You are on page 1of 20

Q&A.

doc

คำำถำมและคำำตอบ สำำหรับวิชำสรีรวิทยำกำรผลิตพืช (510-421


Physiology of Crop Production)

Photosynthesis
 เขียนสมการเคมี และอธิบายกระบวนการสังเคราะด้วยแสงมา
ให้เข้าใจ
CHMg
6 CO2 + 6H2O + radiation C6H12O6

+ 6 O2

 รังสีดวงอาทิตย์ประกอบด้วยช่วงรังสีอะไรบ้าง และช่วงไหนที่
เรียกว่า Photosynthetically active radiation และต่างจากคำาว่า
แสง (Light) อย่างไร อธิบาย
รังสีดวงอาทิตย์ เป็ นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า ประกอบด้วยรังสีท่ีมี
ความยาวคลื่น ๆตั้งแต่ 0.2 – 2000 nm. แต่เพื่อความสะดวกมัก
จะแบ่งช่วงความยาวคลื่นออกเป็ น 4 กล่่มคือ 1) กล่่มที่มี
ความยาวคลื่นน้อยกว่า 380 nm. ได้แก่ Ultra violet, X rays,
gamma rays, cosmic rays 2) กล่่มรังสีแสง (ที่มีความยาวคลื่น
380 – 800 nm) 3) กล่่มที่มีความยาวคลื่นมากกว่า 800 nm
ได้แก่ infrared, radiowave, microwaves การที่รงั สีดวงอาทิตย์มี
ลักษณะเป็ นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าจึงทำาให้ อน่ ภาคโฟตอน (photon)
ที่มีอย่่สามารถเดินทางได้ด้วยความเร็วแสงคือประมาณ 3 x 10
8

cm/sec และแต่ละคลื่นมีความถี่ต่างกันและมีความยาวคลื่นต่างกัน
ทั้งสามค่ามีความสัมพันธ์ดังสมการ

1
Q&A.doc

ความถี่ = ความเร็วแสง / ความยาวคลื่น


PAR คือรังสีดวงอาทิตย์ที่พืชสามารถนำาเอาพลังงานหรืออน่ ภาค
โฟตอนจากคลื่นเหล่านี้ ไปใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงได้
คือรังสีดวงอาทิตย์ที่มีความยาวคลื่นระหว่าง 400 – 700 nm
ต่างจากแสงตรงที่คำาว่าแสงจะหมายถึงรังสีที่ตามน่ ษย์สามารถมอง
เห็นได้ ซึ่งบังเอิญอย่่ในช่วงคลื่นใกล้เคียงกันคือระหว่าง 380-800
nm.
(ด่ภาพประกอบ )
 อธิบายคำาว่า Photosynthetically photon flux density
เป็ นหน่วยพื้ นฐานของรังสีดวงอาทิตย์ที่ถ่กนำาไปใช้ในกระบวนการ
สังเคราะห์ด้วยแสงของคลอโรพลาสต์ในเซลลพืช PPFD หมายถึง
จำานวนอน่ ภาคประจ่ท่ีเรียกว่า photons ที่มีอย่่ในรังสี PAR ต่อ
หน่วยพื้ นผิวต่อเวลา มักจะแสดงเป็ นหน่วยดังนี้ Mol/m /s
2

หรือ Eistein/m /s
2

 เขียนสมการ light reaction ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง


และอธิบาย
2H2O + ADP + NADP
+

ATP + NADPH + O2 +4H + 4e


+ -

 ขั้นตอน light reaction มีความสำาคัญอย่างไรต่อ ขั้นตอน dark


reaction ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง

2
Q&A.doc

เปลี่ยนพลังงานจากอน่ ภาคโฟตอนในรังสี PAR เป็ นพลังงาน


ชีวเคมีในพืช (ATP) และเกิด ประจ่อิเลคตรอน (NADPH) จาก
โมเลก่ลนำ้า สำาหรับการตรึง (reduce) คาร์บอนไดออกไซด์ให้เป็ น
นำ้าตาล

 โฟโตซีสเต็ม 2 (Photosystem II) คืออะไร อย่่ท่ีไหน และมีหน้า


ที่สำาคัญอย่างไร
คือกล่่มของโปรตีนและโมเลก่ลอื่นๆ ที่อย่ใ่ น Thylacoid
membranes ของคลอโรพลาสต์ ทำาหน้าที่ส่งผ่านอิเลคตรอนจาก
คลอโรฟิ ลล์ผ่านไปยัง P680 เพื่อรีดิวซ์ plastoquinone (PQH2)

 รีเอกชัน
่ เซนเตอร์ (Reaction center: P680) คืออะไร อย่่
ที่ไหน และมีหน้าที่สำาคัญอย่างไร
คือโมเลก่ลคลอโรฟิ ลล์ ซึ่งอย่ใ่ น PSII ทำาหน้าที่รบ
ั อิเลคตรอนจาก
รงค์วัตถ่ท่ีรบ
ั รังสีดวงอาทิตย์ แล้วส่งต่อให้แก่ PSII

