You are on page 1of 26

บทที่ 10 การลาเลียงของพืช

บทที่ 10 การลาเลียงของพืช
บทที่ 10 การลาเลียงของพืช

การลาเลียงน้ า 10.1 : การเคลื่อนที่ของน้ าในพืชเป็ นผลมาจากความ


ต่างชลศักย์ (water potential)
ชลศักย์ คือพลังงานอสระของนา้ ต่อหนึ่งหน่วยปริมาตร ใช้หน่วย MPa (megapascal) เป็ น
หน่วยของความดัน นา้ จะเคลื่อนที่จาก ชลศักย์สงู ไปต่า มีปัจจัยที่กระทาต่อโมเลกุลนา้ เช่น ตาวละลาย
แรงดัน แรงดึง
บทที่ 10 การลาเลียงของพืช
บทที่ 10 การลาเลียงของพืช
บทที่ 10 การลาเลียงของพืช

การลาเลียงน้ า 10.1
การลาเลียงน้ าแบ่งออกได้ 3 ช่วง ได้แก่
บทที่ 10 การลาเลียงของพืช

10.1.2 การลาเลียงน้ าเข้าสู่ ไซเล็ม (xylem)


1. Symplast pathway จากเซลล์สเู่ ซลล์ผ่านทาง plasmodesmata
2. Anoplast pathway ไม่ผ่านเซลล์แต่เคลื่อนที่ไปตามผนังและช่องว่างเซลล์ จนถึงเอนโดเดอร์สที่มี
แถบแคสพาเรียน
3. Transmembrane pathway เซลล์สเู่ ซลล์ผ่านเยื่อหุม้ เซลล์
บทที่ 10 การลาเลียงของพืช
บทที่ 10 การลาเลียงของพืช
10.1.3 ลาเลียงน้ าภายในไซเล็ม
• การซึมตามรูเล็ก เกิดจากแรงยิดเกหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของนา้ หรือแรงโคฮีชนั คล้ายกับ Capillary
tube
• แรงจากการคายนา้ ปากใบเปิ ดจะสูญเสียนา้ ในรูปของไอนา้ เรียกว่าการคายนา้ (transpiration) นา้
จะแพร่ออกทางรูปากใบ นา้ จาก สปองจีมีโซฟิ ลล์จะระเหยทาให้ตอ้ งดึงนา้ จากเซลล์ขา้ งๆ ด้วยแรง โคฮีชนั
ดึงจากเซลล์อ่นื ๆจนถึงไซเล็ม
บทที่ 10 การลาเลียงของพืช
10.1.3
ลาเลียงน้ า
ภายในไซเล็ม
บทที่ 10 การลาเลียงของพืช
10.1.3 ลาเลียงน้ าภายในไซเล็ม
• ความดันราก ในเวลาที่ปากใบปิ ดเวลากลางคืน ทาให้ไม่มีการคายนา้ หรือความชื่นสัมพัทธ์สงู จนคายนา้
ตามปกติไม่ได้ หากนา้ ในดินมีมาก จะเข้าสูร่ ากพืช ให้ความดันเพิ่มมากขึน้
• นา้ อาจออกมาทางโครงสร้างพิเศษเรียก่า รูหยาดนา้ (hydathode) เป็ นปรากฏการที่พืชเสียยา้ ในรูปของหยดนา้ เรียกว่า กัตเตชัน
(guttaion)
บทที่ 10 การลาเลียงของพืช
10.2 การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ า
• นา้ จะแพร่ผ่านทางรูปากใบ เนื่องจากนา้
ในพืชมีชลศักย์สงู กว่าในอากาศ
บทที่ 10 การลาเลียงของพืช

10.2.1 การเปิ ดปิ ดปากใบ


ขึน้ อยูก่ บั ความเต่งของเซลล์คมุ ถ้าเซลล์เต่งมาก ก็จะบวมโค้งมากทาให้มีชอ่ งว่างและถ้าเสียความ
เต่ง เซลล์คมุ จะโค้งน้อยและรูปากใบแคบลง โดย k+ และซูโครสมีความสัมพันธ์ในการเปิ ดปิ ด

เช้ามีแสง k+จะสะสมในเซลล์คมุ ทาให้ความ


เข้มข้นของสารละลายในเซลล์คมุ สูง นา้ ที่อยูเ่ ซลล์
ข้างเคียงจึงเข้าสูเ่ ซลล์คมุ ทาให้เต่ง และปากใบเปิ ด
ต่อมา k+ ออกจากเซลล์คมุ แต่มีการสะสมซูโครสที่ได้
จากสังเคราะห์แสงทาให้สามารถรักษาความเต่งไว้ได้
บทที่ 10 การลาเลียงของพืช

ตอนเช้า

ตอนเย็นแสงเริ่ม
หมด
บทที่ 10 การลาเลียงของพืช

10.2.2 การแลกเปลี่ยนแก๊ส
• ความเข้มข้นของแก๊สในใบพืชกับบรรยากาศแตกต่างกัน แก๊สจะแพร่จากความเข้มข้นสูงไปต่า
บทที่ 10 การลาเลียงของพืช

