You are on page 1of 16

การสังเคราะห์ด้วยแสง (Photosynthesis)

http://www.msu.ac.th/satit/studentProj/2546/M105/BIOLOGY/page6.ht
ml
เป็ นกระบวนการสำาคัญทีพ
่ ืชสีเขียว ซึง่ มีรงควัตถุพวกคลอโรฟิ ลล์
เป็ นตัวนำาพลังงานแสงเปลีย
่ นเป็ นพลังงานเคมีมาใช้ให้เกิด
ประโยชน์ในการสร้างอาหารจากโมเลกุลของคาร์บอนไดออกไซด์
และนำา
้ ไปเป็ นคาร์โบไฮเดรตคือนำา
้ ตาลหรือแป้ ง รวมทัง้ การปลด
ปล่อยออกซิเจนออกมา ปั จจัยทีม
่ ีผลต่อการสังเคราะห์แสง แบ่ง
ได้ 2 ประเภท คือ
1. ปั จจัยเกีย
่ วกับพืช
หมายถึง ชนิดของพืช สภาพทางสรีรวิทยาของพืช เช่น ในใบพืช
ทีอ
่ อ
่ นหรือแก่เกินไปพบว่าความสามารถในการสังเคราะห์แสงตำ่า
ใบทีอ
่ ่อนเกินไปการพัฒนาของคลอโรฟิ ลล์ยังไม่เต็มที ่ ส่วนใบทีแ
่ ก่
เกินไปจะมีการสลายตัวของรงควัตถุในคลอโรพลาสต์ การสูญเสีย
โครงสร้างทีส
่ ำาคัญนีม
้ ีผลทำาให้อัตราการสังเคราะห์แสงลดลง
2. ปั จจัยเกีย
่ วกับสิง่ แวดล้อม ได้แก่
2.1 แสง เป็ นสิง่ จำาเป็ นอย่างยิง่ เพราะการสังเคราะห์แสงเป็ นการใช้
พลังงานจากแสงมาสร้างเป็ นอาหาร และเก็บสะสมพลังงานนัน
้ ไว้
ในอาหารทีส
่ ร้างขึน
้ พลังงานธรรมชาติทีพ
่ ืชได้รับคือพลังงานจาก
แสงแดด เราอาจใช้แสงจากไฟฟ้าหรือตะเกียงก็ได้ แต่สู้แสงแดด
ไม่ได้ พืชแต่ละชนิดมีความต้องการความเข้มของแสงไม่เท่ากัน
ถ้าความเข้มของแสงมากเกินจุดอิม
่ ตัวแสง อาจทำาให้ใบไหม้
เกรียมตายได้ ถ้าปริมาณความเข้มของแสงตำ่า พืชก็จะมีอัตราการ
สังเคราะห์แสงตำ่า แต่พืชไม่สามารถลดอัตราการหายใจให้ตำ่าลง
ไปด้วย จะทำาให้พืชไม่เจริญและตายได้ในทีส
่ ุด

2.2 อุณหภูมิ พืชแต่ละชนิดมีช่วงอุณหภูมิในการสังเคราะห์ทีต


่ ่าง
กันตัง้ แต่ 5-40 องศาเซลเซียส พืชเขตร้อนอุณหภูมิทีเ่ หมาะสมอยู่
ในช่วงทีค
่ ่อนข้างสูง ส่วนพืชเขตอบอุ่นหรือเขตหนาวจะทำาการ
สังเคราะห์แสงได้ดีในอุณหภูมิค่อนข้างตำ่า ถ้าอุณหภูมิสูงหรือตำ่า
เกินไปมีผลต่อการทำางานของเอนไซม์ในปฏิกร
ิ ิยา

2.3 ปริมาณก๊าซในบรรยากาศ คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เป็ น


