You are on page 1of 38

5

หน่วยกำรเรียนรู้ที่

วัสดุในชีวิตประจำวัน

ตัวชี้วัด
• ระบุสมบัติทางกายภาพและการใช้ประโยชน์วัสดุประเภทพอลิเมอร์ เซรามิก และวัสดุผสม โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ และสารสนเทศ
• ตระหนักถึงคุณค่าของการใช้วัสดุประเภทพอลิเมอร์ เซรามิก และวัสดุผสม โดยเสนอแนะแนวทางการใช้วัสดุอย่างประหยัดและคุ้มค่า
ผลิตภัณฑ์รอบตัว เช่น พลำสติก แก้วน้ำ ผลิตมำจำกวัสดุใด
พอลิเมอร์ (Polymer) เป็นสารที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ มีมวลโมเลกุลตังแต่
พอลิเมอร์ 10,000 ขึนไป ซึ่งเกิดจากมอนอเมอร์มารวมตัวกันด้วยการสร้างพันธะโคเวเลนต์
พอลิเมอร์

พอลิเมอร์ที่ประกอบด้วย
มอนอเมอร์เพียง 1 ชนิด
มาต่อกันเป็นสายยาว มอนอเมอร์

พอลิเมอร์

พอลิเมอร์ที่ประกอบด้วย
มอนอเมอร์ที่มีมากกว่า 1 ชนิด
มาเรียงซ้าต่อกัน มอนอเมอร์
พิจำรณำตำมลักษณะกำรเกิด >> แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท
ประเภทของพอลิเมอร์ พิจำรณำตำมชนิดของมอนอเมอร์ >> แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท
พอลิเมอร์ธรรมชำติ พอลิเมอร์สังเครำะห์
เป็นพอลิเมอร์ที่เกิดขึนเองตามธรรมชาติ เป็นพอลิเมอร์ที่เกิดขึนจากการสังเคราะห์
เช่น โปรตีน ไหม เซลลูโลส แป้ง ยางธรรมชาติ ด้วยการน้ามอนอเมอร์มาผ่านกระบวนการ
สังเคราะห์ เรียกว่า ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน
โฮโมพอลิเมอร์หรือพอลิเมอร์เอกพันธุ์
เป็นพอลิเมอร์ที่ประกอบด้วยมอนอเมอร์
ชนิดเดียวกัน เช่น แป้ง เซลลูโลส ไกลโคเจน

โคพอลิเมอร์หรือพอลิเมอร์ร่วม
เป็นพอลิเมอร์ที่ประกอบด้วยมอนอเมอร์
ต่างชนิดกัน เช่น โปรตีน ยางเอสบีอาร์
สมบัติทางกายภาพของพอลิเมอร์ขึนอยู่กับโครงสร้าง
สมบัติทำงกำยภำพของพอลิเมอร์ ของพอลิเมอร์ ซึ่งแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท ดังนี
พอลิเมอร์แบบเส้น พอลิเมอร์แบบกิ่ง พอลิเมอร์แบบร่ำงแห

โครงสร้ำงเป็นกิ่งแยกออกจำกโซ่หลัก โครงสร้ำงเป็นสำยยำวและแบบกิ่งเชื่อมกัน
โครงสร้ำงเป็นสำยยำวมีควำมหนำแน่น มีควำมหนำแน่นและจุดหลอมเหลวต่ำ มีจุดหลอมเหลวสูงมีควำมแข็ง
และจุดหลอมเหลวสูงมีลักษณะแข็งและเหนียว ยืดหยุ่นได้ แต่มีควำมเหนียวต่ำ แต่เปรำะและหักง่ำยเมื่อขึ้นรูปแล้ว
ตัวอย่ำงเช่น เมื่อโดนควำมร้อนจะอ่อนตัว เมื่อเย็นจะแข็งตัว จะไม่สำมำรถหลอมหรือเปลี่ยนแปลงรูปร่ำงได้
พอลิเมอร์ไวนิลคลอไรด์ (PVC),
ตัวอย่ำงเช่น ตัวอย่ำงเช่น
พอลิโพรพิลีน (PP), พอลิสไตรีน (PS),
พอลิเอทิลีนชนิดความหนาแน่นต่้า เมลามีน
พอลิเอทิลีนชนิดความหนาแน่นสูง
(LDPE) เบกาไลต์
(HDPE)
ประโยชน์ของวัสดุประเภทพอลิเมอร์ พลำสติก (Plastic)

พอลิเมอร์แต่ละชนิดมีโครงสร้างที่แตกต่างกัน ท้าให้มีสมบัติที่ต่างกันด้วย การน้าพอลิเมอร์ไปใช้ประโยชน์จึงมีได้หลายรูปแบบ ดังนี

เทอร์มอพลำสติก (thermoplastic) พลำสติกเทอร์มอเซต (thermosetting plastic)


