You are on page 1of 38

3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net http://www.pec9.

com บทที่ 3 คลื่น

บทที่ 3 คลืน่
3.1 การเคลือ่ นทีแ่ บบคลืน่ และชนิดของคลืน่
การเคลื่อนที่แบบคลื่น หมายถึง “ การเคลื่อน
ที่ซ่ ึ งพลังงานถูกถ่ายทอดไปข้างหน้าได้ โดยที่อนุภาค
ตัวกลางสั่นอยูท่ ี่เดิม ”

ตัวอย่างเช่ น
ถ้าเราทาการทดลองโดยใช้เชือกยาวประมาณ 5 เมตร วางไว้บนพื้นราบโดยผูกด้ายสี สด
ไว้ตรงกลางเส้นเชือก แล้วยึดปลายเชือกข้างหนึ่งไว้กบั ฝาผนัง ใช้มือดึงปลายเชือกที่เหลือให้
ตึงพอประมาณแล้วสะบัดปลายเชือกนั้นขึ้นลงตามแนวดิ่ง จะเกิดส่ วนโค้งขึ้นในเส้นเชือกซึ่ งจะ
เคลื่อนจากปลายที่ถูกสะบัดพุง่ เข้าหาฝาผนัง การเคลื่อนที่น้ ีจะมีการนาพลังงานจากจุดสะบัด
เชือกเคลื่อนติดไปพร้อมกับส่ วนโค้งของเชือกนั้น ส่ งผลให้พลังงานถูกถ่ายทอดไปข้างหน้าได้
แต่ถา้ พิจารณาถึงเส้นด้ายที่ผกู ไว้กลางเชือก จะพบว่าเส้นด้ายเพียงแต่สั่นขึ้นลงอยูก่ บั ที่ไม่ได้
เคลื่อนที่เข้าหาฝาผนังเหมือนกับพลังงาน แสดงให้เห็นว่าอนุภาคของเส้นเชือกตรงที่ผกู ด้ายอยู่
นั้นไม่ได้เคลื่อนที่ไปกับพลังงาน แต่จะสั่นขึ้นลงอยูท่ ี่เดิม เราเรี ยกการเคลื่อนที่ ซึ่งพลังงานถูก
ถ่ายทอดไปข้างหน้าได้ โดยอนุภาคตัวกลางสั่นอยูท่ ี่เดิมเช่นนี้วา่ เป็ นการเคลือ่ นทีแ่ บบคลืน่
ทิศของพลังงาน

ทิศการสัน่ ไปมาของอนุภาค

อีกตัวอย่างเช่ น
ถ้าเรานาลูกแก้วกลมๆ มาวางเรี ยงกันประมาณ 7 ลูก แล้วออกแรงตีลูกแก้วลูกแรก จะทา
ให้ลูกแก้วนั้นวิง่ ไปกระทบลูกที่ 2 แล้วลูกที่ 2 นั้นจะวิง่ ไปชนลูกที่ 3 เป็ นเช่นนี้ไปเรื่ อยๆ จนถึง
ลูกสุ ดท้าย การชนกันแบบนี้จะมีการถ่ายทอดพลังงานไปข้างหน้าเรื่ อยๆ ทาให้พลังงานเกิดการ
เคลื่อนที่ไปข้างหน้าได้ โดยที่อนุภาคตัวกลาง (คือลูกแก้ว) เพียงแต่สั่นไปมาอยูเ่ ดิม การ
เคลื่อนที่แบบนี้เรี ยกการเคลื่อนที่แบบคลื่นได้เช่นกัน

1
3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net http://www.pec9.com บทที่ 3 คลื่น
ชนิดของคลืน่
การแบ่ งชนิดของคลืน่ วิธีที่ 1 แบ่งโดยอาศัยทิศทางของพลังงานกับทิศการสัน่ อนุภาค
จะแบ่งคลื่นได้ 2 ชนิด คือ
1) คลืน่ ตามขวาง (longitudinal wave) คือ
คลื่นซึ่ งมีทิศการถ่ายทอดพลังงานตั้งฉากกับทิศของการ
สั่นอนุภาค เช่นคลื่นในเส้นเชือก เป็ นต้น
2) คลืน่ ตามยาว ( transverse wave) คือคลื่นที่มีทิศการถ่ายทอดพลังงานขนาน กับ
ทิศการสั่นของอนุภาค เช่น คลื่นในลูกแก้ว เป็ นต้น
การแบ่ งชนิดของคลืน่ วิธีที่ 2 แบ่งโดยอาศัยลักษณะการถ่ายทอดพลังงาน จะแบ่งคลื่น
ได้ 2 ชนิด คือ
1) คลืน่ กล (mechanical wave) คือคลื่นที่ตอ้ งอาศัยอนุภาคตัวกลางจึงถ่ายทอด
พลังงานได้ เช่นคลื่นในเส้นเชือก คลื่นในลูกแก้ว คลื่นน้ า คลื่นแผ่นดินไหว เป็ นต้น
2) คลืน่ แม่ เหล็กไฟฟ้า (electromagnetic wave) คือคลื่นที่ไม่ตอ้ งอาศัยอนุภาค
ตัวกลาง ก็สามารถถ่ายทอดพลังงานได้ ซึ่ งได้แก่ รังสี แกมมา รังสี เอกซ์ รังสี อลั ตราไวโอเลต
คลื่นแสง รังสี อินฟาเรด คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุ ไฟฟ้ ากระแสสลับ
1(แนว O–net) ถ้ากระทุ่มน้ าเป็ นจังหวะสม่าเสมอ ใบไม้ที่ลอยอยูห่ ่างออกไปจะเคลื่อนที่
อย่างไร
1. ใบไม้เคลื่อนที่ข้ ึน – ลง อยูท่ ี่ตาแหน่งเดิม
2. ใบไม้เคลื่อนที่ไปด้านข้าง
3. ใบไม้เคลื่อนที่ออกห่างไปมากขึ้น
4. ใบไม้เคลื่อนที่เข้ามาหา

2
3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net http://www.pec9.com บทที่ 3 คลื่น
2. คลื่นในเส้นเชือกกาลังเคลื่อนที่จากซ้ายไปขวา A ทิศการเคลื่อนที่
และ B เป็ นจุดสองจุดบนเส้นเชือก เมื่อเวลา
A B
หนึ่งรู ปร่ างของเส้นเชือกเป็ นดังรู ป ถ้าเวลาผ่านไป
อีกเล็กน้อย จุด A และ B จะเคลื่อนที่อย่างไร
1. ทั้ง A และ B จะเคลื่อนที่ไปทางขวามือ 2. A ต่ากว่าเดิม B สู งกว่าเดิม
3. A สู งกว่าเดิม B ต่ากว่าเดิม 4. ทั้ง A และ B อยูท่ ี่เดิม

3(แนว O–net) คลื่นกลตามยาวและคลื่นกลตามขวาง ถูกนิยามขึ้นโดยดูจากปั จจัยใดเป็ นหลัก

1. ประเภทของแหล่งกาเนิด 2. ความยาวคลื่น
3. ทิศการสัน่ ของอนุภาคตัวกลาง 4. ความเร็ วของคลื่น

3
3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net http://www.pec9.com บทที่ 3 คลื่น
4(แนว O-Net) ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้องเกี่ยวกับคลื่นตามยาว
1. เป็ นคลื่นที่ไม่ตอ้ งอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่
2. เป็ นคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางมีการสั่นตั้งฉากกับการเคลื่อนที่ของคลื่น
3. เป็ นคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางมีการสั่นในแนวเดียวกับการเคลื่อนที่ของคลื่น
4. เป็ นคลื่นที่เคลื่อนที่ไปตามแนวยาวของตัวกลาง

5. คลื่นในข้อใดต่อไปนี้ ข้อใดเป็ นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าทั้งหมด


1. คลื่นเสี ยง , คลื่นวิทยุ , คลื่นไมโครเวฟ 2. คลื่นน้ า , คลื่นในเส้นเชือก , คลื่นดล
3. คลื่นในสปริ ง , คลื่นน้ า , แสง 4. แสง , ไฟฟ้ ากระแสสลับ , รังสี แกมมา

6(มช 54) ข้อใดไม่ใช่คลื่นกล


1. คลื่นน้ า 2. คลื่นแสง 3. คลื่นเสี ยง 4. คลื่นแผ่นดินไหว

4
3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net http://www.pec9.com บทที่ 3 คลื่น
7(แนว O–net) คลื่นใดต่อไปนี้เป็ นคลื่นที่ตอ้ งอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่
ก. คลื่น ในเส้นเชือก ข. คลื่นแสง ค. คลื่นเสี ยง
คาตอบที่ถูกต้องคือ
1. ข้อ ก. และ ค. 2. ข้อ ข. และข้อ ค.
3. ข้อ ก. เท่านั้น 4. ทั้ง ก. ข. และ ค.