 คลอโรฟิ ลล์ เอ และ คลอโรฟิ ลล์ บี ทำาหน้าที่อะไร


รับพลังงานของอน่ ภาคโฟตอนจากรังสีดวงอาทิตย์

 pigment อื่นในคลอโรพลาสต์ ทำาหน้าที่อะไร


รับอน่ ภาคจากรังสีดวงอาทิตย์ที่ความยาวคลื่นอื่น ๆ นอกเหนื อ
จากคลอโรฟิ ลล์ เอ และ บี

3
Q&A.doc

 จงบอกถึงบทบาทของนำ้าในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงมา
ให้เข้าใจ
รีดิวซ์มังกานี สเพื่อให้สามารถถ่กนำามาใช้ใหม่ได้อีกในการรีดิวซ์
P680 ในระหว่างขั้นตอน light reaction

 เขียนสมการเคมีแสดงถึง Hill reaction


(light) 2H2O (Mn) O2
+4e +4H
- +

 เขียนแผนภาพแสดงเส้นทางของ electron จาก P680 ไปจนถึง


NADPH
phenophytin, Qa, Qb, PQ, cytochrome system, PC,
P700Fd, NADP , Z scheme (ด่ภาพประกอบ)
+

 เขียนสมการ dark reaction ที่เกิดในกระบวนการสังเคราะห์ด้วย


แสง และอธิบาย
CO2 + ATP + NADH C6H12O6

 แสดงสมการการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ในพืช C3 และบอก
ด้วยว่ามีเอนไซมอะไรที่เกี่ยวข้องกับการตรึง
คาร์บอนไดออกไซด์
Ribulose 1, 5 biphosphate + RubP (carboxylase/oxygenase)
+ CO2 3 phosphoglyceric acid วงจรนี้ ถ่ก
เรียกว่า Calvin’s cycle ตามชื่อนั กวิทยาศาสตร์ท่ีค้นพบ หรือเรียก

4
Q&A.doc

พืชที่มีการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์แบบนี้ ว่าพืช C3 เพราะโมเลก่ล


ของนำ้าตาลตัวแรกที่เกิดขึ้น (PGA) มีคาร์บอน 3 โมเลก่ล

 Photorespiration คืออะไร
การตรึง O2 แทน CO2 ของเอนไซม์ Rubisco ทำาให้เกิด CO2 ขึ้น
มาแทน

 แสดงสมการเคมีของกระบวนการ photorespiration
RubP carboxylase + O2 3-PGA + 2-
PGA + CO2

 อธิบายว่าเหต่ใดพืช C4 จึงไม่มี Photorespiration


ขั้นตอน dark reaction ของพืช C4 เกิดในเซลลชั้น mesophyll
โดยใช้เอนไซม์ PEP carboxylase .ในการตรึง CO2 ให้กลายเป็ น
phosphoenol pyruvic acid แล้วสร้างต่อให้เป็ นนำ้าตาลที่มีคาร์บอน
4 อะตอม เช่น Malic acid จากนั้ นจึงส่งผ่านไปยังชั้น bundle
sheath ที่มีคลอโรพลาสต์ เพื่อเกิดวงจร Calvin’s cycle สร้างเป็ น
โมเลก่ลนำ้าตาลที่มีคาร์บอน 6 อะตอม เช่นเดียวกับพืช C3 อีกครั้ง
หนึ่ ง
Hatch & Slack เป็ นผ้่ค้นพบขั้นตอนดังกล่าว จึงเรียกวงจรแรก
ของพืช C4 ตามชื่อผ้่ค้นพบ

 อธิบาย CO2 compensation point และค่านี้ มีความแตกต่างกัน


อย่างไรระหว่างพืช C3 กับพืช C4

5
Q&A.doc

คือระดับความเข้มข้นของ CO2 .ในอากาศที่ทำาให้อัตราการ


สังเคราะห์ด้วยแสงเท่ากับอัตราการหายใจของพืชนั้ น พืช C3 มี
ค่านี้ ประมาณ 50 – 150 ppm ส่วนพืช C4 มีค่านี้ น้อยมาก (0 -
10 ppm)