• มีโครงสร้างแบบร่างแห
• มีโครงสร้างแบบโซ่ตรงและโซ่กิ่ง
• เมือ่ ขึนรูปด้วยความร้อนหรือแรงดันแล้ว
• เมื่อได้รับความร้อนจะอ่อนตัว และเมื่อเย็นลงจะแข็งตัว
ไม่สามารถน้ากลับมาขึนรูปใหม่ได้อีก
• น้าไปหลอมเหลว เพื่อน้ากลับมาใช้ใหม่ได้
• ทนความร้อนและความดันได้ดี
• ตัวอย่างเช่น เทฟลอน ไนลอน พีวีซี พอลิเอทิลีน
• หากมีอุณหภูมิสูงมาก จะแตกและไหม้เป็นเถ้า
พอลิโพรพิลีน
• ตัวอย่างเช่น เมลามีน ซิลิโคน พอลิยูรีเทน
กำรปรับใช้สมบัติของพลำสติกให้เหมำะสมต่อกำรนำมำใช้งำน
พอลิเอทิลีน
• มอนอเมอร์ คือ เอทิลีน
• มีลักษณะ เหนียว ใส ทนต่อสำรเคมี น้ำผ่ำนไม่ได้ ไม่ทนควำมร้อน
• นำไปใช้ทำถุงใส่ของเย็น ถุงขยะ ของเล่นเด็ก ดอกไม้พลำสติก

พอลิสไตรีน
• มอนอเมอร์ คือ สไตรีน
• มีลักษณะ แข็ง แต่เปรำะ ไม่ทนต่อตัวทำละลำยอินทรีย์ ทนต่อกรด-เบส
ไม่ไฟฟ้ำ ไม่ทนควำมร้อน
• นำไปใช้ทำชิ้นส่วนของตู้เย็น ตลับเทป กล่องใส โฟมบรรจุอำหำร วัสดุลอยน้ำ
กำรปรับใช้สมบัติของพลำสติกให้เหมำะสมต่อกำรนำมำใช้งำน
พอลิไวนิลคลอไรด์
• มอนอเมอร์ คือ ไวนิลคลอไรด์
• มีลักษณะ เนือ้ แข็ง คงรูป ทนต่อควำมชื้น ทนต่อสำรเคมี
• นำไปใช้ทำท่อพีวีซี กระเบื้องปูพื้น ฉนวนหุ้มสำยไฟ ภำชนะบรรจุสำรเคมี

พอลิเตตระฟลูออโรเอทิลีน (เทฟลอน)
• มอนอเมอร์ คือ เตตระฟลูออโรเอทิลีน
• มีลักษณะ เหนียว ทนสำรเคมี ทนควำมร้อน ผิวลื่น ทนแรงกระแทก
• นำไปใช้เคลือบภำชนะด้ำนในไม่ให้อำหำรติดภำชนะ ฉนวนไฟฟ้ำ ปะเก็น
แหวนลูกสูบ ลูกปืนในเครื่องยนต์
กำรปรับใช้สมบัติของพลำสติกให้เหมำะสมต่อกำรนำมำใช้งำน
พอลิเอทิลนี เทเรฟทำเลต
• มอนอเมอร์ คือ ไดเมทิลเทเรฟทำเลตกับเอทิลีนไกลคอล
• มีลักษณะ แข็ง ง่ำยต่อกำรย้อมสี ทนควำมชื้น เหนียว ทนต่อกำรขัดถู
• นำไปใช้ทำเส้นใย แห อวน ขวดน้ำอัดลม ขวดน้ำดื่มชนิดแข็งและใส

พอลิเมลำมีนฟอร์มำลดีไฮด์ (เมลำมีน)

• มอนอเมอร์ คือ เมลำมีนกับฟอร์มำลดีไฮด์


• มีลักษณะ ทนควำมร้อน ทนน้ำ ทนสำรเคมี
• นำไปใช้ทำเครือ่ งใช้ในครัว ช้อน ส้อม ตะเกียบ จำน ชำม
ประโยชน์ของวัสดุประเภทพอลิเมอร์ ยำง (rubber) แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท

ยำงธรรมชำติ (natural rubber)

เป็นพอลิเมอร์ที่ประกอบด้วยธาตุคาร์บอนและไฮโดรเจน เรียกว่า พอลิไอโซพรีน (polyisoprene)


มีมอนอเมอร์เป็นไอโซพรีน (isoprene) น้ายางสดจะมีลักษณะข้น สีขาวขุ่นคล้ายน้านม
เมื่อแยกเนือยางออกมาจากน้ายางจะเรียกว่า ยางดิบ

ถุงมือแพทย์ ถุงยำงอนำมัย
ประโยชน์ของวัสดุประเภทพอลิเมอร์ ยำง (rubber) แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท

ยำงสังเครำะห์ (synthetic rubber)

เป็นพอลิเมอร์ที่สังเคราะห์ขึนจากมอนอเมอร์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม
ยางสังเคราะห์มีความทนทานต่อการขัดถูและการสึกกร่อน
มีความยืดหยุ่นแม้มีอุณหภูมิต่้า ทนต่อน้ามันและตัวท้าละลายอินทรีย์

พอลิสไตรีนบิวทำไดอีน
พอลิบิวทำไดอีนหรือยำงบีอำร์
หรือยำงเอสบีอำร์ นำมำใช้ทำยำงรถยนต์
นำมำใช้ทำยำงรถยนต์ ยำงล้อเครื่องบิน
พื้นรองเท้ำ สำยพำน
ประโยชน์ของวัสดุประเภทพอลิเมอร์ เส้นใย (fibre)

เป็นพอลิเมอร์ที่มีโครงสร้างโมเลกุลมีขนาดยาว จึงเหมาะส้าหรับการน้ามารีดและปั่นเป็นเส้นด้าย
เส้นใยธรรมชำติ >>แบ่งได้เป็น 2 ชนิด เส้นใยกึ่งสังเครำะห์>>แบ่งได้เป็น 2 ชนิด เส้นใยสังเครำะห์ >>แบ่งได้เป็น 2 ชนิด
1. เส้นใยจำกพืช คือ เส้นใยเซลลูโลส ได้จาก 1. เซลลูโลสแอซีเตต เกิดจากปฏิกิริยาระหว่าง 1. ไนลอน หรือพอลิเอไมด์ หรือ ไนลอน-6,6
ส่วนต่าง ๆ ของพืช เช่น ฝ้าย นุ่น ลินิน ป่าน ปอ เซลลูโลสกับกรดแอซีติกเข้มข้น โดยมีกรดแอซีติก เป็นพอลิเมอร์ระหว่างเอมีนกับกรดคาร์บอกซิลิก
โดยเส้นใยที่น้ามาใช้มากที่สุด คือ ฝ้าย เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา มีสมบัติคล้ายเซลลูโลส 2. ดำครอน หรือพอลิเอสเทอร์
2. เส้นใยจำกสัตว์ คือ เส้นใยโปรตีน ได้จากขนสัตว์ 2. เรยอน มีสมบัติคล้ายขนสัตว์ ไหม ลินิน หรือฝ้าย เป็นพอลิเมอร์ระหว่างเอทิลีนไกลคอลกับไดเมทิล-
เช่น ขนแกะ ขนแพะ รังไหม เทเรฟทาเลต

ข้อดี ดูดซับน้าได้ดี ระบายอากาศได้ดี ข้อดี น้าหนักเบา ไม่ดูดซับความร้อน ข้อดี น้าหนักเบา ทนต่อจุลินทรีย์ ทนต่อเชือรา
ดูดซับเหงื่อได้ดี และแบคทีเรีย ไม่ยับง่าย ไม่ดูดน้า ทนต่อ
ข้อเสีย เมื่อถูกความชืนจะขึนราได้ง่าย สารเคมี ซักง่าย และแห้งเร็ว
เมื่อได้รับความร้อนจะหดตัว
เซรำมิก

ผลิตภัณฑ์รอบตัวเรำใดบ้ำง เป็นเซรำมิก

เซรามิก คือ ผลิตภัณฑ์ที่ท้าจากวัตถุดิบใน


ธรรมชาติ เช่น ดิน หิน ทราย แร่ธาตุ
น้ามาผสมกันแล้วน้าไปเผาเพื่อเปลี่ยนเนือวัตถุ
ให้แข็งแรง และคงรูป
ประเภทของเซรำมิก เซรำมิกดั้งเดิมกับสมัยใหม่แตกต่ำงกันอย่ำงไร

เซรำมิกดั้งเดิม (traditional ceramics) เซรำมิกสมัยใหม่ (advance ceramics)


ตัวอย่ำงเช่น ตัวอย่ำงเช่น
• เครื่องปั้นดินเผา • ผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์
• เครื่องแก้ว • ผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
• ปูนซีเมนต์ • ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับงานเทคนิคขันสูง
• โลหะเคลือบ
สมบัติทำงกำยภำพของเซรำมิก ขึ้นอยู่กับวัตถุดิบที่นำมำใช้
สมบัติทำงกำยภำพของเซรำมิก โดยวัตถุดิบที่ใช้ในอุตสำหกรรมเซรำมิกแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท
คือ วัตถุดิบหลักและวัตถุดิบเสริม
เฟลด์สปำร์ หรือแร่ฟันม้ำ ควอตซ์ หรือแร่เขี้ยวหนุมำน มี
เป็นสารประกอบในกลุ่มซิลิเกต ใช้ผสม องค์ประกอบหลัก คือ ซิลิกา ส่วนใหญ่
กับเนือดิน ท้าให้เกิดการหลอมเหลวที่ มีลักษณะใส ไม่มีสี ช่วยให้ผลิตภัณฑ์เซรามิก
อุณหภูมิต่้า เกิดการเปลี่ยนแปลงเป็น เกิดความแข็งแรง ไม่โค้งงอ และท้าให้
เนือแก้ว จึงท้าให้เซรามิกมีความโปร่งใส ผลิตภัณฑ์ก่อนเผาและหลังเผาหดตัวน้อยลง

