You are on page 1of 20

ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ภาคเรียนที่ 2
หน่วยที่ 5 ปฏิกิริยาเคมีและวัสดุในชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ปฏิกิริยาเคมี

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560)
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ร่วมเผยแพร่สร้างสรรค์สื่อวิทยาศาสตร์
โดย เพจ ครู ฉ ช้าง สอนวิทย์
“ตรงตามตัวชี้วัด จัดเพิ่มเติมความรู้ ส่งเสริมสร้างสรรค์สื่อ เคียงคู่ครูวิทยาศาสตร์ไทย”
ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2
หน่วยที่ 5 ปฏิกิริยาเคมีและวัสดุในชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ปฏิกิริยาเคมี
เรื่องที่ 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี (1)
เพจ ครู ฉ ช้าง สอนวิทย์ ชื่อ – สกุล _______________________ ชั้น _________ เลขที่ ________ ว 2.1 ม.3/3
คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามให้ถูกต้องสมบูรณ์
1. ขณะที่ชมพลุในงานเฉลิมฉลองต่าง ๆ นักเรียนสังเกตพบอะไรบ้าง
ตอบ ............................................................................................................................. .........................................................
2. แสงสีจากการจุดพลุเกิดขึ้นได้อย่างไร
ตอบ ........................................................................................................................................................... ...........................
....................................................................................................................................................................................................
3. สิ่งที่นักเรียนมองเห็นเกี่ยวข้องกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีหรือไม่ อย่างไร
ตอบ ......................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................................
4. ปฏิกิริยาเคมี คือ อะไร
ตอบ ............................................................................................................................. .........................................................
5. สถานะของสารแต่ละชนิดจะระบุไว้หลังสูตรเคมีของสาร
- สารที่อยู่ในสถานะของแข็ง (solid) เขียนแทนด้วย ...............................
- สารที่อยู่ในสถานะของเหลว (liquid) เขียนแทนด้วย ...............................
- สารที่อยู่ในสถานะแก๊ส (gas) เขียนแทนด้วย ...............................
- สารที่อยู่ในรูปของสารละลาย (aqueous) เขียนแทนด้วย ...............................
6. การเกิดปฏิกิริยาเคมีต่อไปนี้ เป็นการเปลี่ยนแปลงของสิ่งใด
เกิดตะกอน เกิดฟองแก๊ส อุณหภูมิเปลี่ยน สีเปลี่ยน เกิดประกายไฟ เกิดกลิ่น

6.1 นำสารละลายไอโอดีนมาใช้ทดสอบแป้ง เปลี่ยนจากสีน้ำตาลเป็นสีน้ำเงินแกมม่วง .........................................


6.2 ไขมัน/น้ำมัน ทำปฏิกิริยากับน้ำและอากาศ จะเหม็นหืน .........................................
6.3 นำสารละลายเบเนดิกส์มาทดสอบน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว เกิดตะกอนสีแดงอิฐ .........................................
6.4 นำกรดไฮโดรคลอริกมาผสมกับแคลเซ๊ยมคาร์บอเนตหรือหินปูน จะเกิดฟองแก๊ส .........................................
6.5 เมื่อใส่โลหะโซเดียมลงในน้ำ จะเกิดการระเบิด .........................................
6.6 เมื่อใส่โซเดียมไฮดรอกไซด์หรือโซดาไฟลงในน้ำ จะคายพลังงาน สัมผัสจะรู้สึกร้อน .........................................
ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2
หน่วยที่ 5 ปฏิกิริยาเคมีและวัสดุในชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ปฏิกิริยาเคมี
เรื่องที่ 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี (2)
เพจ ครู ฉ ช้าง สอนวิทย์ ชื่อ – สกุล _______________________ ชั้น _________ เลขที่ ________ ว 2.1 ม.3/3

คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามให้ถูกต้องสมบูรณ์
การเปลี่ยนแปลงต่อไปนี้เป็นการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพหรือการเปลี่ยนแปลงทางเคมี เพราะเหตุใด
การเปลี่ยนแปลงทาง
การเปลี่ยนแปลงของสาร เหตุผล
กายภาพ เคมี
1. การเกิดสนิมเหล็กของตะปู

2. ใส่โลหะสังกะสีลงในกรดไฮโดรคลอริก

3. ต้มน้ำจนเดือดกลายเป็นไอ

4. การย่อยอาหาร

5. ก้อนหินถูกค้อนทุบจนแตกเป็นก้อนเล็กๆ

6. การหลอมเหลวของน้ำแข็ง

7. การหมัก

8. การแยกน้ำด้วยไฟฟ้า

9. การเผาไหม้ของกระดาษ

10. การผสมน้ำหวานสีแดงกับน้ำ

11. การผสมน้ำอัญชันกับมะนาว

12. การเหม็นหืนของน้ำมันเมื่อทิ้งไว้นาน

13. การระเหิดของลูกเหม็น

14. การทำให้เหล็กมีสมบัติเป็นแม่เหล็ก

ตั้งบีกเกอร์ที่มีน้ำปูนใสไว้ สังเกตเห็นฝ้าสี
15.
ขาวเกิดขึ้น
ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2
หน่วยที่ 5 ปฏิกิริยาเคมีและวัสดุในชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ปฏิกิริยาเคมี
เรื่องที่ 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี (3)
เพจ ครู ฉ ช้าง สอนวิทย์ ชื่อ – สกุล _______________________ ชั้น _________ เลขที่ ________ ว 2.1 ม.3/3

คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามให้ถูกต้องสมบูรณ์
1. แผนภาพนี้เรียกว่าอะไร
กรดไฮโดรคลอริก + แคลเซียมคาร์บอเนต → แคลเซียมคลอไรด์ + น้ำ + แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
ตอบ ............................................................................................................................. .........................................................
2. การเกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่างโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตกับกรดไฮโดรคลอริกได้ผลิตภัณฑ์เป็นโซเดียมคลอไรด์ แก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ และน้ำ เขียนแทนด้วยสมการข้อความได้อย่างไร
ตอบ ............................................................................................................................. .........................................................
3. จากปฏิกิริยาเคมีระหว่างกรดไฮโดรคลอริกและแคลเซียมคาร์บอเนต
ตอบ สารตั้งต้น ได้แก่ ............................................................................................................................. .............................
ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ ............................................................................................................................. .............................
4. สมการข้อความต่อไปนี้ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ + แคลเซียมไฮดรอกไซด์ → แคลเซียมคาร์บอเนต + น้ำ
ตอบ สารตั้งต้น ได้แก่ ............................................................................................................................. .............................
ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ ..........................................................................................................................................................
5. ปฏิกิริยาการเผาถ่าน ซึ่งเป็นปฏิกิริยาระหว่างคาร์บอนและแก๊สออกซิเจน ได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
ตอบ สารตั้งต้น ได้แก่ ..........................................................................................................................................................
ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ ............................................................................................................................. .............................
6. ปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริก ได้แมกนีเซียมคลอไรด์และแก๊สไฮโดรเจน
ตอบ สารตั้งต้น ได้แก่ ............................................................................................................................. .............................
ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ ..........................................................................................................................................................
7. ปฏิกิริยาระหว่างกรดซัลฟิวริกกับโซเดียมไฮดรอกไซด์ ได้โซเดียมซัลเฟตและน้ำ
ตอบ สารตั้งต้น ได้แก่ ..........................................................................................................................................................
ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ ............................................................................................................................. .............................
8. ปฏิกิริยาระหว่างแก๊สโพรเพนกับแก๊สออกซิเจน ได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ไอน้ำ และพลังงาน
ตอบ สารตั้งต้น ได้แก่ ............................................................................................................................. .............................
ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ ..........................................................................................................................................................
ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2
หน่วยที่ 5 ปฏิกิริยาเคมีและวัสดุในชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ปฏิกิริยาเคมี
เรื่องที่ 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี (4)
เพจ ครู ฉ ช้าง สอนวิทย์ ชื่อ – สกุล _______________________ ชั้น _________ เลขที่ ________ ว 2.1 ม.3/4

คำชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนและดุลสมการต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์
1. ปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียม(Mg) กับกรดไฮโดรคลอริก(HCl) ได้แมกนีเซียมคลอไรด์(MgCl2) และแก๊สไฮโดรเจน(H2)
ตอบ ............................................................................................................................. .........................................................
2. ปฏิกิริยาระหว่างโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตกับกรดไฮโดรคลอริก ได้โซเดียมคลอไรด์ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และน้ำ
ตอบ ............................................................................................................................. .........................................................
3. ปฏิกิริยาระหว่างแคลเซียมไฮดรอกไซด์กับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ได้แคลเซียมคาร์บอเนตและน้ำ
ตอบ ............................................................................................................................. .........................................................
4. ปฏิกิริยาระหว่างกรดไฮโดรคลอริกกับแคลเซียมคาร์บอเนต ได้แคลเซียมคลอไรด์ น้ำ และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
ตอบ ............................................................................................................................. .........................................................
5. ปฏิกิริยาระหว่างกรดไฮโดรคลอริกกับโซเดียมไฮดรอกไซด์ ได้โซเดียมคลอไรด์ และน้ำ
ตอบ ............................................................................................................................. .........................................................
6. ปฏิกิริยาระหว่างกรดซัลฟิวริกกับแบเรียมไฮดรอกไซด์ ได้แบเรียมซัลเฟต และน้ำ
ตอบ ............................................................................................................................. .........................................................
7. ปฏิกิริยาระหว่างแก๊สไฮโดรเจนกับแก๊สออกซิเจน ได้ไอน้ำ
ตอบ ............................................................................................................................. .........................................................
8. ปฏิกิริยาระหว่างแก๊สมีเทนกับแก๊สออกซิเจน ได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และไอน้ำ
ตอบ ............................................................................................................................. .........................................................
9. ปฏิกิริยาระหว่างสารละลายโซเดียมซัลเฟตกับสารละลายแบเรียมคลอไรด์ ได้แบเรียมซัลเฟต และโซเดียมคลอไรด์
ตอบ ............................................................................................................................. .........................................................
10. ปฏิกิริยาระหว่างแก๊สโพรเพนกับแก๊สออกซิเจน ได้แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ และน้ำ
ตอบ ............................................................................................................................. .........................................................
11. ปฏิกิริยาระหว่างโซเดียมฟอสเฟตกับแคลเซียมคลอไรด์ ได้ตะกอนแคลเซียมฟอสเฟต และโซเดียมคลอไรด์
ตอบ ............................................................................................................................. .........................................................
ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2
หน่วยที่ 5 ปฏิกิริยาเคมีและวัสดุในชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ปฏิกิริยาเคมี
เรื่องที่ 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี (5) กฎทรงมวล
เพจ ครู ฉ ช้าง สอนวิทย์ ชื่อ – สกุล _______________________ ชั้น _________ เลขที่ ________ ว 2.1 ม.3/4
คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามให้ถูกต้องสมบูรณ์
1. ระบบ คือ ............................................................................................................................. ...........................................
2. สิ่งแวดล้อม คือ ..........................................................................................................................................................
3. เมื่อต้มน้ำในบีกเกอร์จนเดือดกลายเป็นไอ สิ่งใดจัดเป็นระบบ สิ่งใดจัดเป็นสิ่งแวดล้อม
ตอบ ระบบ คือ ............................................................................................................................................
สิ่งแวดล้อม คือ ............................................................................................................................................
4. ระบบจำแนกตามการเปลี่ยนแปลงของมวลและพลังงานที่เกี่ยวข้องมี 3 ประเภท แต่และระบบมีการถ่ายโอนสิ่งใดหรือไม่
ระบบ มีการถ่ายโอนมวลของสารในระบบ มีการถ่ายโอนพลังงานของสารในระบบ
1. ระบบเปิด
2. ระบบปิด
3. ระบบโดดเดี่ยว
5. จากการทดลองที่กำหนดให้ จงระบุว่าเป็นระบบประเภทใด
5.1 ใส่ตะปูเหล็กลงในกรดน้ำส้ม เกิดฟองแก๊ส ไม่มีสี .........................................
5.2 ลูกเหม็นระเหิดในขวดที่มีฝาปิด .........................................
5.3 น้ำเย็นในกระติกที่เก็บรักษาอุณหภูมิ .........................................
5.4 ต้มน้ำในบีกเกอร์จนเดือดกลายเป็นไอน้ำลอยออกไป .........................................
5.5 ผสมกรดซัลฟิวริกกับสารละลายแบเรียมคลอไรด์ เกิดตะกอนแบเรียมซัลเฟต .........................................
6. จากการทดลองที่กำหนดให้ จงระบุว่าเป็นไปตามกฎทรงมวลหรือไม่ เพราะเหตุใด
6.1 กรดไฮโดรคลอริกรวมกับโซเดียมไฮดรอกไซด์ในภาชนะเปิด เกิดโซเดียมคลอไรด์และน้ำ ............เพราะ...................................
6.2 กรดไนตริกรวมกับแคลเซียมไฮดรอกไซด์ในภาชนะปิด เกิดแคลเซียมไนเตรตและน้ำ ............เพราะ...................................
6.3 สังกะสีรวมกับโซเดียมไฮดรอกไซด์ในภาชนะปิด เกิดโซเดียมซิงค์เคตและแก๊สไฮโดรเจน ............เพราะ...................................
6.4 แมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริกในภาชนะเปิด เกิดแมกนีเซียมคลอไรด์และแก๊สไฮโดรเจน ............เพราะ...................................
7. นักเรียนคนหนึ่งตั้งน้ำปูนใสในภาชนะเปิด พบว่าเกิดตะกอนสีขาว เนื่องจากแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศลงไปทำ
ปฏิกิริยากับน้ำปูนใส ได้ผลิตภัณฑ์เป็นแคลเซียมคาร์บอเนตซึ่งไม่ละลายในน้ำ เมื่อนำไปชั่งพบว่ามวลรวมที่ได้หลังจากน้ำปูน
ใสเกิดตะกอนสีขาวจะเพิ่มขึ้น นักเรียนกล่าวว่าปฏิกิริยาไม่เป็นไปตามกฎทรงมวล ข้อสรุปดังกล่าวถูกต้องหรือไม่ อย่างไร
ตอบ ............................................................................................................................. .........................................................
....................................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................................
............................................................................................................................. .......................................................................
ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2
หน่วยที่ 5 ปฏิกิริยาเคมีและวัสดุในชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ปฏิกิริยาเคมี
เรื่องที่ 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี (6)
เพจ ครู ฉ ช้าง สอนวิทย์ ชื่อ – สกุล _______________________ ชั้น _________ เลขที่ _______ ว 2.1 ม.3/3-4
คำชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมาย √ หน้าข้อความที่ถูกต้อง และเขียนเครื่องหมาย X หน้าข้อความที่ไม่ถูกต้อง
1. สารที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางเคมีจะมีสมบัติแตกต่างจากสารเดิม

