You are on page 1of 64

1

โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

BIOLOGY

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


2
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


3
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


4
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


5
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


6
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


7
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


8
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

จากรูปหัวใจ
A. เลือดในหลอดเลือดหมายเลข 1 เป็นเลือดที่มี
ออกซิเจนมาก
B. หลอดเลือดหมายเลข 2 นำเลือดไปปอด
C. ลิ้นไตรคัสปิดเป็นลิ้นหัวใจที่กั้นระหว่างห้องหัวใจ
หมายเลข 3 และหมายเลข 4
D. หลอดเลือดหมายเลข 5 นำเลือดจากหัวใจและ
แขนเข้าสู่หัวใจ

ข้อใดถูก
1. A B และ C 2. A B และ D 3. A B C และ D 4. C และ D 5. B และ C

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


9
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


10
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


11
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


12
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


13
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


14
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


15
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


16
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


17
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


18
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


19
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

จากการตรวจวัดตัวอย่างน้ำ 4 แหล่ง ข้อใดน่าจะเป็นน้ำเสียจากโรงงานน้ำปลา


DO (mg/L) BOD (mg/L) Na+(mg/L) pH
1. 1 1 30 7
2. 7 7 10 6.4
3. 6 2 6000 8.6
4. 5 4 5000 7
5. 1 9 4000 6.5

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


20
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

CHEMISTRY
1. R X และ Z เป็ นสัญลักษณ์สมมติของธาตุ 3 ชนิด
R มีสัญลักษณ์นิวเคลียร์เป็ น 115R อะตอม X มี 10 อิเล็กตรอนและ 10 นิวตรอน
ส่วน Z มีเลขอะตอมมากกว่า X อยู่ 1 และมีนิวตรอนเป็ น 2 เท่าของ R
ข้อใดถูกต้อง
1. Z มีเลขมวล 22
2. R มี 11 นิวตรอน
3. X มีสัญลักษณ์นิวเคลียร์ 2010X
4. เลขมวลของ Z เท่ากับเลขอะตอมของ R
5. จานวนโปรตอนในอะตอมของ 3 ธาตุน้ ีรวมกันเท่ากับ 28

2. ซีเซียมมีเลขอะตอม 55 และเป็ นธาตุหมู่เดียวกันกับโซเดียม ซึ่งมีเลขอะตอม 11 พิจารณาข้อสรุ ปเกี่ยวกับ


ซีเซียม
ต่อไปนี้

ก. มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเป็น 2 8 18 18 8 1
ข. ทำปฏิกิริยากับน้ำได้รุนแรงกว่าโซเดียม
ค. มี 55 นิวตรอน

ข้อสรุ ปใดถูกต้อง
1. ก
2. ข
3. ค
4. ก และ ข
5. ข และ ค

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


21
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

3. ถ้าธาตุ D มีลกั ษณะเป็ นแผ่นมันวาว เมื่อตัดออกเป็ นชิ้นเล็ก ๆ แล้วแบ่งไปทดสอบเบื้องต้น ได้ผลดังนี้


การทดสอบ ผลการทดสอบ
1. การนาไฟฟ้า นาได้ดี
2. ปฏิกิริยากับน้ าร้อน ไม่เกิดปฏิกิริยา
3. ใช้คอ้ นทุบ ไม่แตกหัก
4. เผาในอากาศ ชิ้นตัวอย่างหมองลง

ข้อใดเป็ นการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนของธาตุ D ที่เป็ นไปได้


1. 2 1
2. 2 8 2
3. 2 8 3
4. 2 8 6
5. 2 8 18 7

4. กาหนดหมู่และคาบของธาตุ A D E และ X ดังนี้

ธาตุ A D E X
หมู่ VIA IA IIIA IVA
คาบ 2 3 3 6

การระบุสมบัติของธาตุในข้อใดถูกต้อง
1. ทุกธาตุนาไฟฟ้าได้
2. D มีความเป็ นโลหะมากกว่า E
3. X เป็ นธาตุก่ ึงโลหะ จึงนาไฟฟ้าได้นอ้ ย
4. อะตอม X มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนมากที่สุด ส่วนอะตอม A มีมวลน้อยที่สุด
5. A มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนจานวนมาก จึงมีแนวโน้มจะให้อิเล็กตรอนได้ง่ายเมื่อเกิดสารประกอบ

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


22
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

5. กาหนดเลขอะตอมของธาตุต่างๆดังนี้
ธาตุ L M R ออกซิเจน(O) ฟลูออรี น(F)
เลขอะตอม 16 19 31 8 9

