You are on page 1of 38

4

CHAPTER
. กัมมันตภาพรังสี
และ
พลังงานนิวเคลียร
.
4.1 กัมมันภาพรังสี
▷▷ P20001

ในปจจุบัน นี้ เปน ที่ ทราบกัน แลว วา อะตอมประกอบไปดวยอนุภาคที่ สำคัญ สามชนิด ไดแก
อิเล็กตรอน โปรตอน และนิวตรอน อนุภาคทั้ง สามชนิด นี้ เรียกวา อนุภาคมูลฐาน ของอะตอม ซึ่ง มี
คุณสมบัติดังแสดงในตารางตอไปนี้ 1
อนุภาค ประจุ มวล (a.m.u)
โปรตอน (p) +1 1.007285
อิเล็กตรอน (e) −1 0.000549
นิวตรอน (n) 0 1.008665
หมายเหตุ: 1 a.m.u = 1.66x10−24 กรัม
สัญลักษณ ของธาตุ ที่ เขียนโดยแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับ จำนวนอนุภาคมูลฐานของอะตอม
เรียกวา สัญลักษณนิวเคลียร รูปแบบการเขียนเปนดังนี้
.เลขมวล (A) = จำนวนโปรตอน + จำนวนนิวตรอน
= จำนวนนิวคลีออน
A
.Z X
.เลขอะตอม (Z) = จำนวนโปรตอน.
เลขอะตอม ( Z ) คือ จำนวนโปรตอนที่ มี ในนิวเคลียส และหากเปน อะตอมปกติ จะเปนกลาง
ทางไฟฟา ( ประจุไฟฟารวมเปนศูนย ) จำนวนโปรตอนจะเทากับจำนวนอิเล็กตรอน ดังนั้นเลขอะตอม
จะเทากับจำนวนอิเล็กตรอนดวย
เลขมวล ( A ) คือ มวลรวมของอะตอม ปกติ แลว อิเล็กตรอนจะมี มวลนอยมากเมื่อ เทียบกับ
มวลโปรตอนและนิวตรอน ดังนั้นมวลรวมของอะตอมจึงเปนมวลของโปรตอนรวมกับมวลของนิวตรอน
นั่นเอง และเนื่องจากโปรตอนกับ นิวตรอนแตละตัว จะมี มวลเทากับ 1 มวลอะตอมรวมแลว จึง เทากับ
จำนวนโปรตอนรวมกับจำนวนนิวตรอนนั่นเอง
อีก ประการหนึ่ง ทั้ง โปรตอนและนิวตรอน ตางก็ อยู ในนิวเคลียสของอะตอม ทั้ง สองจึง เรียก
รวมกันเปน นิวคลีออน จึงกลาวไดวา เลขมวลจะเทากับนิวคลีออนไดดวย
.

เรียนที่ pec9.com มีประสิทธิภาพและอิสรภาพสูงสุด


⌾ ไม่ต้องซื้อคอร์ส ไม่ต้องจ่ายเงินก้อน ⌾ โหลดหนังสือประกอบการเรียนฟรี
⌾ เลือกเรียนได้เฉพาะจุดที่ต้องการ เข้าใจได้เร็ว ⌾ สบายๆ เรียนไป กินขนมไป
⌾ ใช้เวลาเรียนสั้น เหลือเวลาเล่นเกมส์ ⌾ เรียนเสร็จ นำไปพลิกแพลงต่อได้
..
4
.
www.educasy.com
▷▷ P20002

ขอควรทราบเกี่ยวกับสัญลักษณนิวเคลียร
1. เลขอะตอม = จำนวนโปรตอน = ลำดับของธาตุในตารางธาตุ
▶ เชนธาตุ 6 X มีเลขอะตอมเปน 6 แสดงวาตองเปนธาตุลำดับที่ 6 ในตารางธาตุซึ่งก็คือธาตุ
คารบอน ( C ) นั่นเอง

▶ อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันจะมีจำนวนโปรตอนเทากัน เชน คารบอน ( C ) ทุกอะตอม


จะตองมีโปรตอน 6 ตัวเหมือนกันหมด
▶ ถาจำนวนโปรตอนของอะตอมเปลี่ยนไปชนิดและสมบัติของอะตอมจะเปลี่ยนไปดวย

2. จากสัญลักษณนิวเคลียรของอะตอมปกติ ( อะตอมที่เปนกลางทางไฟฟา )
.เลขมวล (A)
4
.2 He
.เลขอะตอม (Z).

จะไดวา จำนวนโปรตอน ( p ) = A
จำนวนนิวตรอน ( n ) = A – Z
จำนวนอิเล็กตรอน ( e ) = จำนวนโปรตอน ( p ) = A
เมื่อ A คือเลขมวล , Z คือเลขอะตอม

..
4
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET
1. .P10001 ธาตุใดตอไปนี้เปนธาตุชนิดเดียวกัน 126 A , 136 B , 146 C , 147 D
1. A , B , C 2. A , C , D 3. B , C , D 4. A , B , C , D

2. .P10002 ชนิดของธาตุ และสมบัติของธาตุจะเปลี่ยนไปถาเราเปลี่ยน


1. จำนวนอิเล็กตรอน 2. จำนวนโปรตอน
3
3. จำนวนนิวตรอน 4. ถูกทุกขอ

ฝกทำ จงหาจำนวนโปรตอน นิวตรอน และ อิเล็กตรอน จากสัญลักษณของอะตอมตอไปนี้


1. 4018 Ar ตอบ p = .......... n = .......... e = ..........
2. 3919 K ตอบ p = .......... n = .......... e = ..........
3. 235
92 U ตอบ p = .......... n = .......... e = ..........

เฉลย 1. ตอบ p = 18 ; n = 40 – 18 = 22 ; e = 18
2. ตอบ p = 19 ; n = 39 – 19 = 20 ; e = 19
3. ตอบ p = 92 ; n = 235 – 92 = 143 ; e = 92
.

3. .P10003 (มช. 52)นิวเคลียสของตะกั่วคือ 208


82 Pb จงหาจำนวนโปรตอนและนิวตรอนของตะกั่วนี้

1. โปรตอน 126 ตัว นิวตรอน 82 ตัว 2. โปรตอน 82 ตัว นิวตรอน 126 ตัว
3. โปรตอน 126 ตัว นิวตรอน 208 ตัว 4. โปรตอน 208 ตัว นิวตรอน 82 ตัว

..
4
.
www.educasy.com
4. .P10004 (แนว O-NET) อนุภาคใดในนิวเคลียส 236 234
92 U และ 90 Th ที่มีจำนวนเทากัน

1. โปรตอน 2. อิเล็กตรอน 3. นิวคลีออน 4. นิวตรอน

5. .P10005 (แนว O-NET) จากสัญลักษณนิวเคลียส 157 N แสดงวานิวเคลียสนี้มีอนุภาคตาม ขอใด

4 1. โปรตอน 14 ตัว นิวตรอน 7 ตัว 2. โปรตอน 7 ตัว นิวตรอน 15 ตัว


3. โปรตอน 7 ตัว อิเล็กตรอน 7 ตัว 4. โปรตอน 7 ตัว นิวตรอน 7 ตัว

▷▷ P20003
ไอโซโทป คือ อะตอมของธาตุเดียวกัน แตมีมวลไมเทากัน
12 13 14
เชน 6 C กับ 6 C กับ 6 C

16 18
8 O กับ 8 O

สาเหตุที่เลขมวลไมเทากัน เพราะมีจำนวนนิวตรอนไมเทากัน
.

6. .P10006 อะตอมคูใดเปนไอโซโทปกัน
1. 126 A 14
7 A 2. 146 B 14
7 B

3. 11 X 31 X 4. 21 Y 21 Y

..
4
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET
7. .P10007 (แนว O-NET) ขอใดถูกตองเกี่ยวกับไอโซโทปสองไอโซโทปของธาตุชนิดเดียวกัน
1. มีเลขอะตอมเทากัน 2. มีจำนวนนิวตรอนเทากัน
3. มีจำนวนนิวคลีออนเทากัน 4. มีเลขมวลเทากัน

8. .P10008 (แนว O-NET) ในธรรมชาติธาตุออกซิเจนมี 2 ไอโซโทป คือ 168 O และ 188 O ขอใดตอไปนี้ถูก
1. แตละไอโซโทปมีจำนวนนิวตรอนตางกัน 5
2. แตละไอโซโทปมีจำนวนโปรตอนเทากับจำนวนนิวตรอน
3. แตละไอโซโทปมีจำนวนอิเล็กตรอนตางกัน
4. แตละไอโซโทปมีจำนวนโปรตอนตางกัน
▷▷ P20004

กัมมันตภาพรังสี เปนปรากฏการณที่นิวเคลียสของโอโซ รังสี


โทปที่ไมเสถียร เกิดการปรับตัวเพื่อใหมีเสถียรภาพ โดยการปลอย
อนุภาคบางชนิดหรือ พลังงานออกมาในรูปของรังสี ธาตุที่มีสมบัติ
ในการแผรังสีไดเองนี้เรียกวา ธาตุกัมมันตรังสี
นิวเคลียสใหม่ที่มีขนาดเล็กลง

อัตราการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสีจะไมขึ้นกับปจจัยแวดลอมใด ๆ นอกจากจำนวน
นิวเคลียสของธาตุนั้น ๆ กลาวคือหากมีจำนวนนิวเคลียสมากกวาจะมีอัตราการสลายตัวมากกวาเมื่อมี
จำนวนนิวเคลียสนอย
.

9. .P10009 (แนว O-NET) อัตราการสลายตัวของกลุมนิวเคลียสกัมมันตรังสี A ขึ้นกับอะไร


1. ความตางศักยไฟฟา 2. จำนวนนิวเคลียส A ที่มีอยู
3. อุณหภูมิ 4. ความเขมแสง

..
4
.
www.educasy.com
▷▷ P20005

รังสี ที่ คายออกมาจากธาตุ กัมมันตรังสี เมื่อ α


นำไปแยกในสนามแมเหล็กจะแยกได 3 ชนิดคือ
γ

1. รังสีแอลฟา (Alpha particte , α) เปน นิวเคลียส ของ อะตอม ของ ธาตุ ฮีเลียม มี มวล
เทากับ 4 และมีประจุไฟฟา +2 เขียนสัญลักษณจึงได 42 He มีพลังงาน 4 –10 MeV เนื่องจากรังสีแอลฟา
6 มีมวลมาก เมื่อเคลื่อนไปชนอนุภาคตัวกลางใดๆ จะทำใหอนุภาคตัวกลางแตกตัวไดดี แตตัวรังสีแอลฟา
จะสูญเสียพลังงานไปมากจึงทำใหอำนาจในการทะลุทะลวงไปขางหนาต่ำ ( เคลื่อนได 3 – 5 เซนติเมตร
ในอากาศ ) รังสีแอลฟามีองคประกอบเปนอนุภาค จึงอาจเรียกเปนอนุภาคแอลฟาก็ได
2. รังสีบีตา ( Beta paticle , β ) เปน อิเล็กตรอนที่ มี พลังงานสูง ในชวงประมาณ 0.025 –
3.5 MeV เขียนเปน สัญลักษณ จะได 0−1 e เนื่องจากรังสี บีตามี มวลนอย เมื่อ เคลื่อนไปชนอนุภาคตัว
กลางใดๆ จะทำให อนุภาคตัวกลางแตกตัว ได นอย สูญ เสีย พลังงานไม มากจึง ทำให อำนาจในการทะลุ
ทะลวงไปขางหนา สูง กวา รังสี แอลฟา ( เคลื่อนได 1 – 3 เมตร ในอากาศ ) นอกจากนี้ รังสี บีตา
ยัง เบี่ยงเบนในสนามแม เหล็ก ได มากกวา รังสี แอลฟา เพราะอัตราเร็ว ของการเคลื่อนที่ สูง กวา แอลฟา
3. รังสีแกมมา ( Gamma Rays , γ ) เปนคลื่นแมเหล็ก α
ไฟฟาชนิดหนึ่ง จึงเปนกลางทางไฟฟา ( ไมมีประจุ ) รังสีแกมมามี β
พลังงานสูงมาก ( 0.04 – 3.2 MeV ) และทำใหเกิดการแตกตัวเปน
ไอ ออนของตัวกลางที่ผานนอยมาก ดังนั้นรังสีแกมมาจึง มีอำนาจ γ
กระดาษ อลูมิเนียม ตะกั่ว
ในการทะลุผานสูงมาก