 อธิบายความแตกต่างทางกายภาพ และทางสรีรวิทยา ตลอดจน


การตอบสนองต่อปั จจับ แสง อ่ณหภ่มิ นำ้า และ
คาร์บอนไดออกไซด์ ระหว่างพืช C3 กับพืช C4 มา
1. Kranz anatomy พบในพืช C4 เท่านั้ น
2. พืช C4 มีประสิทธิภาพส่งกว่าในสภาพรังสีดวงอาทิตย์มาก
ขณะที่พืช C3 มีประสิทธิภาพดีกว่าในสภาพร่มเงา
3. พืช C4 มีระดับอ่ณหภ่มิท่ีเหมาะสม (optimum cardinal
temperature) ส่งกว่าพืช C3
4. พืช C4 มีประสิทธิภาพการใช้น้ ำาได้ส่งกว่าพืช C3 เพราะปากใบ
สามารถปิ ดได้เป็ นระยะเวลานานกว่า
5. พืช C3 มีประสิทธิภาพการสังเคราะห์ด้วยแสงส่งกว่าพืช C4 ใน
สภาพที่มี CO2 ในบรรยากาศส่งกว่าปกติ (600 ppm)

 พืช CAM คืออะไร


กล่่มพืชซึ่งมีระบบการสังเคราะห์ด้วยแสงคล้ายพืช C4 แต่ปากใบ
จะเปิ ดเฉพาะตอนกลางคืนและปิ ดในตอนกลางวัน ดังนั้ นจึงเกิด

6
Q&A.doc

light reaction ในเวลากลางวันแล้วสะสม ATP, NADPH ไว้


สำาหรับการเกิด dark reaction ในเวลากลางคืน

Respiration
 แสดงกลไกหลัก 3 กลไกในกระบวนการหายใจของพืช และ
บอกด้วยว่าแต่ละกลไกใช้อะไรเป็ นวัตถ่ดิบเพื่อสร้างอะไร
1. glycolysis : glucose pyruvic
acid
2. Kreb’s cycle : pyruvic acid
NADH
3. Electron transport chain : NADH
APT + H2O

 มีปัจจัยอะไรบ้างที่มีผลต่อการหายใจของพืช และมีผลอย่างไร
1. อ่ณหภ่มิ : หากส่งจะเพิ่มการหายใจมากกว่าการสังเคราะห์ด้วย
แสง
2. อาย่ใบพืช : หากแก่ก็จะเพิ่มการหายใจมากขึ้น และส่งกว่าใบ
อาย่น้อย
3. ตำาแหน่งของใบในต้นพืช : ในทรงพ่่มและใบบริเวณล่างจะ
หายใจมากกว่าบริเวณอื่น และมีการสังเคราะห์ด้วยแสงน้อยกว่า
4. นำ้าตาลที่เป็ นวัตถ่ดิบของการหายใจ

7
Q&A.doc

 การวัดอัตราการสังเคราะห์แสงในระดับใบ หรือทรงพ่มพืชนั้ น
ทำาได้อย่างไร
ใช้เครื่องมือ IRGA เพื่อวัดการแลกเปลี่ยนก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ระหว่างใบพืชกับบรรยากาศรอบ ๆ ใบพืช โดย
เอาหลักการทางไฟฟ้ าที่กล่าวถึง การเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟ้ า ขึ้น
อย่่กับความต่างศักย์ของกระแสไฟฟ้ า กับแรงต้านทานในตัวนำานั้ น
ๆ ดังนั้ นอัตราการสังเคราะห์แสง (CO2 assimimilation หรือ
fixation) จึงพิจารณาจาก ความแตกต่างของปริมาณก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ ([CO2]) ต่อความสามารถในการต้านทานของ
ผิวใบพืช (resistance) หรือเรียกในทางตรงกันข้ามว่าคือความ
สามารถในการชักนำาก๊าซ (conductance)ให้เข้าส่่ใบพืช
A = ∆ [CO2} / r หรือ A = ∆ [CO2] Gs
A มีหน่วยเป็ น mole CO2/m /s
2

Growth & growth analysis


 ในการวิเคราะห์การเจริญเติบโตของพืช แบบ conventional
growth analysis จะต้องวัดค่าอะไรบ้าง
นำ้าหนั กแห้ง และพื้ นที่ใบ (dry weight และ leaf area)

 อธิบายความหมาย และบอกหน่วยการวัดค่าของคำาต่อไปนี้
 การเจริญเติบโต (Growth)

8
Q&A.doc

การเปลี่ยนแปลงของมวลชีวภาพ หรือนำ้าหนั กแห้ง (∆ W) หรือ


การเปลี่ยนแปลงของขนาด จำานวน ฯลฯ ของพืช 1 ต้น (plant)
หรือ ในพื้ นทีห
่ นึ่ ง (m ) ในช่วงระยะเวลาหนึ่ ง (t2-t1)
2