3.2 องค์ ประกอบของคลืน่


องค์ประกอบของคลื่นที่สาคัญมีดงั นี้
1. สั นคลืน่ (crest) คือจุดสู งสุ ดที่คลื่นกระเพื่อมขึ้นไปได้
2. ท้องคลืน่ (trough) คือจุดต่าสุ ดที่คลื่นกระเพื่อมลงไปได้
3. แอมพลิจูด (amplitude , A ) คือการกระจัดจากระดับผิวน้ าปกติข้ ึนไปถึงสันคลื่นหรื อ
การกระจัดจากระดับผิวน้ าปกติลงไปถึงท้องคลื่น

สันคลื่น 

W
A  X Y Z
A

ท้องคลื่น
4. หนึ่งลูกคลืน่ คือช่วงจังหวะคลื่นกระเพื่อมขึ้น 1 อัน รวมกับลงอีก 1 อัน เช่นในรู ป
ช่วง WX คือ 1 ลูกคลื่น หรื อช่วง XY ก็เป็ น 1 ลูกคลื่น หรื อช่วง YZ ก็เป็ น 1 ลูกคลื่น
เช่นกัน

5
3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net http://www.pec9.com บทที่ 3 คลื่น
5. ความยาวคลืน่ ( wavelength , ) คือระยะทางที่วดั เป็ นเส้นตรงจากจุดตั้งต้นไปจนถึง
จุดสุ ดท้ายของหนึ่งลูกคลื่น เช่น ระยะทางจาก W ไป X ดังรู ป หรื อระยะระหว่างสันคลื่นที่
อยูถ่ ดั กัน หรื อระยะระหว่างท้องคลื่นที่อยูถ่ ดั กัน ก็ได้
6. คาบ (period , T) คือเวลาที่คลื่นใช้ในการเคลื่อนที่ครบ 1 ลูกคลื่น มีหน่วยเป็ น
วินาที (s)
7. ความถี่ (frequency , f ) คือจานวนลูกคลื่นที่เกิดขึ้นในหนึ่งหน่วยเวลา เช่นถ้าเกิด
คลื่น 3 ลูกในเวลา 1 วินาที เช่นนี้เรี ยกได้วา่ ความถี่คลื่นมีค่า 3 รอบต่อวินาที
ความถี่ มีหน่วยเป็ น รอบ/วินาที หรื อ 1 /วินาที หรื อสั้นๆ ว่า เฮิรตซ์ (Hz)
เราอาจคานวณหาค่าความถี่ได้จาก
f = จานวนคลืน่ ทีเ่ กิด หรื อ f = T1
เวลาทีเ่ กิดคลืน่ นั้น
เมื่อ f คือความถี่ ( 1s , Hz)
T คือคาบ (วินาที)
8. อัตราเร็วคลืน่ (wave speed , v ) คือระยะทางที่คลื่นเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา
เราสามารถคานวณหาอัตราเร็ วคลื่นได้จาก
v = st หรื อ v = f
เมื่อ v คืออัตราเร็ วคลื่น (เมตร/วินาที)
s คือระยะทางที่เคลื่อนที่ไปได้ ( เมตร )
t คือเวลาที่คลื่นใช้ในการเคลื่อนที่ ( วินาที )
f คือความถี่คลื่น ( Hz หรื อ รอบ/วินาที )
 คือ ความยาวคลื่น ( เมตร )
8(มช 55) ในเวลา 2 วินาที คลื่นเคลื่อนที่ไปได้ 10 ลูก คลื่นมีความถี่กี่เฮิรตซ์
1. 2 2. 5 3. 10 4. 20

6
3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net http://www.pec9.com บทที่ 3 คลื่น
9(แนว O–net) คลื่นขบวนหนึ่งมีความถี่ 5 เฮิรตซ์ มวลของเชือกที่จุดใดๆ จะสั่นได้กี่รอบใน
เวลา 2 นาที

10. จากภาพแสดงคลื่นขบวนหนึ่ง ถ้าคลื่นนี้ใช้


เวลาในการเคลื่อนที่ 1.5 วินาที จงหาคาบ
ของคลื่นนี้
1. 0.5 s 2. 1.0 s 3. 1.5 s 4. 2.0 s

11. จากข้อที่ผา่ นมา ความถี่ของคลื่นนี้มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0.5 Hz 2. 1.0 Hz 3. 1.5 Hz 4. 2.0 Hz

7
3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net http://www.pec9.com บทที่ 3 คลื่น
12(มช 55) เสี ยงความถี่ 500 Hz มีอตั ราเร็ วในอากาศ 300 เมตรต่อวินาที มีความยาวคลื่นกี่
เมตร
1. 0.6 2. 1.6667 3. 15 4. 150000

จงใช้ รูปทีก่ าหนดให้ สาหรับตอบคาถาม 3 ข้ อถัดไป


Y

รู ป ก. แสดงภาพถ่ายคลื่นในเส้นเชือก ณ เวลา t = 0 วินาที


0 1m 2m 3m 4m 5m

1
0 1m 2m 3m 4 m 5 m รู ป ข. แสดงภาพถ่ายคลื่นในเส้นเชือก ณ เวลา t = 10 วินาที

13(มช 52) ความยาวคลื่นของคลื่นในเส้นเชือกนี้เป็ นกี่เมตร


1. 1 2. 2 3. 4 4. 5

8
3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net http://www.pec9.com บทที่ 3 คลื่น
14(มช 52) อัตราเร็ วของคลื่นนี้เป็ นกี่เมตรต่อวินาที
1. 1 2. 2 3. 5 4. 10

15(มช 52) ความถี่ของคลื่นนี้เป็ นกี่เฮิรตซ์


1. 1 2. 2 3. 5 4. 10

16(แนว O–net) ลูกบอลลูกหนึ่งตกลงน้ าและสั่นขึ้นลงหลายรอบทาให้เกิดคลื่นผิวน้ าแผ่ออกไป


เป็ นรู ปวงกลม เมื่อผ่านไป 5 วินาที คลื่นน้ าแผ่ออกไปได้รัศมีสูงสุ ดประมาณ 10 เมตร
โดยมีระยะระหว่างสันคลื่นที่ติดกันเท่ากับ 1 เมตร จากข้อมูลดังกล่าว ลูกบอลสั่นขึ้นลง
ด้วยความถี่ประมาณเท่าใด
1. 0.5 Hz 2. 1.0 Hz 3. 2.0 Hz 4. 4.0 Hz

9
3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net http://www.pec9.com บทที่ 3 คลื่น

3.3 สมบัติของคลืน่
คลื่นทุกชนิดจะมีคุณสมบัติ 4 ประการ คือ
1. การสะท้อน (Reflection) 2. การหักเห (Refraction)
3. การแทรกสอด (lnterference) 4. การเลี้ยวเบน (Diffrection)
3.3.1 การสะท้อนได้ ของคลืน่ รังสีตกกระทบ เส้ นปกติ รังสีสะท้ อน
เมื่อคลื่นพุง่ เข้าไปตกกระทบสิ่ งกีด
มุมตก มุมสะท้ อน
ขวาง คลื่นจะเกิดการสะท้อนกลับออกมา 1 2
ได้ดงั แสดงในรู ปภาพ สมบัติของคลื่นข้อ
นี้เรี ยก สมบัติการสะท้อนได้ของคลื่น
ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวกับการสะท้อนเสี ยงนั้นพบได้
บ่อยๆ เช่น ค้างคาวที่ออกหากินตอนกลางคืนจะส่ งเสี ยง
ออกไปจากตัว เมื่อเสี ยงตกกระทบเหยือ่ หรื อสิ่ งกีดขวาง
เสี ยงจะสะท้อนย้อนกลับมาทาให้คา้ งคาวรู ้ตาแหน่งของ
เหยือ่ หรื อสิ่ งกีดขวางนั้นๆ ได้ ปลาโลมาที่วา่ ยในน้ าก็ใช้
หลักการสะท้อนเสี ยงเช่นนี้เหมือนกัน
ในการสื่ อสารผ่านดาวเทียมนั้น
จานตัวส่ งสัญญาณจะส่ งคลื่นแม่เหล็ก
ไฟฟ้ าออกจากจุดโฟกัสของจาน จาก
นั้นคลื่นจะย้อนมาตกกระทบจานแล้ว
สะท้อนออกไป คลื่นที่สะท้อนออก
ไปนั้นจะเป็ นคลื่นขนานตรงไปยังดาว
เทียมสื่ อสาร ดาวเทียมจะรับและ ตัวส่งสัญญาณ ตัวรับสัญญาณ
ขยายสัญญาณแล้วส่ งกลับลงมาตกกระทบจานของตัวรับสัญญาณ จากนั้นคลื่นจะสะท้อนออก
จานรับแล้วไปรวมกันที่จุดโฟกัสของจานรับสัญญาณนั้นดังรู ป