2. เมื่อสารเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีแล้วจะไม่สามารถเปลี่ยนกลับเป็นสารเดิมได้

3. การเปลี่ยนสถานะของสารเป็นการเปลี่ยนแปลงทางเคมีประเภทหนึ่ง

4. ปฏิกิริยาเคมีจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อมีสารตั้งต้นตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป มาทำปฏิกิริยากัน

5. การเกิดปฏิกิริยาเคมีก่อให้เกิดสารชนิดใหม่ขึ้นเสมอ

6. พลังงานความร้อนมีบทบาทในการเกิดปฏิกิริยาเคมี

7. การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสารไม่นับว่ามีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น

8. ในระหว่างการเกิดปฏิกิริยาเคมีจะมีการถ่ายโอนความร้อนเกิดขึ้น

9. อุณหภูมิของสารก่อนเกิดปฏิกิริยาจะเท่ากับอุณหภูมิของสารหลังเกิดปฏิกิริยาเสมอ

10. สารตั้งต้นจะเปลี่ยนเป็นผลิตภัณฑ์ก็ต่อเมื่อมีพลังงานความร้อนมากพอในการสลายพันธะ

11. การเกิดตะกอนของดินโคลนในน้ำแสดงว่ามีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น

12. อะตอมของสารตั้งต้นบางชนิดจะสูญหายไประหว่างทาง ทำให้จำนวนอะตอมของผลิตภัณฑ์เปลี่ยนไป

13. ถ้าปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นได้ผลิตภัณฑ์เป็นแก๊สและเกิดในระบบปิด มวลของสารตั้งต้น = มวลผลิตภัณฑ์

14. การหายใจและการย่อยอาหารเป็นปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นในร่างกายของมนุษย์

15. ปฏิกิริยาเคมีไม่สามารถเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ แต่จะเกิดขึ้นเมื่อถูกกระตุ้นเท่านั้น


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2
หน่วยที่ 5 ปฏิกิริยาเคมีและวัสดุในชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ปฏิกิริยาเคมี
เรื่องที่ 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี (7) พลังงานความร้อน (1)
เพจ ครู ฉ ช้าง สอนวิทย์ ชื่อ – สกุล _______________________ ชั้น _________ เลขที่ ________ ว 2.1 ม.3/5

คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์
จงระบุว่าปฏิกิริยาต่อไปนี้ เปลี่ยนแปลงพลังงานความร้อนแบบใด

การเปลี่ยนแปลงพลังงานความร้อน
ปฏิกิริยาการเปลี่ยนแปลงของสาร
ดูดความร้อน คายความร้อน
1. การบูรระเหิดในตู้เสื้อผ้า
2. โซเดียมไฮดรอกไซด์ละลายน้ำในบีกเกอร์ แล้วบีกเกอร์ร้อนขึ้น
3. การหุงหาอาหารโดยใช้ความร้อนจากการเผาไหม้
4. การระเบิดของดินปืน
5. ปฏิกิริยาระหว่างกรดแอซิติกกับโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต
6. ปฏิกิริยาระหว่างกรดแอซิติกกับโซเดียมไฮดรอกไซด์
7. การเผาลวดแมกนีเซียมในอากาศ
8. ใส่ชิ้นสังกะสีลงในสารละลายจุนสีสะตุ วัดอุณหภูมิแล้วสูงขึ้น
9. การใช้สำลีชุบแอลกอฮอล์เช็ดบนผิวหนังจะรู้สึกเย็น
10. การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
11. ปฏิกิริยาการเผาผลาญสารอาหาร (การหายใจระดับเซลล์)
12. ผสมสารเคมี 2 ชนิดในภาชนะ สังเกตเห็นว่า มีหยดน้ำเกาะรอบ ๆ
13. 2 H2 + O2 → 2 H2O
14. NaCl (aq) → Na+(g) + Cl-(g)
15. CaCO3(s) + 670 kJ → CaO(s) + CO2(g)
16. C3H8(g) + 5O2(g) → 3CO2(g) + 4H2O(l) + 420 kJ
17. PCl3(g) + Cl2(g) → PCl5(g) H = -830 kJ

18. 2KHCO3 + H2SO4 → K2SO4 + 2H2O + 2CO2 H = 268 kJ


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2
หน่วยที่ 5 ปฏิกิริยาเคมีและวัสดุในชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ปฏิกิริยาเคมี
เรื่องที่ 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี (8) พลังงานความร้อน (2)
เพจ ครู ฉ ช้าง สอนวิทย์ ชื่อ – สกุล _______________________ ชั้น _________ เลขที่ ________ ว 2.1 ม.3/5

คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์
1. จงระบุว่าปฏิกิริยาต่อไปนี้ เปลี่ยนแปลงพลังงานความร้อนแบบใด

1. ประเภทของปฏิกิริยา ................................................................ .................................................................