ฝกทำ รังสีแอลฟา มีมวล = .......... มีประจุ = .......... และเนื่องจาก


มีมวลมาก → ทำใหตัวกลางแตกตัวได .......... → เสียพลังงาน .......... → ทะลุทลวงได ..........
เฉลย: 4 , +2 , มาก , มาก , นอย
ฝกทำ รังสีบีตา มีมวล = .......... มีประจุ = .......... และเนื่องจาก
มีมวลนอย → ทำใหตัวกลางแตกตัวได .......... → เสียพลังงาน .......... → ทะลุทลวงได ..........
เฉลย: 0 , –1 , นอย , นอย , มาก
.

เรียนที่ pec9.com มีประสิทธิภาพและอิสรภาพสูงสุด


⌾ ไม่ต้องซื้อคอร์ส ไม่ต้องจ่ายเงินก้อน ⌾ โหลดหนังสือประกอบการเรียนฟรี
⌾ เลือกเรียนได้เฉพาะจุดที่ต้องการ เข้าใจได้เร็ว ⌾ สบายๆ เรียนไป กินขนมไป
⌾ ใช้เวลาเรียนสั้น เหลือเวลาเล่นเกมส์ ⌾ เรียนเสร็จ นำไปพลิกแพลงต่อได้
..
4
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET
ฝกทำ รังสีที่คายออกมาจากนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีไดแก แอลฟา , บีตา , แกมมา
1. จงเรียงลำดับรังสี จากมวลมากไปนอย
2. จงเรียงลำดับจากความสามารถทำใหตัวกลางแตกตัวจากมากไปนอย
3. จงเรียงลำดับอัตราการสูญเสียพลังงานจากมากไปนอย
4. จงเรียงลำดับอำนาจในการทะลุทะลวงจากมากไปนอย
5. จงเรียงลำดับพลังงานรังสีจากมากไปนอย

เฉลย 1. แอลฟา , บีตา , แกมมา 2. แอลฟา , บีตา , แกมมา 3. แอลฟา , บีตา , แกมมา
4. แกมมา , บีตา , แอลฟา 5. แอลฟา , บีตา , แกมมา
. 7

10. .P10010 (แนว O-NET) ขอใดเปนสมบัติของรังสีแอลฟา


1. เปนนิวเคลียสของอะตอมฮีเลียม 2. เปนอิเล็กตรอนประจุบวก
3. เปนอิเล็กตรอน 4. เปนนิวตรอน

11. .P10011 (มช. 52) ขอใดไมใชคุณสมบัติของรังสีแอลฟา


1. ถูกดูดกลืนโดยกระดาษ 2. เปนนิวเคลียสของฮีเลียม
3. มีประจุไฟฟาเปนบวก 4. มีอำนาจทะลุผานสูงสุด

12. .P10012 (แนว O-NET) รังสีในขอใดที่มีอำนาจในการทะลุทะลวงผานเนื้อสารไดนอยที่สุด


1. รังสีเอกซ 2. รังสีบีตา 3. รังสีแกมมา 4. รังสีแอลฟา

..
4
.
www.educasy.com
13. .P10013 (มช. 53) ถานำแผนอะลูมิเนียมหนาไปกั้นทางเดินของรังสีแกมมา รังสีบีตา และรังสีแอลฟา รังสี
ชนิดใดที่สามารถทะลุผานแผนอะลูมิเนียมได
1. รังสีแกมมาและรังสีบีตาเทานั้น 2. รังสีบีตาเทานั้น
3. รังสีบีตาและรังสีแอลฟาเทานั้น 4. รังสีแกมมาเทานั้น

14. .P10014 (มช. 50) ขอใดที่รังสีแกมมามีอำนาจทะลุผาน


8
1. อากาศได 1 - 3 เมตร 2. แผนกระดาษหนา 1 - 3 เซนติเมตร
3. แผนอะลูมิเนียมหนา 1 - 3 เซนติเมตร 4. ถูกทุกขอ

15. .P10015 (แนว O-NET) ขอความใดตอไปนี้ไมถูกตองเกี่ยวกับรังสีแอลฟา รังสีบีตา และรังสีแกมมา


1. รังสีแอลฟามีประจุ +2
2. รังสีแอลฟามีมวลมากที่สุดและอำนาจทะลุทะลวงผานสูงที่สุด
3. รังสีบีตามีประจุ −1 และมีมวลนอย
4. รังสีแกมมามีอำนาจทะลุทะลวงสูงที่สุด

16. .P10016 (แนว O-NET) อนุภาคแอลฟา อนุภาคบีตา รังสีแกมมา เมื่อเคลื่อนที่ในสนามแมเหล็ก ขอใดจะ


เกิดการเบี่ยงเบน
1. อนุภาคแอลฟา 2. อนุภาคบีตา
3. รังสีแกมมา 4. อนุภาคแอลฟาและบีตา

..
4
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET
17. (มช. 55) การเคลื่อนที่ของรังสีสามชนิดผานประจุลบ ดังรูป ขอใด C
เรียงลำดับรังสี A - B - C ไดถูกตอง
1. บีตา −→ แอลฟา −→ แกมมา
2. แอลฟา −→ แกมมา −→ บีตา
3. แอลฟา −→ บีตา −→ แกมมา B A
4. บีตา −→ แกมมา −→ แอลฟา

▷▷ P20006

กอนที่จะศึกษาถึงเรื่องตอไป นักเรียนควรทำความรูจักสัญลักษณบางอยางตอไปนี้ดี
4 0
รังสีแอลฟา = α = 2 He รังสีบีตา = β = −1 e
0
รังสีแกมมา = γ โพซิตรอน = e+ = 1e
1 1
นิวตรอน = n = 0n โปรตอน = p = 1H
ดิวเทอรอน = 21 H ตริตรอน = 31 H

การแตกตัวคายรังสีของนิวเคลียสกัมมันตรังสีนั้น เราสามารถเขียนแสดงเปนสมการได สมการ


แสดงการแตกตัวดังกลาวเรียกวา สมการนิวเคลียร

หลักในการเขียนสมการนิวเคลียร
1. ตองใหผลรวมเลขมวลกอนปฏิกิริยา และผลรวมเลขมวลหลังปฏิกิริยามีคาเทากัน
2. ตองใหผลรวมเลขอะตอมกอนปฏิกิริยา และผลรวมเลขอะตอมหลังปฏิกิริยาเทากัน
.

..
4
.
www.educasy.com
▷▷ P20007

ตัวอยาง กำหนด 238


92 U สลายตัวใหรังสีแอลฟาออกมา จงเขียนสมการแสดงการแตกตัวนี้
วิธีทำ สมการเบื้องตนอยางงาย คือ
นิวเคลียสเริ่มตน → นิวเคลียสเกิดใหม + รังสีที่คาย
238
92 U → □ + 42 He

1. เนื่องจาก ผลรวมเลขมวลกอนปฏิกิริยา = ผลรวมเลขมวลหลังปฏิกิริยา


จะได 238 = เลขมวลใน □ + 4
234 = เลขมวลใน □
10 2. เนื่องจาก ผลรวมเลขอะตอมกอนปฏิกิริยา = ผลรวมเลขอะตอมหลังปฏิกิริยา
จะได 92 = เลขอะตอมใน □ + 2
90 = เลขอะตอมใน □
เมื่อดูจากตารางธาตุธาตุที่มีเลขอะตอม 90 คือธาตุลำดับที่ 90 ในตารางธาตุคือ Th
ดังนั้นนิวเคลียสใน □ จึงเปน 234
90 Th และสมการการแตกตัวนี้คือ

238
92 U → 234 4
90 Th + 2 He

ตัวอยาง กำหนด 222


86 Rn สลายตัวใหรังสีแอลฟาออกมา จงเขียนสมการแสดงการแตกตัวนี้
วิธีทำ สมการเบื้องตนอยางงาย คือ
นิวเคลียสเริ่มตน → นิวเคลียสเกิดใหม + รังสีที่คาย
222
86 Rn → □ + 42 He

1. เนื่องจาก ผลรวมเลขมวลกอนปฏิกิริยา = ผลรวมเลขมวลหลังปฏิกิริยา


จะได 222 = เลขมวลใน □ + 4
218 = เลขมวลใน □
2. เนื่องจาก ผลรวมเลขอะตอมกอนปฏิกิริยา = ผลรวมเลขอะตอมหลังปฏิกิริยา
จะได 86 = เลขอะตอมใน □ + 2
84 = เลขอะตอมใน □
เมื่อดูจากตารางธาตุธาตุที่มีเลขอะตอม 84 คือธาตุลำดับที่ 84 ในตารางธาตุคือ Po
ดังนั้นนิวเคลียสใน □ จึงเปน 218
84 Po และสมการการแตกตัวนี้คือ

222
86 Rn → 218 4
84 Po + 2 He
.

..
4
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET
▷▷ P20008

ตัวอยาง กำหนด 210


83 Bi สลายตัวใหรังสีบีตาออกมา จงเขียนสมการแสดงการแตกตัวนี้
วิธีทำ สมการเบื้องตนอยางงาย คือ
นิวเคลียสเริ่มตน → นิวเคลียสเกิดใหม + รังสีที่คาย
210
83 U → □ + 0−1 e

1. เนื่องจาก ผลรวมเลขมวลกอนปฏิกิริยา = ผลรวมเลขมวลหลังปฏิกิริยา


จะได 210 = เลขมวลใน □ + 0
210 = เลขมวลใน □
2. เนื่องจาก ผลรวมเลขอะตอมกอนปฏิกิริยา = ผลรวมเลขอะตอมหลังปฏิกิริยา 11
จะได 83 = เลขอะตอมใน □ + (−1)
84 = เลขอะตอมใน □
เมื่อดูจากตารางธาตุธาตุที่มีเลขอะตอม 84 คือธาตุลำดับที่ 84 ในตารางธาตุคือ Po
ดังนั้นนิวเคลียสใน □ จึงเปน 210
84 Po และสมการการแตกตัวนี้คือ

210
83 U → 210 0
84 Po + −1 e

ตัวอยาง กำหนด 234


90 Th สลายตัวใหรังสีบีตาและแกมมาออกมา จงเขียนสมการแสดงการแตกตัวนี้
วิธีทำ สมการเบื้องตนอยางงาย คือ

นิวเคลียสเริ่มตน → นิวเคลียสเกิดใหม + รังสีที่คาย


234
90 Th → □ + 0−1 e + γ

1. เนื่องจาก ผลรวมเลขมวลกอนปฏิกิริยา = ผลรวมเลขมวลหลังปฏิกิริยา


จะได 234 = เลขมวลใน □ + 0
234 = เลขมวลใน □
2. เนื่องจาก ผลรวมเลขอะตอมกอนปฏิกิริยา = ผลรวมเลขอะตอมหลังปฏิกิริยา
จะได 90 = เลขอะตอมใน □ + (−1)
91 = เลขอะตอมใน □
เมื่อดูจากตารางธาตุธาตุที่มีเลขอะตอม 91 คือธาตุลำดับที่ 91 ในตารางธาตุคือ Pa
ดังนั้นนิวเคลียสใน □ จึงเปน 234
91 Pa และสมการการแตกตัวนี้คือ

234
90 Th → 234 0
91 Pa + −1 e + γ
.