10
3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net http://www.pec9.com บทที่ 3 คลื่น
ในห้องประชุมหรื อโรงภาพยนตร์ จะมีเสี ยงสะท้อนออกจากพื้นหรื อผนังห้องทาให้เกิด
เสี ยงก้อง เพื่อป้ องกันไม่ให้เกิดเสี ยงก้องดังกล่าว จึงมีการบุผนังของห้องด้วยวัสดุกลืนเสี ยงเช่น
กระดาษชานอ้อย ติดผ้าม่านที่ผนังห้อง ปูพรมที่พ้นื เพื่อลดการสะท้อนของเสี ยงนัน่ เอง
17(แนว O–net) ห้องประชุมหรื อโรงภาพยนตร์ มักบุเพดานห้องด้วยกระดาษชานอ้อย ติดผ้า
ม่านที่ผนังห้อง และปูพรมที่พ้นื ทั้งนี้เพื่อช่วยลดเสี ยงที่เกิดจากสมบัติขอ้ ใด
1. การแทรกสอดของเสี ยง 2. การบีตเสี ยง
3. การสะท้อนของเสี ยง 4. การหักเหของเสี ยง

18(แนว O-Net) เครื่ องโซนาร์ ในเรื อประมงได้รับสัญญาณสะท้อนจากท้องทะเล หลังจากส่ ง


สัญญาณไปเป็ นเวลา 0.6 วินาที ถ้าอัตราเร็ วเสี ยงในน้ าเป็ น 1500 เมตรต่อวินาที ทะเลมี
ความลึกเท่ากับข้อใด
1. 150 เมตร 2. 300 เมตร 3. 450 เมตร 4. 600 เมตร

11
3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net http://www.pec9.com บทที่ 3 คลื่น
19(แนว O–net) ชาวประมงส่ งคลื่นโซนาร์ ไปยังฝูงปลา พบว่าช่วงเวลาที่คลื่นออกไปจากเครื่ อง
ส่ งจนกลับมาถึงเครื่ องเป็ น 2.0 วินาทีพอดี จงหาว่าปลาอยูห่ ่างจากเรื อเท่าใด
( กาหนดให้ความเร็ วของคลื่นในน้ าเป็ น 1510 เมตรต่อวินาที )
1. 260 m 2. 520 m 3. 770 m 4. 1510 m

20(มช 50) ข้อใดเป็ นข้อมูลที่จาเป็ นจะต้องทราบเกี่ยวกับการใช้คลื่นอัลตราซาวด์สาหรับหา


แหล่งปลาในทะเล
1. แอมพลิจูด 2. ความเร็ วคลื่นในน้ าทะเล
3. ความถี่ 4. ถูกทุกข้อ

21(มช 54) สมบัติขอ้ ใดของคลื่นอัลตราซาวด์ที่นามาใช้ประโยชน์ในการตรวจหาความลึกของ


มหาสมุทรและหาแหล่งปลา
1. หักเห 2. สะท้อน 3. เลี้ยวเบน 4. แทรกสอด

12
3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net http://www.pec9.com บทที่ 3 คลื่น

3.3.2 การหักเหได้ ของคลืน่


เมื่อคลืน่ ผ่านจากตัวกลางหนึ่งไปยัง
คลื่นตกกระทบ
อีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีความหนาแน่ นไม่
เท่ากัน จะทาให้ อตั ราเร็ว (v) แอมพลิจูด (A) ตัวกลางที่ 1
V 1 , 1 , A 1
และความยาวคลืน่ () เปลีย่ นไป แต่ ความ รอยต่อตัวกลาง
ถี่ ( f ) จะคงเดิม V 2 , 2 , A 2
ตัวกลางที่ 2
ในกรณีทคี่ ลืน่ ตกกระทบเอียงทามุม คลื่นหักเห
กับแนวรอยต่ อตัวกลาง คลืน่ ทีท่ ะลุลงไป v ,  , A เปลี่ยน แต่ f คงที่
ในตัวกลางที่ 2 จะไม่ ทะลุลงไปในแนว
เส้ นตรงเดิม แต่ จะเบี่ยงเบนไปจากแนวเดิมดังรู ป ปรากฏการณ์ นีเ้ รียกว่ าเกิดการหักเหของคลืน่

22(แนว O-Net) คลื่นเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่ง ปริ มาณใดต่อไปนี้ จะมี


ค่าคงตัว
1. อัตราเร็ ว 2. แอมพลิจูด
3. ความถี่ 4. ความยาวคลื่น

23(มช 51) คลื่นเคลื่อนที่จากตัวกลางที่หนึ่งไปยังตัวกลางที่สอง พบว่าอัตราเร็ วของคลื่นเพิ่มขึ้น


สาหรับตัวกลางที่สอง ข้อความใดถูกต้อง
1. ความถี่เพิ่มขึ้น 2. ความถี่ลดลง
3. ความยาวคลื่นเพิม่ ขึ้น 4. ความยาวคลื่นลดลง

13
3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net http://www.pec9.com บทที่ 3 คลื่น

เกี่ยวกับการหักเหผ่านน้ าตื้นน้ าลึกมีขอ้ ควรรู ้


คือตอนคลื่นอยูใ่ นน้ าลึก คลื่นจะมีความยาวคลื่น น้ าตื้น
แอมพลิจูด ความเร็ วคลื่น มากกว่าในน้ าตื้น รอยต่อระหว่างตัวกลาง
เสมอ แต่ความถี่จะมีค่าเท่าเดิม (ผิวหักเห)

น้ าลึก

24(O–net 49) เมื่อคลื่นเดินทางจากน้ าลึกสู่ น้ าตื้น ข้อใดต่อไปนี้ถูก


1. ความถี่คลื่นในน้ าลึกมากกว่าความถี่คลื่นในน้ าตื้น
2. ความถี่คลื่นในน้ าลึกน้อยกว่าความถี่คลื่นในน้ าตื้น
3. อัตราเร็ วคลื่นในน้ าลึกน้อยกว่าอัตราเร็ วคลื่นในน้ าตื้น
4. ความยาวคลื่นในน้ าลึกมากกว่าความยาวคลื่นในน้ าตื้น

25(มช 53) การเกิดฟ้ าแลบปกติจะได้ยนิ เสี ยงฟ้ าร้องตามมาเสมอ แต่ในบางครั้งที่เกิดฟ้ าแลบ


อาจไม่ได้ยนิ เสี ยงฟ้ าร้องเนื่องจากสาเหตุใด
1. การหักเหของคลื่นเสี ยง 2. การสะท้อนของเสี ยง
3. การแทรกสอดของเสี ยง 4. การเลี้ยวเบนของเสี ยง

14
3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net http://www.pec9.com บทที่ 3 คลื่น

3.3.3 การแทรกสอดคลืน่
ถ้ าเราให้ คลืน่ 2 คลืน่ ทีม่ ีลกั ษณะ
เหมือนกันทุกประการเข้ ามาปนกัน จะพบ
ว่าคลืน่ ทั้งสองนั้นจะเข้ ามาแทรกสอดกันได้
แล้วทาให้ เกิดมีแนวบางแนวทีค่ ลืน่ ทั้งสอง
จะนาพลังงานมาเสริมกัน ทาให้ ตลอดแนว
นีค้ ลืน่ จะสั่ นสะเทือนและมีแอมปลิจูดสู ง
กว่าปกติตลอดแนว และจะมีแนวบางแนวทีค่ ลืน่ ทั้งสองจะนาพลังงานมาหักล้างกันทาให้ ตลอด
แนวนีค้ ลืน่ จะมีการสั่ นสะเทือนน้ อย มีแอมปลิจูดต่ากว่ าปกติตลอดแนวนีเ้ ช่ นกัน แนวเสริม
และแนวหักล้ างนี้ จะเกิดสลับกันไปดังแสดงในรู ป ปรากฏการณ์ ทเี่ กิดเช่ นนีเ้ รียกเป็ นการ