2. พลังงานของสารตั้งต้น ................................................................ .................................................................


และผลิตภัณฑ์ ................................................................ .................................................................

3. เมื่อใช้มือจับภาชนะจะรู้สึกว่า ................................................................ .................................................................

4. อุณหภูมิเมื่อปฏิกิริยาสิ้นสุด ................................................................ .................................................................

5. อุณหภูมิที่อ่านจาก
เทอร์มอมิเตอร์มีค่า ................................................................ .................................................................
2. จากภาพที่กำหนดให้ จงตอบคำถามต่อไปนี้
2.1 สารตั้งต้น คือ ...................................................................................
2.2 ผลิตภัณฑ์ คือ ..................................................................................
2.3 ประเภทของปฏิกิริยา ......................................................................
เพราะ ..............................................................................................
และมีการถ่ายโอนความร้อนเท่ากับ ................................................
2.4 เขียนสมการ ได้ว่า ...........................................................................
2.5 หลังปฏิกิริยาสิ้นสุดลง สิ่งแวดล้อมจะมีอุณหภูมิอย่างไร .................
ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2
หน่วยที่ 5 ปฏิกิริยาเคมีและวัสดุในชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ปฏิกิริยาเคมี
เรื่องที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีรอบตัว (1) (1.1)
เพจ ครู ฉ ช้าง สอนวิทย์ ชื่อ – สกุล _______________________ ชั้น _________ เลขที่ ________ ว 2.1 ม.3/6

คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์
1. ปฏิกิริยาเคมีของกรดกับเบส (acid-base reaction)
หรือ ปฏิกิริยา ........................... (neutralization reaction)
ปฏิกิริยาทั่วไป .............................................................................................................................
1. HCl(aq) + NaOH(aq) → NaCl(aq) + H2O(l) จงเขียนสมการข้อความ
…………….…….….……… ….……………………………… ……………..………………… …….………
2. H2SO4(aq) + Ba(OH)2(aq) → BaSO4(s) + 2H2O(l) จงเขียนสมการข้อความ
…………….…….….……… ….……………………………… ……………..………………… ……….……
3. CH3COOH(aq) + NaOH(aq) → CH3COONa(aq) + H2O(l) จงเขียนสมการข้อความ
…………….…….….……… ….……………………………… ……………..………………… …….………
4. 2HNO3(aq) + Ca(OH)2(s) → Ca(NO3)2(s) + 2H2O(l) จงเขียนสมการข้อความ
…………….…….….……… ….……………………………… ……………..………………… ……….……

2. ปฏิกิริยาของกรดกับโลหะ
ปฏิกิริยาทั่วไป ......................................................................................................
1. Zn(s) + 2HCl(aq) → ZnCl2(aq) + H2(g) จงเขียนสมการข้อความ
…………….…….….……… ….……………………………… ……………..………………… ………………………….………
2. Mg(s) + 2HCl(aq) → MgCl2(aq) + H2(g) จงเขียนสมการข้อความ
…………….…….….……… ….……………………………… ……………..………………… ………………………….………
3. ปฏิกิริยาของเบสกับโลหะ
ปฏิกิริยาทั่วไป ......................................................................................................
1. Zn(s) + 2NaOH(aq) → Na2ZnO2(s) + H2(g) จงเขียนสมการข้อความ
…………….…….….……… ….……………………………… ……………..………………… ………………………….………
2. 2Al(s) + 2NaOH(aq) + 2H2O(l) → 2NaAlO2(s) + 3H2(g) จงเขียนสมการข้อความ
…………….……… ….……………………… ……….……… …………..…….…………… ………………………….………
เฉลย ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ภาคเรียนที่ 2
หน่วยที่ 5 ปฏิกิริยาเคมีและวัสดุในชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ปฏิกิริยาเคมี

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560)
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ร่วมเผยแพร่สร้างสรรค์สื่อวิทยาศาสตร์
โดย เพจ ครู ฉ ช้าง สอนวิทย์
“ตรงตามตัวชี้วัด จัดเพิ่มเติมความรู้ ส่งเสริมสร้างสรรค์สื่อ เคียงคู่ครูวิทยาศาสตร์ไทย”
ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2
หน่วยที่ 5 ปฏิกิริยาเคมีและวัสดุในชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ปฏิกิริยาเคมี
เรื่องที่ 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี (1)
เพจ ครู ฉ ช้าง สอนวิทย์ ชื่อ – สกุล _______________________ ชั้น _________ เลขที่ ________ ว 2.1 ม.3/3

คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามให้ถูกต้องสมบูรณ์
1. ขณะที่ชมพลุในงานเฉลิมฉลองต่าง ๆ นักเรียนสังเกตพบอะไรบ้าง
ตอบ ได้ยินเสียงดัง เห็นแสงสว่างเป็นแสงสีต่าง ๆ เหนือบริเวณที่จุดพลุ และมีควัน
2. แสงสีจากการจุดพลุเกิดขึ้นได้อย่างไร
ตอบ แสงสีจากการจุดพลุเกิดจากปฏิกิริยาการเผาไหม้ของดินปืนและสารประกอบของธาตุต่าง ๆ ทำให้เกิดแสงสีตามชนิด
ของธาตุในสารประกอบนั้น ๆ
3. สิ่งที่นักเรียนมองเห็นเกี่ยวข้องกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีหรือไม่ อย่างไร
ตอบ เกี่ยวข้องกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี โดยเป็นปฏิกิริยาการเผาไหม้ของดินปืนและสารประกอบของธาตุ ได้เป็นควัน
ประกายไฟ และแสงสีตามชนิดของสารประกอบของธาตุ
4. ปฏิกิริยาเคมี คือ อะไร
ตอบ กระบวนการที่สารเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี แล้วส่งผลให้มีสารใหม่ ซึ่งมีสมบัติเปลี่ยนแปลงไปจากสารเดิม
5. สถานะของสารแต่ละชนิดจะระบุไว้หลังสูตรเคมีของสาร
- สารที่อยู่ในสถานะของแข็ง (solid) เขียนแทนด้วย ...........(s)...............
- สารที่อยู่ในสถานะของเหลว (liquid) เขียนแทนด้วย ...........(l)...............
- สารที่อยู่ในสถานะแก๊ส (gas) เขียนแทนด้วย ...........(g)...............
- สารที่อยู่ในรูปของสารละลาย (aqueous) เขียนแทนด้วย ...........(aq)...............
6. การเกิดปฏิกิริยาเคมีต่อไปนี้ เป็นการเปลี่ยนแปลงของสิ่งใด
เกิดตะกอน เกิดฟองแก๊ส อุณหภูมิเปลี่ยน สีเปลีย่ น เกิดประกายไฟ เกิดกลิน่

