You are on page 1of 8

แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายบท

โครงการจัดการเรียนการสอนสําหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษทางด้านคณิ ตศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์


โดยความร่วมมือจากนักวิชาการจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ บริษทั บางกอกซอฟแวร์ จํากัด
ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย วิชาชีววิทยา เรื่อง ระบบโครงร่างของร่างกาย คะแนนเต็ม 25 คะแนน

บทที่ 18 เรื่ อง ระบบโครงร่ างของร่ างกาย

คําสัง่ จงเลือกคําตอบที่ถูกต้องที่สุด

1. สัตว์กลุ่มที่อาศัยระบบนํ้าช่วยในการเคลื่อนที่ได้แก่

1. พารามีเซียม ไฮดรา หวีวนุ ้ 2. ยูกลีนา ฟองนํ้า พลานาเรี ย

3. แมงกะพรุ น ปลาดาว หอยสองฝา 4. ปลาหมึก ปลาฉลาม ปลาดาว

2. สัตว์พวกแรกทีมีการทํางานของระบบกล้ามเนื้อเป็ นแบบแอนทาโกนิซึมคือ

1. พลานาเรี ย 2. แมงกะพรุ น 3. ไส้เดือน 4. ตัก๊ แตน

3. จากภาพวาดที่กาํ หนดให้แสดงถึงโครงสร้างของ

1. เซนตริ โอล และซีเลีย

2. ซีเลีย และ แฟลกเจลลัม

3. แฟลกเจลลัมและเซนตริ โอล

4. ก ข และ ค

4. จะพบการเคลื่อนไหวแบบอะมีบาได้ในเซลล์ชนิดใด

1. ราเมือก พอลเลนทิวบ์ 2. ยีสต์ เม็ดเลือดขาว

3. ยูกลีนา วอร์ติเซลลา 4. แอนตามีบา แบคทีเรี ย


แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายบท
โครงการจัดการเรียนการสอนสําหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษทางด้านคณิ ตศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์
โดยความร่วมมือจากนักวิชาการจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ บริษทั บางกอกซอฟแวร์ จํากัด
ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย วิชาชีววิทยา เรื่อง ระบบโครงร่างของร่างกาย คะแนนเต็ม 25 คะแนน

5. การทํางานของกล้ามเนื้อแบบ antagonism พบได้ในสัตว์ชนิดใดบ้าง

ก. พลานาเรี ย ข. ไฮดรา ค. ดอกไม้ทะเล ง. ไส้เดือนดิน

1. ก ง 2. ค ง 3. ก ค ง 4. ก ข ค ง

6. ข้อความใดต่อไปนี้ถูกต้องเกี่ยวกับแผนภาพนี้

ก. เป็ นส่ วนของกล้ามเนื้อลาย ข. A คือเส้นใยแอกทิน

ค. B คือเส้นใยไมโอซิน ง. A และ B คือไมโครทิวบูล

1. เฉพาะข้อ ก. 2. เฉพาะข้อ ง

3. ข้อ ก และ ง 4. ข้อ ก ข และ ค

7. ขณะที่ยกจานข้าวขึ้นจากโต๊ะอาหาร กล้ามเนื้อไบเซปและไตรเซปทํางานอย่างไร

1. หดตัวทั้งคู่ 2. คลายตัวทั้งคู่

3. ไบเซปหดตัว ไตรเซปคลายตัว 4. ไบเซปคลายตัว ไตรเซปหดตัว


แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายบท
โครงการจัดการเรียนการสอนสําหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษทางด้านคณิ ตศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์
โดยความร่วมมือจากนักวิชาการจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ บริษทั บางกอกซอฟแวร์ จํากัด
ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย วิชาชีววิทยา เรื่อง ระบบโครงร่างของร่างกาย คะแนนเต็ม 25 คะแนน

