You are on page 1of 59

.

CHAPTER
.
การเคลื่อนที่1
1.1 การเคลื่อนที่แนวตรง
▷▷ P20001

1.1.1 ระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ว และความเร็ว


ระยะทาง คือ ความยาวตามแนวที่เคลื่อนที่ไดจริง มีหนวยเปนเมตร (m) 1
การกระจัด คือ ความยาวที่วัดเปนเสนตรงจากจุดเริ่มตนถึงจุดสุดทายของ
การเคลื่อนที่มีหนวยเปนเมตร (m)

ตัวอยางเชน หากวัตถุกอนหนึ่งเคลื่อนที่จากจุด A ไปจุด B


แลวเคลื่อนตอไปจุด C ในทิศที่ตั้งฉากกันดังรูป จะไดวา
ระยะทาง = ความยาวตามแนวที่เคลื่อนที่ไดจริง
ระยะทาง = 4 + 3 เมตร
ระยะทาง = 7 เมตร (ไมตองสนใจทิศทาง)
และจะไดอีกวา
การกระจัด = ความยาวที่วัดเปนเสนตรงจาก
จุดเริ่มตนถึงจุดสุดทาย
การกระจัด = 5 เมตร

( การกระจัดนี้มีทิศจากจุดเริ่มตน (A) ไปถึงจุดสุดทาย (C) )


.

1. .P10001 ระยะทางและการกระจัดของการเคลื่อนที่ตอไปนี้ มีขนาด


เทากับกี่เมตรตามลําดับ

1. 12 , 8 2. 8 , 10 3. 8 , 12 4. 10 , 8

เรียนที่ pec9.com มีประสิทธิภาพและอิสรภาพสูงสุด


⌾ ไม่ต้องซื้อคอร์ส ไม่ต้องจ่ายเงินก้อน ⌾ โหลดหนังสือประกอบการเรียนฟรี
⌾ เลือกเรียนได้เฉพาะจุดที่ต้องการ เข้าใจได้เร็ว ⌾ สบายๆ เรียนไป กินขนมไป
⌾ ใช้เวลาเรียนสั้น เหลือเวลาเล่นเกมส์ ⌾ เรียนเสร็จ นำไปพลิกแพลงต่อได้
..
1
.
www.educasy.com
2. .P10002 (แนว O-NET) คลองที่ตัดตรงจากเมือง A ไปเมือง B มีความยาว 72 กิโลเมตร ขณะที่ถนน
คดเคี้ยวจากเมือง A ไปเมือง B มีความยาว 83 กิโลเมตร ถาชายคนหนึ่งขนสินคาจากเมือง A ไปเมือง B
โดยรถยนต ถามวาการเคลื่อนที่ครั้งนี้มีขนาดการกระจัดเทาใด
1. 11 km 2. 65 km 3. 72 km 4. 83 km

3. .P10003 (แนว O-NET) วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่เปนวงกลมรัศมี 14 เมตรครบหนึ่งรอบ การกระจัดมีคาเทาใด


2 1. 0 เมตร 2. 14 เมตร 3. 44 เมตร 4. 88 เมตร

▷▷ P20002

อัตราเร็วเฉลี่ย หาคาไดจาก อัตราสวนระหวางระยะทางที่เคลื่อนที่ไดกับเวลาที่ใชในการ


เคลื่อนที่ในชวงนั้น มีหนวยเปนเมตรตอวินาที ( m/s ) นั่นคือ
ระยะทางที่เคลื่อนที่ได
อัตราเร็วเฉลี่ย =
เวลาที่ใช
ความเร็วเฉลี่ย หาคาไดจาก อัตราสวนระหวางการกระจัดของเคลื่อนที่กับเวลาที่ใชในการ
เคลื่อนที่ในชวงนั้น มีหนวยเปนเมตรตอวินาที ( m/s ) นั่นคือ
การกระจัด
ความเร็วเฉลี่ย =
เวลาที่ใช
.

4. .P10004 (แนว O-NET) เด็กคนหนึ่งวิ่งเปนเสนตรงไปทางขวา 10 เมตร ในเวลา 3 วินาที จากนั้นหันกลับ


แลววิ่งเปนเสนตรงไปทางซายอีก 5 เมตร ในเวลา 2 วินาที อัตราเร็วเฉลี่ยของเด็กคนนี้เปนไปตามขอใด
1. 1 เมตรตอวินาที 2. 3 เมตรตอวินาที
3. 5 เมตรตอวินาที 4. 8 เมตรตอวินาที

..
1
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET
5. .P10005 (แนว O-NET) จากขอที่ผานมา ขนาดของความเร็วเฉลี่ยของเด็กคนนี้เปนไปตามขอใด
1. 1 เมตรตอวินาที 2. 3 เมตรตอวินาที
3. 5 เมตรตอวินาที 4. 8 เมตรตอวินาที

6. .P10006 (แนว O-NET) เด็กคนหนึ่งเดินไปทางทิศตะวันออกไดระยะทาง 40 เมตร จากนั้นเดินไปทางทิศ


เหนือไดระยะทาง 30 เมตร ใชเวลาเดินทางทั้งหมด 100 วินาที เด็กคนนี้เดินดวยอัตราเร็วเฉลี่ย
กี่เมตร/วินาที 3
1. 0.5 m/s 2. 0.7 m/s
3. 1.0 m/s 4. 1.4 m/s

7. .P10007 (แนว O-NET) ตอนเริ่มตนวัตถุอยูหางจากจุดอางอิงไปทางขวา 2.0 เมตร เมื่อเวลาผานไป 10


วินาที พบวาวัตถุอยูหางจากจุดอางอิงไปทางซาย 3.0 เมตร จงหาความเร็วเฉลี่ยของวัตถุนี้
1. 0.5 เมตรตอวินาที ทางขวา 2. 0.5 เมตรตอวินาที ทางซาย
3. 1.0 เมตรตอวินาที ทางขวา 4. 1.0 เมตรตอวินาที ทางซาย

8. .P10008 (แนว มช.) รถโดยสารเริ่มออกเดินทางจากกรุงเทพฯ เวลา 22.00 น. มาถึงเชียงใหมเวลา


8.00 น. กำหนดใหระยะทางจากกรุงเทพฯถึงเชียงใหมเปน 720 กิโลเมตร จงหาวารถโดยสารคันนี้วิ่งดวย
อัตราเร็วเฉลี่ยเทาใด
1. 10 กิโลเมตรตอชั่วโมง 2. 100 กิโลเมตรตอชั่วโมง
3. 72 กิโลเมตรตอชั่วโมง 4. 720 กิโลเมตรตอชั่วโมง

..
1
.
www.educasy.com
9. .P10009 (แนว O-NET) จากรูป แสดงแถบกระดาษบันทึก ขอมูล การเคลื่อนที่ ของวัตถุ ผานเครื่องเคาะ
สัญญาณเวลาซึ่งใชไฟฟากระแสสลับความถี่ 50 เฮิรตซ จงหาอัตราเร็วเฉลี่ยในหนวย เซนติเมตร/วินาที
ณ จุดใดจุดหนึ่งที่มีคาสูงสุดของการเคลื่อนที่นี้ เมื่อแถบดานลางแสดง ตัวเลขระยะเปนเซนติเมตรของจุดที่
บันทึกบนแถบขอมูล

0 1 2 3 .5 5.5 8 .5 10.5 12 13 14
1. 150 2. 125 3. 117 4. 75

4
10. .P10010 (แนว O-NET) ในการทดลองปลอยถุงทรายไดตกแบบเสรีโดยลากแถบกระดาษผานเครื่องเคาะ
สัญญาณเวลาที่เคาะถี่ 50 จุดตอวินาที จุดบนแถบกระดาษปรากฏดังรูป ถาระยะระหวาง จุดที่ 9 ถึงจุดที่
10 วัดได 3.80 เซนติเมตร และระยะระหวางจุดที่ 10 ถึงจุดที่ 11 วัดได 4.20 เซนติเมตร ความเร็วที่จุดที่
10 จะเปนกี่เมตรตอวินาที
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

1. 1.5 2. 2.0 3. 2.5 4. 3.0

▷▷ P20003

กรณีที่วัตถุเคลื่อนที่ไปดวยความเร็วคงที่ จะไดวา

ระยะทางที่เคลื่อนที่ได = อัตราเร็ว × เวลาที่ใชเคลื่อนที่


หรือ s = V·t

เมื่อ s คือ ระยะทางที่เคลื่อนที่ได


V คือ อัตราเร็วซึ่งคงที่
t คือ เวลาที่ใชเคลื่อนที่
หนวยของ s , V , t จะสัมพันธกัน เชน
ถา V ใชหนวย เมตร/วินาที , s จะใชหนวยเมตร , t จะใชหนวยวินาที
ถา V ใชหนวย กิโลเมตร/ชั่วโมง , s จะใชหนวยกิโลเมตร , t จะใชหนวยชั่วโมง
ถา V ใชหนวย เซนติเมตร/นาที , s จะใชหนวยเซนติเมตร , t จะใชหนวยนาที เปนตน
.

..
1
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET
11. .P10011 รถยนต คัน หนึ่ง วิ่ง ดวยอัตราเร็ว คงตัว 15 เมตรตอ วินาที เปน เวลานาน 60 วินาที ระยะทางที่
รถยนตคันนี้เคลื่อนที่ไดจะมีขนาดเทากับขอใดตอไปนี้
1. 45 m 2. 90 m 3. 450 m 4. 900 m

12. .P10012 (แนว O-NET) รถยนตคันหนึ่งวิ่งดวยอัตราเร็วคงตัว 15 เมตรตอวินาที นานเทาใดจึงจะเคลื่อนที่


ไดระยะทาง 450 เมตร 5
1. 10 s 2. 15 s 3. 30 s 4. 45 s

13. .P10013 (แนว O-NET) รถยนตคันหนึ่งวิ่งดวยอัตราเร็วเฉลี่ย 90 กิโลเมตรตอชั่วโมง จากเมือง A ไป


เมือง B ที่อยูหางกัน 270 กิโลเมตร ตองใชเวลาเดินทางกี่ชั่วโมงจึงจะถึงเมือง B
1. 2.0 2. 2.5 3. 3.0 4. 4.5

14. .P10014 (แนว O-NET) จากขอที่ผานมาถาออกเดินทางจากเมือง A เวลา 13.00 น. จะถึงเมือง B เวลา


เทาใด
1. 15.00 น. 2. 15.30 น. 3. 16.00 น. 4. 16.30 น.

..
1
.
www.educasy.com
15. .P10015 (แนว O-NET) รถยนตคันหนึ่งแลนดวยอัตราเร็วคงตัว 30 กิโลเมตรตอชั่วโมง ระยะทางที่รถยนต
คันนี้แลนไดในเวลา 6 นาที เปนไปตามขอใด
1. 0.3 กิโลเมตร 2. 2.0 กิโลเมตร 3. 3.0 กิโลเมตร 4. 12 กิโลเมตร

16. .P10016 (มช. 52) เตาตัวหนึ่งเดินเปนเสนตรงดวยอัตราเร็วคงตัว 30 เซนติเมตรตอนาที จงหาวาเตาตัวนี้


6 จะเดินไปไดไกลกี่เมตร เมื่อเวลาผานไป 4 ชั่วโมง
1. 2 2. 18 3. 7.2 4. 72

17. .P10017 (แนว O-NET) เด็กคนหนึ่งออกกำลังกายดวยการวิ่งดวยอัตราเร็ว 4 เมตรตอวินาที เปนเวลา


1 นาที แลวเดินดวยอัตราเร็ว 2 เมตรตอวินาที อีก 1 นาที จงหาอัตราเร็วเฉลี่ยในชวงเวลา 2 นาทีนี้
1. 3.0 m/s 2. 3.5 m/s 3. 4.0 m/s 4. 4.5 m/s

18. .P10018 (แนว O-NET) A กับ B วิ่งออกกำลังกายจากจุดๆ หนึ่งดวยอัตราเร็วสม่ำเสมอ 10 เมตรตอวินาที


และ 15 เมตรตอวินาทีตามลำดับ เมื่อเวลาผานไป 30 วินาที A กับ B จะอยูหางกันกี่เมตร

เรียนที่ pec9.com มีประสิทธิภาพและอิสรภาพสูงสุด


⌾ ไม่ต้องซื้อคอร์ส ไม่ต้องจ่ายเงินก้อน ⌾ โหลดหนังสือประกอบการเรียนฟรี
⌾ เลือกเรียนได้เฉพาะจุดที่ต้องการ เข้าใจได้เร็ว ⌾ สบายๆ เรียนไป กินขนมไป
⌾ ใช้เวลาเรียนสั้น เหลือเวลาเล่นเกมส์ ⌾ เรียนเสร็จ นำไปพลิกแพลงต่อได้
..
1
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET
19. ถาเพื่อนพูดวา "รถแขงวิ่งบนทางโคงดวยความเร็วคงตัว 100 กิโลเมตรตอชั่วโมง " คำกลาวนี้
ถูกตองหรือผิดอยางไร
1. ถูก เพราะคนขับไมไดเหยียบเบรกความเร็วจึงคงตัว
2. ถูก เพราะความเรงมีคาเปนศูนย ความเร็วจึงคงตัว
3. ผิด เพราะทิศทางของการเคลื่อนที่เปลี่ยนแปลง ความเร็วจึงไมคงตัว
4. ผิด เพราะคนขับเหยียบคันเรงไว ความเร็วจึงไมคงตัว

▷▷ P20004

ปกติแลวเวลาที่เราขับรถไปขางหนาแลวเห็นสิ่งกีดขวาง
ในชวงแรก ( ประมาณ 0.2 วินาที ) สมองของเราจะยังไมสั่ง
การใหเราทำการเบรก ชวงนี้รถจะยังคงเคลื่อนที่ไปขางหนา
ดวยความเร็วเทาเดิม ระยะทางที่เคลื่อนที่ไดในชวงแรกนี้เรียก
ระยะคิด หลังจากนั้นจึงเกิดการเบรกทำใหรถเคลื่อนที่ชาลง
จนหยุดนิ่งในที่สุด ระยะทางที่เคลื่อนที่ไดในชวงนี้เรียก ระยะ
เบรก และระยะคิดรวมกับระยะเบรกเรียกวา ระยะหยุด
นั่นคือ ระยะหยุด = ระยะคิด + ระยะเบรก

20. .P10019 ชายคนหนึ่งคนขับรถมาแลวเห็นสิ่งกีดขวางเขาจึงเหยียบเบรกเพื่อหยุดรถ พบวาระยะหยุดของ


เขาคือ 25 เมตร โดยแบงเปนระยะคิด 10 เมตร และระยะเบรกอีกระยะหนึ่ง จงหาระยะเบรกดังกลาว
1. 10 m 2. 12 m 3. 15 m 4. 16 m

..
1
.
www.educasy.com
21. .P10020 คนขับรถคันหนึ่ง ขับมาดวยอัตราเร็ว 40 กิโลเมตรตอชั่วโมง แลวเห็นสัญญาณใหหยุดรอ เขาจึง
เหยียบเบรกเพื่อหยุดรถ พบวาระยะหยุดของเขาคือ 20 เมตร โดยแบงเปน ระยะคิด (คือเริ่มตั้งแตมองเห็น
จนกระทั่งเทาเริ่มแตะเบรก) 8 เมตร และระยะเบรก 12 เมตร ถาเขากำลังขับรถคันนี้มาดวยอัตราเร็ว 100
กิโลเมตรตอชั่วโมง ระยะคิดของเขาเปนกี่เมตร
1. 20 2. 30 3. 32 4. 48

8 ▷▷ P20005

1.1.2 ความเรง
ความเรง คือ ความเร็วที่เปลี่ยนไปในหนึ่งหนวยเวลา
ความเร็วที่เปลี่ยนไป
หาคาไดจาก ความเรง =
เวลาที่ใช
ความเร็วปลาย − ความเร็วตน
ความเรง =
เวลาที่ใช
v −v
หรือ a= 2 1
t
เมื่อ a คือ ความเรง มีหนวยเปน เมตรตอวินาที2 (m/s2 )
v1 คือ ความเร็วตน มีหนวยเปน เมตรตอวินาที (m/s)
v2 คือ ความเร็วปลาย มีหนวยเปน เมตรตอวินาที (m/s)
t คือ เวลาที่ใช มีหนวยเปน วินาที ( s )
.