แทรกสอดของคลืน่
การบีตเสี ยงเป็ นปรากฏการณ์ที่เกี่ยวกับการแทรกสอดเสี ยงอย่างหนึ่งซึ่ งพบได้ทวั่ ไป ซึ่ ง
จะเกิด เมื่อมีคลื่นเสี ยง 2 คลื่น อันมีความถี่ต่างกันเล็กน้อยเข้ามาปนกัน คลื่นทั้งสองจะเกิดการ
แทรกสอดกันเอง แล้วจะได้คลื่นรวมที่มีแอมพลิจูดสู งต่าสลับกันไป เสี ยงที่เกิดจากคลื่นรวมจะ
มีลกั ษณะดังสลับกับเบา ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นนี้เรี ยกว่าการบีตเสี ยง ( beats )

คลืน่ รวม

15
3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net http://www.pec9.com บทที่ 3 คลื่น
26(แนว มช) ในการปรับเสี ยงเปี ยโนโดยผูป้ รับใช้วธิ ี เคาะส้อมเสี ยง ความถี่มาตรฐานเทียบกับ
เสี ยงที่ได้จากการกดคียเ์ ปี ยโนคียห์ นึ่ง ถ้าเสี ยงที่ได้ยนิ เป็ นลักษณะดังแล้วค่อยจางหาย แล้ว
ดังอีกเป็ นจังหวะสลับกันไป เขาก็จะปรับความตึงของลวดเปี ยโนจนกว่าเสี ยงที่ได้ยนิ จะดัง
เป็ นเสี ยงเดียวต่อเนื่องกันไป การกระทาอย่างนี้อาศัยหลักการของปรากฏการณ์ที่เรี ยกว่า

1. การบีตเสี ยง 2. การหักเหของเสี ยง
3. การสะท้อนเสี ยง 4. การแทรกสอดเสี ยง

27(แนว O–Net) สมบัติตามข้อใดของคลื่นเสี ยงที่เกี่ยวข้องกับการเกิดบีต


1. การแทรกสอด 2. การหักเห 3. การเลี้ยวเบน 4. การสะท้อน

16
3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net http://www.pec9.com บทที่ 3 คลื่น

3.3.4 การเลีย้ วเบนได้ ของคลืน่


ถ้ าเรานาแผ่นทีม่ ีช่องแคบๆ ไปกั้นหน้ าคลืน่ ไว้ จะพบว่า
เมื่อคลืน่ เข้ าไปตกกระทบแผ่นกั้นแล้ว คลืน่ ส่ วนหนึ่งจะลอด
ช่ องนั้นออกไปได้ คลืน่ ส่ วนทีล่ อดออกไปนั้นจะสามารถสร้ าง s
คลืน่ ลูกใหม่ หลังแผ่ นกั้นดังรู ป คลืน่ ลูกใหม่ ทเี่ กิดขึน้ นั้นจะ
สามารถกระจายเลีย้ วอ้อมไปทางด้ านซ้ ายและขวาของช่ องแคบ
ได้ ปรากฏการณ์นีจ้ ึงเรียกเป็ น การเลีย้ วเบนได้ ของคลืน่
28. หากท่านยืนแอบอยูข่ า้ งกาแพงตึกแห่งหนึ่ง ท่านจะยังสามารถได้ยนิ เสี ยงจากแหล่งกาเนิด
ซึ่ งอยูห่ น้าตึกได้แม้วา่ แหล่งกาเนิดนั้นจะอยูไ่ ม่ตรงกับท่านก็ตาม เหตุการณ์น้ ีเกี่ยวข้องกับ
สมบัติขอ้ ใดของเสี ยง
1. การแทรกสอดของเสี ยง 2. การเลี้ยวเบนของเสี ยง
3. การหักเหของคลื่นเสี ยง 4. การสะท้อนของเสี ยง

17
3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net http://www.pec9.com บทที่ 3 คลื่น

3.4 เสี ยงและการได้ ยนิ


3.4.1 เสี ยงเกิดได้ อย่างไร
เสี ยงเกิดจากการสั่นสะเทือนของวัตถุซ่ ึ งส่ งผลให้โมเลกุลของตัวกลางเกิดการอัดตัวและ
ขยายตัวแล้วเกิดการถ่ายทอดพลังงานไปโดยที่อนุภาคตัวกลางสัน่ ไปมาอยูท่ ี่เดิม
พลังงาน

ส่วนอัด ส่วนขยาย ส่วนอัด ส่วนขยาย

เมื่อพิจารณาการเคลื่อนที่ของเสี ยงแล้ว จะพบว่าเสี ยงมีลกั ษณะเป็ นคลื่นตามยาว เพราะ


ทิศการสัน่ ของอนุภาคอยูใ่ นแนวขนานกับการถ่ายทอดพลังงาน และเนื่องจากการเดินทางของ
เสี ยงนั้นต้องอาศัยตัวกลางเสมอ เสี ยงจึงมีลกั ษณะเป็ นคลื่นกลด้วย
29(แนว O–net) มนุษย์อวกาศสองคนปฏิบตั ิภารกิจบนพื้นผิวดวงจันทร์ สื่ อสารกันด้วยวิธีใด
สะดวกที่สุด
1. คลื่นวิทยุ 2. คลื่นเสี ยงอัลตราซาวด์
3. คลื่นเสี ยงธรรมดา 4. คลื่นเสี ยงอินฟราซาวด์

18
3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net http://www.pec9.com บทที่ 3 คลื่น

อัตราเร็ วเสี ยงสามารถหาค่าได้จาก


v = st หรือ v = f
เมื่อ v คืออัตราเร็ วเสี ยง ( เมตร/วินาที )
s คือระยะทางที่เสี ยงเคลื่อนที่ได้ ( เมตร )
t คือเวลา ( วินาที )
f คือความถี่เสี ยง ( เฮิรตซ์ )
 คือความยาวคลื่น ( เมตร )

ปัจจัยทีม่ ีผลต่ ออัตราเร็วเสี ยง


1. ความหนาแน่ นของตัวกลาง
อัตราเร็ วเสี ยงในตัวกลางที่มีความหนาแน่นมากกว่า จะมีค่ามากกว่าในตัวกลางที่
มี ความหนาแน่นน้อยกว่า
ตารางแสดงอัตราเร็วของเสี ยงในตัวกลางต่ างๆ ทีอ่ ุณหภูมิ 25oC
ตัวกลาง อัตราเร็ว (m/s)
อากาศ 346
น้ า 1,498
น้ าทะเล 1,531
เหล็ก 5,200
2. อุณหภูมิ
อัตราเร็ วเสี ยงจะแปรผันตรงกับรากที่ 2 ของอุณหภูมิเคลวิน เพราะเมื่ออุณหภูมิ
สู งขึ้นจะทาให้อนุภาคตัวกลางมีพลังงานจลน์มากขึ้น การอัดตัวและขยายตัวจะเกิดได้เร็ วขึ้น
ทาให้เสี ยงเคลื่อนที่ได้เร็ วขึ้น

19
3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net http://www.pec9.com บทที่ 3 คลื่น
30(แนว O–net) ปั จจัยใดต่อไปนี้มีผลต่ออัตราเร็ วเสี ยงในอากาศ
1. ความถี่ 2. อุณหภูมิ
3. ความหนาแน่นของตัวกลาง 4. มีคาตอบที่ถูกมากกว่า 1 ข้อ

31(แนว O-Net) ข้อใดต่อไปนี้ที่มีผลทาให้อตั ราเร็ วของคลื่นเสี ยงในอากาศเปลี่ยนแปลงได้

1. ลดความถี่ 2. เพิม่ อุณหภูมิ 3. เพิม่ แอมพลิจูด 4. ลดความยาวคลื่น

20
3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net http://www.pec9.com บทที่ 3 คลื่น