ก๊าซทีม
่ ีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง ในสภาพทีม
่ ีแสงและ
อุณหภูมิพอเหมาะอัตราการสังเคราะห์แสงจะขึน
้ กับปริมาณ
คาร์บอนไดออกไซด์ ถ้าเพิม
่ ปริมาณความเข้มข้นของ
คาร์บอนไดออกไซด์ให้สูงขึน
้ จะมีผลทำาให้อัตราการสังเคราะห์
แสงเพิม
่ ขึน
้ จนถึงจุดอิม
่ ตัว พืชจะไม่เพิม
่ อัตราการสังเคราะห์แสง
อีก
2.4 ธาตุอาหาร การขาดธาตุอาหารมีผลต่ออัตราการ
สังเคราะห์ด้วยแสงทัง้ ทางตรงและทางอ้อม แมกนีเซียมและ
ไนโตรเจน เป็ นธาตุทีส
่ ำาคัญในองค์ประกอบของคลอโรฟิ ลล์การ
ขาดสารเหล่านีท
้ ำาให้พืชมีอาการใบเหลืองซีดทีเ่ รียกว่า คลอโรซิส
เนือ
่ งจากใบขาดคลอโรฟิ ลล์

2.5 ปริมาณน้้าทีพ
่ ืชได้รับ นำา
้ เป็ นแหล่งของอิเล็กตรอนทีใ่ ช้ใน
กระบวนการสังเคราะห์แสงเมือ
่ พืชขาดนำา
้ อัตราการสังเคราะห์แสง
จะลดลงนอกจากนีน
้ ำา
้ มีผลต่อการปิ ด
เปิ ด ของปากใบ ซึง่ มีผลกระทบต่อการแพร่กระจายของก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์เข้าไปในใบ ถ้าสภาพขาดนำา
้ ปากใบจะปิ ดเพือ

ลดการคาย
นำา
้ ทำาให้ขาดแคลนก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในการสังเคราะห์แสง
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (Photosynthetic Process)
การสังเคราะห์ด้วยแสงเป็ นกระบวนการทีพ
่ ืชสีเขียวใช้
พลังงานแสงเปลีย
่ นเป็ นพลังงานเคมี โดยมีนำา
้ และ
คาร์บอนไดออกไซด์เป็ นวัตถุดิบ ปฏิกิริยาของการสังเคราะห์แสง
เขียนสรุปได้ดังนี ้
แสง
6CO2 + 12H2O ===> C6H12O6 + 6H2O + 6O2
คาร์บอนไดออกไซด์ นำา
้ นำา
้ ตาล นำา
้ ออกซิเจน
ผลจากการสังเคราะห์ด้วยแสงนอกจากออกซิเจนแล้ว จะได้
คาร์โบไฮเดรตเป็ นนำา ่ ีคาร์บอน 6 อะตอม คือกลูโคส, นำา
้ ตาลทีม ้
และพลังงานทีส
่ ะสมในรูปสารประกอบอินทรีย์ ซึง่ สิง่ มีชีวิตทัง้
หลายจะนำาไปใช้ในกระบวนการเมแทบอลิซึม เพือ
่ สร้าง
สารประกอบอืน
่ ๆ ทีจ
่ ำาเป็ นต่อการดำารงชีพ อาหารทีพ
่ ืชสร้างขึน

มานีน
้ อกจากจะเป็ นประโยชน์ต่อผู้ผลิตเองแล้ว ยังเป็ นประโยชน์
ต่อสิง่ มีชีวิตทัง้ มวลทีไ่ ม่สามารถสร้างอาหารโดยกระบวนการ
สังเคราะห์แสง ตลอดทัง้ เป็ นแหล่งพลังงานทีส
่ ำาคัญใน
กระบวนการเมแทบอลิซึมต่าง ๆ และการเจริญเติบโตของสิง่ มี
ชีวิตทัง้ หลายรวมทัง้ มนุษย์ด้วย ดังนัน
้ การศึกษาเกีย
่ วกับการ
สังเคราะห์แสงของพืชจะเป็ นแนวทางในการนำาไปประยุกต์ใช้ เพือ

ช่วยเพิม
่ ประสิทธิภาพของผลผลิตให้เพียงพอต่อการดำารงชีพของ
สิง่ มีชีวิตในระบบนิเวศ
ปั จจัย ทีเ่ กีย
่ วข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
http://th.wikipedia.org/wiki