เมื่อธาตุ 2 ชนิดสร้างพันธะกันแล้วทาให้แต่ละอะตอมหรื อไอออนของธาตุที่สร้างพันธะกันมีจานวน


อิเล็กตรอน
เหมือนแก๊สเฉื่อย ดังนั้น จานวนอิเล็กตรอนของแต่ละธาตุที่เกี่ยวข้องในการสร้างพันธะแล้วเกิดสารประกอบ 1
โมเลกุลหรื อ 1 หน่วยสู ตร และชนิดของพันธะในสารประกอบนั้นถูกต้อง

ธาตุที่สร้ างพันธะกัน จานวนอิเล็กตรอน(e) ชนิดของพันธะในสารประกอบ


ที่เกี่ยวข้องในการสร้ างพันธะ
1. L และ F L ใช้ 2e และ F ใช้ 2e โคเวเลนต์
2. M และ O M ให้ 2e และ O รับ 2e ไอออนิก
3. R และ F R ใช้ 3e และ F ใช้ 1e โคเวเลนต์
4. L และ M L รับ 2e และ M ให้ 1e ไอออนิก
5. O และ F O ใช้ 1e และ F ใช้ 1e โคเวเลนต์

6. พิจารณาข้อมูลบางส่วนของจานวนอนุภาคมูลฐานและเลขมวลของธาตุ L M และ Q ดังนี้

จากข้อมูล ข้อความใดต่อไปนี้ถกู ต้อง


1. M และ Q เป็ นไอโซโทปกัน
2. เลขอะตอมของธาตุ M เท่ากับ 12
3. สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ M คือ 22
12M

4. Q+ ไอออนมีจานวนอิเล็กตรอนเท่ากับนิวตรอน
5. L- ไอออนกับธาตุ M มีจานวนอิเล็กตรอนเท่ากัน

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


23
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

7. การระบุหมู่และคาบของธาตุที่มีเลขอะตอมต่อไปนี้ ข้อใดไม่ถูกต้อง
เลขอะตอม หมู่ คาบ
1. 11 IA 3
2. 10 VIIIA 3
3. 7 VA 2
4. 5 IIIA 2
5. 8 VIA 2

8. กาหนดตาแหน่งของธาตุ 7 ชนิด ในคาบที่ 1 - 4 ของตารางธาตุ ดังนี้

จากข้อมูล ข้อสรุ ปใดต่อไปนี้ถกู ต้อง


1. ธาตุ A B C และ E เป็ นธาตุโลหะ
2. ธาตุ F และ G มีสมบัติทางเคมีแตกต่างกัน
3. ธาตุ A C D และ G มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 3
4. ความเป็ นอโลหะของธาตุ G มากกว่า F
5. ความว่องไวในการเกิดปฏิกิริยาของธาตุกบั น้ าเรี ยงจากมากไปน้อย คือ B A C

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


24
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

9. กาหนดให้ X Y และ Z เป็ นสารบริ สุทธิ์ที่มีสมบัติดงั นี้


x เป็ นของแข็ง นาไฟฟ้าและนาความร้อนได้ดี
Y เป็ นของแข็ง ไม่นาไฟฟ้า ประกอบด้วยธาตุ 3 ชนิดสร้างพันธะกัน โดยมีธาตุชนิดหนึ่ง
อยูใ่ นหมู่ IA
Z เป็ นของเหลวที่ระเหยง่าย ประกอบด้วยธาตุ 3 ชนิดสร้างพันธะกัน

จากข้อมูล สูตรหรื อสัญลักษณ์เคมีของ X Y และ Z สอดคล้องกับสารในข้อใด

1.
2.
3.
4.
5. 10. ธาตุสมมติ A B C D E F G เป็ นธาตุ ที่ อ ยู่ ใ นคาบเดี ย วกั น ของตารางธาตุ
เรี ยงลาดับตั้งแต่หมู่ IA ถึงหมู่ VIIA ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (ปี การศึกษา 2558)
1. ความเป็ นโลหะของ A < B < C
2. ความว่องไวในการเกิดปฏิกิริยากับน้ าของ C < B < A
3. ความเป็ นอโลหะของ G < F < E < D
4. B มีจานวนระดับพลังงานของอิเล็กตรอนมากกว่า F
5. A มีจานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนมากกว่า G

11. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับธาตุที่เป็ นไอโซโทปกัน (ปี การศึกษา 2558)


1. เลขอะตอมเท่ากัน
2. จานวนโปรตอนเท่ากัน
3. ธาตุต่างชนิดกัน
4. เลขมวลต่างกัน
5. จานวนนิวตรอนต่างกัน

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


25
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

12. พิจารณาการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนในสถานะพื้นของธาตุต่อไปนี้ (เลขอะตอมแสดงในวงเล็บ)