3.4.2 ธรรมชาติของเสี ยง
ระดับเสี ยง
เกี่ยวกับความ ทุม้ ความ แหลม หรื อ ระดับความสู ง ความ ต่าของเสี ยง จะเป็ นเรื่ องที่
ขึ้นกับความถี่ของคลื่นเสี ยงนั้นๆ กล่าวคือ
ถ้าคลื่นเสี ยงมีความถี่สูง เสี ยงจะแหลม เรี ยกระดับเสี ยงสู ง
ถ้าคลื่นเสี ยงมีความถี่ต่า เสี ยงจะทุม้ เรี ยกระดับเสี ยงต่า
และช่วงความถี่ของเสี ยงที่หูคนปกติจะได้ยนิ คือช่วง 20 – 20000 เฮิรตซ์ เท่านั้น
เสี ยงที่มีความถี่ต่ากว่า 20 เฮิรตซ์ ลงไปเรี ยกว่าคลื่นใต้เสี ยง ( Infrasound )
เสี ยงที่มีความถี่สูงกว่า 20000 เฮิรตซ์ ขึ้นไปเรี ยกว่าคลื่นเหนือเสี ยง ( Ultrasound )
หูคนปกติจะไม่ได้ยนิ เสี ยงพวกนี้
ปัจจุบนั เราสามารถใช้คลื่นเสี ยงความถี่สูง ( Ultrasound ) ไปใช้ประโยชน์ได้มากมายเช่น
ใช้ตรวจอวัยวะภายในช่องท้องหรื อทารกในครรภ์ ใช้สลายก้อนนิ่วในไตหรื อถุงน้ าดี ใช้หา
ความลึกของท้องทะเลหรื อสารวจหาแหล่งปลา ใช้ทาความสะอาดเครื่ องมือและอุปกรณ์โดย
พลังงานของคลื่นจะทาให้อนุภาคของฝุ่ นหลุดออกจากเครื่ องมือนั้นๆ
32(มช 54) ระดับเสี ยงสู งหมายถึงเสี ยงที่มีลกั ษณะอย่างไร
1. เสี ยงดัง 2. เสี ยงค่อย 3. เสี ยงความถี่สูง 4. เสี ยงความเร็ วสู ง

21
3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net http://www.pec9.com บทที่ 3 คลื่น
33. คนทัว่ ไปจะได้ยนิ เสี ยงที่มีความถี่ 10 เฮิรตซ์ และระดับความเข้มเสี ยง 80 เดซิเบล ได้
หรื อไม่เพราะเหตุใด
1. ได้ยนิ เพราะระดับความเข้มสี ยงอยูใ่ นช่วงปกติ
2. ได้ยนิ เพราะความถี่เสี ยงอยูใ่ นช่วงที่หูคนปกติสามารถรับรู ้ได้
3. ไม่ได้ยนิ เพราะระดับความเข้มสี ยงมีค่าต่าเกินไป
4. ไม่ได้ยนิ เพราะความถี่เสี ยงมีค่าต่ากว่าความถี่ที่หูคนปกติสามารถรับรู ้ได้

34(แนว O-Net) ข้อใดถูกต้อง


1. ค้างคาวอาศัยคลื่นเสี ยงในย่านอัตราโซนิกในการบอกทิศทางการจับเหยือ่
2. คลื่นเสี ยงในย่านอัลตราโซนิกสามารถใช้ทาความสะอาดเครื่ องมือแพทย์
3. เสี ยงที่มีความถี่ในย่านอินฟราโซนิกจะมีความถี่ต่ากว่าความถี่ที่มนุษย์สามารถได้ยนิ
4. มีขอ้ ที่ถูกมากกว่า 1 ข้อ

22
3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net http://www.pec9.com บทที่ 3 คลื่น

ความดัง
ความดังหรื อเบาของเสี ยงขึ้นกับพลังงาน
หรื อแอมพลิจูดของคลื่นเสี ยง
ถ้าคลื่นเสี ยงมีพลังงานมาก แอมพลิจูดจะสู ง เสี ยงจะดัง
ถ้าคลื่นเสี ยงมีพลังงานน้อย แอมพลิจูดจะต่า เสี ยงจะเบา
เรานิยมวัดความดังของเสี ยงเป็ นระดับความเข้มเสี ยง โดยกาหนดให้เสี ยงเบาสุ ดที่เริ่ มได้
ยินมีระดับความเข้มเสี ยงเป็ น 0 เดซิ เบล และเสี ยงดังสุ ดที่ไม่เป็ นอันตรายต่อหูมีระดับความ
เข้มเสี ยงเป็ น 120 เดซิเบล
องค์การอนามัยโลกได้กาหนดให้ระดับความเข้มเสี ยงที่ปลอดภัยต่อผูฟ้ ังต้อง ไม่ เกิน 85
เดซิเบล และได้ ยนิ ติดต่ อกันไม่ เกินวันละ 8 ชั่วโมง เสี ยงที่มีระดับความเข้มเสี ยงสู งกว่านี้อาจ
เป็ นอันตรายต่อหูและสภาพจิตใจของผูฟ้ ังได้ เรี ยกเป็ นมลภาวะของเสี ยง (noise pollution )
การลดระดับความเข้มเสี ยงที่มาถึงแก้วหู สามารถทาได้โดย
1. ใช้วสั ดุดูดกลืนเสี ยง เช่นผ้าม่านหนาๆ กระดาษชานอ้อย บุผนังห้อง หรื อปูพรม
หนาที่พ้นื
2. ใช้แนวต้นไม้ หรื อกาแพงกั้นเสี ยง เพื่อไม่ให้เสี ยงมาถึงแก้วหูได้โดยง่าย
3. ใช้เครื่ องอุดหู หรื อเครื่ องครอบหู เพื่อให้เสี ยงที่มาถึงแก้วหูมีนอ้ ยลง
35(มช 50) ข้อใดคือระดับความเข้มเสี ยงที่ปลอดภัย ตามข้อกาหนดขององค์การอนามัยโลก

1. ไม่เกิน 120 เดซิ เบล ได้ยนิ ติดต่อกัน 6 ชัว่ โมง


2. ไม่เกิน 90 เดซิ เบล ได้ยนิ ติดต่อกัน 7 ชัว่ โมง
3. ไม่เกิน 85 เดซิ เบล ได้ยนิ ติดต่อกัน 8 ชัว่ โมง
4. ไม่เกิน 60 เดซิ เบล ได้ยนิ ติดต่อกัน 10 ชัว่ โมง

23
3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net http://www.pec9.com บทที่ 3 คลื่น
36(มช 53) ข้อใดเป็ นความหมายของมลภาวะของเสี ยง
1. เสี ยงที่มีความดังมากที่ระดับความเข้มเกิน 85 dB
2. เสี ยงที่มีความดังมากที่ระดับความเข้มเกิน 120 dB
3. เสี ยงที่มีความถี่สูงมากที่ระดับความเข้มเกิน 85 dB
4. เสี ยงที่มีความถี่สูงมากที่ระดับความเข้มเกิน 120 dB

คุณภาพเสี ยง
ขณะที่เราฟังเสี ยงเครื่ องดนตรี หลายชนิด เช่น แคน ขลุ่ย ซึ่ งเล่นโน้ตตัวเดียวกันพร้อมๆ
กัน แต่เรายังสามารถแยกออกได้วา่ เสี ยงใดเป็ นเสี ยงแคน เสี ยงใดเป็ นเสี ยงขลุ่ย ทั้งนี้เพราะ
เสี ยงทั้งสองจะมีลกั ษณะที่ต่างกัน กล่าวคือเสี ยงแต่ละเสี ยงจะมี Higher Hamonic ( เสี ยงตัวโน๊ต
ชั้นสู งถัดๆ ไป ) และความเข้มสัมพัทธ์ของแต่ละ Hamonic ไม่เท่ากัน จึงทาให้คลื่นเสี ยงแต่
ละเสี ยงมีรูปร่ างโดยรวมต่างกันไป ลักษณะของเสี ยงเช่นนี้เราเรี ยกคุณภาพเสี ยง
ตัวอย่ างสมมุติ 90% 4% 4% 1% 1%
เสี ยงเครื่ องดนตรี ชนิดที่ 1 ประกอบด้วย โด โด โด โด โด
เสี ยงเครื่ องดนตรี ชนิดที่ 2 ประกอบด้วย โด โด โด
95% 3% 2%

