You are on page 1of 16

ระบบนิวเวศ (Ecosystem)

ระบบนิเวศ (Ecosystems) คือ ระบบรวมของกลุ่มสิ่งมีชีวิตที่มีความ


สัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม และสิ่งมีชีวิตด้วยกันเอง ระบบนิเวศมีความ
แตกต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะของสิ่งมีชีวิตและแหล่งที่อยู่อาศัยของ
สิ่งมีชีวิต เช่น ระบบนิเวศต้นไม้ ระบบนิเวศทุ่งหญ้า ระบบนิเวศทะเล
เป็ นต้น

สามารถแบ่งระบบนิเวศได้ 2 ประเภท คือ

1. ระบบนิเวศธรรมชาติ

1. ระบบนิเวศบนบก เป็ นระบบนิเวศที่มีแหล่งที่อยู่บนพื้นดินซึ่ง


แตกต่างกันไปโดยใช้ลักษณะเด่นของพื้นเป็ นหลัก เช่น
ระบบนิเวศป่ าไม้ ระบบนิเวศทุ่งหญ้า ระบบนิเวศทะเลทราย
เป็ นต้น

2. ระบบนิเวศในน้ำ เป็ นระบบนิเวศที่มีแหล่งที่อยู่ในน้ำ เช่น


ระบบนิเวศชายฝั่ง ระบบนิเวศน้ำตื้น ระบบนิเวศทะเลลึก

2. ระบบนิเวศที่มนุษย์สร้างขึ้น

1. ระบบนิเวศเมือง และอุตสาหกรรม เช่น ระบบนิเวศชุมชน


เมือง นิคมอุตสาหกรรม

2. ระบบนิเวศเกษตร เป็ นระบบนิเวศที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อ


เปลี่ยนแปลงระบบนิเวศทางธรรมชาติ เช่น แหล่ง
เกษตรกรรม ตู้ปลา อ่างเลี้ยงปลา
องค์ประกอบในระบบนิเวศ
ระบบนิเวศบนโลกถึงแม้จะมีความหลากหลาย แต่ก็มี
โครงสร้างที่คล้ายคลึงกันประกอบด้วย 2 ส่วน ดังนี้

1. องค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต

1. อินทรียสาร (Organic) คือ สารที่ประกอบด้วยคาร์บอนเป็ น


ส่วนใหญ่ มีความจำเป็ นต่อสิ่งมีชีวิต เช่น คาร์โบไฮเดรต
โปรตีน ไขมัน เป็ นต้น

2. อนินทรียสาร (Inorganic) คือ สารที่มีแร่ธาตุและสารอินทรีย์


เป็ นองค์ประกอบสำคัญในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต เช่น
คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ออกซิเจน (O2) น้ำ (H2O) และ
คาร์บอน (C) เป็ นต้น

3. สภาพแวดล้อมทางกายภาพ คือ สิ่งที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต เช่น


แสง อุณหภูมิ อากาศ ความชื้น ความเป็ นกรดเบส เป็ นต้น

2. องค์ประกอบที่มีชีวิต
1. ผู้ผลิต (Producer) คือ สิ่งมีชิวตที่สามารถสร้างอาหารได้เองโดย
การสังเคราะห์แสง ได้แก่ พืชสีเขียว สาหร่าย แพลงค์ตอนพืช
และแบคทรีเลียบางชนิด

2. ผู้บริโภค (Consumer) คือ สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารเอง


ได้ ต้องบริโภคสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เป็ นอาหาร แบ่งได้ 4 ประเภท
ได้แก่