B(5) P(15) S(16) Ar(18) Cr(24)
ข้อใดเปรี ยบเทียบจ้านวนอิเล็กตรอนเดี่ยวในอะตอมได้ถูกต้อง
1. Cr < B < P < S < Ar
2. Ar < P < B < S < Cr
3. Ar < Cr < S < B < P
4. B < Ar < P < Cr < S
5. Ar < B < S < P < Cr

13. พิจารณาข้อมูลจานวนอนุภาคมูลฐานและเลขมวลของธาตุ M X และ Y ดังนี้ (O-NET 62)


ธาตุ จานวนอนุภาคมูลฐาน เลขมวล
โปรตอน นิวตรอน อิเล็กตรอน
M 18 40
X 23 43
Y 18 15

จากข้อมูล ข้อสรุ ปใดต่อไปนี้ถกู ต้อง


1. สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ X คือ 4323X
2. ธาตุ M มีเลขอะตอมมากกว่าธาตุ Y 4 หน่วย
3. ธาตุ X มีจานวนนิวตรอนมากกว่าธาตุ M 1 อนุภาค
4. ธาตุ Y มีจานวนโปรตอนน้อยกว่าธาตุ X 10 อนุภาค
5. ธาตุ M มีจานวนอนุภาคในนิวเคลียสน้อยกว่าธาตุ X 2 อนุภาค
14. พิจารณาสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุสมมติต่อไปนี้
13 14 14 15 13
6A 6B 7C 7D 8E
ข้อใดถูก
1. B และ C เป็ นไอโซโทปกัน
2. C และ D มีจานวนนิวตรอนเท่ากัน
3. D และ E มีจานวนโปรตอนเท่ากัน
4. อะตอมของ A และ B มีจานวนอิเล็กตรอนเท่ากัน
5. C มีมวลอะตอมมากกว่า A เพราะ C มีจานวนนิวตรอนมากกว่า

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


26
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

15. ถ้าธาตุ A B C และ D มีสมบัติดงั ตาราง


A เป็ นของแข็ง ผิวเป็ นมัน วาว นาไฟฟ้าได้เล็กน้อย ไม่ทาปฏิกิริยากับน้ า แต่เกิดปฏิกิริยารุ นแรงกับ Cl2
ให้ผลิตภัณฑ์ที่ละลายน้ าได้เล็กน้อยและสารละลายที่ได้มีสมบัติเป็ นกรด
B เป็ นของแข็ง มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง นาไฟฟ้าได้ดี และทาปฏิกิริยากับน้ าอย่างรุ นแรง ให้
ผลิตภัณฑ์ที่มีสมบัติเป็ นเบส
C เป็ นของแข็ง มีผิวมันวาว นาไฟฟ้าได้ดี ไม่ทาปฏิกิริยากับน้ า แต่ทาปฏิกิริยากับกรดไนตริ ก ให้
สารละลายสี ฟ้าใส
D เป็ นของแข็ง มีลกั ษณะนิ่ม ไม่ทาปฏิกิริยากับน้ า แต่ทาปฏิกิริยากับออกซิเจนในอากาศ เกิดเป็ น
สารประกอบออกไซด์ที่ละลายน้ าแล้วสารละลายมีสมบัติเป็ นกรด
ธาตุใดเป็ นโลหะ
1. B เท่านั้น
2. A และ B เท่านั้น
3. B และ C เท่านั้น
4. C และ D
5. A B และ C

16. ธาตุ 82Pb เป็ นธาตุในหมู่เดียวกับ 6C อนุภาคใดต่อไปนี้มีจานวนอิเล็กตรอนชั้นในสุดและชั้นนอกสุด


เท่ากัน
1. Pb2- 2. Pb 3. Pb2+ 4. Pb4+

17. จากข้อมูลต่อไปนี้
ก. ธาตุ W แผ่รังสี แอลฟาเพื่อลดพลังงานส่วนเกินในนิวเคลียส
ข. ธาตุ X เกิดปฏิกิริยาเคมีกบั ธาตุ Y เกิดเป็ นสารประกอบ Z คายพลังงานความร้อน
ค. ธาตุ M ให้รังสี คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เพื่อลดพลังงานส่วนเกินในนิวเคลียส
ง. ธาตุ A รวมกับธาตุ B เกิดเป็ นสารละลาย AB คายพลังงานความร้อน
ข้อใดเป็ นธาตุกมั มันตรังสี
1. ข และ ก 2. ง และ ค 3. ง และ ข 4. ค และ ก

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


27
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

18. ข้อมูลธาตุ 4 ชนิด เป็ นดังนี้ (O-NET 62)