8. การเคลื่อนไหวในข้อใดที่มีรูปแบบต่างไปจากภาพ

ก. การเคลื่อนที่ของดาวทะเล ข. การคืบคลานของพลานาเรี ย

ค. เพอริ สทัลซิสของลําไส้ ง. การเคลื่อนที่ของไฮดรา

1. ข้อ ก และ ค 2. ข้อ ก และ ง

3. ข้อ ข และ ค 4. ข้อ ข และ ง

9. กิจกรรมของเซลล์ในข้อใดใช้พลังงานจากกระบวนการหายใจ

ก. การหดตัวของกล้ามเนื้อ

ข. การนํากระแสประสาท

ค. การลําเสี ยงสารโดยวิธีการพิโนไซโทซิส

ง. การเคลื่อนที่ของโครโมโซมในระยะแบ่งเซลล์

1. ข้อ ก ข และ ค 2. ข้อ ก ค และ ง

3. ก ข และ ง 4. ก ข ค และ ง

10. การที่ร่างกายแบ่งเป็ นปล้องในสัตว์น่าจะมีประโยชน์ ในเรื่ องใด

1. ความหยืดหยุน่ ของร่ างกายในการเคลื่อนไหวและเคลื่อนที่

2. การยึดเกาะของอวัยวะช่วยในการเคลื่อนที่

3. ความยืดหยุน่ ของร่ างกายในการทํากิจกรรมต่างๆ เช่น การวางไข่ การผสมพันธุ์ ฯลฯ

4. การยึดเกาะของกล้ามเนื้อและอวัยวะภายในกับผนังลําตัว
แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายบท
โครงการจัดการเรียนการสอนสําหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษทางด้านคณิ ตศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์
โดยความร่วมมือจากนักวิชาการจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ บริษทั บางกอกซอฟแวร์ จํากัด
ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย วิชาชีววิทยา เรื่อง ระบบโครงร่างของร่างกาย คะแนนเต็ม 25 คะแนน

11. กล้ามเนื้ออกของไก่มีสีจาง ในขณะที่นกเป็ ดนํ้ามีสีเข้ม ข้อใดสอดคล้องกับข้อสังเกตดังกล่าว

1. ไก่ไม่มีความใกล้ชิดตามสายวิวฒั นาการของนกเป็ ดนํ้า

2. ไก่ไม่ใช้กล้ามเนื้ออกในขณะที่นกเป็ ดนํ้าใช้

3. ไก้บินไม่ไกลในขณะที่นกเป็ ดนํ้าบินได้ไกล

4. กล้ามเนื้ออกของสัตว์สองกลุ่มนี้โปรตีนที่แตกต่างกัน

12. โครงสร้างใดมีบทบาทสําคัญเกี่ยวกับ amoeboid movement และการทํางานของเซลล์กล้ามเนื้อ

1. myofibril 2. Microtubule 3. Microfilament 4. Microfiber

13. สารใดเป็ นแหล่งพลังงานที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของกล้ามเนื้อ

ก. acetylcholine ข. Creatinine

ค. glycogen ง. Adenosine monophosphate

1. ก ค 2. ก ง 3. ข ค 4. ข ง

14. สัตว์ในข้อใดที่มีโครงสร้างอย่างหนึ่งของร่ างกาย ทําหน้าที่ท้ งั ปกคลุมและเป็ นโครงให้กล้ามเนื้อยึด


เกาะ ( เอนทรานซ์ ต.ค. ปี 42 )

1. เต่าทะเล 2. จักจัน่ 3. ปลาหมึกกระดอง 4. ลิ่นทะเล

15. ไมโครฟิ ลาเมนต์เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ในข้อใด

ก. การเคื่อนที่ของอะมีบา ข. การแยกกันของโครโมโซมในไมโทซิส

ค. การเคลื่อนที่ของซีเลียและแฟลกเจลลัม ง. การไหลของไซโทพลาซึม

1. ก และ ข 2. ข และ ค 3. ค และ ง 4. ก และ ง


แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายบท
โครงการจัดการเรียนการสอนสําหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษทางด้านคณิ ตศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์
โดยความร่วมมือจากนักวิชาการจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ บริษทั บางกอกซอฟแวร์ จํากัด
ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย วิชาชีววิทยา เรื่อง ระบบโครงร่างของร่างกาย คะแนนเต็ม 25 คะแนน

16. เยือ่ ที่ติดเปลือก ( mantle ) และอวัยวะที่ใช้เคลื่อนที่ ( foot ) ของหอยแครงเทียบเท่ากับโครงสร้างใดของ


ปลาหมึก

1. ท่อนํ้า ครี บ 2. หนวด ลําตัว

3. ครี บ ท่อนํ้า 4. ลําตัว หนวด

17. นิวโรฟิ ลาเมนต์ ( neurofilament ) ของเซลล์ประสาท มีไซโตสเกลีตนั ( cycloskeleton ) พวกใดเป็ น


องค์ประกอบ

1. ไมโครฟิ ลาเมนต์ ( microfilament )

2. อินเทอร์มีเดียทฟิ ลาเมนต์ ( intermediate filament )

3. ไมโครทูบูล ( microtubule )