22. .P10021 (แนว O-NET) รถยนตคันหนึ่งเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งไปบนเสนทางตรง เวลาผานไป 10 วินาที


มีความเร็วเปน 25 เมตร/วินาที ถาอัตราเร็วเพิ่มขึ้นอยางสม่ำเสมอ รถยนตคันนี้มีความเรงเทาใด
1. 2.0 m/s2 2. 2.5 m/s2 3. 4.0 m/s2 4. 5.0 m/s2

..
1
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET
23. .P10022 เด็กคนหนึ่งวิ่งตรงไปดวยความเรง 3 เมตรตอวินาที2 ถาเขาเริ่มตนวิ่งจากหยุดนิ่ง อีก 10 วินาที
ตอมาเขาจะมีความเร็วเทาใด
1. 2 m/s 2. 10 m/s 3. 15 m/s 4. 30 m/s

24. .P10023 (แนว มช.) รถยนตคันหนึ่งเรงความเร็วจากหยุดนิ่งจนมีความเร็ว 72 กิโลเมตร/ชั่วโมง ในเวลา


4 วินาที คิดเปนความเรงเฉลี่ยไดกี่เมตร/วินาที2 9
1. 25 2. 18 3. 10 4. 5

25. .P10024 (แนว มช.) รถคันหนึ่งแลนมาดวยความเร็ว 108 กิโลเมตร/ชั่วโมง กอนถึงไฟแดงคนขับเหยียบ


เบรก และทำใหรถหยุดตรงตำแหนงไฟแดงโดยใชเวลา 10 วินาที ความเรงเฉลี่ย ของรถในชวงเหยียบเบรก
มีคากี่เมตร/วินาที2
1. 3 2. 5 3. −3 4. −5

26. .P10025 (แนว มช.) จากคำถามขอที่ผานมา ณ จุดเริ่มตนรถหยุดนิ่ง ภายในเวลา 10 วินาที รถยนตคันนี้


เคลื่อนที่ไดระยะทางกี่เมตร
1. 15 2. 30 3. 150 4. 300

..
1
.
www.educasy.com
▷▷ P20006
ควรทราบ
▶ ถาความเรง (a) มีคาเปนบวก จะทำใหความเร็ว (v) ของการเคลื่อนที่มีคาเพิ่มขึ้น
▶ ถาความเรง (a) มีคาเปนลบ (อาจเรียกอีกอยางวาความหนวง) จะทำใหความเร็ว (v)
ของการเคลื่อนที่มีคาลดลง
▶ ถาความเรง (a) มีคาเปนศูนย จะทำใหความเร็ว (v) ของการเคลื่อนที่คงที่
.

27. .P10026 (แนว O-NET) ในการเคลื่อนที่เปนเสนตรง กราฟขอใดแสดงวาวัตถุเคลื่อนที่ดวยความเร็วคงตัว


10 1. ความเร่ง 2. ความเร่ง 3. ความเร่ง 4. ความเร่ง

0 เวลา 0 เวลา 0 เวลา 0 เวลา

▷▷ P20007

เกี่ยวกับการเคลื่อนที่เปนเสนตรงในแนวดิ่ง

ขณะวัตถุเคลื่อนที่ในแนวดิ่งวัตถุจะถูกแรงดึงดูดของ
โลกดูดเอาไว ทำใหเกิดความเรงเนื่องจากแรงโนมถวงในทิศพุง
ลงสูพื้นโลกและมีขนาดประมาณ 9.8 เมตร/วินาที2 ความเรง
นี้นิยมใชสัญลักษณแทนดวย g

28. .P10027 (แนว O-NET) ปลอยวัตถุใหตกลงมาตามแนวดิ่ง เมื่อเวลาผานไป 6 วินาที วัตถุมีความเรงเทาใด


1. 9.8 เมตรตอวินาที2 2. 19.6 เมตรตอวินาที2
3. 29.4 เมตรตอวินาที2 4. 39.2 เมตรตอวินาที2

..
1
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET
29. .P10028 (มช. 49) นักเรียนโยนกอนหินขึ้นไปในแนวดิ่งถึงจุดสูงสุด 12 เมตร กอนหินหยุดนิ่งกอนตก
ลงมา ณ จุดสูงสุดกอนหินมีความเรงกี่เมตร/วินาที2
1. 0 2. 9.8 3. 12 4. 19.6

30. .P10029 (แนว มช.) วัตถุ A และ B มีมวลเทากัน ตกจากที่สูง 0.5 และ 1.0 เมตร ตามลำดับ ในขณะที่
เหรียญตกเกือบถึงพื้น ขอใดกลาวไมถูกตอง 11
1. วัตถุ B มีความเรงมากกวาวัตถุ A
2. วัตถุ B มีความเรงนอยกวาวัตถุ A
3. วัตถุ B มีความเรงเทากับวัตถุ A
4. มีขอที่ไมถูกมากกวา 1 ขอ

31. .P10030 (มช. 53) เมื่อโยนลูกเทนนิสขึ้นในแนวดิ่ง ถาไมคิดแรงตานของอากาศ ความเรงของลูกเทนนิส


จะมีทิศเขาสูศูนยกลางของโลกเมื่อใดบาง
ก. เมื่อลูกเทนนิสกำลังเคลื่อนที่ขึ้น
ข. เมือ่ ลูกเทนนิสอยูที่ตำแหนงสูงสุด
ค. เมือ่ ลูกเทนนิสกำลังตกลงจากตำแหนงสูงสุด
ขอความใดถูกตอง
1. ข. เทานั้น 2. ก. ข. และ ค.
3. ข. และ ค. เทานั้น 4. ก. และ ค. เทานั้น

เรียนที่ pec9.com มีประสิทธิภาพและอิสรภาพสูงสุด


⌾ ไม่ต้องซื้อคอร์ส ไม่ต้องจ่ายเงินก้อน ⌾ โหลดหนังสือประกอบการเรียนฟรี
⌾ เลือกเรียนได้เฉพาะจุดที่ต้องการ เข้าใจได้เร็ว ⌾ สบายๆ เรียนไป กินขนมไป
⌾ ใช้เวลาเรียนสั้น เหลือเวลาเล่นเกมส์ ⌾ เรียนเสร็จ นำไปพลิกแพลงต่อได้
..
1
.
www.educasy.com
▷▷ P20008

คาความเรงเนื่องจากแรงโนมถวง สามารถนำไปใชคำนวณไดโดยถือหลักการดังนี้

1) ขณะวัตถุกำลังเคลื่อนที่ขึ้น ใหใชคาความเรงเปน
−9.8 เมตร/วินาที2 เพราะความเรงนี้มีทิศลงตรงกันขาม
กับความเร็วของการเคลื่อนที่ซึ่งมีทิศขึ้น
2) ขณะวัตถุกำลังเคลื่อนที่ลง ใหใชคาความเรงเปน
+9.8 เมตร/วินาที2 เพราะความเรงนี้มีทิศลงเหมือนกับ
ความเร็วของการเคลื่อนที่
12 3) หากวัตถุเคลื่อนที่ขึ้นในแนวดิ่ง ขณะวัตถุอยูที่จุด
สูงสุดของการเคลื่อนที่จะมีความเร็วในแนวดิ่งเปนศูนยเสมอ
.

32. .P10031 (แนว O-NET) ถาปลอยใหวัตถุตกลงในแนวดิ่งอยางเสรี หากวัตถุนั้นตกกระทบพื้นดินในเวลา


10 วินาที ถามวาวัตถุกระทบดินดวยความเร็วเทากับกี่เมตร/วินาที
1. 4.9 m/s 2. 9.8 m/s 3. 49 m/s 4. 98 m/s

33. .P10032 (มช. 51) เมื่อโยนกอนหินขึ้นไปในแนวดิ่งดวยความเร็ว 4.9 เมตรตอวินาที ใชเวลานานกี่วินาที


กอนหินจึงจะมีความเร็วเปนศูนย
1. 0.5 2. 1.0 3. 2.0 4. 4.0

34. .P10033 (มช. 49) ถายิงกอนหินขึ้นไปในแนวดิ่งดวยความเร็วตน 98 เมตร/วินาที กอนหินจะถึงจุดสูงสุด


ใชเวลานานกี่วินาที
1. 5 2. 10 3. 29.8 4. 4.9

..
1
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET
35. .P10034 (แนว O-NET) กราฟของความเร็ว v กับเวลา t ขอใดสอดคลองกับการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ถูก
โยนขึ้นไปในแนวดิ่ง
1. v 2. v

0 t 0 t

3. v 4. v

13
0 t 0 t

36. (แนว O-NET) ขอใดตอไปนี้ไมไดทำใหการเคลื่อนที่ของวัตถุเปนการตกแบบเสรี กำหนดใหการเคลื่อนที่


ทุกขอไมคิดแรงตานอากาศ
1. ผูกถุงทรายเขากับสปริงในแนวดิ่งซึ่งตรึงไวกับเพดาน ดึงถุงทรายลงแลวปลอย
2. ขวางลูกบอลลงจากดาดฟาตึก
3. ลูกมะพราวหลนลงจากยอดมะพราวลงมาในแนวดิ่ง
4. ขวางกอนหินจากยอดหนาผาออกไปในแนวระดับ

..
1
.
www.educasy.com
1.2 การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล
▷▷ P20009

การเคลื่อนที่ แบบโพรเจกไทล คือ การ


เคลื่อนที่ในแนวโคงรูปพาราโบลา เกิดจากการ
เคลื่อนที่หลายมิติผสมกัน ตัวอยางเชนหากเรา
ขวางวัตถุออกไปในแนวระดับจากดาดฟาตึกแหง
หนึ่ง เราจะพบวาวัตถุจะมีความพยายามที่จะ
เคลื่อนที่ไปในแนวระดับ (แกน X) ตามแรงที่เรา
14 ขวาง พรอมกันนั้นวัตถุจะถูกแรงโนมถวงของโลก
ดึง ให เคลื่อนที่ ตกลงมาในแนวดิ่ง (แกน Y) ดวย และเนื่องจากการเคลื่อนที่ ทั้ง สองแนวนี้ เกิด ในเวลา
เดียวกัน จึงเกิดการผสมผสานกันกลายเปนการเคลื่อนที่แบบเสนโคงพาราโบลาพุงออกมาระหวางกลาง
แนวระดับ (แกน X) และแนวดิ่ง (แกน Y) ดังรูป การเคลื่อนที่ในวิถีโคงแบบนี้เรียกวาเปน การเคลื่อนที่
แบบโพรเจกไทล
.

37. .P10035 (แนว O-NET) ขอใดใกลเคียงกับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทลมากที่สุด


1. เครื่องบินขณะบินขึ้นจากสนามบิน 2. เด็กเลนสะพานลื่น
3. ลูกเทนนิสที่ถูกตีออกไปขางหนา 4. เครื่องรอนขณะรอนลง

..
1
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET
▷▷ P20010

ขอควรรูเบื้องตนเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล

1) อัตราเร็ว ของการเคลื่อนที่ ในแนวระดับ (แกน X)


(vx ) จะมี คา คงที่ แต ในแนวดิ่ง (แกน Y) วัตถุ จะมี ความเรง
เนื่องจาก แรง โนม ถวง ( g ) คงตัว อยู ตลอด เวลา จึง ทำให
ความเร็วในดิ่ง (vy ) มีคาเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา
.
▷▷ P20011
2) พิจารณาการเคลื่อนที่ แบบโพรเจกไทล ชนิด โยน
วัตถุจากพื้นขึ้นไปบนอากาศแลวใหโคงตกลงมา หากตองการ 15
ใหวัตถุเคลื่อนที่ไปในแนวระดับไดไกลที่สุดตองโยนวัตถุขึ้นไป
ในแนวเอียงทำมุม 45o กับแนวระดับ และที่จุดสูงสุดของการ
เคลื่อนที่ ความเร็วของแนวดิ่ง (แกน Y) (vy ) จะมีคาเปนศูนย
เหลือแตความเร็วในแนวระดับ (แกน X) (vx ) ซึ่งจะมีคาเทากับ
ความเร็วแนวระดับของตอนเริ่มตน เพราะความเร็วแนวระดับ
จะคงที่ ทุก ๆ จุดของการเคลื่อนที่จะมีคาเทากันตลอดเวลา
.

38. .P10036 ขวางลูกบอลจากดาดฟาตึกไปในแนวระดับ ปริมาณใดของ


วัตถุมีคาคงตัว
1. การกระจัด
2. ระยะทาง
3. ความเร็วในแนวระดับ
4. ความเร็วในแนวดิ่ง

39. .P10037 (แนว O-NET) ) ยิงลูกปนออกไปในแนวระดับ ทําใหลูกปนเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล ตอนที่


ลูกปนกําลังจะกระทบพื้นขอใด ถูกตองที่สุด ( ไมตองคิดแรงตานอากาศ )
1. ความเร็วในแนวระดับเปนศูนย
2. ความเร็วในแนวระดับมีขนาดมากกวาตอนที่ถูกยิงออกมา
3. ความเร็วในแนวระดับมีขนาดนอยกวาตอนที่ถูกยิงออกมาแตไมเปนศูนย
4. ความเร็วในแนวระดับเทากับความเร็วตอนตนที่ลูกปนถูกยิงออกมา

..
1
.
www.educasy.com
40. .P10038 (แนว O-NET) ) วัตถุเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทลขณะที่วัตถุอยูที่จุดสูงสุด ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1. ความเร็วของวัตถุมีคาเปนศูนย 2. ความเรงของวัตถุมีคาเปนศูนย
3. ความเร็วของวัตถุในแนวดิ่งมีคาเปนศูนย 4. ความเร็วของวัตถุในแนวราบมีคาเปนศูนย

41. .P10039 (แนว O-NET) เมื่อ วัตถุ เคลื่อนที่ ขึ้น ไปถึง ตำแหนง สูงสุด ของการเคลื่อนที่ แบบโพรเจกไทล
อัตราเร็วของวัตถุจะเปนอยางไร

16 1. มีคาเทากับอัตราเร็วแนวราบเมื่อเริ่มเคลื่อนที่
2. มีคาเทากับอัตราเร็วแนวดิ่งเมื่อเริ่มเคลื่อนที่
3. มีคาเปนศูนย
4. มีคาเทากับจุดอื่นๆ ของการเคลื่อนที่

42. .P10040 (แนว O-NET) เตะลูกบอลออกไปทำให ลูกบอลเคลื่อนที่


แบบโพรเจกไทลดังรูป และกำหนดใหทิศขึ้นเปนบวก กราฟใน
ขอใดตอไปนี้บรรยายความเรงในแนวดิ่งของลูกบอลไดถูกตอง ถาไม
คิดแรงตานอากาศ
1. ความเร่ง 2. ความเร่ง