ธาตุ G มีการจัดเรี ยงอิเล็กตรอน 2 8 1 และมีจานวนอนุภาคในนิวเคลียส 23 อนุภาค
ธาตุ Q อยูใ่ นคาบเดียวกับธาตุ G แต่มีจานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนมากกว่าธาตุ G 5 อนุภาค
ธาตุ R มีสมบัติเหมือนธาตุ G แต่มีจานวนระดับพลังงานมากกว่าธาตุ G 1 ระดับพลังงาน
ธาตุ T มีจานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ Q แต่มีจานวนระดับพลังงานน้อยกว่าธาตุ Q 1 ระดับพลังงาน
จากข้อมูล ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง
1. ธาตุ Q มีความเป็ นโลหะมากกว่าธาตุ G
2. ธาตุ T มีความเป็ นอโลหะมากกว่าธาตุ Q
3. ธาตุ R มีเลขอะตอมมากกว่าธาตุ Q 5 หน่วย
4. ธาตุ G เกิดปฏิกิริยากับน้ าได้ว่องไวกว่าธาตุ R
5. ธาตุ T มีจานวนระดับพลังงานมากกว่าธาตุ R

19. น้ ามันดิบที่ได้จากการขุดเจาะ จะผ่านกระบวนการแยกสารเจือปนต่างๆ แล้วจึงนาส่วนที่เหลือไปแยกต่อใน


หอกลัน่
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. น้ ามันเบนซินมีจานวนอะตอมคาร์บอนมากกว่าน้ ามันก๊าด
ข. การกลัน่ ลาดับส่วนเป็ นวิธีการที่ใช้แยกสารในหอกลัน่ น้ ามันดิบ
ค. สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่แยกในหอกลัน่ เป็ นสารโคเวเลนต์เท่านั้น
ง. จุดเดือดของผลิตภัณฑ์จากการกลัน่ น้ ามันดิบ จะเพิ่มขึ้นตามความสูงของหอกลัน่
ข้อความใดถูกต้อง
1. ก และ ข
2. ข และ ค
3. ค และ ง
4. ก และ ค
5. ข และ ง

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


28
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

20. กาหนดให้ A B C และ D เป็ นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแยกแก๊สธรรมชาติหรื อจากการกลัน่ น้ ามันดิบที่


สามารถนาไปใช้ประโยชน์ ดังตาราง
ผลิตภัณฑ์ ประโยชน์
A เป็ นเชื้อเพลิงสาหรับหุงต้มและสาหรับเครื่ องยนต์ในรถยนต์บางชนิด
B เป็ นเชื้อเพลิงสาหรับเครื่ องบินไอพ่นและส่วนผสมในยาฆ่าแมลงและน้ ามันขัด
เงา
C เป็ นเชื้อเพลิงผลิตกระแสไฟฟ้าและใช้ในยานยนต์บางชนิด
D ใช้หล่อลื่นและสามารถป้องกันไม่ให้ฝนุ่ เข้าไปอยูใ่ นระหว่างผิวโลหะได้
ข้อใดแสดงผลิตภัณฑ์ A B C และ D ได้ถูกต้อง
A B C D

1 LPG น้ ามันก๊าด CNG จาระบี

2 CNG น้ ามันก๊าด น้ ามันเบนซิน น้ ามันหล่อลื่น

3 แก๊สโซฮอล์ น้ ามันเบนซิน น้ ามันก๊าด ยางมะตอย

4 LPG น้ ามันเบนซิน แก๊สโซฮอล์ น้ ามันเตา

5 CNG น้ ามันดีเซล LPG จาระบี

21. พิจารณากิจกรรมต่อไปนี้
ก. การเผาไหม้ของผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม
ข.การระเหยของตัวทาละลายที่เป็ นผลิตภัณฑ์จากการกลัน่ น้ ามันดิบที่ใช้ในอุตสาหกรรมเคมี
ค.การใช้พลังงานแสงอาทิตย์แทนพลังงานจากเชื้อเพลิงฟอสซิล
ง.การใช้แก๊สโซฮอล์ อี 85 เป็ นเชื้อเพลิงในเครื่ องยนต์แทนน้ ามันเบนซิน
กิจกรรมใดที่ส่งผลกระทบทาให้เกิดภาวะโลกร้อน
1. ก และ ง
2. ข และ ค
3. ก และ ค
4. ค และ ง
5. ข และ ง

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


29
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

22. ข้อมูลแสดงสถานะของผลิตภัณฑ์ทไี่ ด้จากกระบวนการกลัน่ ลาดับส่วนน้ ามันดิบในแต่ละชั้นของหอกลัน่