ความเข้มของแสง

ถ้ามีความเข้มของแสงมาก อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงจะ
เพิม
่ ขึน
้ เรือ
่ ยๆ อุณหภูมิกับความเข้มของแสง มีผลต่ออัตราการ
สังเคราะห์ด้วยแสงร่วมกัน คือ ถ้าอุณหภูมิสูงขึน
้ เพียงอย่างเดียว
แต่ความเข้มของแสงน้อยจะไม่ทำาให้อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง
เพิม
่ ขึน
้ อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงจะเพิม
่ ขึน
้ เรือ
่ ยๆ จนถึงขีด
หนึง่ แล้วอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงจะลดตำ่าลงตามอุณหภูมิและ
ความเข้มของแสงทีเ่ พิม
่ ขึน

โดยปกติ ถ้าไม่คิดถึงปั จจัยอืน


่ ๆ เข้ามาเกีย
่ วข้องด้วย อัตรา
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชส่วนใหญ่จะเพิม
่ มากขึน
้ เมือ

้ ในช่วง 0-35 °C หรือ 0-40 °C ถ้าอุณหภูมิสูงกว่านี ้
อุณหภูมิสูงขึน
อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงจะลดลง ทัง้ นีเ้ นือ
่ งจากกระบวนการ
สังเคราะห์ด้วยแสงเป็ นปฏิกิริยาทีม
่ ีเอนไซม์ควบคุม และการ
ทำางานของเอนไซม์ขึน
้ อยู่กับอุณหภูมิ ดังนัน
้ เรือ
่ งของอุณหภูมิจึง
มีความสัมพันธ์กับอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง เรียกปฏิกิริยาเคมี
ทีม
่ ีความสัมพันธ์กับอุณหภูมิว่า ปฏิกร
ิ ิยาเทอร์โมเคมิคัล

ถ้าความเข้มของแสงน้อยมาก จนทำาให้การสังเคราะห์ด้วย
แสงของพืชเกิดขึน
้ น้อยกว่ากระบวนการหายใจ นำา
้ ตาลถูกใช้หมด
ไป พืชจะไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้ อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของ
พืชไม่ได้ ขึน
้ อยู่กบ
ั ความเข้มของแสงเท่านัน
้ แต่ยังขึน
้ อย่ก
ู ับ
่ (คุณภาพ) ของแสง และช่วงเวลาทีไ่ ด้รับ เช่น ถ้า
ความยาวคลืน
พืชได้รับแสงนานจะมีกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงดีขึน
้ แต่ถ้า
พืชได้แสงทีม
่ ีความเข้มมากๆ ในเวลานานเกินไป จะทำาให้
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงชะงัก หรือหยุดลงได้ทัง้ นีเ้ พราะ
คลอโรฟิ ลล์ถูกกระตุ้นมากเกินไป ออกซิเจนทีเ่ กิดขึน
้ แทนทีจ
่ ะออก
สู่บรรยากาศภายนอก พืชกลับนำาไปออกซิไดส์ส่วนประกอบและ
สารอาหารต่างๆภายในเซลล์ รวมทัง้ คลอฟิ ลล์ทำาให้สีของคลอโร
ฟิ ลล์จางลง ประสิทธิภาพของคลอโรฟิ ลล์และเอนไซม์เสือ
่ มลง
ทำาให้การสร้างนำา
้ ตาลลดลง

ความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์

ถ้าความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เพิม


่ ขึน
้ จาก
ระดับปกติทีม
่ ีในอากาศ อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงจะเพิม
่ สูงขึน

ตามไปด้วย จนถึงระดับหนึง่ ถึงแม้ว่าความเข้มข้นของ
คาร์บอนไดออกไซด์จะสูงขึน
้ แต่อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงไม่
ได้สงู ขึน
้ ตามไปด้วย และถ้าหากว่าพืชได้รบ
ั คาร์บอนไดออกไซด์
ทีม
่ ีความเข้มข้นสูงกว่าระดับนำา
้ แล้วเป็ นเวลานานๆ จะมีผลทำาให้
อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงลดตำ่าลงได้ ดังกราฟ