ดินเหนียว ดินขำว
มีองค์ประกอบทางเคมีที่ส้าคัญ คือ เป็นวัตถุดิบหลักในการผลิตเซรามิก
สารประกอบออกไซด์ของซิลิคอนและ โดยดินขาวบริสุทธิ์ คือ แร่เคโอลิไนต์
อะลูมิเนียม คล้ายกับที่พบในดินขาว แต่ (kaolinite; Al2O3•2SiO2•2H2O)
ดินเหนียวมีสิ่งเจือปนอื่น ๆ ในปริมาณมากกว่า
วัตถุดิบเสริม
แร่ดิกไคต์
• มีองค์ประกอบเหมือนดิน แต่มีโครงสร้างผลึกแตกต่างกัน
• มีปริมาณอะลูมินาที่เป็นองค์ประกอบแตกต่างกัน ท้าให้ผลิตภัณฑ์มีสมบัติแตกต่างกันไป

แร่โดโลไมต์
• มีองค์ประกอบหลัก คือ แคลเซียมแมกนีเซียมคาร์บอเนต
• ใช้ผสมกับเนือดินเพื่อลดจุดหลอมเหลวของวัตถุดิบ

สำรประกอบออกไซด์
• อะลูมิเนียมออกไซด์หรืออะลูมินา (Al2O3) ใช้ผสมท้าผลิตภัณฑ์ที่ทนไฟ
• ซิลิคอนไดออกไซด์ (SiO2 ) และ โบรอนไตรออกไซด์ (B2O3) ใช้ผสมท้าผลิตภัณฑ์ที่เป็นเนือแก้ว
• สแตนนิกออกไซด์ (SnO2) และสังกะสีออกไซด์ (ZnO) ใช้เคลือบเพื่อท้าให้ผลิตภัณฑ์ทึบแสง
กำรขึ้นรูปผลิตภัณฑ์เซรำมิก กำรขึ้นรูปผลิตภัณฑ์เซรำมิก แบ่งออกเป็น 2 วิธี

กำรเทแบบ
ตัดแต่งผลิตภัณฑ์
เทน้ำดิน
ลงในแบบ
เป็นการขึนรูปโดยน้าดินมาผสมกับน้า แล้วเทลงในแบบที่มีรูปร่างต่าง ๆ แบบที่ประกอบแล้ว
ผลิตภัณฑ์หลังแกะ
ออกจำกแบบ

ตามที่ต้องการ การขึนรูปวิธีนีเหมาะส้าหรับการผลิตแจกัน ขวด และ


เครื่องสุขภัณฑ์ เทน้ำดินที่เหลือออกจำกแบบ

กำรใช้แบบหมุน

เป็นการขึนรูปโดยการวางดินบนแป้น แล้วหมุนแป้นและใช้มือปั้นดิน
ให้ได้รูปทรงตามที่ตอ้ งการ นิยมใช้ในการขึนรูปผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะ
เป็นทรงกลม หรือทรงกระบอก เช่น ไห โอ่ง กระถาง แจกัน
กำรเผำและเคลือบผลิตภัณฑ์ มี 2 ขั้นตอน

ขั้นตอนที่ 1 กำรเผำดิบ
1 เพิ่มอุณหภูมิของเตาเผาให้สูงขึนอย่างช้า ๆ และสม่้าเสมอ โดยใช้เวลาที่เหมาะสม

2 ท้าให้ผลิตภัณฑ์คงรูป ไม่แตกช้ารุด

3 ผลิตภัณฑ์เซรามิกบางชนิดเมื่อผ่านการเผาดิบแล้ว สามารถน้าไปใช้งานได้โดยไม่ต้องเคลือบผิว เช่น อิฐ


กระถางต้นไม้ ตุ่มน้า
ขั้นตอนที่ 2 กำรเผำเคลือบ
1 น้าผลิตภัณฑ์เซรามิกมาเคลือบผิวด้วยน้ำเคลือบ ซึ่งเป็นสารผสมระหว่างซิลเิ กตกับสารช่วยหลอมเหลว
และสารเพิ่มคุณภาพอื่น ๆ แล้วจึงน้าไปให้ความร้อน เพื่อให้น้าเคลือบหลอมละลายรวมเป็นเนือเดียวกับเนือดิน
2 ท้าให้ผลิตภัณฑ์เกิดความสวยงาม มีผิวมัน แวววาว คงทนต่อการขีดข่วน และมีสมบัติตามที่ต้องการ การเผาเคลือบ
ประโยชน์ของวัสดุประเภทเซรำมิก ผลิตภัณฑ์แก้ว