เป็ นดังนี้
ลาดับชั้นของหอกลัน่ จากบนลงล่าง สถานะของผลิตภัณฑ์
A แก๊ส
B ของเหลว
C ของเหลวข้นหนืด
D กึ่งเหลวกึ่งแข็งจนถึงของแข็ง
จากข้อมูล ข้อสรุ ปในข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. จุดเดือดของผลิตภัณฑ์จากหอกลัน่ ชั้น D ต่ากว่าชั้น B
2. จุดหลอมเหลวของผลิตภัณฑ์จากหอกลัน่ ชั้น C สูงกว่าชั้น A
3. จานวนคาร์บอนอะตอมของผลิตภัณฑ์จากหอกลัน่ ชั้น A มากกว่าชั้น B
4. อุณหภูมิของการควบแน่นของผลิตภัณฑ์จากหอกลัน่ ชั้น D มากกว่าชั้น A
5. การเผาไหม้สมบูรณ์ของผลิตภัณฑ์จากหอกลัน่ ชั้น A เกิดแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์และเขม่ามากกว่า
ชั้น C

23. ข้อมูลของพอลิเมอร์ 2 ชนิดแสดงดังตาราง


ชนิดของพอลิเมอร์ โครงสร้าง
A แบบกิ่ง
B แบบเส้น

ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. A มีความหนาแน่นมากกว่า B
2. B มีความเหนียวมากกว่า A
3. A มีจุดหลอมเหลวสูงกว่า B
4. B มีความยืดหยุน่ มากกว่า A
5. พลาสติกที่เป็ นผลิตภัณฑ์จากพอลิเมอร์ A และ B เป็ นพลาสติกเทอร์มอเซต

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


30
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

24. พิจารณาปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์ 2 ชนิด ดังภาพ

จากข้อมูล ข้อสรุ ปใดต่อไปนี้ไม่ถกู ต้อง


1. ปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์ชนิดที่ 2 เป็ นแบบเดิม
2. พอลิเมอร์ชนิดที่ 1 มีสมบัติทางเคมีแตกต่างจากมอนอเมอร์
3. พอลิเมอร์ชนิดที่ 1 มีมวลรวมเท่ากับมวลรวมของมอนอเมอร์
4. พอลิแซ็กคาไรด์เกิดจากปฏิกิริยาแบบเดียวกับการเกิดพอลิเมอร์ชนิดที่ 1
5. พอลิไวนิลคลอไรด์เกิดจากปฏิกิริยาแบบเดียวกับการเกิดพอลิเมอร์ชนิดที่ 2

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


31
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

25. จากการทดสอบพลาสติก 2 ชนิด เมื่อได้รับความร้อน พบว่า


พลาสติกชนิดที่ 1 ไม่อ่อนตัว เมื่อเพิ่มอุณหภูมิสูงขึ้นจะแตกและไหม้กลายเป็ นเถ้า
พลาสติกชนิดที่ 2 ติดไฟง่าย หลอม และอ่อนตัว
จากข้อมูล พลาสติกชนิดที่ 1 และ 2 ควรนามาผลิตเป็ นผลิตภัณฑ์ชนิดใด

ผลิตภัณฑ์จากพลาสติกชนิดที่ 1 ผลิตภัณฑ์จากพลาสติกชนิดที่ 2
1. ขวดแชมพู แผ่นฟิ ลม์ ห่ออาหาร
2. กล่องโฟมใส่อาหาร ขวดแชมพู
3. แผ่นฟิ ลม์ ห่ออาหาร ถ้วยเมลามีน
4. ถ้วยเมลามีน หูกระทะ
5. หูกระทะ กล่องโฟมใส่อาหาร

26. ผลการทดสอบสารอาหารในอาหาร 4 ชนิด เป็ นดังตาราง


ผลการทดสอบสารอาหารโดยวิธีต่างๆ
เติมสารละลาย เติมสารละลาย
อาหาร เติมสารละลาย เบเนดิกต์ คอปเปอร์ ซัลเฟต ถูหรื อหยด
ไอโอดีน และให้ ความร้ อน และสารละลาย บนกระดาษ
โซเดียมไฮดรอกไซด์
A สี น้ าเงิน ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่โปร่ งแสง
B ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง โปร่ งแสง
C ไม่เปลี่ยนแปลง ตะกอนสี แดงอิฐ ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่โปร่ งแสง
D ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง สี ม่วง โปร่ งแสง