เรียนที่ pec9.com มีประสิทธิภาพและอิสรภาพสูงสุด


⌾ ไม่ต้องซื้อคอร์ส ไม่ต้องจ่ายเงินก้อน ⌾ โหลดหนังสือประกอบการเรียนฟรี
⌾ เลือกเรียนได้เฉพาะจุดที่ต้องการ เข้าใจได้เร็ว ⌾ สบายๆ เรียนไป กินขนมไป
⌾ ใช้เวลาเรียนสั้น เหลือเวลาเล่นเกมส์ ⌾ เรียนเสร็จ นำไปพลิกแพลงต่อได้
..
4
.
www.educasy.com
18. .P10017 (แนว O-NET) นิวเคลียสของเรเดียม-226 มีการสลายดังสมการขางลาง X คืออะไร
226
88 Ra −→ 222
86 R + X
1. อนุภาคโพซิตรอน 2. อนุภาคแอลฟา
3. รังสีแกมมา 4. อนุภาคบีตา

19. .P10018 (Ent42 มี.ค) จากปฏิกิริยานิวเคลียร


12
14 1
7 N +1 H →157 N + X
X คืออนุภาคใด
1. นิวตรอน 2. อิเล็กตรอน
3. โปรตอน 4. โพซิตรอน

20. .P10019 (แนว O-NET) นิวเคลียส 146 C สลายตัวแลวไดนิวเคลียส 147 N รังสีไดจากการสลายตัวของ 146 C
คือรังสีอะไร
1. บีตา 2. แกมมา 3. เอกซ 4. แอลฟา

21. .P10020 (แนว O-NET) นิวเคลียสของเรเดียม-226 (226


88 Ra ) มีการสลายโดยการปลอยอนุภาคแอลฟา 1
226
ตัว และรังสีแกมมาออกมา จะทำให 88 Ra กลายเปนธาตุใด
234 230 222 218
1. 92 X 2. 90 X 3. 86 X 4. 84 X

..
4
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET
22. .P10021 (แนว O-NET) ในการสลายตัวของ 146 C นิวเคลียสของคารบอน-14 ปลอยอิเล็กตรอนออก หนึ่ง
ตัว นิวเคลียสใหมจะมีประจุเปนกี่เทาของประจุโปรตอน
1. 3 2. 5 3. 7 4. 15

23. .P10022 (มช. 49) โคบอลต-59 เปนไอโซโทปเสถียร แตเมื่อดูดกลืนนิวตรอนแลวจะกลายเปนธาตุใด


1. โคบอลต-58 2. โคบอลต-60 3. นิเกิล-58 4. นิเกิล-60

13
▷▷ P20009

เมื่อนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีสลายตัวไปปริมาณที่เหลืออยูยอมลดลง เวลาที่ใชในการสลาย
นิวเคลียสจนเหลือปริมาณจำนวนนิวเคลียสอยูครึ่งหนึ่งของตอนเริ่มตนเรียกวา ครึ่งชีวิต
ตัวอยางเชน ถาสมมติวามีธาตุ X อยู 800 นิวเคลียส เมื่อทิ้งไวนาน 2 ปปรากฏวา ธาตุ X สลาย
ตัวไป แลวเหลืออยูเพียง 400 นิวเคลียส ( คือเหลืออยูครึ่งหนึ่งของตอนเริ่มตน ) เวลาที่ผานไป 2 ป นี้
จะเรียกวาเปนครึ่งชีวิตของธาตุ X
.

24. .P10023 ธาตุกัมมันตรังสีชนิดหนึ่งมีเวลาครึ่งชีวิต 10 วัน ถาเก็บธาตุนั้นจำนวน 24,000 อะตอมไว 30 วัน


จะเหลือธาตุนั้นกี่อะตอม
1. 1,500 2. 3,000 3. 6,000 4. 12,000

25. .P10024 (แนว O-NET) ไอโอดีน-128 มีคาครึ่งชีวิต 22 นาที ถาเริ่มตนมีไอโอดีน-128 อยู 200 มิลลิกรัม
ไอโอดีน-128 จะลดลงเหลือ 50 มิลลิกรัม เมื่อเวลาผานไปกี่นาที

26. .P10025 (มช. 50)ไอโอดีน-128 มีครึ่งชีวิต 25 นาที จะใชเวลานานกี่นาทีจึงจะเหลือไอโอดีน-128 รอยละ


12.5 ของจำนวนเดิม
1. 50 2. 75 3. 100 4. 125

..
4
.
www.educasy.com
27. .P10026 (มช. 55)ระบบขับ ถายของรางกายจะขับ ถายของเหลวออกจากรางกาย หลัง จากรับ ประทาน
แลว ประมาณ 2 ชั่วโมงครึ่ง ถา รับ ประทานน้ำ ผสมไอโอดีน-128 ซึ่ง มี ครึ่ง ชีวิต ประมาณ 30 นาที เมื่อ ขับ
ถายของเหลวจะมีนิวเคลียสไอโอดีน-128 เหลืออยูกี่เปอรเซ็นต
1. 0.8 2. 1.6 3. 3.1 4. 6.2

28. .P10027 (แนว O-NET) ไอโซโทปกัมมันตรังสีของธาตุไอโอดีน-128 มีครึ่งชีวิต 25 นาที ถามี ไอโอดีน-128


ทั้งหมด 400 กรัม จะใชเวลาเทาไรจึงจะเหลือไอโอดีน-128 อยู 50 กรัม
14
1. 1 ชั่วโมง 15 นาที 2. 1 ชั่วโมง 30 นาที
3. 1 ชั่วโมง 40 นาที 4. 3 ชั่วโมง 20 นาที

29. .P10028 (แนว O-NET) นักโบราณคดีตรวจพบเรือไมโบราณลำหนึ่งวามีอัตราสวนของปริมาณ C-14 ตอ


C-12 เปน 12.5 % ของอัตราสวนสำหรับสิ่งที่ยังมีชีวิต สันนิษฐานไดวาซากเรือนี้มีอายุประมาณกี่ป
( กำหนดใหครึ่งของ C-14 มีคาเทากับ 5,730 ป )
1. 2,865 ป 2. 5,730 ป 3. 11,460 ป 4. 17,190 ป

30. .P10029 (แนว O-NET) ธาตุ X หนัก 24 กรัม เมื่อเวลาผานไป 30 วัน จะสลายตัวเหลืออยู 3 กรัม ธาตุ X
นี้มีครึ่งชีวิตกี่วัน

31. .P10030 (แนว O-NET) กิจกรรมการศึกษาที่เปรียบการสลายกัมมันตรังสีกับการทอดลูกเตานั้น จำนวน


ลูกเตาที่ถูกคัดออกเทียบไดกับปริมาณใด
1. จำนวนนิวเคลียสที่เหลืออยู 2. จำนวนนิวเคลียสที่สลาย
3. เวลาครึ่งชีวิต 4. คาคงตัวการสลาย

..
4
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET
▷▷ P20010
ปจจุบันเราไดนำไอโซโทปของธาตุกัมมันตรังสีหลายตัวมาใชประโยชนมากมาย เชน
ดานการแพทย มี การใช ไอโซโทปกัมมันตรังสี ในการวินิจฉัย และรักษาโรคหลายโรค เชน รังสี
แกมมาจากโคบอลต-60 ไปทำลายเซลลมะเร็ง ใชไอโอดีน-131 ตรวจสอบความผิดปกติของตอม
ไธรอยด เปนตน
ดานอุตสาหกรรม เราใช ไอโซโทปกัมมันตรังสี ควบคุม กระบวนการผลิต กระจก กระดาษ แผน
เหล็ก พลาสติก ใหมีความหนาสม่ำเสมอ ใชตรวจหารอยรั่วของทอสงน้ำมันและแกสธรรมชาติ เปนตน
ดานการเกษตร เราใช รังสี แกมมาฉายดักแด ของแมลงเพื่อ ให เปน หมัน ฉายอาหารเพื่อ ให คง
ความสดเปนเวลานาน ฉายดอกไมบางชนิดเพื่อใหกลายพันธ เราใชปุยที่มีสวนผสมของ ฟอสฟอรัส-32
เพื่อใหรากพืชดูดซึมเขาไปแลววัดปริมาณรังสีจากใบพืชเพื่อศึกษาอัตราการดูดซึมปุยได 15
ดานโบราณคดีและธรณีวิทยา เราสามารถวัดอัตราสวนของคารบอน-14 และ คารบอน-12
จากซากสิ่งมีชีวิตโบราณ แลวนำมาคำนวณหาอายุของซากโบราณนั้น หรือหาอายุของหิน ของโลกได
.