Growth = (W2 – W1) หรือเขียนเป็ นสัญญลักษณ์


W
การเจริญเติบโตของพืชหรือสิ่งมีชีวิตตลอดช่วงอาย่พืชตั้งแต่เริม

ปล่กจนถึงส่กแก่ มักมีลักษณะเป็ นเส้นโค้งร่ปตัว S หรือเรียกว่า
Sigmoid curve ที่สามารถสร่ปเป็ นสมการแบบ exponential ได้
ดังนี้
RT
W1 = W0 e
 วิเคราะห์การเจริญเติบโตของพืช (Growth analysis of
a plant/crop)
การคิด การคำานวน เพื่อหาตัวบ่งชี้ท่ีแสดงให้เห็นถึงกลไกหรือ
ระบบ (ทางสรีรวิทยาของพืช ) โดยใช้ค่าที่วัดการเติบโตของพืชสอง
ค่า คือพื้ นที่ใบและนำ้าหนั กแห้ง ของพืชที่ช่วงเวลาที่ศึกษา ตัวบ่งชี้
ที่นิยมใช้ได้แก่ RGR, NAR, LAR, CGR, LAI ect.
 Crop growth rate (CGR)
อัตราการเพิ่มนำ้าหนั กแห้ง ต่อหน่วยพื้ นที่ ต่อเวลา (g/m /d)
2

(W2 – W1) / (T2 – T1)


 Leaf area index (LAI)
สัดส่วนของพื้ นที่ใบต่อพื้ นที่ปล่ก แสดงถึงพื้ นที่ในการสังเคราะห์
ด้วยแสงของทรงพ่่มพืชปล่กนั้ น (ไม่มีหน่วย)
LA / PA
 Net assimilation rate (NAR)

9
Q&A.doc

อัตราส่วนของ นำ้าหนั กแห้ง ต่อ พื้ นที่ใบ ต่อหน่วยเวลา แสดงถึง


ประสิทธิภาพของพื้ นที่ใบในการสร้างมวลชีวภาพเพิ่มขึ้นในระยะ
เวลาหนึ่ ง (g/m leaf/d)
2

(W2 – W1) (lnA2 – lnA1) / (A2 – A1) (T2 – T1)


 Leaf area ratio (LAR)
สัดส่วนของพื้ นที่ใบ ต่อ นำ้าหนั กแห้งทั้งหมดของต้นพืช แสดงถึง
การมีใบดก หรือมีพื้นที่ซึ่งจะสามารถเกิดกระบวนการสังเคราะห์
ด้วยแสงได้มาก (dm /g)
2

LA / TDW
 Relative growth rate (RGR)
อัตราส่วนของนำ้าหนั กแห้ง ต่อ นำ้าหนั กแห้งเริม
่ ต้น ต่อ หน่วยเวลา
แสดงถึงประสิทธิภาพของมวลชีวภาพของพืชต้นนั้ นในการเพิ่มนำ้า
หนั กแห้งในช่วงเวลาหนึ่ ง (g/g/d)
(lnW2 – lnW1) / (T2 – T1)
 Leaf area duration (LAD)
ระยะเวลาที่พื้นที่ใบพืชนั้ นสามารถดำารงสภาพอย่่ได้ (dm d)
2

LA x T
 Specific leaf area (SLA)
สัดส่วนของพื้ นที่ใบ ต่อ นำ้าหนั กของใบนั้ น ๆ แสดงถึงความหนา
หรือบางของใบพืชนั้ นๆ (dm /g)
2

LA / LW

10
Q&A.doc

 พลังงานจากรังสีดวงอาทิตย์คืออะไร สำาคัญอย่างไรต่อระบบ
นิ เวศของพืชปล่ก และสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ มีค่าของหน่วยวัดเป็ น
อย่างไร
ในระบบนิ เวศนั้ นมักจะพิจารณารังสีดวงอาทิตย์ในร่ปของแหล่ง
กำาเนิ ดของพลังงานแก่พืช และสิ่งมีชีวิตในระบบนิ เวศนั้ น ๆ การ
แบ่งรังสีดวงอาทิตย์จึงอาจแบ่งออกเป็ น 1. Short wave solar
radiation (300 – 2,500 nm) 2. PAR (400 - 700 nm) 3.
Near infrared radiation (700 – 2,500 nm) และ 4. long wave
solar radiation (2,500 – 30,000) ซึ่งแต่ละช่วงรังสีน้ ั นมีเครื่อง
มือ (sensor) ในการวัดปริมาณพลังงานรังสีดวงอาทิตย์ท่ีแตกต่าง
กัน (ด่ภาพประกอบ)
รังสีในช่วง PAR เท่านั้ นที่เป็ นแหล่งพลังงานสำาคัญของการสร้าง
ชีวมวลของพืช โดยผ่านกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง จึงถือว่า
เป็ นส่วนที่สำาคัญที่ส่ดต่อระบบนิ เวศ แต่อย่างไรก็ตามช่วงรังสีอ่ ืน
ๆ ก็มีอิทธิพลต่อการงอกเมล็ด การยืดตัวของลำาต้น และต่อ
อ่ณหภ่มิขององค์ประกอบต่าง ๆในระบบนิ เวศด้วย
การศึกษาเรื่องการสังเคราะห์ด้วยแสง นิ ยมวัดรังสีที่พืชใช้ (PAR)
ในเป็ นร่ปของ PPFD ที่มีหน่วยเป็ น quantum คือ mol
Photon/m /s ส่วนในการศึกษาเรื่องการเติบโตและเรื่องนิ เวศวิทยา
2