ข้อใดระบุชนิดของอาหารทั้ง 4 ชนิดที่นามาทดสอบโดยถูกต้อง
A B C D
ข้าวกล้อง น่องไก่ น้ าเชื่อมจากข้าวโพด เนยเทียม
ข้าวกล้อง เนยเทียม น้ าเชื่อมจากข้าวโพด น่องไก่
น้ าเชื่อมจากข้าวโพด น่องไก่ ข้าวกล้อง เนยเทียม
น้ าเชื่อมจากข้าวโพด เนยเทียม ข้าวกล้อง น่องไก่

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


32
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

27. พิจารณาแผนภูมิแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริ มาณกรดไขมันอิม่ ตัวและกรดไขมันไม่อมิ่ ตัวที่เป็ น


ส่วนประกอบของงน้ ามัน A – F ดังนี้

ข้อสรุ ปใดไม่ถูกต้อง
1. น้ ามัน A มีกรดไขมันอิ่มตัวมากที่สุด
2. น้ ามัน D และ E ไม่เหมาะสาหรับทาอาหารประเภททอด
3. น้ ามัน B C และ F มีค่าร้อยละของกรดไขมันไม่อิ่มตัวเท่ากัน
4. น้ ามัน A – F แช่ในตูเ้ ย็น น้ ามันทุกชนิดไม่แข็งตัว ยกเว้นน้ ามัน A
5. การทาเนยเทียม น้ ามัน A ต้องเติมไฮโดรเจนมากกว่าน้ ามันชนิดอื่น

28. ข้อความเกี่ยวกับกรดนิวคลีอิกต่อไปนี้ ข้อใดไม่ถกู ต้อง


1. มี 2 ชนิด คือ DNA และ RNA
2. RNA มีหน้าที่หลักในการสังเคราะห์โปรตีน
3. หน่วยย่อยประกอบด้วยโมเลกุลน้ าตาล ไนโตรเจน-เบส และหมู่ฟอสเฟต
4. การตรวจสอบลายพิมพ์ DNA ของบุคคลจะใช้ส่วนใดส่วนหนึ่งของร่ างกายก็ได้
5. มีอยูใ่ นเซลล์ของสัตว์ช้ นั ต่าไปจนถึงเซลล์ของสัตว์ช้ นั สูง แต่ไม่มีในเซลล์ของพืช

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


33
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

29. ทดสอบสาร 4 ชนิด ด้วยสารละลาย 3 ชนิด ได้ผลการทดสอบดังตาราง

จากข้อมูล ข้อสรุ ปใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง


1. สาร A มีน้ าตาลซูโครสเป็ นองค์ประกอบ
2. สาร B เป็ นสารประเภทมอนอแซ็กคาไรด์
3. สาร C มีธาตุ C H O และ N เป็ นองค์ประกอบ
4. สาร D คือ น้ ามันที่มอี งค์ประกอบมาจากกรดไขมันอิม่ ตัวเท่านั้น
5. สาร A และ B ถูกย่อยด้วยเอนไซม์แล้วจะได้น้ าตาลโมเลกุลคู่เหมือนกัน

30. ข้อมูลแสดงจานวนหยดของสารละลายไอโอดีนที่ใช้ทาปฏิกิริยากับน้ ามัน 5 ชนิด ในปริ มาณเท่ากัน


จนกระทัง่ ไม่มกี ารฟองจากสี ของสารละลายไอโอดีน เป็ นดังนี้
ชนิดของน้ ามัน จานวนหยดของสารละลายไอโอดีน
A 15
B 32
C 25
D 19
E 45

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


34
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

จากข้อมูล ข้อความใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. น้ ามัน A มีจุดหลอมเหลวต่ากว่าน้ ามัน E
2. น้ ามัน C มีกรดไขมันไม่อิ่มตัวน้อยกว่าน้ ามัน D
3. น้ ามัน E เหม็นหืนช้ากว่าน้ ามัน C ที่อุณหภูมิสูง
4. น้ ามัน D มีโอกาสพบในน้ ามันพืชมากกว่าน้ ามัน B
5. น้ ามัน A มีโอกาสเป็ นของแข็งมากกว่าน้ ามัน B ที่อุณหภูมิห้อง
31. เมื่อร่ างกายย่อยอาหารต่อไปนี้จนสิ้นสุดจะได้รับสารอาหารตามข้อใด
2 แล็กโทส + 3 ซูโครส ย่อยสลายจนสิ้นสุด
1. 5 กลูโคส + 3 ซูโครส 2. 5 กลูโคส + 3 กาแล็กโทส
3. 2 กลูโคส + 3 ฟรักโทส + 2 กาแล็กโทส 4. 5 กลูโคส + 3 ฟรักโทส + 2 กาแล็กโทส