0 เวลา
0 เวลา

3. ความเร่ง 4. ความเร่ง

0 เวลา 0 เวลา

เรียนที่ pec9.com มีประสิทธิภาพและอิสรภาพสูงสุด


⌾ ไม่ต้องซื้อคอร์ส ไม่ต้องจ่ายเงินก้อน ⌾ โหลดหนังสือประกอบการเรียนฟรี
⌾ เลือกเรียนได้เฉพาะจุดที่ต้องการ เข้าใจได้เร็ว ⌾ สบายๆ เรียนไป กินขนมไป
⌾ ใช้เวลาเรียนสั้น เหลือเวลาเล่นเกมส์ ⌾ เรียนเสร็จ นำไปพลิกแพลงต่อได้
..
1
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET
43. .P10041 (มช. 52) ในการยิงปนใหญ ผูยิงควรใชมุมในการยิงกี่องศา จึงจะทำใหลูกปนเคลื่อนที่ไปได
ไกลที่สุด
1. 30 2. 45 3. 60 4. 65

1.3 การเคลื่อนที่แบบวงกลม
▷▷ P20012

การเคลื่อนที่แบบวงกลม เปนการเคลื่อนที่ในแนวโคงรอบจุดศูนยกลางจุดหนึ่ง เชนการ


เคลื่อนที่ ของวัตถุ ที่ ผูก ไว ดวยเชือกแลว เหวี่ยงให เคลื่อนที่ เปน วงกลม , การเคลื่อนที่ ของรถไฟเหาะตี 17
ลังกา , การเลี้ยวโคงบนถนนของรถ หรือการโคจรของดวงจันทรรอบโลก เปนตน

44. .P10042 (มช. 49) การเคลื่อนที่ในขอใดไมเปนการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล


1. ชูตลูกบาสเก็ตบอลลงหวง 2. ขวางกอนหินในแนวระดับ
3. ยิงลูกธนูเขาเปาตาวัว 4. ขับรถยนตเขาโคง

..
1
.
www.educasy.com
▷▷ P20013

กอนศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบวงกลม นักเรียนตองทำความเขาใจคำศัพท
ตอไปนี้ใหดีกอน

1) คาบ (T) คือเวลาที่ใชในการเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ


มีหนวยเปนวินาที (s)
2) ความถี่ (f) คือ จำนวนรอบที่ เคลื่อนที่ ได ในหนึ่ง
หนวยเวลามี หนวยเปน รอบ/วินาที หรือ เฮิรตซ (Hz) เรา
สามารถหาคาความถี่ไดจากสมการตอไปนี้ จุดเริ่มต้น
จุดสิ้นสุด
18 จำนวนรอบ 1
f= หรือ f=
เวลา T
เมื่อ f คือ ความถี่ (Hz)
T คือ คาบของการเคลื่อนที่ (วินาที)
.

45. .P10043 (แนว O-NET) เหวี่ยงจุกยางใหเคลื่อนที่เปนแนววงกลมในระนาบระดับศีรษะ 10 รอบ ใชเวลา


4 วินาที จุกยางเคลื่อนที่ดวยความถี่เทาใด
1. 0.25 รอบ/วินาที 2. 0.5 รอบ/วินาที
3. 2.5 รอบ/วินาที 4. 5.0 รอบ/วินาที

46. .P10044 (แนว O-NET) รถไตถังเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็วสม่ำเสมอและวิ่งครบรอบได 4 รอบ ในเวลา


8 วินาที หากคิดในแงความถี่ของการเคลื่อนที่ ความถี่จะเปนเทาใด
1. 2.0 Hz 2. 1.5 Hz 3. 0.5 Hz 4. 0.4 Hz

47. .P10045 (แนว O-NET) จากคำถามขอที่ผานมา คาบของการเคลื่อนที่จะมีคาเปนเทาใด


1. 2.0 s 2. 1.5 s 3. 0.5 s 4. 0.4 s

..
1
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET
▷▷ P20014

โดยทั่วไปแลว การเคลื่อนที่ แบบวงกลม จะมี แรงเกี่ยวของ แรงหนีศูนย์กลาง


อยางนอย 2 แรงเสมอ ไดแก
1) แรงหนีศูนยกลาง จะพยายามผลักวัตถุออกไปจาก
วงกลมอยูตลอดเวลา แรงเข้าสู่ศูนย์กลาง
2) แรงเขาสูศูนยกลาง จะพยายามดึงวัตถุเขาสูจุด
ศูนยกลางของวงกลมเสมอ
.
▷▷ P20015
ปกติแลวแรงทั้งสองนี้จะมีขนาดเทากัน แตมีทิศตรงกันขามดังรูป ทั้งนี้เพื่อใหวัตถุอยูใน
ภาวะสมดุลของแรงนั่นเอง แรงเขาสูศูนยกลางของการเคลื่อนที่แตกรณีอาจมีลักษณะที่แตกตางกันไป 19
ตัวอยางเชน

การเคลื่อนที่ ของวัตถุ ที่ ผูก ไว ดวยเชือกแลว เหวี่ยงให


เคลื่อนที่เปนวงกลม แรงที่ทำหนาที่เปนแรงเขาสูศูนยกลางคือ
แรงดึงเชือก

การเลี้ยวโคงบนถนนของรถ แรงที่ทำหนาที่เปนแรง
เขาสูศูนยกลางคือแรงเสียดทานระหวางยางรถกับพื้นถนน

การโคจรของดวงจันทรรอบโลก แรงที่ทำหนาที่เปน
แรงเขาสูศูนยกลางคือแรงดึงดูดที่โลกดูดดวงจันทรไวนั่นเอง

การเคลื่อนที่ ของรถไฟเหาะตี ลังกา หากรถอยู ที่ จุด


สูงสุด ของราง แรงที่ ทำหนาที่ เปน แรงเขา สู ศูนยกลางคือ น้ำ
หนัก รถไฟรวมกับ แรงดัน ของพื้น ราง แต ถา รถอยู ที่ จุด ต่ำ สุด
ของรางแรงที่ ทำหนาที่ เปน แรงเขา สู ศูนยกลางคือ แรงดัน พื้น
อยางเดียวดังแสดงในรูป

..
1
.
www.educasy.com
48. .P10046 (แนว O-NET) การเคลื่อนที่ ใดที่ แรงลัพธ ที่ กระทำตอ วัตถุ มี ทิศ ตั้ง ฉากกับ ทิศ ของการเคลื่อนที่
ตลอดเวลา
1. การเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล
2. การเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย
3. การเคลื่อนที่ในแนวตรง
4. การเคลื่อนที่แบบวงกลมดวยอัตราเร็วคงตัว

49. .P10047 (แนว O-NET) ผูก เชือกเขา กับ จุก ยาง แลว เหวี่ยงให จุก ยางเคลื่อนที่ เปน วงกลมในแนวระดับ
เหนือศีรษะดวยอัตราเร็วคงตัว ขอใดถูกตอง
20 1. แรงที่กระทําตอจุกยางมีทิศเขาสูศูนยกลางวงกลม
2. แรงที่กระทําตอจุกยางมีทิศเดียวกับความเร็วของจุกยาง
3. จุกยางมีความเร็วคงตัว
4. จุกยางมีความเรงเปนศูนย

50. .P10048 (มช. 51) เมื่อเหวี่ยงลูกบอลผูกเชือกเปนวงกลมขนานพื้นราบเหนือศีรษะ หากเชือกขาดลูกบอล


จะเคลื่อนที่อยางไร
1. เคลื่อนที่ตอไปตามแนวสัมผัส
2. เคลื่อนที่ตอไปตามแนวรัศมี
3. เคลื่อนที่ตอไปดวยผลรวมความเร็วทั้งสองแนว
4. ไมอาจคาดการณทิศทางลูกบอลได

51. .P10049 (มช. 53) เมื่อนำมวล m กอนเล็กๆ มาผูกดวยเชือกที่มีความยาวพอเหมาะ แลวแกวงเปน


วงกลมเหนือศีรษะดวยความเร็วเชิงมุมคงที่ ถาเชือกที่ผูกมวลขาดทันทีในขณะที่กำลังแกวงอยู มวล m จะ
เคลื่อนที่อยางไร
ก. เคลื่อนที่ออกตามแนวเสนสัมผัสวงกลมที่กำลังแกวงอยู
ข. เคลือ่ นที่ออกตามแนวรัศมีของวงกลมที่กำลังแกวงอยู
ค. เคลือ่ นที่เปนทางโคงโพรเจคไทล
ขอความใดถูกตอง
1. ก. เทานั้น 2. ข. เทานั้น
3. ก. และ ค. 4. ข. และ ค.

..
1
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET
52. .P10050 ขณะที่รถกำลังเลี้ยวโคงรอบวงเวียนแหงหนึ่งนั้น แรงที่ทำหนาที่เปนแรงเขาสูศูนยกลางคือแรงใน
ขอใดตอไปนี้
1. แรงดึงดูดระหวางมวล 2. แรงดึงเชือก
3. แรงผลักของสนามโนมถวง 4. แรงเสียดทาน

53. .P10051 หลังฝนตกทางลื่น หากขับรถเลี้ยวโคงบนถนนอยางเร็วเกินขีดจำกัด เหตุใดรถจึงไถลออกนอก


เสนทาง
1. เพราะยางรถจะเสื่อมสภาพ 2. เพราะลอรถจะหมุนเร็วเกินไป 21
3. เพราะสนามโนมถวงมีขนาดลดลง 4. แรงเสียดทานมีนอยเกินไป

54. .P10052 เหตุใดการสรางถนนตรงชวงทางโคงตองยกพื้นถนนใหเอียงทำมุมกับ


พื้นราบ
R
1. เพื่อใหน้ำฝนที่ตกไหลลงไปจากถนน θ

2. เพื่อลดน้ำหนักรถที่กดถนน
3. เพื่อใหแรงดันพื้นสวนหนึ่งดันรถเขาสูศูนยกลางวงกลม
4. มีขอที่ถูกมากกวา 1 ขอ

55. .P10053 (แนว O-NET) ลูกแกวมวล 1 กิโลกรัม เคลื่อนที่ขึ้นรางโคงตีลังกาอัน


มีรัศมี 1 เมตร ดวยความเร็วคงที่ดังแสดงในรูป ขณะที่ลูกแกวอยูที่จุดสูงสุด ของ
ราง แรงในขอตอไปนี้ที่ทำหนาที่เปนแรงสูศูนยกลาง
1. แรงดันพื้น
2. น้ำหนักของลูกแกว
3. แรงดันพื้นลบน้ำหนักของลูกแกว
4. แรงดันพื้นบวกกับน้ำหนักของลูกแกว

เรียนที่ pec9.com มีประสิทธิภาพและอิสรภาพสูงสุด


⌾ ไม่ต้องซื้อคอร์ส ไม่ต้องจ่ายเงินก้อน ⌾ โหลดหนังสือประกอบการเรียนฟรี
⌾ เลือกเรียนได้เฉพาะจุดที่ต้องการ เข้าใจได้เร็ว ⌾ สบายๆ เรียนไป กินขนมไป
⌾ ใช้เวลาเรียนสั้น เหลือเวลาเล่นเกมส์ ⌾ เรียนเสร็จ นำไปพลิกแพลงต่อได้
..
1
.
www.educasy.com
1.4 การเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย
▷▷ P20016

การเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย คือการเคลื่อนที่ซึ่งเคลื่อนที่กลับไปมาซ้ำทางเดิม โดย


ผานตำแหนงสมดุลโดยมีคาบของการเคลื่อนที่คงตัว ตัวอยางเชนการสั่นของสปริง การแกวงของลูกตุม
นาิกาหรือชิงชา เปนตน

22

56. .P10054 (แนว O-NET) ขอใดตอไปนี้ไมไดทำใหวัตถุมีการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย


1. แขวนลูกตุมดวยเชือกในแนวดิ่ง ดึงลูกตุมออกมาจนเชือกทำมุมกับแนวดิ่งเล็กนอย แลวปลอยมือ
2. ผูกวัตถุกับปลายสปริงในแนวระดับ ตรึงอีกดานของสปริงไวดึงวัตถุใหสปริงยืดออกเล็กนอย แลวปลอย
มือ
3. ผูกวัตถุกับปลายสปริงในแนวดิ่ง ตรึงอีกดานของสปริงไว ดึงวัตถุใหสปริงยืดออกเล็กนอย แลวปลอยมือ
4. แขวนลูกตุมดวยเชือกในแนวดิ่ง ผลักลูกตุมใหแกวงเปนวงกลมในแนวราบ โดยเสนเชือกทำมุมคงตัวกับ
แนวดิ่ง

..
1
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET
▷▷ P20017

ขอควรรูเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย

1) ขณะที่วัตถุกำลังเคลื่อนที่ผานจุดสมดุล (จุดตรงกลาง) วัตถุจะมีความเร็วสูงสุด (vmax ) แต


มีความเรง (a) ต่ำที่สุด
ขณะที่วัตถุอยูที่จุดตรงปลายของการเคลื่อนที่ วัตถุจะมีความเรงสูงสุด (amax ) แตมี
ความเร็ว (v) ต่ำที่สุด
.
▷▷ P20018
2) คาบ (T) คือเวลาที่ใชในการเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ
มีหนวยเปนวินาที (s) 23
สำหรับคาบของการเคลื่อนที่ฮารมอนิกอยางงายแบบ
แกวง เราสามารถหาคาบของการแกวงไดจากสมการ

L
T = 2π
g

เมื่อ T คือ คาบของการแกวง มีหนวยเปน วินาที (s)


L คือ คือระยะจากจุดตรึงสายแกวงถึงจุดศูนยกลางลูกตุม มีหนวยเปน เมตร (m)
g คือ คือความเรงเนื่องจากแรงโนมถวง มีหนวยเปน เมตร/วินาที2 (m/s2 )

3) ความถี่ (f) คือจำนวนรอบที่เคลื่อนที่ไดในหนึ่งหนวยเวลา มีหนวยเปน รอบ/วินาที หรือ


เฮิรตซ (Hz) เราสามารถหาคาความถี่ไดจากสมการตอไปนี้
จำนวนรอบ 1
f= หรือ f=
เวลา T
เมื่อ f คือ ความถี่ (Hz)
T คือ คาบของการเคลื่อนที่ (วินาที)

.
57. .P10055 (แนว O-NET) ลูก ตุม นาิกากำลัง แกวง กลับ ไปกลับ มาแบบฮาร มอนิ กอยางงาย ที่ ตำแหนง
สมดุลของการแกวงลูกตุมนาิกามีสภาพการเคลื่อนที่เปนอยางไร
1. ความเร็วสูงสุด ความเรงต่ำสุด 2. ความเร็วต่ำสุด ความเรงต่ำสุด
3. ความเร็วสูงสุด ความเรงสูงสุด 4. ความเร็วต่ำสุด ความเรงสูงสุด

..
1
.
www.educasy.com
58. .P10056 (มช. 54) ลูกตุมของนาิกาแขวนผนังเรือนหนึ่งแกวงดวยความถี่ 1 รอบ/วินาที เริ่มตนแกวง
ณ เวลาเที่ยงตรง เมื่อนาิกาบอกเวลาบายโมงสิบหานาทีลูกตุมจะแกวงไปทั้งหมดกี่รอบ
1. 75 2. 115 3. 4,500 4. 6,900