คาร์บอนไดออกไซด์จะมีผลต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง
มากน้อยแค่ไหนขึน
้ อย่ก
ู ับปั จจัยอย่างอืน
่ ด้วย เช่น ความเข้มข้นสูง
ขึน
้ แต่ความเข้มของแสงน้อย และอุณหภูมิของอากาศก็ตำ่า กรณี
เช่นนี ้ อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงจะลดตำ่าลงตามไปด้วย ในทาง
ตรงกันข้าม ถ้าคาร์บอนไดออกไซด์มีความเข้มข้นสูงขึน
้ ความเข้ม
ของแสงและอุณหภูมิของอากาศก็เพิม
่ ขึน
้ กรณีเช่นนีอ
้ ัตราการ
สังเคราะห์ด้วยแสงก็จะสูงขึน
้ ตามไปด้วย

นักชีววิทยาจึงมักเลีย
้ งพืชบางชนิดไว้ในเรือนกระจกทีแ
่ สง
ผ่านเข้าได้มากๆ แล้วให้ คาร์บอนไดออกไซด์มากขึน
้ เป็ นพิเศษ
ซึง่ มีผลทำาให้พืชมีกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงเพิม
่ มากขึน

อาหารเกิดมากขึน
้ จึงเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ออกดอกออกผล
เร็ว และออกดอกออกผลนอกฤดูกาลก็ได้

อุณหภูมิ

อุณหภูมิ เป็ นปั จจัยอย่างหนึง่ ทีม


่ ีอิทธิพลต่อการสังเคราะห์
ด้วยแสงของพืช โดยทัว
่ ไปอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงจะเพิม
่ ขึน

เรือ
่ ยๆ เมือ ้ 10-35 °C ถ้าอุณหภูมิสูงขึน
่ อุณหภูมิสูงขึน ้ กว่านีอ
้ ัตรา
การสังเคราะห์ด้วยแสงจะลดตำ่าลงตามอุณหภูมิทีเ่ พิม
่ ขึน
้ อัตรา
การสังเคราะห์ด้วยแสงทีอ
่ ุณหภูมิสูงๆ ยังขึน
้ อย่ก
ู ับเวลาอีกปั จจัย
หนึง่ ด้วย กล่าวคือ ถ้าอุณหภูมิสูงคงที ่ เช่น ที ่ 40 °C อัตราการ
สังเคราะห์ด้วยแสงจะลดลงตามระยะเวลาทีเ่ พิม
่ ขึน
้ ทัง้ นีเ้ พราะ
เอนไซม์ทำางานได้ดีในช่วงอุณหภูมืพอเหมาะ ถ้าสูงเกิน 40 °C
เอนไซม์จะเสือ
่ มสภาพทำาให้การทำางานของเอนไซม์ชะงักลง ดัง
นัน
้ อุณหภูมิจึงมีความสัมพันธ์ต่อการสังเคราะห์แสงด้วย เรียก
ปฏิกิริยาเคมีทีม
่ ีความสัมพันธ์กับอุณหภูมิว่า ปฏิกร
ิ ิยาเทอร์มอ
เคมิคอล (Thermochemical reaction)

ออกซิเจน

ตามปกติในอากาศจะมีปริมาณของอออกซิเจน (O2)
ประมาณ 25% ซึง่ มักคงทีอ
่ ยู่แล้ว จึงไม่ค่อยมีผลต่อการสังเคราะห์
ด้วยแสง แต่ถ้าปริมาณออกซิเจนลดลงจะมีผลทำาให้อัตราการ
สังเคราะห์ด้วยแสงสูงขึน
้ แต่ถ้ามีมากเกินไปจะทำาให้เกิดปฏิกร
ิ ิยา
ออกซิเดชัน ของสารต่างๆ ภายในเซลล์ โดยเป็ นผลจากพลังงาน
แสง (Photorespiration) รุนแรงขึน
้ การสังเคราะห์ด้วยแสงจึงลดลง

น้้า

นำา
้ ถือเป็ นวัตถุดิบทีจ
่ ำาเป็ นต่อกระบวนการสังเคราะห์ด้วย
แสง (แต่ต้องการประมาณ 1% เท่านัน
้ จึงไม่สำาคัญมากนักเพราะ
พืชมีนำา
้ อยู่ภายในเซลล์อย่างเพียงพอ) อิทธิพลของนำา
้ มีผลต่อ
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงทางอ้อม คือ ช่วยกระตุ้นการ
ทำางานของเอนไซม์

