You are on page 1of 48

ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.

com บทที่ 10 เสียง

บทที่ 10 เสี ย ง
10.1 ธรรมชาติและสมบัติของเสี ยง
เสี ยงเกิดจากการสั่นสะเทือนของวัตถุซ่ งึ ส่งผลให้โมเลกุล ของตัวกลางเกิดการอัด ตัวและ
ขยายตัวแล้วเกิดการถ่า ยทอดพลังงานไปโดยที่อนุ ภาคตัวกลางสั่น ไปมาอยู ท่ ี่เดิ ม
พลังงาน

ส่วนอัด ส่วนขยาย ส่วนอัด ส่วนขยาย


เมือ่ พิจารณาการเคลื่อนที่ของเสี ยงแล้ว จะพบว า่ เสี ย งมีล ัก ษณะเป็ นคลื่ น ตามยาว และ
เนื่ องจากการเดินทางของเสี ยงนั้นต้องอาศัยตัวกลางเสมอ ดัง นั้ น เสี ย งจึ ง มีล ัก ษณะเป็ นคลื่ น กล
ด้วย
1(แนว มช) วางกระดิ่งไฟฟ้ าที่สง่ เสี ยงดังตลอดเวลา และหลอดไฟฟ้ าที่ให้แสงสว ่างในครอบแก้ว
ที่ภายในเป็ นสุ ญญากาศแล้ว ข้อใดถูกต้องที่สุด
1. ไม ่ได้ยินเสี ยงกระดิง่ แต่เห็ นแสงจากหลอดไฟ
2. ไม ่ได้ยินเสี ยงกระดิ่ง และไม ่เห็ นแสงจากหลอดไฟ
3. ได้ยินเสี ยงกระดิ่ง และ เห็ นแสงจากหลอดไฟ
4. ได้ยินเสี ยงกระดิง่ แต่ไม ่เห็ นแสงหลอดไฟ

10.2 อัตราเร็วของเสี ยง
อัตราเร็ วเสี ยงสามารถหาค่าได้จาก
v = st หรือ v = f
เมือ่ v คืออัตราเร็ วเสี ยง ( เมตร/วินาที )
s คือระยะทางที่เสี ยงเคลื่อนที่ได้ ( เมตร )
t คือเวลา ( วินาที )
f คือความถี่เสี ยง ( เฮิรตซ์ )
 คือความยาวคลื่น ( เมตร )

1
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
ปัจจัยทีม่ ีผลต่ ออัตราเร็วเสี ยง
1. ความหนาแน่ นของตัวกลาง
อัตราเร็ วเสี ยงในตัวกลางที่ มีความหนาแน่น มากกวา่ จะมีคา่ มากกวา่ ในตัวกลางที่ มี
ความหนาแน่นน้อยกว ่า
ตารางแสดงอัตราเร็วของเสี ยงในตัวกลางต่ างๆ ทีอ่ ุณหภูมิ 25oC
ตัวกลาง อัตราเร็ว (m/s)
อากาศ 346
น้ า 1,498
น้ าทะเล 1,531
เหล็ก 5,200
2. อุณหภูมิ
อัตราเร็ วเสี ยงจะแปรผัน ตรงกับรากที่ 2 ของอุ ณ หภู มิเ คลวิน เพราะ เมื่อ อุ ณ หภู มิ
สู งขึ้นจะทาให้อนุ ภาคตัวกลางมีพลังงานจลน์ มากขึ้น การอัดตัวและขยายตัว จะเกิดได้เ ร็ ว ขึ้ น ทา
ให้เสี ยงเคลื่อนที่ได้เร็ วขึ้น ความสัมพันธ์ ระหว ่างอัตราเร็ วเสี ยงกับอุณหภู มเิ คลวิน คื อ
v T
ในอากาศปกติเราสามารถหาอัตราเร็ วเสี ยงที่อุ ณหภู มติ า่ งๆ ได้จากสมการ
v = 331 + 0.6 t
เมือ่ v คืออัตราเร็ วเสี ยงในอากาศ ( เมตร/วินาที )
t คืออุณหภูมิ ( oC )
2(แนว มช) ตัวกลางที่คลื่นเสี ยงผ่าน 3 ชนิ ด คือ น้ าทะเล น้ าบริ สุ ทธิ์ และปรอท ณ อุ ณ หภู มิ
เดียวกัน ข้อใดเรี ยงลาดับความสามารถในการถ่ายทอดคลื่นเสี ยงจากดี ที่สุ ดไปหาเลวที่สุ ด
1. น้ าบริ สุทธิ์ ปรอท น้ าทะเล 2. น้ าทะเล น้ าบริ สุทธิ์ ปรอท
3. ปรอท น้ าทะเล น้ าบริ สุทธิ์ 4. น้ าทะเล ปรอท น้ าบริ สุทธิ์
3(แนว มช) อัตราเร็ วของเสี ยงเปลี่ยนอย่างไรกับอุณหภู มิ
1. แปรผันโดยตรงกับอุณหภูมิองศาเซลเซีย ส
2. แปรผันโดยตรงกับอุณหภูมเิ คลวิน
3. แปรผันผกผันกับรากที่สองของอุณหภู มิ องศาเซลเซียส
4. แปรผันโดยตรงกับรากที่ส องอุณหภู มเิ คลวิน
2
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
4. จงหาอัตราเร็ วเสี ยงที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส
1. 346 เมตร/วินาที 2. 375 เมตร/วินาที
3. 412 เมตร/วินาที 4. 546 เมตร/วินาที

5. ณ อุณหภูมิ 35oC อัตราเร็ วเสี ยงในอากาศจะมากกวา่ ณ อุณหภูมิ 30oC อยูก่ เี่ มตรต่อวินาที
1. 3 2. 6 3. 12 4. 34

6. แหล่งกาเนิ ดเสี ยงอันหนึ่ งสั่นด้วยความถี่ 692 เฮิรตซ์ วางไว้ในอากาศที่อุณหภูมิ 25oC


อยากทราบว ่า คลื่นเสี ยงที่ออกจากแหล่งกาเนิ ดนี้ จะมีความยาวคลื่นยาวเท่ากับกีเ่ มตร
1. 0.50 2. 0.75 3. 0.92 4. 1.20

7. ส่วนอัดกับส่วนอัดที่ติดกัน ที่ติดกัน ของคลื่นเสี ยงในอากาศวัดได้ 0.5 เมตร และแหล่งกาเนิ ด


เสี ยงมีความถี่ 680 เฮิรตซ์ อยากทราบว ่าอุณหภูมิของอากาศบริ เวณนั้นเป็ นเท่าใด
1. 10oC 2. 15oC 3. 20oC 4. 25oC

8. คลื่นเสี ยงความถี่ 170 เฮิรตซ์ มีอตั ราเร็ วในอากาศ 340 เมตร/วินาที จงหาระยะห่าง
ระหว ่างส่วนอัดกับส่วนขยายที่อยูใ่ กล้กนั ที่สุ ด มีคา่ เท่า กับกีเ่ มตร
1. 1.0 2. 1.5 3. 2.2 4. 2.8

3
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
9. ถ้าเห็ นฟ้ าแลบและได้ยินเสี ยงฟ้ าร้องในเวลา 5 วิน าที ตอ่ มา จงหาวา่ ตาแหน่ง ที่ ฟ้ าแลบอยู ่
ไกลเท่าไร เมือ่ อัตราเร็ วเสี ยงในอากาศ 340 เมตร/วินาที
1. 1200 เมตร 2. 1450 เมตร 3. 1500 เมตร 4. 1700 เมตร

10. เมือ่ เคาะท่อเหล็กยาว 1 ครั้งที่ปลายข้างหนึ่ ง ปรากฏว ่าผูฟ้ ั งซึ่งอยูท่ ี่ปลายอีกข้างหนึ่ งของ


ท่อเหล็กจะได้ยินเสี ยงเคาะ 2 ครั้ง หลังจากเคาะแล้วเป็ นเวลา 0.2 วินาที และ 3 วินาที
ตามลาดับ ถ้าขณะเคาะท่อเหล็ก อากาศมีอุณหภูมิ 25oC จงหาความยาวอัตราเร็ วของเสี ยง
ในท่อเหล็กขณะนั้นในหน่วยเมตร/วินาที
1. 5190 2. 6325 3. 6952 4. 5450

11. ชายคนหนึ่ งกาลังว ่ายน้ า เห็ นเรื อบรรทุกกาลังจะจม และเห็ นแสงไฟจากการระเบิ ดของเรื อ
1 ครั้ง แต่ปรากฏว ่าได้ยินเสี ยงระเบิดตามมา 2 ครั้ง ในเวลาห่า งกัน 2.4 วิน าที ถ้า ขณะ
นั้นอัตราเร็ วเสี ยงในอากาศ 340 เมตร/วินาที และอัตราเร็ วเสี ยงในน้ า 1496 เมตร/วินาที
อยากทราบว ่าตาแหน่งที่เรื อจมอยูห่ า่ งจากชายคนนั้นกีเ่ มตร
1. 1000 2. 1062 3. 1500 4. 1575

4
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง

10.3 สมบัติของคลื่นเสี ยง
ดังได้กล่าวไปแล้วว ่า เสี ยงเป็ นคลื่ น ชนิ ดหนึ่ ง ดัง นั้ น เสี ย งจึ ง ต้อ งมีส มบัติของคลื่ น
ครบ 4 ประการ ได้แก ่ การสะท้อนได้ การหักเหได้ การแทรกสอดได้ และการเลี้ยวเบนได้
10.3.1 การสะท้อนได้ ของเสี ยง
เมือ่ เสี ยงไปตกกระทบวัตถุ ที่มขี นาดใหญ่กว ่าความ
ยาวคลื่นเสี ยง เสี ยงจะสะท้อนออกจากวัตถุน้ นั ได้
สิ่ งควรทราบเพิม่ เติมเกี่ยวกับการสะท้อนเสี ยง
1) วัตถุที่จะสะท้อนเสี ยงออกมาได้น้ นั ต้องมีขนาด
ใหญ่กว ่าความยาวคลื่นเสี ยง หากวัตถุมขี นาดเล็กกว ่า
ความยาวคลื่นเสี ยง เมือ่ เสี ยงตกกระทบจะเลี้ยวอ้อ มไป
ทางอื่นไม ่สะท้อนออกมา
2) หากมีเสี ยงสะท้อนจากหลายแหล่ง มาถึงผูฟ้ ั งในชว่ งเวลาที่ ตา่ งกัน มากกว ่า 0.1 วินาที
จะทาให้ได้ยินเสี ยงสะท้อนหลายเสี ยง เรี ยกว ่าเกิดเสี ยงก้อง

12(แนว En) หากต้องการคัดแยกผลไม้ขณะกาลังไหลผ่า นมาตามรางน้ าโดยอาศัย การสะท้อ น


ของเสี ยงจากเครื่ องโซนาร์ โดยต้องการแยกผลไม้ที่มขี นาดใหญ่ก วา่ และเล็ ก กวา่ 5 เซนติ -
เมตร ออกจากกัน จงหาความถี่เหมาะสมของคลื่น จากโซนาร์ (ความเร็วเสียงในน้ า = 1500 m/s)
1. 1 kHz 2. 3 kHz 3. 10 kHz 4. 30 kHz

5
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
13. เรื อลาหนึ่ งลอยนิ่ งอยูใ่ นทะเลได้สง่ คลื่นสัญญาณเสี ยงลงไปในน้ าทะเล และ ได้รั บสั ญ ญาณ
เสี ยงนั้นกลับมาในเวลา 0.6 วินาที เมือ่ อัตราเร็ วของเสี ยงในน้ าทะเลมีคา่ 1500 เมตร/วิน าที
ทะเล ณ.บริ เวณนี้ ลึกกีเ่ มตร
1. 300 2. 400 3. 450 4. 900

14(แนว En) เรื อหาปลาลาหนึ่ งหาฝูงปลาด้วยโซ-


นาร์ ส่งคลื่นดลของเสี ยงความถี่สูงลงไปใน 40 m
น้ าทะเล ถ้าฝูงปลาอยูห่ า่ งจากเครื่ องกาเนิ ด
คลื่นไปทางหัวเรื อเป็ นระยะทาง 40 เมตร
30 m
และอยูล่ ึกจากผิวน้ าเป็ นระยะ 30 เมตร หลัง
จากส่งคลื่นดลจากโซนาร์ ไ ปเป็ นเวลาเท่าใด
จึงจะได้รับคลื่นที่สะท้อนกลับมา
กาหนดความเร็ วเสี ยงในน้ าทะเล = 1500 เมตร / วินาที
1. 0.07 วินาที 2. 0.14 วินาที 3. 0.31 วินาที 4. 0.62 วินาที