6.1 นำสารละลายไอโอดีนมาใช้ทดสอบแป้ง เปลี่ยนจากสีน้ำตาลเป็นสีน้ำเงินแกมม่วง สีเปลี่ยน


6.2 ไขมัน/น้ำมัน ทำปฏิกิริยากับน้ำและอากาศ จะเหม็นหืน เกิดกลิ่น
6.3 นำสารละลายเบเนดิกส์มาทดสอบน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว เกิดตะกอนสีแดงอิฐ เกิดตะกอน
6.4 นำกรดไฮโดรคลอริกมาผสมกับแคลเซ๊ยมคาร์บอเนตหรือหินปูน จะเกิดฟองแก๊ส เกิดฟองแก๊ส
6.5 เมื่อใส่โลหะโซเดียมลงในน้ำ จะเกิดการระเบิด เกิดประกายไฟ
6.6 เมื่อใส่โซเดียมไฮดรอกไซด์หรือโซดาไฟลงในน้ำ จะคายพลังงาน สัมผัสจะรู้สึกร้อน อุณหภูมิเปลี่ยน
ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2
หน่วยที่ 5 ปฏิกิริยาเคมีและวัสดุในชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ปฏิกิริยาเคมี
เรื่องที่ 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี (2)
เพจ ครู ฉ ช้าง สอนวิทย์ ชื่อ – สกุล _______________________ ชั้น _________ เลขที่ ________ ว 2.1 ม.3/3

คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามให้ถูกต้องสมบูรณ์
การเปลี่ยนแปลงต่อไปนี้เป็นการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพหรือการเปลี่ยนแปลงทางเคมี เพราะเหตุใด
การเปลี่ยนแปลงทาง
การเปลี่ยนแปลงของสาร เหตุผล
กายภาพ เคมี
1. การเกิดสนิมเหล็กของตะปู √ เกิดสารใหม่โดยไม่กลับมาเป็นสารเดิม

2. โส่โลหะสังกะสีลงในกรดไฮโดรคลอริก √ มีฟองแก๊สเกิดขึ้น

3. ต้มน้ำจนเดือดกลายเป็นไอ √ เป็นการเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นแก๊ส

4. การย่อยอาหาร √ มีสารใหม่เกิดขึ้น เช่น ย่อยแป้งเป็นน้ำตาล

5. ก้อนหินถูกค้อนทุบจนแตกเป็นก้อนเล็กๆ √ ไม่เกิดสารใหม่

6. การหลอมเหลวของน้ำแข็ง √ เป็นการเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเป็นเหลว

7. การหมัก √ เกิดการคายความร้อนและเกิดสารใหม่

8. การแยกน้ำด้วยไฟฟ้า √ เกิดสารใหม่คือแก๊สไฮโดรเจนและออกซิเจน

9. การเผาไหม้ของกระดาษ √ เกิดสารใหม่ เกิดกลิ่นเหม็นและเขม่าควัน

10. การผสมน้ำหวานสีแดงกับน้ำ √ ไม่เกิดสารใหม่

11. การผสมน้ำอัญชันกับมะนาว √ เกิดสารใหม่และเปลี่ยนสี

12. การเหม็นหืนของน้ำมันเมื่อทิ้งไว้นาน √ เกิดสารใหม่ เกิดกลิ่นเหม็นหืน

13. การระเหิดของลูกเหม็น √ เป็นการเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเป็นแก๊ส

14. การทำให้เหล็กมีสมบัติเป็นแม่เหล็ก √ กลับมาเป็นสารเดิมได้

ตั้งบีกเกอร์ที่มีน้ำปูนใสไว้ สังเกตเห็นฝ้าสี
15. √ เกิดสารใหม่คือแคลเซียมคาร์บอเนตหรือหินปูน
ขาวเกิดขึ้น
ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2
หน่วยที่ 5 ปฏิกิริยาเคมีและวัสดุในชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ปฏิกิริยาเคมี
เรื่องที่ 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี (3)
เพจ ครู ฉ ช้าง สอนวิทย์ ชื่อ – สกุล _______________________ ชั้น _________ เลขที่ ________ ว 2.1 ม.3/3

คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามให้ถูกต้องสมบูรณ์
1. แผนภาพนี้เรียกว่าอะไร
กรดไฮโดรคลอริก + แคลเซียมคาร์บอเนต → แคลเซียมคลอไรด์ + น้ำ + แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
ตอบ สมการข้อความ
2. การเกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่างโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตกับกรดไฮโดรคลอริกได้ผลิตภัณฑ์เป็นโซเดียมคลอไรด์ แก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ และน้ำ เขียนแทนด้วยสมการข้อความได้อย่างไร
ตอบ โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต + กรดไฮโดรคลอริก → โซเดียมคลอไรด์ + แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ + น้ำ
3. จากปฏิกิริยาเคมีระหว่างกรดไฮโดรคลอริกและแคลเซียมคาร์บอเนต
ตอบ สารตั้งต้น ได้แก่ กรดไฮโดรคลอริกและแคลเซียมคาร์บอเนต
ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ แคลเซียมคลอไรด์ น้ำ และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
4. สมการข้อความต่อไปนี้ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ + แคลเซียมไฮดรอกไซด์ → แคลเซียมคาร์บอเนต + น้ำ
ตอบ สารตั้งต้น ได้แก่ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และแคลเซียมไฮดรอกไซด์
ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ แคลเซียมคาร์บอเนต และน้ำ
5. ปฏิกิริยาการเผาถ่าน ซึ่งเป็นปฏิกิริยาระหว่างคาร์บอนและแก๊สออกซิเจน ได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
ตอบ สารตั้งต้น ได้แก่ คาร์บอนและแก๊สออกซิเจน
ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
6. ปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริก ได้แมกนีเซียมคลอไรด์และแก๊สไฮโดรเจน
ตอบ สารตั้งต้น ได้แก่ โลหะแมกนีเซียมและกรดไฮโดรคลอริก
ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ แมกนีเซียมคลอไรด์และแก๊สไฮโดรเจน
7. ปฏิกิริยาระหว่างกรดซัลฟิวริกกับโซเดียมไฮดรอกไซด์ ได้โซเดียมซัลเฟตและน้ำ
ตอบ สารตั้งต้น ได้แก่ กรดซัลฟิวริกและโซเดียมไฮดรอกไซด์
ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ โซเดียมซัลเฟตและน้ำ
8. ปฏิกิริยาระหว่างแก๊สโพรเพนกับแก๊สออกซิเจน ได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ไอน้ำ และพลังงาน
ตอบ สารตั้งต้น ได้แก่ แก๊สโพรเพนและแก๊สออกซิเจน
ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ไอน้ำ และพลังงาน
ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2
หน่วยที่ 5 ปฏิกิริยาเคมีและวัสดุในชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ปฏิกิริยาเคมี
เรื่องที่ 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี (4)
เพจ ครู ฉ ช้าง สอนวิทย์ ชื่อ – สกุล _______________________ ชั้น _________ เลขที่ ________ ว 2.1 ม.3/4

คำชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนและดุลสมการต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์
1. ปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียม(Mg) กับกรดไฮโดรคลอริก(HCl) ได้แมกนีเซียมคลอไรด์(MgCl2) และแก๊สไฮโดรเจน(H2)
ตอบ Mg (s) + 2HCl (aq) → MgCl2 (aq) + H2 (g)
2. ปฏิกิริยาระหว่างโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตกับกรดไฮโดรคลอริก ได้โซเดียมคลอไรด์ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และน้ำ
ตอบ NaHCO3 (aq) + HCl (aq) → NaCl (aq) + CO2 (g) + H2O (l)
3. ปฏิกิริยาระหว่างแคลเซียมไฮดรอกไซด์กับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ได้แคลเซียมคาร์บอเนตและน้ำ
ตอบ Ca(OH)2 (s) + CO2 (g) → CaCO3 (s) + H2O (l)
4. ปฏิกิริยาระหว่างกรดไฮโดรคลอริกกับแคลเซียมคาร์บอเนต ได้แคลเซียมคลอไรด์ น้ำ และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
ตอบ 2HCl (aq) + CaCO3 (s) → CaCl2 (aq) + H2O (l) + CO2 (g)
5. ปฏิกิริยาระหว่างกรดไฮโดรคลอริกกับโซเดียมไฮดรอกไซด์ ได้โซเดียมคลอไรด์ และน้ำ
ตอบ HCl (aq) + NaOH (aq) → NaCl (aq) + H2O (l)
6. ปฏิกิริยาระหว่างกรดซัลฟิวริกกับแบเรียมไฮดรอกไซด์ ได้แบเรียมซัลเฟต และน้ำ
ตอบ H2SO4 (aq) + Ba(OH)2 (aq) → BaSO4 (s) + 2H2O (l)
7. ปฏิกิริยาระหว่างแก๊สไฮโดรเจนกับแก๊สออกซิเจน ได้ไอน้ำ
ตอบ 2H2 (g) + O2 (g) → 2H2O (g)
8. ปฏิกิริยาระหว่างแก๊สมีเทนกับแก๊สออกซิเจน ได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และไอน้ำ
ตอบ CH4 (g) + 2O2 (g) → CO2 (g) + 2H2O (g)
9. ปฏิกิริยาระหว่างสารละลายโซเดียมซัลเฟตกับสารละลายแบเรียมคลอไรด์ ได้แบเรียมซัลเฟต และโซเดียมคลอไรด์
ตอบ Na2SO4 (aq) + BaCl2 (aq) → BaSO4 (s) + 2NaCl (aq)
10. ปฏิกิริยาระหว่างแก๊สโพรเพนกับแก๊สออกซิเจน ได้แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ และน้ำ
ตอบ 2C3H8 (g) + 7O2 (g) → 6CO (g) + 8H2O (l)
11. ปฏิกิริยาระหว่างโซเดียมฟอสเฟตกับแคลเซียมคลอไรด์ ได้ตะกอนแคลเซียมฟอสเฟต และโซเดียมคลอไรด์
ตอบ 2Na3PO4 (aq) + 3CaCl2 (aq) → Ca3(PO4)2 (s) + 6NaCl (aq)
ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2
หน่วยที่ 5 ปฏิกิริยาเคมีและวัสดุในชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ปฏิกิริยาเคมี
เรื่องที่ 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี (5) กฎทรงมวล
เพจ ครู ฉ ช้าง สอนวิทย์ ชื่อ – สกุล _______________________ ชั้น _________ เลขที่ ________ ว 2.1 ม.3/4
คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามให้ถูกต้องสมบูรณ์
1. ระบบ คือ สสารหรือสิ่งที่เราสนใจศึกษา
2. สิ่งแวดล้อม คือ สิ่งที่อยู่นอกของเขตที่เราศึกษา
3. เมื่อต้มน้ำในบีกเกอร์จนเดือดกลายเป็นไอ สิ่งใดจัดเป็นระบบ สิ่งใดจัดเป็นสิ่งแวดล้อม
ตอบ ระบบ คือ น้ำเดือด และไอน้ำ
สิ่งแวดล้อม คือ บีกเกอร์ ตะเกียงแอลกอฮอล์ อากาศโดยรอบ
4. ระบบจำแนกตามการเปลี่ยนแปลงของมวลและพลังงานที่เกี่ยวข้องมี 3 ประเภท แต่และระบบมีการถ่ายโอนสิ่งใดหรือไม่
ระบบ มีการถ่ายโอนมวลของสารในระบบ มีการถ่ายโอนพลังงานของสารในระบบ
1. ระบบเปิด √ √
2. ระบบปิด X √
3. ระบบโดดเดี่ยว X X
5. จากการทดลองที่กำหนดให้ จงระบุว่าเป็นระบบประเภทใด
5.1 ใส่ตะปูเหล็กลงในกรดน้ำส้ม เกิดฟองแก๊ส ไม่มีสี ระบบเปิด
5.2 ลูกเหม็นระเหิดในขวดที่มีฝาปิด ระบบปิด
5.3 น้ำเย็นในกระติกที่เก็บรักษาอุณหภูมิ ระบบโดดเดี่ยว
5.4 ต้มน้ำในบีกเกอร์จนเดือดกลายเป็นไอน้ำลอยออกไป ระบบเปิด
5.5 ผสมกรดซัลฟิวริกกับสารละลายแบเรียมคลอไรด์ เกิดตะกอนแบเรียมซัลเฟต ระบบปิด
6. จากการทดลองที่กำหนดให้ จงระบุว่าเป็นไปตามกฎทรงมวลหรือไม่ เพราะเหตุใด
6.1 กรดไฮโดรคลอริกรวมกับโซเดียมไฮดรอกไซด์ในภาชนะเปิด เกิดโซเดียมคลอไรด์และน้ำ เป็น เพราะไม่มีแก๊ส
6.2 กรดไนตริกรวมกับแคลเซียมไฮดรอกไซด์ในภาชนะปิด เกิดแคลเซียมไนเตรตและน้ำ เป็น เพราะไม่มีแก๊สและปิดฝา
6.3 สังกะสีรวมกับโซเดียมไฮดรอกไซด์ในภาชนะปิด เกิดโซเดียมซิงค์เคตและแก๊สไฮโดรเจน เป็น เพราะมีแก๊สแต่ปิดฝา
6.4 แมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริกในภาชนะเปิด เกิดแมกนีเซียมคลอไรด์และแก๊สไฮโดรเจน ไม่เป็น เพราะมีแก๊สและเปิดฝา
7. นักเรียนคนหนึ่งตั้งน้ำปูนใสในภาชนะเปิด พบว่าเกิดตะกอนสีขาว เนื่องจากแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศลงไปทำ
ปฏิกิริยากับน้ำปูนใส ได้ผลิตภัณฑ์เป็นแคลเซียมคาร์บอเนตซึ่งไม่ละลายในน้ำ เมื่อนำไปชั่งพบว่ามวลรวมที่ได้หลังจากน้ำปูน
ใสเกิดตะกอนสีขาวจะเพิ่มขึ้น นักเรียนกล่าวว่าปฏิกิริยาไม่เป็นไปตามกฎทรงมวล ข้อสรุปดังกล่าวถูกต้องหรือไม่ อย่างไร
ตอบ ไม่ถูกต้อง เนื่องจากปฏิกิริยานี้มีสารตั้งต้นคือน้ำปูนใสและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์แต่มวลที่ชั่งก่อนเกิดปฏิกิริยาเคมี
เป็นมวลของน้ำปูนใสเพียงชนิดเดียว ไม่ใช่มวลรวมของสารตั้งต้นทั้งหมด มวลที่ชั่งได้ก่อนเกิดปฏิกิริยาเคมีจึงมีค่าน้อยกว่า ซึ่ง
ถ้าออกแบบการทดลองให้สามารถชั่งมวลของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ได้ มวลรวมของสารก่อนและหลังเกิดปฏิกิริยาเคมีก็จะ
มีค่าเท่ากัน
ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2
หน่วยที่ 5 ปฏิกิริยาเคมีและวัสดุในชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ปฏิกิริยาเคมี
เรื่องที่ 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี (6)
เพจ ครู ฉ ช้าง สอนวิทย์ ชื่อ – สกุล _______________________ ชั้น _________ เลขที่ _______ ว 2.1 ม.3/3-4
คำชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมาย √ หน้าข้อความที่ถูกต้อง และเขียนเครื่องหมาย X หน้าข้อความที่ไม่ถูกต้อง
√ 1. สารที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางเคมีจะมีสมบัติแตกต่างจากสารเดิม