ของพืชนั้ นนิ ยมวัดเป็ นหน่วยของพลังงาน ที่มีหน่วยเป็ น MJ

 อธิบายการรับและการส่องผ่านของรังสีดวงอาทิตย์ในทรงพ่่มใบ
พืชปล่กมา

11
Q&A.doc

การส่องผ่านของรังสีดวงอาทิตย์ผ่านตัวกลางใด ๆ จะเกิดปรากฏ
การที่เรียกว่า Beer’s law คือ ความเข้มข้นของแสงจะลดลงอย่าง
ผกผันกับระยะทาง และความหนาแน่นของชั้นตัวกลาง
I1 = I0 ln KL
เมื่อรังสีดวงอาทิตย์เดินทางผ่านชั้นตัวกลางอาจเกิดปรากฏการ
หลายอย่าง ได้แก่ การส่องผ่าน (Penetration หรือ Transmittion)
การสะท้อน (Reflection) การฟ้ ่งกระจายหรือการกระเจิง
(Scattering) การเปลี่ยนเป็ นรังสีคลื่นยาว (Fluorescence) หรือ
เปล่งความร้อน (Heating) การระเหยของนำ้า (Heat of water
evaporization) และการถ่กด่ดซับ (Absorbtion) โดยตัวกลางนั้ น
ๆ (ด่ภาพประกอบ)

 อธิบายการวิเคราะห์การเจิญเติบโตของพืชปล่กโดยใช้ค่า
radiation use efficiency
การสร้างมวลชีวของพืชเป็ นผลจากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
ลบด้วยการหายใจ การตาย และการเคลื่อนย้ายชีวมวลออกจากต้น
พืชนั้ น ๆ ดังสมการ
DW = Pn - Res - Dead loss - Translocation loss
หากพืชนั้ นมีค่าการส่ญเสียโดยการตาย และการเคลื่อนย้ายชีวมวล
น้อยมาก ดังนั้ นอาจจะจะประเมินการสร้างนำ้าหนั กแห้งของต้นพืช
ได้จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงเป็ นหลัก หรือกล่าวได้ว่าชีว
มวลของพืชเป็ นผลมาจาก ปริมาณพลังงานในรังสีดวงอาทิตย์ท่ีพืช
ด่ดซับ ค่ณด้วยประสิทธิภาพในการเปลี่ยนพลังงานเหล่านี้ ให้เป็ น
ชีวมวลหรือนำ้าหนั กแห้งของพืขชนั้ น ๆ ค่าหลังนี้ คือ Radiation

12
Q&A.doc

use efficiency ซึ่งหาได้จากความสัมพันธ์ระหว่าง ปริมาณพลังงาน


ที่พืชได้รบ
ั สะสม กับค่านำ้าหนั กแห้งหรือชีวมวลของพืช
DW = Σ Qi x ε b

กำรกระจำยนำ้ำหนักแห้งของพืช (Dry matter distribution)


 ส่วนต่าง ๆของต้นพืชเติบโตได้อย่างไร
เกิดจากการพัฒนาการของเซลล์ หรือจ่ดเจริญ เพื่อให้สว่ นที่สร้าง
ใหม่มีร่ปร่าง และ/หรือหน้าที่เปลี่ยนไปจากเดิม (เช่น ราก ลำาต้น
ใบ กิ่ง ดอก ผล เมล็ด)แล้วมีการเริญเติบโตของเซลล์หรือเนื้ อเยื่อ
ส่วนนั้ น ๆเพิ่มมากขึ้นโดยการเคลื่อนย้ายนำ้าหนั กแห้ง (dry matter
assimilation) มาสะสมให้มากขึ้น
 อธิบายความหมายของคำาต่อไปนี้
 photosynthate
หมายถึงสารอินทรีย์ที่เกิดขึ้นจากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
ในบางตำาราอาจใช้คำาว่าสารอาหารที่พืชสร้างขึ้นจากกระบวนการ
สังเคราะห์ด้วยแสง
 assimilate
หมายถึงสารที่สะสม หรือเคลื่อนย้ายไปยังส่วนต่าง ๆ ของต้นพืช
มักใช้ในกรณี ท่ีกล่าวถึงกระบวนการสะสมสารอาหารหรือนำ้าหนั ก
แห้ง (assimilation) มีความหมายคล้าย ๆ photosynthate แต่จะ
กว้างกว่าเพราะอาจหมายถึงสารอินทรีย์อ่ ืนๆ ที่พืชได้สังเคราะห์ข้ ึน

13
Q&A.doc

ภายหลังกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง เช่นโปรตีน ไขมัน หรือ