6
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
15. ชายคนหนึ่ งตะโกนเสี ยงมีความถี่ 1000 ครั้ง/วินาที ออกไปยังหน้าผาซึ่งอยูห่ า่ งออกไป
300 เมตร ปรากฏว ่าเขาได้ยินเสี ยงสะท้อนกลับหลัง จากตะโกนแล้ว 4 วินาที จงหา
ก) ความเร็ วเสี ยง ข) ความยาวคลื่นเสี ยง
1. ก. 150 เมตร/วินาที , ข. 0.15 เมตร 2. ก. 250 เมตร/วินาที , ข. 0.25 เมตร
3. ก. 450 เมตร/วินาที , ข. 0.45 เมตร 4. ก. 750 เมตร/วินาที , ข. 0.75 เมตร

16. ชายคนหนึ่ งยืนอยูร่ ะหว ่างผา 2 แห่ง แล้วยิงปื นออกไป เขาได้ยินเสี ยงครั้งแรก ครั้งที่สอง
เมือ่ เวลาผ่านไป 1 และ 5 วินาที นับจากเริ่ มยิง จงหาระยะห่างระหวา่ งหน้ า ผาทั้ง สอง ถ้า
ความเร็ วเสี ยงในอากาศเป็ น 340 เมตร/วินาที
1. 1000 เมตร 2. 1020 เมตร 3. 2000 เมตร 4. 2040 เมตร

17. เรื อลาหนึ่ งจอดนิ่ งอยูใ่ นทะเลใช้เครื่ องโซนาร์ ตรวจพบวัตถุที่ทิ้งจากเรื อ ลงไปในน้ า โดยได้
รับสัญญาณสะท้อนกลับจากวัตถุน้ นั ในเวลา 0.4 วินาที ในเวลา 30 วินาที ต่อมาสัญญาณ
จะสะท้อนกลับจากวัตถุเดิ มในเวลา 0.6 วินาที วัตถุ
นั้นจมน้ าด้วยความเร็ วเท่าใด
( อัตราเร็ วของเสี ยงในน้ าทะเล = 1531 เมตร/วินาที )
1. 5.1 เมตร/วินาที 2. 10.2 เมตร/วินาที
3. 15.3 เมตร/วินาที 4. 25.5 เมตร/วินาที

7
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
18. ปล่อยก้อนหิ นลงไปในบ่อลึก 20 เมตร พบวา่ อี ก 2.06 วิน าที ต่อ มาได้ยิ น เสี ย งก้อ นหิ น
กระทบก้นบ่อ อัตราเร็ วของเสี ยงที่ได้จากข้อ มูลนี้ เป็ น เท่าใด
1. 333 เมตร/วินาที 2. 340 เมตร/วินาที
3. 347 เมตร/วินาที 4. 352 เมตร/วินาที

19(แนว มช) บ่ายวันหนึ่ งชายคนหนึ่ งเปล่งเสี ยงไปยังหน้าผาแห่งหนึ่ ง ปรากฏว ่าได้ยิ น เสี ย งของ
ตัวเองสะท้อนกลับมาหลังจากเปล่งเสี ยงไปแล้ว 8 วินาที ต่อมาชายคนนี้ เดิ น เข้า หาหน้ า ผา
เป็ นระยะทาง 30 เมตร แล้วเปล่งเสี ยงอีก ปรากฏว ่าได้ยิ น เสี ย งสะท้อ นกลับมาหลัง จาก
เปล่งเสี ยงไปแล้ว 5 วินาที อยากทราบว ่าจุดแรกที่ชายคนนี้ ยืนอยูห่ า่ งจากหน้าผากีเ่ มตร
1. 80.0 2. 85.8 3. 30.0 4. 27.0

20(แนว En) เรื อลาหนึ่ งวิง่ เข้าหาหน้าผาเรี ยบด้วยความเร็ ว 5 เมตรต่อ วิน าที เมื่อ เปิ ดหวูดขึ้ น
คนในเรื อได้ยินเสี ยงหวูดสะท้อนจากหน้าผาในเวลา 2.0 วินาที ถ้าขณะนั้ น ความเร็ วเสี ย ง
ในอากาศเป็ น 330 เมตรต่อวินาที ขณะเปิ ดหวูดเรื อห่างจากหน้าผาเป็ นระยะเท่าใด
1. 335 เมตร 2. 345 เมตร 3. 355 เมตร 4. 365 เมตร

8
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
21. บอลลูนลูกหนึ่ งเคลื่อนที่ข้ นึ ในแนวดิ่งด้วยอัตราเร็ วคงที่ ขณะที่อยูส่ ู งจากพื้นดิน 660 เมตร
ส่งคลื่นเสี ยงลงไป และได้รับสัญญาณเสี ยงสะท้อนกลับเมือ่ เวลาผ่านไป 4 วินาที ขณะนั้น
อัตราเร็ วเสี ยงเท่ากับ 350 เมตร/วินาที จงหาอัตราเร็ วของบอลลูนเป็ นกีเ่ มตร/วินาที
1. 5 2. 10 3. 15 4. 20

22. ชายคนหนึ่ งอยูห่ น้ากาแพงตะโกนเสี ยงเข้าหากาแพง ถ้าเขาต้องการให้เกิดเสี ยงก้องเขาต้อง


อยูห่ า่ งจากกาแพงอย่างน้อยกีเ่ มตร ( ให้ เสี ยงมีอตั ราเร็ วในอากาศ 340 เมตร/วินาที )
1. 14 2. 15 3. 17 4. 19

10.3.2 การหักเหของเสี ยง
เมือ่ คลื่นเสี ยงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ งไปยัง อี ก ตัวกลางหนึ่ ง ซึ่ ง มีความหนาแน่น ไม ่
เท่ากัน จะทาให้อตั ราเร็ ว ( v ) แอมพลิจูด (A) และความยาวคลื่น ( ) เปลี่ ย นไป แต่ความถี่ ( f )
จะคงเดิม ในกรณีที่คลื่นเสี ย งตกกระทบตกกระทบเอี ย งทามุมกับแนวรอยต่อ ตัวกลาง คลื่ น
เสี ยงที่ทะลุลงไปในตัวกลางที่ 2 จะไม ่ทะลุลงไปในแนวเส้ น ตรงเดิ ม แต่จะมีก ารเบี่ ย งเบนไป
จากแนวเดิมเล็กน้อยดังรู ป ปรากฏการณ์เชน่ นี้ เรี ยกว ่าเกิดการหักเหของคลื่ น เสี ยง
กรณีคลื่นตกตั้งฉากรอยต่อ
รังสีตกกระทบ เส้นปกติ กรณี คลื่นตกไม่ ต้งั ฉากกับรอย
ตัวกลาง คลื่นจะไม่เปลี่ยน ต่อตัวกลาง คลื่นจะเบี่ย งเบน
ทิศทางการเคลื่อนที่ ตัวกลางที่ 1 มุมตก แนวการเคลื่อนที่
v1 , 1 , A1 v1 , 1 , A1 1
รอยต่อตัวกลาง
v2 , 2 , A2 ตัวกลางที่ 2 v ,  , A 2
2 2 2 มุมหักเห
รังสีหักเห
v,  , A เปลี่ยน แต่ f คงที่
9
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
จากกฎของสเนลจะได้ว ่า
sin 1 v1 1 T1
sin 2 = v2 = 2
= T2 = n21
เมือ่ 1 และ 2 คือมุมในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามลาดับ
v1 และ v2 คือความเร็ วคลื่นในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามลาดับ
1 และ 2 คือความยาวคลื่นในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามลาดับ
T1 และ T2 คืออุณหภูมิ (เคลวิน) ในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามลาดับ
n21 คือดัชนี หักเหของตัวกลางที่ 2 เทียบกับตัวกลางที่ 1
23. เสี ยงระเบิดใต้น้ า หักเหขึ้นสู อ่ ากาศโดยมีมุมตกกระทบ 30o จงหามุมหั ก เหที่ อ อกสู ่อ ากาศ
ถ้าอัตราเร็ วเสี ยงในอากาศและในน้ าเป็ น 350 และ 1400 เมตร/วินาที ตามลาดับ
1. sin–1 0.125 2. sin–1 0.131 3. sin–1 0.152 4. sin–1 0.175

24. อากาศบริ เวณ x ที่อุณหภูมิ 27oC บริ เวณ y มีอุณหภูมิ 21oC เมือ่ เสี ยงผ่านจาก x ไป y
ก. ดัชนี หักเหของตัวกลาง y เมือ่ เทียบกับตัวกลาง x เป็ นเท่าใด
ข. ถ้าในตัวกลาง y เสี ยงมีอตั ราเร็ ว 342 เมตร/วินาที ในตัวกลาง x เสี ยงจะมี
อัตราเร็ วเท่าใด
1. ก. 1.01 , ข. 345.40 เมตร/วินาที 2. ก. 2.04 , ข. 356.20 เมตร/วินาที
3. ก. 2.56 , ข. 420.36 เมตร/วินาที 4. ก. 3.02 , ข. 526.89 เมตร/วินาที

10
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
25. เสี ยงเคลื่อนที่จากบริ เวณที่มีอุณหภู มิ 27oC ไปสู บ่ ริ เวณที่มอี ุณหภู มเิ ท่ากับกีอ่ งศาเซลเซี ยส
จึงทาให้ความยาวคลื่นเป็ น 23 เท่าของความยาวคลื่นเดิ ม
1. 400 2. 402 3. 408 4. 420

26. คลื่นเสี ยงอันหนึ่ งในอากาศวิง่ จากบริ เวณที่มีอุณหภู มสิ ู ง T1 เข้าสู บ่ ริ เวณที่มอี ุณหภูมติ ่า กวา่
คือ T2 โดยมีมมุ ตกกระทบเท่า กับ 1 และมุมหักเหเท่ากับ 2 จงหาค่าของอัตราส่วน
ระหว ่าง sin 1 กับ sin 2 กาหนด T1 = 1.0201 T2 ( เคลวิน )
1. 1.01 2. 1.04 3. 2.02 4. 2.08

27. เมือ่ เสี ยงผ่านตัวกลาง A ไปยังตัวกลาง B อัตราส่วน sin มุมตกกับมุมหั กเหเป็ น 0.98
ถ้าอุณหภูมอิ ากาศในตัวกลาง B เป็ น 18oC จงหาอุณหภูมอิ ากาศในตัวกลาง A
1. 4.5oC 2. 6.5oC 3. 8.5oC 4. 10.5oC

11
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
28(แนว มช) บางครั้งเกิดฟ้ าแลบโดยไม ่ได้ยินเสี ยงเพราะ
1. ไม ่มีเสี ยงเกิดขึ้น 2. เสี ยงเลี้ยวเบนหมด
3. เสี ยงหักเหหมด 4. เสี ยงสะท้อนหมด

10.3.3 การเลี้ ยวเบนของเสี ยง


เมือ่ คลื่นเสี ยงลอดผ่านชอ่ งแคบไป คลื่นส่วนที่ลอดไป
หลังชอ่ งแคบจะสร้างคลื่นลูกใหม ่หลังชอ่ งแคบนั้น และคลื่น
ที่เกิดใหม ่จะสามารถเลี้ยวกระจายออกไปทั้งด้านซ้ายและขวา
ของแนวคลื่นที่ลอดไปนั้น ปรากฏการณ์น้ ี จึงเรี ยกเป็ นการ
เลี้ยวเบนได้ของคลื่นเสี ยง
การเลี้ยวเบนจะเกิดได้ดี เมือ่ ชอ่ งแคบมีขนาดเล็กกว ่าความยาวคลื่น หรื อความยาวคลื่น
ต้องใหญ่กว ่าชอ่ งแคบ นั่นเอง
29. ถ้าอัตราเร็ วของเสี ยงในอากาศขณะหนึ่ งเท่ากับ 340 เมตร/วินาที เสี ย งแตรรถยนต์ มีความถี่
170 เฮิรตซ์ ก ่อนที่รถยนต์จะออกจากซอยคนขับรถบีบแตรรถยนต์ เ พื่ อ ให้ สั ญ ญาณทาให้ คน
ซึ่งยืนอยูบ่ นทางเท้า ณ มุมตึกปากซอยได้ยินเสี ยงสัญญาณแตรได้ช ัดเจน จงประมาณขนาด
ความกว้างของซอยมีคา่ กีเ่ มตร
1. 0.5 2. 1.0 3. 1.5 4. 2.0

12
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
30. คลื่นเสี ยงหนึ่ งผ่านเข้าทางชอ่ งหน้าต่างกว้าง 0.8 เมตร และสู ง 1.2 เมตร ในแนวตั้งฉาก ผู ้
ฟั งที่อยูข่ า้ งหน้าต่างจะได้ยินเสี ยงชัดเจน ถ้าขณะนั้นอุณหภูมขิ องอากาศ 38oC จงหาความถี่
ของเสี ยงนี้ ในหน่วย เฮิรตซ์ ( กาหนดให้เกิดการเลี้ยวเบนในแนวราบ )
1. 400.50 เฮิรตซ์ 2. 420.25 เฮิรตซ์ 3. 442.25 เฮิรตซ์ 4. 450.55 เฮิรตซ์