แก้วถูกนำมำใช้ประโยชน์หลำยด้ำน เช่น นำมำผลิต


เป็นภำชนะ เครื่องใช้ เครื่องประดับ รวมทั้งเป็น
ส่วนประกอบของอำคำร เนื่องจำกแก้วมีส่วนประกอบ
ของสำรต่ำง ๆ ที่ทำให้แก้วมีสมบัติ ดังนี้ คือ โปร่งใส
ทนต่อกรด-เบส ไอน้ำและแก๊สซึมผ่ำนได้ยำก แข็งแรง
และทนต่อแรงดัน
ประโยชน์ของวัสดุประเภทเซรำมิก
กระบวนกำรผลิตแก้ว
เติมซิลิกา หินปูน โซดาแอช แร่โดโลไมต์
เศษแก้วเข้าด้วยกัน แล้วให้ความร้อน
ส่วนผสมหลอมเหลว
เป็นสารประกอบออกไซด์
ส่วนผสมทุกอย่างหลอมละลาย
เป็นเนือเดียวกัน เรียกว่า น้าแก้ว
ลดอุณหภูมิ ให้น้าแก้ว
มีความหนืด เพื่อขึนรูปผลิตภัณฑ์
ประเภทของแก้ว
แก้วโซดำไลม์ ส่วนประกอบ แก้วคริสตัล ส่วนประกอบ
- SiO2 ร้อยละ 71-75 โดยมวล - SiO2 ร้อยละ 54-65
- Na2O ร้อยละ 12-16 โดยมวล - K2O และออกไซด์ของตะกั่ว มีออกไซด์
- CaO ร้อยละ 10-15 โดยมวล ของตะกั่วมากกว่าร้อยละ 24 โดยมวล
คุณสมบัติ คุณสมบัติ
- ไม่ทนต่อกรด- เบส เมื่อมีแสงมากระทบจะเห็นประกาย
- แตกง่ายเมื่อได้รับความร้อน แวววาวสวยงาม
ส่วนประกอบ ส่วนประกอบ
- SiO2 ปริมาณมาก - เติม NaF และ Ca2F ลงไป
- Na2O CaO B2O3 ปริมาณเล็กน้อย
คุณสมบัติ คุณสมบัติ
- ทนต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิได้ดี มีความขุ่น โปร่งแสง หลอมและขึนรูปได้ง่าย
แก้วโบโรซิลิเกต - ทนต่อการกัดกร่อนของสารเคมี แก้วโอปอล
ประโยชน์ของวัสดุประเภทเซรำมิก ปูนซีเมนต์

เป็นวัสดุที่ช่วยยึดส่วนผสมต่าง ๆ ที่ใช้ในการก่อสร้าง ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการบดเม็ดปูนและการเผาส่วนผสมต่าง ๆ


วัตถุดิบที่ใช้ในกำรผลิตปูนซีเมนต์
วัตถุดิบเนื้อปูน วัตถุดิบเนื้อดิน

เป็นส่วนประกอบหลัก มีอยู่ร้อยละ
80 โดยมวลของส่วนผสมก่อน ประกอบด้วยซิลิกา อะลูมินา
การเผา วัตถุดิบที่ใช้อาจจะเป็น และออกไซด์ของเหล็ก มีประมาณ
หินปูน ดินสอพอง หรือดินมาร์ล ร้อยละ 15-18 โดยมวล วัตถุดิบที่
หินอ่อน หินชอล์ก โดยหินปูนเป็น ใช้ส่วนใหญ่ คือ หินดินดาน
วัตถุดิบที่นิยมใช้มากที่สุด
ประโยชน์ของวัสดุประเภทเซรำมิก ปูนซีเมนต์

