 : การใชดางทับทิม

วน
คําตอบ 3 : การใชแสง UV


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ :

อ ส

119


ขอใดไมใชวิธีการกําจัดความกระดาง


คําตอบ 1 : นําน้ําไปตมใหเดือด


คําตอบ 2 : เติมอากาศลงไปเพื่อเปลี่ยนใหอยูในรูปไมเปนอันตราย



คําตอบ 3 : ใชเรซินแลกเปลี่ยนไอออน

าว
คําตอบ 4 : ใสปูนขาวลงในน้ํา

สภ
ขอที่ : 120
ขอใดไมใชคุณสมบัติของเรซินแลกเปลี่ยนไอออนที่ดีสําหรับใชในการปรับปรุงคุณภาพน้ํา
คําตอบ 1 : ตองมีไอออนอิสระที่สามารถใชแลกเปลี่ยนกับไอออนในน้ําที่ตองการกําจัดได
คําตอบ 2 : สามารถฟนฟูสภาพไดงาย
คําตอบ 3 : มีความโปรงมากพอที่จะใหไอออนตางๆ เคลื่อนที่ผานเขาออกไดงาย
คําตอบ 4 : ละลายน้ําไดดี
ขอที่ : 121
ขอใดไมจัดวาเปนกระบวนการเมมเบรน
คําตอบ 1 : Reverse Osmosis


คําตอบ 2 :

่ า
Precipitation
คําตอบ 3 :


Electrodialysis
คําตอบ 4 : Ultrafiltration

ขอที่ : 122

ํจาห

ขอใดไมถูกตอง

้ า
คําตอบ 1 : น้ําประปาหมายถึงน้ําที่ผานกระบวนการทําใหสะอาดแลวแจกจายโดยใหไหลตามระบบทอน้ํา

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : การเลือกวัสดุกรองที่มีคา Effective size และ Non uniformity coefficient สูงๆ จะเพิ่มประสิทธิภาพในการกรอง
คําตอบ 3 : น้ําบาดาลที่ไมมีการปนเปอนสามารถนํามาอุปโภคและบริโภคโดยไมจําเปนตองผานการปรับปรุงคุณภาพน้ํา

ิท
คําตอบ 4 : ขอดีของการใชคารบอนแบบผงในการกําจัดสี กลิ่น รส ในน้ําคือการดูดติดผิวเกิดขึ้นไดรวดเร็วเนื่องจากมีพื้นที่ผิวมาก

นส

ขอที่ : 123


การกําจัดความกระดางถาวรในระบบผลิตน้ําประปา ควรใชกระบวนการใด


คําตอบ 1 : เติมปูนขาวแลวตกตะกอน


คําตอบ 2 : Lime- Soda และ Soda ash


คําตอบ 3 : Ion Exchange


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

วก


ขอที่ : 124


ในการทําความสะอาดชั้นกรองในเครื่องกรองเร็วจะตองดูที่คาสูญเสียความดัน ( head loss )สูงถึงเทาใดจึงจะมีการลางชั้นกรอง


สภ
คําตอบ 1 : 0.4-0.8 เมตร
คําตอบ 2 : 0.9-1.2 เมตร
คําตอบ 3 : 1.5-1.9 เมตร
คําตอบ 4 : 2.4-3.0 เมตร

ขอที่ : 125
วิธีการกําจัดกากตะกอนสลัดจดวยวิธีใดที่จําเปนตองใชสาร polymer เพื่อเพิ่มความเขมขนของกากตะกอน
คําตอบ 1 : การหมุนเหวี่ยง
คําตอบ 2 : การกรองแบบสูญญากาศ
คําตอบ 3 : การรีดดวยสายพาน
คําตอบ 4 : ลานทรายตากแดด

่ าย

ขอที่ : 126

ํจาห
น้ําดิบประเภทใดที่มีความสามารถในการตานทานตอการเปลี่ยนแปลงของ pH ไดดี
คําตอบ 1 : น้ํากรอย
คําตอบ 2 : น้ําที่มีความเปนกรดสูง


คําตอบ 3 : น้ําที่มีความเปนดางต่ํา

้ า
คําตอบ 4 : น้ําที่มีความเปนดางสูง

ขอที่ : 127
ิธ์ ห
ิท
ทารกที่ปวยเปนโรค Blue Baby ตัวเขียวคล้ํา ชักกระตุกอาจถึงตายไดตองไดรับสารใดมากเกินไป


คําตอบ 1 : ไนเตรท

วน
คําตอบ 2 : เหล็ก


คําตอบ 3 : สังกะสี


คําตอบ 4 : แคดเมียม

ขอที่ : 128

ร ขอ

ผูที่ปวยเปนโรค อิไต-อิไต ไดรับสารใดมากเกินไป


คําตอบ 1 : ตะกั่ว



คําตอบ 2 : ปรอท

าว
คําตอบ 3 : สังกะสี

สภ
คําตอบ 4 : แคดเมียม

ขอที่ : 129
ผูที่ปวยเปนโรคมินามาตะไดรับสารใดมากเกินไป
คําตอบ 1 : ปรอท
คําตอบ 2 : ตะกั่ว
คําตอบ 3 : แคดเมียม
คําตอบ 4 : สังกะสี

ขอที่ : 130

่ าย

ํจาห
คําตอบ 1 : กระบวนการ Ion Exchange
คําตอบ 2 : กระบวนการ Lime – Soda
คําตอบ 3 : กระบวนการ Zeolite


คําตอบ 4 : กระบวนการ Desalination

ขอที่ : 131

ิธ์ ห้ า
ขอใดตอไปนี้เปนกระบวนการ Presedimentation

ิท
คําตอบ 1 : sand trap


คําตอบ 2 : cyclone


คําตอบ 3 :


microstraining


คําตอบ 4 : aerator

ขอที่ : 132

อ ส

คาการละลายของแกส ในกระบวนการเติมอากาศ (aeration) นั้น สอดคลองกับสมการใดตอไปนี้

ก ร
คําตอบ 1 : Boyle-Mariotte Law


คําตอบ 2 : Bernoulli equation



คําตอบ 3 : Henry’s Law


คําตอบ 4 : Manning formula


สภ
ขอที่ : 133
ถาสารโพลีเมอรที่เติมในระบบ coagulation-flocculation จับตัวเปนกอนหรือละลายไมสมบูรณจะเกิดสภาวะที่เรียกวา
คําตอบ 1 : polymer clog
คําตอบ 2 : fish eyes
คําตอบ 3 : settling floc
คําตอบ 4 : pin point floc
ขอที่ : 134
คาการอิ่มตัวของออกซิเจนในน้ําเปลี่ยนแปลงตามพารามิเตอรใด
คําตอบ 1 : อุณหภูมิ


คําตอบ 2 : พีเอช

่ า
คําตอบ 3 : การนําไฟฟา


คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

ขอที่ : 135

ํจาห

การทดสอบหลักในการศึกษาประสิทธิภาพของกระบวนการตกตะกอนคือ

้ า
คําตอบ 1 : ความขุน

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : พีเอช
คําตอบ 3 : อุณหภูมิ

ิท
คําตอบ 4 : ความเปนดาง

นส

ขอที่ : 136


วิธีใดนิยมใชในการฆาเชื้อโรคในน้ําที่มีความขุนมากกวา 20 หนวย


คําตอบ 1 : ใชแสงยูวี


คําตอบ 2 : เติมคลอรีน


คําตอบ 3 : เติมโอโซน


คําตอบ 4 : เติมไอโอดีน

วก


ขอที่ : 137


สารที่ทําหนาที่เพิ่มความแข็งแรงใหกับโครงสรางของเรซินคือสารใด


สภ
คําตอบ 1 : Acrylic
คําตอบ 2 : Styrene
คําตอบ 3 : Divinyl benzene
คําตอบ 4 : Vinyl chloride

ขอที่ : 138
ขอใดไมใชหนาที่ของกระบวนการแลกเปลี่ยนไอออน
คําตอบ 1 : กําจัดไอออนตางๆ ออกจากน้ํา
คําตอบ 2 : ทําใหไอออนตางๆ มีความเขมขนสูงขึ้น
คําตอบ 3 : ใชเปนสารดูดเกาะติดผิว
คําตอบ 4 : กรองคอลลอยดหรือโมเลกุลขนาดใหญที่อยู ในรูปไอออน

่ าย

ขอที่ : 139

ํจาห
หากตองการกําจัดความเปนดางออกจากน้ํา ควรใชเรซินประเภทใดจึงจะเหมาะสมและคุมคาที่สุด
คําตอบ 1 : แบบกรดออน
คําตอบ 2 : แบบกรดแก


คําตอบ 3 : แบบดางออน

้ า
คําตอบ 4 : แบบดางแก

ขอที่ : 140
ิธ์ ห
ิท
ขอใดไมถูกตอง


คําตอบ 1 : ประสิทธิภาพในการฟนสภาพเรซินหมายถึงอัตราสวนระหวางจํานวนสมมูลของไอออนในสารที่ใชฟนสภาพที่นํามาแลกเปลี่ยนตอจํานวนสมมูลของไอออนในเรซินที่เสื่อมแลว

วน
คําตอบ 2 : เรซินประเภทกรดออนและดางออนจะมีประสิทธิภาพในการฟนสภาพสูงกวาเรซินประเภทกรดแก ดางแก


คําตอบ 3 : เรซินประเภทกรดแก ดางแก สิ้นเปลืองสารที่ใชฟนสภาพมากกวาเรซินประเภทกรดออน ดางออน


คําตอบ 4 : ความเขมขนของสารละลายเกลือแกงที่เหมาะสมสําหรับการฟนสภาพเรซินคือ รอยละ 10-15

ขอที่ : 141

ร ขอ

ขอใดไมถูกตอง


คําตอบ 1 : ความลึกของชั้นเรซินมีความสําคัญอยางมากตอการแลกเปลี่ยนไอออน



คําตอบ 2 : อัตราการไหลของน้ําผานชั้นเรซินมีอิทธิพลอยางมากตออํานาจในการแลกเปลี่ยนไอออน

าว
คําตอบ 3 : ความเขมขนของเกลือแรในน้ําดิบมีอิทธิพลอยางมากตออํานาจหรือความสามารถในการแลกเปลี่ยนไอออนของเรซิน

สภ
คําตอบ 4 : การใชปริมาณสารฟนสภาพเรซินยิ่งมากยิ่งทําใหเพิ่มอํานาจการแลกเปลี่ยนไอออนมากยิ่งขึ้น

ขอที่ : 142
ขอใดไมใชสมบัติของเรซินแบบกรดแก
คําตอบ 1 : ประสิทธิภาพในการฟนสภาพต่ํา
คําตอบ 2 : มีหมูซัลโฟนิกเปนหมูไอออน
คําตอบ 3 : มีสมบัติของ salt splitting
คําตอบ 4 : การเปลี่ยนรูปของ Na+ ไปเปน H+ ทําใหปริมาตรของเรซินลด

ขอที่ : 143


หากตองการกําจัดซิลิกา (SiO2) ออกจากน้ํา ควรใชเรซินชนิดใด

่ า
คําตอบ 1 : แบบกรดออน


คําตอบ 2 : แบบกรดแก

ํจาห
คําตอบ 3 : แบบดางออน
คําตอบ 4 : แบบดางแก

้ าม
ขอที่ : 144

ิธ์ ห
ขอใดไมใชลักษณะของเรซินที่มีระดับองศาของแรงยึดเหนี่ยว (degree of cross linkage) สูง
คําตอบ 1 : เรซินมีความแข็งมากกวา
คําตอบ 2 : ชองวางภายในมาก มีโอกาสบวมน้ํามาก

ิท
คําตอบ 3 : ความสามารถในการแลกเปลี่ยนไอออนสูง


คําตอบ 4 : เรซินแตกงาย

ขอที่ : 145

ง วน

หากตองการใชงานเรซินในลักษณะ counter current แบบ up flow service ควรพิจารณาเลือกเรซินจากลักษณะขอใดเปนสําคัญ

ขอ
คําตอบ 1 : cross linkage percent


คําตอบ 2 : bulk density


คําตอบ 3 : swelling percent


คําตอบ 4 : uniformity coefficient

ขอที่ : 146

าวศ

สภ
สารใดตอไปนี้ไมเหมาะที่จะใชเปนสารฟนสภาพเรซิน
คําตอบ 1 : แอมโมเนีย
คําตอบ 2 : โซดาแอช
คําตอบ 3 : กรดกํามะถัน
คําตอบ 4 : กรดไนตริก

ขอที่ : 147
ขอใดเรียงลําดับความชอบไอออนของเรซินประจุบวกจากมากไปนอยไดถูกตอง

คําตอบ 1 :

่ าย
คําตอบ 2 :


ํจาห
คําตอบ 3 :

้ าม
คําตอบ 4 :

ขอที่ :
ิธ์ ห
ิท
148
ขอใดไมถูกตองสําหรับเรซินแบบดางออน

นส
คําตอบ 1 : ไมเกิดการเปลี่ยนแปลงไอออน


คําตอบ 2 : กําจัดไดเฉพาะกรดแก


คําตอบ 3 : ไมจําเปนตองมีไอออนอิสระ


คําตอบ 4 : ประสิทธิภาพในการฟนสภาพต่ํา

ขอที่ : 149

ร ขอ

ขอใดไมใช functional group ของ ion exchange resin


คําตอบ 1 : sulfuric

วศ

คําตอบ 2 : carboxylic


คําตอบ 3 : quaternary ammonium

สภ
คําตอบ 4 : primary amine

ขอที่ : 150
่ าย

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

ํจาห
้ าม
ิธ์ ห
คําตอบ 3 :

ิท
คําตอบ 4 :

นส
ง ว
ขอที่ : 151


หากสงสัยวา activated carbon ที่ใชหมดอายุการใชงานแลวจะตรวจสอบไดอยางไร


คําตอบ 1 : ตรวจสอบคา exchange capacity


คําตอบ 2 : ตรวจสอบคา uniformity coefficient


คําตอบ 3 : ตรวจสอบคา iodine number

วก
คําตอบ 4 : ตรวจสอบคา bromine number

ขอที่ : 152

าวศ

ขอใดไมใชประโยชนโดยตรงของ activated carbon

สภ
คําตอบ 1 : กําจัดกลิ่น สี รส
คําตอบ 2 : กําจัดคลอรีน
คําตอบ 3 : กําจัดโลหะหนัก
คําตอบ 4 : กําจัดอนุภาคคอลลอยด

ขอที่ : 153
ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับคาความเปนดาง (alkalinity)

คําตอบ 1 :