31(แนว En) ในชีวติ ประจาวันเรามักเห็ นแสงเดินทางเป็ นเส้นตรง แต่พ บวา่ เสี ย งเดิ น ทางเป็ น
เส้นโค้งอ้อมมุมตึกได้ เพราะว ่า
1. เสี ยงเป็ นคลื่นกล แต่แสงเป็ นคลื่นแม ่เหล็กไฟฟ้ า
2. เสี ยงเป็ นคลื่นตามยาว แต่แสงเป็ นคลื่นตามขวาง
3. ความเร็ วของเสี ยงในอากาศน้อยกว ่าของแสงมาก
4. ความยาวคลื่นของเสี ยงมีขนาดพอๆ กับ ขนาดวัตถุ ขณะที่ความยาวคลื่นของแสง
สั้นกว ่ามาก ๆ

12.3.4 การแทรกสอดของเสี ยง
หากเราวางแหล่งกาเนิ ดเสี ยง 2 แนวปฏิบัพ แนวปฏิบัพ แนวปฏิบัพ
A3 A2 บัพN A1 บัNพ A0 บัพ A1 บัพ A2 A3
แหล่ง ( S1 , S2 ) ห่างกันขนาดหนึ่ งแล้ว N3 2 1 N1 N2

ส่ง คลื่นเสี ยง ที่มลี กั ษณะเหมือนกันทุก


ประการ ( คลื่นอาพันธ์ ) ออกมาพร้อม
กัน คลื่นเสี ยงทั้งสองนั้นจะเข้ามาแทรก
สอดกันโดยจะมีแนวบางแนวคลื่นเสี ยง *S1 *S2
ทั้งสองจะเข้ามาเสริ มกันทาให้มเี สี ยงดัง มากกว ่าปกติ เรี ยกแนวนี้ ว ่าแนวปฏิบัพ (Antinode , A)

13
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
ซึ่งจะมีอยูห่ ลายแนวกระจายออกไปทั้งทางด้านซ้ายและด้านขวาอย่า งสมมาตรกัน แนวปฏิ บัพ ที่
อยูต่ รงกลางเราจะเรี ยกเป็ นปฏิบพั ที่ 0 ( A0) ถัดออกไปจะเรี ยกแนวปฏิ บัพ ที่ 1 ( A1) , 2 ( A2) ,
3 ( A3) , .... ไปเรื่ อยๆ ทัง้ ทางด้านซ้ายและด้านขวาดังรู ป
ระหว ่างกลางแนวปฏิบพั คลื่นเสี ยงทั้งสองจะเกิดการหักล้างกันทาให้เสี ยงเบากว ่าปกติ
เรี ยกแนวนี้ ว ่าเป็ น แนวบัพ ( Node , N ) แนวบัพแรกที่อยูถ่ ดั จากแนวปฏิบพั กลาง ( A0 ) จะเรี ยก
แนวบัพที่ 1 ( N1) ถัดออกไปจะเรี ยกแนวบัพที่ 2 ( N2) , 3 (N3) , ….. ไปเรื่ อยๆ ทั้งทางด้าน
ซ้ายและด้านขวาดังรู ป
n=0 n=1 n=2
สู ตรทีใ่ ช้ คานวณเกี่ยวกับการแทรกสอดคลื่ น A 0 A1
A2 A1 A2
A3
สาหรับแนวปฎิบัพล าดับที่ n (An) P
S1P – S2P = n 
d sin  = n 
เมือ่ P คือจุดซึ่งอยูบ่ นแนวปฎิบพั ลาดับที่ n ( An ) x x
S1 S2
S1 คือจุดเกิดคลื่นลูกที่ 1
S2 คือจุดเกิดคลื่นลูกที่ 2 n=3 n=2 n=1
A0
A2 A1
S1P คือระยะจาก S1 ถึง P A3
S2P คือระยะจาก S2 ถึง P 

 คือความยาวคลื่น

n คือลาดับที่ของปฎิบพั นั้น
x x
d คือระยะห่างจาก S1 ถึง S2 S1 S2
 คือมุมที่วดั จาก A0 ถึง An d
สาหรับแนวบัพล าดับที่ n (Nn)
S1P – S2P= n – 12  
d sin = n – 12  
เมือ่ P คือจุดซึ่งอยูบ่ นแนวบัพลาดับที่ n ( Nn )
S1P คือระยะจาก S1 ถึง P S2P คือระยะจาก S2 ถึง P
 คือความยาวคลื่น n คือลาดับที่ของบัพนั้น
d คือระยะห่างจาก S1 ถึง S2  คือมุมที่วดั จาก A0 ถึง Nn

14
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
32. คลื่นชนิ ดหนึ่ ง เมือ่ เกิดการแทรกสอด จะเกิดแนวดังรู ป
ก. คลื่นนี้ มคี วามยาวคลื่นเท่าใด
A0
ข. ถ้าคลื่นนี้ มคี วามถี่ 50 เฮิรตซ์ จะมีความเร็ วเท่าใด A1
1. ก. 2.0 เมตร , ข. 100 เมตร/วินาที
A2
2. ก. 3.5 เมตร , ข. 125 เมตร/วินาที P
5 เมตร
3. ก. 4.0 เมตร , ข. 150 เมตร/วินาที 1 เมตร
4. ก. 5.0 เมตร , ข. 250 เมตร/วินาที S1 S2

33. คลื่นชนิ ดหนึ่ งเมือ่ เกิดการแทรกสอดแนวปฏิ บพั ที่ 2 เอียงทามุมจากแนวกลาง 30o หาก
แหล่งกาเนิ ดคลื่นทัง้ สองอยูห่ า่ งกัน 4 เมตร
ก. ความยาวคลื่นนี้ มคี า่ เท่าใด
ข. หากคลื่นนี้ มคี วามเร็ ว 300 เมตร/วินาที จะมีความถี่เท่าใด
1. ก. 1 เมตร , ข. 150 เฮิรตซ์ 2. ก. 1 เมตร , ข. 300 เฮิรตซ์
3. ก. 2 เมตร , ข. 350 เฮิรตซ์ 4. ก. 5 เมตร , ข. 400 เฮิรตซ์

34. จากรู ปเป็ นภาพการแทรกสอดของคลื่นผิวน้ า จาก ปฏิบพั


แหล่งกาเนิ ดอาพันธ์ S1 และ S2 โดยมี P เป็ นจุด บัพ
ใดๆ บนแนวเส้นบัพ S1P = 12 เซนติเมตร P
S2P = 2 เซนติเมตร ถ้าอัตราเร็ วของคลื่นทั้งสอง
เท่ากับ 50 เซนติเมตรต่อวินาที แหล่งกาเนิ ด
คลื่นทัง้ สองมีความถี่ กเี่ ฮิรตซ์ S1 S2
1. 4.50 2. 5.50 3. 6.50 4. 7.50
15
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
35. A และ B เป็ นลาโพง 2 ตัววางห่างกัน 2 เมตรในที่โล่ง P เป็ นผูฟ้ ั งห่างจาก A 4 เมตร
ห่างจาก B 3 เมตร เสี ยงความถี่ต่าสุ ดที่ คลื่นหัก ล้างกันทาให้ไ ด้ยินเสี ยงเบาที่สุ ดเป็ นเท่าไร
( กาหนดความเร็ วเสี ยง = 340 เมตร/วินาที )
1. 270 เฮิรตซ์ 2. 230 เฮิรตซ์ 3. 190 เฮิรตซ์ 4. 170 เฮิรตซ์

36. ลาโพงสองตัวหันไปทางเดียวกัน ให้คลื่นความถี่ 680 เฮิ ร ตซ์ และเฟสตรงกัน A เป็ นจุ ดๆ


หนึ่ งอยูห่ น้าลาโพงทัง้ สอง ห่างจากลาโพงเป็ นระยะ 10 เมตร และ 13 เมตร ถ้า อัตราเร็ ว
เสี ยงในอากาศเท่ากับ 340 เมตร/วินาที แล้วจุด P อยูบ่ นแนวบัพหรื อปฏิบพั ที่เท่าใด
1. ปฏิบพั ที่ 5 2. บัพที่ 5 3. ปฏิบพั ที่ 6 4. บัพที่ 6

37. S1 และ S2 เป็ นลาโพง 2 ตัว ให้เสี ยงที่มเี ฟสเดียวกันความถี่ S1 2m S2


เท่ากัน จุด A และจุด B เป็ นจุดที่มเี สี ยงเบาที่สุดระหว ่าง A
และ B มีความเข้มเสี ยงมากที่สุ ดเพียงจุดเดียว จงหาความถี่ของ x
ลาโพงทั้งสอง ถ้า X มีคา่ 5 เมตร ให้อตั ราเร็ วเสี ยง 330
เมตร/วินาที และ S1 , S2 อยูห่ า่ งกัน 2 เมตร A B

1. 400.50 Hz 2. 412.50 Hz 3. 500.50 Hz 4. 512.50 Hz

16
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
38. S1 และ S2 เป็ นแหล่งกาเนิ ดอาพันธ์ ที่ให้คลื่นเฟส S1
ตรงกันมีความถี่ 20 เฮิรตซ์ วางอยูห่ า่ งกัน 40 A
เซนติเมตร จุด A และจุด B เป็ นตาแหน่งปฏิบพั
40 cm
และระหว ่างจุด A และ B จะมีตาแหน่งปฏิบพั
อีก 7 ตาแหน่ง จงหาค่าความเร็ วของคลื่น ที่สง่ ออก
B
มาในหน่วยเมตร/วินาที S2
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4 30 cm

39. S1 และ S2 เป็ นลาโพง 2 ตัว อยูห่ า่ งกัน 6 เมตร P


ชายผูห้ นึ่ งอยูท่ ี่จุด P ได้ยินเสี ยงชัดเจนถามว ่าในขณะ S1 54 m
30 m
ที่เขาเดินจากจุด P ไป Q เขาจะรู ้สึกว ่าเสี ยงหายไปกี่

ครั้ง กาหนดความถี่จากลาโพงทั้งสองมีคา่ เท่า กัน คือ Q
510 เฮิรตซ์ และมีเฟสตรงกันความเร็ วเสี ยงในอากาศ S
2
340 เมตร/วินาที
1. 2 ครั้ง 2. 3 ครั้ง 3. 4 ครั้ง 4. 5 ครั้ง

17
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
40. อัตราเร็ วเสี ยงในอากาศ 350 เมตร-
ต่อวินาที ขณะทาการทดลองการ ดัง
แทรกสอดของเสี ยง เมือ่ รับฟั งเสี ยง 0.7 m
ทางด้านหน้าลาโพง ที่ตาแหน่งต่าง ๆ 0.5 m 
ดัง
กัน ในแนวขนานที่หา่ งจากลาโพง 0.7 m
ประมาณ 2 เมตร โดยหยุดฟั งทีละ 2m ดัง
ตาแหน่ง ผลจากการได้ยินเสี ยงดัง
เป็ นไปตามรู ป แสดงว ่าความถี่ของเสี ยงโดยประมาณจากลาโพง คือ ( หน่วยเฮิรตซ์ )
1. 1121 2. 1750 3. 2121 4. 3352

41(แนว En) จากรู ปเป็ นท่อซึ่งตรงกลางมีทางแยกเป็ นส่วนโค้ง รู ปครึ่ งวงกลมรั ศ มี r เท่า กับ
14 เซนติเมตร ถ้าอัตราเร็ วของเสี ยงในท่อเท่ากับ 320 เมตรต่อ วิน าที ให้ คลื่ น เสี ย งเข้า ไป
ในท่อทางด้าน S ความถี่ของเสี ยงที่ทาให้ผฟู ้ ั งที่ปลายด้าน D ได้ยินเสี ยงค่อยที่สุดมีคา่ เท่าใด
1. 285 เฮิรตซ์
2. 575 เฮิรตซ์
S r D
3. 700 เฮิรตซ์
4. 1000 เฮิรตซ์

18
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
42. แหล่งกาเนิ ดเสี ยงอยูห่ า่ งจากกาแพง 1.50 เมตร ผู ้สั ง เกตยื น ห่า งจากก าแพงออกไป 5.00
เมตร ในแนวเดียวกับแหล่งกาเนิ ดสามารถรั บฟั ง เสี ย งได้ ทั้ง ที่ อ อกจากแหล่ง ก าเนิ ด โดย
ตรงและจากการสะท้อนที่กาแพง ถ้าขณะนั้นความเร็ วเสี ยงในอากาศมีคา่ 360 เมตร/วิน าที
ความถี่ต่าสุ ดทาให้ผสู ้ ังเกตได้ยินเสี ยงค่อ ยที่ สุดมีคา่ กีเ่ ฮิรตซ์
1. 50 2. 54 3. 58 4. 60

