You are on page 1of 4

แนวขอสอบ* “ผูควบคุมระบบบําบัดมลพิษทางน้ํา”

( *สรุปจากการสอบ ศูนย ศสอ.จุฬาฯ รอบ 3/2562 ควรใชเปนแนวทางประกอบการอานหนังสือ )


[1] แนวทางในการอานหนังสือ อางอิงจาก ขอบเขตเนื้อหาของขอสอบมาตรฐานเพื่อขึ้นทะเบียนผูควบคุมระบบบําบัดมลพิษประจําป พ.ศ. 2554

แตในขอบเขตป 2554 มี 8 บท หนังสือปจจุบัน พิมพครั้งที่ 8/2561 มี 9 บท เพิ่มบท 6 เครื่องจักรและอุปกรณในระบบบําบัด

http://ehwm-exam.com/downloads/UP2.pdf

บทที่ 1 สถานการณมลพิษน้ํา (เนื้อหารอยละ 5) [1]


หนา
(1-1) Self-purification = การทําความสะอาดตัวเองของแมน้ํา
สาเหตุหลักของแหลงน้ําเสื่อมโทรม= ขาดความรูความเขาใจ และความตระหนัก
(1-2) WQI คืออะไร ประกอบดวยอะไรบาง?
ตารางที่ 1.1 คาดัชนี WQI
(1-12) ตารางที่ 1.15 ดัชคุณภาพน้ําทะเล (ขอสอบถามขอใดถูกตอง ภาพรวมเปนอยางไร )
(1-13) การรั่วไหลของน้ํามัน แทนเจาะแม็กซิโกใชกระบวนการใดบําบัด = ชีววิทยา
(1-14) สาเหตุแมน้ําแมกลองเนาเสีย = โรงงานน้ําตาลริมแมน้ํา
(1-16) Eutropication สาเหตุคือ = ปริมาณธาตอาหารเกิน ( N P )

บทที่ 2 มลพิษน้ําและผลกระทบ (เนื้อหารอยละ 5) [1]


หนา
(2-1) Algee Bloom สาเหตุคือ = ปริมาณธาตอาหารเกิน ( N P ) ทําใหสาหรายเติบโตรวดเร็ว
(2-7) คาสมมูลประชากร คือ = ดูสูตรและหนวยของคาสมมูลประชากร
กลไกการทําความสะอาดตัวเองของแมน้ํา = กลไก 4 ระยะ, คา DO, กราฟ รูปที่ 2.1
ขอสอบมี ใหขอมูลมีโรงงานตั้งริมแมน้ํา A B C มีระยะหางบอก, โรงไหน DO ต่ําสุด
(2-9) สารที่ทําใหรสและกลิ่นของน้ําเปลี่ยนไป = สปก.ฟนอล
(2-10) ตารางที่ 2.7 สารมลพิษ เนน วิธีการบําบัดสารพิษแตละชนิด
(2-13) ปญหาสภาวะโลกรอน กาซที่กอใหเกิดโรครอน
บทที่ 3 กฎหมายเกี่ยวกับมลพิษน้ําจากภาคอุตสาหกรรม (เนื้อหารอยละ 15) [1]
หนา
(3-7) โทษ รายงานผลเท็จ จําคุก 2 ป ปรับ 200,000 , กิจการกอใหเกิดอันตราย จําคุก 1 ป ปรับ
100,000
(3-14) ตาราง 3.2 ประเภทของแหลงน้ํา 5 ประเภท แบงตามการนําไปใชประโยชนได
(3-17) หัวขอประเภทของแหลงน้ําในแมน้ําตางๆ ดูตาราง และแผนที่ คราวๆ
(3-28) พรบ.โรงงาน 2535 กําหนด “หามระบายน้ําทิ้งออกนอกโรงงานเวนแตบําบัดแลว แตตอง
ไมใชการเจือจาง”
(3-29) ตารางคามาตรฐานน้ําทิ้งโรงงาน เนน pH TDS SS BOD TKN COD อุณหภูมิ
(3-30) คาที่มีการยกเวนให รง.บางประเภท ปลอยไดมากกวาคามาตรฐานปกติ คือ BOD5 COD
TKN อานตารางที่ 3.11 คาแตกตางไดเทาไหร และ คานั้นๆ ยกเวนใหโรงงานประเภทใดบาง
(3-38) กฎหมาย อุปกรณ online monitoring อาน โรงงานใดตองติด และตารางที่ 3.15 โรงใดติด
BOD โรงใดติด COD
(3-41) ตารางที่ 3.16 ขนาดโรงงานที่ตองมีบุคลากร สวล. จําแคปริมาณของเสีย ไมเนนรายละเอียด
(3-43) ตารางที่ 3.17 หนาที่ของ ผูจัดการสวล. ผูควบคุมระบบบําบัด ผูปฏิบัตงิ านประจําระบบ
เนนจําวา ผจก.สวล. จะเนนงานรับรองรายงาน จัดทําแผนฉุกเฉินไมมีหนาที่ทํารายงาน ผู
ควบคุมจะตรวจสอบควบคุมระบบ จัดทํารายงานผล แตไมตองปฏิบัติงานที่เครื่องจักร เปน
หนาที่ของผูปฏิบัติงานประจําระบบ
(3-48) พารามิเตอรที่ ตองรายงานใน รว.1 รว.2 และ กําหนดการสงรายงานให กรอ.