คําตอบ 2 : น้ําธรรมชาติมีสารทั้ง 3 ชนิดในขอ ก เสมอ

่ า
คําตอบ 3 : น้ําที่มีความเปนดางสูง มีความสามารถในการตานทานการเปลี่ยนแปลงพีเอชไดดี


คําตอบ 4 : สามารถลดความเปนดางลงไดโดยใช ion exchange resin

ํจาห
ขอที่ : 154


หากตองการกรองน้ําคลอง ควรเลือกใช activated carbon ที่ทําจากวัสดุชนิดใด

้ า
คําตอบ 1 : coconut shell

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : anthracite
คําตอบ 3 : lignite

ิท
คําตอบ 4 : peat

ขอที่ : 155

นส

ขอใดไมใชสารเคมีชวยตกตะกอน

สง
คําตอบ 1 : สารสม


คําตอบ 2 : ปูนขาว


คําตอบ 3 : โซเดียมอะลูมิเนต


คําตอบ 4 : โซเดียมเมตาไบซัลไฟต

วก


ขอที่ : 156


การใชสารสมเปนสารเคมีชวยตกตะกอน ควรปรับพีเอชของน้ําดิบเปนเทาใด จึงทําใหการตกตะกอนเกิดดีที่สุดและประหยัดที่สุด


คําตอบ 1 : 4-6

สภ
คําตอบ 2 : 6-8
คําตอบ 3 : 8-10
คําตอบ 4 : 10-12

ขอที่ : 157
หนวยของการกรองขอใดถูกตอง
คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

่ าย

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ํจาห
้ าม
ิธ์ ห
ขอที่ : 158
ขอใดไมจัดเปนพารามิเตอรที่ใชตรวจติดตามประสิทธิภาพหลังการลางยอน

ิท
คําตอบ 1 : ความขุน


คําตอบ 2 : เวลาการกรอง


คําตอบ 3 : การสูญเสียความดัน


คําตอบ 4 : ปริมาณโพลีเมอร

สง

ขอที่ : 159


ขอใดไมถูกตองถาเกิด air binding ขณะลางยอน


คําตอบ 1 : เกิด negative head

วก
คําตอบ 2 : เกิด positive head



คําตอบ 3 : เกิดการสูญเสียความดัน


คําตอบ 4 : เกิดการสูญเสียชั้นกรอง


สภ
ขอที่ : 160
ขอใดไมจัดเปนตัวกลางในการกรอง
คําตอบ 1 : diatomaceous earth
คําตอบ 2 : resin
คําตอบ 3 : clay saddles
คําตอบ 4 : garnet
ขอที่ : 161
ขอใดไมใชสารที่ใชในการกําจัดแกสไฮโดรเจนซัลไฟดออกจากน้ํา
คําตอบ 1 : แกสคลอรีน


คําตอบ 2 : โซเดียมไฮโปคลอไรต

่ า
คําตอบ 3 : ไฮโดรเจนเปอรออกไซด


คําตอบ 4 : โซเดียมเมตาไบซัลไฟต

ขอที่ : 162

ํจาห

ขอใดไมใชการกําจัดความกระดางถาวรในน้ํา

้ า
คําตอบ 1 : ความรอน

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : สารสม
คําตอบ 3 : โซดาแอช

ิท
คําตอบ 4 : โซเดียมอลูมิเนต

นส

ขอที่ : 163

สง
ร ขอ
วก
วศ

คําตอบ 1 : 20


คําตอบ 2 : 40

สภ
คําตอบ 3 : 80
คําตอบ 4 : 160

ขอที่ : 164
ขอใดไมเกี่ยวของกับระบบ reverse osmosis

คําตอบ 1 : concentration polarization


คําตอบ 2 : permeate
คําตอบ 3 : ion exchange
คําตอบ 4 : recovery


ขอที่ : 165

น่ า
ํจาห
้ าม
คําตอบ 1 :
ิธ์ ห
ิท
35
คําตอบ 2 :


53
คําตอบ 3 :


350


คําตอบ 4 : 530

ขอที่ :

สง

166

ก ร ข

ิ ว
าว
สภ
คําตอบ 1 : 1878
คําตอบ 2 : 1928
คําตอบ 3 : 4383
คําตอบ 4 : 5400

ขอที่ : 167


ระบบผลิตน้ําดื่มจากน้ําทะเลดวยระบบ reverse osmosis ตองใชความดันออสโมติกเทาไร ถาน้ําทะเลมีความเขมขน 30 gmol/L ที่อุณหภูมิ 15 องศาเซลเซียส กําหนดคา R = 8314 m^3 Pa/kg mol K

่ า
คําตอบ 1 : 14 x 10^3 Pa


คําตอบ 2 : 72 x 10^3 Pa

ํจาห
คําตอบ 3 : 14 x 10^5 Pa
คําตอบ 4 : 72 x 10^5 Pa

้ าม
ขอที่ : 168

ิธ์ ห
สารเคมีที่ใชในระบบ preoxidation คือ
คําตอบ 1 : แกสคลอรีน
คําตอบ 2 : โซเดียมไฮโปคลอไรต

ิท
คําตอบ 3 : โปตัสเซียมเปอรแมงกาเนต


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 169

ง วน

วัสดุที่นิยมใชผลิตเรซินในระบบการแลกเปลี่ยนไอออน (ion exchange)

ขอ
คําตอบ 1 : polyethylene


คําตอบ 2 : polystyrene


คําตอบ 3 : polyester


คําตอบ 4 : polypropylene

ขอที่ : 170

าวศ

สภ
วงจรของการลดความกระดางโดยการแลกเปลี่ยนไอออนไดแก
คําตอบ 1 : softening/backwashing/regeneration/rinse
คําตอบ 2 : softening/rinse/backwashing/regeneration
คําตอบ 3 : service/backwashing/rinse
คําตอบ 4 : service/rinse/bachwashing

ขอที่ : 171
ขอใดไมใชปญหาในการกําจัดความกระดางดวยเรซิน
คําตอบ 1 : การแตกของเม็ดเรซิน
คําตอบ 2 : เกิดสนิมเหล็กเคลือบบนเม็ดเรซิน
คําตอบ 3 : เกิดแบคทีเรีย


คําตอบ 4 : เกิดการตกตะกอนของหินปูน

น่ า
ํจาห
ขอที่ : 172
ในระบบการดูดซับดวยถานกัมมันต EBCT ยอมาจาก
คําตอบ 1 : Empty Bed Contact Time


คําตอบ 2 :

้ า
Equivalent Bed Contact Time
คําตอบ 3 :

ิธ์ ห
Empty Bed Chlorine Test
คําตอบ 4 : Equivalent Bed Chlorine Test

ิท
ขอที่ : 173

นส
ง ว
อ ส
ก ร ข
คําตอบ 1 :


ิ ว

352


คําตอบ 2 : 532

สภ
คําตอบ 3 : 3,520
คําตอบ 4 : 5,320

ขอที่ : 174
วิธีการใดในการผลิตน้ําประปามีวัตถุประสงคเพื่อปองกันการเติบโตของสาหรายในระบบผลิตน้ําประปา
คําตอบ 1 : การเติมคลอรีนเบื้องตน
คําตอบ 2 : การ เติมสารสม
คําตอบ 3 : การเติมเฟอรริกคลอไรด
คําตอบ 4 : การกรองชา


ขอที่ : 175

่ า
กระบวนการใดมีวัตถุประสงคในการเพิ่มประสิทธิภาพในการตกตะกอนของน้ําดิบ


คําตอบ 1 : การกวนเร็ว

ํจาห
คําตอบ 2 : การกวนชา
คําตอบ 3 : การกรองเร็ว
คําตอบ 4 : ถูกทั้งขอ ก. และ ข.

้ าม
ิธ์ ห
ขอที่ : 176
กระบวนการใดมีวัตถุประสงคในการเพิ่มประสิทธิภาพกําจัดสารแขวนลอยในน้ําดิบ
คําตอบ 1 : การเติมคลอรีน

ิท
คําตอบ 2 : การกําจัดความกระดาง


คําตอบ 3 : การแลกเปลี่ยนอิออน

วน
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ :

สง

177
กระบวนการใดมีวัตถุประสงคในการกําจัดอิออนตางๆในน้ําดิบ

ร ข
คําตอบ 1 : การกรองเร็ว


คําตอบ 2 : การเติมคลอรีน


คําตอบ 3 : การแลกเปลี่ยนอิออน



คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

าว
สภ
ขอที่ : 178
สําหรับน้ําดิบจากแหลงน้ําที่มีความขุนต่ํามากกระบวนการผลิตน้ําประปาขั้นตอนใดสามารถละเวนได
คําตอบ 1 : การฆาเชื้อโรค
คําตอบ 2 : การตกตะกอน
คําตอบ 3 : การกรอง
คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก
ขอที่ : 179
กระบวนการผลิตน้ําประปาโดยทั่วไปไมสามารถกําจัดมลสารในขอใด
คําตอบ 1 : โลหะหนัก
คําตอบ 2 : ความขุน


คําตอบ 3 : จุลชีพที่กอใหเกิดโรค

่ า
คําตอบ 4 : สี และกลิ่น


ํจาห
ขอที่ : 180
กระบวนการใดสามารถกําจัดความกระดางในน้ําดิบได


คําตอบ 1 : การเติมสารทําลายเสถียรของตะกอน

้ า
คําตอบ 2 : การกรอง

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : การตกตะกอน
คําตอบ 4 : การเติมปูนขาว

ขอที่ : 181

สิท
วน
ขอใดตอไปนี้ไมใชปจจัยที่ตองควบคุมในกระบวนการกรอง


คําตอบ 1 : ความดันเหนือสารกรอง


คําตอบ 2 : ความหนาของสารกรอง


คําตอบ 3 : ขนาดของสารกรอง


คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

ก ร

ขอที่ : 182



ถานกัมมันตสามารถกําจัดมลสารในขอใดไดนอยที่สุด

าว
คําตอบ 1 : โลหะหนัก

สภ
คําตอบ 2 : สี
คําตอบ 3 : กลิ่น
คําตอบ 4 : สารประกอบเบนซีน

ขอที่ : 183
สภาพของน้ําดังขอใดตอไปนี้บงชี้วาน้ํามีแนวโนมในการตกตะกรันในเสนทอ
คําตอบ 1 : ดัชนีแลงเกลียรมีคาใกลศูนย
คําตอบ 2 : ดัชนีแลงเกียรมีคาเปน บวกสูง
คําตอบ 3 : ดัชนีแลงเกียรมีคาเปน ลบสูง
คําตอบ 4 : ดัชนีแลงเกียรมีคาไมเขาใกล ศูนย

่ าย
ขอที่ : 184


การควบคุมพีเอชของน้ําดวยระบบอัตโนมัติอาจเกิดความยุงยากเนื่องจากกรณีดังตอไปนี้ยกเวนขอใด

ํจาห
คําตอบ 1 : อัตราการไหลของน้ําสูงเกินไป
คําตอบ 2 : พีเอชของน้ําแปรปรวนมาก
คําตอบ 3 : พีเอชของน้ําเกิดการเปลี่ยนแปลงเร็วมาก


คําตอบ 4 : อัตราการไหลของน้ําเกิดการเปลี่ยนแปลงเร็วมาก

ขอที่ : 185

ิธ์ ห
เสถียรภาพของคอลลอยดเกิดจากสาเหตุใด
้ า
ิท
คําตอบ 1 : แรงดึงดูดระหวางคอลลอยดมากกวาแรงผลักระหวางคอลลอยด


คําตอบ 2 : แรงดึงดูดระหวางคอลลอยดเทากับแรงผลักระหวางคอลลอยด

วน
คําตอบ 3 : แรง Van der Waals นอยกวาแรงผลักเนื่องจากประจุไฟฟา


คําตอบ 4 : แรง Van der Waals เทากับแรงผลักเนื่องจากประจุไฟฟา

ขอที่ :

อ ส

186


การทําลายเสถียรของคอลลอยดในขอใดตอไปนี้ไมเกี่ยวของกับการทําลายหรือลดประจุไฟฟาของอนุภาค


คําตอบ 1 : การลดความหนาของชั้นกระจาย


คําตอบ 2 : การดูดติดผิว



คําตอบ 3 : การใชสารโพลีเมอรเปนสะพานเชื่อม

าว
คําตอบ 4 : Sweep Coagulation

สภ
ขอที่ : 187
ขอใดตอไปนี้เรียงลําดับขั้นตอนของกระบวนการโคแอกกูเลชันและฟลอคคูเลชัน
คําตอบ 1 : ถังกวนเร็ว ถังกรองเร็ว ถังกวนชา ถังตกตะกอน
คําตอบ 2 : ถังกวนชา ถังกวนเร็ว ถังตกตะกอน ถังกรองเร็ว
คําตอบ 3 : ถังกวนเร็ว ถังกวนชา ถังกรองเร็ว ถังตกตะกอน
คําตอบ 4 : ถังกรองเร็ว ถังกวนเร็ว ถงกรองชา ถังตกตะกอน
ขอที่ : 188
ขอใดสามารถเพิ่มประสิทธิภาพของการรวมตะกอนของถังกวนชา
คําตอบ 1 : การเติมสารโพลิเมอร


คําตอบ 2 : การเติมโคแอกกูแลนทเอด

่ า
คําตอบ 3 : การลดคาความเร็วแกรเดียนทลงเปนลําดับในอัตรา 2:1 จนกระทั้งไดความเร็วแกรเดียนทที่เหมาะสมบริเวณทางน้ําออก


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 189

ํจาห

ขอใดตอไปนี้เปนขอดีของถังกวนชาแบบใชแผนกั้นน้ํา

้ า
คําตอบ 1 : เกิดการตกตะกอนภายในถังไดยาก

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : มีการไหลลัดทางเกิดไดนอย
คําตอบ 3 : ระดับความปนปวนของน้ําเปนอิสระจากอัตราการไหล

ิท
คําตอบ 4 : การออกแบบและควบคุมการเกิดฟล็อคคูเลชันทําไดงาย

นส

ขอที่ : 190


ตอไปนี้คือปจจัยที่มีความสําคัญตอการใชโพลิเมอรเปนสะพานเชื่อมคอลลอยดอยางมีประสิทธิภาพยกเวนขอใด