59. .P10057 (แนว O-NET) ถาการแกวงของน็อตแบบฮารมอนิกอยางงายจากตำแหนง A ไป B ใชเวลา 1.0


24 วินาที คาบการแกวงจะมีคากี่วินาที

C
A
B

60. .P10058 (แนว O-NET) การทดลองเรื่องการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย


ถาใหลูกตุมเคลื่อนที่จาก A ไป B ไป C แลวไป B ดังรูป ใชเวลา 6 วินาที คาบ
ของการเคลื่อนที่มีคาเทาใด
1. 2 s 2. 4 s 3. 6 s 4. 8 s A C
B

..
1
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET
61. .P10059 (แนว O-NET) ลูก ตุม นาิกาแกวง แบบฮาร มอนิ กอยางงาย พบวา
ผานจุดต่ำสุดทุกๆ 1 วินาที ความถี่ของการแกวงของลูกตุมนี้เปนไปตามขอใด
1. 0.5 เฮิรตซ 2. 1.0 เฮิรตซ
3. 2.0 เฮิรตซ 4. 4.0 เฮิรตซ

25

62. (แนว O-NET) ขอความใดถูกตองเกี่ยวกับคาบของลูกตุมอยางงาย


1. ไมขึ้นกับความยาวเชือก
2. ไมขึ้นกับแรงโนมถวงของโลก
3. ไมขึ้นกับมวลของลูกตุม
4. มีคาบเทาเดิมถาไปแกวงบนดาวอังคาร

..
1
.
www.educasy.com

. โจทยเพิ่มเติม
1. .P10060 (แนว O-NET) วัตถุเคลื่อนที่เปนเสนตรง โดยมีตําแหนงที่เวลาตางๆ ดังกราฟ

ตําแหน่ง (เมตร)
+8
3 4
0
1 2 เวลา(วิน าที)
26 –8

ขอใดคือการกระจัดของวัตถุ ในชวงเวลา t = 0 วินาที จนถึง t = 4 วินาที


1. +16 เมตร 2. +8 เมตร
3. −8 เมตร 4. −16 เมตร

2. .P10061 (แนว O-NET) เด็กคนหนึ่ง วิ่งเปนเสนตรงไปทางขวา 15 เมตร ในเวลา 4 วินาที จากนั้นก็หัน


กลับแลววิ่งเปนเสนตรงไปทางซายอีก 3 เมตร ในเวลา 1 วินาที ขนาดความเร็วเฉลี่ยของเด็กคนนี้เปนไป
ตามขอใด
1. 2.4 เมตรตอวินาที 2. 3.2 เมตรตอวินาที
3. 3.6 เมตรตอวินาที 4. 5.0 เมตรตอวินาที

3. .P10062 (แนว O-NET) ชายคนหนึ่งเดินทางไปทางทิศเหนือ 6 เมตร ใชเวลา 3 วินาที แลวเดินตอไปทาง


ตะวันออกอีก 8 เมตร ใชเวลา 7 วินาที เขาเดินทางดวยอัตราเร็วเฉลี่ยเทาใด
1. 1.0 m/s 2. 1.4 m/s 3. 2.0 m/s 4. 2.8 m/s

4. .P10063 (มช. 52) รถโดยสารเริ่มออกเดินทางจากกรุงเทพฯ เวลา 20.00 น. มาถึงเชียงใหมเวลา 8.00 น.


กำหนดใหระยะทางจากกรุงเทพฯ ถึงเชียงใหมเปน 720 กิโลเมตร จงหาวารถโดยสารคันนี้วิ่งดวยอัตราเร็ว
เฉลี่ยเทาใด
1. 60 กิโลเมตรตอนาที 2. 6,000 กิโลเมตรตอนาที
3. 1,000 เมตรตอนาที 4. 60 เมตรตอชั่วโมง

เรียนที่ pec9.com มีประสิทธิภาพและอิสรภาพสูงสุด


⌾ ไม่ต้องซื้อคอร์ส ไม่ต้องจ่ายเงินก้อน ⌾ โหลดหนังสือประกอบการเรียนฟรี
⌾ เลือกเรียนได้เฉพาะจุดที่ต้องการ เข้าใจได้เร็ว ⌾ สบายๆ เรียนไป กินขนมไป
⌾ ใช้เวลาเรียนสั้น เหลือเวลาเล่นเกมส์ ⌾ เรียนเสร็จ นำไปพลิกแพลงต่อได้
..
1
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET
5. .P10064 (แนว O-NET) หนูตัวหนึ่งวิ่งรอบสระน้ำเปนวงกลมที่มีรัศมี 7 เมตร ใชเวลา 2 นาที ก็ครบรอบ
22
พอดี ( กำหนด π = ) จงพิจารณาขอความตอไปนี้
7
ก. ความเร็วเฉลี่ยของหนูเทากับ 0 เมตรตอวินาที
ข. อัตราเร็วเฉลี่ยของหนูเทากับ 22 เมตรตอวินาที
ค. ขณะวิ่งไดครึ่งรอบจะไดการกระจัดเทากับ 14 เมตร
ง. ขณะวิ่งได 1/4 รอบ จะไดการกระจัดประมาณ 9.9 เมตร
ขอความใดถูกตอง
1. ก. และ ง. 2. ข. ค. และ ง. 3. ก. ค. และ ง. 4. ถูกทุกขอ
27
6. .P10065 (แนว O-NET) รถยนต คัน หนึ่ง วิ่ง ดวยอัตราเร็ว เฉลี่ย 100 กิโลเมตรตอ ชั่วโมง จากเมือง A ไป
เมือง B ที่อยูหางกัน 250 กิโลเมตร ถาออกเดินทางเวลา 10.00 น. จะถึงปลายทางเวลาเทาใด
1. 12.00 น. 2. 12.30 น. 3. 12.50 น. 4. 13.50 น.

7. .P10066 (แนว O-NET) เมื่อขับรถจากจังหวัด A ไปยังจังหวัด B ซึ่งอยูหางกัน 100 กิโลเมตร ถาใน


20 นาทีแรก ขับรถดวยอัตราเร็วคงที่ 60 กิโลเมตร/ชั่วโมง หากขับตอดวยอัตราเร็วเฉลี่ยคงที่ 80
กิโลเมตร/ชั่วโมง ระยะทางที่เหลือจะใชเวลากี่นาทีจึงจะถึงที่หมาย
1. 40 2. 60 3. 80 4. 100 น.

8. .P10067 (แนว O-NET) ขอใดตอไปนี้เปนการเคลื่อนที่ที่มีขนาดการกระจัดนอยที่สุด


1. เดินไปทางขวาดวยอัตราเร็วคงตัว 6 เมตรตอวินาที เปนเวลา 2 วินาที
2. เดินไปทางซายดวยอัตราเร็วคงตัว 2 เมตรตอวินาที เปนเวลา 6 วินาที
3. เดินไปทางขวา 9 เมตร แลวเดินยอนกลับมาทางซาย 3 เมตร
4. ทั้งสามขอ มีขนาดการกระจัดเทากันหมด

9. .P10068 (มช. 49) ขอใดกลาวถึงอัตราเร็วของรถและระยะหยุดไมถูกตอง


1. ระยะคิดมีคาคงที่ไมขึ้นกับอัตราเร็วของรถ
2. ที่อัตราเร็วของรถสูง ระยะหยุดจะมากขึ้นเสมอ
3. ระยะหยุดเปนผลรวมระหวางระยะคิดกับระยะเบรก
4. หากถนนเปยกระยะหยุดจะมากขึ้นเพราะระยะเบรกมากกวาปกติ

..
1
.
www.educasy.com
10. .P10069 (มช. 53) รถยนต คัน หนึ่ง ราคา 5 ลานบาท มี สมรรถนะในการเรง ความเร็ว จาก 0 ถึง 90
กิโลเมตร/ชั่วโมง ในเวลา 5 วินาที คิดเปนความเรงเฉลี่ยไดกี่เมตร/วินาที2
1. 25 2. 18 3. 10 4. 5

11. .P10070 (มช. 54) รถคันหนึ่งแลนมาดวยความเร็ว 90 กิโลเมตร/ชั่วโมง เมื่ออยูหางจากไฟแดงเปน ระยะ


50 เมตร คนขับเหยียบเบรก และทำใหรถหยุดตรงตำแหนงไฟแดงโดยใชเวลา 4 วินาที ความเรงเฉลี่ยของ
รถในชวงเหยียบเบรกมีคากี่เมตร/วินาที2
1. –0.375 2. –6.25 3. –12.5 4. –25.0

28 รูปขางลางนี้ใชตอบคำถาม 2 ขอถัดไป

รถยนต์เคลื่อนที่ดังรูป


รถเริ่มเคลื่อนที่ v = 0 v = 90 km/hr v = 90 km/hr
t = 0 วินาที t = 20 วินาที t = 40 วินาที

12. .P10071 (มช. 49) ความเรงในชวง 0 – 20 วินาทีแรก มีคากี่เมตร/วินาที2


1. 0 2. 1 3. 1.25 4. 4.5

13. .P10072 (มช. 49) ความเรงในชวง 20 – 40 วินาทีตอมามีคากี่เมตร/วินาที2


1. 0 2. 1 3. 1.25 4. 4.5

14. .P10073 (มช. 51) รถยนตคันหนึ่งสามารถเรงความเร็ว 0 – 100 กิโลเมตรตอชั่วโมง ไดภายในเวลา 10


วินาที รถยนตคันนี้มีอัตราเรงกี่เมตร/วินาที2
1. 2.8 2. 4 3. 14 4. 28

..
1
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET
15. .P10074 (มช. 51) จากคำถามขอที่ผานมา ณ จุดเริ่มตนรถหยุดนิ่ง ภายในเวลา 10 วินาที รถยนตคันนี้
เคลื่อนที่ไดระยะทางกี่เมตร
1. 14 2. 28 3. 140 4. 280

16. .P10075 (แนว O-NET) รถยนต A เริ่มเคลื่อนที่จากหยุดนิ่ง โดยอัตราเร็วเพิ่มขึ้น 3 เมตร/วินาที


ทุก 1 วินาที เมื่อสิ้นวินาทีที่ 10 รถจะมีอัตราเร็วเทาใด
1. 15 m/s 2. 30 m/s 3. 45 m/s 4. 60 m/s

17. .P10076 (แนว O-NET) จากรูปแสดงจุดหางสม่ำเสมอกันบนแถบกระดาษที่ผานเครื่องเคาะสัญญาณเวลา


50 ครั้ง/วินาที ขอความใดถูกตองสำหรับการเคลื่อนที่นี้ 29

1. ความเรงมีคาเปนบวก 2. ความเร็วคงที่
3. ความเรงมีคาเปนลบ 4. ความเรงมีคาคงตัวและไมเปนศูนย

18. .P10077 (มช. 55) เครื่องบินโดยสารลำหนึ่งแลนลงแตะบนลูวิ่งยาว 3 กิโลเมตร ดวยความเร็วระดับ


เริ่มตน 432 กิโลเมตร/ชั่วโมง และจอดสนิทเมื่อถึงปลายลูวิ่งโดยใชเวลาทั้งหมด 10 นาที ขอใดกลาว
ถูกตอง
ก. เครื่องบินวิ่งบนลูวิ่งดวยความเรง –0.2 เมตร/วินาที
ข. เครือ่ งบินวิ่งบนลูวิ่งดวยอัตราเร็วเฉลี่ย 216 กิโลเมตร/ชั่วโมง
ค. ผูโดยสารจะถูกแรงผลักใหโนมตัวไปขางหนา
ขอความใดถูกตอง
1. ก. และ ข. 2. ก และ ค. 3. ข. และ ค. 4. ก. ข. และ ค.

19. .P10078 (แนว O-NET) ถา ปลอยให กอนหิน ตกลงจากยอดตึก สู พื้น การเคลื่อนที่ ของกอนหิน กอนจะ
กระทบพื้นจะเปนตามขอใด ถาไมคิดแรงตานของอากาศ
1. ความเร็วลดลงอยางสม่ำเสมอ 2. ความเร็วเพิ่มขึ้นแลวลดลง
3. ความเร็วคงที่ 4. ความเร็วเพิ่มขึ้นอยางสม่ำเสมอ

..
1
.
www.educasy.com
20. .P10079 (มช. 52) เมื่อผลมะมวงหลนลงมาจากตน ขอความใดถูกตอง
1. มะมวงตกลงมาดวยอัตราเร็วคงที่
2. มะมวงตกลงมาดวยอัตราเร็วที่เพิ่มขึ้น
3. มะมวงตกลงมาดวยอัตราเร็ว 9.8 เมตรตอวินาที
4. อัตราเรงของมะมวงขณะหลนมีคาเทากับศูนย
21. .P10080 (มช. 49) หากปลอยกอนหินจากตึกสูง เมื่อเวลาผานไป 5 วินาที กอนหินจะมีความเร็ว
กี่เมตร/วินาที
1. 9.8 2. 14.8 3. 24.5 4. 49
30
22. .P10081 (แนว O-NET) โยนลูกบอลขึ้น ไปในแนวดิ่ง ดวยความเร็ว ตน 9.8 เมตรตอ วินาที นานเทาใด
ลูกบอลจึงจะเคลื่อนที่ไปถึงจุดสูงสุด
1. 0.5 s 2. 1.0 s 3. 1.5 s 4. 2.0 s

23. .P10082 (แนว O-NET) การเคลื่อนที่ในขอใดตอไปนี้ที่อัตราเรงของวัตถุเปนศูนย


1. การเคลื่อนที่ตรงขึ้นในแนวดิ่ง โดยไมมีแรงตานอากาศ
2. การตกลงตรงๆ ในแนวดิ่ง โดยไมมีแรงตานอากาศ
3. การเคลื่อนที่ในแนวราบดวยอัตราเร็วคงตัว
4. การเคลื่อนที่แบบวงกลมดวยอัตราเร็วคงตัว
24. .P10083 (แนว O-NET) ขอใดที่วัตถุมีความเรงไปทางซาย
1. วัตถุเคลื่อนที่ไปทางขวาแลวเคลื่อนที่เร็วขึ้น
2. วัตถุเคลื่อนที่ไปทางขวาแลวเคลื่อนที่ชาลง
3. วัตถุเคลื่อนที่ไปทางซายแลวเคลื่อนที่ชาลง
4. วัตถุเคลื่อนที่ไปทางซายแลวหยุด
25. .P10084 (มช. 51) หากยิงกระสุนออกไปแบบโพรเจกไทล เมื่อกระสุนเคลื่อนที่ถึงจุดสูงสุดอัตราเร็วของ
กระสุนเปนอยางไร
1. มีคาเปนศูนย 2. มีคาเทากับอัตราเร็วเมื่อถูกยิง
3. มีคาอัตราเร็วแนวราบเปนศูนย 4. มีคาเทากับอัตราเร็วแนวราบเมื่อถูกยิง

..
1
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET
26. .P10085 (มช. 52) นักกีฬาบาสเกตบอลยิงลูกบาสในตำแหนงที่หวังผล 3 คะแนน เมื่อลูกบาสเคลื่อนที่ถึง
จุดสูงสุด อัตราเร็วของลูกบาสจะเปนอยางไร
1. มีคาเปนศูนย 2. มีคาเทากับอัตราเร็วเมื่อถูกยิง
3. มีคาอัตราเร็วแนวราบเปนศูนย 4. มีคาเทากับอัตราเร็วแนวราบเมื่อถูกยิง