32. .P10031 (แนว O-NET) ในทางการแพทย ไอโอดีน-131 นํามาใชเพื่อวัตถุประสงคตามขอใด


1. ปองกันรังสีภายนอกเขาสูรางกาย 2. รักษาโรคมะเร็ง
3. ตรวจการทํางานของตอมไทรอยด 4. รักษาเนื้องอกในสมอง

33. .P10032 (แนว O-NET) รังสีในขอใดใชสำหรับฉายฆาเชื้อโรคในเครื่องมือทางการแพทย


1. รังสีเอกซ 2. รังสีอัตราไวโอเล็ต 3. รังสีบีตา 4. รังสีแกมมา

34. .P10033 (แนว O-NET) รังสีใดที่นิยมใชในการอาบรังสีผลไม


1. รังสีเอกซ 2. รังสีอัตราไวโอเล็ต 3. รังสีบีตา 4. รังสีแกมมา

35. .P10034 (แนว O-NET) ธาตุกัมมันตรังสีใดที่ใชในการคำนวณหาอายุของวัตถุโบราณคือ


1. I-131 2. C-14 3. U-235 4. P-32

..
4
.
www.educasy.com
4.2 รังสีกับมนุษย
▷▷ P20011

ปกติแลวสิ่งแวดลอมในธรรมชาติจะมีรังสีทั้งจากธรรมชาติ และจากที่มนุษยสรางขึ้นอยูแลวใน
ระดับ หนึ่ง รังสี เหลา นี้ เรียกวา รังสี พื้น หลัง ซึ่ง โดยทั่วไปแลว จะมี ไม มากและไม เปน อันตราย ปริมาณ
รังสีที่ประชาชนทั่วไปไดรับรวมแลวตองไมเกิน 5 มิลลิซีเวิรดตอป และสำหรับผูทำงานเกี่ยวกับรังสีตอง
ไมเกิน 20 มิลลิซีเวิรดตอป การไดรับรังสีมากเกินไปจะทำใหเซลลตางๆ ของรางกายถูกทำลาย หรืออาจ
ทำใหกลายเปนเซลลมะเร็ง และอาจมีผลทางพันธุกรรมถายทอดไปสูงรุนลูกหลานได
รังสีที่อยูในสภาพผงหรือแกส เมื่อเขาสูรางกายทั้งทางการหายใจหรือการกิน จะตกคางอยูใน
16 รางกายเปนเวลานานและมีอันตรายมากกวารังสีที่อยูภายนอกรางกาย
ปจจุบันเราไดนำไอโซโทปกัมมันตรังสีมาใชประโยชนในดานตางๆ มากมาย ซึ่งจะทำใหเกิดของ
เสียปนเปอนดวยสารรังสี ของเสียนี้เรียก กากกัมมันตรังสี ซึ่งแบงตามปริมาณรังสีที่ปนเปอนได 3 ระดับ
คือ กากกัมมันตรังสีระดับสูง ระดับกลาง และระดับต่ำ การกำจัดกากกัมมันตรังสีตองนำไปหอหุมดวย
สารที่คงทนตอการเปลี่ยนแปลงเชนซีเมนต ซิลิกา หรือแกว จากนั้น หากเปนกากกัมมันตรังสีระดับต่ำ
หรือกลางตองนำไปฝงดินตื้นลึกมากกวา 10 เมตร โดยสภาพพื้นที่ตองไมเปนที่ลุม ไมมีประวัติแผนไหว
ภูเขาไฟระเบิด ไมมี น้ำ ใตดิน หากเปน กากกัมมันตรังสี ระดับ สูง ตองนำไปฝง ในชั้น ธรณี ลึก และมั่นคง
สภาพพื้นที่ตองมีชั้นหินอัคนี หินแปร หรือหินชนวน
.

36. .P10035 (มช. 53) ปริมาณรังสีที่ประชาชนทั่วไปไดรับจากแหลงกำเนิดรังสีทุกชนิดรวมกัน ตองมีคาไม


เกินกี่มิลลิซีเวิรต จึงจะอยูในระดับที่ปลอดภัย
1. 10 2. 8 3. 7 4. 5

37. .P10036 (มช. 54) ปริมาณรังสีที่แพทยฉายรังสีไดรับตอป ตองไมเกินกี่เรม ( ให 10 มิลลิซีเวิรด = 1 เรม)


1. 2 2. 20 3. 200 4. 2ม000

เรียนที่ pec9.com มีประสิทธิภาพและอิสรภาพสูงสุด


⌾ ไม่ต้องซื้อคอร์ส ไม่ต้องจ่ายเงินก้อน ⌾ โหลดหนังสือประกอบการเรียนฟรี
⌾ เลือกเรียนได้เฉพาะจุดที่ต้องการ เข้าใจได้เร็ว ⌾ สบายๆ เรียนไป กินขนมไป
⌾ ใช้เวลาเรียนสั้น เหลือเวลาเล่นเกมส์ ⌾ เรียนเสร็จ นำไปพลิกแพลงต่อได้
..
4
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET
38. .P10037 (มช. 55) ถา เดิน ทางโดยเครื่องบิน ทำให ได รับ รังสี 0.005 มิลลิ ซี เวิรด ตอ ชั่วโมง ดัง นั้น ภายใน
หนึ่งป ควรเดินทางโดยเครื่องบินรวมเวลาแลวไมเกินกี่วันโดยประมาณ
1. 38 2. 20 3. 42 4. 44

39. (แนว O-NET) เครื่องหมายดังรูปแทนอะไร 17


1. การเตือนวามีอันตรายจากสารเคมี
2. การเตือนวามีอันตรายจากใบพัดมอเตอร
3. การเตือนวามีอันตรายจากเครื่องเปาลมรอน
4. การเตือนวามีอันตรายจากกัมมันตภาพรังสี

40. .P10038 (แนว O-NET) ขอใดตอไปนี้เปนการกำจัดกากกัมมันตรังสีที่ดีที่สุด


1. ทิ้งลงทะเลลึก หรือทิ้งใหระเหยในอากาศ
2. ใชคอนกรีตตรึงใหแนนแลวฝงกลบใตภูเขา
3. เผาใหสลายตัวที่อุณหภูมิสูง
4. ใชปฏิกิริยาเคมีเปลี่ยนใหเปนสารประกอบอื่น

..
4
.
www.educasy.com
4.3 พลังงานนิวเคลียร
▷▷ P20012

ปกติ แลว อนุภาค โปรตอน และ นิวตรอน ใน


นิวเคลียส มีแรงกระทำระหวางกันดังนี้

1. แรงดึงดูดระหวางมวล คอยยึดเหนี่ยว
อนุภาคเหลานั้นไวดวยกัน
2. แรงผลัก ระหวางประจุ บวกของโปรตอนกับ
18 โปรตอนคอยผลักออก
3. แรงนิวเคลียรคอยยึดเหนี่ยวอนุภาคเหลานี้ไวดวยกันเชนเดียวกับแรงดึงดูดระหวางมวล แตแรง
นิวเคลียรมีขนาดมากกวาแรงดึงดูดระหวางมวลมาก
ลักษณะของแรงนิวเคลียร คือ
1. เปนแรงดึงดูดระยะสั้น
2. ไมเกี่ยวกับชนิดของประจุ
3. มีคามากกวาแรงผลักระหวางประจุไฟฟา
.

41. .P10039 (แนว O-NET) แรงระหวางอนุภาคซึ่งอยูภายในนิวเคลียสประกอบดวยแรงใดบาง


1. แรงนิวเคลียร 2. แรงไฟฟา
3. แรงดึงดูดระหวางมวล 4. ถูกทุกขอ

42. .P10040 (แนว O-NET) โปรตอนและนิวตรอนสามารถอยูรวมกันเปนนิวเคลียสไดดวยแรงใด


1. แรงโนมถวง 2. แรงนิวเคลียร
3. แรงดึงดูดระหวางมวล 4. แรงดึงดูดระหวางไฟฟา

..
4
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET
▷▷ P20013

ฟชชัน คือปฏิกิริยานิวเคลียรที่เกิดจากนิวเคลียสของธาตุหนักเกิดการแตกตัวออกเปน 2 สวนที่


มีขนาดใกลเคียงกันจะทำใหไดนิวเคลียสใหม เชนปฏิกิริยาที่เกิดจากการยิงนิวตรอนเขาไปในนิวเคลียส
ของยูเรเนียม ดังสมการ
235 1
92 U +0 n →141 92 1
56 Ba +36 Kr + 3 0 n + พลังงาน

จะเห็นวาผลของปฏิกิริยานี้จะไดนิวเคลียสใหม 2 ตัว ตัวหนึ่งมีเลขอะตอมอยูระหวาง 30 ถึง 63


และอีกตัวอยูระหวาง 72 ถึง 158 และปฏิกิริยานี้ยังใหพลังงานออกมาอยางมหาศาลเรียกวาพลังงาน
นิวเคลียร และให นิวตรอนอีก 3 ตัว ซึ่ง ถา นิวตรอนเหลา นี้ มี พลังงานสูง พอ ก็ จะวิ่ง เขา ชนนิวเคลียส
ของยูเรเนียมอะตอมตอๆ ไป กอใหเกิดปฏิกิริยาอยางตอเนื่องที่เรียกวา ปฏิกิริยาลูกโซ เฟรมี เปนนัก
19
วิทยาศาสตร คนแรกที่ สามารถควบคุม อัตราการเกิด ปฏิกิริยาลูกโซ ให สม่ำเสมอได โดย ใช เครื่องมือ ที่
เรียกวา เครื่องปฏิกรณนิวเคลียร ซึ่งควบคุมอัตราการเกิดฟงชันโดยการควบคุมจำนวนนิวตรอนที่เกิด
ขึ้น

..
4
.
www.educasy.com
ปจจุบันเราใชปฏิกิริยาฟชชันในเครื่องปฏิกรณไปผลิตกระแสไฟฟาดังแสดงในแผนภาพ

20

แทง เชื้อ เพลิง ในเตาปฏิกรณ จะเกิด ปฏิกิริยาทำให ของเหลวในเตามี ความรอนและแรงดัน สูง


ของเหลวนี้จะถูกนำไปตมน้ำ ทำใหน้ำในถังเดือดกลายเปนไอน้ำ ซึ่งจะถูกนำไปผลักดันกังหันในเครื่อง
ปนไฟ จากนั้นไอน้ำนี้จะถูกลดอุณหภูมิลงทำใหควบแนนกลับเปนของเหลวหมุนวนนำกลับมาไดอีก โรง
ไฟฟาพลังงานนิวเคลียรตองใชน้ำระบายความรอนในปริมาณมาก จึงตองอยูใกลแหลงน้ำขนาดใหญเชน
ทะเล เพื่อใหมีน้ำเพียงพอตอการหลอเย็น (ระบายความรอน) ตลอดเวลา
ฟวชัน คือ ปฏิกิริยาที่เกิดจากการรวมตัวกันของธาตุเบาแลวยังผลใหเกิดธาตุซึ่งหนักกวา และ
มีการปลดปลอยพลังงานนิวเคลียรออกมาดวย เชน
4 11 H → 42 He + 2 01 e + 26MeV
จะเห็นวาปฏิกิริยานี้เกิดจาก 11 H 4 ตัว รวมกันเปน 42 He 1 ตัว แลวมีการปลอยอนุภาคที่มีประจุ
บวกและมีมวลใกลเคียงกับอิเล็กตรอน เรียกวาโพชิตรอนอีก 2 ตัว ปฏิกิริยานี้มีการปลดปลอยพลังงาน
ออกมากมายเชนกัน ปฏิกิริยานี้เปนปฏิกิริยาที่เกิดบนดวงอาทิตย หรือบน ดาวฤกษ ที่มีพลังงานสูงทั้ง
หลาย สำหรับบนโลกเราปฏิกิริยาฟวชันสามารถทำใหเกิดขึ้นไดในหองปฏิบัติการเชน
2 2
1 H +1 H → 31 H +11 H + 4 MeV
2 2
1 H +1 H → 32 He +10 n + 3.3 MeV

แตปฏิกิริยาฟวชันที่ทำใหเกิดนี้ยังไมสามารถควบคุมและนำมาใชประโยชนได
.

..
4
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET
การเกิด ปฏิ กิริยาฟช ชัน และฟว ชัน มวลหลัง ปฏิกิริยาจะหายไปบางสวน มวลที่ หายไปนี้ จะถูก
เปลี่ยนเปน พลังงานตามทฤษฏีสัมพันธภาพของไอนส ไตน ความสัมพันธ ของพลังงานกับมวลเขียนเปน
สมการจะไดวา
E = mc2
เมื่อ E คือ พลังงาน หนวยเปนจูล ( J )
m คือ มวล หนวยเปนกิโลกรัม ( kg )
c คือ คือความเร็วแสง มีคา 3 × 108 เมตร/วินาที
.