4. ไมโครฟิ ลาเมนต์และไมโครทูบูล

18. การทํางานของเซลล์กล้ามเนื้อและเซลล์ประสาท มีความเหมือนกันในข้อใด

ก. มีการลําเลียงสารแบบแอกทิฟทรานสปอร์ต ข. มีการลําเลียงไอออนเฉพาะอย่าง

ค. เกิดในอัตราเร็ วเท่ากัน

1. ก 2. ก ข 3. ก ค 4. ข ค
แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายบท
โครงการจัดการเรียนการสอนสําหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษทางด้านคณิ ตศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์
โดยความร่วมมือจากนักวิชาการจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ บริษทั บางกอกซอฟแวร์ จํากัด
ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย วิชาชีววิทยา เรื่อง ระบบโครงร่างของร่างกาย คะแนนเต็ม 25 คะแนน

19. คําอธิบายในข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับทํางานของกล้ามเนื้อที่เป็ นแอนตาโกนิซึมกัน

1. ค หรื อ จ คลายตัวมากกว่า ข 2. ก หดตัวน้อยกว่า ง หรื อ ฉ

3. ง ใช้พลังงานน้อยกว่า ฉ หรื อ จ 4. ก หรื อ ฉ ต้องใช้พลังงานมากกว่า ข หรื อ จ

20. ข้อใดอธิบายการทํางานของกล้ามเนื้อ A และ B ของขาแมลงได้อย่างถูกต้อง

1. A และ B หดตัว

2. A หดตัว B คลายตัว

3. A คลายตัว B หดตัว

4. A และ B คลายตัว
แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายบท
โครงการจัดการเรียนการสอนสําหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษทางด้านคณิ ตศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์
โดยความร่วมมือจากนักวิชาการจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ บริษทั บางกอกซอฟแวร์ จํากัด
ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย วิชาชีววิทยา เรื่อง ระบบโครงร่างของร่างกาย คะแนนเต็ม 25 คะแนน

21. การเคลื่อนไหวของไส้เดือนมีทิศทางแน่นอน ต่างกับพยาธิตวั กลมซึ่งได้แต่งอตัวไปมาเพราะ

1. ไส้เดือนมีขนแข็งๆสั้นๆ ช่วยยึดดิน

2. ไส้เดือนมีกล้ามเนื้อทั้งตามยาวและตามขวาง

3. ไส้เดือนมีอวัยวะรับความรู ้สึกเจริ ญดี

4. ไส้เดือนมีลาํ ตัวที่เปี ยกชื้นอยูเ่ สมอ

22. อากาศหมุนเวียนไปยังผิวอวัยวะ ที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนก๊าซของตัก๊ แตนตําข้าวได้อย่างไร

1. การเคลื่อนไหวส่ วนท้องเป็ นจังหวะ 2. การเคลื่อนไหวส่วนอกเป็ นจังหวะ

3. การขยับปี กและร่ างกายส่ วนอก 4. การเคลื่อนไหวขาคูห่ น้าตลอดเวลา

23. ถ้าต้องการสกัดสารไคทินจากผนังลําตัวหรื อผนังเซลล์ ควรเลือกใช้สิ่งมีชีวิตกลุ่มใด

1. จิ้งหรี ด ราขนมปั ง 2. ตะขาบ สาหร่ าย

3. ปลิงทะเล แบคทีเรี ย 4. แม่เพรี ยง ยีสต์


แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายบท
โครงการจัดการเรียนการสอนสําหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษทางด้านคณิ ตศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์
โดยความร่วมมือจากนักวิชาการจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ บริษทั บางกอกซอฟแวร์ จํากัด
ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย วิชาชีววิทยา เรื่อง ระบบโครงร่างของร่างกาย คะแนนเต็ม 25 คะแนน

24. ในขณะที่กล้ามเนื้อลายหดตัว ภาพที่เห็นในกล้องจุลทรรศน์ มีลกั ษณะเป็ นอย่างไร

ข้อ แถบสี เข้ม แถบสี จาง

1. มีขนาดแคบลง มีขนาดคงที่

2. มีขนาดคงที่ มีขนาดแคบลง

3. มีขนาดแคบลง มีขนาดแคบลง

4. หายไป มองเห็นอยู่

25. ข้อใดที่พบทั้งในกล้ามเนื้อโครงร่ าง กล้ามเนื้อหัวใจ และกล้ามเนื้อเรี ยบ

ก. มีแถบลายขวางขาวและดําสลับกัน

ข. มีฟิลาเมนต์หนาและบาง

ค. เซลล์มีรูปร่ างแหลมหัวแหลมท้าย

ง. เป็ นกล้ามเนื้ออินโวลันทารี ( involuntary muscle )

1. ก. 2. ข. 3. ก. และ ค 4. ข. และ ง.

You might also like