เกลือแร่

ธาตุแมกนีเซียม (Mg), และไนโตรเจน (N) ของเกลือในดิน มี


ความสำาคัญต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง เพราะธาตุดังกล่าว
เป็ นองค์ประกอบอยู่ในโมเลกุลของคลอโรฟิ ลล์ ดังนัน
้ ถ้าในดิน
ขาดธาตุทัง้ สอง พืชก็จะขาดคลอโรฟิ ลล์ ทำาให้การสังเคราะห์ด้วย
้ ังพบว่าเหล็ก (Fe) จำาเป็ นต่อการสร้าง
แสงลดลงด้วย นอกจากนีย
คลอโรฟิ ลล์ และสารไซโตโครม (ตัวรับและถ่ายทอดอิเล็กตรอน)
ถ้าไม่มีธาตุเหล็กในดินเพียงพอ การสังเคราะห์คลอโรฟิ ลล์ก็จะ
เกิดขึน
้ ไม่ได้

อายุของใบ

ใบจะต้องไม่แก่หรืออ่อนจนเกินไป ทัง้ นีเ้ พราะในใบอ่อนคลอ


โรฟิ ลล์ยังเจริญไม่เต็มที ่ ส่วนใบทีแ
่ ก่มากๆ คลอโรฟิ ลล์จะสลาย
ตัวไปเป็ นจำานวนมาก

สมการเคมีในการสังเคราะห์แสงเป็ นดังนี ้

สรุปสมการเคมีในการการสังเคราะห์แสงของพืชสีเขียวเป็ น
ดังนี ้ :

nCO2 + 2nH2O + พลังงานแสง →


(CH2O)n + nO2 + nH2O

เฮกโซส นำา
้ ตาล และ แป้ ง เป็ นผลผลิตขัน
้ ต้นดังสมการดัง
ต่อไปนี ้:

6CO2 + 12H2O + พลังงานแสง →


C6H12O6 + 6O2 + 6H2O
การสังเคราะห์แสง http://www.bs.ac.th/lab2000/web_bio/sun.htm

เกลือเฟอริกทำำหน้ำที่เป็ นตัวรับไฮโดรเจน ขณะเดียวกันจะมี ออกซิเจนเกิด


ขึ้นในปฏิกิรย
ิ ำด้วย สำรที่ทำำหน้ำที่เป็ นตัวรับไฮโดรเจน เช่น เฟอริก
ไซยำไนด์ และเมทีลีนบลู ในพืชสำรที่ทำำหน้ำที่เป็ นตัวรับไฮโดรเจน คือ นิ
โคตินำไมด์อะดีนินไดนิ วคลีโอไทด์ฟอสเฟต หรือ NADP+

ในขณะที่มีแสงคลอโรพลำสต์สำมำรถสร้ำง ATP อย่ำงเดียวหรือสร้ำงทั้ง


ATP และ NADPH + H+

ปฏิกิรย
ิ ำที่เกิดขึ้นในกระบวนกำรสังเครำะห์แสง

ปฏิกิรย
ิ าที่ใช้แสง

ปฏิกิรย
ิ ำที่ใช้แสงในขณะมีแสง โมเลกุลของคลอโรฟิ ลล์จะรับ พลังงำนไว้
ทำำให้ e- ในโมเลกุลของคลอโรฟิ ลล์เคลื่อนที่หลุด ออกไปโดยมีสำรเป็ นตัว
รับอิเลคตรอนและส่งอิเลคตรอนเป็ น ทอด ๆ คลอโรพลำสต์มีกลุ่มโมเลกุล
ของรงควัตถุทำำหน้ำที่รบ
ั พลังงำน กำรถ่ำยทอดอิเลคตรอนแบบไม่เป็ น
วัฏจักร คือ กำรถ่ำยทอด e- ไปทำงเดียว ให้ผลิตผลออกมำในขณะมีแสง
แต่ไม่ย้อนกลับ กำรถ่ำยทอดอิเลคตรอนแบบเป็ นวัฏจักรคือ กำรถ่ำยทอด
e- ในลักษณะที่ย้อนกลับได้
โฟโตไลซิส (Photolysis) คือกำรสลำยโมเลกุลของนำ้ำในปฏิกิรย
ิ ำที่ใช้แสง
ทั้ง ATP และ NADPH + H+ ที่เกิดขึ้นใน ปฏิกิรย
ิ ำใช้แสงจะถูกนำำไปใช้
ในปฏิกิรย
ิ ำที่ไม่ใช้แสงต่อไป ปฏิกิรย
ิ ำไม่ใช้แสง ปฏิกิรย
ิ ำที่เกิดขึ้นนั้ นมี
ลักษณะที่ต่อเนื่ องเป็ นวัฏจักร เรียกว่ำ วัฏจักรของคัลวิน (Calvin cycle)