32. ธาตุ D E และ M อยูค่ าบที่ 3 ในตารางธาตุ เมื่อเกิดเป็ นสารประกอบ DE2 และ ME เขียนแผนภาพแสดงการ
เกิดพันธะ ได้ดงั นี้

จากข้อมูล สมบัติของธาตุและสารประกอบในข้อใดถูกต้อง
1. สารประกอบ ME เป็ นของแข็งที่นาไฟฟ้าและนาความร้อนได้ดี
2. ธาตุ E มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเคลือ่ นที่อย่างอิสระทาให้นาไฟฟ้าได้ดี
3. ธาตุ D สามารถสร้างพันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก และพันธะโลหะ
4. สารประกอบ DE2 มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดสูงกว่าสารประกอบ ME
5. ธาตุ E เมื่อเกิดเป็ นสารประกอบทั้งสองชนิดจะมีการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนเป็ น 2 8 8

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


35
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

33. ข้อมูลแสดงสมบัติบางประการของสาร 4 ชนิ ด เป็ นดังนี้


สาร จุดหลอมเหลว (°C) การละลายน้ าและการนาไฟฟ้า
ก 801 ละลายน้ าได้และสารละลายที่ได้นาไฟฟ้า
ข 660 ไม่ละลายน้ า แต่นาไฟฟ้า
ค 119 ไม่ละลายน้ า และไม่นาไฟฟ้า
ง 186 ละลายน้ าได้ แต่สารละลายที่ได้ไม่นาไฟฟ้า
จากข้อมูล สาร ก ข ค และ ง มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคเช่นเดียวกับสารในข้อใด
สาร ก สาร ข สาร ค สาร ง
1. NaCl C11H22O11 Al S8
2. NaCl Al S8 C11H22O11
3. Al NaCl S8 C11H22O11
4. C11H22O11 Al S8 NaCl
5. Al S8 C11H22O11 NaCl

34. พิจารณาสมการเคมีต่อไปนี้
2H2O2 (l) 2a + b
C3H8 (g) + 5b 3c + 4a
D + 8b 5c + 6a
2e Na2CO3 (s) + a + c
จากสมการเคมี สูตรเคมีของสารในข้อใดถูกต้อง
1. สาร a คือ O2
2. สาร b คือ H2
3. สาร c คือ CO2
4. สาร d คือ C5H10
5. สาร e คือ Na2C2O4

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


36
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

35. เมื่อนาโลหะทาปฏิกิริยากับสารละลายกรด ได้แก๊สไฮโดรเจน ดังสมการ


โลหะ + กรด เกลือ + แก๊สไฮโดรเจน
ถ้าทาการทดลองเพื่อหาอัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนโดยใช้โลหะ X และโลหะ Y ที่มีมวลเท่ากัน ทาปฏิกิริยา
กับสารละลายกรด A และสารละลายกรด B ที่อุณหภูมิ 80 °C โดยกาหนดว่าโลหะ Y ว่องไวต่อการเกิดปฏิกิริยา
มากกว่าโลหะ X และสารละลายกรด B ว่องไวต่อการเกิดปฏิกิริยามากกว่าสารละลายกรด A ได้ผลการทดลอง
ดังนี้
โลหะ สารละลายกรด อัตราการเกิด
การทดลอง แก๊ส
ที่ จานวน ความเข้
ม ข้ น (ร้ อ ยละโดย ไฮโดรเจน
ชนิด ขนาด ชนิด
(แผ่น) ปริ มาตร) (cm3/s)
1 X 1 cm × 5 cm 1 A 2 R1
2 X 1 cm × 5 cm 1 A 4 R2
3 X 0.5 cm × 1 cm 10 B 4 R3
4 Y 1 cm × 5 cm 1 B 2 R4
5 Y 0.5 cm × 1 cm 10 B 4 R5
จากผลการทดลอง การเปรี ยบเทียบอัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนในข้อใดถูกต้อง
1. R2 > R1 2. R3 > R1
3. R1 > R4 4. R5 > R3
5. R5 > R4

36. หิ น ปู น ท าปฏิ กิ ริ ย ากับ สารละลายกรดไฮโดรคลอริ ก เกิ ด แก๊ ส คาร์ บ อนไดออกไซด์ (CO2) สารละลาย
แคลเซียมคลอไรด์ และน้ า โดยข้อมูลที่ได้จากการทดลองเป็ นดังตาราง (ปี การศึกษา 2558)

ปริ มาตรแก๊ส CO2 (cm3) เวลา (วินาที)