√ 2. เมื่อสารเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีแล้วจะไม่สามารถเปลี่ยนกลับเป็นสารเดิมได้

X 3. การเปลี่ยนสถานะของสารเป็นการเปลี่ยนแปลงทางเคมีประเภทหนึ่ง

X 4. ปฏิกิริยาเคมีจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อมีสารตั้งต้นตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป มาทำปฏิกิริยากัน

√ 5. การเกิดปฏิกิริยาเคมีก่อให้เกิดสารชนิดใหม่ขึ้นเสมอ

√ 6. พลังงานความร้อนมีบทบาทในการเกิดปฏิกิริยาเคมี

X 7. การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสารไม่นับว่ามีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น

√ 8. ในระหว่างการเกิดปฏิกิริยาเคมีจะมีการถ่ายโอนความร้อนเกิดขึ้น

X 9. อุณหภูมิของสารก่อนเกิดปฏิกิริยาจะเท่ากับอุณหภูมิของสารหลังเกิดปฏิกิริยาเสมอ

√ 10. สารตั้งต้นจะเปลี่ยนเป็นผลิตภัณฑ์ก็ต่อเมื่อมีพลังงานความร้อนมากพอในการสลายพันธะ

X 11. การเกิดตะกอนของดินโคลนในน้ำแสดงว่ามีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น

X 12. อะตอมของสารตั้งต้นบางชนิดจะสูญหายไประหว่างทาง ทำให้จำนวนอะตอมของผลิตภัณฑ์เปลี่ยนไป

√ 13. ถ้าปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นได้ผลิตภัณฑ์เป็นแก๊สและเกิดในระบบปิด มวลของสารตั้งต้น = มวลผลิตภัณฑ์

√ 14. การหายใจและการย่อยอาหารเป็นปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นในร่างกายของมนุษย์

X 15. ปฏิกิริยาเคมีไม่สามารถเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ แต่จะเกิดขึ้นเมื่อถูกกระตุ้นเท่านั้น


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2
หน่วยที่ 5 ปฏิกิริยาเคมีและวัสดุในชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ปฏิกิริยาเคมี
เรื่องที่ 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี (7) พลังงานความร้อน (1)
เพจ ครู ฉ ช้าง สอนวิทย์ ชื่อ – สกุล _______________________ ชั้น _________ เลขที่ ________ ว 2.1 ม.3/5

คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์
จงระบุว่าปฏิกิริยาต่อไปนี้ เปลี่ยนแปลงพลังงานความร้อนแบบใด