10.4 ความเข้ มเสี ยง


10.4.1 ความเข้ มเสี ยง
ความเข้มเสี ยง ( I ) คือกาลังเสี ยงที่แหล่งกาเนิ ดเสี ยงส่งออกไปต่อหนึ่ งหน่วยพื้นที่
เขียนเป็ นสมการจะได้
I = P
A
เมือ่ I คือความเข้มเสี ยง ( วัตต์/ตารางเมตร )
P คือกาลังเสี ยง ( วัตต์ )
A คือพื้นที่ ( ตารางเมตร )
ปกติแล้วนั้น เสี ยงที่ออกมาจากจุดกาเนิ ดจะมีลกั ษณะแผ่อ อกเป็ น ทรงกลมคล้ายลู กบอล
กว้างออกไปเรื่ อย ๆ ดังรู ป
และเนื่ องจากพื้นที่ผิวทรงกลมจะหาค่า ได้จากสมการ
A = 4  R2
ดังนั้นสมการหาความเข้มเสี ยงจึงสามารถเปลี่ ยนเป็ น
I = P2
4R
เมือ่ I คือความเข้มเสี ยง ( วัตต์/ตารางเมตร )
P คือกาลังเสี ยง ( วัตต์ )
R คือระยะห่างจากจุดกาเนิ ดเสี ยงถึงผูฟ้ ั ง ( รัศมีวงกลม ) ( เมตร )
19
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
โปรดทราบ
 ความเข้มเสี ยงสู ง สุ ดที่หูคนเราทนฟั งได้มคี า่ เท่ากับ 1 วัตต์/ตารางเมตร
 ความเข้มเสี ยงต่าสุ ดที่หูคนเรายังคงได้ยิน (Io) มีคา่ เท่ากับ 10–12 วัตต์/ตารางเมตร
 ความเข้มสัมพัทธ์ คืออัตราส่วนของความเข้มเสี ยงที่จุดใดๆ หารด้วย Io
ดังนั้น ความเข้ มสั มพัทธ์ = I
I
o
43. หวูดรถไฟมีกาลังเสี ยง 20 วัตต์ จงหาความเข้มเสี ยงที่จุดห่างจากหวูด 150 เมตร ในหน่วย
วัตต์/ตารางเมตร
1. 3.02 x 10–5 2. 5.12 x 10–5 3. 7.07 x 10–5 4. 9.01 x 10–5

44. แหล่งกาเนิ ดเสี ยงกาลัง 220 วัตต์ กระจายเสี ยงออกโดยรอบอย่างสมา่ เสมอ จงหาความ
เข้มของเสี ยงที่จุดซึ่งห่างจากแหล่งกาเนิ ดเสี ยง 100 เมตร ถ้าการแพร่ของคลื่นเสี ยงในชว่ ง
100 เมตร พลังงานเสี ยงถูกดูดกลืนไป 10%
1. 7.9 x 10–4 วัตต์/ตารางเมตร 2. 9.0 x 10–4 วัตต์/ตารางเมตร
3. 15.8 x 10–4 วัตต์/ตารางเมตร 4. 18.0 x 10–4 วัตต์/ตารางเมตร

45. แหล่งกาเนิ ดเสี ยงที่ให้กาลังเสี ยง  x 10–10 วัตต์ ผู ้ฟั ง อยู ไ่ กลจากแหล่ง ก าเนิ ดเสี ย งมาก
ที่สุดกีเ่ มตรจึงจะยังคงได้ยินเสี ยง ( ความเข้มเสี ยงต่าสุ ดที่ ได้ยิน = 10–12 วัตต์/ตารางเมตร )
1. 2 2. 5 3. 7 4. 12

20
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
46(แนว มช) สมมติยุงตัวหนึ่ งๆ โดยเฉลี่ยแล้วเวลาบิ น ทาให้ เ กิดเสี ย งหึ่ งๆ มีก าลัง 3.14 x 10–14
วัตต์ ขณะที่ยุงบินจากระยะไกลเข้าหาเด็กคนหนึ่ ง เด็กคนนี้ จะเริ่ มได้ยิ น เสี ย งยุ ง เมื่อ ยุ ง อยู ท่ ี่
ระยะห่าง จากเขากีเ่ ซนติเมตร ถ้าเสี ยงเบาที่สุดที่เขาสามารถได้ยิ น มีความเข้ม 10–12 วัตต์ / -
ตารางเมตร
1. 5 2. 10 3. 25 4. 40

47(แนว En) แมลงตัวหนึ่ งบินหนี ในแนวเส้นตรงด้ว ยความเร็ ว 0.1 เมตรต่อ วิน าที จากคนๆ
หนึ่ งซึ่งยืนนิ่ งในที่โล่ง อยากทราบว ่าคนนั้นจะได้ยินเสี ยงการบิ น ของแมลงนั้ น อยู ไ่ ด้น านกี่
วินาที ถ้ากาหนดอัตราที่พลังงานเสี ยงที่แมลงนั้นส่งออกมาขณะบิ น มีคา่ เท่า กับ 4 x 10–12
วัตต์ กาหนดให้เสี ยงที่เบาที่สุดที่มนุ ษย์ไ ด้ยินได้มคี วามเข้ม 10–12 วัตต์ตอ่ ตารางเมตร
1. 10 2. 15 3. 20 4. 25

48(แนว En) ในการทดลองเรื่ องความเข้มของเสี ยงวัดความเข้มของเสี ยงที่ตาแหน่งที่ อยูห่ า่ ง ไ ป


5 เมตร จากลาโพงได้ 1.2x10–2 วัตต์ตอ่ ตารางเมตร ความเข้มเสี ยงที่ตาแหน่ง 10 เมตร
จากลาโพงจะเป็ นเท่าใด
1. 1 x 10–3 วัตต์ตอ่ ตารางเมตร 2. 2 x 10–3 วัตต์ตอ่ ตารางเมตร
3. 3 x 10–3 วัตต์ตอ่ ตารางเมตร 4. 4 x 10–3 วัตต์ตอ่ ตารางเมตร

21
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
49(แนว มช) ชายคนหนึ่ งอยูห่ า่ งจากแหล่งกาเนิ ดเสี ยงอันหนึ่ งได้ยินเสี ยงมีความเข้ม 10–8 วัตต์ / -
ตารางเมตร เขาออกเดินห่างออกมาอีก จนได้ยิ น เสี ย งมีความเข้ม 10–12 วัตต์ / ตารางเมตร
จึงหยุด อยากทราบว ่าเขาจะอยูห่ า่ งจากแหล่งกาเนิ ดเสี ยงเป็ นกีเ่ ท่าของระยะเดิ ม
1. 10 2. 100 3. 1000 4. 10000

50. นาย ก. เห็ นพลุแตกกลางอากาศเหนื อศีรษะเขาขึ้นไป 40 เมตร ขณะเดียวกัน นาย ข. ซึ่งอยู ่


ห่างจากนาย ก. ตามแนวราบเป็ นระยะ 30 เมตร ก็เห็ นพลุแตกเช น่ เดี ย วกัน ความเข้มของ
เสี ยงที่นาย ก. ได้รับจะเป็ นกีเ่ ท่าของที่นาย ข. ได้รับ
1. 1625 2. 45 3. 45 25
4. 16

10.4.2 ระดับความเข้ มเสี ยง


เนื่ องจากค่าความเข้มเสี ยง ( I ) ปกติจะมีคา่ น้อยมาก เราจึงนิ ยมเปลี่ยนให้อยูใ่ นรู ปที่ดูงา่ ย
ขึ้นคือรู ปของระดับความเข้มเสี ยง (  ) วิธีการเปลี่ยนจะใช้สมการ
 = 10 log I
10  12
เมือ่  คือระดับความเข้มเสี ยง ( เดซิเบล , dB )
I คือความเข้มเสี ยง ( วัตต์/ตารางเมตร )
หมายเหตุ 1. log 10 = 1
2. log Mx = x log M เชน่ log 105 = 5 log 10 = 5 ( 1 ) = 5
3. log x = log y ก็ตอ่ เมือ่ x = y
22
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
51. จงหาระดับความเข้มเสี ยง ณ จุดซึ่งมีคา่ ความเข้มเสี ยง 1 x 10–7 วัตต์ /ตารางเมตร
1. 30 เดซิเบล 2. 40 เดซิเบล 3. 50 เดซิเบล 4. 70 เดซิเบล

52. หากความเข้มเสี ยงสู งสุ ดที่หูคนเราจะทนฟั งได้มคี า่ 1 วัตต์ /ตารางเมตร จงหาระดับความ


เข้มเสี ยงสู งสุ ดที่หูคนเราจะทนฟั งได้มีคา่ กีเ่ ดซิเบล
1. 100 2. 120 3. 150 4. 170

53. จงหาระดับความเข้มเสี ย งเมื่อ ผู ้ฟั ง อยู ห่ ่า งจากวิทยุ 1 เมตร เมื่อ ก าลัง เสี ย งของวิทยุ
เท่ากับ 4 x 10–3 วัตต์
1. 50 เดซิเบล 2. 70 เดซิเบล 3. 90 เดซิเบล 4. 120 เดซิเบล

54(แนว มช) เสี ยงที่มรี ะดับความเข้มเสี ยง 80 เดซิเบล จะมีความเข้มเสี ย งในหน่วยวัตต์ / ตาราง–


เมตรเท่าใด
1. 10–2 2. 10–4 3. 10–6 4. 10–8

23
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
55(แนว มช) วางเครื่ องวัดระดับเข้มเสี ยงห่างจากล าโพง 10 เมตร พบว ่าระดับความเข้มเสี ยง
เท่ากับ 100 เดซิเบล กาลังเสี ยงจะเท่ากับกีว่ ตั ต์
1. 12.5 x 104 2. 12.6 3. 3.14 4. 10–2

56. แหล่งกาเนิ ดให้เสี ยงมีระดับความเข้มเสี ยง 90 เดซิเบล ผ่านหน้าต่างซึ่งมีพื้นที่ 1.5 ตาราง


เมตร จงหาว ่ากาลังของแหล่งกาเนิ ดเสี ยงมีคา่ เท่า กับกีว่ ตั ต์
1. 0.50 x 10–3 2. 0.75 x 10–3 3. 1.00 x 10–3 4. 1.50 x 10–3

สู ตรเพิ่มเติมเกี่ยวกับระดับความเข้ มเสี ยง
I2 P2 R12
 2 –  1 = 10 log I และ  2 –  1 = 10 log
1 P1 R22
เมือ่  1 ,  2 คือระดับความเข้มเสี ยงตอนแรก และ ตอนหลัง ( เดซิเบล )
I1 , I2 คือความเข้มเสี ยงตอนแรก และ ตอนหลัง ( วัตต์/ตารางเมตร )
P1 , P2 คือกาลังเสี ยงตอนแรก และ ตอนหลัง ( วัตต์ )
R1 , R2 คือระยะห่างตอนแรก และ ตอนหลัง ( เมตร )
57(แนว มช) ลาโพง 1 ตัว ให้เสี ยงที่ระดับความเข้มของเสี ยง 60 เดซิ เ บล ถ้า ใช้ล าโพงชนิ ด
เดียวกัน 10 ตัว จะให้ระดับความเข้มของเสี ยงกีเ่ ดซิเบล
1. 600 2. 100 3. 70 4. 60

24
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
58(แนว มช) ยุงตัวหนึ่ งเมือ่ บินมาที่ประตูห้องซึ่งอยูห่ า่ งจากนาย ก. 20 เมตร พบว ่าทาให้ระดับ
ความดังมาถึงหู นาย ก. มีขนาด 20 เดซิเบล ถ้ายุง 100000 ตัว ระดับความดังที่มาถึงหู นาย ก.
จะมีขนาดกีเ่ ดซิเบล
1. 600 2. 100 3. 70 4. 60

59(แนว มช) เมือ่ อยูห่ า่ งจากแหล่งกาเนิ ดเสี ยงเป็ นระยะ 5 เมตร วัดระดับความเข้มเสี ยงได้ 50 dB
ถ้าที่ระยะห่างจากแหล่งกาเนิ ดเสี ยง 50 เมตร ระดับความเข้มเสี ยงจะมีคา่ กีเ่ ดซิเบล
1. 20 2. 30 3. 100 4. 150

60. แหล่งเสี ยง A และ B ที่เป็ นจุดมีกาลังเสี ยง 10 และ 40 วัตต์ ตามลาดับ เอาแหล่งเสี ยง


มาทดลองวัดระดับความเข้มเสี ยงทีละแหล่ง ระดับความเข้มเสี ยงที่ ระยะห่างจาก B 2 เมตร
ต่างจากระดับความเข้มเสี ยงที่ ระยะห่าง A 1 เมตร เท่ากับกีเ่ ดซิเบล
1. 0 2. 4 3. 10 4. 15

25
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
61(แนว En) ระดับความเข้มเสี ยงในโรงงานแห่งหนึ่ งมีคา่ 80 เดซิเบล คนงานผูห้ นึ่ งใส่เครื่ อง
ครอบหู ซ่ งึ สามารถลดระดับความเข้มลงเหลือ 70 เดซิเบล เครื่ องดังกล่าวลดความเข้ม
เสี ยงลงกีเ่ ปอร์ เซ็นต์
1. 80 % 2. 88 % 3. 90 % 4. 99 %

62. สี ไวโอลิน 1 ตัว วัดระดับความเข้มเสี ยงได้ 60 เดซิเบล ถ้าต้องการให้ได้ระดับความ


เข้มเสี ยง 70 เดซิเบล ณ. ตาแหน่งเดิมต้องสี ไวโอลินพร้อ มกันกี่ตัว
1. 2 2. 10 3. 100 4. 150