27. .P10086 (แนว O-NET) รถไตถังเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็วสม่ำเสมอและวิ่งครบรอบได 8 รอบ ในเวลา


2 วินาที หากคิดในแงความถี่ของการเคลื่อนที่ความถี่จะเปนเทาใด
1. 2 Hz 2. 4 Hz 3. 8 Hz 4. 16

28. (แนว O-NET) ผูก วัตถุ ดวย เชือก แลว เหวี่ยง ให เคลื่อนที่ เปน วงกลม ใน แนว 31
ระนาบดิ่ง ขณะที่ วัตถุ เคลื่อนที่ มาถึง ตำแหนง สูงสุด ของวงกลมดัง แสดงในรูป
แรงชนิดในขอตอไปนี้ที่ทำหนาที่เปนแรงสูศูนยกลาง
1. แรงดึงเชือกบวกกับน้ำหนักของวัตถุ
2. ที่ตำแหนงนั้น แรงสูศูนยกลางเปนศูนย
3. แรงดึงเชือก
4. น้ำหนักของวัตถุ
29. .P10087 (มช. 50) จากกิจกรรมเรื่องการเคลื่อนที่ แบบแกวง ที่ นักเรียนได ทำมาแลว คาบการแกวง ของ
น็อตที่แขวนอยูตรงปลายเสนเชือกเบา (มีมวลนอยมากเมื่อเทียบกับน็อต) เปนอยางไร
1. มีคาคงเดิม เมื่อเปลี่ยนน็อตที่แขวนใหมีมวลแตกตางไป
2. มีคาเพิ่มขึ้น เมื่อมวลของน็อตเพิ่มขึ้น
3. มีคาลดลงเมื่อใชเชือกยาวขึ้น
4. มีคาคงเดิม ไมวาจะเปลี่ยนความยาวเชือกเปนเทาไร
30. (แนว O-NET) น็อตขนาดเล็กผูกดวยสายเอ็นแขวนไวใหสายยาว L ซึ่งสามารถ
เปลี่ยนใหมีคา ตางๆ ไดคาบการแกวง T ของน็อตจะขึ้นกับความยาว L อยางไร
1. T2 เปนปฏิภาคโดยตรงกับ L2

2. T เปนปฏิภาคโดยตรงกับ L
3. T2 เปนปฏิภาคโดยตรงกับ L
4. T เปนปฏิภาคโดยตรงกับ L

เรียนที่ pec9.com มีประสิทธิภาพและอิสรภาพสูงสุด


⌾ ไม่ต้องซื้อคอร์ส ไม่ต้องจ่ายเงินก้อน ⌾ โหลดหนังสือประกอบการเรียนฟรี
⌾ เลือกเรียนได้เฉพาะจุดที่ต้องการ เข้าใจได้เร็ว ⌾ สบายๆ เรียนไป กินขนมไป
⌾ ใช้เวลาเรียนสั้น เหลือเวลาเล่นเกมส์ ⌾ เรียนเสร็จ นำไปพลิกแพลงต่อได้
..
1
.
www.educasy.com

. เฉลยโจทยประกอบเนื้อหา
1. ตอบขอ 1)
แนวคิด จากรูป 8 ม. จุดสุดท้าย 2 ม.
ระยะทาง = ความยาวตามแนวที่
เคลื่อนที่ไดจริง
ระยะทาง = 10 + 2 เมตร 10 ม.
จุดเริ่มต้น
32 ระยะทาง = 12 เมตร
และจะไดอีกวา
การกระจัด = ความยาวที่วัดเปนเสนตรงจากจุดเริ่มตนถึงจุดสุดทาย
การกระจัด = 10 – 2 เมตร
การกระจัด = 8 เมตร

2. ตอบขอ 3)
แนวคิด โจทยบอกคลองแนวเสนตรงยาว 72 กิโลเมตร ถนน
สวนถนนที่โคงออมไปมายาว 83 กิโลเมตร A B
ดังรูป คลอง
72 km
และจากรูปจะไดวา
ขนาดของการกระจัด = ความยาวเปนเสนตรงจาก A ไป B
= 72 กิโลเมตร

3. ตอบขอ 1)
แนวคิด เนื่องจากวัตถุ เคลื่อนที่ เปน วงกลมวกกลับ มาที่ เดิม จุด เริ่ม ตน
และจุดสุดทาย จึงเปนจุดเดียวกันดังรูป R
จุดเริ่มต้น
จุดสุดท้าย
การกระจัด = ความยาวที่วัดตรงจาก
จุดเริ่มตนถึงจุดสุดทาย
การกระจัด = 0 เมตร

(เพราะจุดเริ่มตนและจุดสุดทายอยูที่เดียวกันจึงไมสามารถวัดความยาวเปนเสนตรงจากจุดเริ่ม
ตนไปถึงจุดสุดทายได)

..
1
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET
4. ตอบขอ 2)
แนวคิด จากรูป จุดสุดท้าย t = 2 วิ.
5 ม.
ระยะทาง = ความยาวตามแนวที่
เคลื่อนที่ไดจริง
ระยะทาง = 10 + 5 เมตร
ระยะทาง = 15 เมตร 10 ม.
จุดเริ่มต้น t = 3 วิ.
และ เวลารวม = 3 + 2 = 5 วินาที
ระยะทาง 15 เมตร
จาก อัตราเร็วเฉลี่ย = = = 3 เมตร/วินาที
เวลา 5 วินาที
นั่นคืออัตราเร็วเฉลี่ยของเด็กคนนี้มีขนาดเทากับ 3 เมตรตอวินาที
33
5. ตอบขอ 1)
แนวคิด จากรูปจะไดวา
5 ม. จุดสุดท้าย t 5= ม.2 วิ.
การกระจัด = ความยาวที่วัดเปน
เสนตรงจากจุดเริ่มตน
ถึงจุดสุดทาย
การกระจัด = 10 – 5 เมตร จุดเริ่มต้น 10 ม.
t = 3 วิ.
การกระจัด = 5 เมตร
และ เวลารวมทั้งหมด = 3 + 2 = 5 วินาที
การกระจัด 5 เมตร
จาก ความเร็วเฉลี่ย = = = 1 เมตร/วินาที
เวลา 5 วินาที
นั่นคือความเร็วเฉลี่ยของเด็กคนนี้มีขนาดเทากับ 1 เมตรตอวินาที
6. ตอบขอ 2)
แนวคิด จากรูป
ระยะทาง = ความยาวตามแนวที่เคลื่อนที่ไดจริง
ระยะทาง = 40 + 30 เมตร 30 ม.
ระยะทาง = 70 เมตร
และ เวลารวม = 100 วินาที 40 ม.

ระยะทางที่เคลื่อนที่ 70 เมตร
จาก อัตราเร็วเฉลี่ย = = = 0.7 เมตร/วินาที
เวลาที่ใช 100 วินาที
นั่นคืออัตราเร็วเฉลี่ยของเด็กคนนี้มีขนาดเทากับ 0.7 เมตรตอวินาที

..
1
.
www.educasy.com
7. ตอบขอ 2)
แนวคิด จากรูป จะไดวา
การกระจัด = ความยาวที่วัดเปนเสนตรง จุดสุดท้าย จุดอ้างอิง จุดเริ่มต้น
จากจุดเริ่มตนถึงจุดสุดทาย 3 ม. 2 ม.
การกระจัด = 2 + 3 เมตร
การกระจัด = 5 เมตร (มีทิศไปทางซาย)
และ เวลา = 10 วินาที
การกระจัด 5 เมตร
จาก ความเร็วเฉลี่ย = = = 0.5 เมตร/วินาที
เวลา 10 วินาที
34 นั่นคือความเร็วเฉลี่ยมีขนาดเทากับ 0.5 เมตรตอวินาที มีทิศไปทางซาย
8. ตอบขอ 3)
แนวคิด โจทยบอก ระยะทาง = 720 กิโลเมตร
และ จาก 22.00 น. ถึง 8.00 น. ของอีกวันหนึ่ง ใชเวลาไป = 10 ชั่วโมง , อัตราเร็วเฉลี่ย = ?
ระยะทางที่เคลื่อนที่
จาก อัตราเร็วเฉลี่ย =
เวลาที่ใช
720 กิโลเมตร
อัตราเร็วเฉลี่ย =
10 ชั่วโมง
อัตราเร็วเฉลี่ย = 72 กิโลเมตร/ชั่วโมง

นั่นคือรถโดยสารคันนี้วิ่งดวยอัตราเร็วเฉลี่ย 72 กิโลเมตรตอชั่วโมง
9. ตอบขอ 1)
แนวคิด โจทยใหหาอัตราเร็วเฉลี่ยสูงสุด คืออัตราเร็วในชวงที่เคลื่อนที่ไดระยะทางมากที่สุดคือชวง 5.5
ซม. ถึง 8.5 ซม. ในรูปนั้นเอง

0 1 2 3 .5 5.5 8 .5 10.5 12 13 14

ซึ่งในชวงดังกลาว ระยะทาง = 8.5 – 5.5 = 3 เซนติเมตร


เครื่องเคาะสัญญาณนี้จะเคาะ 50 จุด ในเวลา 1 วินาที
1
ดังนั้นระยะ 1 ชวงจุด จะใชเวลา = วินาที
50
อัตราเร็วเฉลี่ย = ?

..
1
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET
ระยะทางที่เคลื่อนที่
จาก อัตราเร็วเฉลี่ย =
เวลาที่ใช
3 เซนติเมตร
อัตราเร็วเฉลี่ย =
(1/50) วินาที
อัตราเร็วเฉลี่ย = 150 เซนติเมตร/วินาที
นั่นคืออัตราเร็วเฉลี่ยสูงสุดมีคาเทากับ 150 เซนติเมตร/วินาที

10. ตอบขอ 2)
แนวคิด เนื่องจากจุดที่ 10 อยูระหวางกลางจุดที่ 9 กับจุดที่ 11
การหาความเร็วจุดที่ 10 จึงตองหาความเร็วเฉลี่ยชวงจุดที่ 9 ถึงจุดที่ 11 ดังรูป
35
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12
3.8 ซม. 4.2 ซม.
8.0 ซม.

จากรูปจะไดวา การกระจัดจากจุดที่ 9 ถึงจุดที่ 11 = 3.8 + 4.2 = 8.0 ซม. = 0.08 เมตร


เครื่องเคาะสัญญาณนี้จะเคาะ 50 จุด ในเวลา 1 วินาที
1
ดังนั้นระยะ 1 ชวงจุด จะใชเวลา = วินาที
50
2
และ เวลาจุดที่ 9 ถึงจุดที่ 11 = 2 ชวงจุด = วินาที
50
การกระจัด
สุดทายจะได ความเร็วเฉลี่ย =
เวลาที่ใช
0.08 เมตร
=
(2/50) วินาที
= 2 เมตร/วินาที
นั่นคือความเร็วที่จุดที่ 10 จะมีคาเทากับ 2 เมตร/วินาที

..
1
.
www.educasy.com
11. ตอบขอ 4)
แนวคิด โจทยบอก V = 15 เมตร/วินาที , t = 60 วินาที , s = ?
จาก s = Vt
จะได s = (15) (60)
s = 900 เมตร
นั่นคือรถยนตคันนี้เคลื่อนที่ไดระยะทางเทากับ 900 เมตร ( 900 m )
12. ตอบขอ 3)
แนวคิด โจทยบอก V = 15 เมตร/วินาที , s = 450 เมตร , t = ?
จาก s = Vt
36 จะได 450 = (15) t
t = 30 วินาที
นั่นคือตองใชเวลา 30 วินาที ( 30 s )
13. ตอบขอ 2)
แนวคิด โจทยบอก V = 90 กิโลเมตรตอชั่วโมง , s = 270 กิโลเมตร , t = ?
จาก s = Vt
จะได 270 = (90) t
t = 3.0 ชั่วโมง
นั่นคือตองเวลาเดินทาง 3.0 ชั่วโมง
14. ตอบขอ 3)
แนวคิด จากขอที่ผานมาจะพบวาตองใชเวลาเดินทาง 3 ชั่วโมง
ดังนั้นเมื่อออกเดินทางเวลา 13.00 น. จะถึงปลายทางเวลา 16.00 น.
15. ตอบขอ 3)
6
แนวคิด โจทยบอก V = 30 กิโลเมตรตอชั่วโมง , t = 6 นาที = ชั่วโมง = 0.1 ชั่วโมง , s = ?
60
จาก s = Vt
จะได s = (30) (0.1)
s = 3.0 กิโลเมตร
นั่นคือรถคันนี้จะเคลื่อนที่ไดระยะทาง 3.0 กิโลเมตร

เรียนที่ pec9.com มีประสิทธิภาพและอิสรภาพสูงสุด


⌾ ไม่ต้องซื้อคอร์ส ไม่ต้องจ่ายเงินก้อน ⌾ โหลดหนังสือประกอบการเรียนฟรี
⌾ เลือกเรียนได้เฉพาะจุดที่ต้องการ เข้าใจได้เร็ว ⌾ สบายๆ เรียนไป กินขนมไป
⌾ ใช้เวลาเรียนสั้น เหลือเวลาเล่นเกมส์ ⌾ เรียนเสร็จ นำไปพลิกแพลงต่อได้
..
1
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET
16. ตอบขอ 4)
แนวคิด โจทยบอก V = 30 เซนติเมตรตอนาที , t = 4 ชั่วโมง = 4x60 นาที = 240 นาที , s = ?
จาก s = Vt
จะได s = (30) (240)
s = 7200 เซนติเมตร
s = 72 เมตร
นั่นคือเตาตัวนี้จะเดินไปไดไกล 72 เมตร
17. ตอบขอ 1)
แนวคิด ขั้นที่ 1 หาระยะทางที่เคลื่อนที่ไดในชวงแรก
โดย V = 4 เมตรตอวินาที , t = 1 นาที = 60 วินาที , s = ? 37
จาก s = V t = (4) (60) = 240 เมตร

ขั้นที่ 2 หาระยะทางที่เคลื่อนที่ไดในชวงที่สอง
โดย V = 2 เมตรตอวินาที , t = 1 นาที = 60 วินาที , s = ?