43. .P10041 (มช. 49) ขอใดกลาวถึงปฏิกิริยาฟชชันไมถูกตอง 21


1. เปนปฏิกิกิริยาแบบเดียวกับปฏิกิริยาในดวงอาทิตย
2. นิวเคลียสเดิมแตกออกเปนสองนิวเคลียสใหม
3. มวลที่หายไปกลายเปนพลังงาน
4. กอใหเกิดปฏิกิริยาลูกโซ

44. .P10042 (มช. 53) พลังงานนิวเคลียรที่ไดจากเครื่องปฏิกรณนิวเคลียรที่ใชในโรงไฟฟานิวเคลียรเกิดจาก


ปฏิกิริยาชนิดใด
1. การสลายตัวใหรังสีแกมมา 2. ฟชชัน
3. ฟวชัน 4. การสลายตัวใหรังสีเอกซ

45. .P10043 (มช. 55) ขอใดไมเกี่ยวของกับโรงไฟฟานิวเคลียร


1. ขดลวดและแทงแมเหล็ก 2. น้ำเย็นสะอาด
3. กังหันไอน้ำ 4. แกสไฮโดรเจน

46. .P10044 (แนว O-NET) เหตุใดโรงไฟฟานิวเคลียรในปจจุบันจึงตองสรางใกลแหลงน้ำธรรมชาติ


1. เพื่อใหมีน้ำเพียงพอตอการดับไฟ กรณีไฟไหมเตาปฏิกรณปรมาณู
2. ใชน้ำปริมาณมากในการทำใหเกิดปฏิกิริยาลูกโซของปฏิกิริยานิวเคลียร
3. ตองใชนิวตรอนจำนวนมากจากน้ำในการเริ่มปฏิกิริยานิวเคลียร
4. เพราะตองใชน้ำปริมาณมากในการระบายความรอนจากเตาปฏิกรณ

เรียนที่ pec9.com มีประสิทธิภาพและอิสรภาพสูงสุด


⌾ ไม่ต้องซื้อคอร์ส ไม่ต้องจ่ายเงินก้อน ⌾ โหลดหนังสือประกอบการเรียนฟรี
⌾ เลือกเรียนได้เฉพาะจุดที่ต้องการ เข้าใจได้เร็ว ⌾ สบายๆ เรียนไป กินขนมไป
⌾ ใช้เวลาเรียนสั้น เหลือเวลาเล่นเกมส์ ⌾ เรียนเสร็จ นำไปพลิกแพลงต่อได้
..
4
.
www.educasy.com
47. .P10045 (แนว O-NET) ขอใดถูกตองเกี่ยวกับปฏิกิริยานิวเคลียรฟวชัน (fusion)
1. เกิดจากนิวเคลียสของธาตุเบาหลอมรวมกันเปนธาตุหนัก
2. เกิดจากการที่นิวเคลียสแตกสลายตัว
3. เกิดที่อุณหภูมิต่ำ
4. ไมสามารถทำใหเกิดบนโลกได

48. .P10046 (มช. 51) ขอใดกลาวถึงปฏิกิริยานิวเคลียรไมถูกตอง


1. ปฏิกิริยาฟชชันใหพลังงานตอปฏิกิริยามากกวาปฏิกิริยาฟวชัน
2. ปฏิกิริยาฟชชันใหรังสีที่อันตรายมากกวาปฏิกิริยาฟวชัน
22
3. ปฏิกิริยาฟชชันผลิตและควบคุมงายกวาปฏิกิริยาฟวชัน
4. ปฏิกิริยาฟชชันเหลือกากรังสีนอยกวาปฏิกิริยาฟวชัน

..
4
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET

. แบบฝกหัด
1. .P10047 (แนว O-NET) ธาตุที่มีสัญลักษณนิวเคลียร 126 C มักถูกเรียกชื่อยอวาอะไร
1. คารบอน-6 2. คารบอน-12
3. คารบอน-13 4. คารบอน-18

2. .P10048 (มช. 54) ไอโซโทปของธาตุใด มีจำนวนนิวตรอนเทากัน


227
ก. 89 Ac 23
218
ข. 86 Rn
226
ค. 88 Ra
232
ง. 90 Th
ขอความใดถูกตอง
1. ก. และ ข. 2. ก และ ค. 3. ข และ ง. 4. ค และ ง

3. .P10049 (แนว O-NET) ขอใดถูกตองสำหรับไอโซโทปของธาตุๆ หนึ่ง


1. มีเลขมวลเทากัน แตเลขอะตอมตางกัน
2. มีเลขมวล และเลขอะตอมตางกัน
3. มีจำนวนโปรตอนเทากัน แตจำนวนนิวตรอนตางกัน
4. มีจำนวนนิวตรอนเทากัน แตจำนวนโปรตอนตางกัน

4. .P10050 (มช. 54) ขอใดกลาวเกี่ยวกับธาตุและไอโซโทปกัมมันตรังสีไดถูกตอง


1. ครึ่งชีวิตคือเวลาที่นิวตรอนในนิวเคลียสลดลงเหลือครึ่งหนึ่งของจำนวนเริ่มตน
2. นิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีชนิดเดียวกันมีโอกาสในการสลายตัวไมเทากัน
3. การสลายกัมมันตรังสีของธาตุกัมมันตรังสีแตละชนิด ไมขึ้นกับความดันและอุณหภูมิ
4. ไอโซโทปกัมมันตรังสีของธาตุหนึ่งๆ จะมีจำนวนนิวตรอนนอยกวาไอโซโทปเสถียรเสมอ

..
4
.
www.educasy.com
5. .P10051 (มช. 54) ขอใดกลาวถึงรังสีแอลฟาไดถูกตอง
1. มีจำนวนนิวตรอนสูงกวาอะตอมไฮโดรเจน
2. มีอำนาจทะลุทะลวงสูงกวารังสีแกมมา
3. ไมสามารถถูกทำใหเบี่ยงเบนภายใตสนามแมเหล็ก
4. เคลื่อนที่ภายใตสนามไฟฟาในทิศตรงกันขามกับสนามไฟฟา

6. .P10052 (มช. 53) ขอใดถูกตองเมื่อรังสีแกมมา และรังสีแอลฟาแผเขาไปในสารในระยะทางเทากัน


1. รังสีแกมมาและรังสีแอลฟาทำใหเกิดการแตกตัวเปนไอออนในสารเทากัน
2. รังสีแกมมาทำใหเกิดการแตกตัวเปนไอออนในสารมากกวา
24
3. รังสีแอลฟาทำใหเกิดการแตกตัวเปนไอออนในสารมากกวา
4. รังสีแกมมาและรังสีแอลฟาไมทำใหเกิดการแตกตัวเปนไอออนในสารเลย

7. .P10053 (มช. 55) ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับธาตุกัมมันตรังสี


ก. เปนธาตุที่แผรังสีไดเองอยางตอเนื่อง
ข. เปนธาตุที่ทะลุทะลวงผานแผนอะลูมิเนียมหนาหลายเซนติเมตรได
ค. เปนธาตุที่มีมวลลดลงเมื่อเวลาผานไป
ขอความใดถูกตอง
1. ก. และ ข. 2. ก และ ค. 3. ข และ ค. 4. ก. ข. และ ค.

8. .P10054 นิวเคลียสของ 226


88 Ra มี การสลายให รังสี แอลฟา นิวเคลียสใหม จะมี เลขอะตอมและเลขมวลเปน
เทาใด ( ตามลำดับ )
1. 88 , 222 2. 86 , 222 3. 88 , 226 4. 86 , 226

9. .P10055 ถา นิวเคลียสหนึ่ง มี การสลายให รังสี แอลฟา จำนวนโปรตอนและนิวตรอนในนิวเคลียสใหม ที่ ได


เปลี่ยนแปลงอยางไร
1. โปรตอนลดลง 2 นิวตรอนลดลง 4
2. โปรตอนลดลง 2 นิวตรอนลดลง 2
3. โปรตอนลดลง 4 นิวตรอนลดลง 2
4. โปรตอนลดลง 4 นิวตรอนลดลง 4

..
4
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET
10. .P10056 ถานิวเคลียสหนึ่งมีการสลายใหรังสีแกมมา เลขอะตอมและเลขมวลจะเปลี่ยนแปลงอยางไร
1. เลขอะตอมลดลง 2 เลขมวลลดลง 4
2. เลขอะตอมลดลง 2 เลขมวลลดลง 2
3. เลขอะตอมลดลง 1 เลขมวลลดลง 1
4. เลขอะตอมและเลขมวลไมมีการเปลี่ยนแปลง

11. .P10057 (มช. 51) เทคนีเซียม-99 ใหรังสีแกมมาเพื่อการวินิจฉัย มีครึ่งชีวิต 6 ชั่วโมง หากจะให สลายใน
รางกายผูปวยเหลือเพียงรอยละ 12.5 ตองใชเวลานานกี่ชั่วโมง
1. 3 2. 6 3. 12 4. 18
25
12. .P10058 (แนว O-NET) ธาตุกัมมันตรังสีธรรมชาติ X มีครึ่งชีวิตเทากับ 5,000 ป นักธรณีวิทยาคนพบ ซาก
ของสัตวโบราณที่มีปริมาณธาตุกัมมันตรังสี X เหลืออยูเพียง 12.5 % ของปริมาณ เริ่มตนสัตวโบราณนี้มี
ชีวิตโดยประมาณเมื่อกี่ปมาแลว
1. 10,000 ป 2. 15,000 ป 3. 20,000 ป 4. 25,000 ป

13. .P10059 (มช. 49) เมื่อเวลาผานไป 6 วัน ธาตุกัมมันตรังสีชนิดหนึ่งมีมวลของธาตุเดิมเหลือเพียงรอย ละ


12.5 จากเดิม ธาตุนี้มีครี่งชีวิตกี่วัน
1. 0.5 2. 1.25 3. 2.0 4. 2.5

14. .P10060 (มช. 50) ) ในการวิเคราะหอายุของหินชนิดหนึ่งพบวามีอัตราสวนระหวางโพแทสเซียม-40 และ


อารกอน-40 เทากับ 1:4 หินชนิดนี้จะมีอายุประมาณกี่ลานป ถาโพแทสเซียม 40 มีครึ่งชีวิต 1.3 x 109 ป
1. 2,600 2. 3,900 3. 5,200 4. 6,500

..
4
.
www.educasy.com

. เฉลยโจทยประกอบเนื้อหา
1. ตอบขอ 1)
แนวคิด พิจารณา 6 A , 6 B , 6 C มีเลขอะตอม (จำนวนโปรตอนเทากัน) จึงเปนธาตุเดียวกัน แนนอน

2. ตอบขอ 2)
แนวคิด จำนวนโปรตอนในนิวเคลียสจะเปนตัวบอกใหรูวาธาตุนั้นๆ เปนธาตุอะไร เปนธาตุลำดับที่เทาใด
ในตารางธาตุและถาจำนวนโปรตอนเปลี่ยนไปชนิดของธาตุนั้น ๆ และคุณสมบัติตางๆ ของธาตุ
26 จะเปลี่ยนไปดวย
3. ตอบขอ 2)
แนวคิด จาก 208
82 Pb จะไดวา
จำนวนโปรตอน = 82
จำนนนิวตรอน = 208 – 82 = 126