บทที่ 4 การปองกันมลพิษดวยเทคโนโลยีสะอาด (เนื้อหารอยละ 5) [1]


บทนี้รายละเอียดเนื้อหา ไมคอยออก(อาจจะไมตองอานเนื้อหา) เนนความหมายและหลักการเบื้องตน
ของกระบวนการตางๆ CT, P2, KAIZEN, PDCA หัวขอ 4.8 สรุปและตารางที่ 4.15 ในหนาที่ (4-41)

บทที่ 5 การบําบัดน้ําเสีย (เนื้อหารอยละ 20) [1]


หนา
(5-1) คําสําคัญ ความหมาย และควรจําศัพทอังกฤษดวย
(5-2) ระบบบําบัด ขั้นตน สอง สาม สุดทาย แตละอันมีระบบอะไร
ขอสอบ(3/62)ออกเปนศัพทอังกฤษของระบบ และถามวา ขอใดเรียงระบบการบําบัดถูกตอง
ทริคจําวา กระบวนการฆาเชื้อโรคดวย Ozone, ครอรีน จะเปนขั้นสุดทาย
(5-4) ตารางที่ 5.1 เนนจํากระบวนการตางๆเปนศัพทอังกฤษเลย
(5-7) ลักษณะทางกายภาพ ชีวภาพ ของน้ําเสียควรอานทั้งหมด หนาที่ 5-7 ถึง 5-11
(5-15) คําสําคัญ ความหมาย และหลักการคราวๆทางกายภาพ และควรจําศัพทอังกฤษดวย
(5-21) จํารูป5.10 ขอสอบ(3/62)จะมีรูป และชี้ลูกศรถามวาตรงนั้นคืออะไร เชน scraper, scum
baffle
(5-22) คําสําคัญ ความหมาย และหลักการคราวๆทางกายเคมี และควรจําศัพทอังกฤษดวย
หลักการรวมตะกอน chemical coagulation สวนประกอป 3 สวน ถังกวนเร็ว-เติมสาร
ถังกวนชา-สรางตะกอน+รวมตะกอน ถังตกตะกอน , coagulant และ coagulant aid คือ
มีอะไรบาง
Jar test เพื่อ = หาปริมาณสารเคมีที่เหมาะสมและ pH ที่เหมาะสม ในการตกตะกอน
(5-24) ตกตะกอนผลึก chemical precipitation ใช ดาง ปูนขาวนิยมกวา ปลอดภัยกวา
ฟล็อคใหญกวา
(5-28) oxidation-reduction สารออกซิไดซ สารรีดิวซ so2 รีดิวซ cr6+ เปน cr3+ ที่พิษนอยกวา
(5-30) คําสําคัญ ความหมาย และหลักการคราวๆทางชีวภาพ และควรจําศัพทอังกฤษดวย
Nitrification คือ ไนโตโซโมแนส เปลี่ยนแอมโมเนีย NH3 เปน ไนไทรต NO2-
จากนั้น ไนโตรแบคเตอร เปลี่ยนไนไทรต NO2- เปน ไนเทรต NO3-
Denitrification คือ การเปลี่ยน ไนเทรต NO3- เปนไนโตรเจน N2
F/M, HRT, SRT จําเปนสูตร

(5-33) การบําบัดแบบใชอากาศ โดยจุลินทรีย องคประกอบคือ C5H7NO2 1 กรัม ใช O2 1.42 กรัม