วัฏจักรคัลวิน แบ่งออกเป็ น 3 ขั้นตอน

ปฏิกิรย
ิ าขั้นที่ 1

สำรตั้งต้นคือ RuDP รวมตัวกับคำร์บอนไดออกไซด์เป็ นสำร ประกอบใหม่มี


คำร์บอน 6 อะตอม สำรใหม่จะสลำยไปเป็ น PGA 2 โมเลกุล จะได้ PGA
12 โมเลกุล

ปฏิกิรย
ิ าขั้นที่ 2 เปลี่ยนแปลงจำก PGA จะได้ PGAL ได้รบ
ั ไฮโดรเจน
จำก NADPH + H+ และพลังงำนจำก ATP PGA 12 โมเลกุล จะเปลี่ยน
เป็ น PGAL 12 โมเลกุล

ปฏิกิรย
ิ าขั้นที่ 3
PGAL 10 โมเลกุล เปลี่ยนแปลงไปเป็ น RuDP 6 โมเลกุล ต้องใช้
พลังงำนจำกกำรสลำยตัวของ ATP

แหล่งทีเ่ กิดการสังเคราะห์แสง

คลอโรพลำสต์ เป็ นแหล่งที่เกิดกำรสังเครำะห์โปรตีน คลอโรพลำสต์


ประกอบไปด้วยเนื้ อเยื่อ 2 ชั้น เนื้ อเยื่อชั้นในจะ แผ่เข้ำไปข้ำงใน กลำย
เป็ นโครงสร้ำงย่อย ๆ ประกอบด้วยเยื่อ บำง ๆ เรียกว่ำลำเมลลำ (lamella)
บริเวณรอบ ๆ ลำเมลลำจะมี สโตรมำ(Stroma) ลำเมลลำเป็ นแผ่นกลม ๆ
บำง ๆ เรียงซ้อน เป็ นตั้ง ๆ เรียกว่ำ แกรนั ม (granum) และเรียกลำเมล
ลำแต่ละ แผ่นในแกรนั มว่ำ ไทลำคอยด์(thylakoid) ลำเมลลำที่เชื่อมอยู่
ระหว่ำง แกรนั ม เรียกว่ำ สโตรมำลำเมลลำ โมเลกุลของสำรที่ใช้ในปฏิกิรย
ิ ำ
ที่ใช้แสงจะอยู่ท่ีผนั งของเยื่อ ห้ม
ุ ไทลำคอยด์ สโตรมำลำเมลลสและไทลำ
คอยด์จะมีเอนไซม์ ที่นำำไปใช้ในปฏิกิรย
ิ ำของวัฏจักรคัลวิน ซึ่งเป็ นปฏิกิรย
ิ ำ
ไม่ใช้แสง

รงควัตถุที่ใช้ในกระบวนการสังเคราะห์แสง

คลอโรฟิ ลล์

คลอโรฟิ ลล์ ทำำหน้ำที่ดูดพลังงำนของแสงอำทิตย์

แคโรทีนอยด์

แคโรทีนอยด์ เป็ นสำรประกอบจำำพวกไขมัน ประกอบด้วย แคโรทีน เป็ น


รงควัตถุสีแดง และสีส้ม อีกชนิ ดหนึ่ งคือ แซนโทฟิ ลล์ เป็ นรงควัตถุสี
เหลืองหรือสีน้ ำำตำล

ไฟโคบิลิน
ไฟโคบิลิน เป็ นรงควัตถุท่ีมีอยู่เฉพำะสำหร่ำยสีแดงและสี เขียวแกมนำ้ำเงิน
ประกอบด้วยรงควัตถุ 2 ชนิ ดคือ