4. ตอบขอ 4)
แนวคิด 236
92 U มีจำนวนนิวตรอน = 236 – 92 = 144
234
90 Th มีจำนวนนิวตรอน = 234 – 90 = 144
จะเห็นวาอนุภาคทั้งสองมีจำนวนนิวตรอนเทากัน

5. ตอบขอ 3)
แนวคิด จากสัญลักษณ 157 N จะไดวา
จำนวนโปรตอน = จำนวนอิเล็กตรอน = เลขอะตอม = 7
จำนวนนิวตรอน = เลขมวล – เลขอะตอม = 15 – 7 = 8

6. ตอบขอ 3)
แนวคิด ไอโซโทปคือธาตุชนิดเดียวกัน แตมีมวลไมเทากัน
12
พิจารณาธาตุ 6. A กับ 14.7 A .
2 ธาตุนี้ เปนธาตุคนละชนิดกันเพราะมีจำนวนโปรตอนไมเทากัน จึงเปนไอโซโทปกันไมได
14
ธาตุ .6 B กับ 14.7 B .
2 ธาตุนี้ เปนธาตุคนละชนิดกันเพราะมีจำนวนโปรตอนไมเทากันจึงเปนไอโซโทปกันไมได

เรียนที่ pec9.com มีประสิทธิภาพและอิสรภาพสูงสุด


⌾ ไม่ต้องซื้อคอร์ส ไม่ต้องจ่ายเงินก้อน ⌾ โหลดหนังสือประกอบการเรียนฟรี
⌾ เลือกเรียนได้เฉพาะจุดที่ต้องการ เข้าใจได้เร็ว ⌾ สบายๆ เรียนไป กินขนมไป
⌾ ใช้เวลาเรียนสั้น เหลือเวลาเล่นเกมส์ ⌾ เรียนเสร็จ นำไปพลิกแพลงต่อได้
..
4
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET
1
ธาตุ .1 X กับ 3.1 X .
2 ธาตุนี้ เปนธาตุชนิดเดียวกันเพราะมีจำนวนโปรตอนเทากัน แตมีมวลไมเทากันจึงเปนไอโซโทป
กันแนนอน
ธาตุ 21. Y กับ 21. Y .
2 ธาตุนี้เปนธาตุเดียวกัน แตมีมวลเทากัน จึงไมเรียกเปนไอโซโทปกัน
7. ตอบขอ 1)
แนวคิด ไอโซโทป คือธาตุชนิดเดียวกัน แตมีมวลอะตอมไมเทากัน เชน 126 C กับ 146 C เปนตน
เนื่องจากเปนธาตุชนิดเดียวกัน จึงมีเลขอะตอมหรือจำนวนโปรตอนเทากัน แตจำนวนนิวตรอน
จะมีไมเทากันจึงทำใหเลขมวลตางกัน ดังเชนในตัวอยางนี้
27
12
6 C มีจำนวนนิวตรอน = 12 – 6 = 6
14
สวน 6 C มีจำนวนนิวตรอน = 14 – 6 = 8
8. ตอบขอ 1)
16
แนวคิด 8 O มีนิวตรอน = 16 – 8 = 8 , มีโปรตอน = 8 , มีอิเลคตรอน = 8
18
สวน 8 O มีนิวตรอน = 18 – 8 = 10 , มีโปรตอน = 8 , มีอิเลคตรอน = 8
จะเห็นวาอนุภาคทั้งสองมีจำนวนนิวตรอนตางกัน แตมีจำนวนโปรตอนและอิเลคตรอนเทากัน
9. ตอบขอ 2)
แนวคิด อัตราการสลายตัวของกลุมนิวเคลียสใดๆ จะไมขึ้นกับปจจัยอื่นใด นอกจากจำนวนนิวเคลียสที่มี
อยู ปกติแลวหากมีจำนวนนิวเคลียสมากอัตราการสลายตัวจะมีคามากดวย
10. ตอบขอ 1)
แนวคิด เปนนิวเคลียสของอะตอมของธาตุฮีเลียม มีมวลเทากับ 4 และมีประจุไฟฟา +2 เขียนสัญลักษณ
จึงได 42 He
11. ตอบขอ 4)
แนวคิด รังสี แอลฟาเปน นิวเคลียสของอะตอมของธาตุ ฮีเลียม มี มวลเทากับ 4 และมี ประจุ ไฟฟา +2
เขียนสัญลักษณจึงได 42 He มีพลังงาน 4 –10 MeV เนื่องจากรังสีแอลฟามี มวลมาก เมื่อเคลื่อน
ไปชนอนุภาคตัว กลางใดๆ จะทำให อนุภาคตัวกลางแตกตัว ได ดี แต ตัว รังสี แอลฟาจะสูญ เสีย
พลังงานไปมากจึงทำใหอำนาจในการทะลุทะลวงไปขางหนาต่ำ เคลื่อนได 3 – 5 เซนติเมตร ใน
อากาศ และถูกกั้นไดดวยแผนกระดาษ
12. ตอบขอ 4)
แนวคิด อนุภาคแอลฟามีมวลมาก เมื่อเคลื่อนไปชนอนุภาคตัวกลางใดๆ จะทำใหอนุภาค ตัวกลางแตก
ตัว ได ดี แต ตัว รังสี แอลฟาจะสูญ เสีย พลังงานไปมากจึง ทำให อำนาจในการทะลุ ทะลวงไปขาง
หนานอยที่สุด

..
4
.
www.educasy.com
13. ตอบขอ 4)
แนวคิด จากแผนภาพจะพบวารังสีแกมมาเทานั้นที่สามารถทะลุทะลวงผานแผน อะลูมิเนียมได

α
β
γ
กระดาษ อลูมิเนียม ตะกั่ว

14. ตอบขอ 4)
28 แนวคิด รังสีแกมมามีอำนาจในการทะลุทะลวงสูง สามารถทะลุตัวกลางในโจทยไดทุกขอ

15. ตอบขอ 2)
แนวคิด ขอ 1. ถูก เพราะรังสีแอลฟา (42 He) จะมีประจุ +2 จริง
ขอ 2. ผิด อนุภาคแอลฟามี มวลมาก เมื่อ เคลื่อนไปชนอนุภาคตัว กลางใดๆ จะทำให อนุภาค
ตัวกลางแตกตัว ได ดี แต ตัว รังสี แอลฟาจะสูญ เสีย พลังงานไปมากจึง ทำให อำนาจใน การทะลุ
ทะลวงไปขางหนาต่ำ
ขอ 3. ถูก รังสีบีตาประกอบไปดวยอิเล็กตรอนจึงมีประจุ −1 และมีมวลนอยมาก
ขอ 4. ถูก รังสีแกมมาเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาพลังงานสูง มีอำนาจทะลุทะลวงสูงสุดจริง

16. ตอบขอ 4)
แนวคิด รังสี แกมมาเปน คลื่นแมเหล็กไฟฟา ไมมี ประจุ เมื่อ เคลื่อนที่ ในสนามแม เหล็ก จะไม ถูก แรงของ
สนามแมเหล็กกระทำและไมเบี่ยงเบนการเคลื่อนที่ สวนอนุภาคแอลฟาและบีตา เปนอนุภาคที่
มีประจุไฟฟาจะถูกสนามแมเหล็กผลักและเกิดการเบี่ยงเบน

..
4
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET
17. ตอบขอ 1)
แนวคิด ประจุที่อยูตรงกลางรูปภาพเปนประจุลบ เมื่อ A วิ่งเขา C
ใกล ประจุ ลบนี้ จะถูก ผลัก ให เคลื่อนโคง ออกไป แสดงวา A มี
ประจุเปนลบเชนกัน ดังนั้น A จึงควรเปนอนุภาคบีตา
เมื่อ B เคลื่อนที่เขาใกลประจุลบตรงกลาง B จะถูกดูด
ใหเคลื่อนเขาใกลประจุลบนี้ แสดงวา B มีประจุเปนบวก B จึง
A
ควรเปนอนุภาคแอลฟา B
สวน C เมื่อ เคลื่อนที่ เขา ใกล ประจุ ลบ ตรง กลาง จะ
เคลื่อนที่ เปน เสน ตรงไม เบี่ยงเบน แสดงวา C ไมมี ประจุ ดัง
นั้น C จึงควรเปนรังสีแกมมา
29
18. ตอบขอ 2)
แนวคิด เมื่อดุลสมการจะไดดังนี้
4 .
86 Rn + 2 He
226
88 Ra → 222

จะเห็นวาอนุภาค X ในสมการนี้คือ 42 He ซึ่งก็คืออนุภาคแอลฟา

19. ตอบขอ 4)
แนวคิด เมื่อดุลสมการจะไดดังนี้
. 0
7 N + 1e
14
7 N +11 H → 15

จะเห็นวาอนุภาค X ในสมการนี้คือ 01 e ซึ่งเรียกวา โพซิตรอน

20. ตอบขอ 1)
แนวคิด เมื่อดุลสมการจะไดดังนี้
0 .
14
6 C → 14
7 N + −1
e
จะเห็นวารังสีที่ไดคือรังสีบีตานั่นเอง
21. ตอบขอ 3)
แนวคิด เมื่อดุลสมการจะไดดังนี้

→ 86 .X + 42 He + γ
226 222
88 Ra

จะเห็นวาอนุภาคที่เกิดใหมในสมการนี้คือ 222
86 X

..
4
.
www.educasy.com
22. ตอบขอ 3)
แนวคิด เมื่อดุลสมการจะไดดังนี้
→ 7 .X + 0−1 e
14 14
6 C

จะเห็นวาอนุภาคที่เกิดใหมคือ 147 X ซึ่งมีประจุ +7 ในขณะที่โปรตอน 1 ตัว มี ประจุเพียง +1


ดังนั้น 147 X จึงมีประจุเปน 7 เทาของโปรตอน

23. ตอบขอ 2)
แนวคิด เมื่อ โคบอลต-59 รับ นิวตรอนเขาไป 1 ตัว จะทำให มวลเพิ่ม ขึ้น 1 หนวย แต ยัง คง เปน ธาตุ
โคบอลตเหมือนเดิมเพราะมีจำนวนโปรตอนเทาเดิม นั่นคือสุดทายจะกลายเปน โคบอลต-60
30 24. ตอบขอ 2)
แนวคิด โจทยบอก ครึ่งชีวิต = 10 วัน , จำนวนอะตอมเริ่มตน = 24,000 อะตอม
เวลาที่ผานไป = 30 วัน , จำนวนอะตอมที่เหลือ = ?
เนื่องจาก เมื่อเวลาผานไปทุก 10 วัน ( ครึ่งชีวิต ) จะเหลือจำนวนอะตอมครึ่งหนึ่งของตอนกอน
หนานั้นเสมอ จึงไดวา
24,000 10 วัน 12,000 10 วัน 6,000 10 วัน 3,000
อะตอม อะตอม อะตอม อะตอม

จะเห็นวาเมื่อผานไปครบ 30 วัน จะเหลือจำนวนอะตอมอยู 3,000 อะตอม

25. ตอบ 44
แนวคิด โจทยบอก มวลเริ่มตน = 200 มิลลิกรัม , ครึ่งชีวิต = 22 นาที
มวลที่เหลือ = 50 มิลลิกรัม , เวลาที่ผานไป = ?
เนื่องจากเมื่อเวลาผานไปทุกๆ 22 นาที ( ครึ่งชีวิต ) จะเหลือมวลครึ่งหนึ่งของตอนกอนหนานั้น
เสมอ จึงไดวา