63. เมือ่ ต้องการให้ผฟู ้ ั งได้ยินเสี ยงจากเครื่ องขยายเสี ยงเพิม่ ขึ้น 10 เดซิเบล เราจะต้องเพิม่ กาลัง
ของเครื่ องขยายเสี ยงเป็ นกีเ่ ท่าของเดิ ม
1. 2 เท่า 2. 10 เท่า 3. 10 เท่า 4. 100 เท่า

26
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง

10.5 เสี ยงดนตรี


10.5.1 ความดัง เบา และระดับสู งต่าของเสี ยง
ความดังหรื อเบาของเสี ยงขึ้นกับแอมพลิ จูดของคลื่นเสี ยง
ถ้าคลื่นเสี ยงมีแอมพลิจูดสู ง เสี ยงจะดัง
ถ้าคลื่นเสี ยงมีแอมพลิจูด ต่า เสี ยงจะเบา
ระดับความสู งต่า หรื อทุม้ แหลมของเสี ยง
จะขึ้นกับความถี่ของคลื่นเสี ยง
ถ้าคลื่นเสี ยงมีความถี่สูง เสี ยงจะแหลม เรี ยกระดับเสี ยงสู ง
ถ้าคลื่นเสี ยงมีความถี่ต่า เสี ยงจะทุม้ เรี ยกระดับเสี ยงต่า
ชว่ งความถี่ของเสี ยงที่หูคนปกติจะได้ยินคื อชว่ ง 20 – 20000 เฮิรตซ์ เท่านั้น
เสี ยงที่มคี วามถี่ต่ากว ่า 20 เฮิรตซ์ ลงไปเรี ยกคลื่นใต้เสี ยง ( Infrasonic wave )
เสี ยงที่มคี วามถี่สูงกว ่า 20000 เฮิรตซ์ ขึ้นไปเรี ยกคลื่นเหนื อเสี ยง ( Ultrasonic wave )
หู คนปกติจะไม ่ได้ยินเสี ยงพวกนี้
ข้ อควรทราบเกี่ยวกับความถี่เสี ยงของตัวโน้ ตดนตรี
คู่ 8 หรือ 2 คู่ 8 3 คู่ 8 4 คู่ 8
เสียงมูลฐาน เสียงที่ 8 (เสียงที่ 16 ) (เสียงที่ 24 ) (เสียงที่ 32 )
Harmonicที่ 1 Harmonicที่ 2 Harmonicที่ 3 Harmonicที่ 4 Harmonicที่ 5

โด เร มี ฟา ซอล ลา ที โด/ ….. โด// ….. โด/// …….. โด//// …..

ความถี่ 256 Hz 512 Hz 1024 Hz 2048 Hz 4096 Hz


จากโน้ตโด ไปสู โ่ น้ตโด/ จะนับได้ 8 ตัวโน๊ ตพอดี ดังนั้นโน้ ตโด กับ โด / จึ ง เรี ย กเป็ น
คูแ่ ปดซึ่งกันและกัน และสาหรับโน้ต โด// , โด /// , โด //// ถัดๆ ไปจะเรี ย กเป็ น 2 คูแ่ ปด ,
3 คูแ่ ปด และ 4 คูแ่ ปด ตามลาดับ
เมือ่ ตัวโน๊ ตสู งขึ้นไปทุกๆ คูแ่ ปด ความถี่ของคลื่นเสี ยงจะเพิ่มขึ้นเป็ น 2 เท่าตัวเสมอ

27
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
64. สมบัติของเสี ยงข้อใดที่มีผลต่อ ความดังของเสี ยงมากที่ สุด
1. ความยาวคลื่น 2. ความถี่ 3. แอมพลิจูด 4. ความเร็ วคลื่น

65. ปริ มาณใดเป็ นตัวบอกพลังงานเสี ยง


1. ความยาวคลื่น 2. แอมพลิจูด 3. ความถี่ 4. อัตราเร็ ว

66(แนว มช) ความถี่ของคลื่ น เสี ย งที่ ร ะดับความเข้มเสี ย ง 70 เดซิ เ บล ที่ หู ของคนปกติ ไ ม ่


สามารถได้ยิน คือ
1. 30 เฮิรตซ์ 2. 1000 เฮิรตซ์ 3. 10000 เฮิรตซ์ 4. 330000 เฮิรตซ์

67. ถ้าระดับเสี ยงโน้ต ความถี่ 256 เฮิรตซ์ เสี ยงที่ 16 ของระดับเสี ยง C มีคา่ เท่าไร
1. 512 เฮิรตซ์ 2. 1024 เฮิรตซ์ 3. 2048 เฮิรตซ์ 4. 4096 เฮิรตซ์

68. คลื่นเสี ยงที่ความถี่ 1200 เฮิรตซ์ เป็ นเสี ยงสามคูแ่ ปดของเสี ยงที่มีความถี่เท่าไร
1. 600 เฮิรตซ์ 2. 400 เฮิรตซ์ 3. 300 เฮิรตซ์ 4. 150 เฮิรตซ์

10.5.2 คุณภาพเสี ยง
ขณะที่เราฟั งเสี ยงเครื่ องดนตรี หลายชนิ ด เชน่ ขลุย่ เปี ยโน ซึ่งเล่นโน้ตตัวเดียวกันพร้อมๆ
กัน แต่เรายังสามารถแยกออกได้ว ่าเสี ยงใดเป็ นเสี ยงขลุย่ เสี ยงใดเป็ นเสี ยงเปี ยโน ทั้งนี้ เพราะ
เสี ยงทั้งสองจะมีลกั ษณะที่ตา่ งกัน กล่าวคือเสี ยงแต่ละเสี ยงจะมี Higher Hamonic ( เสี ยงตัวโน๊ ต
ชัน้ สู งถัดๆ ไป ) และความเข้มสัมพัทธ์ ของแต่ละ Hamonic ไม ่เท่ากัน จึงทาให้เสี ยงแต่ละ
เสี ยงมีลกั ษณะโดยรวมต่างกันไป ลักษณะของเสี ยงเชน่ นี้ เราเรี ยกคุณภาพเสี ยง
ตัวอย่ างสมมุติ 90% 4% 4% 1% 1%
เสียงเครื่องดนตรีชนิ ดที่ 1 ประกอบด้วย โด โด โด โด โด
เสียงเครื่องดนตรีชนิ ดที่ 2 ประกอบด้วย โด โด โด
95% 3% 2%
28
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
69(แนว En) วงดนตรี ที่ประกอบด้วยเครื่ องดนตรี หลายชนิ ด เมือ่ เล่นพร้อมกันแต่เราสามารถแยก
ได้ว ่าเสี ยงใดเป็ นเสี ยงไวโอลิน เสี ยงใดเป็ นเสี ยงขลุย่ และเสี ยงใดเป็ นเสี ยงเปี ยโน เนื่ องจาก
เสี ยงดนตรี แต่ละชนิ ดมีลกั ษณะเฉพาะตามข้อใดที่ตา่ งกัน
1. ระดับเสี ยง 2. ระดับความเข้มเสี ยง
3. ความถี่เสี ยง 4. คุณภาพเสี ยง

70(แนว มช) คุณภาพเสี ยงอธิ บายได้ดว้ ยคุณ สมบัติของเสี ยงข้อใด


1. ความดังของเสี ยง และระดับความดัง
2. ความถี่ของเสี ยง และความเร็ วของเสี ยง
3. ระดับเสี ยง และความถี่ธรรมชาติ
4. จานวนฮาร์ โมนิ ก และ ความเข้มของเสี ยงของฮาร์ โ มนิ ก

10.6 การบีต และคลื่นนิ่งของเสี ยง


10.6.1 การบีตเสี ยง
เมือ่ มีคลื่นเสี ยง 2 คลื่น ซึ่งมีความถี่ตา่ งกันเล็กน้อยเข้ามาปนกัน คลื่นทั้งสองจะเกิด
การแทรกสอดกันเอง แล้วจะได้คลื่นรวมที่มแี อมพลิจูดสู งต่าสลับกันไป เสี ยงที่เกิดจากคลื่นรวม
จะมีลกั ษณะดังสลับกับเบา ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นนี้ เรี ยกว ่าการบีตของเสี ยง ( beats )

คลื่ นรวม

29
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
จานวนครั้งที่เสี ยงดังใน 1 หน่วยเวลาเรี ยก ความถี่บีต ซึ่งหาค่าจาก
fB =  f1 – f2 
เมือ่ fB คือความถี่บีต (เฮิรตซ์ )
f1 คือความถี่เสี ยงที่ 1 (เฮิรตซ์ )
f2 คือความถี่เสี ยงที่ 2 (เฮิรตซ์ )
และความถี่คลื่นเสี ยงรวมหาจาก
f f
fรวม = 1 2
2
ปกติแล้วหู คนเราจะได้ยินเสี ยงบีตที่ มคี วามถี่ ไ ม ่เกิน 7 เฮิรตซ์
71(แนว En) เมือ่ จะทาการทดลองเกีย่ วกับสมบัติของคลื่นเสี ยงเรื่ องบี ต เราจาเป็ นต้องใช้
1. เครื่ องกาเนิ ดสัญญาณเสี ยง 1 เครื่ อง ลาโพง 1 ตัว
2. เครื่ องกาเนิ ดสัญญาณเสี ยง 1 เครื่ อง ลาโพง 2 ตัว
3. เครื่ องกาเนิ ดสัญญาณเสี ยง 2 เครื่ อง ลาโพง 2 ตัว
4. เครื่ องกาเนิ ดสัญญาณเสี ยง 3 เครื่ อง ลาโพง 3 ตัว

72(แนว มช) ในการปรับเสี ยงเปี ยโนโดยผูป้ รับใช้วธิ ี เคาะส้อ มเสี ยง ความถี่มาตรฐานเทีย บกับ
เสี ยงที่ได้จากการกดคีย์เปี ยโนคี ย์หนึ่ ง ถ้าเสี ยงที่ได้ยินเป็ นลักษณะดังแล้วค่อ ยจางหาย แล้ว
ดังอีกเป็ นจังหวะสลับกันไป เขาก็จะปรับความตึงของลวดเปี ยโนจนกว ่าเสี ยงที่ ได้ยิน จะดัง
เป็ นเสี ยงเดียวต่อเนื่ องกันไป การกระทาอย่างนี้ อาศัยหลักการของปรากฏการณ์ที่เรี ยกว ่า
1. Doppler effect (ปรากฏการณ์ดอปเปเปอร์ ) 2. Resonance (กาทอน)
3. Shock waves (คลื่นกระแทก) 4. Beats

73. นักเรี ยนคนหนึ่ งเล่นไวโอลินความถี่ 507 เฮิรตซ์ และนักดนตรี อีกคนหนึ่ งเล่นกีตาร์ ความถี่
512 เฮิรตซ์ ถ้าทั้งสองคนเล่นพร้อมกัน จะเกิดปรากฏการณ์บีตที่ความถี่ กเี่ ฮิรตซ์
1. 5 2. 10 3. 50 4. 75

30
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
74. ในการปรับเสี ยงของเปี ยโนระดัง เสี ย ง โดยเที ย บกับส้ อ มเสี ย งความถี่ 256.0 เฮิ ร ตซ์
ถ้าได้ยินเสี ยงบีตความถี่ 3.0 ครั้ง/วินาที ความถี่ที่เป็ นไปได้ของเปี ยโนมีคา่ กีเ่ ฮิรตซ์
1. 250 2. 253 3. 356 4. 564

75. ถ้าต้องการให้เกิดเสี ยงดังเป็ นจังหวะห่างกันทุก 0.25 วินาที จะต้อ งเคาะส้ อ มเสี ย งความถี่
450 เฮิรตซ์ พร้อมกับส้อมเสี ยงที่มีความถี่กเี่ ฮิร ตซ์
1. 100 2. 250 3. 378 4. 454

76. คลื่นเสี ยงจากแหล่งกาเนิ ดเสี ยงสองแหล่ง เมื่อ มาซ้อ นทับกัน แล้วเกิด บี ต 5 ครั้ ง ต่อ วิน าที
คลื่นเสี ยงที่ทมุ ้ กว ่ามีความถี่ 438 เฮิรตซ์ คลื่นเสี ยงคลื่นหนึ่ งจะมีความถี่กเี่ ฮิร ตซ์
1. 433 2. 435.5 3. 440.5 4. 443

77. ส้อมเสี ยง 3 อัน มีความถี่เท่ากับ f1 , f2 และ f3 ตามลาดับโดยที่ f1 < f2 < f3 ถ้าเคาะ


ส้อมเสี ยงอันแรกกับอันที่สองพร้อ มกันทาให้เกิด บี ตมีความถี่ 2 เฮิรตซ์ แต่ถา้ เคาะอันที่
สองกับอันที่สามพร้อมกัน จะเกิด บีตมีความถี่ 4 เฮิรตซ์ ถ้าเคาะอันที่หนึ่ งกับอันที่สาม
พร้อมกันจะเกิดบีตความถี่กเี่ ฮิร ตซ์
1. 2 2. 6 3. 9 4. 12