วัตถุดิบปรับคุณภำพ สำรเติมแต่ง

ประกอบด้วยเนือปูน อะลูมินา เป็นวัตถุดิบที่เติมลงไปในปูนเม็ด


ซิลกิ า หรือออกไซด์ของเหล็ก ภายหลังการเผา เพื่อปรับสมบัติ
ในปริมาณสูง ใช้เมื่อมีส่วนผสม บางประการ เช่น เติมยิปซัมลงไป
บางชนิดต่้ากว่ามาตรฐาน เพื่อท้าให้ปูนที่ผสมน้าแล้วแข็งตัวช้า
เติมหินปูนบดลงไปเพื่อเพิ่มเนือปูน
ประเภทของปูนซีเมนต์
ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ ปูนซีเมนต์ผสม ปูนซีเมนต์ขำว
เป็นปูนซีเมนต์ที่ได้จากการบดปูนเม็ด เป็นปูนซีเมนต์ที่มีแรงอัดต่้ากว่า เป็นปูนซีเมนต์ที่มีวัตถุดิบหลัก คือ
กับยิปซัมตามมาตรฐานอุตสาหกรรม ปูนซีเมนต์ธรรมดาเล็กน้อย เนื่องจากมี ปูนขาว นิยมใช้ในงานตกแต่งอาคาร
ซึ่งแบ่งเป็น 5 ประเภท การเติมทราย หรือหินปูนละเอียดลงไป ห้องน้า สระน้า เพื่อให้เกิดความสวยงาม
ประเภทที่ 1 ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ธรรมดา เหมาะส้าหรับใช้ในงานก่อสร้างที่ไม่รับ
ประเภทที่ 2 ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์เสริม น้าหนักมาก เช่น งานก่อ งานฉาบ เทพืน
ประเภทที่ 3 ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์
ประเภทให้ก้าลังอัดสูง
ประเภทที่ 4 ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ ปูนซีเมนต์ประเภทใด
ประเภทเกิดความร้อนต่้า ที่ใช้ทำถนน
ประเภทที่ 5 ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์
ประเภททนซัลเฟตสูง
วัสดุผสม คือ กำรนำเอำวัสดุตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป ผสมรวมกัน ทำให้มีสมบัติที่ดีขึ้น
วัสดุผสม โดยวัสดุผสมที่นำมำต้องไม่รวมเป็นเนื้อเดียวกัน

แผ่นไม้ เสื้อกันฝน ยำนอวกำศ อ่ำงอำบน้ำ

ทำไมต้องมีกำรผลิตวัสดุผสม
สมบัติทำงกำยภำพของวัสดุผสม
สมบัติของวัสดุผสมจะขึนอยู่กับวัสดุที่น้ามาใช้ประกอบกันเป็นวัสดุผสม โดยวัสดุผสมจะต้องประกอบด้วยวัสดุ 2 แบบ

วัสดุพื้น หรือเมทริกซ์ (matrix) วัสดุเสริม หรือตัวเสริมแรง (reinforcement)

เป็นวัสดุที่ลักษณะของเนือวัสดุมีความต่อเนื่อง และ เป็นวัสดุที่เพิ่มคุณสมบัติให้กับวัสดุพืน โดยจะฝังตัวอยู่ในวัสดุพืน


ล้อมรอบอีกวัสดุไว้ ท้าหน้าที่ในการถ่ายทอดแรงกระท้า ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของเส้นใย อนุภาค แผ่นหรือชินเล็ก ๆ
โดยวัสดุที่น้ามาใช้เป็นวัสดุพืน อาจเป็นพอลิเมอร์ เซรามิก
โลหะ หรือคาร์บอนและแกรไฟต์
กำรใช้ประโยชน์วัสดุประเภทวัสดุผสม วัสดุผสมจำกธรรมชำติ

เป็นวัสดุผสมที่ได้จากการรวมตัวของสารที่อยู่ในธรรมชาติ
กระดูก
ประกอบด้วยคอลลำเจน 20% แคลเซียมฟอสเฟต 69% น้ำ 9 % และอื่น ๆ

ท้าหน้าที่เป็นวัสดุพืน อยู่ในรูปไมโครไฟเบอร์
คอลลำเจน
มีลักษณะเหมือนตาข่าย

ท้าหน้าที่เป็นวัสดุเสริม
แคลเซียมฟอสเฟต
ช่วยให้กระดูกแข็งแรง
กำรใช้ประโยชน์วัสดุประเภทวัสดุผสม วัสดุผสมจำกธรรมชำติ

ไม้
ประกอบด้วยองค์ประกอบหลัก 4 ชนิด ได้แก่ เส้นใยเซลลูโลส
สำรกึ่งเซลลูโลส ลิกนิน และสำรสกัดจำกธรรมชำติ

เซลลูโลส ท้าหน้าที่เป็นวัสดุพืน

ท้าหน้าที่เป็นวัสดุเสริม ช่วยประสานให้
ลิกนินกับสำรกึ่งเซลลูโลส
องค์ประกอบในไม้เกิดการเชื่อมกัน
กำรใช้ประโยชน์วัสดุประเภทวัสดุผสม วัสดุผสมจำกกำรสังเครำะห์

เป็นวัสดุผสมที่ได้จากการน้าวัสดุชนิดต่าง ๆ มาสังเคราะห์รวมกัน เกิดเป็นวัสดุผสมที่มีสมบัติแตกต่างไปจากเดิม