เสี ยงแคน เสี ยงขลุ่ย

24
3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net http://www.pec9.com บทที่ 3 คลื่น
37(แนว มช) คุณภาพเสี ยงอธิบายได้ดว้ ยคุณสมบัติของเสี ยงข้อใด
1. ความดังของเสี ยง และระดับความดัง
2. ความถี่ของเสี ยง และความเร็ วของเสี ยง
3. ระดับเสี ยง และความถี่ธรรมชาติ
4. จานวนฮาร์โมนิก และความเข้มของเสี ยงของฮาร์โมนิก

38(แนว O–net) ระดับเสี ยงและคุณภาพเสี ยงขึ้นอยูก่ บั สมบัติใดตามลาดับ


1. แอมพลิจูด ความถี่ 2. ความถี่ แอมพลิจูด
3. ความถี่ รู ปร่ างคลื่น 4. รู ปร่ างคลื่น ความถี่

25
3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net http://www.pec9.com บทที่ 3 คลื่น

3.5 คลืน่ แม่ เหล็กไฟฟ้า


3.5.1 ทฤษฏีเกีย่ วกับคลืน่ แม่ เหล็กไฟฟ้า
ทฤษฎีของแมกซ์เวลล์ กล่าวว่า “ สนามแม่ เหล็กทีม่ ีการเปลีย่ นแปลง สามารถเหนี่ยวนา
ให้ เกิดสนามไฟฟ้ า และสนามไฟฟ้ าทีเ่ ปลีย่ นแปลงสามารถทาให้ เกิดสนามแม่ เหล็กได้ แม้ ว่า
บริเวณนั้นๆ จะเป็ นตัวนาหรือฉนวนหรือสุ ญญากาศก็ตาม ”

ตามทฤษฎีของแมกซ์เวลล์ เมื่อมีสนามแม่เหล็กที่มีการเปลี่ยนแปลงจะเกิดการเหนี่ยวนา
ระหว่างสนามแม่เหล็กกับสนามไฟฟ้ าอย่างต่อเนื่อง จนเกิดเป็ นคลื่นเรี ยกว่าคลืน่ แม่ เหล็กไฟฟ้า
สนามไฟฟ้ า สนามแม่เหล็ก และทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า จะอยูใ่ นทิศ
ที่ต้ งั ฉากกันตลอดเวลา จึงถือว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าเป็ นคลืน่ ตามขวาง
39(แนว O–net) สนามไฟฟ้ าที่เป็ นส่ วนหนึ่งของคลื่นแสงนั้น มีทิศทางตามข้อใด
1. ตั้งฉากกับทั้งสนามแม่เหล็ก และทิศการเคลื่อนที่ของแสง
2. ตั้งฉากกับสนามแม่เหล็ก แต่ขนานกับทิศของการเคลื่อนที่ของแสง
3. ขนานกับทิศทางการเคลื่อนที่ของแสง
4. ขนานกับสนามแม่เหล็ก แต่ต้ งั ฉากกับทิศการเคลื่อนที่ของแสง

26
3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net http://www.pec9.com บทที่ 3 คลื่น
40(แนว O–net) เหตุใดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าจึงจัดเป็ นคลื่นตามขวาง
1. เพราะสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้ ามีทิศตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น
2. เพราะสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้ ามีทิศเดียวกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น
3. เพราะสนามแม่เหล็กมีทิศตั้งฉากกับสนามไฟฟ้ า
4. เพราะสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้ ามีทิศตรงข้ามกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น

3.5.2 สเปกตรัมของคลืน่ แม่ เหล็กไฟฟ้า


แหล่งกาเนิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่ใหญ่ที่สุดในระบบสุ ริยะจักรวาลนี้ คือดวงอาทิตย์
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่ออกมาจากดวงอาทิตย์ จะแยกได้ 8 สเปกตรัม ดังนี้
การเรียงลาดับ การเรียงลาดับ การเรียงลาดับ
สเปกตรัม ความถี่ ความยาวคลืน่ พลังงาน
รังสี แกมมา มาก น้อย มาก
รังสี เอกซ์
รังสี อลั ตราไวโอเลต
แสงขาว
รังสี อินฟราเรด
คลื่นไมโครเวฟ
คลื่นวิทยุ
ไฟฟ้ ากระแสสลับ น้อย มาก น้อย
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าทุกสเปกตรัม จะมีความเร็ วเท่ากันหมดคือ 3 x 108 เมตร/วินาที

27
3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net http://www.pec9.com บทที่ 3 คลื่น
41(มช 55) ข้อใดไม่ใช่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า
1. คลื่นโทรศัพท์ 2. คลื่นเอ็กซ์เรย์ 3. คลื่นเสี ยง 4. คลื่นแสง

42(แนว O–net) ข้อใดไม่ ถูกต้ องเกี่ยวกับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า


1. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าทุกชนิดมีอตั ราเร็ วในสุ ญญากาศเท่ากัน
2. มีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าบางชนิดต้องอาศัยตัวกลางในการเดินทาง
3. เมื่อคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าเดินทางในตัวกลางที่เปลี่ยนไป อัตราเร็ วของคลื่นจะเปลี่ยนไป
4. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าเป็ นคลื่นที่มีท้ งั สนามไฟฟ้ าและสนามแม่เหล็ก

43(มช 54) ข้อใดเรี ยงลาดับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าจากคลื่นที่มีความถี่สูงไปความถี่ต่าได้ถูกต้อง

1. อินฟาเรด รังสี เอกซ์ แสงที่มองเห็นได้ รังสี อลั ตราไวโอเลต คลื่นวิทยุ


2. รังสี อลั ตราไวโอเลต รังสี เอกซ์ อินฟาเรด คลื่นวิทยุ แสงที่มองเห็นได้
3. รังสี เอกซ์ รังสี อลั ตราไวโอเลต แสงที่มองเห็นได้ อินฟราเรด คลื่นวิทยุ
4. คลื่นวิทยุ แสงที่มองเห็นได้ อินฟราเรด รังสี เอกซ์ รังสี อลั ตราไวโอเลต

28
3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net http://www.pec9.com บทที่ 3 คลื่น
44(แนว O-Net) คลื่นใดในข้อต่อไปนี้ที่มีความยาวคลื่นสั้นที่สุด
1. คลื่นวิทยุ 2. รังสี เอกซ์
3. คลื่นไมโครเวฟ 4. คลื่นแสงที่ตามองเห็น

45(แนว O–net) ข้อใดเป็ นการเรี ยงลาดับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าจากความยาวคลื่นน้อยไปมากที่


ถูกต้อง
1. อินฟราเรด ไมโครเวฟ รังสี แกมมา
2. รังสี แกมมา อินฟราเรด ไมโครเวฟ
3. รังสี แกมมา ไมโครเวฟ อินฟราเรด
4. ไมโครเวฟ อินฟราเรด รังสี แกมมา

46(มช 52) ถ้าส่ งคลื่นวิทยุจากสถานีวทิ ยุไปยังดาวศุกร์ ดว้ ยความถี่ 100 เมกะเฮิรตซ์ ใช้เวลา
7 นาที จงหาระยะทางที่ดาวศุกร์ อยูห่ ่างจากโลกขณะนั้น
1. 21 x 108 กิโลเมตร 2. 21 x 108 เมตร
3. 1.26 x 108 เมตร 4. 1.26 x 108 กิโลเมตร

29
3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net http://www.pec9.com บทที่ 3 คลื่น
47(แนว O-Net) คลื่นวิทยุ FM ความถี่ 100 เมกะเฮิรตซ์ มีความยาวคลื่นเท่าใด
กาหนดให้ ความเร็ วของคลื่นวิทยุเท่ากับ 3.0 x 108 เมตร/วินาที
1. 3.0 m 2. 3.4 m 3. 6.0 m 4. 6.8 m

48. สถานีวทิ ยุเอเอ็มแห่งหนึ่งส่ งกระจายคลื่นวิทยุที่มีความถี่ 1000 กิโลเฮิรตซ์ จงหา ความยาว


คลื่นในหน่วยเป็ นเมตร กาหนดให้ความเร็ วของคลื่นวิทยุเท่ากับ 3.0 x 108 เมตร/วินาที

1. 3 2. 30 3. 300 4. 3000

30
3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net http://www.pec9.com บทที่ 3 คลื่น