คําตอบ 1 : ปริมาณสารโพลิเมอรที่เหมาะสม


คําตอบ 2 : ชนิดของโพลิเมอรที่เหมาะสม


คําตอบ 3 : ความเร็วแกรเดียนท


คําตอบ 4 : อุณหภูมิ

วก


ขอที่ : 191


กระบวนการผลิตน้ําประปาขอใดมีวัตถุประสงคเพื่อกําจัดความขุน


สภ
คําตอบ 1 : การเติมคลอรีน
คําตอบ 2 : การตกตะกอน
คําตอบ 3 : การแลกเปลี่ยนอิออน
คําตอบ 4 : การเติมโอโซน

ขอที่ : 192
กระบวนการผลิตน้ําประปาขอใดมีวัตถุประสงคเพื่อลดการตกตะกรันในเสนทอ
คําตอบ 1 : การปรับพีเอช
คําตอบ 2 : การเติมโอโซน
คําตอบ 3 : การดูดซับดวยถานกัมมันต
คําตอบ 4 : การกรอง

่ าย

ขอที่ : 193

ํจาห
กระบวนการผลิตน้ําประปาขอใดมีวัตถุประสงคเพื่อการฆาเชื้อโรค
คําตอบ 1 : การปรับพีเอส
คําตอบ 2 : การตกตะกอน


คําตอบ 3 : การแลกเปลี่ยนอิออน

้ า
คําตอบ 4 : การเติมคลอรีน

ขอที่ : 194
ิธ์ ห
ิท
กระบวนการใดสามารถกําจัดสีจากการยอยสลายสารอินทรียในน้ําดิบ


คําตอบ 1 : การดีแอเรชัน

วน
คําตอบ 2 : การปรับพีเอส


คําตอบ 3 : การแลกเปลี่ยนอิออน


คําตอบ 4 : การดูดติดผิว

ขอที่ : 195

ร ขอ

กรณีใชน้ําดิบที่มีความกระดางสูงควรเพิ่มเติมกระบวนการใดลงในระบบผลิตน้ําประปาแบบปกติ (Conventional water treatment system)


คําตอบ 1 : การดีแอเรชัน



คําตอบ 2 : การเติมโอโซน

าว
คําตอบ 3 : การแลกเปลี่ยนอิออน

สภ
คําตอบ 4 : การดูดติดผิว

ขอที่ : 196
ขอใดไมถูกตองเมื่อเกิดการตกผลึกของหินปูน
คําตอบ 1 : คาความเปนดางของน้ําเปลี่ยนแปลง
คําตอบ 2 : คาความเปนกรดของน้ําเปลี่ยนแปลง
คําตอบ 3 : คาพีเอชเปลี่ยนแปลง
คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

ขอที่ : 197

่ าย

ํจาห
คําตอบ 1 : ดีแอเรชัน
คําตอบ 2 : การกรอง


คําตอบ 3 : การดูดซับ

้ า
คําตอบ 4 : การแลกเปลี่ยนอิออน

ขอที่ : 198

ิธ์ ห
ิท
แอมโมเนียจะมีสภาพเปนกาซที่พีเอชใด


คําตอบ 1 : พีเอชต่ํามากๆ


คําตอบ 2 : พีเอชสูงมากๆ

ง ว
คําตอบ 3 : พีเอชกลาง


คําตอบ 4 : ถูกทั้งขอ ก และ ข

ขอที่ : 199

ร ขอ
ขอใดตอไปนี้มิใชอุปกรณที่ใชในการทําแอเรชันและดีแอเรชัน

วก
คําตอบ 1 : Spray aerator



คําตอบ 2 : Diffuser


คําตอบ 3 : Cascade aerator


คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

ขอที่ : 200

สภ
คําตอบ 1 : 11.04 mg/l

่ าย

คําตอบ 2 : 9.27 mg/l

ํจาห
คําตอบ 3 : 7.46 mg/l
คําตอบ 4 : 4.86 mg/l

ขอที่ : 201

้ าม
ิธ์ ห
สภาวะใดที่กระบวนการโคแอกกูเลชันเกิดไดดีที่สุด
คําตอบ 1 : คาซีตาโพเทนเชียลมีคาบวกมาก

ิท
คําตอบ 2 : คาซีตาโพเทนเชียลมีคาลบมาก


คําตอบ 3 : คาซีตาโพเทนเชียลมีคาเขาใกลศูนย


คําตอบ 4 : คาซีตาโพเทนเชียลมีคาไมเปลี่ยนแปลง

ขอที่ :

ง ว

202
ขอใดตอไปนี้มิใชรูปแบบ Polymeric Hydroxo Complex ของสารสม

คําตอบ 1 :

ร ขอ
คําตอบ 2 :

วก
คําตอบ 3 :

าวศ

สภ
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 203
วิธีการรวมตัวของอนุภาคโดยการสรางสภาวะของน้ําใหมีความเร็วไมเทากัน (Velocity Gradient) เรียกวาวิธีใด
คําตอบ 1 : Perikinetic Flocculation
คําตอบ 2 : Orthokinetic Flocculation
คําตอบ 3 : Thermal Motion Flocculation
คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

่ าย

ขอที่ : 204

ํจาห
วิธีการรวมตัวของอนุภาคโดยการเคลื่อนไหวตามธรรมชาติอยางไมเปนระเบียบ ของอนุภาค (Brownian Motion) เรียกวาวิธีใด
คําตอบ 1 : Perikinetic Flocculation
คําตอบ 2 : Orthokinetic Flocculation


คําตอบ 3 :

้ า
Thermal Motion Flocculation
คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

ขอที่ : 205
ิธ์ ห
ิท
วัสดุประเภทใดดังตอไปนี้สามารถใชเปนเปาสัมผัสเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรวมตะกอน


คําตอบ 1 : ผงดินเหนียว

วน
คําตอบ 2 : Activated Silica


คําตอบ 3 : ดินขาวเกาลิน


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 206

ร ขอ

ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับสภาพพื้นที่ผิวของถานกัมมันตชนิดผง


คําตอบ 1 : มีพื้นที่ผิวสูง



คําตอบ 2 : มีรูพรุนทั้งขนาดเล็กและใหญ

าว
คําตอบ 3 : มีความหลากหลายของฟงกชันนอลกรุปบนพื้นผิว

สภ
คําตอบ 4 : สวนใหญมีคุณสมบัติของพื้นผิวแบบชอบน้ํา

ขอที่ : 207
ถานกัมมันตชนิดใดที่มักถูกใชในการผลิตน้ําประปา
คําตอบ 1 : ถานกัมมันตแบบผง
คําตอบ 2 : ถานกัมมันตแบบเกร็ด
คําตอบ 3 : ถานกัมมันตแบบแผน
คําตอบ 4 : ถูกทั้งขอ ก. และ ข.

ขอที่ : 208


ขอใดไมใชขอเสียของการใชถานกัมมันตแบบผง

่ า
คําตอบ 1 : ไมคุมคาที่จะทําการฟนอํานาจ


คําตอบ 2 : ไมสามารถกําจัดมลสารใหหมดไปอยางสิ้นเชิง

ํจาห
คําตอบ 3 : สามารถเกิดการอุดตันเสนทอ
คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

้ าม
ขอที่ : 209

ิธ์ ห
สารใดตอไปนี้ไมสามารถถูกกําจัดโดยถานกัมมันตไดดี
คําตอบ 1 : สี กลิ่น รส
คําตอบ 2 : คลอรีนในน้ํา

ิท
คําตอบ 3 : ยาฆาแมลง


คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

ขอที่ : 210

ง วน

ปจจัยใดดังตอไปนี้ไมมีผลตอประสิทธิภาพการดูดซับของถานกัมมันต

ขอ
คําตอบ 1 : อุณหภูมิ


คําตอบ 2 : ความปนปวนของน้ํา


คําตอบ 3 : พีเอช


คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

ขอที่ : 211

าวศ

สภ
เมื่อคาพีเอชของน้ําเพิ่มขึ้นจะสงผลอยางไรตอสภาพความเปนประจุของตัวกลางดูดซับ
คําตอบ 1 : สภาพประจุของพื้นผิวมีแนวโนมเปลี่ยนแปลงไปในแนวบวก
คําตอบ 2 : สภาพประจุของพื้นผิวมีแนวโนมเปลี่ยนแปลงไปในแนวลบ
คําตอบ 3 : สภาพประจุของพื้นผิวไมเปลี่ยนแปลง
คําตอบ 4 : สภาพประจุของพื้นผิวเกิดความไมแนนอน

ขอที่ : 212
การฟนสภาพของถานกัมมันตมักใชการทําใหเกิดปฏิกริยาใดดังตอไปนี้
คําตอบ 1 : ปฏิกิรยาออกซิเดชัน
คําตอบ 2 : ปฏิกริยาไพโรไลซีส
คําตอบ 3 : ปฏิกริยารีดักชัน


คําตอบ 4 : ถูกทั้งขอ ก และ ข.

น่ า
ํจาห
ขอที่ : 213
ขอใดไมถูกตองสําหรับการฟนสภาพของถานกัมมันตดวยวิธีทางเคมีหรือวิธีใชความรอนสูง
คําตอบ 1 : วิธีทางเคมีไดผลดีกวาวิธีใชความรอนสูง


คําตอบ 2 : วิธีใชความรอนสูงจําเปนตองเพิ่มปริมาณออกซิเจนและความชื้นอยางเกินพอ

้ า
คําตอบ 3 : การฟนสภาพถานกัมมันตแบบเกร็ดดวยวิธีความรอนสูงมักมีการสูญเสียคารบอนสวนหนึ่ง

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ถูกทั้งขอ ก และ ข.

ิท
ขอที่ : 214


ขอใดเปนสมการ Isotherm แบบ Langmuir (กําหนดให Q = ปริมาณการดูดซับ , C = ความเขมขนที่สมดุล , a และ b คือคาคงที่ )

คําตอบ 1 :

ง วน
อ ส

คําตอบ 2 :

ก ร

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

าวศ

ขอที่ : 215
สภ
ขอใดเปนสมการ Isotherm แบบ Freundlich (กําหนดให Q = ปริมาณการดูดซับ , C = ความเขมขนที่สมดุล , a และ b คือคาคงที่ )

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

น่ า
ํจาห
คําตอบ 3 :


คําตอบ 4 :

ขอที่ : 216

ิธ์ ห้ า
ิท
ขอใดตอไปนี้ไมใชกระบวนการเมมเบรน


คําตอบ 1 : Reverse Osmosis


คําตอบ 2 : Distillation

ง ว
คําตอบ 3 : Electrodialysis


คําตอบ 4 : Ultrafiltration

ขอที่ : 217

ร ขอ
กระบวนการแยกสารละลายออกจากน้ําประเภทใดมีความสามารถในการทําความสะอาดน้ําไดดีที่สุด

วก
คําตอบ 1 : Reverse Osmosis



คําตอบ 2 : Distillation


คําตอบ 3 : Electrodialysis


คําตอบ 4 : Ultrafiltration

ขอที่ : 218

สภ
อิออนใดในน้ําที่สามารถกําจัดไดโดยเรซินแลกเปลี่ยนอิออนแบบกรดแกชนิดมีโซเดียมเปนอิออนอิสระ

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

่ าย

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 219

ํจาห

สารหรืออิออนใดในน้ําที่สามารถกําจัดไดโดยเรซินแลกเปลี่ยนอิออนแบบดางแก

คําตอบ 1 :

ิธ์ ห้ า
ิท
คําตอบ 2 :

นส

คําตอบ 3 :

สง

คําตอบ 4 :

ก ร ข

ขอที่ : 220



เวลากักเก็บน้ําภายในถังเรซินที่บรรจุเรซิน 8.5 ลบ. ฟุตเมื่ออัตราการไหลที่ 0.1 ลบ.ฟุต / นาที-ลบ.ฟุต เปนเทาใด


คําตอบ 1 : 10 นาที


คําตอบ 2 : 15 นาที

สภ
คําตอบ 3 : 30 นาที
คําตอบ 4 : 40 นาที

ขอที่ : 221
ความเขมขนของเกลือแกงที่ใหประสิทธิภาพสูงสุดในการรีเจนเนอเรชันประมาณกี่ %
คําตอบ 1 : 2- 5 %
คําตอบ 2 : 5 – 10 %
คําตอบ 3 : 10 – 15 %
คําตอบ 4 : 20 – 30 %


ขอที่ : 222

่ า
สารเคมีชนิดใดสามารถใชเปนรีเจนเนอแรนตสําหรับเรซินแบบกรดออน


คําตอบ 1 : กรดเกลือ

ํจาห
คําตอบ 2 : โซดาไฟ
คําตอบ 3 : เกลือแกง
คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

้ าม
ิธ์ ห
ขอที่ : 223
ความสามารถในการแลกเปลี่ยนอิออนของเรซินสามารถแสดงไดในหนวยใด
คําตอบ 1 :

ิท
meq / ml


คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 : mg/l

ง วน

คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

ขอที่ : 224

ร ขอ

ขอใดตอไปนี้เปนวัตถุประสงคของการชะลางเรซินหลังจากการรีเจนเนอเรชัน


คําตอบ 1 : ลาง Regenerant



คําตอบ 2 : กําจัดอิออนที่แลกเปลี่ยนในโครงสรางของเรซิน

าว
คําตอบ 3 : เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการแลกเปลี่ยนอิออน

สภ
คําตอบ 4 : เพื่อกําจัดสิ่งสกปรกตกคางในถังเรซิน

ขอที่ : 225
ขอใดถูกตองเกี่ยวกับความพรุนของเรซินแลกเปลี่ยนอิออน
คําตอบ 1 : เรซินที่มี Degree of Crosslinkage ต่ําจะมีประสิทธิภาพในการแลกเปลี่ยนอิออนสูง (คิดตอปริมาตร)
คําตอบ 2 : เรซินที่มี Degree of Crosslinkage สูงจะมีความแข็งแรงของโครงสรางสูง
คําตอบ 3 : เรซินที่มี Degree of Crosslinkage สูงจะสามารถอมน้ําไดสูง
คําตอบ 4 : เรซินที่มี Degree of Crosslinkage ต่ําจะแตกหักงาย

ขอที่ : 226


ความลึกของเรซินแลกเปลี่ยนอิออนมีอิทธิพลตออํานาจแลกเปลี่ยนอิออนอยางไร

่ า
คําตอบ 1 : อํานาจแลกเปลี่ยนอิออนสูงขึ้นตามความลึก


คําตอบ 2 : ไมมีผลอยางมีนัยสําคัญ

ํจาห
คําตอบ 3 : อํานาจแลกเปลี่ยนอิออนลดลงขึ้นตามความลึก
คําตอบ 4 : อิทธิพลตออํานาจการแลกเปลี่ยนอิออนแตกตางกันตามชนิดของเรซิน