10.2.2 การแลกเปลี่ยนแก๊ส
• ในการสังเคราะห์แสงพืชใช้ CO2 และเกิด O2กระบวนการหายใจระดับเซลล์ ใช้ O2 และเกิด CO2
พืชบางชนิดมีการแลกเปลี่ยนแก๊สบริเวณอื่นเช่น รากมีการแลกเปลี่ยนโดยตรงกับอากาศที่อยู่ชอ่ งว่างระหว่าง
อนุภาคดินผ่านเซลล์รากที่ไม่มีชนั้ คิวทิเคิล แผลที่เปลือกของลาต้นหรือราก และเลนทิเซล (lenticel)เป็ น
ช่องเปิ ด
บทที่ 10 การลาเลียงของพืช

10.2.3 การคายน้ า : เมื่อความชื้นในอากาศต่ากว่าภายในใบพืช ไอ


น้ าจะแพร่ ออกทางรู ใบคือการคายน้ า ทาให้เกิดแรงดึงจากการคายน้ า
แถมช่วยรักษาอุณหภูมิของใบไม่ให้สูงเกิน
• ความชืน้ สัมพัทธ์ ความชืน้ ในอากาศน้อย จะทาให้คายนา้ เยอะ
• ลม ทาให้ความกดอากศที่ผิวใบลดลง นา้ จะระเหยได้มากขึน้ และลมจะพัดเอาความชืน้ ไปด้วย
• อุณหภูมิ temp สูง ความชืน้ ในอากาศลดลง พืชจะแพร่ได้ดี แต่ถา้ สูงเกิดพืชจะปิ ดปากใบ
• ปริมาณนา้ ในดิน เมื่อพืชไม่สามารถดูดนา้ ได้ตามปกติและเริ่มขาดนา้ พืชจะสร้าง abscisic acid;
ABA ทาให้ปากใบปิ ดการคายนา้ พืชลดลง
• ความเข้มแสง พืชได้รบั นา้ เพียงพอความเข้มแสงสูงปากใบกว้างกว่าความเข้มแสงต่า แต่ถา้ พื ชขาดนา้ ปาก
ใบจะปิ ด
บทที่ 10 การลาเลียงของพืช

10.3 การลาเลียงธาตุอาหาร
• 10.3.1 การเคลือ่ นทีข่ องธาตุอาหารเข้าสู่พชื อาศัยโปรตีนลาเลียง (transport protein) ทัง้
แบบฟาซิลิเทตและแบบแอกทีฟทรานสปอร์ต ธาตุอาหารจะเข้าไปในไซเล็มเคลื่อนผ่านชัน้ คอร์เทกซ์ แบบอ
โพลาสต์ หรือทรานส์เมมเบรน เข้าสูเ่ อนโดเดอร์มิส ก่อนเข้าสูไ่ ซเล็ม
บทที่ 10 การลาเลียงของพืช
10.3 การลาเลียงธาตุอาหาร
• C H O เป็ นธาตุหลัก ที่อยูใ่ นดิน
• ธาตุท่พี ืชต้องการมาก N P K Ca Mg S Si
• ธาตุอาหารรอง Cl Fe Zn B Mn Cu Mo Ni
บทที่ 10 การลาเลียงของพืช
บทที่ 10 การลาเลียงของพืช
บทที่ 10 การลาเลียงของพืช
บทที่ 10 การลาเลียงของพืช

10.4 การลาเลียงอาหาร
• 10.4.1 ศึกษาการเคลื่อนย้าย
อาหารในพืช มาร์เชลโล มัลพิจิ
ควั่นรอบเปลือกลาต้นพืชใบเลีย้ ง
คูป่ ระมาณ 2 ซม.
บทที่ 10 การลาเลียงของพืช

10.4 การลาเลียงอาหาร
• นา้ ตาลที่ได้มาจากการ
สังเคราะห์แสงจะถูกลาเลียง
ออกมาในไซโทพลาสซึมแล้ว
เปลี่ยนเป็ นซูโครสไปยังโฟลเอ็ม
และส่งไปยังส่วนต่างๆ ผ่านซีฟ
ทิวบ์
บทที่ 10 การลาเลียงของพืช
1. ซูโครสเข้าสูซ่ ีฟทิวบ์เมมเบอร์ ทา 5.เมื่อชลศักย์สงู นา้ จึงออสโมซิลเข้า
ให้ความเข้มข้นสูง ทาให้ชลศักย์ สูเ่ ซลล์ขา้ งเคียง และเวสเซลเมมเบอร์
ต่าลง ทาให้ ความดันซีฟทิวบ์เมมเบอร์บริ
2. นา้ จากเซลล์ขา้ งเคียงและเวสเซ เวรณรับต่าลง ทาให้เกิดความต่าง
สเมมเบอร์ มีชลศักย์สงู จึง ของความดันในซีฟทิวบ์เมมเบอร์ การ
ออสโมซิสเข้าซีฟทิวบ์เมมเบอร์ ลาเลียงสารในโฟลเอ็มจึงเกิดอย่าง
ทาให้ความดันสูงขึน้ ต่อเนื่อง
3. ความดันที่สงู ทาให้สารละลายที่
มีซโู ครสเคลื่อนไปยังบริเวณที่มี
ความดันต่ากว่า
4. ซูโครสเคลื่อนที่เข้าสูเ่ ซลล์
เนือ้ เยื่อบริเวณแหล่งรับ ทาให้
ความเข้มข้นซีฟทิวบ์เมมเบอร์
ลดลง ชลศักย์สงู
บทที่ 10 การลาเลียงของพืช

สรุ ปเนื้อหา

You might also like