You are on page 1of 44

ความชื้นของดิน (Soil moisture)

ความชื้นอยูใ่ นช่องว่างของดิน 3 แบบ


1. ของเหลว
2. ก๊าซ
3. น้ำแข็ง (ในประเทศหนาว)
ความสำคัญของความชื้นสำหรับพืช
1. เป็ นองค์ประกอบของสิ่ งมีชีวติ ทุกชนิด

2. เป็ นตัวทำละลาย และตัวช่วยเคลื่อนย้าย


- ธาตุอาหาร เป็ นประโยชน์สำหรับพืช

3. ป้ องกันการเปลี่ยนอุณหภูมิที่เร็ วเกินไป
- น้ำมีความร้อนจำเพาะและมีความร้อนแฝงสูง จึงทำให้เปลี่ยนแปลง
อุณหภูมิได้ชา้
การแสดงค่ าความชื้นในดิน
1. เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก
= น้ำหนักของน้ำเมื่อคิดเป็ นเปอร์เซ็นต์ของนำหนักดินแห้ง
Pw = (Mw / Ms) x100

Pw = %ความชื้นโดยน้ำหนัก
Mw = น้ำหนักของน้ำในดิน
Ms = น้ำหนักดินที่แห้งสนิท
น้ำหนักของดินที่แห้งสนิท = อบที่ 110°c จนดินมีน ้ำ
หนักคงที่ (อย่างน้อยใช้เวลา 24 ชัว่ โมง)

Mw = น้ำหนักของดินก่อนอบ – น้ำหนักดินหลังอบ
ตัวอย่าง ดินมีน ้ำหนักก่อนอบ 120 กรัม หลังอบที่อุณหภูมิ
110°c เป็ นเวลา 24 ชัว่ โมง ดินมีน ้ำหนัก 100 กรัม
หาความชื้นของดิน

= (120-100)x100
100
= 20 %
เปอร์เซ็นต์ความชื้นโดยปริ มาตร
หมายถึง ปริ มาตรของน้ำที่คิดเป็ นเปอร์เซ็นต์ของปริ มาตรดิน
Pv = (Vw / Vb)100
Pv = ความชื้นโดยปริ มาตร
Vw = ปริ มาตรของน้ำ
Vb = ปริ มาตรของทั้งหมดของดิน
Pv = (Vw / Vb)100
Ms
Db =
Vb
Ms
Vb =
Db
Mw
Dw =
Vw
Mw
Vw =
Dw
Mw Ms
Pv = ( / )100 = (Mw.Db / Ms.Dw)100
Dw Db

Pw = (Mw / Ms)100

Pv = Pw.Db / Dw

Pv = Pw.Db
ตัวอย่าง
ถ้าดินมีความชื้นโดยน้ำหนัก = 25% และดินมีความหนา
แน่นรวม = 1.40 กรัม/ซ.ม.3 ดินจะมีความชื้นโดยปริ มาตร
เท่าไร
Pv = Pw.Db
= 25 x 1.40
= 35 %
ความลึกของน้ำ (hw)
ใช้หลักเดียวกับการแสดงปริ มาณน้ำฝน คือ บอกเป็ นความสู ง
เป็ น ม.ม.
ถ้าทราบความชื้นโดยน้ำหนักและความหนาแน่นของดิน หรื อ
ทราบความชื้นโดยปริ มาตรก็สามารถคำนวณความสู งของน้ำได้
จากสู ตร
hw = PwDbhs / 100
hw = Pvhs / 100
hs = ความสู ง หรื อ ความลึกของดิน
ตัวอย่าง
ถ้าดินมีความชื้นโดยปริ มาตร = 30% อยากทราบว่าความ
สูงของน้ำในดินลึก 30 ซ.ม. จะเป็ นเท่าไร

hw = Pvhs / 100
= 30 x 30 /100
= 9 ซ.ม.
ชนิดของน้ำในดิน

1) น้ำอิสระ (Gravitational water, Free water)


2) น้ำซับ (Capillary water)
3) น้ำเยือ่ (Hygroscopic water, Adsorbed water)
น้ำอิสระ Free water

• น้ำทีอ่ ยู่ตรงกลางช่ องว่ างขนาดใหญ่


• ถูกแรงดึงดูดของโลกดึงออกไปได้ ง่าย
• อยู่เป็ นระยะเวลาสั้ น ๆ หรือฝนตกหนัก หรือให้ น้ำ
• ถ้ าซับอยู่นานจะเป็ นอันตรายต่ อพืช
น้ำซับ Capillary water