้ าม
ขอที่ : 227

ิธ์ ห
ขอใดถูกตองสําหรับการลางยอนถังเรซินแลกเปลี่ยนอิออน
คําตอบ 1 : ถังเรซินแบบดางตองการ Free Board มากกวาของถังเรซินแบบกรด
คําตอบ 2 : ถังเรซินแบบกรดตองการ Free Board มากกวาของถังเรซินแบบดาง

ิท
คําตอบ 3 : ถังเรซินแบบดางตองอัตราการลางยอนสูงกวาของถังเรซินแบบกรด


คําตอบ 4 : ถังเรซินแบบดางและถังเรซินแบบกรดตองการอัตราการลางยอนในอัตราเทากัน

ขอที่ : 228

ง วน

หินปูนสามารถละลายน้ําไดประมาณเทาใดที่อุณหภูมิปกติ

ขอ
คําตอบ 1 : 10 มิลลิกรัม/ลิตร


คําตอบ 2 : 20 มิลลิกรัม/ลิตร


คําตอบ 3 : 30 มิลลิกรัม/ลิตร


คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

ขอที่ : 229

าวศ

สภ
เมื่อคาดัชนีแลงเกลียรที่คํานวนไดของน้ํามีคาติดลบมีความหมายวาอยางไร
คําตอบ 1 : มีแนวโนมในการเกิดตะกรัน
คําตอบ 2 : มีแนวโนมในการกัดกรอนโลหะ
คําตอบ 3 : มีแนวโนมในการฟลมเคลือบโลหะ
คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

ขอที่ : 230
จงเรียงลําดับความชอบไอออนของเรซินของอิออนประจุบวกตางๆดังตอไปนี้กับน้ําที่มี TDS ต่ํากวา 1000 mg/l จากมากไปนอย

คําตอบ 1 :


คําตอบ 2 :

น่ า
ํจาห
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

้ าม
ิธ์ ห
ขอที่ : 231
ขอใดคือกระบวนการกรองตรง

สิท
คําตอบ 1 :

ง วน
อ ส
ก ร ข

คําตอบ 2 :

าวศ

สภ
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :

่ าย

ํจาห
ขอที่ : 232
ขอใดคือกระบวนการกรองแบบทั่วไป (การกรองเร็ว)

้ าม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :

สิท
คําตอบ 2 :

ง วน
อ ส
ก ร ข

คําตอบ 3 :

าวศ

สภ
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 233
ระบบผลิตน้ําประปาระบบใดเหมาะสมกับทองถิ่นชนบทและมีแหลงน้ําดิบที่มีความขุนต่ําและมีความสะอาดคอนขางสูง


คําตอบ 1 :

น่ า
ํจาห
คําตอบ 2 :

้ าม
ิธ์ ห
สิท

คําตอบ 3 :

ง ว
อ ส
คําตอบ 4 :

ก ร ข

ิ ว
าว
สภ
ขอที่ : 234
ขอใดไมใชหลักเกณฑและขอควรระวังในการใชสารโพลิเมอรในการเพิ่มประสิทธิภาพการรวมตะกอน
คําตอบ 1 : เลือกชนิดโพลิเมอรที่มีประจุตรงขามกับคลอลอยด
คําตอบ 2 : เลือกใชโพลิเมอรชนิดที่ไมมีประจุแตใชในปริมาณมาก
คําตอบ 3 : ความปนปวนอันเนื่องมากจากการกวนตองไมมากเกินไป
คําตอบ 4 : เลือกใชโพลิเมอรที่มีความยาวเพียงพอ
ขอที่ : 235
ขอเสียของการใชถานกัมมันตแบบผงในการกําจัดมลสารตางๆ ในน้ํามีดังตอไปนี้ยกเวนขอใด
คําตอบ 1 : มีการสูญเสียอยางมากในกระบวนการฟนสภาพดวยความรอน
คําตอบ 2 : สามารถแยกถานกัมมันตออกจากน้ําไดยาก


คําตอบ 3 : มีประสิทธิภาพในการดูดซับมลสารต่ํากวาแบบเกร็ด

่ า
คําตอบ 4 : สามารถดูดซับมลสารที่มีมวลโมเลกุลต่ําไดนอย


ํจาห
ขอที่ : 236
ความกระดางคารบอเนตสามารถกําจัดไดโดยวิธีใด


คําตอบ 1 : การตม

้ า
คําตอบ 2 : การเติมปูนขาว

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : การแลกเปลี่ยนอิออน
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 237

สิท
วน
ความกระดางถาวรสามารถกําจัดไดโดยวิธีใด


คําตอบ 1 : การตม


คําตอบ 2 : การเติมปูนขาว


คําตอบ 3 : การแลกเปลี่ยนอิออน


คําตอบ 4 : ถูกทั้งขอ ข. และ ค

ก ร

ขอที่ : 238



ระบบบําบัดน้ําเสียแบบ UASB ตรงกับคําในภาษาอังกฤษวาอะไร

าว
คําตอบ 1 : Upflow Aerobic Sludge Blanket

สภ
คําตอบ 2 : Upflow Anaerobic Sludge Blanket
คําตอบ 3 : Upflow Anaerobic Sludge Bacteria
คําตอบ 4 : Up-life Aerobic Sludge Blanket

ขอที่ : 239
การที่ของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมไหลลงสูลําน้ําธรรมชาติแลว ลําน้ําสามารถที่จะบําบัดรักษาตัวของมันเองไดตามธรรมชาติ เรียกปรากฏการณนี้วาอะไร
คําตอบ 1 : Blue green algae
คําตอบ 2 : Self purification
คําตอบ 3 : Eutrophication
คําตอบ 4 : Nitrification

่ าย
ขอที่ : 240


การที่พืชน้ําเจริญเติบโตอยางรวดเร็วเนื่องจากไดรับสารจําพวก ไนเตรทและฟอสเฟตในปริมาณที่สูง จนทําใหน้ําเสีย เรียกปรากฏการณนี้วาอะไร

ํจาห
คําตอบ 1 : Blue green algae
คําตอบ 2 : Self purification
คําตอบ 3 : Eutrophication


คําตอบ 4 :

้ า
Nitrification

ิธ์ ห
ขอที่ : 241
กาซไขเนาหมายถึงขอใดตอไปนี้

คําตอบ 1 :

สิท
ง วน

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

ร ขอ
วก
วศ

คําตอบ 4 :


สภ
ขอที่ : 242
ความลึกของบอ Anaerobic pond อยูในชวงประมาณเทาใด
คําตอบ 1 : นอยกวา 0.20 เมตร
คําตอบ 2 : 0.20 – 0.40 เมตร
คําตอบ 3 : 1.00 – 1.50 เมตร
คําตอบ 4 : 2.00 – 8.00 เมตร
ขอที่ : 243
ความลึกของบอ Aerobic pond อยูในชวงประมาณเทาใด
คําตอบ 1 : นอยกวา 0.20 เมตร


คําตอบ 2 : 0.20 – 0.40 เมตร

่ า
คําตอบ 3 : 1.00 – 1.50 เมตร


คําตอบ 4 : 2.00 – 4.00 เมตร

ขอที่ : 244

ํจาห

ขอใดไมใชลักษณะของบึงประดิษฐ(Constructed wetland)

้ า
คําตอบ 1 : ระบบนี้จะไดรับออกซิเจนจากการแทรกซึมของอากาศผานผิวน้ําหรือชั้นหินลงมา

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : ตองมีการเติมเม็ดแบคทีเรียลงไปในระบบดวย เพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพในการบําบัด
สวนการลดปริมาณฟอสฟอรัสสวนใหญจะเกิดที่ชั้นดินสวนพื้นบอ และพืชน้ําจะชวยดูดซับฟอสฟอรัสผานทางรากและนําไปใชในการสรางเซลล นอกจากนี้ระบบบึงประดิษฐยังสามารถกําจัด
คําตอบ 3 :

ิท
โลหะหนัก (Heavy Metal) ไดบางสวนอีกดวย


คําตอบ 4 : เปนระบบที่มีพืชชนิดที่ลอยอยูบนผิวน้ํา เชน จอก แหน บัว กก ธูปฤาษี เปนตน

ขอที่ : 245

ง วน

ระบบบําบัดน้ําเสียแบบแอกติเวเต็ดสลัดจโดยทั่วไปจะประกอบดวยสวนสําคัญ 2 สวน คือ อะไร


คําตอบ 1 : ถังเติมอากาศ (Aeration Tank) และถังตกตะกอน (Sedimentation Tank)


คําตอบ 2 : ถังเติมอากาศ (Aeration Tank) และถังกรอง (Filtration Tank)


คําตอบ 3 : ถังตกตะกอน (Sedimentation Tank) และถังกรอง (Filtration Tank)


คําตอบ 4 : ถังเติมอากาศ (Aeration Tank) และถังปรับสภาพ (Equalization Tank)


ิ ว

ขอที่ : 246


ระบบใดตอไปนี้ไมใชระบบบําบัดน้ําเสียแบบกายภาพ

สภ
คําตอบ 1 : Screening
คําตอบ 2 : Oil Grease trap
คําตอบ 3 : Trickling Filter
คําตอบ 4 : Filtration tank

ขอที่ : 247
ระบบใดตอไปนี้ไมใชระบบบําบัดน้ําเสียแบบเคมี
คําตอบ 1 : ระบบโคแอกูเลชัน
คําตอบ 2 : ถังฆาเชื้อโรค
คําตอบ 3 : ถังดักไขมัน
คําตอบ 4 : ถังตกผลึก

่ าย

ขอที่ : 248

ํจาห
ระบบใดตอไปนี้เปนระบบบําบัดน้ําเสียแบบธรรมชาติ
คําตอบ 1 : ระบบโปรยกรอง
คําตอบ 2 : ระบบ RBC


คําตอบ 3 : ระบบแอกติเวเต็ดสลัดจ

้ า
คําตอบ 4 : ระบบบอบึงประดิษฐ

ขอที่ : 249
ิธ์ ห
สิท
ง วน
คําตอบ 1 :

อ ส
ถังเติมอากาศ

ร ข
คําตอบ 2 : ถังโคแอกกูแลนท


คําตอบ 3 : ถังเติมอากาศ


คําตอบ 4 : ถังหมักแบบไรออกซิเจน

ขอที่ : 250

าวศ

สภ
กลิ่นและรสของน้ําเกิดจากสาเหตุใด
คําตอบ 1 : จุลินทรียตาง ๆ
คําตอบ 2 : เหล็กและแมงกานีส
คําตอบ 3 : H2S
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 251
ขอใดคือวิธีการกําจัดความกระดางถาวร
คําตอบ 1 : การตม
คําตอบ 2 : การใชปูนขาวและโซดาแอช
คําตอบ 3 : การกรอง


คําตอบ 4 : การเติมออกซิเจน

น่ า
ํจาห
ขอที่ : 252
ขอใดกลาวถูกตอง เรื่องสี
คําตอบ 1 : สีแบงออกเปน 2 ประเภท คือสีจริงและสีปรากฏ


คําตอบ 2 : สีจริงสามารถกําจัดไดโดยการกรอง

้ า
คําตอบ 3 : สีปรากฏคือสีที่ละลายเปนเนื้อเดียวกับน้ํา

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ิท
ขอที่ : 253


คา pH ของ H+ = 10^-6 เทากับ

วน
คําตอบ 1 : 5


คําตอบ 2 : 6


คําตอบ 3 : 1/6


คําตอบ 4 : -6

ขอที่ : 254

ก ร ข

สารโคแอกกูแลนท ( Coagulant ) ใดที่นิยมใชในการผลิตน้ําประปามากที่สุด



คําตอบ 1 :


Sodium Carnonate


คําตอบ 2 : Ferric Chloride

สภ
คําตอบ 3 : Aluminium Sulfate
คําตอบ 4 : Polyelectrolyte

ขอที่ : 255
ขอใดไมใชสารโคแอกกูแลนท เอด ( Coagulant Aid )

คําตอบ 1 : Lime
คําตอบ 2 : Polymer
คําตอบ 3 : Activated Silica
คําตอบ 4 : Ferric Chloride


ขอที่ : 256

่ า
น้ําดิบชนิดใดที่สรางโคแอกกูเลชันไดยากที่สุด


คําตอบ 1 : น้ําดิบที่มีความขุนมากและมีความเปนดางสูง

ํจาห
คําตอบ 2 : น้ําดิบที่มีความขุนมากและมีความเปนดางต่ํา
คําตอบ 3 : น้ําดิบที่มีความขุนนอยและมีความเปนดางสูง
คําตอบ 4 : น้ําดิบที่มีความขุนนอยและมีความเปนดางต่ํา

้ าม
ิธ์ ห
ขอที่ : 257
การสูญเสียเฮดในระหวางการลางเครื่องกรอง เนื่องจากสาเหตุใด
คําตอบ 1 : การขยายตัวของสารกรองทุกชั้น

ิท
คําตอบ 2 : การไหลผานระบบทอ , ขอตอ และวาลวตาง ๆ


คําตอบ 3 : การไหลผานระบบระบายน้ํา เชน ทอเจาะรู

วน
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ :

สง

258
เรซินที่อยูในรูปของ Na+ ตองทําการรีเจนเนอเรตดวยสารใด

คําตอบ 1 :

ก ร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 2 :

สภ
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :
ขอที่ : 259
สารใดไมสามารถใชในการกําจัดเหล็กได
คําตอบ 1 : Zeolite


คําตอบ 2 :

่ า
Ion Exchange Resin
คําตอบ 3 :


Activated Carbon
คําตอบ 4 : Chlorine

ขอที่ : 260

ํจาห

น้ําดิบที่มีเหล็กไมเกิน 5 มก./ล. มักจะใชวิธีใดในการกําจัดเหล็กออก

้ า
คําตอบ 1 : วิธีโคแอกกูเลชันและการกรอง

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : วิธีกําจัดดวย Ion Exchange Resin
คําตอบ 3 : วิธีแอเรชันและการกรอง

ิท
คําตอบ 4 : วิธีแอเรชันและการกรองโดยใชถังตกตะกอนรวมดวย

นส

ขอที่ : 261


ขอใดกลาวผิดเกี่ยวกับโอโซน


คําตอบ 1 : โอโซนมีอํานาจออกซิไดซิงต่ํากวาคลอรีน


คําตอบ 2 : โอโซนราคาแพงกวาคลอรีน


คําตอบ 3 : โอโซนสามารถผลิตไดทุกสถานที่ที่มีกระแสไฟฟาไปถึง


คําตอบ 4 : โอโซนสามารถกําจัดสี กลิ่น และรสได

วก


ขอที่ : 262


แสงอัลตราไวโอเลต (UV) ในชวงใดใชในการฆาเชื้อโรคในน้ําไดดีที่สุด


สภ
คําตอบ 1 : 3250 - 3900 แองสตรอม
คําตอบ 2 : 2950 - 3250 แองสตรอม
คําตอบ 3 : 2000 - 2950 แองสตรอม
คําตอบ 4 : 1650 - 2000 แองสตรอม