- ไฟโคอีรท
ี ริน (Phycoerythrin) เป็ นรงควัตถุสีแดง

- ไฟโคไซยำนิ น (Phycocyanin) เป็ นรงควัตถุสีน้ ำำเงิน

ปฏิกิรย
ิ ำเทอร์โมเคมิคัล (thermochemical reaction) คือปฏิกิรย
ิ ำ เคมีที่มี
ควำมสัมพันธ์กับอุณหภูมิ

ปั จจัยที่มีอิทธิพลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง

1. ควำมเข้มแสง - ถ้ำควำมเข้มของแสงมำก อัตรำกำร สังเครำะห์แสงจะ


เพิ่มขึ้น

2. ควำมเข้มของ CO2 - อัตรำกำรสังเครำะห์แสงจะเพิ่มขึ้นตำม ควำมเข้ม


CO2 จนถึงระดับหนึ่ ง แม้ควำมเข้ม CO2 จะเพิ่มขึ้นแต่ อัตรำกำร
สังเครำะห์แสงจะลดตำ่ำลง

3. อุณหภูมิ - อัตรำกำรสังเครำะห์แสงจะเพิ่มขึ้นเมื่ออุณหภูมิสูง ขึ้นโดยจะ


อยู่ในช่วงประมำณ 10-35 oC ถ้ำอุณหภูมิสูงเกิน 40 oC เอนไซม์จะเสื่อม
สภำพ กำรทำำงำนเอนไซม์ชะงักลงอัตรำ กำรสังเครำะห์แสงจะลดลงตำม
ระยะเวลำที่เพิ่มขึ้น

4. ออกซิเจน - ปริมำณออกซิเจนลดลงจะทำำให้อัตรำกำรสังเครำะห์แสง
เพิ่มขึ้น

5. นำ้ำ - ช่วยกระตุ้นกำรทำำงำนของเอนไซม์

6. เกลือแร่ - ถ้ำพืชขำดธำตุแมกนี เซียมและไนโตรเจน เหล็ก พืชก็จะขำด


คลอโรฟิ ลล์ กำรสังเครำะห์แสงก็จะลดลง
การลำาเลียงในพืช

กำรดูดนำ้ำของพืช สำมำรถเข้ำสู่เซล ขนรำก และเซลต่อ ๆ ไปโดยกระบวน


กำรออสโมซิส ปลำยรำกจะมีขนรำก(root hair) ภำยในเซลจะมีแวคิวโอล
ขนำดใหญ่ จะมีน้ ำำ เกลือแร่ และสำรอื่น ๆ สำมำรถดูดซึมสำรอำหำรโดย
กำรซอนไซ เข้ำไปในดิน ชั้นของเนื้ อเยื่อของลำำต้น เรียงจำกนอกสุดเข้ำไป
ในสุด ดังนี้

1. เอพิเดอร์มิส (Epidermis) เป็ นผนั งเนื้ อเยื่อชั้นนอกสุด เซล เรียงตัวชั้น


เดียว มีผนั งบำง ไม่มีคลอโรพลำสต์

2. คอร์เทกซ์ (Cortex) ประกอบด้วยเซลหลำยแถว มีหลำยชนิ ด มีคลอโร


ฟิ ลล์ ชั้นของคอร์เทกซ์ในรำกจะกว้ำงกว่ำในลำำต้น

3. เอนโดเดอร์มิส (Endodermis) ประกอบด้วยเซลแถวเดียว ส่วนใหญ่พบ


ในรำก

4. เพอริไซเคิล (Pericycle) ประกอบด้วย เซลเพียงหนึ่ งหรือสอง แถว


เป็ นแหล่งที่เกิดของรำกแขนง

5. วำสคิวลำร์บันเดิล ทำำหน้ำที่ลำำเลียงในพืช ประกอบด้วย เซลอยู่รวมกัน


เป็ นกลุ่ม ๆ ประกอบด้วยเนื้ อเยื่อโฟลเอมและไซ เลม มีแคมเบียมคัน
่ อยู่
ตรงกลำงในพืชในเลี้ยงคู่ กำรเรียงตัวจะ กระจำยในพืชใบเลี้ยงเดียว เป็ นก
ล่ม
ุ ๆ เรียงเป็ นวงในพืชใบ เลี้ยงคู่