• น้ำทีเ่ หลืออยู่หลังจากการระบาย (Free water ออกไปแล้ ว)


• อยู่ในช่ องว่ างขนาดเล็ก
• แรงดึงดูดน้ำจากอนุภาคของดิน ~1/3 บาร์
• พืชจะใช้ Capillary water ได้ ดที ี่สุด เพราะมีน้ำและอากาศสมดุล
น้ำเยือ่ Adsorbed water

• เป็ นน้ำทีเ่ กาะติดกับอนุภาคของดินเป็ นฟิ ล์ มบาง ๆ


• แรงดึงดูดของดินต่ อน้ำ ~ 30 บาร์
• พืชไม่ สามารถใช้ น้ำนีไ้ ด้
ระดับความชื้นในดิน
1. ความชื้นที่จุดอิ่มตัว (Saturation)
2. ความชื้นชลประทาน หรื อความชื้นที่ความจุสนาม
(Field Capacity, FC)
3. ระดับความชื้นที่จุดเหี่ ยวถาวร (Permanent Wilting
Point, PWP)
ระดับความชื้น

1) ความชื้นทีจ่ ุดอิม่ ตัว (Saturation)


ช่ องว่ างของเม็ดดินทั้งหมดเต็มไปด้ วยน้ำ
2) ความชื้นชลประทาน หรือความจุความชื้นสนาม (Field capacity)
- ความชื้นหลังจาก Free water ไหลออกไปหมดแล้ ว
- มีน้ำเฉพาะในช่ องว่ างขนาดเล็ก
- มีอากาศในช่ องว่ างขนาดใหญ่
- มีแรงดึงดูดของดินต่ อน้ำ = 1/3 บรรยากาศ
3) จุดเหี่ยวเฉาถาวร (Permanent wilting point)
- เป็ นระดับความชื้นทีพ่ ชื ไม่ สามารถดูดน้ำมาใช้ ได้
- ค่ าแรงดึงดูดน้ำของผิวดิน = 15 บาร์
- พืชมีการคายน้ำ แต่ ไม่ สามารถดูดน้ำได้ จึงเกิดอาการเหี่ยว
แบบถาวร
ทดสอบโดยเอาพืชไปไว้ ในทีอ่ ากาศเย็น มีความชื้นในอากาศสู ง เป็ นเวลา 15 ชั่วโมง
ระดับความชื้นของดินที่สำคัญ
Saturation

Permanent Wilting

Field Capacity
ความสามารถในการอุ้มน้ำของดิน
(Available water holding capacity, AWHC)

= ความสามารถของดินทีจ่ ะเก็บน้ำไว้ ให้ พชื ดูดกิน

AWHC = FC - PWP
30 % FC

20 %
AWHC

10 % PWP
ความชื้นทีจ่ ุดวิกฤติ (Critical point)

เป็ นความชื้น ณ จุดหนึ่งระหว่ าง FC และ PWP


ซึ่งถ้ าความชื้นต่ำกว่ าจุดนี้ พืชจะเริ่มดูดใช้ น้ำได้ ยาก และ
จะเริ่มแสดงอาการขาดน้ำ

จะอยู่ประมาณ 40 – 60% ของ AWHC ขึน้ อยู่กบั พืช


30 % FC

น้ำทีพ่ ชื ดูดง่ าย

20 % Critical Point

น้ำทีพ่ ชื ดูดใช้ ได้ ยาก


10 % PWP
ความเครี ยด แรงดึงดูด (Tension, Suction) ของความชื้น
ของดินหมายถึง แรงดึงดูดต่อหน่วยพื้นที่

ความดัน (Pressure)
หมายถึง แรงผลักดันต่อหน่วยพื้นที่
ความเครี ยด = ความดันที่มีค่าเป็ นลบ
การกักเก็บน้ำในดิน
ขึ้นอยูก่ บั แรงดึง 3 ชนิด
1. แรงดูดซับ (adsorptive force)
2. แรงดึงแคพิลลารี (capillary force)
3. แรงดึงออสโมติก (osmotic force)
แรงดูดซับ
หมายถึง แรงดูดยึดที่ผวิ ดินกระทำต่อโมเลกุลของน้ำ
เกิดจาก
1. คุณสมบัติของน้ำ
- สมบัติไดโพลาร์ หรื อสองขั้ว (dipolar property)
- พันธะไฮโดรเจน (hydrogen bond)
2. คุณสมบัติของดิน
- มีประจุที่ผวิ ของอนุภาค
- มีออกซิ เจนเป็ นองค์ประกอบ
คุณสมบัตไิ ดโพลาร์ ผิวดิน