และมีสมบัติเฉพาะตามที่ต้องการ เช่น คอนกรีต ไฟเบอร์กลาสส์

คือ วัสดุผงละเอียดเม็ดเล็กสีเทา เมื่อผสมกับน้าในปริมาณมากพอสมควร


ซีเมนต์
แล้วทิงไว้ให้แห้งจะเกิดการแข็งตัว อาจจะเรียกว่า ไฮดรอลิกซีเมนต์ (hydraulic cement)
จะต้องมีความสะอาด แข็ง ทนทาน หินมุมแหลมจะให้ความแข็งแรง
หินลูกรังและก้อนหิน
ได้ดีกว่าหินที่มีความกลม
เป็นแร่ขนาดเล็ก ทรายเป็นตัวเติมเต็มในช่องว่างขนาดเล็กๆ ระหว่าง
ทรำย หินขนาดใหญ่ ช่วยลดช่องว่างในเนือคอนกรีตลง และลดปัญหาการไม่รวมตัว
ของคอนกรีตขณะเกิดการแข็งตัว
ผลกระทบจำกกำรใช้วัสดุประเภทพอลิเมอร์ เซรำมิกและวัสดุผสม

ปัจจุบันขยะที่เกิดขึ้นจำกวัสดุ
สังเครำะห์มีจำนวนมำก และยำก
ต่อกำรกำจัด หำกนำไปเผำจะทำให้ พลำสติกส่งผลกระทบต่อ
เกิดมลพิษทำงอำกำศ หำกนำไปฝัง
สิ่งแวดล้อมอย่ำงไร
จะทำดินเสื่อมสภำพส่งผลเสียต่อ
สภำพแวดล้อม
กำรรณรงค์เกี่ยวกับแนวทำงกำรใช้วัสดุอย่ำงคุ้มค่ำ
และส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด

กำรใช้ซ้ำ (reuse) กำรลดกำรใช้ (reduce) กำรนำกลับมำใช้ใหม่ (recycle)

เป็นการน้าผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์ เป็นการลดหรือใช้ผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์ เป็นการน้าผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์สังเคราะห์


สังเคราะห์ที่ผ่านการใช้งานแล้ว สังเคราะห์ให้น้อยลง อาจใช้วัสดุหรือบรรจุภัณฑ์ ที่เคยผ่านการใช้งานแล้ว มาผ่านการแปรรูป
แต่ยังมีคุณภาพดีกลับมาใช้งานอีกครัง จากธรรมชาติแทนบรรจุภัณฑ์จากพอลิเมอร์ เป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ เพื่อน้ากลับมาใช้งานอีกครัง
สังเคราะห์ หรือใช้บรรจุภัณฑ์ที่มีความคงทน โดยเฉพาะพลาสติกซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่ใช้กัน
สามารถน้ากลับมาใช้ใหม่ได้ อย่างแพร่หลาย
กำรคัดแยกขยะโดยกำรทิ้งขยะให้ถูกประเภทเป็นอีกหนึ่งแนวทำง
กำรคัดแยกขยะ ที่ช่วยลดปัญหำขยะล้นเมือง

ส้าหรับขยะที่ย่อยสลายได้ ส้าหรับขยะรีไซเคิล หรือ ส้าหรับขยะที่ย่อยสลายยาก ส้าหรับขยะอันตราย หรือ


สามารถน้าไปหมักเป็นปุ๋ยได้ ขยะที่น้าไปแปรรูปได้ เช่น และไม่คุ้มค่าส้าหรับการน้า ขยะที่มีพิษต่อสิ่งมีชีวิตและ
เช่น เศษผัก เปลือกผลไม้ แก้ว กระดาษ กระป๋องเครื่องดื่ม กลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ เช่น สิ่งแวดล้อม เช่น หลอดไฟฟ้า
เศษอาหาร ใบไม้ เศษพลาสติก ห่อพลาสติกใส่ขนม ซองบะหมี่ ถ่านไฟฉาย กระป๋องสเปรย์
กึ่งส้าเร็จรูป โฟมบรรจุอาหาร กระป๋องยาฆ่าแมลง
ขยะเหล่ำนี้ควรทิ้งลงถังขยะประเภทใดบ้ำง
Summary หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 3 วัสดุในชีวิตประจำวัน พอลิเมอร์ เซรำมิก วัสดุผสม

เป็นสำรที่มีโมเลกุลขนำดใหญ่ เกิดจำกสำรโมเลกุลเล็กที่เรียกว่ำ มอนอเมอร์ มำสร้ำงพันธะโคเวเลนต์ต่อกัน

ประเภทของพอลิเมอร์ สมบัติทำงกำยภำพของพอลิเมอร์
แบ่งตำมลักษณะกำรเกิด ขึ้นอยู่กับโครงสร้ำงของพอลิเมอร์