200 mg 22 นาที 100 mg 22 นาที 50 mg

นั่นคือเมื่อผานไปนาน 44 นาที จะเหลือมวลอยู 50 มิลลิกรัม

..
4
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET
26. ตอบขอ 4)
แนวคิด สมมุติให ปริมาณไอโอดีนเริ่มตน = 100%
เมื่อผานไปชวงเวลาหนึ่งไอโอดีนเหลืออยู = 12.5%
ครึ่งชีวิต = 25 นาที ใหหาเวลาที่ผานไป
เนื่องจากเมื่อ เวลาผานไปทุกๆ 25 นาที (ครึ่ง ชีวิต) จะเหลือ ไอโอดีน อยู ครึ่ง หนึ่ง ของตอนกอน
หนานั้นเสมอ จึงไดวา
100% 25 นาที 50% 25 นาที 25% 25 นาที 12.5%

จะเห็นวาเมื่อผานไป 75 นาที จะเหลือสารนี้อยู 12.5%


31
27. ตอบขอ 3)
แนวคิด สมมุติให ปริมาณไอโอดีนเริ่มตน = 100%
ครึ่งชีวิต = 30 นาที , เวลาที่ผานไป = 2 ชั่วโมง 30 นาที
ไอโอดีนเหลืออยู = ?
เนื่องจากเมื่อ เวลาผานไปทุกๆ 30 นาที (ครึ่ง ชีวิต) จะเหลือ ไอโอดีน อยู ครึ่ง หนึ่ง ของตอนกอน
หนานั้นเสมอ จึงไดวา
100% 30 น. 50% 30 น. 25% 30 น. 12.5% 30 น. 6.25% 30 น. 3.1%

จะเห็นวาเมื่อผานไป 2 ชั่วโมง 30 นาที จะเหลือไอโอดีนอยู 3.1%

28. ตอบขอ 1)
แนวคิด โจทยบอก มวลเริ่มตน = 400 กรัม , ครึ่งชีวิต = 25 นาที , มวลที่เหลือ = 50 กรัม ,
เวลาที่ผานไป = ?
เนื่องจากเมื่อเวลาผานไปทุกๆ 25 นาที (ครึ่งชีวิต) จะเหลือมวลครึ่งหนึ่งของตอนกอนหนานั้น
เสมอ จึงไดวา

400 กรัม 25 นาที 200 กรัม 25 นาที 100 กรัม 25 นาที 50 กรัม

นั่นคือตองใชเวลานาน 75 นาที หรือ 1 ชั่วโมง 15 นาที

เรียนที่ pec9.com มีประสิทธิภาพและอิสรภาพสูงสุด


⌾ ไม่ต้องซื้อคอร์ส ไม่ต้องจ่ายเงินก้อน ⌾ โหลดหนังสือประกอบการเรียนฟรี
⌾ เลือกเรียนได้เฉพาะจุดที่ต้องการ เข้าใจได้เร็ว ⌾ สบายๆ เรียนไป กินขนมไป
⌾ ใช้เวลาเรียนสั้น เหลือเวลาเล่นเกมส์ ⌾ เรียนเสร็จ นำไปพลิกแพลงต่อได้
..
4
.
www.educasy.com
29. ตอบขอ 4)
แนวคิด โจทยขอนี้ควรสมมุติใหปริมาณ C-14 เริ่มตน = 100%
จะไดวาเมื่อผานไปชวงเวลาหนึ่ง C-14 เหลืออยู = 12.5%
และโจทยบอก ครึ่งชีวิต = 5,730 ป
ใหหาอายุของซากเรือนี้ ซึ่งก็คือเวลาที่ผานไปนั่นเอง
เนื่องจากเมื่อ เวลาผานไปทุกๆ 5,730 ป (ครึ่ง ชีวิต) จะเหลือ C-14 อยู ครึ่ง หนึ่ง ของตอนกอน
หนานั้นเสมอ จึงไดวา
5,730 ปี 5,730 ปี 5,730 ปี
100 % 50 % 25 % 12.5 %

32 จะเห็นวาเมื่อผานไปครบ 17,190 ป จะเหลือสารนี้อยู 25%


นั่นคือซากเรือนี้มีอายุ 17,190 ปนั่นเอง

30. ตอบ 10
แนวคิด โจทยบอก มวลเริ่มตน = 24 กรัม , เวลาที่ผานไป = 30 วัน
มวลที่เหลือ = 3 กรัม , ครึ่งชีวิต = ?
สมมุติ ครึ่ง ชีวิต มี คา เทากับ T ดัง นั้น เมื่อ เวลาผานไปเทากับ T จะเหลือ มวล ครึ่ง หนึ่ง ของตอน
กอนหนานั้นเสมอ จึงไดวา

24 g T 12 g T 6g T 3g

จากแผนภาพจะไดวา เวลาที่ผานไปทั้งหมด = 3 T (แทนคาเวลาทั้งหมด = 30 วัน)


30 = 3 T
T = 10 วัน
นั่นคือครึ่งชีวิตมีคาเทากับ 10 วัน

31. ตอบขอ 2)
แนวคิด การทอดลูกเตา แลว คัด ลูกเตา บางลูก ทิ้ง ไป จำนวนลูกเตา ที่ ถูก คัด ทิ้ง จะเทียบได กับ จำนวน
นิวเคลียสที่สลายไปในการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี

32. ตอบขอ 3)
แนวคิด เราใช ไอโอดีน-131 ในการตรวจการทํา งานของตอมไทรอยด เพราะไอโอดีน-131 มี ราคาถูก
วา ไอโซโทปอื่น และเราสามารถเห็น ไอโอดีน-131 ได ดวยเทคนิค การถายภาพทางเวชศาสตร
นิวเคลียร

..
4
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET
33. ตอบขอ 4)
แนวคิด -
34. ตอบขอ 4)
แนวคิด รังสีที่ใชอาบผลไมคือรังสีแกมมา ทั้งนี้เพื่อกำจัดแมลงที่ติดไปผลไมนั้น
35. ตอบขอ 2)
แนวคิด ธาตุ C-14 ในวัตถุ โบราณจะสลายตัว กลายเปน C-12 หากเราทราบอัตราสวนของ C-12 และ
C-14 ที่เหลืออยู และครึ่งชีวิตของ C-14 เราจะสามารถคำนวณหาอายุของวัตถุ โบราณนั้นๆ ได
36. ตอบขอ 4)
แนวคิด ปริมาณรังสีในระดับปลอดภัยที่ประชาชนทั่วไปไดรับจากแหลงกำเนิดรังสีทุกชนิด รวมกันตองมี
คาไมเกิน 5 มิลลิซีเวิรต 33
37. ตอบขอ 2)
แนวคิด ปริมาณรังสีที่ผูทำงานเกี่ยวกับรังสีไดรับตอปตองไมเกิน 20 มิลลิซีเวิรด หรือ 2 เรม
38. ตอบขอ 3)
แนวคิด ปริมาณรังสีที่ไดรับในระดับที่ไมอันตรายในหนึ่งปคือ 5 มิลลิซีเวิรด
โจทยบอกการเดินทางโดยเครื่องบิน
จะไดรับรังสี 0.005 มิลลิซีเวิรด ในเวลา 1 ชั่วโมง
1x5
ดังนั้นรังสี 5 มิลลิซีเวิรด ใชเวลา ชั่วโมง
0.05
= 1, 000 ชั่วโมง
1, 000
= วัน
24
≈ 42 วัน
นั่นคือในหนึ่งปควรเดินทางโดยเครื่องบินรวมเวลาแลวไมเกินกี่วันโดยประมาณ
39. ตอบขอ 4)
แนวคิด -
40. ตอบขอ 2)
แนวคิด การใชคอนกรีตเทปดกากกัมมันตรังสี จะเปนการปองกันการรั่วไหล และปองกันการแผรังสีไดดี
41. ตอบขอ 4)
แนวคิด แรงระหวางอนุภาคซึ่งอยูภายในนิวเคลียสประกอบดวย
1. แรงทางไฟฟา อันเปนแรงผลักระหวางประจุบวกของโปรตอนแตละตัว
2. แรงดึงดูดระหวางมวล
3. แรงนิวเคลียรซึ่งจะคอยยึดเหนี่ยวอนุภาคแตตัวในนิวเคลียสไวดวยกัน

..
4
.
www.educasy.com
42. ตอบขอ 2)
แนวคิด การที่ โปรตอนและนิวตรอนสามารถยึด กัน อยู ในนิวเคลียสได
n +
เปนเพราะมีแรงคอยยึด เหนี่ยวโปรตอนและนิวตรอนเหลานั้น + n n
เอาไวดวยกัน แรงยึดเหนี่ยวนี้เรียกวาแรงนิวเคลียร n + + +
ลักษณะของแรงนิวเคลียร คือ n n + +
1. เปนแรงดึงดูดระยะสั้น + + +
+
2. ไมเกี่ยวกับชนิดของประจุ
3. มีคามากกวาแรงผลักระหวางประจุไฟฟา
43. ตอบขอ 1)
34 แนวคิด ขอ 1. ผิด ปฏิกิริยานิวเคลียรที่เกิดในดวงอาทิตย คือปฏิกิริยาฟวชัน ไมใชฟชชัน
ขอ 2. ถูก ขอ 3. ถูก และขอ 4. ถูก ฟชชัน คือปฏิกิริยานิวเคลียรที่เกิดจากนิวเคลียส ของ
ธาตุหนักเกิดการแตกตัวออกเปน 2 สวนที่มีขนาดใกลเคียงกันจะทำใหไดนิวเคลียสใหม ตัวอยาง
ปฏิกิริยาที่เกิดจากการยิงนิวตรอนเขาไปใน นิวเคลียสของยูเรเนียม ดังสมการ
235
92 U + 10 n → 141 92
56 Ba + 36 Kr + 3 10 n + พลังงาน
จะเห็น วา ผลของปฏิกิริยานี้ จะได นิวเคลียสใหม 2 ตัว ตัว หนึ่ง มี เลขอะตอมอยู ระหวาง
30 ถึง 63 และอีกตัวอยูระหวาง 72 ถึง 158 และปฏิกิริยานี้ยังใหพลังงานออกมาอยาง มหาศาล
เรียกวาพลังงานนิวเคลียร และให นิวตรอนอีก 3 ตัว ซึ่ง ถา นิวตรอนเหลา นี้ มี พลังงานสูง พอ
ก็ จะวิ่ง เขา ชนนิวเคลียสของยูเรเนียมอะตอมตอๆ ไป กอ ให เกิด ปฏิกิริยาอยาง ตอ เนื่องที่ เรียก
วาปฏิกิริยาลูกโซ เฟร มี เปน นัก วิทยาศาสตร คนแรกที่ สามารถควบคุม อัตรา การเกิด ปฏิกิริยา
ลูกโซใหสม่ำเสมอไดโดยใชเครื่องมือที่เรียกวาเครื่องปฏิกรณนิวเคลียร ซึ่ง ควบคุมอัตราการเกิด
ฟงชันโดยการควบคุมจำนวนนิวตรอนที่เกิดขึ้น
44. ตอบขอ 2)
แนวคิด ปฏิกิริยานิวเคลียรที่ใชในโรงไฟฟานิวเคลียรปจจุบันคือปฏิกิริยาฟชชัน
45. ตอบขอ 4)
แนวคิด ในโรงไฟฟานิวเคลียรเตาปฏิกรณจะใชพลังงานความรอนในการตมน้ำใหเดือดกลาย เปนไอ จาก
นั้นใชไอน้ำไปหมุนกังหันไอน้ำซึ่งจะไปฉุดหมุนขดลวดตัดสนามแมเหล็ก เพื่อใหเกิดกระแสไฟฟา
จะเห็นไดวากระบวนการนี้แกสไฮโดรเจนไมไดเกี่ยวของโดยตรง
46. ตอบขอ 4)
แนวคิด โรงไฟฟา พลังงานนิวเคลียร ตองใช น้ำ ระบายความรอนในปริมาณมาก จึง ตองอยู ใกล แหลง น้ำ
ขนาดใหญเชนทะเล เพื่อใหมีน้ำเพียงพอตอการหลอเย็น (ระบายความรอน) ตลอดเวลา