เซลล่โลส ฯลฯ
 translocation
กระบวนการเคลื่อนย้ายของสารอินทรี และอนิ นทรียใ์ นต้นพืช ซึ่ง
อาจเกิดแบบ active หรือ passive translocation ก็ได้ โดยอาจเกิด
จากความต่างศักย์ของ osmotic pressure หรือเกิดโดยการได้รบ

พลังงานจากกระบวนการเมตะโบลิสมในต้นพืชเอง การเคลื่อนย้าย
อาจเกิดในเซลล์เดียว หรือผ่านระหว่างอวัยวะต่าง ๆ ของต้นพืช
โดยผ่านทางเนื้ อเยื่อ xylem และ phloem ในต้นพืช ทั้งนี้ แล้วแต่
กระบวนการเคลื่อนย้ายของสารชนิ ดใด และจากอวัยวะใด
 dry matter distribution การกระจายนำ้าหนั กแห้ง หรือชีวมวล
ไปยังส่วนต่าง ๆ ของต้นพืช
 distribution coefficient
สัมประสิทธิ หรือสัดส่วน หรือดัชนี ที่แสดงให้เห็นว่าต้นพืชได้สะสม
นำ้าหนั กแห้งในส่วนนั้ น ๆ เป็ นเท่าใด เมือเทียบกับนำ้าหนั กแห้ง
ของทั้งต้นพืช (ในบางกรณี อาจเทียบกับเฉพาะนำ้าหนั กแห้งของ
ส่วนเหนื อดินเท่านั้ น)
 stem weight ratio
สัดส่วนของนำ้าหนั กแห้งของส่วนลำาต้น ต่อนำ้าหนั กแห้งทั้งหมด
ของต้นพืช
SW / TDW (หมายเหต่ TDW = RW + SW + LW)
 leaf weight ratio
สัดส่วนของนำ้าหนั กแห้งของส่วนใบพืช ต่อนำ้าหนั กแห้งทั้งหมด
ของต้นพืช

14
Q&A.doc

LW / TDW (หมายเหต่ TDW = RW + SW + LW)


 root weight ratio
สัดส่วนของนำ้าหนั กแห้งของส่วนราก ต่อนำ้าหนั กแห้งทั้งหมดของ
ต้นพืช
RW / TDW (หมายเหต่ TDW = RW + SW + LW)
 source, source capacity และ source strength
source หมายถึงส่วนที่สร้างชีวมวลแก่ต้นพืช มักจะหมายถึงส่วน
ใบพืช ส่วนคำาว่า source capacity หรือ source strength หมายถึง
ความสามารถของส่วนที่สร้างชีวมวล มักจะวิเคราะห์ว่าประกอบ
ด้วยค่า 2 ค่าคือ source size, และ source activity ซึ่งในทาง
สรีรวิทยาก็มักจะหมายถึง ขนาดของพื้ นที่ใบ และอัตราการ
สังเคราะห์แสงของใบพืช หรือ NAR
 sink, sink capacity และ sink strength
sink หมายถึงส่วนที่รบ
ั ชีวมวลจาก source มาสะสม เพื่อใช้ในการ
เจริญเติบโต หรือสร้างเป็ นนำ้าหนั กแห้งของส่วนนั้ น ๆ ของต้นพืช
มักจะหมายถึงส่วนผลผลิตของพืชได้แก่ ผล หรือเมล็ด ส่วนคำาว่า
sink capacity หรือ sink strength หมายถึงความสามารถของส่วน
ที่รบ
ั เอาชีวมวลมาสะสม มักจะวิเคราะห์ว่าประกอบด้วยค่า 2 ค่า
คือ sink size, และ sink activity ซึ่งในทางสรีรวิทยาก็มักจะหมาย
ถึง ขนาดของผล หรือ เมล็ด และกิจกรรมหรืออัตราการเติบโต
ของส่วนผลหรือเมล็ด
 distribution index
หมายถึงอัตราส่วนระหว่างนำ้าหนั กแห้งที่เปลี่ยนแปลงไปของส่วน
ผลผลิต (∆ Yb) ต่อ นำ้าหนั กแห้งที่เปลี่ยนไปของพืชทั้งต้น