6. พิท (Pith) ประกอบด้วย เซลผนั งบำง ๆ คือ พำเรนไคมำ


(Parenchyma) กลุ่มเซลไซเลม ทำำหน้ำที่ลำำเลียงนำ้ำ เกลือแร่ สำรละลำย
ต่ำง ๆ โดยกระบวนกำร Conduction ประกอบด้วยเซลหลำยชนิ ด เช่น

- เทรคีดเซล (tracheid)
- เวสเซล (Vessel)

กลุ่มโฟเอม ประกอบด้วย

ซีฟทิวบ์เมมเบอร์ (Sievetube member) ทำำหน้ำที่ลำำเลียงสำรอำหำรไปยัง


ส่วนต่ำง ๆ ของพืช

เซลคอมพำเนี ยน (Companion cell) มีหน้ำที่ควบคุมกำรทำำ งำนของซีฟ


ทิวบ์เมมเบอร์

เซลไฟเบอร์ (Fiber cell) ทำำหน้ำที่ให้ควำมแข็งแรงทนทำนแก่พืช ซึ่งอยู่


ภำยในเนื้ อเยื่อของโฟลเอมและไซเลม

เรย์ (Ray) ทำำหน้ำที่ลำำเลียงนำ้ำและอำหำรไปด้ำนข้ำงของลำำต้น

แคพิลลำรีแอคชัน (Capillary action) เป็ นกระบวนกำร เคลื่อนที่ของนำ้ำใน


หลอดเล็ก ๆ

แอดฮีชัน (adhesion) คือแรงดึงดูดระหว่ำงโมเลกุลของนำ้ำ และผนั งด้ำน


ข้ำงของหลอด

กำรคำยนำ้ำของพืช หมำยถึงกระบวนกำรที่พืชกำำจัดนำ้ำออกมำในรูปของไอ
นำ้ำซึ่งจะเกิดขึ้นที่ปำกใบมำกสุด เซลคุม (Guard cell) เป็ นเซลมีรูปร่ำง
คล้ำยเม็ดถัว่ จะมีเม็ดคลอ โรพลำสต์ ระหว่ำงเซลคุมจะมีช่องเล็ก ๆ คือ
ปำกใบ

คิวทิน (Cutin) คือสำรขี้ผ้ ึงที่ฉำบอยู่ผิวใบของพืช

เลนทิเซล (lenticel) หมำยถึงรอยแตกที่ผิวของลำำต้นหรือกิ่ง ซึง่ พืชอำจ


สูญเสียนำ้ำทำงเลนทิเซลได้
กัตเทชัน
่ (Guttation) คือกระบวนกำรคำยนำ้ำของพืชในรูป ของหยดนำ้ำ
ทำงรูเล็ก ๆ คือ รูไฮดำโทด (hydathode)

ควำมดันรำก (Root pressure) คือแรงดันที่ดันของเหลวให้ ไหลขึ้นไปตำม


ท่อของไซเลม

แรงดึงดูดระหว่ำงโมเลกุลของนำ้ำ เรียกว่ำ โคฮีชัน (Cohesion) แรงดึงดูด


จำกกำรสูญเสียของนำ้ำของพืช เรียกว่ำ ทรำนสปี เรชัน พลู (transpiration
pull)

การลำาเลียงอาหารของพืช

กำรลำำเลียงอำหำรของพืช ลำำเลียงในโฟลเอม เกิดจำกควำม แตกต่ำงของ


ควำมดันเต่งภำยในเซล ระหว่ำงเซลเริม
่ ต้นและเซลปลำยทำง นำ้ำจำกเซล
ข้ำงเคียงและไซเลมจะแพร่เข้ำสู่เซลของใบ ทำำให้ เซลที่ใบมีควำมดันสูง
จะดันสำรละลำย อำหำร ไปตำมโฟลเอม จนถึงเซลต่ำง ๆ เมื่อได้รบ
ั อำหำร
แล้ว จะมีกระบวนกำรเปลี่ยน แปลงสำรอำหำรเป็ นสำรอื่น ๆ ที่ไม่ละลำย
นำ้ำ ทำำให้เซลปลำย ทำง มีควำมดันออสโมซิสตำ่ำ ควำมดันเต่งตำ่ำ

You might also like