ขอที่ : 263
ขอใดที่ไมใชสาเหตุที่ทําใหน้ําประปามีกลิ่นและรส
คําตอบ 1 : จุลินทรียชนิดที่กินเหล็ก
คําตอบ 2 : คลอรีน
คําตอบ 3 : คารบอนไดออกไซด
คําตอบ 4 : สาหราย

่ าย

ขอที่ : 264

ํจาห
ขอใดไมใชสาเหตุของการเกิดการไหลลัดทาง ( Short Circuit ) ในถังตกตะกอน
คําตอบ 1 : พีเอช
คําตอบ 2 : อุณหภูมิ


คําตอบ 3 : กระแสลม

้ า
คําตอบ 4 : สารละลายน้ํา (TDS)

ขอที่ :
ิธ์ ห
ิท
265


จากคุณลักษณะของน้ําดิบดังตอไปนี้ จงคํานวณหา Ion Exchange Load ของถังเรซินแบบกรดแก

ง วน
อ ส
ก ร ข

ิ ว
าว
สภ
คําตอบ 1 : 197 mg/L as CaCO3
คําตอบ 2 : 220 mg/L as CaCO3
คําตอบ 3 : 310 mg/L as CaCO3


คําตอบ 4 :

่ า
468 mg/L as CaCO3


ํจาห
ขอที่ : 266
ขอใดเรียงขั้นตอนการปรับปรุงคุณภาพน้ําถูกตอง
คําตอบ 1 : Coagulation-->Flocculation-->Sedimentation-->Filtration--> Disinfection

้ าม
คําตอบ 2 : Flocculation-->Coagulation-->Sedimentation-->Filtration--> Disinfection
คําตอบ 3 :

ิธ์ ห
Flocculation-->Filtration-->Coagulation-->Sedimentation--> Disinfection
คําตอบ 4 : Coagulation-->Flocculation-->Filtration-->Sedimentation--> Disinfection

ิท
ขอที่ : 267


การตรวจวัดความขุนในน้ําประปาแสดงวาเปนการทดสอบคุณสมบัติของน้ําดานใด

วน
คําตอบ 1 : ดานกายภาพ


คําตอบ 2 : ดานเคมี


คําตอบ 3 : ดานชีวภาพ


คําตอบ 4 : ดานกายภาพเคมี

ขอที่ : 268

ก ร ข

การทดสอบทางหองปฏิบัติการเพื่อหาปริมาณและชนิดของสารสรางตะกอนที่เหมาะสมเรียกวาอะไร



คําตอบ 1 :


Jar test


คําตอบ 2 : Floc test

สภ
คําตอบ 3 : Coagulation test
คําตอบ 4 : Flocculation test

ขอที่ : 269
วัตถุประสงคในการติดตั้งตะแกรงในกระบวนการผลิตน้ําประปาคืออะไร
คําตอบ 1 : กําจัดเหล็กและแมงกานีส
คําตอบ 2 : กําจัดสี
คําตอบ 3 : กําจัดเศษใบไมที่ลอยมา
คําตอบ 4 : กําจัดสารหนูที่ปนเปอนในน้ํา


ขอที่ : 270

่ า
ขอใดจัดเปนสารชวยสรางตะกอน


คําตอบ 1 : สารสม

ํจาห
คําตอบ 2 : โพลิเมอร
คําตอบ 3 : ปูนขาว
คําตอบ 4 : โพลีอะลูมิเนียมคลอไรด

้ าม
ิธ์ ห
ขอที่ : 271
ขอใดจัดเปนสภาวะที่เหมาะสมตอกระบวนการสรางตะกอน
คําตอบ 1 : ปริมาณสารสรางตะกอนมากๆ

ิท
คําตอบ 2 : ความปนปวนของน้ําสูงๆ


คําตอบ 3 : คาพีเอชของน้ําสูง

วน
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ :

สง

272
ความกระดางในน้ําชนิดใดไมสามารถกําจัดไดโดยวิธีการใหความรอน

คําตอบ 1 :

ก ร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 2 :

สภ
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :
ขอที่ : 273
ปญหาการพบปริมาณ trihalomethane ในน้ําประปาบางแหงของไทย แสดงวาโรงประปาดังกลาวนาจะฆาเชื้อโรคในน้ําดวยวิธีใด
คําตอบ 1 : ใชแสง Ultraviolet


คําตอบ 2 : เติมคลอรีน

่ า
คําตอบ 3 : เติมกาซโอโซน


คําตอบ 4 : เติม Potassium permanganate

ขอที่ : 274

ํจาห

หากในขั้นตอนการผลิตน้ําประปามีระบบเติมอากาศ (Aerator) ดวย แสดงวาในน้ําดิบที่นํามาผลิตน้ําประปานาจะมีการปนเปอนสิ่งใดในปริมาณมาก

้ า
คําตอบ 1 : จุลินทรียกอโรค

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : คลอไรด
คําตอบ 3 : เหล็ก 

ิท
คําตอบ 4 : คอลลอยด

นส

ขอที่ : 275


อุปกรณแบบใดที่ไมนิยมนํามาใชเปนถังกวนเร็วในปจจุบัน


คําตอบ 1 : Baffled tank


คําตอบ 2 : Static mixer


คําตอบ 3 : ใบพัด


คําตอบ 4 :


In-line blender

ขอที่ : 276


ิ ว

ขอใดไมใชลักษณะของเครื่องกรองทรายแบบกรองชา


สภ
คําตอบ 1 : ระยะเวลาเกิดความดันสูญเสียชา
คําตอบ 2 : เหมาะสําหรับน้ําดิบที่มีความขุนต่ํา
คําตอบ 3 : สามารถทําความสะอาดชั้นกรองดวยการ Backwash
คําตอบ 4 : ตองการพื้นที่มาก

ขอที่ : 277
การเติมคลอรีนในน้ําประปาภายหลังเพื่อแจกจายไปตามชุมชนจะตองมีระยะเวลาการฆาเชื้อโรคอยางนอยเทาใด
คําตอบ 1 : 20 นาที
คําตอบ 2 : 30 นาที
คําตอบ 3 : 40 นาที
คําตอบ 4 : 60 นาที

่ าย

ขอที่ : 278

ํจาห
การเติมคลอรีนในกระบวนการการผลิตน้ําประปาเพื่อใหมีคลอรีนหลงเหลือเทาใดกอนแจกจายไปตามชุมชน
คําตอบ 1 : 0.5-0.9 mg/l
คําตอบ 2 : 1.0-2.0 mg/l


คําตอบ 3 :

้ า
0.3-0.4 mg/l
คําตอบ 4 :

ิธ์ ห
0.5-0.6 mg/l

ขอที่ : 279

ิท
จงคํานวนปริมาณคลอรีนที่ตองการสูงสุดในแตละวันเพื่อใชฆาเชื้อโรค ในกระบวนการผลิตน้ําประปาขนาด 10000 ลบ.ม. ตอวัน กําหนดใหความเขมขนของคลอรีนสูงสุด = 2 mg/l


คําตอบ 1 : 5 ก.ก./วัน

วน
คําตอบ 2 : 10 ก.ก./วัน


คําตอบ 3 : 15 ก.ก./วัน


คําตอบ 4 : 20 ก.ก./วัน

ขอที่ : 280

ร ขอ

การกําจัดกลิ่นและรสในกระบวนการผลิต น้ําประปาโดยการใช Activated Carbon นิยมใชเวลากักเก็บสูงสุดเทาใด


คําตอบ 1 : 20 นาที



คําตอบ 2 : 30 นาที

าว
คําตอบ 3 : 40 นาที

สภ
คําตอบ 4 : 60 นาที

ขอที่ : 281
น้ําประปาที่ใชในโรงพยาบาลเด็กออนตองไมมีสารใดเจือปน
คําตอบ 1 : เหล็กและมังกานีส
คําตอบ 2 : ฟลูออไรด
คําตอบ 3 : ไนเตรต
คําตอบ 4 : ฟอสเฟต

ขอที่ : 282


ขอใดไมใชวิธีการกําจัดกลิ่นออกจากน้ําประปา

่ า
คําตอบ 1 : เติมอากาศ


คําตอบ 2 : Activated carbon

ํจาห
คําตอบ 3 : เติมดางทับทิม
คําตอบ 4 : เติมคลอรีน

้ าม
ขอที่ : 283

ิธ์ ห
การทดลองเรื่องใดใชเพื่อทดสอบหาชนิดและปริมาณสารเคมีในกระบวนการ Coagulation-flocculation
คําตอบ 1 : การผสม
คําตอบ 2 : จารเทสต

ิท
คําตอบ 3 : พีเอช


คําตอบ 4 : ความเปนดาง

ขอที่ : 284

ง วน
อ ส
ก ร ข

ิ ว
คําตอบ 1 :

าว 1 kg

สภ
คําตอบ 2 : 2 kg
คําตอบ 3 : 3 kg
คําตอบ 4 : 4 kg

ขอที่ : 285
คําตอบ 1 : ลดแบคทีเรีย


คําตอบ 2 : ลดซีโอดี

่ า
คําตอบ 3 : ลดบีโอดี


คําตอบ 4 : ลดสาหราย

ํจาห
ขอที่ : 286

้ าม
คําตอบ 1 : 1.5

ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 2 : 2.5


คําตอบ 3 : 3.5


คําตอบ 4 : 4.5

ง ว

ขอที่ : 287


ขอใดตอไปนี้ไมเกี่ยวของกับกระบวนการ coagulation-flocculation


คําตอบ 1 : Reynolds number


คําตอบ 2 :


Van der Waals force


คําตอบ 3 : Destabilization



คําตอบ 4 : Zeta potential

ขอที่ :

าว
สภ
288
ขอใดตอไปนี้ไมเกี่ยวของกับกระบวนการตกตะกอน
คําตอบ 1 : Reynolds number
คําตอบ 2 : Stokes equation
คําตอบ 3 : discrete settling
คําตอบ 4 : uniformity coefficient
ขอที่ : 289
ระบบผลิตน้ําประปากําลังการผลิต 0.2 m^3/s มีถังน้ําใส (clarifier) 4 ถัง แตละถังมีขนาดกวาง 5 m ยาว 25 m ความลึก 4 m คํานวณเวลากักพัก (detention time)
คําตอบ 1 : 1 hr
คําตอบ 2 : 2 hr


คําตอบ 3 :

่ า
3 hr
คําตอบ 4 :


4 hr

ํจาห
ขอที่ : 290
ระบบผลิตน้ําประปากําลังการผลิต 0.2 m^3/s มีถังน้ําใส (clarifier) 4 ถัง แตละถังมีขนาดกวาง 5 m ยาว 25 m ความลึก 5 m คํานวณอัตราน้ําลน (overflow rate)


คําตอบ 1 :

้ า
35 m/d
คําตอบ 2 :

ิธ์ ห
70 m/d
คําตอบ 3 : 140 m/d
คําตอบ 4 : 280 m/d

ขอที่ : 291

สิท
วน
ระบบผลิตน้ําประปากําลังการผลิต 0.2 m^3/s มีถังน้ําใส (clarifier) 4 ถัง แตละถังมีขนาดกวาง 5 m ยาว 25 m ความลึก 5 m คํานวณ horizontal velocity


คําตอบ 1 : 36 m/min


คําตอบ 2 : 18 m/min


คําตอบ 3 : 9 m/min


คําตอบ 4 : 4.5 m/min

ก ร

ขอที่ : 292



ระบบผลิตน้ําประปากําลังการผลิต 0.2 m^3/s มีถังน้ําใส (clarifier) 4 ถัง แตละถังมีขนาดกวาง 5 m ยาว 25 m ความลึก 5 m คํานวณ weir loading rate (กําหนดให weir length เทากับ 3 เทาของความ


กวางของถังน้ําใส)


คําตอบ 1 :

สภ
6 m^2/min
คําตอบ 2 : 12 m^2/min
คําตอบ 3 : 24 m^2/min
คําตอบ 4 : 48 m^2/min

ขอที่ : 293
การทดสอบใดเปนประโยชนตอกระบวนการ coagulation-flocculation
คําตอบ 1 : Jar test
คําตอบ 2 : turbidity
คําตอบ 3 : zeta potential
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

่ าย

ขอที่ : 294

ํจาห
การเลือกสารเคมีที่เหมาะสมกับกระบวนการ coagulation-flocculation นั้นควรมีการวัดพารามิเตอรใดตอไปนี้ในน้ําดิบ
คําตอบ 1 : อุณหภูมิ
คําตอบ 2 : พีเอช


คําตอบ 3 : ความเปนดาง

้ า
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 295
ิธ์ ห
ิท
ถังตกตะกอนประกอบดวยโซนอะไรบาง


คําตอบ 1 :


inlet/settling/outlet/sludge


คําตอบ 2 : influent/settling/effluent


คําตอบ 3 : inlet/scum/outlet/sludge


คําตอบ 4 : influent/scum/effluent

ขอที่ : 296

ร ขอ

หนวยวัดความขุนคือ


คําตอบ 1 : CU



คําตอบ 2 :


mV


คําตอบ 3 : NTU

สภ
คําตอบ 4 : degree Be

ขอที่ : 297
ประจุบวกของโลหะชนิดใดตอไปนี้ไมจัดเปนสารฆาเชื้อโรค
คําตอบ 1 : เงิน
คําตอบ 2 : ทองคํา
คําตอบ 3 : ปรอท
คําตอบ 4 : ไซยาไนด

ขอที่ : 298


ขอใดไมใชหนวยวัดความขุน

่ า
คําตอบ 1 : JTU


คําตอบ 2 : FTU

ํจาห
คําตอบ 3 : BTU
คําตอบ 4 : NTU

้ าม
ขอที่ : 299

ิธ์ ห
คลอรีนที่เติมลงไปหลังจากจุดเบรกพอยท เรียกวา
คําตอบ 1 : คลอรีนอิสระตกคาง
คําตอบ 2 : คลอรีนรวมคงคาง