จาก s = V t = (2) (60) = 120 เมตร

สุดทาย หาอัตราเร็วเฉลี่ยทั้งหมด
ระยะทางทั้งหมด
จาก อัตราเร็วเฉลี่ย =
เวลาทั้งหมด
240 + 120 เมตร
อัตราเร็วเฉลี่ย =
60 + 60 วินาที
360 เมตร
อัตราเร็วเฉลี่ย =
120 วินาที

อัตราเร็วเฉลี่ย = 3.0 เมตร/วินาที


นั่นคืออัตราเร็วเฉลี่ยทั้งหมดมีคาเทากับ 3.0 เมตร/วินาที

..
1
.
www.educasy.com
18. ตอบ 150
แนวคิด ขั้นที่ 1 หาระยะทางที่ A เคลื่อนที่ได
โดย V = 10 เมตรตอวินาที , t = 30 วินาที , s = ?
จาก s = V t = (10)(30) = 300 เมตร
ขั้นที่ 2 หาระยะทางที่ B เคลื่อนที่ได
โดย V = 15 เมตรตอวินาที , t = 30 วินาที , s = ?
จาก s = V t = (15)(30) = 450 เมตร
สุดทาย จะไดวา A กับ B อยูหางกัน = 450 – 300 = 150 เมตร
19. ตอบขอ 3)
38 แนวคิด ความเร็วของการเคลื่อนที่ เปนปริมาณที่มีทิศทาง
การขับรถเลี้ยวโคงบนถนนนั้น ทิศทางของการเคลื่อนที่จะ
เปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา จึงถือวาความเร็วมีการเปลี่ยน
แปลง (ไมคงตัว)
แตอัตราเร็วเปนปริมาณที่ไมตองคิดทิศทาง ดังนั้นถา
เปลี่ยนเปนอัตราเร็ว แมทิศทางจะเปลี่ยนไป หากขนาด
อัตราเร็วเทาเดิมก็ถือไดวาอัตราเร็วคงที่ได
20. ตอบขอ 3)
แนวคิด โจทยบอก ระยะหยุด = 25 เมตร , ระยะคิด = 10 เมตร , ระยะเบรก = ?
จาก ระยะหยุด = ระยะคิด + ระยะเบรก
จะได 25 = 10 + ระยะเบรก
ระยะเบรก = 15 เมตร
21. ตอบขอ 1)
แนวคิด ถาอัตราเร็ว 40.. กิโลเมตร/ชั่วโมง ระยะคิดเทากับ 8.. เมตร
×2.5 ×2.5
ถาอัตราเร็ว 10..0 กิโลเมตร/ชั่วโมง ระยะคิดเทากับ 2..0 เมตร .
22. ตอบขอ 2)
แนวคิด โจทยบอก v1 = 0 , v2 = 25 เมตร/วินาที , t = 10 วินาที , a = ?

v2 − v1 25 − 0
จาก a = = = 2.5 เมตร/วินาที2
t 10

นั่นคือรถยนตคันนี้มีความเรง 2.5 เมตร/วินาที2

..
1
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET
23. ตอบขอ 4)
แนวคิด โจทยบอก a = 3 เมตรตอวินาที2 , v1 = 0 , t = 10 วินาที , v2 = ?
v −v
จาก a = 2 1
v2 −t 0
จะได 3 =
10
v2 = 30 เมตร/วินาที
นั่นคือสุดทายจะมีความเร็ว 30 เมตร/วินาที

24. ตอบขอ 4)
แนวคิด โจทยบอก v1 = 0 , t = 4 วินาที , a = ?
ความเร็วปลาย (v2 ) ที่โจทยบอกมานั้นมีหนวยเปนกิโลเมตร/ชั่วโมง 39
5
ควรเปลี่ยนหนวยใหเปนเมตร/วินาทีกอน โดยคูณดวย เขาไปดังนี้
18
km 5 m m
v2 = 72 = 72 x = 20
hr 18 s s
v2 − v1 20 − 0
จาก a = = = 5 เมตร/วินาที2
t 4
นั่นคือความเรงเฉลี่ยมีคาเทากับ 5 เมตร/วินาที2
25. ตอบขอ 3)
แนวคิด ความเร็วตน (v1 ) ที่โจทยบอกมานั้นมีหนวยเปนกิโลเมตร/ชั่วโมง
5
ควรเปลี่ยนหนวยใหเปนเมตร/วินาทีกอน โดยคูณดวย เขาไปดังนี้
18
km 5 m m
v1 = 108 = 108 x = 30
hr 18 s s
และ v2 = 0 (เพราะสุดทายเบรกจนหยุด) , t = 10 วินาที , a = ?

v2 − v1 0 − 30
จาก a = = = −3 เมตร/วินาที2
t 10
นั่นคือความเรงเฉลี่ยของรถในชวงเหยียบเบรกมีคา −3 เมตร/วินาที2

..
1
.
www.educasy.com
26. ตอบขอ 3)
แนวคิด โจทยบอก v1 = 30 เมตร/วินาที , v2 = 0 เมตร/วินาที
30 + 0
ดังนั้น vเฉลี่ย = = 15 เมตร/วินาที2
2
t = 10 วินาที , s = ?
จาก s = V t = (15) (10) = 150 เมตร
นั่นคือรถยนตคันนี้เคลื่อนที่ไดระยะทาง 150 เมตร
27. ตอบขอ 2)
แนวคิด ถาความเร็ว (v) คงตัว ความเรง (a) ของการเคลื่อนที่จะมีคาเปนศูนยตลอดเวลา ซึ่งเปนดัง
40 กราฟขอที่ 2 นั่นเอง
28. ตอบขอ 1)
แนวคิด วัตถุ ที่ เคลื่อนที่ ในแนวดิ่ง บนผิว โลก จะถูก โลกดึงดูด ไว ดวยแรงขนาดหนึ่ง ทำให เกิด ความเรง
เนื่องจากแรงโนมถวง ( g ) มีขนาดประมาณ 9.8 เมตร/วินาที2 คงที่ตลอดเวลา
29. ตอบขอ 2)
แนวคิด สำหรับการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งที่ผิวโลก วัตถุจะถูกแรงดึงดูดของโลกดูดใหตกลงมาดวยความเรง
ประมาณ 9.8 เมตร/วินาที2 ในทิศ ลงคงที่ ตลอดเวลา ไม วา วัตถุ จะอยู ณ จุด ใด ๆ ของการ
เคลื่อนที่
30. ตอบขอ 4)
แนวคิด สำหรับการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งที่ผิวโลก วัตถุจะถูกแรงดึงดูดของโลกดูดใหตกลงมาดวยความเรง
ประมาณ 9.8 เมตร/วินาที2 ในทิศลงคงที่ตลอดเวลาไมเกี่ยวกับขนาดของมวลวัตถุ ดังนั้น
วัตถุ B และ A ตองมีความเรงเทากันเสมอ ขอที่วา B มีความเรงมากกวา A จึงผิด และ
B มีความเรงนอยกวา A ก็ผิดเชนกัน ขอนี้จึงมีขอที่ผิดมากกวา 1 ขอ
31. ตอบขอ 2)
แนวคิด สำหรับการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งที่ผิวโลก วัตถุจะถูกแรงดึงดูดของโลกดูดใหตกลงมาดวยความเรง
ประมาณ 9.8 เมตร/วินาที2 ในทิศลงคงที่ตลอดเวลาไมวาวัตถุจะอยูที่จุดใด ๆ ดังนั้นที่ทุก ๆ
จุด วัตถุจะมีความเรงในทิศเขาสูศูนยกลางของโลก

..
1
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET
32. ตอบขอ 4)
แนวคิด โจทยบอก v1 = 0 , t = 10 วินาที , v2 = ?
เนื่องจากวัตถุตกอยางเสรี ดังนั้น a = +9.8 m/s2
v −v
จาก a = 2 1
t
v −0
จะได 9.8 = 2
10
v2 = 98 เมตร/วินาที
นั่นคือวัตถุจะกระทบดินดวยความเร็วเทากับ 98 เมตร/วินาที
33. ตอบขอ 1) 41
แนวคิด โจทยบอก v1 = 4.9 เมตร/วินาที , v2 = 0
เนื่องจากเคลื่อนที่ขึ้น ดังนั้นความเรง ( a ) = −9.8 m/s2
ใหหาเวลาที่ใชเคลื่อนที่ ( t ) = ?
v −v
จาก a = 2 1
t
0 − 4.9
จะได −9.8 =
t
−9.8t = −4.9
t = 0.5 วินาที
นั่นคือกอนหินจะใชเวลาในการเคลื่อนที่ 0.5 วินาที
34. ตอบขอ 2)
แนวคิด โจทยบอก ความเร็วเริ่มตนเคลื่อนที่ขึ้น (v1 ) = 98 เมตร/วินาที
ความเร็วสุดทายที่จุดสูงสุด (v2 ) = 0
เนื่องจากเคลื่อนที่ขึ้น ดังนั้นความเรง ( a ) = −9.8 เมตร/วินาที2
ใหหาเวลาที่ใชเคลื่อนที่ ( t )
v −v
จาก a = 2 1
t
0 − 98
จะได −9.8 =
t
−9.8t = −98
t = 10 วินาที
นั่นคือกอนหินจะขึ้นไปถึงจุดสูงสุดในเวลา 10 วินาที

เรียนที่ pec9.com มีประสิทธิภาพและอิสรภาพสูงสุด


⌾ ไม่ต้องซื้อคอร์ส ไม่ต้องจ่ายเงินก้อน ⌾ โหลดหนังสือประกอบการเรียนฟรี
⌾ เลือกเรียนได้เฉพาะจุดที่ต้องการ เข้าใจได้เร็ว ⌾ สบายๆ เรียนไป กินขนมไป
⌾ ใช้เวลาเรียนสั้น เหลือเวลาเล่นเกมส์ ⌾ เรียนเสร็จ นำไปพลิกแพลงต่อได้
..
1
.
www.educasy.com
35. ตอบขอ 2)
แนวคิด วัตถุที่เคลื่อนที่ขึ้นอยางอิสระจะมีอัตราเรงเปนลบคงที่ อัตราเร็วจะลด v
ลงเรื่อย ๆ กราฟของอัตราเร็ว เทียบกับ เวลาจะเปน เสน ตรงลดลงตาม
เวลา
0 t

36. ตอบขอ 1)
แนวคิด วัตถุจะเคลื่อนที่ตกอยางแสรีไดนั้น วัตถุตองไมถูกแรงกระทำอื่นใดนอก
เหนือจากแรงโนมถวง แตวัตถุที่แขวนติดกับสปริงนั้น จะถูกแรงยืดหยุน F
42 ของสปริงกระทำตลอดเวลาจึงไมถือเปนการเคลื่อนที่อยางเสรี
s
m

37. ตอบขอ 3)
แนวคิด เนื่องจากลูก เทนนิส ที่ ถูก ตี ไป ขาง หนา ในแนว ระดับ จะ ถูก
แรงดึงดูด ของโลกดูด ให ตกลงมาในแนวดิ่ง ดวย จึง ทำให ลูก
เทนนิส นี้ เคลื่อนที่ ในแนวเสน โคง พาราโบลาตกลงมาดัง แสดง
ในรูป การเคลื่อนที่แบบนี้เรียกการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล

38. ตอบขอ 3)
แนวคิด ความเร็วในแนวระดับ ( แกน X ) ของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทลจะคงที่เสมอ

39. ตอบขอ 4)
แนวคิด เนื่องจากลูกปน ถูก ยิง ออกไปในแนวระดับ ดัง นั้น ความเร็ว ที่
มี ในตอนแรกจึง มี แต ความเร็ว ในแนวระดับ (vx ) เทานั้น และ
เนื่องจากความเร็วในแนวระดับ (Vx ) จะมีคาคงที่ ดังนั้น ตอน
ที่ ลูก ปน กํา ลัง จะกระทบพื้น จะมี ความเร็ว ในแนวระดับ (Vx )
เทากับความเร็วตอนตนที่ลูกปนถูกยิงออกมา

..
1
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET
40. ตอบขอ 3)
แนวคิด ขอ 3. ถูก ขอ 1. ผิด และขอ 4. ผิด เพราะ vx
ความเร็ว ของการเคลื่อนที่ แบบโพรเจกไทล จะ vy
ประกอบไปดวยความเร็ว ในแนวแกน X (vx )
vx
และความเร็ว ในแนวแกน Y (vy ) ดัง รูป ที่ จุด
สูงสุด ของ การ เคลื่อนที่ ความเร็ว ของ แกน Y
(แนวดิ่ง) จะมี คา เปน ศูนย แต ความเร็ว แกน X
(แนวราบ) ยัง คงมี คา เทา เดิม ดัง นั้น ความเร็ว
รวมที่จุดสูงสุดจึงไมเปนศูนย
ขอ 2. ผิด เพราะการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งนั้น วัตถุจะเคลื่อนที่ดวยความเรงเนื่องจากแรง
โนมถวง ซึ่งมีขนาดประมาณ 9.8 เมตร/วินาที2 คงที่ตลอดเวลาไมใชเปนศูนย
43

41. ตอบขอ 1)
แนวคิด ความเร็ว ของการเคลื่อนที่ แบบโพรเจกไทล จะ vx
ประกอบไปดวยความเร็วในแนวแกน X (vx ) ซึ่ง vy
จะคงที่ เสมอและความเร็ว ในแนวแกน Y (vy )
vx
ดัง รูป แต ที่ จุด สูงสุด ของการเคลื่อนที่ ความเร็ว
ของแกน Y จะมี คา เปน ศูนย จึง เหลือ ความเร็ว
เฉพาะแกน X เทานั้นจึงทำใหความที่จุดสูงสุดมี
คาเทากับความเร็วแนวราบ (แกน X)และเทากับ
ความเร็วแนวราบของตอนเริ่มตนอีกดวย
42. ตอบขอ 3)
แนวคิด วัตถุ ที่ เคลื่อนที่ ในแนวดิ่ง บนผิว โลก จะถูก โลก
ดึงดูด ไว ดวยแรงขนาดหนึ่ง ทำให เกิด ความเรง g
เนื่องจากแรงโนมถวง ( g ) มีขนาดประมาณ 9.8
เมตร/วินาที2 คงที่ มีทิศลง และเนื่องจากโจทย
กำหนดใหความเรงที่มีทิศลงมีคาเปนลบ ดังนั้น ความเร่ง

ความเรงดังกลาวจึงมีคาประมาณ –9.8 เมตร/


วินาที2 คงที่ กราฟของความเรงนี้จึงเปนดังรูป 0 เวลา

..
1
.
www.educasy.com
43. ตอบขอ 2)
แนวคิด ในการยิง ลูกปน ใหญ จากพื้น สู อากาศแลว ตกลง
มาถึง ระดับ เดิม หากตองการให ลูกปน เคลื่อนที่
v
ไปได ไกลที่สุด ในแนวราบ ตองยิง ขึ้น ไปโดยให
ทิศของความเร็วตน เอียงทำมุม 45o กับแนว
ราบดังรูป 45o

44. ตอบขอ 4)
แนวคิด การขับ รถเลี้ยวโคง บนถนนหรือ ขับ วนออมวงเวียน เปนการ
44 เคลื่อนที่แบบวงกลม สวนขออื่นๆ เปนการเคลื่อนที่แบบ
โพรเจคไทล

45. ตอบขอ 3)
แนวคิด โจทยบอก จำนวนรอบที่เคลื่อนที่ได = 10 รอบ , ใชเวลา = 4 วินาที , f = ?
จำนวนรอบ 10
จาก f = = = 2.5 รอบ/วินาที
เวลา 4
นั่นคือความถี่ของการเคลื่อนที่จะมีคาเทากับ 2.5 รอบ/วินาที
46. ตอบขอ 3)
แนวคิด โจทยบอก จำนวนรอบที่เคลื่อนที่ได = 4 รอบ , ใชเวลา = 8 วินาที , f = ?
จำนวนรอบ 4
จาก f = = = 0.5 เฮิรตซ
เวลา 8
นั่นคือความถี่ของการเคลื่อนที่จะมีคาเทากับ 0.5 เฮิรตซ

..
1
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET
47. ตอบขอ 1)
แนวคิด จากขอที่ผานมาจะไดวา f = 0.5 Hz , T = ?
1
จาก f =
T
1
จะได 0.5 =
T
1
T =
0.5
T = 2 วินาที
นั่นคือคาบของการเคลื่อนที่จะมีคาเทากับ 2 วินาที
48. ตอบขอ 4)
45
แนวคิด ขณะวัตถุที่เคลื่อนที่เปนวงกลมนั้น วัตถุจะถูกแรงกระทำในทิศพุงเขาสู
จุดศูนยกลางของวงกลมนั้นขนาดหนึ่งเสมอ เรียกแรงนี้วาแรงเขาสู
ศูนยกลาง ซึ่งแรงนี้จะตั้งฉากกับแนวการเคลื่อนที่ (เสนรอบวง) แรงเข้าสู่ศูนย์กลาง
ตลอดเวลา