คลืน่ วิทยุ
คลื่นวิทยุมีความถี่อยูใ่ นช่วง 103 – 1011 เฮิรตช์ คลื่นวิทยุมี 2 ระบบ ได้แก่
1. คลื่นวิทยุระบบ AM (Amplitude Modulation) มีความถี่ต้ งั แต่ 530 – 1600
กิโลเฮิรตซ์ ที่สถานีวทิ ยุส่งออกอากาศในระบบเอเอ็มเป็ นการสื่ อสารโดยการผสม ( modulate)
คลื่นเสี ยงเข้ากับคลื่นวิทยุ ซึ่ งเรี ยกว่าคลื่นพาหะ และสัญญาณเสี ยงจะบังคับให้แอมพลิจูดของ
คลื่นพาหะเปลี่ยนแปลงไป

เมื่อคลื่นวิทยุที่ผสมสัญญาณเสี ยงกระจายออกจากสายอากาศไปยังเครื่ องรับวิทยุเครื่ องรับ


วิทยุจะทาหน้าที่แยกสัญญาณเสี ยงซึ่ งอยูใ่ นรู ปของสัญญาณไฟฟ้ าออกจากสัญญาณคลื่นวิทยุแล้ว
ขยายให้มีแอมพลิจูดสู งขึ้น เพื่อส่ งให้ลาโพงแปลงสัญญาณออกมาเป็ นเสี ยงที่หูรับฟังได้

31
3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net http://www.pec9.com บทที่ 3 คลื่น

2. คลื่นวิทยุระบบ FM (Frequency Modulation) เป็ นการผสมสัญญาณเสี ยงเข้ากับคลื่น


พาหะ แล้วทาให้ความถี่ของคลื่นพาหะเปลี่ยนแปลง

การส่ งคลื่นในระบบ FM ใช้ช่วงความถี่จาก 88 – 108 เมกะเฮิรตซ์


ระบบการส่ งคลื่นแบบเอเอ็มและเอฟเอ็มต่างกันที่วธิ ี การผสมคลื่น ดังนั้นเครื่ องรับวิทยุ
ระบบเอเอ็มกับเอฟเอ็มจึงไม่สามารถรับคลื่นวิทยุของอีกระบบหนึ่งได้
ในการส่ งกระจายเสี ยงด้วยคลื่น
วิทยุระบบเอเอ็ม คลื่นสามารถเดินทาง ไอโอโนสเฟี ยร์
ถึงเครื่ องรับวิทยุได้สองทาง คือเคลื่อน คลื่นฟ้ า
ที่ไปตรงๆในระดับสายตา ซึ่ งเรี ยกว่า
คลืน่ ดิน ส่ วนคลื่นที่สะท้อนกลับลงมา คลื่นดิน
จากชั้นไอโอโนสเฟี ยร์ ซึ่ งเรี ยกว่า คลืน่
ฟ้า ส่ วนคลื่นวิทยุระบบเอฟเอ็มซึ่ งมีความถี่สูงจะมีการสะท้อนที่ช้ นั ไอโอโนสเฟี ยร์ นอ้ ย ทา
ให้ไม่มีคลื่นฟ้ า ดังนั้นถ้าต้องการส่ งกระจายเสี ยงด้วยระบบเอฟเอ็มให้ครอบคลุมพื้นที่ไกลๆ จึง
ต้องมีสถานีถ่ายทอดคลื่นดินเป็ นระยะๆ

32
3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net http://www.pec9.com บทที่ 3 คลื่น

คลืน่ โทรทัศน์
คลื่นโทรทัศน์มีความถี่ประมาณ
108 เฮิรตซ์ คลื่นโทรทัศน์จะไม่สะ
ท้อนที่ช้ นั ไอโอโนสเฟี ยร์ แต่จะทะลุ
ผ่านออกไปนอกโลก การส่ งคลื่น
โทรทัศน์ไปไกลๆ ในแนวเส้นตรงบน
ผิวโลกนั้น คลื่นจะถูกส่ วนโค้งของโลกบังไว้ จึงต้องใช้สถานีถ่ายทอดคลื่นเป็ นระยะๆ รับคลื่น
โทรทัศน์จากสถานีส่งซึ่ งมาในแนวเส้นตรง แล้วขยายให้สัญญาณแรงขึ้นก่อนที่จะส่ งไปยัง
สถานีที่อยูถ่ ดั ไป หรื ออาจใช้คลื่นไมโครเวฟนาสัญญาณจากสถานีส่งไปยังดาวเทียมแล้วส่ งคลื่น
ต่อไปยังสถานีรับที่อยูไ่ กลๆได้

คลืน่ ไมโครเวฟ
คลื่นไมโครเวฟมีความถี่ต้ งั แต่
1 x 109 เฮิรตซ์ ถึง 3 x 1011 เฮิรตซ์
เราใช้คลื่นไมโครเวฟในการทาอาหาร
เปิ ดปิ ดประตูซ่ ึงควบคุมโดยรี โมทคอน-
โทรล ใช้ถ่ายภาพพื้นผิวดาวเคราะห์
ใช้ศึกษากาเนิดของจักรวาล และ
เนื่องจากคลื่นไมโครเวฟสะท้อนจากผิวโลหะได้ดีจึงใช้ในการตรวจหาอากาศยาน ตรวจจับ
อัตราเร็ วของรถยนต์ ซึ่ งอุปกรณ์ดงั กล่าวเรี ยกว่า เรดาร์

33
3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net http://www.pec9.com บทที่ 3 คลื่น
รังสี อนิ ฟราเรด
เป็ นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่มีความถี่ในช่วง 1011 – 1014 เฮิรตซ์ ประสาทสัมผัสทางผิว
หนังของมนุษย์รับรังสี อินฟราเรดที่มีความยาวคลื่นบางช่วงได้ ปกติแล้วสิ่ งมีชีวติ ทุกชนิดจะแผ่
รังสี อินฟราเรดตลอดเวลา เราใช้รังสี อินฟราเรดถ่ายภาพพื้นโลกจากดาวเทียม เพราะรังสี
อินฟราเรดสามารถทะลุผา่ นเมฆหมอกที่หนาทึบเกินกว่าที่แสงธรรมดาจะผ่านได้ รังสี
อินฟราเรดมีใช้ในระบบควบคุมที่เรี ยกว่ารี โมทคอนโทรล ( remote control) หรื อการควบคุม
ระยะไกล นอกจากนี้ในทางการทหารก็มีการนารังสี อินฟราเรดมาใช้ควบคุมอาวุธนาวิถีให้
เคลื่อนไปยังเป้ าหมายได้อย่างแม่นยา
เทคโนโลยีปัจจุบนั ใช้การส่ งสัญญาณด้วยเส้นใยนาแสง ( optical fiber) และคลื่นที่เป็ น
พาหะนาสัญญาณคือรังสี อินฟราเรด เพราะการใช้แสงธรรมดานาสัญญาณอาจถูกรบกวนโดย
แสงภายนอกได้ง่าย
แสง
มีความถี่โดยประมาณตั้งแต่ 4 x 1014 เฮิรตซ์ ถึง 8 x 1014 เฮิรตซ์ ประสาทตาของ
มนุษย์ไวต่อคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าช่วงนี้มาก แสงที่มีความยาวคลื่นประมาณ 700 นาโนเมตร
ประสาทตาจะรับรู ้เป็ นแสงสี แดง ส่ วนแสงที่มีความยาวคลื่นน้อยกว่าประสาทตาจะรับรู ้เป็ น
แสงสี ส้ม เหลือง เขียว น้ าเงิน ตามลาดับ จนถึงแสงสี ม่วง แสงสี ต่างๆ เมื่อรวมกันด้วย
ปริ มาณที่เหมาะสม จะเป็ นแสงสี ขาว
เราสามารถใช้แสงเป็ นคลื่นพาหะนาข่าวสารในการสื่ อสารได้เช่นเดียวกับการใช้คลื่นวิทยุ
และคลื่นโทรทัศน์ ปั จจุบนั เรามีเครื่ องกาเนิดเลเซอร์ ซึ่ งเป็ นแหล่งกาเนิดแสงอาพันธ์ที่ให้แสง
ได้ ได้มีผทู ้ ดลองผสมสัญญาณเสี ยงและภาพกับเลเซอร์ ได้สาเร็ จ นอกจากใช้สื่อสารแล้ว
เลเซอร์ ยงั ใช้ในวงการต่างๆได้อย่างกว้างขวาง เช่น วงการแพทย์ ใช้ในการผ่าตัดนัยน์ตาเป็ นต้น
เลเซอร์ เขียนภาษาอังกฤษว่า LASER ซึ่ งย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated
Emission of Radiation ที่แปลเป็ นภาษาไทยได้วา่ “การขยายสัญญาณแสงโดยการปล่อยรังสี
แบบเร่ งเร้า ” เพราะแสงเลเซอร์ เป็ นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่ได้จากกระบวนการปล่อยรังสี แบบเร่ ง
เร้า และสัญญาณแสงถูกขยาย