ิท
คําตอบ 3 : คลอรีนรวมคงเหลือ


คําตอบ 4 : คลอรีนรวมมีอยู

ขอที่ : 300

ง วน

ขอใดมีความสามารถในการฆาเชื้อโรคมากที่สุด

ขอ
คําตอบ 1 : คลอรีนอิสระตกคาง


คําตอบ 2 : คลอรีนรวมคงคาง


คําตอบ 3 : คลอรีนรวมคงเหลือ


คําตอบ 4 : คลอรีนรวมมีอยู

ขอที่ : 301

าวศ

สภ
ขอเสียของการเติมคลอรีนในน้ําประปา
คําตอบ 1 : ราคาแพง
คําตอบ 2 : เกิดสารกอมะเร็ง
คําตอบ 3 : ประสิทธิภาพต่ํา
คําตอบ 4 : หาซื้อยาก

ขอที่ : 302
การเติมคลอรีนในน้ําประปานอกจากเปนสารฆาเชื้อโรคแลวยังชวยกําจัดสารใดตอไปนี้
คําตอบ 1 : แอมโมเนีย
คําตอบ 2 : สี
คําตอบ 3 : เหล็กและแมงกานีส


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

น่ า
ํจาห
ขอที่ : 303
ระบบผลิตน้ําประปาขนาด 10,000 ลบ.ม.ตอวัน ตองใชคลอรีนความเขมขน 2 มก.ตอลิตร ระบบนี้ตองใชคลอรีนกี่ถังตอเดือน (ความจุ 100 กิโลกรัมตอถัง)
คําตอบ 1 : 0.2


คําตอบ 2 :

้ า
2
คําตอบ 3 :

ิธ์ ห
0.6
คําตอบ 4 : 6

ิท
ขอที่ : 304


ขอใดตอไปนี้จัดเปนคลอรีนรวมตัว

วน
คําตอบ 1 : โมโนคลอรามีน


คําตอบ 2 : คลอรีน


คําตอบ 3 : กรดไฮโปคลอรัส


คําตอบ 4 : ไฮโปคลอไรต

ขอที่ : 305

ก ร ข

ประสิทธิภาพการฆาเชื้อโรคของคลอรีนจะลดลงเมื่อใด



คําตอบ 1 : พีเอชเปนกลาง

าว
คําตอบ 2 : พีเอชลดลง

สภ
คําตอบ 3 : พีเอชสูงขึ้น
คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

ขอที่ : 306
สารใดมีตัวที่ทําใหเกิดความกระดางแบบชั่วคราว

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

น่ า
ํจาห
คําตอบ 3 :

้ าม
คําตอบ 4 :

ิธ์ ห
ิท
ขอที่ : 307


ขอใดอธิบายความหมายของ effective size (ES) ของทรายกรองที่มีขนาด ES = 0.6 มม. ไดถูกตอง


คําตอบ 1 : ทรายที่ผานตะแกรงรอนขนาด 0.6 มม. ไดรอยละ 10 โดยน้ําหนัก


คําตอบ 2 : ทรายที่ผานตะแกรงรอนขนาด 0.6 มม. ไดรอยละ 30 โดยน้ําหนัก


คําตอบ 3 : ทรายที่ผานตะแกรงรอนขนาด 0.6 มม. ไดรอยละ 60 โดยน้ําหนัก


คําตอบ 4 : ทรายที่ผานตะแกรงรอนขนาด 0.6 มม. ไดรอยละ 90 โดยน้ําหนัก

ขอที่ : 308

ร ขอ

ขอใดไมจัดเปน high rate clarification


ิ ว
คําตอบ 1 : Tube settlers


คําตอบ 2 : Sludge blanket clarification


คําตอบ 3 : Contact clarification

สภ
คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

ขอที่ : 309
่ าย

ํจาห
คําตอบ 1 : 350


คําตอบ 2 : 250

้ า
คําตอบ 3 : 210

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : 110

ิท
ขอที่ : 310


สูตรเคมีของ Quicklime คือ

วน
คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

สง
คําตอบ 3 :

ร ขอ
วก


คําตอบ 4 :

าว
สภ
ขอที่ : 311
ขอใดไมนิยมใชในการกําจัดเหล็กและแมงกานีสในน้ํา
คําตอบ 1 : โอโซน
คําตอบ 2 : คลอรีน
คําตอบ 3 : สารสม
คําตอบ 4 : ดางทับทิม
ขอที่ : 312

่ าย

ํจาห
คําตอบ 1 : 350

้ าม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 : 250
คําตอบ 3 : 210

ิท
คําตอบ 4 : 110

ขอที่ :

นส

313


คา uniformity coefficient (UC) คือ


คําตอบ 1 : ขนาดตะแกรงรอนที่ยอมใหตัวกลางกรองผานรอยละ 10 โดยน้ําหนักตอขนาด ES


คําตอบ 2 : ขนาดตะแกรงรอนที่ยอมใหตัวกลางกรองผานรอยละ 30 โดยน้ําหนักตอขนาด ES


คําตอบ 3 : ขนาดตะแกรงรอนที่ยอมใหตัวกลางกรองผานรอยละ 60 โดยน้ําหนักตอขนาด ES


คําตอบ 4 : ขนาดตะแกรงรอนที่ยอมใหตัวกลางกรองผานรอยละ 90 โดยน้ําหนักตอขนาด ES

วก


ขอที่ : 314

าว
สภ
คําตอบ 1 : 131
คําตอบ 2 : 154
คําตอบ 3 : 208
คําตอบ 4 : 230

่ าย

ขอที่ : 315

ํจาห
้ าม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 131

สิท

คําตอบ 2 :


154


คําตอบ 3 : 208


คําตอบ 4 : 230

ขอที่ : 316

ร ขอ

เครื่องกรองน้ําพื้นที่ 40 x 40 ตารางฟุต มีความลึกของชั้นกรอง 30 นิ้ว ผานการใชงานเปนเวลา 22 ชั่วโมง โดยกรองน้ําไดรวมเปนปริมาตร 6 ลานแกลลอน จึงทําการลางยอนเปนเวลา 22 นาที ดวยอัตรา 15


แกลลอนตอนาทีตอตารางฟุต คํานวณอัตราการกรองเฉลี่ย



คําตอบ 1 : 3 gpm/sq.ft.


คําตอบ 2 : 152 gpm/in


คําตอบ 3 : 3750 gal/sq.ft.

สภ
คําตอบ 4 : 4545 gpm

ขอที่ : 317
เครื่องกรองน้ําพื้นที่ 40 x 40 ตารางฟุต มีความลึกของชั้นกรอง 30 นิ้ว ผานการใชงานเปนเวลา 22 ชั่วโมง โดยกรองน้ําไดรวมเปนปริมาตร 6 ลานแกลลอน จึงทําการลางยอนเปนเวลา 22 นาที ดวยอัตรา 15
แกลลอนตอนาทีตอตารางฟุต คํานวณรอยละของน้ําลางยอนที่ใชเมื่อเทียบกับน้ําที่กรองได
คําตอบ 1 : 3
คําตอบ 2 : 5
คําตอบ 3 : 7
คําตอบ 4 : 9


ขอที่ : 318

่ า
การทําลายเสถียรภาพ (destabilization) ของคอลลอยดโดยสารโคแอกกูแลนทอินทรียเกิดจากกลไกใดตอไปนี้


คําตอบ 1 : diffuse layer compression

ํจาห
คําตอบ 2 : sweep coagulation
คําตอบ 3 : adsorption
คําตอบ 4 : polymer bridging

้ าม
ิธ์ ห
ขอที่ : 319
ขอใดหมายถึง ความแตกตางของประจุไฟฟาระหวางชั้นความหนาแนนของไอออนที่อยูรอบๆ อนุภาคและประจุในของเหลวที่อยูลอมรอบ อนุภาค ที่เกิดขึ้นในกระบวนการ coagulation-flocculation
คําตอบ 1 :

ิท
Stern potential
คําตอบ 2 :


Nernst potential
คําตอบ 3 :


Zeta potential


คําตอบ 4 : Electric potential

ขอที่ :

สง

320
ระบบแลกเปลี่ยนไอออนประกอบดวยเรซินปริมาตร 11 cu.ft. มีความสามารถในการแลกเปลี่ยนไอออน 30,000 grain/cu.ft. คํานวณความสามารถของระบบนี้ในการกําจัดความกระดาง(ในหนวย kg)

ร ข
คําตอบ 1 : 11


คําตอบ 2 : 21


คําตอบ 3 : 30



คําตอบ 4 :


33


สภ
ขอที่ : 321
ระบบแลกเปลี่ยนไอออนประกอบดวยเรซินปริมาตร 11 cu.ft. มีความสามารถในการแลกเปลี่ยนไอออน 30,000 grain/cu.ft. ถาน้ําดิบมีความกระดาง 233 mg/L ระบบนี้สามารถผลิตน้ําออนไดกี่ลูกบาศกเมตร
กอนทําการฟนสภาพ
คําตอบ 1 : 30
คําตอบ 2 : 60
คําตอบ 3 : 90
คําตอบ 4 : 120
ขอที่ : 322
ระบบแลกเปลี่ยนไอออนประกอบดวยเรซินปริมาตร 11 cu.ft. มีความสามารถในการแลกเปลี่ยนไอออน 30,000 grain/cu.ft. ถาใชเกลือในการฟนสภาพเรซินเปนปริมาณ 0.4 lb ตอ 1,000 grains ของความ
กระดางที่กําจัดได คํานวณปริมาณเกลือทั้งหมด (ในหนวยกิโลกรัม) ที่ตองใชในการฟนสภาพ


คําตอบ 1 : 20

่ า
คําตอบ 2 : 40


คําตอบ 3 : 60

ํจาห
คําตอบ 4 : 80


ขอที่ : 323

้ า
ระบบแลกเปลี่ยนไอออนประกอบดวยเรซินปริมาตร 11 cu.ft. มีความสามารถในการแลกเปลี่ยนไอออน 30,000 grain/cu.ft. ถาใชเกลือในการฟนสภาพเรซินเปนปริมาณ 0.4 lb ตอ 1,000 grains ของความ

ิธ์ ห
กระดางที่กําจัดได กําหนดใหน้ําเกลือเขมขนรอยละ 12 (น้ําหนักตอปริมาตร) คํานวณปริมาตรน้ําเกลือทั้งหมด (ในหนวยลิตร) ที่ตองใชในการฟนสภาพ
คําตอบ 1 : 100
คําตอบ 2 :

ิท
300
คําตอบ 3 :


500


คําตอบ 4 : 700

ขอที่ :

ง ว

324
กระบวนการใดในการผลิตน้ําประปาดังตอไปนี้ไมสามารถกําจัดหรือลดจํานวนสารอินทรียในน้ําดื่ม

ขอ
คําตอบ 1 : การกรองชา


คําตอบ 2 : การกรองเร็ว


คําตอบ 3 : การเติมคลอรีน


คําตอบ 4 : การกวนเร็ว

ขอที่ : 325

าวศ

สภ
ขอใดตอไปนี้มิใชวิธีการฆาเชื้อโรคในกระบวนการผลิตน้ําประปา
คําตอบ 1 : การเติมคลอรีน
คําตอบ 2 : การเติมโอโซน
คําตอบ 3 : การฉายรังสียูวี
คําตอบ 4 : การเติมฟลูออไรด

ขอที่ : 326
ขอใดตอไปนี้ไมใชสารเคมีที่นิยมใชในการทําลายเสถียรของสารแขวนลอยในน้ํา
คําตอบ 1 : สารสม
คําตอบ 2 : โซเดียมไฮโปคลอไรท
คําตอบ 3 : เฟอรริกคลอไรด


คําตอบ 4 : เฟอรริกซัลเฟต

น่ า
ํจาห
ขอที่ : 327
ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับการเติมสารชวยรวมตะกอนในกระบวนการผลิตน้ําประปา
คําตอบ 1 : ควรเติมกอนการเติมสารทําลายเสถียรของตะกอน


คําตอบ 2 : ควรเพิ่มความปนปวนของน้ําใหมากที่สุดขณะเติม

้ า
คําตอบ 3 : ควรเติมสารชวยรวมตะกอนใหมากเกินพอ

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ิท
ขอที่ : 328


ขอใดตอไปนี้ไมใชปจจัยที่ตองควบคุมในกระบวนการทําลายเสถียรของตะกอน

วน
คําตอบ 1 : ความปนปวนของน้ํา


คําตอบ 2 : ปริมาณสารทําลายเสถียร


คําตอบ 3 : อุณหภูมิ


คําตอบ 4 : ระยะเวลากักเก็บ

ขอที่ : 329

ก ร ข

ขอใดตอไปนี้ไมใชปจจัยที่ตองควบคุมในกระบวนการตกตะกอน



คําตอบ 1 : อุณหภูมิของน้ํา

าว
คําตอบ 2 : อัตราเร็วในการไหล

สภ
คําตอบ 3 : ระยะเวลากักเก็บ
คําตอบ 4 : ความปนปวนของน้ํา

ขอที่ : 330
ขอใดตอไปนี้ไมถูกตองสําหรับกระบวนการกรอง
คําตอบ 1 : ขนาดของสารกรองควรเรียงตัวจากใหญไปเล็กและจากบนลงลาง
คําตอบ 2 : จําเปนตองมีการทําความสะอาดสารกรอง
คําตอบ 3 : การรักษาระดับความดันเหนือสารกรองใหคงที่สามารถรักษาอัตราการกรองใหคงที่ได
คําตอบ 4 : ควรรักษาระดับน้ําใหทวมสารกรองเสมอ


ขอที่ : 331

่ า
ขอใดตอไปนี้เปนวิธีการควบคุมการกรอง


คําตอบ 1 : การควบคุมอัตราการกรองใหคงที่โดยเพิ่มความดันเหนือสารกรอง

ํจาห
คําตอบ 2 : การรักษาความดันเหนือสารกรองใหคงที่โดยอัตราการกรองแปรเปลี่ยน
คําตอบ 3 : การควบคุมอัตราการกรองและความดันเหนือสารกรองใหคงที่
คําตอบ 4 : ถูกทั้งขอ ก. และขอ ข

้ าม
ิธ์ ห
ขอที่ : 332
ขอใดเปนขอเสียในการฆาเชื้อโรคน้ําประปาดวยรังสียูวี
คําตอบ 1 : ไมสามารถคงสภาพการฆาเชื้อโรคในน้ําประปา

ิท
คําตอบ 2 : ใชเวลากักเก็บยาวนาน


คําตอบ 3 : เปนอันตรายตอผูปฏิบัติงาน

วน
คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

ขอที่ :