 ผู้บริโภคที่กินพืช (herbivore) เช่น ช้าง ม้า วัว ควาย


กระต่าย

 ผู้บริโภคที่กินสัตว์ (carnivore) เช่น เสือ สิงโต จระเข้ งู


กบ

 ผุ้บริโภคที่กินทั้งพืชและสัตว์ (omnivore) เช่น คน ไก่


เป็ ด แมว หมา

 ผู้บริโภคที่กินซากพืชซากสัตว์ (detritivore) เช่น


ไส้เดือน กิ้งกือ ปลวก **แต่ถ้ากินซากสัตว์
การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ
อย่างเดียว เรียก scavenger เช่น แร้ง
สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกันในบริเวณใดบริเวณหนึ่ง มักมี
3. ผู้ย่อยสลาย (decomposer) คือ สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้าง
ความสัมพันธ์ในแง่อาหารโดยพืชจะเป็ นผู้ผลิต (producer) สัตว์เป็ น
อาหารเองได้ ทำหน้าที่ย่อยสลายซากอินทรีย์ของสิ่งมีชีวิต
ผู้บริโภค (consumer) สัตว์บางชนิดอาจกินสัตว์เป็ นอาหาร ซึ่งจาก
(ซากพืชซากสัตว์) ให้เป็ นสารอนินทรีย์ แล้วดูดซึมแร่ธาตุต่าง ๆ
กินกันเป็ นทอด ๆ การกินระหว่างสิ่งมีชีวิตสารถแบ่งได้ 2 ประเภท
เช่น เห็ด รา แบคทรีเรีย สิ่งมีชีวิตกลุ่มน้ำมีความสำคัญต่อระบบ
1. ห่วงโซ่อาหาร (food chain) คือ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งชีวิต
นิเวศมาก ทำให้วัฎจักรต่าง ๆ ในระบบนิเวศสมดุล
ชนิดต่าง ๆ ในลักษณะการถ่ายทอดพลังงานเป็ นลำดับผ่านการ
กินกันทีละขั้น โดยเริ่มจากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภคลำดับต่าง ๆ
พีระมิดของอาหาร (pyramid
of food) คือ การนำห่วงโซ่
อาหารมาเขียนในรูปแบบของ
พีระมิดโดยฐานล่างสุดแทนผู้
ผลิตซึ่งปริมาณผู้ผลิตต้องมี
มากที่สุด

2. สายใยอาหาร (food web) คือ ความสัมพันธ์ของห่วงโซ่อาหาร


หลาย ๆ ห่วงโซ่อาหารในระบบนิเวศมารวมกัน เป็ นการกินอาหาร
ที่ซับซ้อน ซึ่งผู้บริโภคหนึ่งตัวสามารถถูกกินจากผู้บริโภคที่อยู่
เหนือกว่าได้หลายตัว
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
สิ่งมีชีวิตชนิดต่าง ๆ ที่อาศัยอยู่ร่วมกันในระบบนิเวศล้วนมี
ความเกี่ยวข้องกันในลักษณะต่าง ๆ ทั้งด้านประโยชน์จากอีกฝ่ ายหนึ่ง
(+) เสียประโยชน์ให้อีกฝ่ ายหนึ่ง (-) หรือไม่ได้ไม่เสียประโยชน์ (0)
สามารถจำแนกความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตต่าง
รูปแบบ ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่ม ๆ ได้ดังนี้
ตัวอย่าง
มีชีวิต
ภาวะได้รับ ต่างฝ่ ายต่างได้ประโยชน์ - นกเอี้ยงกับควาย
ประโยชน์ร่วม จากการอยู่ร่วมกัน (+, +) และ - ปูซี่ชวนกับ
กัน สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้เมื่อ ดอกไม้ทะเล
(protocooperat แยกจากกัน (0, 0) - เพลี้ยกับมดดำ
ion) - ดอกไม้กับแมลง
ภาวะพึ่งพา ต่างฝ่ ายต่างได้ประโยชน์จาก - รากับสาหร่าย
(mutualism) การอยู่ร่วมกัน (+, +) แต่ไม่ - ปลวกกับโปรโต
สามารถแยกจากกันได้ (-, -) ซัวในลำไส้ของ
ปลวก
- ไลเคน
- แบคทีเรียไรโซ
เบียมในปมรากพืช
วงศ์ถั่ว
ภาวะเกื้อกูลอิง ฝ่ ายหนึ่งได้ประโยชน์ ส่วน - เหาฉลามกับปลา
อาศัย อีกฝ่ ายหนึ่งก็ไม่เสีย ฉลาม – กล้วยไม้
(commensalis ประโยชน์ (+, 0) แต่ถ้าแยก กับต้นไม้ใหญ่- -
m) จากกันฝ่ ายที่ได้ประโยชน์ก็ แมงดาทะเลกับ
จะเสียประโยชน์ (-, 0) หนอนตัวแบน
ภาวะปรสิต ฝ่ ายที่ได้รับประโยชน์หรือผู้ - กาฝากกับต้นไม้
(parasitism) อาศัย เรียกว่า ปรสิต - หนอนผีเสื้อกับ
(parasite) ฝ่ ายที่เสีย ต้นไม้
ประโยชน์ เรียกว่า ผู้ถูกอาศัย - พยาธิและเชื้อ
(host) โรคกับคน/สัตว์
ภาวะล่าเหยื่อ ฝ่ ายที่ได้ประโยชน์จากการ - นกกินปลา
การปรับตัวของสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตมีการปรับตัวเพื่อให้มีชีวิตรอด สามารถสืบพันธุ์ได้
จะต้องมีการปรับตัวให้เข้าเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมนั้น ๆ แบ่งออก
เป็ น 2 ลักษณะ