15
Q&A.doc

(∆ TDW) ในช่วงเวลาหลังการเจริญเติบโตทาง reproductive ค่านี้


เป็ นดัชนี แสดงร่ปแบบของการเคลื่อนย้าย assimilate มาสร้างส่วน
ผลผลิตว่าเป็ นอย่างไร เช่น DI = 1 แสดงว่านำ้าหนั กแห้งที่เพิ่มขึ้น
ของต้นพืช ถ่กเคลื่อนย้ายไปสร้างส่วนผลผลิตทั้งหมด หรือกล่าว
ได้ว่า การเติบโตของส่วนผลผลิตเกิดจากการนำาเอา current
assimilate ทั้งหมดมาสร้างเป็ นส่วนผลผลิตพืช หาก DI < 1
แสดงว่าพืชนำานำ้าหนั กแห้งที่เพิ่มขึ้นบางส่วนเท่านั้ นมาสร้างส่วน
ผลผลิต แต่หาก DI > 1 แสดงถึงการที่พืชนำา assimilate จาก
ส่วนอื่นที่สะสมอย่่นำาไปสร้างส่วนผลผลิตด้วย หรือกล่าวว่ามีการ
เกิด remobilisation ของสารอินทรีย์ในส่วนอื่นๆ ไปสร้างส่วน
ผลผลิต
 จงบอกปั จจัยที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตของรากมา 5 ชนิ ด
สารฮอร์โมนพืช อัตราปล่ก การริดรอนใบ pH ของดินปล่ก
อ่ณหภ่มิ ความชื้ นในดิน และแรงอื่น ๆ เช่นความหนาแน่นของ
ดิน

 อธิบายกลไกที่หย่ด (ควบค่ม) การเจริญของปลายยอด หรือ


ปลายรากพืช
ปลายราก (Hypocotyl) หรือปลายยอด (Coleoptile) ได้รบ
ั รังสีสี
แดง หรือรังสี Far red กระต้่นให้เกิดการสร้าง Pr

 อธิบายว่าแสงมีบทบาทอย่างไรต่อการยืดของลำาต้น

16
Q&A.doc

แสงสีน้ ำาเงินมีอิทธิพลต่อการแพร่กระจาย auxin ในต้นพืช จน


กระต้่นให้เกิดการแบ่งตัวที่ไม่เท่ากันระหว่าง 2 ด้าน พืชจึงเกิดการ
โค้งงอเข้าหาแสงได้
 อธิบายการเกิด phototropism
แสงในช่วง far red มีอิทธิพลต่อการเคลื่อนย้ายของสาร
สังเคราะห์ในพืช และมีผลกระต้่นการแบ่งเซลล์ของพืช ทำาให้
อัตราการเติบโตของเซลลพืชใบบริเวณนั้ นต่างกันระหว่างด้านที่ได้
รับแสง กับด้านที่ไม่ได้รบ
ั แสง จึงเกิดการโค้งงอเข้าหาแสงที่เยกว่า
phototropism
 อธิบายกลไก geotropism ในพืช
การสะสมแป้ ง amyloplast มากในส่วนปลายราก ทำาให้การเกิด
auxin ในต้นพืชไม่สมำ่าเสมอจึงกระต้่นให้เกิดการแบ่งตัวของเซลล์
ด้นนั้ น ๆมากกว่าอีกด้านหนึ่ งจนเกิดการโค้งงอของต้นพืขได้
 ปั จจัยอะไรบ้างที่มีผลต่อการแตกกิ่งก้านของพืช
การเจริญของตายอดซึ่งสร้างฮอร์โมน auxin ไปควบค่มการแตก
ของตาข้าง สภาพแสงจัด สภาพอากาศหนาวเย็น ความหนาแน่น
ของอัตราปล่ก และพันธ่กรรมของพืช
 อธิบาย apical dorminance และสารฮอร์โมนพืชชนิ ดใดบ้างที่มี
บทบาทต่อกระบวนการนี้ หากเกิดกระบวนการนี้ แล้วจะปรากฎ
อะไรขึ้นกับต้นพืช
apical dominance หมายถึงสภาพที่ตายอดมีอิทธิพลการควบค่ม
การเติบโตของตาข้าง โดยเข้าใจว่าตายอดสร้างฮอร์โมน auxin
แล้วทำาให้เกิดการควบค่มการแตกกิ่งแขนง คือพืชมักไม่แตกแขนง
หรือแตกกอ