สง

333
ขอใดเปนขอเสียในการฆาเชื้อโรคน้ําประปาดวยการเติมคลอรีน

ร ข
คําตอบ 1 : ไมสามารถคงสภาพการฆาเชื้อโรคในน้ําประปา


คําตอบ 2 : ใชเวลากักเก็บยาวนาน


คําตอบ 3 : กอใหเกิดสารที่เปนอันตรายตอสุขภาพ



คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

าว
สภ
ขอที่ : 334
อุปกรณกวนเร็วในขอใดเหมาะสําหรับใชในกระบวนการทําลายเสถียรของอนุภาคดวยวิธีทําลายประจุไฟฟา
คําตอบ 1 : แบบใบพัด
คําตอบ 2 : Hydraulic Jump
คําตอบ 3 : In-line blender
คําตอบ 4 : In-line static mixer
ขอที่ : 335
ปจจัยตางๆในขอใดที่เปนตัวกําหนดกลไกของการทําลายเสถียรของคอลลอยด
คําตอบ 1 : Velocity gradient (G), เวลากักเก็บในถังกวนเร็ว
คําตอบ 2 : Velocity gradient (G), รูปรางของถังกวนเร็ว


คําตอบ 3 : เวลากักเก็บในถังกวนเร็ว , รูปรางของถังกวนเร็ว

่ า
คําตอบ 4 : ชนิดของโคแอกกูเลนท , Velocity gradient (G)


ํจาห
ขอที่ : 336
โดยทั่วไปตําแหนงของกระบวนการโคแอกกูเลชันมักอยูที่ตําแหนงใดในกระบวนการผลิตน้ําประปา


คําตอบ 1 : อยูหลังถังตกตะกอน

้ า
คําตอบ 2 : อยูหลังถังกวนชา

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : อยูกอนถังตกตะกอน
คําตอบ 4 : อยูกอนถังกวนชา

ขอที่ : 337

สิท
วน
ในกรณีถังตกตะกอนแบบอุดมคติอนุภาคชนิดใดที่มีโอกาสตกตะกอนในถังตกตะกอน


คําตอบ 1 : อนุภาคที่มีอัตราเร็วในการตกตะกอนต่ํากวาคาอัตราน้ําลนผิว


คําตอบ 2 : อนุภาคที่มีอัตราเร็วในการตกตะกอนเทากับอัตราน้ําลนผิว


คําตอบ 3 : อนุภาคที่มีอัตราเร็วในการตกตะกอนสูงกวาอัตราน้ําลนผิว


คําตอบ 4 : ถูกทั้งขอ ข และ ค

ก ร

ขอที่ : 338



อัตราน้ําลนผิวมีความสําคัญกับพารามิเตอรของถังตกตะกอนในขอใด

าว
คําตอบ 1 : ความลึก และความยาว

สภ
คําตอบ 2 : อัตราการไหลของน้ําและพื้นที่ตกตะกอน
คําตอบ 3 : อัตราการไหลและความลึก
คําตอบ 4 : พื้นที่ตกตะกอนและความลึก

ขอที่ : 339
การควบคุมการกรองน้ําสามารถทําใดโดยวิธีใด
คําตอบ 1 : ควบคุมใหอัตราการกรองน้ําคงที่
คําตอบ 2 : ควบคุมใหระดับน้ําเหนือสารกรองคงที่
คําตอบ 3 : ควบคุมใหความตานทานของสารกรองคงที่
คําตอบ 4 : ถูกทั้งขอ ก และ ขอ ข

่ าย
ขอที่ : 340


ขอใดตอไปนี้เปนขอดีของกระบวนการกรองชา

ํจาห
คําตอบ 1 : มีขนาดของถังกรองเล็กกวา
คําตอบ 2 : สามารถเกิดชั้นฟลมบางที่ผิวหนาและสามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการกรองได
คําตอบ 3 : พื้นที่หนาตัดของสารกรองเล็ก


คําตอบ 4 : การทําความสะอาดสารกรองทําไดงาย

ขอที่ : 341

ิธ์ ห้ า
ปริมาณคลอรีนอิสระตกคางจากกระบวนการฆาเชื้อโรคควรมีคาประมาณเทาใด

ิท
คําตอบ 1 : 0.3 – 0.5 มิลลิกรัมตอลิตร


คําตอบ 2 : 5 – 7 มิลลิกรัมตอลิตร

วน
คําตอบ 3 : 10-12 มิลลิกรัมตอลิตร


คําตอบ 4 : 15 – 20 มิลลิกรัมตอลิตร

ขอที่ :

อ ส

342


การควบคุมสภาวะที่เหมาะสมสําหรับการเติมโคแอกกูแลนทสามารถทําไดดวยวิธีใด


คําตอบ 1 : วิธีจารเทสต


คําตอบ 2 : วัดคาพีเอส



คําตอบ 3 : วัดคาซีตาโพเทนเชียล

าว
คําตอบ 4 : ถูกทั้งขอ ก. และ ค.

สภ
ขอที่ : 343
ความเร็วแกรเดียนทที่เหมาะสมสําหรับถังกวนชาควรอยูระหวางคาใด
คําตอบ 1 : 1 - 5 วินาที ^-1
คําตอบ 2 : 20 - 50 วินาที ^-1
คําตอบ 3 : 100 – 500 วินาที ^-1
คําตอบ 4 : 1000 – 5000 วินาที ^-1
ขอที่ : 344
ขอใดถูกตองเกี่ยวกับการสูญเสียเฮดของถังกวนชา
คําตอบ 1 : ถังกวนชาแบบใชใบพัดมีการสูญเสียเฮดของน้ํามากที่สุด


คําตอบ 2 : ถังกวนเร็วแบบใบพัดมีการสูญเสียเฮดมากกวาแบบแผนกั้น

่ า
คําตอบ 3 : ถังกวนเร็วแบบแผนกั้นมีการสูญเสียเฮดของน้ํามากกวาแบบใบพัด


คําตอบ 4 : ถังกวนชาแบบแผนกั้นมีการสูญเสียเฮดของน้ํานอยที่สุด

ขอที่ : 345

ํจาห

อัตราการไหลของน้ําที่เหมาะสมภายในถังกวนชาควรมีคาประมาณเทาใด

้ า
คําตอบ 1 : 0.1 – 0.3 เมตรตอวินาที

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : 1 – 2 เมตรตอวินาที
คําตอบ 3 : 3 – 4 เมตรตอวินาที

ิท
คําตอบ 4 : 5 – 7 เมตรตอวินาที

นส

ขอที่ : 346


ขอใดถูกตองเกี่ยวกับสารเคมีสําหรับกระบวนการโคแอกกูเลชันของน้ําดิบที่มีความขุนสูงแตมีความเปนดางต่ํา


คําตอบ 1 : สามารถใชสารสมใดดี


คําตอบ 2 : สามารถใชเกลือเฟริคไดดี


คําตอบ 3 : ตองมีการปรับพีเอชดวยสารละลายดาง


คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

วก


ขอที่ : 347


ขอใดถูกตองเกี่ยวกับกลไกการทําลายประจุดวยสารสมหรือสารประกอบเหล็ก


สภ
คําตอบ 1 : การทําลายประจุแบบดูดติดผิวตองการระยะเวลาสัมผัสนานกวาแบบ Sweep Coagulation
คําตอบ 2 : การทําลายประจุแบบ Sweep Coagulation ตองการระยะเวลาสัมผัสนานกวาแบบดูดติดผิว
คําตอบ 3 : สลัดจที่ไดจากกระบวนการ Sweep Coagulation มีลักษณะเบาและดึงน้ําออกไดงาย
คําตอบ 4 : การทําลายประจุแบบดูดติดผิวมักถูกใชเปนกระบวนการหลักในกระบวนการโคแอกกูเลชัน

ขอที่ : 348
ความเร็วเกรเดียนทที่เหมาะสมสําหรับกระบวนการฟล็อคคูเลชันอยูในชวงใด
คําตอบ 1 : 5-20 วินาที^-1
คําตอบ 2 : 20-50 วินาที^-1
คําตอบ 3 : 50-70 วินาที^-1
คําตอบ 4 : 70 – 90 วินาที^-1

่ าย

ขอที่ : 349

ํจาห
เครื่องกวนแบบใดมักมีประสิทธภาพต่ํากวาแบบอื่น
คําตอบ 1 : แบบใบพาย
คําตอบ 2 : แบบเทอรไบน


คําตอบ 3 : แบบใบพัดเรือ

้ า
คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

ขอที่ : 350
ิธ์ ห
ิท
วิธีใดเปนวิธีลดผลกระทบจากความปนปวนภายในทางเชื่อมระหวางถังกวนชาและถังกวนเร็ว


คําตอบ 1 : ลดขนาดของทางน้ําที่เชื่อมตอระหวางถังกวนชาและถังกวนเร็ว

วน
คําตอบ 2 : ออกแบบใหถังกวนชาและถังกวนชามีโครงสรางรวมกัน


คําตอบ 3 : เพิ่มอัตราเร็วในการไหลของน้ําระหวางถังกวนชาและถังกวนเร็ว


คําตอบ 4 : เติมสารเคมีเพื่อคงความเสถียรของฟล็อค

ขอที่ : 351

ร ขอ

ขอใดตอไปนี้ไมใชสาเหตุของการสูญเสียเฮดในระหวางการลางเครื่องกรอง


คําตอบ 1 : สูญเสียเฮดเนื่องจากการขยายตัวของสารกรองทุกชั้น



คําตอบ 2 : สูญเสียเฮดเนื่องจากชั้นรองรับสารกรอง

าว
คําตอบ 3 : สูญเสียเฮดเนื่องจากระบบทอ

สภ
คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

ขอที่ : 352
ขอใดตอไปนี้เปนวิธีการผสมระหวางคลอรีนกับน้ํา
คําตอบ 1 : ถังกวนเร็วแบบธรรมดา
คําตอบ 2 : เวียร
คําตอบ 3 : ผสมในเสนทอ
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 353


ขอใดตอไปนี้ไมใชขอดีของการใชโอโซนฆาเชื้อโรค

่ า
คําตอบ 1 : วัตถุดิบของระบบหางาย


คําตอบ 2 : สามารถใชไดทุกสถานที่ที่มีกระแสไฟฟาไปถึง

ํจาห
คําตอบ 3 : มีอํานาจการฆาเชื้อโรครุนแรงกวาคลอรีน
คําตอบ 4 : อุปกรณมีราคาถูก

้ าม
ขอที่ : 354

ิธ์ ห
ขอใดเปนขอเสียของการใชโอโซนในการฆาเชื้อโรคในระบบผลิตน้ําประปาเพื่อแจกจายสูชุมชน
คําตอบ 1 : มีอํานาจการออกซิไดซสูงกวาคลอรีนเกือบ 1 เทา
คําตอบ 2 : เมื่อผสมกับน้ําจะมีกลิ่นรุนแรง

ิท
คําตอบ 3 : มีปริมาณโอโซนตกคางสูง


คําตอบ 4 : มีความตองการการเพิ่มความสามารถในการฆาเชื้อโรคในระบบขนสงน้ํา

ขอที่ : 355

ง วน

ขอใดเปนวิธีการผลิตโอโซน

ขอ
คําตอบ 1 : การระเหยเปนไอของโอโซนเหลว


คําตอบ 2 : การผานอากาศแหงเขาไประหวางขั้วไฟฟาที่มีความตางศักยสูง


คําตอบ 3 : ปฏิกริยาทางเคมีของกาซออกซิเจนและน้ํา


คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

ขอที่ : 356

าวศ

สภ
ขอใดถูกตองเกี่ยวกับการใชโอโซนในการฆาเชื้อโรค
คําตอบ 1 : ไมจําเปนตองทําการ Post Chlorination
คําตอบ 2 : สามารถใชภาชนะและอุปกรณไดทุกชนิด
คําตอบ 3 : กาซโอโซนเปนกาซที่ไมมีกลิ่น
คําตอบ 4 : โอโซนมีอํานาจในการทําลายไวรัสสูงกวาคลอรีน

ขอที่ : 357
ขอใดถูกตองเกี่ยวกับการคํานวณหาการสูญเสียเฮดของอุปกรณตางๆของถังกรอง
คําตอบ 1 : ใชคาความยาวสมมูลของอุปกรณชิ้นนั้นๆแทนการสูญเสียเฮดของอุปกรณนั้นไดทันที
คําตอบ 2 : ใชคาความยาวสมมูลของอุปกรณชิ้นนั้นๆเปรียบไดกับความยาวของทอตรงและคํานวณหาการสูญเสียเฮด
คําตอบ 3 : คํานวณโดยใชคาการสูญเสียเฮดของอุปกรณที่มีการสูญเสียมากที่สุดเทานั้น


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

น่ า
ํจาห
ขอที่ : 358
ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับการกรองน้ําดวยอัตราลดลง (Declining Rate Filtration)
คําตอบ 1 : ระดับของถังกรองทุกถังมีระดับเทากัน


คําตอบ 2 : อัตราการกรองของแตละถังกรองไมเทากัน

้ า
คําตอบ 3 : การลดลงของอัตราการกรองโดยรวมของทุกถังกรองเกิดขึ้นอยางชาๆ

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ไมจําเปนตองมีการควบคุมอัตราการกรอง

ิท
ขอที่ : 359


ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับการคํานวณออกแบบระบบการลางยอนของถังกรอง

วน
คําตอบ 1 : ตองคํานวณอัตราการไหลในการลางยอนและอัตราการขยายตัว


คําตอบ 2 : ตองคํานวณหาการสูญเสียเฮดทั้งหมด


คําตอบ 3 : น้ําที่ใชลางเครื่องกรองตองเปนน้ําที่ผานการกรองแลว


คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

ขอที่ : 360

ก ร ข

ขอใดถูกตองเกี่ยวกับการคํานวณหาการสูญเสียเฮดเนื่องจากการไหลผานชั้นกรองและชั้นกรวดรองรับชั้นกรอง



คําตอบ 1 : การคํานวณหาการสูญเสียเฮดเนื่องจากการไหลของชั้นกรองคํานวณจากหลักการไหลแบบไหลเอื่อย (Laminar Flow)

าว
คําตอบ 2 : การคํานวณหาการสูญเสียเฮดเนื่องจากการไหลของชั้นกรวดรองรับชั้นกรองคํานวณจากหลักการไหลแบบไหลเอื่อย (Laminar Flow)

สภ
คําตอบ 3 : การสูญเสียเฮดของระหวางชั้นกรองแปรผันตรงกับอัตราการกรอง
คําตอบ 4 : การสูญเสียเฮดของระหวางชั้นกรองแปรผกผันกับอัตราการกรอง

ขอที่ : 361
ขอใดถูกตองเกี่ยวกับการสูญเสียเฮดในกรณีการลางเครื่องกรองซึ่งชั้นกรองมีการลอยตัว
คําตอบ 1 : การสูญเสียเฮดของชั้นกรวดรองรับสารกรองสามารถคํานวณไดเชนเดียวกับในกรณีการกรอง
คําตอบ 2 : การสูญเสียเฮดไมขึ้นอยูกับขนาดของสารกรอง
คําตอบ 3 : การสูญเสียเฮดขึ้นกับคาความพรุนที่ขยายขึ้นของสารกรอง
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ


ขอที่ : 362

่ า
ขอใดไมถูกตองสําหรับการออกแบบถังคารบอนในการกําจัดกลิ่นและรสของน้ําประปา


คําตอบ 1 : มักเลือกใชถานกัมมันตแบบเกร็ด

ํจาห
คําตอบ 2 : ไมจําเปนตองมีระบบลางยอน
คําตอบ 3 : อัตราการไหลตอหนวยพื้นที่ของชั้นคารบอนแบบเกร็ดมักกําหนดอยูที่ 2.5 ม/ชม.
คําตอบ 4 : ปริมาตรของชั้นถานกัมมันตสามารถคํานวณไดจากการทํา Isotherm test

้ าม
ิธ์ ห
ขอที่ : 363
เพื่อความมั่นใจในการฆาเชื้อโรคดวยแสงยูวีควรใชแสงยูวีไมต่ํากวาขอใด
คําตอบ 1 : 3000 ไมโครวัตต-วท. / ตร.ซม.