1. การปรับตัวชั่วคราว เพื่อหลบภัยและหาอาหารมักเป็ นการปรับตัว 2


ลักษณะ คือ

 ด้านรูปร่างสีสัน หรือโครงสร้างของร่างกาย เช่น กิ้งก่า จิ้งจก


ตุ๊กแก โดยปรับเปลี่ยนสีสันให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่อยู่
อาศัยเพื่อพลางตัวและล่าเหยื่อ

 ด้านพฤติกรรม เช่น กบจำศีลเพื่อหนีความร้อนของอากาศ

2. การปรับตัวถาวร เป็ นการเปลี่ยนแปลงภายในร่างกายที่เกิดจาก


ปัจจัยที่มีผลต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิต
การถ่ายทอดทางพฤติกรรม เพื่อความอยู่รอดและดำรงเผ่าพันธุ์
1. อากาศ
เช่น การพองของลำต้นผักตบชวาเพื่อเป็ นทุนลอยตัวบนน้ำ
 มีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิต
 แก๊สออกซิเจนใช้ในการหายใจของพืชและสัตว์
 แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง และมี
ผลต่อการเจริญเติบโตของพืช
2. แสงสว่าง
 เป็ นปัจจัยสำคัญของการสร้างอาหารของพืชด้วยการ
สังเคราะห์แสง
 มีผลต่อการเจริญเติบโตและสืบพันธุ์ของพืช
 เป็ นตัวกำหนดพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต เช่น การออกหากิน
ของสัตว์ในเวลากลางคืน
3. อุณหภูมิ
 นี่ผลต่อการขยายพันธุ์ของพืชและสัตว์
 มีผลต่อการอยู่อาศัย เช่น การอพยพย้ายถิ่น การจำศีล
 มีผลต่อการทำงานของพืช เช่น การคายน้ำของพืช การงอก
การร่วงของใบ
4. ดิน
 เป็ นที่ยึดเกาะของรากพืชเพื่อให้พืชยืนต้นได้
 มีแร่ธาตุอาหารต่าง ๆ ที่จำเป็ นต่อการเจริญเติบโต เช่น
ไนโตรเจน
5. น้ำ
 เป็ นองค์ประกอบสำคัญและมากที่สุดของสิ่งมีชีวิต
วัฏจักรสารในระบบนิเวศ
 เป็ นแหล่งที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิต และช่วยในการเจริญ
1. วัฏจักรของน้ำ
เติบโตของพืช
การหมุนเวียนของน้ำเกิดขึ้นตลอดเวลาระหว่างน้ำในแหล่ง
น้ำบนผิวโลกและบรรยากาศ เมื่อน้ำได้รับความร้อนจะระเหยกลายเป็ น
ไอส่งบรรยากาศแล้วเกิดเป็ นเมฆ ก่อนตกลงมาเป็ นฝน
2. วัฏจักรคาร์บอน

การหมุนเวียนคาร์บอน มีดังนี้

1) แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) จากกระบวนการหายใจของสิ่งมี


ชีวิต และจากการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงต่างๆจะถูกสะสมในชั้น
บรรยากาศ

2) พืชจะได้รับคาร์บอนจากอากาศในรูปคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)
ไปใช้ในการสังเคราะห์แสง (photosynthesis) เพื่อสร้างอาหาร
เมื่อสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ กินเข้าไปจะทำให้เกิดการถ่ายทอดคาร์บอนไป
ยังสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ที่กินพืช