(5-48) ขั้นตอนในการยอยสลายแบบไมใชอากาศ 4 ขั้นตอน (รูปประกอบหนา 5-49)
Hydrolysis -> ยอย สปก. โมเลกุลใหญ
Acidogenesis -> สรางกรดไขมัน VFA
Acitogenesis -> กรดไขมัน VFA ถูกนําไปสรางเปนอซิติก
Methanogenesis -> สรางมีเทน
(5-58) จํารูปที่ 5.44 ขอสอบ(3/62) มีรูปแบบนี้ให และถามวาโซนไหนแปน แฟคัลทีฟ แอโรบิค
แอนแอโรบิค
(5-63) การบําบัดแบบน้ําเสียไหลแนวดิ่ง ตั้งฉากกับชั้นกรอง = แบบ VF
ระบบบําบัดแตละอยางในบทนี้ จากหนา 5-34 ถึง 5-65 เนนอานหลักการบําบัด ขอดีขอเสีย คาตัว
เลขที่ใชในการออกแบบนาจะไมคอยออก
(5-66) ลักษณะตะกอน ถังตกตะกอนขั้นแรกจะเหม็น เปนเมือก ยอยงาย, จากการรวมตะกอน จะ
แตกตางตามชนิดโลหะ, จากระบบแบบใชอากาศ AS TF RBC จะสีน้ําตาล เปนปุย ไมมีกลิ่น
แตถา หยุดเติมอากาศจะเหม็นอยางรวดเร็ว กลายเปนสีดํา, แบบไมใชอากาศ สีน้ําตาลแกปน
ดํา กลิ่นจางๆ
(5-67) รูปที่ 5.49 จําขั้นตอนเปนศัพทอังกฤษ และอานรายละเอียดขั้นตอนคราวๆ หนา 68ถึง72
(5-73) การบําบัดเฉพาะเรื่อง ทั้งหมด เนนแคหลักการ วาใชสารอะไรบําบัดอะไร ไมเนนรายละเอียด

บทที่ 6 เครื่องจักรและอุปกรณ (เนื้อหารอยละ 5) [1]


หนา
(6-2) PI Diagram คือ แสดงอุปกรณและเครื่องจักร ขอสอบมีรูปแลวถามวาตรงนั้นคืออะไร
เครื่องจักรและอุปกรณแตละอยางในบท6 จําวาใชทําอะไร แคนั้น การตรวจสอบ แกไข สวนใหญจะ
เปนการตรวจซอมเครื่องจักร และติดตอผูขาย(ซึ่งจะไมใชหนาที่โดยตรงของผูควบคุมระบบ จึงอาจไมออกสอบ)

บทที่ 7 การควบคุมดูแลระบบบําบัดน้ําเสีย (เนื้อหารอยละ 15) [1]


หนา
(7-3) Hydraulic profile คือ ผังที่มีการแสดงระดับน้ําในสวนตางๆของระบบบําบัดน้ําเสีย
(7-9) ขอสอบ (3/62) ออกสอบใหหาคา BOD เฉลี่ย
(7-17) จําชนิดจุลินทรีย และรายละเอียดรูป7.4
*ขอสอบคํานวณจากบทที่7 นาจะออกที่สตู รเล็กๆ เชน F/M, HRT, SRT ไมแอดวานซแบบตัวอยางใหญๆ*
(7-18) จําลักษณะของตะกอน กลิ่น ฟอง ของระบบเอเอส และระบบอื่นๆ จนถึงหนา 7-20
(7-21) BOD:N:P:Fe ระบบบําบัด*ใชอากาศ* คือ 100 : 5 : 1 : 0.5
(7-23) BOD:N:P: ระบบบําบัด*ไมใชอากาศ* คือ 100 : 1.1 : 2
(7-46) ตาราง7.3 ปญหาและวิธีแกไข เนนจําตารางนี้

บทที่ 8 การตรวจสอบคุณภาพน้ําเสียโรงงานเบื้องตน (เนื้อหารอยละ 5) [1]


บทนี้จําวิธีการเก็บรักษาตัวอยาง และเวลาที่เก็บไวได สวนการทดลองวิเคราหคุณภาพน้ํา เนนจําหลัก
การของการทดลองนั้นๆ ขอสอบ(3/62)มีออกหลักการ aas , หนา 8-52 การปดตัวเลขรางงานผลทดลอง
หนา 8-47 การควบคุมคุณภาพการทดสอบ

บทที่ 9 การบริหารจัดการสิ่งแวดลอม (เนื้อหารอยละ 5) [1]


บทนี้อานผานๆไดเลย ไมคอยออก คลายๆบทที่ 4

You might also like