พอลิเมอร์ธรรมชำติ พอลิเมอร์สังเครำะห์ โครงสร้ำงแบบเส้น

แบ่งตำมชนิดของมอนอเมอร์ โครงสร้ำงแบบกิ่ง

โฮโมพอลิเมอร์ โคพอลิเมอร์ โครงสร้ำงแบบร่ำงแห


Summary หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 3 วัสดุในชีวิตประจำวัน พอลิเมอร์ เซรำมิก วัสดุผสม

กำรใช้ประโยชน์วัสดุประเภทพอลิเมอร์
พลาสติก เส้นใย
ยาง
พอลิเอทิลีน ยำงธรรมชำติ นำมำรีดและปั่นเป็นเส้นด้ำย
ใช้ทำถุงใส่ของเย็น ถุงขยะ ของเล่นเด็ก ใช้ทำถุงมือแพทย์ ถุงยำงอนำมัย เพื่อทำเครื่องนุ่งห่ม

พอลิสไตรีน ยำงสังเครำะห์
ใช้ทำชิ้นส่วนของตู้เย็น โฟมบรรจุอำหำร ยำงบีอำร์ ใช้ทำยำงรถยนต์
ยำงล้อเครื่องบิน
พอลิไวนิลคลอไรด์ ยำงเอสบีอำร์ ใช้ทำยำงรถยนต์
ใช้ทำท่อน้ำประปำ กระเบื้องปูพื้น พื้นรองเท้ำ
Summary หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 3 วัสดุในชีวิตประจำวัน พอลิเมอร์ เซรำมิก วัสดุผสม

ผลิตภัณฑ์ที่ทำจำกวัตถุดิบในธรรมชำติ เช่น ดิน หิน ทรำย แร่ธำตุ นำมำผสมกันขึ้นรูปแล้วนำไปเผำ


สมบัติทำงกำยภำพของเซรำมิก กำรใช้ประโยชน์ของวัสดุประเภทเซรำมิก
วัตถุดิบที่ใช้ในอุตสำหกรรมเซรำมิก ผลิตภัณฑ์จำกแก้ว
วัตถุดิบหลัก วัตถุดิบเสริม แก้วโซดำไลม์ ใช้ทำแก้วน้ำ ขวดน้ำ กระจกแผ่น
กำรเผำและเคลือบ
แก้วโบโรซิลเิ กต ใช้ทำเครื่องแก้วในห้องปฏิบัติกำร
กำรเผำดิบ กำรเผำเคลือบ ทำงวิทยำศำสตร์
กำรขึ้นรูปผลิตภัณฑ์ ปูนซีเมนต์
ปูนซีเมนต์ เมื่อนำปูนซีเมนต์มำผสมกับน้ำจะได้ผลึก
กำรเทแบบ กำรใช้แป้นหมุน
ของแข็ง ใช้เป็นวัสดุประสำนในงำนก่อสร้ำง
Summary หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 3 วัสดุในชีวิตประจำวัน พอลิเมอร์ เซรำมิก วัสดุผสม

วัสดุที่ประกอบด้วยวัสดุ 2 ประเภทขึ้นไป ที่มีองค์ประกอบทำงเคมีแตกต่ำงกัน โดยที่องค์ประกอบนั้นไม่ละลำยเข้ำด้วยกัน


สมบัติทำงกำยภำพของวัสดุผสม กำรใช้ประโยชน์ของวัสดุผสม
วัสดุผสมจำกธรรมชำติ
หรือวัสดุหลัก ทำหน้ำที่ในกำรถ่ำยทอด กระดูก ไม้
วัสดุพื้น แรงกระทำ วัสดุที่นำมำทำเป็นวัสดุพื้น เช่น
พอลิเมอร์เซรำมิก โลหะ คำร์บอน แกรไฟต์

หรือตัวเสริมแรง เป็นวัสดุที่เพิ่มสมบัติ วัสดุผสมจำกกำรสังเครำะห์


วัสดุเสริม ให้กับวัสดุพื้น โดยวัสดุเสริมอำจจะเป็น คอนกรีต ไฟเบอร์กลำสส์
เส้นใย อนุภำค แผ่น หรือชิ้นเล็ก ๆ
Summary หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 3 วัสดุในชีวิตประจำวัน พอลิเมอร์ เซรำมิก วัสดุผสม

แนวทำงกำรใช้พอลิเมอร์สังเครำะห์อย่ำงคุ้มค่ำ
Reduce Reuse Recycle
ลดกำรใช้ เช่น ใช้ถุงผ้ำแทนถุงพลำสติก ใช้ซ้ำ เช่น ใช้กระดำษให้ครบทั้ง 2 หน้ำ แปรรูปใช้ใหม่ เช่น นำขวดพลำสติก
ที่ใช้แล้ว มำหลอมนำไปผลิตเสื้อ

กำรคัดแยกขยะ

You might also like