31
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
78. ส้อมเสี ยง 30 อัน วางเรี ยงกันจากความถี่น้อยไปหามาก เมือ่ เคาะส้อมเสี ยงแตะละคูท่ ี่ติดกัน
จะทาให้เกิดบีต 6 เฮิรตซ์ เหมือนกัน ถ้าความถี่ของส้อมเสี ยงอันสุ ดท้ายเป็ นคูแ่ ปดของ
ส้อมเสี ยงอันแรก จงหาว ่าความถี่ของส้อ มเสี ยงอันแรกมีคา่ กีเ่ ฮิร ตซ์
1. 182 2. 174 3. 364 4. 348

79. ส้อมเสี ยงสองอันให้คลื่นเสี ยงมีความยาวคลื่น 2 เมตร และ 2.05 เมตร ตามล าดับ เมื่อ
เคาะส้อมเสี ยงทั้งสองพร้อมกันทาให้เกิด บีต 4 ครั้ง/วินาที จงหาอัตราเร็ วของคลื่นเสี ยง
1. 300 เมตร/วินาที 2. 328 เมตร/วินาที
3. 412 เมตร/วินาที 4. 525 เมตร/วินาที

10.6.2 คลื่ นนิ่งของเสี ยง


คลื่ นนิ่งของเสี ยง เป็ นปรากฏการณ์แทรกสอดของคลื่นเสี ยงที่ ตกกระทบ กับคลื่นเสี ยง
ที่สะท้อนจากตัวกลาง ทาให้เกิดตาแหน่งเสี ยงดังและเสี ยงค่อยสลับกันไป
ตาแหน่งเสี ยงดัง เรี ยกว ่าปฏิบัพ (A) λ
เคลื่อนเข้า 2
ตาแหน่งเสี ยงค่อย เรี ยกว ่าบัพ (N) A A A
N N
ควรทราบ
1) คลื่นนิ่ งจะเกิดได้กต็ อ่ เมือ่ มีคลื่น 2 คลื่น
ซึ่งมีความถี่ ความยาวคลื่น แอมพลิจูด เท่ากัน แต่ เคลื่อนออก λ
4
เคลื่อนที่สวนทางกันเข้ามาแทรกสอดกัน

32
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
2) แนวปฏิบพั (A) 2 แนวที่อยูถ่ ดั กัน จะห่างกัน = 2
แนวบัพ ( N ) 2 แนวที่อยูถ่ ดั กัน จะห่างกัน = 2
แนวปฏิบพั (A) และแนวบัพ ( N ) ที่อยูถ่ ดั กัน จะห่างกัน = 4
80. ลาโพงเสี ยงอันหนึ่ งหันหน้าเข้าหากาแพงห่างจากกาแพงระยะหนึ่ ง ให้ สั ญ ญาณเสี ย งซึ่ ง มี
ความถี่ 340 เฮิรตซ์ ชายคนหนึ่ งอยูร่ ะหว ่างกาแพงกับลาโพง เมื่อ ออกเดิ น เข้า หาก าแพง
อย่างช้าๆ พบว ่าจะได้ยินเสี ยงดังค่อยสลับกันไป จงหาว ่าจุดที่เกิดเสี ย งดัง 2 จุ ดถัดกัน อยู ห่ ่า ง
กันกีเ่ มตร เมือ่ อัตราเร็ วเสี ยงในอากาศเป็ น 340 เมตร/วินาที
1. 0.5 2. 1.0 3. 500 4. 100.0

81. ในการทดลองส่งคลื่นเสี ยงความถี่ 3000 เฮิรตซ์ ให้ไปตกกระทบก าแพงในแนวตั้ง ฉาก


ปรากฏว ่าจุดที่มเี สี ยงเบาที่สุ ด 2 จุด ที่ติดกันห่างกัน 6 เซนติเมตร จงหาอัตราเร็ วของเสี ยง
1. 340 เมตร/วินาที 2. 350 เมตร/วินาที
3. 360 เมตร/วินาที 4. 380 เมตร/วินาที

10.7 ความถี่ธรรมชาติ และการสั่ นพ้ องของเสี ยงในอากาศ


10.7.1 ความถี่ธรรมชาติ และการสั่ นพ้อง
เมือ่ วัตถุถูกกระทบกระเทือน โดยทัว่ ไปแล้ววัตถุจะเกิดการสั่น สะเทื อ นด้วยความถี่ เ ฉพาะ
ตัวค่าหนึ่ ง เรี ยกความถี่น้ ี ว ่าความถี่ธรรมชาติ ( natural frequency ) ของวัตถุ น้ ั น เช น่ ลู ก ตุ ้มที่
แขวนติดกับสายแกว ่ง เมือ่ ถูกกระทบก็จะแกว ่งไปมาด้วยความถี่ธรรมชาติของลูก ตุ ้มนั้น
และเมือ่ วัตถุน้ นั ถูกแรงภายนอกมากกระทาอย่า งต่อ เนื่ อ งด้วยความถี่ เ ท่า กับความถี่ ธ รรม
ชาติของวัตถุ จะทาให้วตั ถุเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุ นแรง เราเรี ย กปรากฏการณ์ ก ารสั่ น อย่า ง
รุ นแรงเนื่ องจากเหตุเชน่ นี้ ว ่าเป็ น การสั่ นพ้อง ( Resonance )
33
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
82. คนปกติจะมีอตั ราการเต้นของหัวใจ 72 ครั้ง/นาที ถ้าได้ยินเสี ยงกลองที่ดงั เป็ นจังหวะ 72
ครั้ง/นาที ผูฟ้ ั งจะรู ้สึกอย่างไร
1. หัวใจเต้นปกติ 2. หัวใจเต้นแรงกว ่าปกติ
3. หัวใจเต้นค่อยกว ่าปกติ 4. หัวใจอาจหยุดเต้น

10.7.2 การสั่ นพ้องของเสี ยงในอากาศ


เมือ่ เราส่งคลื่นเสี ยงเข้าไปในท่อปลายตัน เสี ยงที่สง่ เข้าไปนั้นจะไปกระทบผนังด้านในแล้ว
สะท้อนออกมา และเข้ามาแทรกสอดกับคลื่น ที่เข้าไปเกิดเป็ น
คลื่นนิ่ ง และหากตรงตาแหน่งปากท่ออยูต่ รงกับแนวปฏิ บพั
ของคลื่นนิ่ งนั้น จะทาให้โมเลกุลตัวกลาง(อากาศ) สั่นสะ
เทือนอย่างรุ นแรง ทาให้เสี ยงที่ออกมาจากท่อนั้น ดังกว ่าปกติ
ปรากฏการณ์ที่มเี สี ยงดังอันเกิดจากอนุ ภาคตัวกลางสัน่ สะเทือน
อย่างรุ นแรงเชน่ นี้ เรี ยกว ่าการสั่ นพ้องของเสี ยง
ควรทราบเพิม่ เติมเกี่ยวกับการสั่ นพ้อง
ประการที่ 1 ท่อที่ทาให้เกิดเสี ยงดัง จะต้อง
เป็ นท่อที่มคี วามพอดีที่จะทาให้ปากท่ออยู ต่ รงกับ
แนวปฏิบพั ของคลื่นนิ่ งพอดี หาก ปากท่อตรงกับ
แนวบัพจะไม ่เกิดเสี ยงดัง เชน่ ที่แสดงในรู ปภาพ
จากรูปโปรดสั งเกตว่ า
ความยาวที่ทาให้เกิดสั่นพ้องแต่ละครั้ง
ถัดกัน จะยาวต่างกัน = 2
ความยาวจากปากท่อ ถึงจุ ดที่ ทาให้เกิด
สั่นพ้องครั้งแรก จะมีความยาว = 4
ประการที่ 2 สาหรับท่อปลายตันซึ่งมีความยาวขนาดหนึ่ ง หากเราปรับความถี่ของเสี ยงที่สง่
เข้าไปให้เหมาะสม อาจทาให้ เ กิดการสั่ น พ้อ งได้เ ช น่ กัน ความถี่ ที่ทาให้ เ กิดการสั่ น พ้อ งนั้ น
สามารถคานวณหาได้จาก
f = 4n Lv
34
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
เมือ่ f คือความถี่เสี ยงที่ทาให้เกิด การสั่นพ้อง ( เฮิรตซ์ )
v คือความเร็ วเสี ยง ( เมตร/วินาที )
L คือความยาวลาอากาศ หรื อ ความยาวท่อกาทอน ( เมตร )
n คือจานวนเต็มบวกคี่ คือ 1 , 3 , 5 , 7 , 9 , ....
ถ้า n = 1 ความถี่ที่ได้จะทาให้เกิดเสี ยงดังครั้งแรก เรี ยกความถี่น้ ี ว ่า ความถี่มลู ฐาน
หรื อ Harmonic ที่ 1
ถ้า n = 3 ความถี่ที่ได้จะทาให้เกิดเสี ยงดังครั้งที่ 2 เรี ยกความถี่น้ ี ว ่า Harmonic ที่ 2
ถ้า n = 5 ความถี่ที่ได้จะทาให้เกิดเสี ยงดังครั้งที่ 3 เรี ยกความถี่น้ ี ว ่า Harmonic ที่ 3
หมายเหตุ : ถ้าท่อกาทอนมีปลายเปิ ดทั้งสองข้าง ความถี่ที่ทาให้เ กิดการสั่ น พ้อ งนั้ น สามารถ
คานวณหาได้จาก
f = 2n Lv
เมือ่ f คือความถี่เสี ยงที่ทาให้เกิดการสั่นพ้อง ( เฮิรตซ์ )
v คือความเร็ วเสี ยง ( เมตร/วินาที )
L คือความยาวลาอากาศ หรื อ ความยาวท่อปลายเปิ ด ( เมตร )
n คือจานวนเต็มบวกธรรมดา คือ 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , .....
ถ้า n = 1 ความถี่ที่ได้จะทาให้เกิดเสี ยงดังครั้งแรก เรี ยกความถี่มลู ฐาน
หรื อ Harmonic ที่ 1
ถ้า n = 2 ความถี่ที่ได้จะทาให้เกิดเสี ยงดัง ครั้งที่ 2 เรี ยก Harmonic ที่ 2
ถ้า n = 3 ความถี่ที่ได้จะทาให้เกิดเสี ยงดังครั้งที่ 3 เรี ยก Harmonic ที่ 3
83(แนว มช) วางลาโพงชิดกับปลายข้างหนึ่ งของหลอดเรโซแนนซ์ เลื่อนลูกสู บออกช้าๆ จน
กระทัง่ ได้ยินเสี ยงดังเพิ่มขึ้นมากที่สุ ดครั้งแรกที่ระยะห่างจากปลายหลอด 3.3 เมตร ความ
เร็ วเสี ยงในอากาศมีคา่ 330 เมตร/วินาที จงหาว ่าความถี่ของเสี ยงจากลาโพงมีคา่ เท่า กับเท่าใด
1. 10 เฮิรตซ์ 2. 20 เฮิรตซ์ 3. 25 เฮิรตซ์ 4. 45 เฮิรตซ์

35
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
84. จากการทดลองปรากฏว ่าถ้า เคาะส้ อ มเสี ย งซึ่ ง มีความถี่ 346 รอบต่อ วิน าที หน้ า หลอดก า
ทอนจะเกิดกาทอนขึ้นครั้งแรกที่ระยะ 25 เซนติเมตร อุ ณ หภู มิของอากาศขณะนั้ น มี่คา่ เท่า
กับกีอ่ งศาเซลเซียส
หลอดกาทอน
1. 25 ส้อมเสี ยง
2. 24
3. 22
25 ซม. ลูกสู บ
4. 20

85. ในการทดลองเรื่ องการสัน่ พ้องของเสี ยง ถ้าใช้เสี ยงความถี่ 686 เฮิรตซ์ ในการทดลอง


และอุณหภูมขิ ณะทดลองเท่ากับ 20 องศาเซลเซียส ตาแหน่งของลูกสู บจากปากหลอด
เรโซแนนซ์ขณะเกิดการสั่นพ้องครั้งแรกจะห่างจากตาแหน่งของลู กสู บขณะเกิดการสั่นพ้อง
ครั้งถัดไปเป็ นระยะกีเ่ มตร
1. 0.10 2. 0.12 3. 0.25 4. 0.50

86. การทดลองหาอัตราเร็ วเสี ยงในอากาศโดยใช้หลอดกาทอน พบว ่าหลัง จากเกิดสั่ น พ้อ งแล้วก็


เลื่อนลูกสู บถอยหลังไปอีก 25 เซนติเมตร จึง เกิดสั่ น พ้อ งอี ก ครั้ ง ถ้า ความถี่ 680 เฮิ ร ตซ์
จงหาอัตราเร็ วเสี ยงในอากาศมีคา่ กีเ่ มตร/วินาที
1. 250 2. 300 3. 340 4. 410