34
3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net http://www.pec9.com บทที่ 3 คลื่น

รังสี อลั ตราไวโอเลต


เป็ นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่มีความถี่อยูใ่ นช่วง 1015 ถึง 1018 เฮิรตซ์ รังสี
อัลตราไวโอเลตที่มีในธรรมชาติส่วนใหญ่มาจากดวงอาทิตย์ ถ้าเราได้รับรังสี อลั ตราไวโอเลต
มากเกิน อาจเป็ นมะเร็ งผิวหนังได้ แต่ในบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟี ยร์ จะมีโมเลกุลหลายชนิด
เช่นโอโซน ซึ่ งสามารถกั้นรังสี อลั ตราไวโอเลตได้ดี รังสี น้ ีสามารถฆ่าเชื้อโรคบางชนิดได้ ใน
วงการแพทย์จึงใช้รังสี อลั ตราไวโอเลตในปริ มาณพอเหมาะรักษาโรคผิวหนังบางชนิด

รังสี เอกซ์
เป็ นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่มีความถี่อยูใ่ นช่วง 1017–1021 เฮิรตซ์ รังสี เอกซ์สามารถทะลุ
ผ่านสิ่ งกีดขวางหนาๆ ได้ ดังนั้นวงการอุตสาหกรรม จึงใช้รังสี เอกซ์ตรวจหารอยร้าวภายใน
ชิ้นส่ วนโลหะขนาดใหญ่ รังสี เอกซ์จะถูกขวางกั้นโดยอะตอมของธาตุหนักได้ดีกว่าธาตุเบา
แพทย์จึงใช้วธิ ี ฉายรังสี เอกซ์ผา่ นร่ างกายคน ไปตกบนฟิ ล์มเพื่อตรวจดูลกั ษณะผิดปกติของ
อวัยวะภายในและกระดูก เจ้าหน้าที่ด่านตรวจก็ใช้รังสี เอกซ์ตรวจหาอาวุธปื นหรื อวัตถุระเบิดใน
กระเป๋ าเดินทางได้
รังสี แกมมา
รังสี แกมมาเป็ น คลื่น แม่เหล็กไฟฟ้ าที่มีความถี่สูงกว่ารังสี เอกซ์ ปฏิกิริยานิวเคลียร์ บาง
ปฏิกิริยาปลดปล่อยรังสี แกมมา การมีความถี่สูงทาให้รังสี น้ ีเป็ นอันตรายต่อสิ่ งมีชีวติ ทุกชนิด
นอกจากนี้ยงั มีรังสี แกมมาที่ไม่ได้เกิดจากการสลายของธาตุกมั มันตรังสี เช่น รังสี แกมมาที่มา
จากอวกาศและรังสี คอสมิกนอกโลก อนุภาคประจุไฟฟ้ าที่ถูกเร่ งในเครื่ องเร่ งอนุภาคก็สามารถ
ให้กาเนิดรังสี แกมมาได้เช่นกัน

35
3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net http://www.pec9.com บทที่ 3 คลื่น
49(แนว O–net) การฝากสัญญาณเสี ยงไปกับคลื่นในระบบวิทยุแบบเอเอ็ม คลื่นวิทยุที่ได้จะมี
ลักษณะอย่างไร
1. คลื่นวิทยุจะเปลี่ยนแปลงแอมพลิจูดตามความถี่ของคลื่นเสี ยง
2. คลื่นวิทยุจะเปลี่ยนแปลงความถี่ตามแอมพลิจูดของคลื่นเสี ยง
3. คลื่นวิทยุจะเปลี่ยนแปลงความถี่ตามความถี่ของคลื่นเสี ยง
4. คลื่นวิทยุจะเปลี่ยนแปลงแอมพลิจูดตามแอมพลิจูดของคลื่นเสี ยง

50(แนว O–net) คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่นิยมใช้ในรี โมทควบคุมการทางานของเครื่ องโทรทัศน์คือ


ข้อใด
1. อัลตราไวโอเล็ต 2. ไมโครเวฟ 3. คลื่นวิทยุ 4. อินฟราเรด

51(มช 55) อาหารที่จะอุ่นด้วยเตาไมโครเวฟต้องมีอะไรเป็ นองค์ประกอบ


1. ออกซิเจน 2. ไขมัน 3. เกลือ 4. น้ า

36
3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net http://www.pec9.com บทที่ 3 คลื่น
52(มช 55) ดาวเทียมที่ใช้สารวจทรัพยากรธรรมชาติบนผิวโลก ตรวจจับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าใน
ย่านใด
1. อินฟราเรด 2. เรดาร์ 3. แกมมา 4. อัลตราไวโอเลต

53(มช 52) รังสี อะไรที่ใช้ในการถ่ายภาพอวัยวะในร่ างกาย


1. รังสี แกมมา 2. รังสี แอลฟา 3. รังสี เอกซ์ 4. รังสี อินฟราเรด

54(มช 49) ข้อใดผิดเกี่ยวกับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า


1. เป็ นคลื่นตามขวาง 2. เคลื่อนที่ได้โดยไม่อาศัยตัวกลาง
3. คลื่นวิทยุเอเอ็มมีความถี่คงที่ 4. คลื่นวิทยุสะท้อนในชั้นเรดิโอสเฟี ยร์

37
3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net http://www.pec9.com บทที่ 3 คลื่น
55(มช 49) ข้อใดกล่าวถึงเรื่ องสเปกตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าถูกต้อง
1. คลื่นอัลตราไวโอเลตในแสงแดดทาให้รู้สึกร้อน
2. คลื่นอินฟราเรดสามารถมองเห็นได้ในตอนกลางคืน
3. คลื่นอินฟราเรดมีพลังงานมากกว่าคลื่นอัลตราไวโอเลต
4. คลื่นอินฟราเรดและคลื่นอัลตราไวโอเลตมีความเร็ วในสุ ญญากาศเท่ากัน



เฉลย บทที่ 3 คลืน่


1. ตอบข้ อ 1. 2. ตอบข้ อ 2. 3. ตอบข้ อ 3. 4. ตอบข้ อ 3.
5. ตอบข้ อ 4. 6. ตอบข้ อ 2. 7. ตอบข้ อ 1. 8. ตอบข้ อ 2.
9. ตอบ 600 10. ตอบข้ อ 1 11. ตอบข้ อ 4. 12. ตอบข้ อ 1.
13. ตอบข้ อ 2. 14. ตอบข้ อ 4. 15. ตอบข้ อ 3. 16. ตอบข้ อ 3.
17. ตอบข้ อ 3. 18. ตอบข้ อ 3. 19. ตอบข้ อ 4. 20. ตอบข้ อ 2.
21. ตอบข้ อ 2. 22. ตอบข้ อ 3. 23. ตอบข้ อ 3. 24. ตอบข้ อ 4.
25. ตอบข้ อ 1. 26. ตอบข้ อ 1. 27. ตอบข้ อ 1. 28. ตอบข้ อ 2.
29. ตอบข้อ 1. 30. ตอบข้ อ 4. 31. ตอบข้ อ 2. 32. ตอบข้ อ 3.
33. ตอบข้ อ 4. 34. ตอบข้ อ 4. 35. ตอบข้ อ 3. 36. ตอบข้ อ 1.
37. ตอบข้ อ 4. 38. ตอบข้ อ 3. 39. ตอบข้ อ 1. 40. ตอบข้ อ 1.
41. ตอบข้ อ 3. 42. ตอบข้ อ 2. 43. ตอบข้ อ 3. 44. ตอบข้ อ 2.
45. ตอบข้ อ 2. 46. ตอบข้ อ 4. 47. ตอบข้ อ 1. 48. ตอบข้ อ 3.
49. ตอบข้ อ 4. 50. ตอบข้ อ 4. 51. ตอบข้ อ 4. 52. ตอบข้ อ 1.
53. ตอบข้ อ 3. 54. ตอบข้ อ 4. 55. ตอบข้ อ 4.

38

You might also like