49. ตอบขอ 1)
แนวคิด วัตถุที่เคลื่อนที่เปนวงกลม จะมีแรงกระทำตอวัตถุในทิศเขาสูจุดศูนยกลางวงกลมนั้นตลอดเวลา
เรียกแรงนี้วา แรงเขาสูศูนยกลาง

50. ตอบขอ 1)
แนวคิด เมื่อ เชือกขาดวัตถุ จะเคลื่อนที่ ไปตามแนวเสน สัมผัส วงกลม ณ จุด นั้น
เสมอ

51. ตอบขอ 3)
แนวคิด เมื่อ เชือกขาดมวล m จะเคลื่อนที่ หลุด ออกจากวงกลมไปในแนวเสน
สัมผัสวงกลมนั้นเสมอ แตเนื่องจากมวล m นี้จะเคลื่อนที่ตกลงมาจาก m

ที่สูงดวย สุดทายมวล m จึงเคลื่อนที่เปนเสนโคงพาราโบลาลงมาจนถึง


พื้นกลายเปนการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทลดวยนั่นเอง

..
1
.
www.educasy.com
52. ตอบขอ 4)
แนวคิด การเลี้ยวโคงบนถนนของรถ แรงที่ทำหนาที่เปนแรงเขาสู
ศูนยกลาง คือ แรงเสียดทานระหวางยางรถกับพื้นถนนนั่นเอง

53. ตอบขอ 4)
46 แนวคิด การเลี้ยวโคงบนถนนของรถ แรงที่ทำหนาที่เปนแรงเขาสู
ศูนยกลางคือแรงเสียดทานระหวางยางรถกับพื้นถนน หากพื้น
ถนนเปยก จะทำให แรงเสียดทานนี้ มี นอยเกิน กวาจะตานแรง
หนีศูนยกลาง จึงทำใหรถไถลออกนอกเสนทางนั่นเอง

54. ตอบขอ 3)
แนวคิด การสรางถนนตรงชวงทางโคงตองยกพื้นถนนให
เอียงทำมุม กับ พื้น ราบ เพื่อ ให แรงดัน พื้น สวน
หนึ่ง ดัน รถเขา สู ศูนยกลางวงกลม รถจะได
เลี้ยวโคง ไปอยางปลอดภัย ไม ไถลออกไปนอก แรงดันพื้น
เสนทาง θ

55. ตอบขอ 4)
แนวคิด ลูก แกว ที่ เคลื่อนที่ เปน วงกลมบนรางในแนวดิ่ง ที่ จุด สูงสุด แรงหนีศูนย์กลาง
ของราง ลูก แกว จะถูก แรงกระทำ 3 แรงดัง รูป แรงที่ มี ทิศ
เขาสูจุดศูนยกลางวงกลมคือ แรงดันพื้น + น้ำหนักลูกแกว ดัง
แสดง น้ําหนัก แรงดันพื้น

เรียนที่ pec9.com มีประสิทธิภาพและอิสรภาพสูงสุด


⌾ ไม่ต้องซื้อคอร์ส ไม่ต้องจ่ายเงินก้อน ⌾ โหลดหนังสือประกอบการเรียนฟรี
⌾ เลือกเรียนได้เฉพาะจุดที่ต้องการ เข้าใจได้เร็ว ⌾ สบายๆ เรียนไป กินขนมไป
⌾ ใช้เวลาเรียนสั้น เหลือเวลาเล่นเกมส์ ⌾ เรียนเสร็จ นำไปพลิกแพลงต่อได้
..
1
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET
56. ตอบขอ 4)
แนวคิด การเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงายคือการเคลื่อนที่แบบแกวงหรือแบบสั่น
ขอ 1. จะเกิด การเคลื่อนที่ แบบฮาร มอนิ กอยางงายแบบแกวง กลับ ไป
กลับมา T

θ
ขอ 2. และขอ 3. จะเกิดการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงายแบบสั่น
ขอ 4. ลูก ตุม จะเคลื่อนที่ เปน วงกลมดัง แสดงในรูป ไม ได เคลื่อนที่ เปน
ฮารมอนิกอยางงาย
57. ตอบขอ 1) 00000000000000000000000000000000000000000000000000000000
00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00
แนวคิด ที่จุดสมดุลของการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงายวัตถุจะมีความเร็ว 00000000000000000000000000000000000000000000000000000000

สูงสุด แตจะมีความเรงต่ำสุด 47

58. ตอบขอ 3)
แนวคิด โจทยบอก f = 1 เฮิรตซ
เวลา = จาก 12.00 น. ถึง 13.15 น. = 75 นาที = 75 x 60 วินาที
จำนวนรอบ
จาก f =
เวลา
จำนวนรอบ
1 =
75 × 60
จำนวนรอบ = 4,500 รอบ
นั่นคือลูกตุมจะแกวงไดทั้งหมด 4,500 รอบ
59. ตอบ 4
แนวคิด โจทยบอก เวลาจาก A ไป B = 1.0 วินาที
ดังนั้น เวลาจาก B ไป C = 1.0 วินาที
เวลาจาก C ไป B = 1.0 วินาที
เวลาจาก B กลับมาถึง A = 1.0 วินาที
ดังนั้นเวลาเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ ( คาบ ) 1.0 วิ. 1.0 วิ.
= 1.0 + 1.0 + 1.0 + 1.0 = 4.0 วินาที
1.0 วิ. 1.0 วิ.

..
1
.
www.educasy.com
60. ตอบขอ 4)
แนวคิด จากรูป ลูกตุมเคลื่อนที่จาก A ไป B ไป C แลวไป B ใชเวลา 6
วินาที แสดงวาแตละชวงใชเวลา 2 วินาที ดังนั้นการเคลื่อนที่
ครบ 1 รอบคือจาก A แลวยอนกลับมา A ที่เดิมจะใชเวลา 8
วินาที นั่นคือคาบมีคาเทากับ 8 วินาทีนั่นเอง A 2 วิ 2 วิ C
B 2 วิ

61. ตอบขอ 1) 00000000000000000000000000000000000000000000000000000000


00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00
แนวคิด พิจารณาตามรูป สมมุติ ตอนแรกวัตถุ อยู ที่ จุด ต่ำ สุด แลว แกวง 00000000000000000000000000000000000000000000000000000000
48 ไปทางดานขวามือ จากโจทย จะได วา วัตถุ จะแกวง กลับ มาจุด
ต่ำสุดอีกครั้งในเวลา 1 วินาที นั่นคือการเคลื่อนที่ครึ่งรอบจะ
ใชเวลา 1 วินาที และ
คาบ ( T ) = เวลาเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ = 1 x 2 = 2
วินาที
1 1
สุดทาย จาก f = = = 0.5 เฮิรตซ
T 2
นั่นคือความถี่ของการแกวงของลูกตุมนี้มีคาเปน 0.5 เฮิรตซ

62. ตอบขอ 3)

L
แนวคิด จาก T = 2 π
g
ขอ 1. ผิด และขอ 2. ผิด เพราะจากสมการจะเห็น วา คาบการแกวง ลูก ตุม ( T ) จะขึ้น กับ
ความยาวเชือก ( L ) และคาแรงโนมถวงโลกซึ่งจะมีผลตอคา g นั่นเอง
ขอ 3. ถูก เพราะจากสมการจะเห็นวาไมมีมวลลูกตุม ( m ) มาเกี่ยวของ แสดงวาคาบการแกวง
ลูกตุม ( T ) ไมขึ้นกับมวลของลูกตุม
ขอ 4. ผิด เพราะบนโลกกับบนดาวอังคาร คาความเรงเนื่องจากแรงโนมถวง ( g ) จะมีคาไม
เทากัน ดังนั้นคาบการแกวงลูกตุมบนดาวอังคารกับบนโลกจะมีคาไมเทากัน

..
1
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET

. เฉลยโจทยเพิ่มเติม
1. ตอบขอ 4)
แนวคิด

49

จากรูปจะเห็นวา ตอนแรกวัตถุอยูที่ตำแหนง +8 เมตร สุดทายไปอยูที่ตำแหนง –8 เมตร แตมีทิศ


ยอนมาทางดานหลัง ดังนั้นการกระจัด (ความยาวจากจุดตั้งตนถึงจุดสุดทาย) จึงมีคาเทากับ
–16 เมตร (เครื่องหมายลบแสดงวามีทิศมาทางดานหลัง)

2. ตอบขอ 1)
แนวคิด จากรูปจะไดวา
การกระจัด = ความยาวที่วัดเปนเสนตรงจากจุดเริ่มตนถึงจุดสุดทาย
การกระจัด = 15 – 3 เมตร
การกระจัด = 12 เมตร
และ เวลารวม = 4 + 1 = 5 วินาที

12 ม. จุดสุดท้าย t3=ม.1 วิ

จุดเริ่มต้น 15 ม.
t = 4 วิ
การกระจัด 12 เมตร
จาก ความเร็วเฉลี่ย = = = 2.4 เมตร/วินาที
เวลา 5 วินาที
นั่นคือความเร็วเฉลี่ยของเด็กคนนี้มีขนาดเทากับ 2.4 เมตรตอวินาที

..
1
.
www.educasy.com
3. ตอบขอ 2)
แนวคิด จากรูป
ระยะทาง = ความยาวตามแนวที่เคลื่อนที่ไดจริง 8 ม.
ระยะทาง = 6 + 8 เมตร
ระยะทาง = 14 เมตร 6 ม.
และ เวลารวม = 3 + 7 = 10 วินาที

ระยะทางที่เคลื่อนที่ 14 เมตร
จาก อัตราเร็วเฉลี่ย = = = 1.4 เมตร/วินาที
เวลาที่ใช 10 วินาที
นั่นคืออัตราเร็วเฉลี่ยของเด็กคนนี้มีขนาดเทากับ 1.4 เมตรตอวินาที
50
4. ตอบขอ 3)
แนวคิด โจทยบอก ระยะทาง = 720 กิโลเมตร = 720,000 เมตร
และ จาก 20.00 น. ถึง 8.00 น. ของอีกวันหนึ่ง
ใชเวลาไป = 12 ชั่วโมง = 12 x 60 นาที , อัตราเร็วเฉลี่ย = ?
ระยะทางที่เคลื่อนที่
จาก อัตราเร็วเฉลี่ย =
เวลาที่ใช
720,000 เมตร
=
12 × 60นาที
= 1,000 เมตร/นาที
นั่นคือรถโดยสารคันนี้วิ่งดวยอัตราเร็วเฉลี่ย 1,000 เมตรตอนาที

..
1
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET
5. ตอบขอ 3)
แนวคิด โจทยวงกลมมีรัศมี ( R) = 7 เมตร
เวลาที่ใชเคลื่อนที่ครบหนึ่งรอบ = 2 นาที = 120 วินาที
ขอ ก. ถูก เนื่องจากวัตถุเคลื่อนที่เปนวงกลมวกกลับมาที่เดิม R
ดังนั้น การกระจัด = 0 เมตร จุดเริ่มต้น
การกระจัด 0 จุดสุดท้า ย
และ ความเร็วเฉลี่ย= = =0
เวลา 120
22
ขอ ข. ผิด ระยะทาง = 2 π R = 2 ( ) (7) = 44 เมตร
7
ระยะทาง 44 เมตร 51
และ อัตราเร็วเฉลี่ย = = = 0.37 เมตร/วินาที
เวลา 120 วินาที
ขอ ค. ถูก หากเคลื่อนที่ไดครึ่งรอบ
การกระจัด = ความยาวที่วัดตรงจาก
จุดเริ่มตนถึงจุดสุดทาย R = 7 ม.
การกระจัด = 14 เมตร ดังรูป
จุดเริ่มต้น 14 ม. จุดสุดท้าย

ขอ ง. ถูก หากเคลื่อนที่ได 1/4 รอบ จะไดวา สุดท้าย

การกระจัด คือ ความยาวที่วัดตรงจาก


จุดเริ่มตนถึงจุดสุดทาย กระจัด R = 7 ม.
ซึ่งหาโดยใชทฤษฏีพีทาโกรัสดังนี้
การกระจัด2 = 72 + 72 เริ่มต้น R = 7 ม.
การกระจัด2 = 98
การกระจัด = 9.9 เมตร

6. ตอบขอ 2)
แนวคิด โจทยบอก v = 100 กิโลเมตรตอชั่วโมง , s = 250 กิโลเมตร , t = ?
จาก s = Vt
จะได 250 = (100) t
t = 2.5 ชัว่ โมง
นั่นคือตองเวลาเดินทาง 2 ชั่วโมงครึ่ง หรือ 2 ชั่วโมง 30 นาที
ดังนั้นเมื่อออกเดินทางเวลา 10.00 น. จะถึงปลายทางเวลา 12.30 น.

เรียนที่ pec9.com มีประสิทธิภาพและอิสรภาพสูงสุด


⌾ ไม่ต้องซื้อคอร์ส ไม่ต้องจ่ายเงินก้อน ⌾ โหลดหนังสือประกอบการเรียนฟรี
⌾ เลือกเรียนได้เฉพาะจุดที่ต้องการ เข้าใจได้เร็ว ⌾ สบายๆ เรียนไป กินขนมไป
⌾ ใช้เวลาเรียนสั้น เหลือเวลาเล่นเกมส์ ⌾ เรียนเสร็จ นำไปพลิกแพลงต่อได้
..
1
.
www.educasy.com
7. ตอบขอ 2)
แนวคิด ขั้นที่ 1 คิดชวงแรก
20
โดย t = 20 นาที = ชั่วโมง , V = 60 กิโลเมตร/ชั่วโมง , s = ?
60
20
จาก s = V t = (60) ( ) = 20 กิโลเมตร
60
นั่นคือชวงแรกรถจะเคลื่อนที่ไปไดระยะทาง 20 กิโลเมตร
ขั้นที่ 2 คิดชวงหลัง
โดย sที่เหลือชวงหลัง = sทั้งหมด – sชวงแรก = 100 – 20 = 80 กิโลเมตร
52 V = 80 กิโลเมตร/ชั่วโมง , t = ?
จาก s = Vt
จะได 80 = (80) t
t = 1 ชั่วโมง
t = 60 นาที
นั่นคือชวงหลังจะใชเวลาเคลื่อนที่อีก 60 นาที จึงจะถึงที่หมาย
8. ตอบขอ 3)
แนวคิด ขอ 1. โจทยบอก

V = 6 เมตรตอวินาที , t = 2 วินาที , s = ?
จาก s = V t = (6) (2) = 12 เมตร

ขอ 2. โจทยบอก

V = 2 เมตรตอวินาที , t = 6 วินาที , s = ?
จาก s = V t = (2) (6) = 12 เมตร

ขอ 3. จากรูปจะไดวา
การกระจัด = ความยาวที่วัดเปนเสนตรง จุดสุดท้าย 3 ม.
6 ม.
จากจุดเริ่มตนถึงจุดสุดทาย
การกระจัด = 9 – 3 เมตร
การกระจัด = 6 เมตร จุดเริ่มต้น 9 ม.
จะเห็นวา ขอ 3. การกระจัดมีขนาดนอยที่สุด