3) เมื่อพืชและสัตว์ตายลงจะถูกผู้ย่อยสลายอินทรียสาร เปลี่ยน
สารประกอบอินทรีย์ (organic) ในร่างกายให้กลายเป็ นแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) กลับคืนสู่ชั้นบรรยากาศอีกครั้ง
3. วัฏจักรออกซิเจน

เมื่อสิ่งมีชีวิตหายใจจะมีการนำแก๊สออกซิเจน เข้าสู่
ร่างกายเพื่อนำไปใช้ในกระบวนการต่าง ๆ แล้วขับออกมาในรูปของ
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ออกสู่ชั้นบรรยากาศ
4. วัฏจักรไนโตรเจน

ไนโตรเจนเป็ นธาตุอาหารที่จำเป็ นในพืช การหมุนเวียนของ


ไนโตรเจนมีดังนี้

• พืชจะได้รับไนโตรเจนในรูปของไนเตรท (NO3-) และแอมโมเนีย

(NH3) จากดิน

• พืชตระกูลถั่วจะได้รับแก๊สไนโตรเจนจากอากาศ โดยมีแบคทีเรียที่
ปมรากถั่ว เช่น ไรโซเบียม นักจับไนโตรเจนในอากาศ
เข้าไปทางปมร่างของผู้ตระกูลถั่ว เรียกกระบวนการนี้ว่าการตรึง
ไนโตรเจน (nitrogen fixation)

• สัตว์ได้รับไนโตรเจนโดยการถ่ายทอดต่อ ๆ การตามสายใยอาหาร
ความหลากหลายทางชีวภาพ แบ่งได้ 3 หลักดับ

1. ความหลากหลายของระบบนิเวศ (ecosystem diversity) ที่มีความ


แตกต่างกันในแต่ละแห่ง

2. ความหลากหลายของชนิดสิ่งมีชีวิต (species diversity) ที่มีอยู่ใน


ระบบนิเวศต่าง ๆ

3. ความหลากหลายทางพันธุกรรม (genetic diversity) เป็ นความ


ประชากร
หลากหลายของหน่วยพันธุกรรมที่มีอยู่ในสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด
ประชากร (population) หมายถึง กลุ่มของสิ่งมีชีวิตชนิด
เดียวกันที่อาศัยอยู่ในบริเวณเดียวกันในช่วงเวลาเดียวกันซึ่งในแต่ละ
บริเวณจะมีจำนวนประชากรที่แตกต่างกัน

ขนาดของประชากร (population size) คือ จำนวน


ประชากรใน พื้นที่ หนึ่ง ซึ่งอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตลอดขึ้นอยู่กับ
ปัจจัยดังนี้

 การเกิด (natality) : จำนวนของประชากรที่เกิดใหม่ในระยะเวลา


หนึ่ง เมื่อเทียบกับที่มีอยู่เดิมทำให้ประชากรที่มีอยู่เดิมเพิ่มขึ้น

 การตาย (mortality) : จำนวนประชากรที่ตายไปในระยะเวลาหนึ่ง


ๆ เมื่อเทียบกับจำนวนประชากรที่มีอยู่เดิมทำให้ประชากรที่มีอยู่
ลดลง

 การอพยพเข้า (immigration) : การเคลื่อนย้ายประชากรเข้ามา


แบบ
ฝึ กหัด
1. ตู้เลี้ยงปลาจัดเป็ นระบบนิเวศหรือไม่อย่างไร

2. ห่วงโซ่อาหาร ประกอบด้วยผู้บริโภคกี่แบบ อะไรบ้าง

3. การเพิ่มขึ้นของประชากรมนุษย์ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
อย่างไร

4. วัฏจักรของสารต่างๆมีความสำคัญต่อระบบนิเวศอย่างไร

5. จงบอกปัจจัยที่มีผลต่อขนาดของประชากร
แบบฝึ กหัด

1. ข้อใดจัดเป็ นระบบนิเวศตามธรรมชาติ

ก. แหล่งเกษตรกรรม ข. ชุมชน
เมือง

ค. ตู้ปลา ง. สวน
หย่อมขนาดเล็ก

2. สิ่งมีชีวิตในข้อใดคือผู้บริโภคพืช

ก. กระต่าย
ข. เสื้อ

ค. นกเป็ ดน้ำ ง. แมว

3. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับปัจจัยที่ทำให้เกิดความหนาแน่นของ
ประชากร