36
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
87(แนว En) การทดลองเรื่ องการกาทอนของเสี ย งโดยใช้ห ลอดก าทอน พบวา่ เกิดก าทอนครั้ ง
หนึ่ งและครั้งถัดไปที่ระยะ 0.15 เมตร และ 0.50 เมตร จากปากท่อ ตามล าดับ ถ้า ความเร็ ว
ของเสี ยงในขณะนั้นเท่ากับ 350 เมตร/วินาที จงหาความถี่ ของคลื่ น สี ย งที่ ใ ช้มีคา่ กี่เ ฮิ ร ตซ์
1. 400 2. 500 3. 600 4. 1000

88. ส้อมเสี ยงอันหนึ่ ง เมือ่ เคาะเหนื อท่อเรโซแนนซ์ เ กิดเสี ย งดัง ครั้ ง แรกเมื่อ น้ าอยู ต่ ่ า จากปาก
ท่อ 17 เซนติ เ มตร และดัง ครั้ ง ที่ ส องเมื่อ น้ าอยู ต่ ่ า จากปากท่อ 53 เซนติ เ มตร ส้ อ ม
เสี ยงอีกอัน หนึ่ งมีความถี่ 450 เฮิรตซ์ ทาให้ เ กิดเสี ย งดัง ครั้ ง ที่ ส องเมื่อ น้ าอยู ต่ ่ า จากปาก
ท่อ 59 เซนติเมตร และครั้งที่สามเมือ่ น้ าอยูต่ ่าจากปากท่อ 99 เซนติเมตร ส้อมเสี ยงอัน แรก
มีความถี่กเี่ ฮิรตซ์
1. 400 2. 500 3. 550 4. 650

89. ท่อปลายปิ ดยาว 25 เซนติเมตร จงหาความถี่ 3 ลาดับแรกที่ ทาให้ เ กิดการสั่ น พ้อ งของเสี ย ง
ในท่อนี้ ได้ในหน่วยเฮิรตซ์ เมือ่ อัตราเร็ วเสี ยงในอากาศมีคา่ 350 เมตร/วินาที
1. 350 , 700 , 1050 เฮิรตซ์ 2. 350 , 1050 , 1750 เฮิรตซ์
3. 700 , 1400 , 2100 เฮิรตซ์ 4. 700 , 2100 , 3500 เฮิรตซ์

37
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
90. ถ้าความเร็ วของเสี ยงในอากาศเท่ากับ 340 เมตร/วินาที ส้อมเสี ยงจะต้องสั่นด้วยความถี่ต่ า
สุ ดมีคา่ กีเ่ ฮิรตซ์จึงจะทาให้เกิดกาทอนได้เ มือ่ จ่อใกล้ปากกระบอกตวงซึ่งยาว 20 เซนติเมตร
1. 250 2. 320 3. 375 4. 425

91(แนว En) หลอดเรโซแนนซ์ที่ใช้ในการทดลองชุดหนึ่ งจะให้ความดันสู งสุ ดสามครั้ง เมือ่ เลื่อน


ตาแหน่งลูกสู บไปตามความยาวของหลอดเรโซแนนซ์ ถ้าตาแหน่งสุ ดท้ายดัง เมือ่ ลูกสู บห่าง
จากลาโพงมากที่สุดและห่างจากปลายกระบอกสู บ 50 เซนติเมตร อยากทราบว ่าลาโพงสั่น
ด้วยความถี่กเี่ ฮิรตซ์ ( กาหนดความเร็ วเสี ยงในอากาศเป็ น 340 เมตร/วินาที )
1. 300 2. 435 3. 510 4. 850

92. ส้อมเสี ยงที่มคี วามถี่ 256 เฮิรตซ์ จะทาให้ ทอ่ ปลายปิ ดข้า งเดี ย วแท่ง หนึ่ งเกิดก าทอน ถ้า
ความเร็ วของเสี ยงในอากาศขณะนั้นเท่ากับ 330 เมตรต่อวิน าที จะต้อ งตัดท่อ ด้า นปลายเปิ ด
ให้ส้ นั ลงกีเ่ ซนติเมตร จึงจะเกิดเสี ยงความถี่สูงขึ้น 4 เฮิรตซ์
1. 0.2 2. 0.3 3. 0.4 4. 0.5

38
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
93(แนว มช) หลอดปิ ดปลายข้างหนึ่ งมีความถี่ห ลัก มูล 100 เฮิรตซ์ ความถี่ที่จะไม ่เกิด กาทอนคือ
1. 100 เฮิรตซ์ 2. 200 เฮิรตซ์ 3. 300 เฮิรตซ์ 4. 500 เฮิรตซ์

94. คลื่นเสี ยงขบวนหนึ่ งทาให้เกิดกาทอนลาดับ 1 ในกล่องไม้กลวงที่เปิ ดทุกด้านมีความยาว 0.5


เมตร ความถี่ธรรมชาติของกล่องไม้น้ ี เท่า กับกีเ่ ฮิรตซ์ (ให้อตั ราเร็ วเสี ยง = 330 เมตร/วินาที )
1. 330 2. 495 3. 660 4. 3 x 10–3

95. ท่อออร์ แกนปลายเปิ ดสองท่อซึ่งยาว 240 และ 242 เซนติเมตร ให้ เ สี ย งความถี่ มาตรฐาน
พร้อมกันทัง้ สองท่อ จะเกิดเสี ยงบีตกีค่ รั้งในเวลา 10 วินาที ถ้าความเร็ วเสี ย งในอากาศคื อ
348 เมตรต่อวินาที
1. 2 ครั้ง 2. 3 ครั้ง 3. 4 ครั้ง 4. 6 ครั้ง

สาหรับเสี ยงที่เกิดจากสายสัน่ เราสามารถหาความถี่และความเร็ วของเสี ยงที่เกิดได้จาก


f= n T และ v = T
2L  
เมือ่ f คือ ความถี่เสี ยงที่เกิดจากสายสั่น ( เฮิรตซ์ )
n คือ จานวน Loop คลื่นนิ่ งที่เกิดในสายสั่น
L คือ ความยาวสายสั่น (เมตร)
T คือ แรงดึงสายสั่น (นิ วตัน)
 คือ มวลสายสั่นซึ่งยาว 1 เมตร (กิโลกรัม)
v คือ ความเร็ วเสี ยง (เมตร/วินาที)
39
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
96. เชือกเส้นหนึ่ งยาว 2 เมตร มีมวล 15 กรั ม ถู ก ดึ ง ให้ ตึง ด้วยแรง 12 นิ วตัน จงหา
ความถี่ของคลื่นในเส้นเชือกในหน่วยเฮิรตซ์
1. 10 2. 20 3. 30 4. 40

97. เชือกเส้นหนึ่ งปลายข้างหนึ่ งผูกติดกับตุม้ น้ าหนัก ปลายอีกข้างหนึ่ งผูกติดกับเครื่ องเคาะ


สัญญาณเวลา เมือ่ เครื่ องเคาะสัญญาณเวลาสั่น ทาให้เกิดคลื่นในเส้นเชือกถ้าเพิ่มน้ าหนักที่
ผูกติดกับเชือกเป็ น 2 เท่า อยากทราบว ่าอัตราเร็ วของคลื่นในเส้นเชือกเป็ นกีเ่ ท่า ของเดิ ม
1. 12 เท่า 2. 1 เท่า 3. 2 เท่า 4. 2 เท่า

98(แนว En) ในการดีดพิณระดับเสี ยง จะเพิ่มขึ้นได้เมือ่


ก) ความตึงของสายพิณเพิ่มขึ้น
ข) สายพิณยาวขึ้น
ค) น้ าหนักต่อความยาวของสายพิณ มีคา่ เพิ่มขึ้น
ง) จานวนคลื่นนิ่ งที่เกิดขึ้นในสายพิณมีจานวนมากขึ้น
จงพิจารณาว ่าข้อความข้างต้นข้อใดถู ก
1. ก และ ง 2. ข และ ค 3. ข เท่านั้น 4. ถูกทุกข้อ

40
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง

10.8 ปรากฏการณ์ ดอปเพลอร์ และคลื่นกระแทก


10.8.1 ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ เป็ นปรากฏการณ์มกี ารเปลี่ยนแปลงระดับเสี ยง (ความถี่ของ
เสี ยง) เมือ่ แหล่งกาเนิ ดและผู ส้ ังเกตเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ วสั มพัทธ์ ตอ่ กัน
กรณีที่ 1 หากแหล่งกาเนิ ดเสี ยงพุง่ เข้าหาผูฟ้ ั งที่อยูน่ ิ่ ง เชน่ ผูฟ้ ั งยืนอยูห่ น้ารถแล้วฟั งเสี ยง
รถที่พงุ ่ เข้ามาหาตัวผูฟ้ ั ง เสี ยงรถที่มาถึงผูฟ้ ั งจะถูกกดดันทาให้ความยาวคลื่น ( ) ของเสี ยงลดลง
ความถี่ (f ) ของเสี ยงเพิ่มขึ้น ทาให้ผฟู ้ ั งได้ยินเสี ยงที่แหลมกว ่าปกติ

กรณีที่ 2 หากแหล่งกาเนิ ดเสี ยงเคลื่อนห่างออกจากผูฟ้ ั งที่อยูน่ ิ่ ง เชน่ ผูฟ้ ั งยืนอยูห่ ลังรถ


แล้วฟั งเสี ยงรถที่เคลื่อนห่างออกจากตัวผูฟ้ ั ง เสี ยงรถที่มาถึงผูฟ้ ั งจะถูกลากออกไปทาให้ความ
ยาวคลื่น ( ) ของเสี ยงมากขึ้น ความถี่ (f ) ของเสี ยงลดลง ทาให้ผฟู ้ ั งได้ยินเสี ยงที่ทมุ ้ กว ่าปกติ
กรณีที่ 3 หากผูฟ้ ั งเคลื่อนห่างออกไปจากแหล่งกาเนิ ดเสี ยงที่อยูน่ ิ่ ง เสี ยงที่มาถึงผูฟ้ ั งจะ
ถูกลากออกไปทาให้ความยาวคลื่น ( ) ของเสี ยงมากขึ้น ความถี่ (f ) ของเสี ยงลดลง ทาให้ผฟู ้ ั ง
ได้ยินเสี ยงที่ทมุ ้ กว ่าปกติ เสียงกระจายออกจากเปี ยโน

กรณีที่ 4 หากผูฟ้ ั งเคลื่อนเข้าหาแหล่งกาเนิ ดเสี ยงที่อยูน่ ิ่ ง เสี ยงที่มาถึงผูฟ้ ั งจะถูกกดดัน


เข้าทาให้ความยาวคลื่น ( ) ของเสี ยงลดลง ความถี่ (f ) ของเสี ยงมากขึ้น ทาให้ผฟู ้ ั งได้ยินเสี ยง
ที่แหลมกว ่าปกติ

41
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
กรณีที่ 5 หากแหล่งกาเนิ ดเสี ยงเคลื่อนที่เข้าหาผูฟ้ ั งที่กาลังเคลื่อนที่
หากความเร็ วแหล่งกาเนิ ดเสี ยงมากกว ่าผูฟ้ ั ง เสี ยงที่มาถึงผูฟ้ ั ง จะถูกกดดันเข้าทาให้ความ
ยาวคลื่น() ของเสี ยงลดลง ความถี่ (f ) ของเสี ยงมากขึ้น ทาให้ผฟู ้ ั งได้ยินเสี ยงที่แหลมกว ่าปกติ
หากความเร็ วแหล่งกาเนิ ดเสี ยงน้อยกว ่าผูฟ้ ั ง เสี ยงที่มาถึงผูฟ้ ั งจะถูกลากออกทาให้ความ
ยาวคลื่น ( ) ของเสี ยงเพิม่ ขึ้น ความถี่ (f )ของเสี ยงลดลง ทาให้ผฟู ้ ั งได้ยินเสี ยงที่ทมุ ้ กว ่าปกติ
เสียงแตรออกจากมอเตอร์ไซด์

ในปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ เราสามารถหาความถี่ ที่ผฟู ้ ั งได้ยินจากสมการ