..
1
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET
9. ตอบขอ 1)
แนวคิด ถา เราขับ รถไปขางหนา แลว เห็น สิ่ง กีดขวาง ใน
ชวงแรก สมองจะยังไมสั่งการใหเราเบรก รถ ระยะคิด ระยะเบรก
จึง ยัง คงเคลื่อนที่ ไปขางหนา ได ระยะทางขนาด ระยะหยุด
หนึ่งระยะทางชวงนี้เรียก ระยะคิด หลังจากนั้น
สมองจึงจะสั่งการใหเราทำการเบรก แตในชวงที่เบรกนี้รถจะยังคงเคลื่อนที่ตอไปไดระยะทางอีก
ขนาดหนึ่ง ระยะทางที่เคลื่อนที่ไดในชวงเบรกนี้เรียก ระยะเบรก และเมื่อบวกระยะคิดกับระยะ
เบรกเขาดวยกันระยะทางรวมนี้เรียก ระยะหยุด
ขอ 1. ผิด และขอ 2. ถูก เพราะระยะคิด ระยะเบรก และระยะหยุดจะขึ้นกับอัตราเร็วของรถ
หากอัตราเร็วมากระยะตาง ๆ จะมีคามาก หากอัตราเร็วนอยระยะตางๆ จะมีคานอยดวย
ขอ 3. ถูก เพราะ ระยะหยุด = ระยะคิด + ระยะเบรก 53
ขอ 4. ถูก เพราะเมื่อถนนเปยก แรงเสียดทานระหวางยางลอรถกับพื้นถนนจะมีคานอยหยุดรถ
ไดยากทำใหระยะเบรกมีขนาดมากกวาปกติ
10. ตอบขอ 4)
แนวคิด โจทยบอก v1 = 0 , t = 5 วินาที , a = ?
ความเร็วปลาย (v2 ) ที่โจทยบอกมานั้นมีหนวยเปนกิโลเมตร/ชั่วโมง
5
ควรเปลี่ยนหนวยใหเปนเมตร/วินาทีกอน โดยคูณดวย เขาไปดังนี้
18
km 5 m m
v2 = 90 = 90 x = 25
hr 18 s s
v −v 25 − 0
จาก a = 2 1 = = 5 เมตร/วินาที2
t 5
นั่นคือความเรงเฉลี่ยมีคาเทากับ 5 เมตร/วินาที2
11. ตอบขอ 2)
แนวคิด ความเร็วตน (v1 ) ที่โจทยบอกมานั้นมีหนวยเปนกิโลเมตร/ชั่วโมง
5
ควรเปลี่ยนหนวยใหเปนเมตร/วินาทีกอน โดยคูณดวย เขาไปดังนี้
18
km 5 m m
v1 = 90 = 90 x = 25
hr 18 s s
และ v2 = 0 (เพราะสุดทายเบรกจนหยุด) , t = 4 วินาที , a = ?
v −v 0 − 25
จาก a = 2 1 = = −6.25 เมตร/วินาที2
t 4
นั่นคือความเรงเฉลี่ยของรถในชวงเหยียบเบรกมีคา −6.25 เมตร/วินาที2

..
1
.
www.educasy.com
12. ตอบขอ 3)
แนวคิด คิดในชวง 0 – 20 วินาที
โจทยบอก (v1 ) = 0 , t = 20 วินาที , a = ?
ความเร็วปลาย (v2 ) ที่โจทยบอกมานั้นมีหนวยเปนกิโลเมตร/ชั่วโมง
5
ควรเปลี่ยนหนวยใหเปนเมตร/วินาทีกอน โดยคูณดวย เขาไปดังนี้
18
km 5 m m
v2 = 90 = 90 x = 25
hr 18 s s
v −v 25 − 0
จาก a = 2 1 = = 1.25 เมตร/วินาที2
t 20
54 นั่นคือความเรงในชวง 0 – 20 วินาทีแรก มีคา 1.25 เมตร/วินาที2
13. ตอบขอ 1)
แนวคิด คิดในชวง 20 – 40 วินาที
km 5 m m
โจทยบอก (v1 ) = (v2 ) = 90 = 90 x = 25
hr 18 s s
t = 40 − 20 = 20 วินาที , a = ?
v −v 25 − 25 0
จาก a = 2 1 = = = 0 เมตร/วินาที2
t 20 20
นั่นคือความเรงในชวง 20 − 40 วินาทีแรก มีคา 0 เมตร/วินาที2
14. ตอบขอ 1)
แนวคิด โจทยบอก v1 = 0 , t = 10 วินาที , a = ?
ความเร็วปลาย (v2 ) ที่โจทยบอกมานั้นมีหนวยเปนกิโลเมตร/ชั่วโมง
5
ควรเปลี่ยนหนวยใหเปนเมตร/วินาทีกอน โดยคูณดวย เขาไปดังนี้
18
km 5 m m
v2 = 100 = 100 x = 28
hr 18 s s
v2 − v1 28 − 0
จาก a = = = 2.8 เมตร/วินาที2
t 10
นั่นคือรถยนตคันนี้มีอัตราเรง 2.8 เมตร/วินาที2

..
1
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET
15. ตอบขอ 3)
แนวคิด โจทยบอก v1 = 0 , v2 = 28 เมตร/วินาที
0 + 28
ดังนั้น vเฉลี่ย = = 14 เมตร/วินาที , t = 10 วินาที , s = ?
2
จาก s = V t = (14) (10) = 140 เมตร
นั่นคือรถยนตคันนี้เคลื่อนที่ไดระยะทาง 140 เมตร
16. ตอบขอ 2)
แนวคิด โจทยบอก ในเวลา 1 วินาที อัตราเร็วจะเพิ่มขึ้น 3 เมตร/วินาที
ดังนั้น ในเวลา 10 วินาที อัตราเร็วจะเพิ่มขึ้น 3 x 10 = 30 เมตร/วินาที
และเนื่องจากตอนแรกรถอยูนิ่ง ๆ แสดงวาอัตราเร็วตอนแรกมีคาเปนศูนย 55
ดังนั้น เมื่อผานไป 10 วินาที รถจะมีอัตราเร็วเปน 30 เมตร/วินาที
17. ตอบขอ 2)
แนวคิด จากรูป แถบกระดาษที่ โจทย ให มา จะเห็น วา ระยะหางระหวางจุด แตละชวงมี ขนาดเทา ๆ กัน
แสดงวาวัตถุเคลื่อนที่ดวยความเร็ว (V) คงที่ ความเรง (a) มีคาเปนศูนยคงที่
18. ตอบขอ 2)
แนวคิด ขอ ก. ถูก ความเร็ว ตน (v1 ) ที่ โจทย บอกมานั้น มี หนวยเปน กิโลเมตร/ชั่วโมง ควรเปลี่ยน
5
หนวยใหเปนเมตร/วินาทีกอน โดยคูณดวย เขาไปดังนี้
18
km 5 m m
v1 = 432 = 432 x = 120
hr 18 s s
และ v2 = 0 (เพราะสุดทายเบรกจนหยุด) , t = 10 นาที = 600 วินาที , a = ?
v −v 0 − 120
จาก a = 2 1 = = −0.2 เมตร/วินาที2
t 600
10
ขอ ข. ผิด โจทย บอก ระยะทาง = 3 กิโลเมตร ,เวลา = 10 นาที = ชั่วโมง ,
60
อัตราเร็วเฉลี่ย = ?
ระยะทางที่เคลื่อนที่
จาก อัตราเร็วเฉลี่ย =
เวลาที่ใช
3 กิโลเมตร
อัตราเร็วเฉลี่ย =
(10/60) ชั่วโมง
อัตราเร็วเฉลี่ย = 18 กิโลเมตร/ชั่วโมง
ขอ ค. ถูก ขณะเบรกจะมีแรงเฉื่อยผลักผูโดยสารใหโนมเอียงไปขางหนา

..
1
.
www.educasy.com
19. ตอบขอ 4)
แนวคิด ขณะวัตถุเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง บนผิวโลก จะมีแรงดึงดูดของโลกกระทำตอวัตถุในทิศลงสูพื้นโลก
เสมอ และแรงดึงดูด ดัง กลาว จะทำให วัตถุ เคลื่อนที่ ตกลงสู พื้น โลกโดยมี ความเร็ว เพิ่ม ขึ้น อยาง
สม่ำเสมอ
20. ตอบขอ 2)
แนวคิด วัตถุที่เคลื่อนที่ลงในแนวดิ่งที่ผิวโลก จะถูกโลกดูดใหตกลงมาดวยอัตราเรง (a) ขนาดหนึ่ง สงผล
ใหอัตราเร็ว (v) ของการเคลื่อนที่มีขนาดเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ
21. ตอบขอ 4)
แนวคิด โจทยบอก v1 = 0 , t = 5 วินาที , v2 = ?
56 เนื่องจากวัตถุตกอยางเสรี ดังนั้น a = +9.8 m/s2
v −v
จาก a = 2 1
t
v −0
จะได 9.8 = 2
5
v2 = 49 เมตร/วินาที
นั่นคือวัตถุจะกระทบดินดวยความเร็วเทากับ 49 เมตร/วินาที

22. ตอบขอ 2)
แนวคิด โจทยบอก ความเร็วเริ่มตนเคลื่อนที่ขึ้น ( v1 ) = 9.8 เมตร/วินาที
ความเร็วสุดทาย ที่จุดสูงสุด ( v2 ) = 0
เนื่องจากเคลื่อนที่ขึ้น ดังนั้นความเรง ( a ) = –9.8 เมตร/วินาที2
ใหหาเวลาที่ใชเคลื่อนที่ ( t )
v −v
จาก a = 2 1
t
0 − 9.8
จะได −9.8 =
t
−9.8t = −9.8

t = 1.0 วินาที
นั่นคือลูกบอลจะขึ้นไปถึงจุดสูงสุดในเวลา 1.0 วินาที

เรียนที่ pec9.com มีประสิทธิภาพและอิสรภาพสูงสุด


⌾ ไม่ต้องซื้อคอร์ส ไม่ต้องจ่ายเงินก้อน ⌾ โหลดหนังสือประกอบการเรียนฟรี
⌾ เลือกเรียนได้เฉพาะจุดที่ต้องการ เข้าใจได้เร็ว ⌾ สบายๆ เรียนไป กินขนมไป
⌾ ใช้เวลาเรียนสั้น เหลือเวลาเล่นเกมส์ ⌾ เรียนเสร็จ นำไปพลิกแพลงต่อได้
..
1
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET
23. ตอบขอ 3)
แนวคิด ขอ 1. ผิด และขอ 2. ผิด เพราะวัตถุที่เคลื่อนที่ขึ้นหรือลงในแนวดิ่ง จะถูกโลกดูดใหตกลงมา
ทำใหมีอัตราเรงขนาด 9.8 เมตร/วินาที2 ในทิศลงเสมอ
ขอ 3. ถูก เพราะวัตถุที่เคลื่อนที่เปนเสนตรงดวยอัตราเร็วคงตัว อัตราเร็วไมมีการเปลี่ยนแปลง
ดังนั้นอัตราเรงจึงมีคาเปนศูนย
ขอ 4. ผิด เพราะวัตถุที่เคลื่อนที่เปนวงกลม จะมีแรงกระทำตอวัตถุในทิศเขาสูจุดศูนยกลาง
วงกลมนั้น สงผลใหเกิดอัตราเรงเขาสูจุดศูนยกลางวงกลมนั้นดวย

24. ตอบขอ 2)
แนวคิด ขอ 1. วัตถุมีความเร็ว ( v ) มากขึ้นไปทางขวา วัตถุนี้จะมีความเรงเปนบวก ( +a ) มีทิศไปทาง 57
ขวาเหมือนความเร็ว ( v )
ขอ 2. วัตถุ มี ความเร็ว ( v ) ลดลงไปทางขวา วัตถุ นี้ จะมี ความเรงเปน ลบ ( −a ) กรณี เชนนี้
ถือวาความเรงมีทิศตรงกันขามกับความเร็ว คือมีทิศไปทางซาย
ขอ 3. วัตถุมีความเร็ว ( v ) ลดลงไปทางซาย วัตถุนี้จะมีความเรงเปนลบ ( −a ) กรณีเชนนี้
ถือวาความเรงมีทิศตรงกันขามกับความเร็ว คือมีทิศไปทางขวา
ขอ 4. วัตถุเคลื่อนที่ไปทางซายแลวหยุดแสดงวา ความเร็ว (v) ลดลง วัตถุนี้จะมีความเรงเปน
ลบ (−a) กรณีเชนนี้ถือวา ความเรงมีทิศตรงขามกับความเร็ว คือมีทิศไปทางขวา
25. ตอบขอ 4)
แนวคิด ความเร็วของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล จะ vx
ประกอบไปดวยความเร็ว ในแนวแกน X (vx ) vy
และความเร็ว ในแนวแกน Y (vy ) ดัง รูป แต ที่ vx
จุด สูงสุด ของการเคลื่อนที่ ความเร็ว ของแกน Y
จะมี คา เปน ศูนย จึง เหลือ ความเร็ว เฉพาะแกน
X เทานั้น และเนื่องจากความเร็ว แนวราบ (Vx )
จะมี คา คงที่ ดัง นั้น ความเร็ว ที่ จุด สูงสุด จึง มี คา
เทากับความเร็วแนวราบเมื่อตอนเริ่มตนเสมอ

..
1
.
www.educasy.com
26. ตอบขอ 4)
แนวคิด ความเร็วของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล จะ vx
ประกอบไปดวยความเร็ว ในแนวแกน X (vx ) vy
และความเร็ว ในแนวแกน Y (vy ) ดัง รูป แต ที่ vx
จุด สูงสุด ของการเคลื่อนที่ ความเร็ว ของแกน Y
จะมี คา เปน ศูนย จึง เหลือ ความเร็ว เฉพาะแกน
X เทานั้น และเนื่องจากความเร็ว แนวราบ (Vx )
จะมี คา คงที่ ดัง นั้น ความเร็ว ที่ จุด สูงสุด จึง มี คา
เทากับความเร็วแนวราบเมื่อตอนเริ่มตนเสมอ

58 27. ตอบขอ 2)
แนวคิด โจทยบอก จำนวนรอบที่เคลื่อนที่ได = 8 รอบ , ใชเวลา = 2 วินาที , f = ?
จำนวนรอบ 8
จาก f = = = 4 เฮิรตซ
เวลา 2
นั่นคือความถี่ของการเคลื่อนที่จะมีคาเทากับ 4 เฮิรตซ
28. ตอบขอ 1)
แนวคิด วัตถุ ที่ ผูก ดวยเชือกแลว เหวี่ยงให เคลื่อนที่ เปน วงกลมในแนวดิ่ง ที่ แรงหนีศูนย์กลาง
จุดสูงสุดจะถูกแรงกระทำ 3 แรงดังรูป แรงที่มีทิศเขาสูจุดศูนยกลาง
วงกลมคือ แรงดึงเชือก + น้ำหนักของวัตถุนั้น ดังแสดง
แรงดึงเชือก น้ําหนัก

29. ตอบขอ 1)

L
แนวคิด จาก T = 2π
g
จะเห็นวาคาบการแกวง (T) จะไมขึ้นกับมวล (m) ของวัตถุ ดังนั้นการเปลี่ยนมวลของวัตถุ (น็อต)
จะไมทำใหคาบการแกวงเปลี่ยนแปลงไปแตอยางใด

..
1
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET
30. ตอบขอ 3)
แนวคิด

L
จาก T = 2π
g
( √ )2
2 L
จะได T = 2π
g
(√ )2
2 2 2 L
T =2π
g
L
T2 = 4π2
(
g)
2 4π2 59
T = L
g

จะเห็นวา T2 จะเปนปฏิภาคโดยตรงกับ L

..

You might also like