ก. การเกิด
ข. การอพยพเข้า

ค. การลากิจ
ง. การตาย

4. ข้อใดคือปัญหาจากการเพิ่มจำนวนประชากร

ก. การขาดแคลนทรัพยากร ข. การขาดแคลนที่
อยู่อาศัย

ค. พื้นที่ทางการเกษตรลดลง ง. ถูกทุกข้อ
แบบฝึ กหัด

7. Nitrogen fixing bacteria คือแบคทีเรียในขั้นตอนไหนของ


วัฏจักรไนโตรเจน

ก. การสร้างแอมโมเนีย ข. การ
ตรึงไนโตรเจน

ค. การสร้างไนเตรท
ง. ถูกทุกข้อ

8. ขอไหนเป็ นความสัมพันธ์แบบภาวะพึ่งพากัน

ก. ตั๊กกะแตนกับทุ่งนา ข. เหา
ฉลามกับหูฉลาม

ค. ไลเคน
ง. นกเอี้ยงกับควาย

9. จากข้อความต่อไปนี้ “พืชสังเคราะห์แสงเพื่อสร้างอาหารและ
คน 1
เพื่อให้สิ่งมีชีวิตอื่นใดดำรงชีวิต” อะไรคือผู้บริโภคลำดับที่

ก. สิ่งมีชีวิตอื่น หญ้า นก ข. พืช

ค. อาหาร สาหร่าย ปลาง. พืช


และสิ่งมีชีวิตอื่น

10. จากสายใยอาหารนี่ถ้าปราโมทย์ไปในระบบนิเวศนี้สิ่งใดจะเกิด
ขึ้น

ก. คนอดอาหารตาย
แบบฝึ กหัด

12. กลุ่มสิ่งมีชีวิตได้ในระบบนิเวศที่ช่วยย่อยสลายสารคืนสู่
ธรรมชาติ

ก. เห็ดและแบคทีเรีย ข. สิงโต
และเสือ

ค. เหยี่ยวและกวาง ง. หญ้า
และวัว

13. “พืชใช้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในกระบวนการการสังเคราะห์
ด้วยแสงเพื่อสร้างอาหาร” เกี่ยวข้องกับวัฏจักรของสารในข้อใด

ก. วัฏจักรน้ำ
ข. วัฏจักรไนโตรเจน

ค. วัฏจักรออกซิเจน
ง. วัฏจักรคาร์บอน

14. ปัจจัยในข้อใดที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากร

ก. อัตราการเกิด การอพยพเข้า

ข. อัตราการตาย การอพยพออก

ค. อัตราการเกิด อัตราการตาย

ง. อัตราการเกิด อัตราการตาย การอพยพเข้า และการอพยพ


ออก

15. ระบบนิเวศประกอบด้วยอะไรบ้าง
แบบฝึ กหัด

16. จากปีระมิดพลังงานที่กำหนดให้ A B C D ควรเป็ นสิ่งมีชีวิตใด


ตามลำดับ
D
C
B
A

ก. ผู้ผลิต ผู้บริโภคฝื ด ผู้บริโภคสัตว์ ผู้ย่อยสลาย

ข. ผู้ผลิต ผู้บริโภคลำดับที่ 1 ผู้ย่อยสลาย ภูมิบริโภคลำดับ


สุดท้าย

ค. ผู้ผลิต ผู้บริโภคลำดับที่ 1 ผู้บริโภคน้ำหนักที่ 2 ผู้บริโภค


ลำดับสุดท้าย

ง. ผู้ผลิต ผู้บริโภคลำดับที่ 2 ผู้ย่อยสลาย ผู้บริโภคลำดับ


สุดท้าย

17. จากข้อ 16 D ควรเป็ นสิ่งมีชีวิตใด

ก. หญ้า ข. หนอน

ค. นก ง. งู

18. กลุ่มสิ่งมีชีวิตในข้อใดเป็ นผู้เปลี่ยนสารอินทรีย์ให้เป็ นสารอะนิ


นทรีย์

You might also like