+ -
H H H
105° O -
O- H-
พันธะไฮโดรเจน
H H O
H H O O
O พันธะไฮโดรเจน H H O
พันธะไฮโดรเจน
แรงดึงแคพิลลารี

- ช่องว่างขนาดเล็กในดินดูดยึดน้ำด้วยแรงสูงและสามารถ
ต่อต้านการระบายน้ำลงสู่ ส่วนล่างของหน้าตัดดิน

- ช่องจะต้องมีขนาดเล็กกว่า 50 ไมโครเมตร
แรงดึงออสโมติก
น้ำในดินมีไอออนละลายอยู่ ไอออนมีประจุไฟฟ้ าจึง
ดึงดูดโมเลกุลของน้ำ ทำให้โมเลกุลของน้ำขาดอิสรภาพ
ในการเคลื่อนที่ออกไป
การตรวจสอบความชื้นของดิน
1) Gravitational method
- ชั่งดินเปี ยก
- อบดินแห้ ง
ดินเปี ยก - ดินแห้ ง X 100
- คำนวณความชื้น =
ดินแห้ ง

ถ้ ารู้ความหนาแน่ นดิน สามารถเทียบเป็ นความชื้นโดยปริมาตร


การตรวจสอบความชื้นของดิน
2) ใช้ เครื่องมือ
Tensiometer

ใช้ วดั แรงดึงน้ำของดิน ในดินทีม่ คี วามชื้นมาก คือมีแรงดึงน้ำ


มากกว่ า 0.8 บาร์ ขนึ้ ไป
Tensiometer
Moisture block

วัดคุณสมบัตทิ างไฟฟ้าของวัสดุพรุ น ซึ่งมีสภาวะ


สมดุลกับความชื้นดินรอบ ๆ
เช่ น วัดการต้ านทานไฟฟ้าของวัสดุ ถ้ าดินมีความชื้นสู ง
ก็จะซึมเข้ าไปในวัสดุมาก ค่ าความต้ านทานไฟฟ้ าจะต่ำ
Neutron moisture meter

วัดการกระจายตัวของนิวตรอน

หลักการ
เครื่องกำเนิด Fast neutron ปล่อยออกไป เมือ่ กระทบ
กับ H (โมเลกุลของน้ำ) จะเกิดการสู ญเสี ยพลังงานกลายเป็ น
Slow neutron
Neutron moisture meter
T.D.R Time domain
reflectometer
ศักย์ น้ำ (Soil water potential)
หมายถึงพลังงานศักย์ของน้ำ หรื อ ศักยภาพของน้ำ
ในการทำงาน คือ การเคลื่อนที่จากจุดหนึ่งไปยังจุดหนึ่ง

การเคลื่อนที่ของน้ำจะเคลื่อนที่จากจุดที่มีศกั ย์น ้ำสูง


กว่าไปยังจุดที่ศกั ย์น ้ำต่ำกว่า ถ้าหากมีการไหลให้มนั
เคลื่อนที่ไปได้
ศักย์ น้ำในดิน (Soil water potential)
มีอยู่ 4 องค์ประกอบ
1. ศักย์ความดัน (pressure potential)
เกิดจากแรงกดของน้ำที่อยูข่ า้ งบน
2. ศักย์วสั ดุพ้ืน (matric potential)
เกิดจากแรงดึงดูดของดินต่อน้ำผันแปรโดยกลับกับระดับความชื้นของดิน
3. ศักย์ออสโมติก (osmotic potential)
เกิดจาก แรงดึงของ Ion ที่ละลายอยูต่ ่อน้ำ
4. ศักย์โน้มถ่วง (gravitational potential)
เกิดจาก แรงโน้มถ่วง ของโลก
อัตราการซึมน้ำของดิน (Infiltration rate)
มีผลต่ อการให้ น้ำ การไหลบ่ า และการชะล้างของดิน

ขึน้ อยู่กบั - โครงสร้ าง


- เนือ้ ดิน
- อุณหภูมิ
- ความชื้นของดินทีม่ อี ยู่เดิม
อัตราการซึมน้ำ

เนือ้ ดิน อัตรา (มม./ชม.)


ทราย > 20
ร่ วนปนทราย 10 – 20
ร่ วน 5 – 10
เหนียว 1–5

You might also like