..
4
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET
47. ตอบขอ 1)
แนวคิด ฟว ชัน คือ ปฏิกิริยาที่ เกิด จากการรวมตัว กัน ของธาตุ เบา ทำให เกิด ธาตุ ซึ่ง หนัก กวา และมี การ
ปลดปลอยพลังงานนิวเคลียรออกมาดวย เชน
4 11 H → 42 He + 2 01 e + 26 MeV

48. ตอบขอ 4)
แนวคิด ปฏิกิริยาฟชชันจะเหลือกากรังสี มากกวาปฏิกิริยาฟวชัน

35

..
4
.
www.educasy.com

. เฉลยแบบฝกหัด
1. ตอบขอ 2)
แนวคิด การเรียกชื่อ ธาตุ สามารถทำได โดยเรียกชื่อ ของธาตุ แลว ตอ ดวยเลขมวลของธาตุ นั้น เชน 126 C
เรียกวา คารบอน-12
2. ตอบขอ 2)
แนวคิด จำนวนนิวตรอนของ 227 89 Ac = 227 – 89 = 138
จำนวนนิวตรอนของ 218 86 Rn = 218 – 86 = 132
36 จำนวนนิวตรอนของ 226 88 Ra = 226 – 88 = 138
จำนวนนิวตรอนของ 232 90 Th = 232 – 90 = 142

จะเห็นวาจำนวนนิวตรอนของ 227 226


89 Ac และ 88 Ra มีจำนวนเทากัน

3. ตอบขอ 3)
แนวคิด ไอโซโทป คือธาตุชนิดเดียวกัน แตมีมวลอะตอมไมเทากัน เชน 126 C กับ 146 C เปนตน
เนื่องจากเปนธาตุชนิดเดียวกัน จึงมีเลขอะตอมหรือจำนวนโปรตอนเทากัน แตจำนวนนิวตรอน
จะมีไมเทากันจึงทำใหเลขมวลตางกัน ดังเชนในตัวอยางนี้
12
6 C มีจำนวนนิวตรอน = 12 – 6 = 6
14
สวน 6 C มีจำนวนนิวตรอน = 14 – 6 = 8

4. ตอบขอ 3)
แนวคิด อัตราการสลายตัว ของธาตุ กัมมันตรังสี จะขึ้น กับ จำนวนนิวเคลียสเบื้องตน ไม ขึ้น กับ ความดัน
และอุณหภูมิ
5. ตอบขอ 1)
แนวคิด ขอ 1. ถูก เพราะรังสีแอลฟา ( 42 He ) มีจำนวนนิวตรอน = 4 – 2 = 2
อะตอมไฮโดรเจน ( 11 H ) มีจำนวนนิวตรอน = 1 – 1 = 0
จะเห็นวารังสีแอลฟามีจำนวนนิวตรอนสูงกวาอะตอมไฮโดรเจน
ขอ 2. ผิด เพราะรังสีแอลฟามีอำนาจทะลุทะลวงต่ำกวารังสีแกมมา
ขอ 3. ผิด เพราะรังสีแอลฟามีประจุเปนบวก เมื่อเคลื่อนที่ตัดสนามแมเหล็กยอมถูก แรงของ
สนามแมเหล็กกระทำ ทำใหเกิดการเบี่ยงเบนแนวการเคลื่อนที่ได
ขอ 4. ผิด เพราะรังสีแอลฟามีประจุเปนบวก เมื่ออยูในสนามไฟฟาจะเคลื่อนที่ไป ทางเดียวกับ
ทิศของสนามไฟฟา

เรียนที่ pec9.com มีประสิทธิภาพและอิสรภาพสูงสุด


⌾ ไม่ต้องซื้อคอร์ส ไม่ต้องจ่ายเงินก้อน ⌾ โหลดหนังสือประกอบการเรียนฟรี
⌾ เลือกเรียนได้เฉพาะจุดที่ต้องการ เข้าใจได้เร็ว ⌾ สบายๆ เรียนไป กินขนมไป
⌾ ใช้เวลาเรียนสั้น เหลือเวลาเล่นเกมส์ ⌾ เรียนเสร็จ นำไปพลิกแพลงต่อได้
..
4
. 3 วันพรอมสอบ ฟสิกส O-NET
6. ตอบขอ 3)
แนวคิด รังสี แอลฟาเปน นิวเคลียสของอะตอมของธาตุ ฮีเลียม มี มวลเทากับ 4 และมี ประจุ ไฟฟา +2
เขียนสัญลักษณจึงได 42 He มีพลังงาน 4 –10 MeV เนื่องจากรังสีแอลฟามี มวลมาก เมื่อเคลื่อน
ไปชนอนุภาคตัวกลางใดๆ จะทำใหอนุภาคตัวกลางแตกตัวไดดีกวารังสี บีตาและแกมมา แตตัว
รังสีแอลฟาจะสูญเสียพลังงานไปมากจึงทำใหอำนาจในการทะลุ ทะลวงไปขางหนาต่ำ

7. ตอบขอ 2)
แนวคิด ขอ ก. ถูก ธาตุกัมมันตรังสีคือธาตุที่สลายตัวไดเองและมีการคายรังสีออกมา
ขอ ข. ผิด อะตอมของธาตุกัมมันตรังสีไมสามารถทะลุสิ่งกีดขวางได
ขอ ค. ถูก เมื่อธาตุกัมมันตรังสีเกิดการสลายตัวไป ยอมทำใหมวลที่เหลืออยูมีปริมาณลดลง
37
8. ตอบขอ 2)
แนวคิด เมื่อดุลสมการจะไดดังนี้
222 .
226
88 Ra → 86 Rn + 42 He
จะเห็นวานิวเคลียสที่เกิดใหมจะมีเลขอะตอม 86 และมีเลขมวล 222
9. ตอบขอ 2)
แนวคิด เนื่องจากรังสีแอลฟาจะประกอบไปดวยนิวเคลียสของฮีเลียม (42 He) ซึ่งจะมีโปรตอน 2 ตัว และ
นิวตรอนอีก 2 ตัว ดังนั้นการคายรังสีแอลฟานิวเคลียสที่เกิดใหมจึงมี โปรตอนลดลง 2 นิวตรอน
ลดลง 2 นั่นเอง

10. ตอบขอ 4)
แนวคิด เนื่องจากรังสีแกมมาเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาไมมีตัวตน ไมมีมวล ไมมีประจุ ดังนั้น การคายรังสี
แกมมาเลขอะตอมและเลขมวลของนิวเคลียสที่เกิดใหมจึงไมมีการเปลี่ยนแปลง

11. ตอบขอ 4)
แนวคิด สมมุติให ปริมาณเทคนีเซียมเริ่มตน = 100%
เมื่อผานไปชวงเวลาหนึ่งเทคนีเซียมเหลืออยู = 12.5%
ครึ่งชีวิต = 6 ชั่วโมง ใหหาเวลาที่ผานไป
เนื่องจากเมื่อเวลาผานไปทุกๆ 6 ชั่วโมง (ครึ่งชีวิต) จะเหลือเทคนีเซียมอยู ครึ่งหนึ่งของตอนกอน
หนานั้นเสมอ จึงไดวา
100% 6 ชม. 50% 6 ชม. 25% 6 ชม. 12.5%

จะเห็นวาเมื่อผานไป 18 ชั่วโมง จะเหลือเทคนีเซียมอยู 12.5%

..
4
.
www.educasy.com
12. ตอบขอ 2)
แนวคิด สมมุติให ปริมาณ X เริ่มตน = 100%
เมื่อผานไปชวงเวลาหนึ่ง X เหลืออยู = 12.5% ครึ่งชีวิต = 5,000 ป ใหหาอายุของซากโบราณนี้
ซึ่งก็คือเวลาที่ผานไปนั่นเอง เนื่องจากเมื่อเวลาผานไปทุกๆ 5,000 ป (ครึ่งชีวิต) จะเหลือ X อยู
ครึ่งหนึ่งของ ตอนกอนหนานั้นเสมอ จึงไดวา
100% 5000 ปี 50% 5000 ปี 25% 5000 ปี 12.5%

จะเห็นวาเมื่อผานไปครบ 15,000 ป จะเหลือสารนี้อยู 12.5%


นั่นคือซากโบราณนี้มีอายุ 15,000 ป
38
13. ตอบขอ 3)
แนวคิด จากโจทยจะไดวา ปริมาณเริ่มตน = 100% , เวลาที่ผานไป = 6 วัน
ปริมาณที่เหลืออยู = 12.5% สมมุติให ครึ่งชีวิต = T วัน เนื่องจากเมื่อเวลาผานไปทุกๆ T วัน
(ครึ่งชีวิต) จะเหลือปริมาณอยูครึ่งหนึ่งของตอนกอนหนานั้นเสมอ จึงไดวา

100% T วัน 50% T วัน 25% T วัน 12.5%

จะเห็นวา เวลาที่ผานไป = 3 T ( แทนคา เวลาที่ผานไป = 6 วัน )


จะได 6 =3T
T = 2 วัน
นั่นคือธาตุนี้มีครึ่งชีวิตเทากับ 2 วัน

14. ตอบขอ 1)
แนวคิด โจทยขอนี้ควรสมมุติใหปริมาณโพแทสเซียม เริ่มตน = 4 สวน
จะไดวาเมื่อผานไปชวงเวลาหนึ่งโพแทสเซียม เหลืออยู = 1 สวน
และโจทยบอก ครึ่งชีวิต = 1.3 x 109 ป = 1,300 x 106 ป = 1,300 ลานป ( 106 คือหนึ่งลาน)
ใหหาอายุของหินนี้ ซึ่งก็คือเวลาที่ผานไปนั่นเอง
เนื่องจากเมื่อ เวลาผานไปทุกๆ 1,300 ลานป (ครึ่ง ชีวิต) จะเหลือ โพแทสเซียมอยู ครึ่ง หนึ่ง ของ
ตอนกอนหนานั้นเสมอ จึงไดวา

4 ส่วน 1300 ล้านปี 2 ส่วน 1300 ล้านปี 1 ส่วน

จะเห็นวาเมื่อผานไปครบ 2,600 ลานป จะเหลือโพแทสเซียมอยู 1 สวน

..

You might also like