(V  V )
fL = (Vo  VL) fs เมือ่ fL = ความถี่ที่ผูส้ ังเกตได้ยิน
o s
fs = ความถี่ปกติของต้นกาเนิ ดเสี ยง
Vo = อัตราเร็ วเสี ยง
และหาความยาวคลื่นโดยจากสมการ Vs = อัตราเร็ วของต้นกาเนิ ดเสี ยง
 = (Vo fs Vs ) VL = อัตราเร็ วของผูส้ ังเกต
 = ความยาวคลื่นเสี ยงที่ผูส้ ังเกตได้ยิน
เงื่อนไขการใช้ สมการทั้งสองนี้ คือ
ในการแทนค่า VL กับ Vs ต้องคานึ งค่า +, – ด้วย โดยอาศัยหลักดังนี้
ถ้า VL , Vs มิทิศสวนทางกับ Vo จะมีคา่ เป็ น +
ถ้า VL , Vs มีทิศไปทางเดียวกัน Vo จะมีคา่ เป็ น –
99(แนว En) ในขณะที่แหล่งกาเนิ ดเสี ยงเคลื่อนที่ในอากาศนิ่ ง ข้อใดต่อไปนี้ ถูก
1. ความยาวคลื่นเสี ยงที่อยูด่ า้ นหน้าแหล่งกาเนิ ดจะสั้น กว ่าความยาวคลื่นเสี ยงที่จุด
ด้านหลังแหล่งกาเนิ ด
2. ความถี่เสี ยงที่อยูด่ า้ นหน้าแหล่งกาเนิ ดจะต่า กว ่าความถี่เสี ยงที่จุดด้า นหลังแหล่ง กาเนิ ด
3. ความเร็ วเสี ยงด้านหน้าแหล่งกาเนิ ดจะสู งกว ่าความเร็ วเสี ยงด้านหลังแหล่งกาเนิ ด
4. ความเร็ วเสี ยงด้านหน้าแหล่งกาเนิ ดจะต่ากว ่าความเร็ วเสี ยงด้านหลังแหล่งกาเนิ ด
42
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
100(แนว มช) รถมอเตอร์ ไซด์คนั หนึ่ งแล่นตามหลังรถยนต์คนั หนึ่ งไปบนถนนตรงความเร็ วของ
รถยนต์เป็ นสองเท่าของมอเตอร์ ไ ซด์ ถ้าคนขี่มอเตอร์ ไซด์ บีบแตรด้วยความถี่ 500 เฮิรตซ์
1. คนขับรถยนต์ได้ยินเสี ยงความถี่ ต่ากว ่า 500 เฮิรตซ์ แต่คนขี่มอเตอร์ ไซด์ไ ด้ยินเสี ยง
ความถี่ 500 เฮิรตซ์
2. คนขับรถยนต์ได้ยินเสี ยงความถี่สูง กว ่า 500 เฮิรตซ์ แต่คนขี่มอเตอร์ ไซด์ไ ด้ยินเสี ยง
ความถี่ 500 เฮิรตซ์
3. คนขับรถยนต์ และคนขี่มอเตอร์ ไซด์ ได้ยินเสี ยงความถี่เดียวกัน
4. คนขับรถยนต์ ได้ยินเสี ยงความถี่สูง กว ่าคนขี่ มอเตอร์ ไซด์ได้ยิน

101. ถ้าท่านนั่งอยูใ่ นรถยนต์ที่กาลังเคลื่อนที่เป็ น ก


รู ปวงกลมในทิศทางตามเข็ มนาฬิ กา ด้วย
อัตราเร็ วคงที่ และ มีคลื่นเสี ยงความถี่เดีย ว คลื่นเสี ยง ค ข
เคลื่อนเข้าหารถยนต์ตามรู ป ท่านจะได้ยิน
เสี ยงความถี่สูงสุ ดเมือ่ ท่านอยูท่ ี่ ตาแหน่งใด ง
1. ก 2. ข 3. ค 4. ง

102. รถไฟวิง่ ด้วยความเร็ ว 30 เมตร/วินาที ในอากาศนิ่ งความถี่หวูดรถไฟมีคา่ 500 เฮิรตซ์


ถ้าเสี ยงมีอตั ราเร็ ว 330 เมตร/วินาที จงหาความถี่เสี ยงที่ได้ยินจากผูฟ้ ั งซึ่งกาลังเคลื่ อนที่
ด้วยความเร็ ว 15 เมตร/วินาที เมือ่
ก. ผูฟ้ ั งวิง่ เข้าหารถไฟ ข. ผูฟ้ ั งและรถไฟวิง่ ออกจากกัน
1. ก. 275 เฮิรตซ์ , ข. 357.5 เฮิรตซ์ 2. ก. 575 เฮิรตซ์ ,ข.437.5 เฮิรตซ์
3. ก. 757 เฮิรตซ์ , ข. 734.5 เฮิรตซ์ 4. ก. 895 เฮิรตซ์ , ข. 745.5 เฮิรตซ์
43
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
103. รถไฟวิง่ ด้วยความเร็ ว 30 เมตร/วินาที ในอากาศนิ่ งความถี่หวูดรถไฟมีคา่ 500 เฮิรตซ์
ถ้าเสี ยงมีอตั ราเร็ ว 330 เมตร/วินาที จงหาความถี่ที่ผสู ้ ังเกตได้ยิน ขณะอยูน่ ิ่ งเมื่อ
ก. อยูห่ น้ารถไฟ ข. อยูห่ ลังรถไฟ
1. ก. 275 เฮิรตซ์ , ข. 357.5 เฮิรตซ์ 2. ก. 475 เฮิรตซ์ , ข. 437.5 เฮิรตซ์
3. ก. 550 เฮิรตซ์ , ข. 458.3 เฮิรตซ์ 4. ก. 895 เฮิรตซ์ , ข. 745.5 เฮิรตซ์

104. รถไฟวิง่ ด้วยความเร็ ว 30 เมตร/วินาที ในอากาศนิ่ ง ความถี่ ห วูดรถไฟมีคา่ 500 เฮิ ร ตซ์
ถ้าเสี ยงมีอตั ราเร็ ว 330 เมตร/วินาที จงหาความยาวคลื่นเสี ยง
ก. เมือ่ อยูห่ น้ารถไฟ ข. เมือ่ อยูห่ ลังรถไฟ
1. ก. 0.4 เมตร , ข. 0.70 เมตร 2. ก. 0.6 เมตร , ข. 0.72 เมตร
3. ก. 0.8 เมตร , ข. 0.92 เมตร 4. ก. 0.9 เมตร , ข. 1.20 เมตร

105. ชายคนหนึ่ งยืนที่ชานชลาสังเกตเห็ นหวูดรถไฟ มีความถี่ ต่ า ลง 6/7 ขณะที่ ร ถไฟผ่า นชาน


ชลา จงหาอัตราเร็ วรถไฟเท่ากับกีเ่ มตร/วินาที ( Vเ = 330 เมตร/วินาที )
1. 40 2. 55 3. 62 4. 85

44
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
106(แนว มช) ผูโ้ ดยสารรถไฟสังเกตได้วา่ ขณะที่เขายืนหยุดอยูบ่ นชานชลาเสี ยงหวูดรถไฟที่
จอดนิ่ งมีความถี่ตา่ งจากเสี ยงหวูดขณะรถไฟวิง่ ออกจากชานชลา ปรากฏการณ์เชน่ นี้ เรี ยกว ่า
1. การแทรกสอด 2. การเลี้ยวเบน
3. การหักเห 4. ดอปเพลอร์

107(แนว มช) ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ ของเสี ยงแสดงให้เห็ นถึงการเปลี่ยนแปลง


1. มลภาวะเสี ยง 2. ความเข้มเสี ยง
3. ความดังเสี ยง 4. ระดับเสี ยง

108(แนว En) ในการหาอัตราเร็ วที่เม็ดเลือดวิง่ ในเส้นเลือดสามารถทาได้ โดยการส่งคลื่นเสี ยง


อุลตราโซนิ กที่มคี วามถี่หนึ่ งเข้าไปกระทบกับเม็ดเลื อดแล้ววัดสมบัติของคลื่น ที่สะท้อนออก
มา สมบัติขอ้ ใดที่นาไปคานวณหาอัตราเร็ วของเม็ดเลือ ดได้
1. ความถี่ของคลื่นที่เปลี่ยนไป
2. เฟสของคลื่นที่เปลี่ยนไป
3. แอมพลิจูดของคลื่นที่เ ปลี่ยนไป
4. ชว่ งเวลาระหว ่างคลื่นที่สง่ เข้าไป และที่สะท้อน

10.8.2 คลื่ นกระแทก


ถ้าแหล่งกาเนิ ดเคลื่อนที่เร็ วกว ่าเสี ยง
จะทาให้แหล่งกาเนิ ดเสี ยงเคลื่อนทะลุออก
จากคลื่นเสี ยงที่กระจายออกไป และคลื่น
เสี ยงที่เกิดจากแหล่งกาเนิ ดในเวลาต่อๆ มา
จะทะลุทะลวงออกจากคลื่นเสี ยงที่เกิดในตอนก ่อนหน้าดังแสดงในรู ป ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นนี้
เรี ยกว ่า คลื่นกระแทก ( Sonic boom ) ซึ่งจะทาให้เกิดเสี ยงดังมากเหมือนเสี ยงระเบิด และเกิด
แรงดันขึ้นอย่างมหาศาล เชน่ ในกรณีที่เครื่ องไอพน่ บินด้วยความเร็ วมากกว ่าเสี ยง แรงดันที่
เกิดขึ้นนี้ อาจทาให้กระจกหน้าแตกได้
45
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง

จากรู ปของคลื่นกระแทกจะได้ว ่า
V
Sin = Vos = M1 = hx
เมือ่  คือมุมครึ่ งหนึ่ งของยอดกรวยเสี ยง
Vo คือความเร็ วเสี ยง ( เมตร/วินาที )
Vs คือความเร็ วแหล่งกาเนิ ดเสี ยง ( เมตร/วินาที )
M คือเ คือจานวนเท่าตัวของความเร็ วเสี ยง
h คือความสู งจากพื้นดินถึงเพดานบิน ( เมตร )
x คือระยะจากจุดสังเกตถึงแหล่งกาเนิ ดเสี ยงตอนที่ไ ด้ยินเสี ยงพอดี ( เมตร )
109. เสี ยง Sonic boom เป็ นเสี ยงที่เกิดจาก
1. แหล่งกาเนิ ดทัว่ ไปที่หยุดนิ่ ง
2. แหล่งกาเนิ ดเคลื่อนที่แต่ชา้ กว ่าความเร็ วเสี ยง
3. แหล่งกาเนิ ดเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ วเท่ากับเสี ยง
4. แหล่งกาเนิ ดเคลื่อนที่เร็ วกว ่าความเร็ วเสี ยง

110. ถ้าแหล่งกาเนิ ดเสี ยงและแสงมีอตั ราเร็ วเท่าไรก็ไ ด้ไ มจ่ ากัด จะมีปรากฏการณ์เกิดขึ้นคื อ
ก. ดอปเพลอร์ ข. คลื่นกระแทก
คาตอบที่ถูกต้องคือ
1. ทั้งเสี ยงและแสงแสดง ก. และ ข.
2. เฉพาะเสี ยงแสดง ก. และ ข.
3. เสี ยงแสดง ก. และ ข. แต่แสงแสดงเฉพาะ ก.
4. เสี ยงแสดง ก. และ ข. แต่แสงแสดงเฉพาะ ข.

46
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
111. เครื่ องบิน บินด้วยอัตราเร็ ว 1.5 Mach เหนื อระดับพื้นดิน 3 กิโลเมตร คนจะได้ยิน
เสี ยงเครื่ องบิน เมือ่ เครื่ องบิน บินอยูห่ า่ งคนกีก่ โิ ลเมตร
1. 1.0 2. 2.5 3. 4.0 4. 4.5

112(แนว En) เครื่ องบินบินด้วยอัตราเร็ ว 510 เมตร/วินาที ในแนวระดับ ซึ่งสู งจากพื้นดิน 6


กิโลเมตร ชายคนนั้นยืนอยูบ่ นถนนจะได้ยินเสี ยงเครื่ องบิน เมือ่ เครื่ องบินอยูห่ า่ งจากชายผู ้น้ ั น
เป็ นระยะทางกีก่ โิ ลเมตร ( กาหนดอัตราเร็ วของเสี ยง = 340 เมตร/วินาที )
1. 6 2. 6.7 3. 9 4. 12

113(แนว En) เครื่ องบินความเร็ วเหนื อเสี ยงบินในแนวระดับผ่านเหนื อศีรษะชายผูห้ นึ่ ง เมื่อ เขา
ได้ ยินเสี ยงของคลื่นกระแทก เขาจะมองเห็ นตัวเครื่ องบินมีมมุ เงยจากพื้ น ดิ น 30o เครื่ อ งบิ น
บินมีความเร็ วเท่าใดในหน่วยเมตร/วินาที ถ้าอัตราเร็ วเสี ยงในอากาศเป็ น 330 เมตร/วินาที
1. 350 2. 400 3. 580 4. 660

114. เครื่ องบิน บินในแนวระดับด้วยอัตราเร็ ว 1.5 มัค สู งจากพื้ น 10 กิโ ลเมตร จงหามุมหน้ า
ที่คลื่นกระแทกทากับแนวทางการเคลื่อนที่ของเครื่ องบิน
1. sin–1 13 2. sin–1 23 3. sin–1 1 4. sin–1 23

47
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
115. จากข้อที่ผา่ นมา ขณะที่ผฟู ้ ั งที่พื้นดินได้ยินเสี ยงเครื่ องบินอยูห่ า่ งจากผูฟ้ ั งกี่กโิ ลเมตร
1. 5 2. 10 3. 15 4. 20

116. เครื่ องบินไอพน่ บินด้วยความเร็ วมัค 2 จะบินด้วยความเร็ วเท่า กับกีเ่ มตร/วินาที


ให้อตั ราเร็ วเสี ยง 340 เมตร/วินาที
1. 400 2. 520 3. 590 4. 680

48

You might also like