การเปลี่ยนแปลงพลังงานความร้อน
ปฏิกิริยาการเปลี่ยนแปลงของสาร
ดูดความร้อน คายความร้อน
1. การบูรระเหิดในตู้เสื้อผ้า √
2. โซเดียมไฮดรอกไซด์ละลายน้ำในบีกเกอร์ แล้วบีกเกอร์ร้อนขึ้น √
3. การหุงหาอาหารโดยใช้ความร้อนจากการเผาไหม้ √
4. การระเบิดของดินปืน √
5. ปฏิกิริยาระหว่างกรดแอซิติกกับโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต √
6. ปฏิกิริยาระหว่างกรดแอซิติกกับโซเดียมไฮดรอกไซด์ √
7. การเผาลวดแมกนีเซียมในอากาศ √
8. ใส่ชิ้นสังกะสีลงในสารละลายจุนสีสะตุ วัดอุณหภูมิแล้วสูงขึ้น √
9. การใช้สำลีชุบแอลกอฮอล์เช็ดบนผิวหนังจะรู้สึกเย็น √
10. การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช √
11. ปฏิกิริยาการเผาผลาญสารอาหาร (การหายใจระดับเซลล์) √
12. ผสมสารเคมี 2 ชนิดในภาชนะ สังเกตเห็นว่า มีหยดน้ำเกาะรอบ ๆ √
13. 2 H2 + O2 → 2 H2O √
14. NaCl (aq) → Na+(g) + Cl-(g) √
15. CaCO3(s) + 670 kJ → CaO(s) + CO2(g) √
16. C3H8(g) + 5O2(g) → 3CO2(g) + 4H2O(l) + 420 kJ √
17. PCl3(g) + Cl2(g) → PCl5(g) H = -830 kJ √
18. 2KHCO3 + H2SO4 → K2SO4 + 2H2O + 2CO2 H = 268 kJ √
ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2
หน่วยที่ 5 ปฏิกิริยาเคมีและวัสดุในชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ปฏิกิริยาเคมี
เรื่องที่ 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี (8) พลังงานความร้อน (2)
เพจ ครู ฉ ช้าง สอนวิทย์ ชื่อ – สกุล _______________________ ชั้น _________ เลขที่ ________ ว 2.1 ม.3/5

คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์
1. จงระบุว่าปฏิกิริยาต่อไปนี้ เปลี่ยนแปลงพลังงานความร้อนแบบใด

1. ประเภทของปฏิกิริยา ดูดความร้อน คายความร้อน

2. พลังงานของสารตั้งต้น สารตั้งต้นมีพลังงานต่ำกว่าผลิตภัณฑ์ สารตั้งต้นมีพลังงานสูงกว่าผลิตภัณฑ์


และผลิตภัณฑ์

3. เมื่อใช้มือจับภาชนะจะรู้สึกว่า เย็นลง ร้อนขึ้น

4. อุณหภูมิเมื่อปฏิกิริยาสิ้นสุด ต่ำลง สูงขึ้น

5. อุณหภูมิที่อ่านจาก
เทอร์มอมิเตอร์มีค่า ลดลง เพิ่มขึ้น
2. จากภาพที่กำหนดให้ จงตอบคำถามต่อไปนี้
2.1 สารตั้งต้น คือ สาร A และ สาร B
2.2 ผลิตภัณฑ์ คือ สาร C
2.3 ประเภทของปฏิกิริยา คายความร้อน
เพราะ สารตั้งต้นมีพลังงานสูงกว่าผลิตภัณฑ์
และมีการถ่ายโอนความร้อนเท่ากับ H

2.4 เขียนสมการ ได้ว่า A + B → C + H


2.5 หลังปฏิกิริยาสิ้นสุดลง สิ่งแวดล้อมจะมีอุณหภูมิอย่างไร ร้อนขึ้น
ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2
หน่วยที่ 5 ปฏิกิริยาเคมีและวัสดุในชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ปฏิกิริยาเคมี
เรื่องที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีรอบตัว (1) (1.1)
เพจ ครู ฉ ช้าง สอนวิทย์ ชื่อ – สกุล _______________________ ชั้น _________ เลขที่ ________ ว 2.1 ม.3/6

คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์
1. ปฏิกิริยาเคมีของกรดกับเบส (acid-base reaction)
หรือ ปฏิกิริยา ......สะเทิน........ (neutralization reaction)
ปฏิกิริยาทั่วไป กรด + เบส → เกลือ + น้ำ
1. HCl(aq) + NaOH(aq) → NaCl(aq) + H2O(l) จงเขียนสมการข้อความ
กรดไฮโดรคลอริก(กรดเกลือ) โซเดียมไฮดรอกไซด์ โซเดียมคลอไรด์ น้ำ
2. H2SO4(aq) + Ba(OH)2(aq) → BaSO4(s) + 2H2O(l) จงเขียนสมการข้อความ
กรดซัลฟิวริก แบเรียมไฮดรอกไซด์ แบเรียมซัลเฟต น้ำ
3. CH3COOH(aq) + NaOH(aq) → CH3COONa(aq) + H2O(l) จงเขียนสมการข้อความ
กรดแอซิติก โซเดียมไฮดรอกไซด์ โซเดียมแอซิเตต น้ำ
4. 2HNO3(aq) + Ca(OH)2(s) → Ca(NO3)2(s) + 2H2O(l) จงเขียนสมการข้อความ
กรดไนตริก แคลเซียมไฮดรอกไซด์ แคลเซียมไนเตรต น้ำ

2. ปฏิกิริยาของกรดกับโลหะ
ปฏิกิริยาทั่วไป กรด + โลหะ → เกลือของโลหะ + แก๊สไฮโดรเจน
1. Zn(s) + 2HCl(aq) → ZnCl2(aq) + H2(g) จงเขียนสมการข้อความ
สังกะสี กรดไฮโดรคลอริก(กรดเกลือ) ซิงค์คลอไรด์ แก๊สไฮโดรเจน
2. Mg(s) + 2HCl(aq) → MgCl2(aq) + H2(g) จงเขียนสมการข้อความ
แมกนีเซียม กรดไฮโดรคลอริก(กรดเกลือ) แมกนีเซียมคลอไรด์ แก๊สไฮโดรเจน
3. ปฏิกิริยาของเบสกับโลหะ
ปฏิกิริยาทั่วไป เบส + โลหะ → เกลือของโลหะ + แก๊สไฮโดรเจน
1. Zn(s) + 2NaOH(aq) → Na2ZnO2(s) + H2(g) จงเขียนสมการข้อความ
สังกะสี โซเดียมไฮดรอกไซด์ โซเดียมซินเกต(โซเดียมซิงค์เคต) แก๊สไฮโดรเจน
2. 2Al(s) + 2NaOH(aq) + 2H2O(l) → 2NaAlO2(s) + 3H2(g) จงเขียนสมการข้อความ
อะลูมิเนียม โซเดียมไฮดรอกไซด์ น้ำ โซเดียมอะลูมิเนต แก๊สไฮโดรเจน

You might also like