ิท
คําตอบ 2 : 5,000 ไมโครวัตต-วท. / ตร.ซม.


คําตอบ 3 : 20,000 ไมโครวัตต-วท. / ตร.ซม.

วน
คําตอบ 4 : 30,000 ไมโครวัตต-วท. / ตร.ซม.

ขอที่ :

สง

364
หลอดไฟยูวีที่ทําขึ้นขายเพื่อใชฆาเชื้อโรคมักมีความยาวคลื่นเทาได

คําตอบ 1 :

ก ร ข
คําตอบ 2 :


ิ ว
าว
สภ
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 365
ขอใดคือขอดีของการฆาเชื้อโรคของแสงยูวีที่เหนือกวาการใชคลอรีน
คําตอบ 1 : ไมทําใหเกิดรส
คําตอบ 2 : ไมสรางสารตกคางในน้ํา
คําตอบ 3 : สามารถฆาเชื้อโรคไดในน้ําที่มีสี
คําตอบ 4 : ถูกทั้งขอ ก และ ข

่ าย

ขอที่ : 366

ํจาห
ขอใดเปนสาเหตุที่ทําใหการฆาเชื้อโรคดวยรังสียูวีลมเหลว
คําตอบ 1 : น้ําดิบมีความขุนสูง
คําตอบ 2 : น้ําดิบมีสี


คําตอบ 3 : ความลึกของน้ําสูงเกินไป

้ า
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 367
ิธ์ ห
ิท
Mud Ball คืออะไร


คําตอบ 1 : สารกรอง

วน
คําตอบ 2 : เครื่องกวนเร็ว


คําตอบ 3 : เครื่องวัดอัตราการไหล


คําตอบ 4 : ปญหาการรวมตัวของสารกรองเปนกอนกลม

ขอที่ : 368

ร ขอ

สาเหตุของการเกิด Mud Ball ในถังกรองมีสาเหตุมาจากขอใด


คําตอบ 1 : อัตราการลางยอนไมเพียงพอ



คําตอบ 2 : มีการใชสารสมมากเกินไปในกรณีกรองตรง

าว
คําตอบ 3 : อัตราการกรองต่ําเกินไป

สภ
คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

ขอที่ : 369
ถังกรองชาควรทําความสะอาดสารกรองไดดวยวิธีใด
คําตอบ 1 : การลางยอน
คําตอบ 2 : การเปลี่ยนสารกรองใหม
คําตอบ 3 : การขูดนําทรายที่ผิวหนาไปทําความสะอาด
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 370


จงคํานวนหาขนาดเฉลี่ยของสารกรอง จากชั้นกรองที่ประกอบดวยสารกรอง 2 ประเภทไดแก ถานแอนทราไซต ซึ่งมีขนาดสัมฤทธิ์ 0.85 มม. และ ความลึกของชั้นกรอง 200 มม. และ ทราย มีขนาดสัมฤทธิ์ 0.4

่ า
มม. และ ความลึกของชั้นกรอง 450 มม.


คําตอบ 1 : 0.40 มม.

ํจาห
คําตอบ 2 : 0.54 มม.
คําตอบ 3 : 0.73 มม.
คําตอบ 4 : 0.83 มม.

้ าม
ิธ์ ห
ขอที่ : 371

สิท
ง วน
อ ส
คําตอบ 1 :

ก ร ข
Hydraulic Jump


คําตอบ 2 : ในพัดแบบเทอรไบน



คําตอบ 3 : In-line Blender


คําตอบ 4 : In-line Static Mixer


สภ
ขอที่ : 372
การเรียงตัวของสารกรองในขอใดใหประสิทธิภาพของระบบกรองน้ํารวมถึงการลางยอนสูงสุด
คําตอบ 1 : ขนาดเล็กลงไปขนาดใหญ
คําตอบ 2 : ความถวงจําเพาะจากนอยลงไปหามาก
คําตอบ 3 : ขนาดรูพรุนจากใหญไปเล็ก
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ
ขอที่ : 373

่ าย

ํจาห
้ าม
ิธ์ ห
สิท
ง วน
คําตอบ 1 :

อ ส

a


คําตอบ 2 : b


คําตอบ 3 : c


คําตอบ 4 : d

ขอที่ : 374

าวศ

สภ
ความสามารถในการฆาเชื้อโรคของ Combined chlorine ในชวงใดต่ําที่สุด
่ าย

ํจาห
้ าม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : a

สิท

คําตอบ 2 : b


คําตอบ 3 : c


คําตอบ 4 : d

อ ส

ขอที่ : 375


ตะกอนของแมงกานีสที่พบไดจากน้ําบาดาลมีสีใด


คําตอบ 1 : สีแดง


คําตอบ 2 : สีดํา

วศ

คําตอบ 3 : สีขาว


คําตอบ 4 : สีน้ําตาลดํา

สภ
ขอที่ : 376
ตะกอนของเหล็กที่พบไดจากน้ําบาดาลมีสีใด
คําตอบ 1 : สีแดง
คําตอบ 2 : สีดํา
คําตอบ 3 : สีขาว
คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก
ขอที่ : 377
คํานวณปริมาตรถังผสมที่เกิดปฏิกิริยาแบบ plug flow เมื่อเติม alum 70 mg/L อัตราไหลเขาของน้ําดิบ 250 m^3/d โดยประสิทธิภาพการใช alum ที่รอยละ 80 กําหนดคา k เทากับ 0.7 d^-1
คําตอบ 1 : 200


คําตอบ 2 :

่ า
275
คําตอบ 3 :


500
คําตอบ 4 : 575

ขอที่ : 378

ํจาห

สารเคมีดังตอไปนี้นิยมใชเพื่อทําลายเสถียรภาพของคอลลอยดยกเวนขอใด

้ า
คําตอบ 1 : สารสม

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : เฟอรริกคลอไรด
คําตอบ 3 : เฟอรริกซัลเฟต

ิท
คําตอบ 4 : โซเดียมคลอไรด

นส

ขอที่ : 379


ถาไดกลิ่นแกสไขเนาในระบบ เกิดจากสาเหตุใด


คําตอบ 1 : ไฮโดรเจน


คําตอบ 2 : ไฮโดรเจนซัลไฟด


คําตอบ 3 : ไฮโดรเจนเปอรออกไซด


คําตอบ 4 : ไฮโดรเจนคลอไรด

วก


ขอที่ : 380


สารใดที่ใชในระบบ Coagulation-Flocculation ของกระบวนการทําน้ําใหสะอาดมากที่สุด


สภ
คําตอบ 1 : ถานคารบอน
คําตอบ 2 : คลอรีน
คําตอบ 3 : ฟลูออไรด
คําตอบ 4 : สารสม

ขอที่ : 381
สารใดที่ใชในระบบ Adsorption เพื่อการกําจัดกลิ่นของกระบวนการทําน้ําใหสะอาดมากที่สุด
คําตอบ 1 : ถานคารบอน
คําตอบ 2 : คลอรีน
คําตอบ 3 : ฟลูออไรด
คําตอบ 4 : สารสม

่ าย

ขอที่ : 382

ํจาห
การควบคุมความเปนกรดของน้ํา (acidity) เพื่อจะชวยลดการกัดกรอนของระบบประปา ควรใสสารใดลงไป
คําตอบ 1 : ปูนขาว (lime)
คําตอบ 2 : กาซคารบอนไดออกไซด


คําตอบ 3 : ฟลูออไรด

้ า
คําตอบ 4 : เกลือ

ขอที่ : 383
ิธ์ ห
ิท
การปองกันการเกิดตะกรันในระบบประปาทั่วไปที่เรียกวา Recarbonation ควรใสสารใดลงไป


คําตอบ 1 : ปูนขาว (lime)

วน
คําตอบ 2 : กาซคารบอนไดออกไซด


คําตอบ 3 : ฟลูออไรด


คําตอบ 4 : เกลือ

ขอที่ : 384

ร ขอ

การใชสารใดในระบบทําน้ําประปาจะมีสารจําพวก Carcinogenic ซึ่งกอใหเกิดโรคมะเร็งได


คําตอบ 1 : สารสม



คําตอบ 2 : คลอรีน

าว
คําตอบ 3 : ถานกัมมันต

สภ
คําตอบ 4 : ดางทับทิม

ขอที่ : 385
วิธีการใดไมเหมาะกับการกําจัดความกระดางถาวร
คําตอบ 1 : การใชวิธี Ion Exchange
คําตอบ 2 : การเติมคารบอนไดออกไซดไลตะกรัน
คําตอบ 3 : การเติมโซดาแอซและปูนขาว
คําตอบ 4 : การเติม โซดาไฟและคลอรีน

ขอที่ : 386


ประเทศทางแถบตะวันออกกลางบางประเทศจําเปนตองใชน้ําทะเลมาทําการผลิตเปนน้ําประปาที่สามารถดื่มได ขอใดตอไปนี้ไมใชวิธีการแปรสภาพของน้ําเค็มเปนน้ําจืด

่ า
คําตอบ 1 : วิธีกลั่น (Distillation)


คําตอบ 2 : การเติมคลอรีน (Chlorination)

ํจาห
คําตอบ 3 : วิธีทําใหเย็นจนแข็ง (Freezing)
คําตอบ 4 : วิธีออสโมซิสผันกลับ (Reverse Osmosis)

้ าม
ขอที่ : 387

ิธ์ ห
อนุภาคสารคอลลอยดที่มีสภาพเปนประจุลบ ที่พอใจจะรวมตัวอยูกับน้ํา คือสารประเภทใด
คําตอบ 1 : Hydrophilic colloids
คําตอบ 2 :

ิท
Heterophilic colloids
คําตอบ 3 :


Hydrophobic colloids
คําตอบ 4 :


Heterophobic colloids

ขอที่ : 388

ง ว

ขอใดไมใชขอดีของการเติมคลอรีนในน้ําประปา

ขอ
คําตอบ 1 : มีประสิทธิภาพในการฆาเชื้อโรคสูง


คําตอบ 2 : ราคาถูกสามารถจัดหาไดงาย


คําตอบ 3 : มีปริมาณเกลือที่ละลายน้ําเพิ่มขึ้น (Total Dissolved salts )


คําตอบ 4 : คลอรีนสามารถมีหลงเหลือคางอยูในน้ําประปา

ขอที่ : 389

าวศ

สภ
การเติมสารสรางตะกอน (Coagulants) ดวยความเขมขนและปริมาณจํานวนหนึ่งเพื่อใหไดประสิทธิภาพดีที่สุดในการทดลองหาปริมาณและชนิดของสารสรางตะกอนตางๆที่เหมาะสมในถวยแกวใส (Beaker)
ขนาด 1-2 ลิตร เรียกการทดลองนี้วาอะไร
คําตอบ 1 : Nephelometric Turbidimeter test
คําตอบ 2 : Jar Test
คําตอบ 3 : Colorimetric method
คําตอบ 4 : Alkalinity test
ขอที่ : 390
ขอใดตอไปนี้ไมใชสารเคมีชวยสรางตะกอน (Coagulant Aids)ใหเกิดปฏิกิริยาเคมีไดดีขึ้นในกระบวนการเกิด Coagulation-Flocculation ของการผลิตน้ําประปา
คําตอบ 1 : chlorine
คําตอบ 2 : Bentonite clay


คําตอบ 3 :

่ า
Fluoride
คําตอบ 4 :


Activated silica

ํจาห
ขอที่ : 391
ขอใดตอไปนี้ไมใชวิธีกําจัดคลอรีนออกจากน้ําประปา

้ าม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

สิท
ง วน

คําตอบ 3 :

ร ขอ

คําตอบ 4 :


ิ ว
ขอที่ : 392

าว
สภ
ขอใดตอไปนี้ไมใชวิธีการกําจัดสลัดจในโรงผลิตน้ําประปา
คําตอบ 1 : การทําใหสลัดจเขมขน (Thickening)
คําตอบ 2 : การหมุนเหวี่ยง (Centrifuging)
คําตอบ 3 : การนํากลับไปผสมใหม (Remixing)
คําตอบ 4 : การรีดกรองดวยสายพาน (Belt filter press)

ขอที่ : 393
สารใดที่ใชสําหรับทดสอบหาคาความเขมของสีดวยเครื่องเทียบสีกับสีมาตรฐาน

คําตอบ 1 :

่ าย

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

ํจาห
้ าม
ิธ์ ห
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 394

สิท

ขอใดไมใชวิธีวัดคาความขุนของน้ํา

ง ว
คําตอบ 1 : Jackson Candle Turbidimeter


คําตอบ 2 : Kjeldah Turbidimeter


คําตอบ 3 : Formazin Turbidimeter


คําตอบ 4 : Nephelometric Turbidimeter

ก ร

ขอที่ : 395

าวศ

สภ
คําตอบ 1 : 6.3
คําตอบ 2 : 6.5
คําตอบ 3 : 8.3
คําตอบ 4 : 8.5

่ าย

ํจาห
้ าม
ิธ์ ห
สิท
ง วน
อ ส
ก ร ข

ิ ว
าว
สภ

You might also like