17
Q&A.doc

 อัตราปล่ก หรือระยะปล่กมีผลอย่างไรต่อการแตกกิ่งก้าน หรือ


แตกแขนงของพืช
การปล่กพืชในอัตราหนาแน่นทำาให้เกิดการบังซึ่งกันและกันของต้น
พืชในแปลง ทรงพ่่มเรือนยอดจะด่ดซับเอาแสงสีแดงไว้ ทำาให้แสง
ที่เหลือมีสัดส่วนของ รังสี far red มากจึงกระต้่นให้พืชสร้าง Pfr
มากกว่า Pr และมีการสร้าง auxin เพิ่มมากขึ้น จึงไปลดการแตก
กอของพืชที่ปล่กหนาแน่น
 จากสิ่งที่ท่านได้ร่วมกันลงมือทำาในบทปฏิบัติการ จงเขียน
แผนภ่มิ และอธิบายว่าจากข้อม่ล Data เมื่อผ่านกระบวนการ
วิเคราะห์ (analysis) แล้วเปลี่ยนไปเป็ นสารสนเทศ
(Information) และจะกลายเป็ นองค์ความร้่ (Knowledges)
หรือปั ญญา (Wisdom) ได้อย่างไร
ข้อม่ล คือสิ่งที่ได้จากการบันทึก นั บ วัด ฯลฯ จากพืชหรือสิ่ง
แวดล้อมที่เกี่ยวข้อง ข้อม่ลจะแสดงถึงค่ณสมบัติของสิ่งนั้ น ๆ เมื่อ
เราวัดข้อม่ลนั้ นซำ้าจากตัวแทนพืช หรือจากประชากรของพืช เราก็
จะพบความหลากหลายและผันแปร อันเป็ นธรรมชาติในพันธ่กรรม
ของสิ่งมีชีวิต ร่วมกับสิ่งแวดล้อมที่พืชนั้ น ๆ ได้รบ
ั อย่างไรก็ตาม
เราสามารถใช้วิธีการทางสถิติแยกแยะความแปรปรวนอันเกิดกับ
ตัวพืชเอง (internal error) หรือเกิดจากสิ่งแวดล้อม (treatment)
ได้ เมื่อมีการวิเคราะห์อย่างมีเหต่และผลทางวิทยาศาสตร์แล้ว การ
จัดเรียงข้อม่ลที่ได้ให้เป็ นกล่่มก้อน เรียกว่า สารสนเทศ ซึ่งเมื่อมี
สารสนเทศทีมากขึ้น มีลักษณะเฉพาะตัวของกล่่มสารสนเทศและ
สามารถเกิดซำ้ากันจนจัดว่าเป็ นปรากฎการทางธรรมชาติค่อนข้างมี
แบบแผนที่แน่นอนแล้ว อาจเรียกว่าเป็ น องค์ความร้่ แต่การนำา

18
Q&A.doc

องค์ความร้่ไปใช้ให้เป็ นประโยชน์ต่อการแก้ปัญหาของการเกษตร
หรือการทำางานนั้ นอาศัยทั้งองค์ความร้่ร่วมกับประสบการณ์ ความ
เข้าใจในเหต่และผลแห่งธรรมชาติ เพื่อให้เกิดความยัง่ ยืนของ
มน่ ษย์หรือช่มชน เราเรียกว่า ภ่มิปัญญา ซึ่งนายกรัฐมนตรีของ
อินเดียใช้คำาว่า traditional knowledges
 อธิบาย growth stage ของถัว่ ลิสง
Stage Abbreviation Description
title
Vegetative stages
V-E Emergence บางส่วนของใบเลี้ยง (cotyledon) เริม

โผล่พ้นผิวดิน
V-0 - ใบเลี้ยงคลี่กางออก (อาจเกิดใต้ผิวดิน
ก็ได้)
V-1 First มีใบจริง (tetrafoliate leaflets) ที่ข้อ
tetrafoliate แรกของลำาต้นหลัก คลี่กางออกแล้ว
V-n Additional V การพัฒนาของข้อที่ n บนลำาต้นหลัก
stages โดยข้อนั้ นมีใบจริงคลี่กางออกแล้ว
Reproductive stages
R-1 Beginning ดอกแรก (บนข้อใดก็ได้) เริม
่ บาน
bloom
R-2 Beginning เข็มแรกเริม
่ ยืดยาว (elongation) และ
peg แทงลงดิน
r-3 Beginning ฝั กแรกบนเข็มที่แทงลงดิน เริม
่ พอง
pod ออกเป็ นสองเท่าของขนาดเข็ม

19
Q&A.doc

R-4 Full pod ฝั กแรกพัฒนาเต็มที่และบ่งบอกถึง


ลักษณะประจำาพันธ์่ได้ อาทิเช่น มี 2
เมล็ด หรือเห็นร่องรอยหยักที่เปลือก
R-5 Beginning เมล็ดและใบเลี้ยงในฝั กแรก เริม
่ พัฒนา
seed อย่างเห็นได้ชัดเจน
R-6 Full seed เมล็ดในฝั กแรกพัฒนาจนเต็มฝั ก
R-7 Beginning ฝั กแรกมีเมล็ดที่พัฒนาเต็มที่ สามารถ
maturity เห็นการแก่ของเมล็ดได้ด้วยตา เช่น สี
ของเยื่อห้่มเมล็ด(testa) เปลี่ยนไป
หรือการแยกตัวระหว่างเปลือกฝั กกับ
เมล็ดชัดเจน
R-8 Harvest 2 ใน 3 ถึง 4 ใน 3 ของฝั กพัฒนาเต็ม
maturity ที่ โดยด่จากสีของเยื่อห้่มเมล็ด
R-9 Over ฝั กเริม
่ เสื่อมด่จากสี หรือเห็นการเน่า
maturity หรือพบเม็ดในฝั กงอก
อ้างอิง : Jones, J. B. Jr.2003. Agronomic Handbook :
Management of crops, soil, and their fertility. New York
:CRC Press.

20

You might also like