1 22
2 54
3 120
4 230
5 450

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


37
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
1. เวลาที่ใช้ในการเกิดแก๊ส CO2 ทุก ๆ 1 cm3 มีค่าไม่เท่ากัน
2. อัตราการเกิดแก๊ส CO2 ในช่วง 2-3 cm3 มีค่ามากกว่าในช่วง 4-5 cm3
3. อัตราการเกิดแก๊ส CO2 ทุก ๆ 1 cm3 มีค่าเพิม่ ขึ้น
4. เวลาที่ใช้ในการเกิดแก๊ส CO2 ในช่วง 1-2 cm3 มีค่าน้อยกว่าในช่วง 2-3 cm3
5. อัตราการเกิดแก๊ส CO2 เฉลี่ยนเท่ากับ 0.011 cm3s-1
37. เมื่อนาเอทานอล (C5H5OH) 50 cm3 (ความหนาแน่น 0.8 g/cm3) ละลายน้ า 200 cm3 จะได้สารละลายที่มี
ความเข้มข้นเท่าใดในหน่วยร้อยละโดยมวลต่อปริ มาตร
1. 16 % โดยมวลต่อปริ มาตร 2. 16.67 % โดยมวลต่อปริ มาตร
3. 20 % โดยมวลต่อปริ มาตร 4. 31.25 % โดยมวลต่อปริ มาตร

38. นักเรี ยน 4 คน ทาการทดลองเตรี ยมสารละลายแมกนีเซียมซัลเฟต โดยมีวีการเตรี ยมสารละลายแตกต่างกัน


ดังนี้
นักเรี ยนคนที่ 1 นาแมกนีเซียมซัลเฟต จานวน 120 กรัม ใส่ลงในบีกเกอร์ขนาด 1,000 ลูกบาศก์เซนติเมตร และ
เติม
น้ าปริ มาตร 500 ลูกบาศก์เซนติเมตรใส่ลงในบีกเกอร์
นักเรี ยนคนที่ 2 นาสารละลายผสมระหว่างน้ ากับแมกนีเซียมซัลเฟต ซึ่งมีแมกนีเซียมซัลเฟตผสมอยูร่ ้อยละ 30
โดย
มวล มาจานวน 200 กรัม ละลายในน้ าที่อยูใ่ นบีกเกอร์ขนาด 500 ลูกบาศก์เซนติเมตร แล้วเติม
น้ าจน สารละลายมีปริ มาตร 250 ลูกบาศก์เซนติเมตร
นักเรี ยนคนที่ 3 นาสารละลายผสมระหว่างน้ ากับแมกนีเซียมซัลเฟต ซึ่งมีแมกนีเซียมซัลเฟตผสมอยูร่ ้อยละ 60
มิลลิลิตร ใส่ลงในบีกเกอร์ขนาด 250มิลลิลิตรแล้วเติมน้ าจนสารละลายมีปริ มาตร 100
มิลลิลิตร
นักเรี ยนคนที่ 4 นาสารละลายแมกนีเซียมซัลเฟตของนักเรี ยนคนที่ 2 จานวน 50 ลูกบาศก์เซนติเมตรผสมกับ
สารละลายแมกนีเซียมซัลเฟตของนักเรี ยนคนที่ 3จานวน 10 ลูกบาศก์เซนติเมตร

จากข้อมูล นักเรี ยนคนใดเตรี ยมสารละลายแมกนีเซียมซัลเฟตได้ความเข้มข้น น้อยที่สุด


1. นักเรี ยนคนที่ 1 2. นักเรี ยนคนที่ 2
3. นักเรี ยนคนที่ 3 4. นักเรี ยนคนที่ 4

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


38
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

39. แก๊สคาร์ บอนมอนอกไซด์ซ่ ึ งเป็ นแก๊สอันตราย พบได้มากในบริ เวณใด


1. บริ เวณที่มีการก่อสร้าง
2. บริ เวณที่มีแหล่งน้ าเน่าเสี ย
3. บริ เวณที่มีการจราจรคับคัง่
4. บริ เวณที่มีการฝังกลบของเสี ย

40. จัดชุดการทดลอง ดังภาพ และทาการทดลองที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซี ยส

การเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้ คือ เกิดฟองแก๊สไม่มีสีไปแทนที่น้ าในกระบอกตวง และเมื่อเวลาผ่านไปฟอง


แก๊สจะเกิดช้าลง จนฟองแก๊สเต็มกระบอกตวง และขณะเกิดฟองแก๊ส พบว่า ขวดรู ปชมพู่ร้อนขึ้น

จากข้อมูล ข้อสรุ ปใดต่อไปนี้ถกู ต้อง


1. ปฏิกิริยานี้เป็ นปฏิกิริยาดูดความร้อนเนื่องจากระบบร้อนขึ้น
2. สารละลาย X มีสมบัติในการเปลี่ยนสี กระดาษลิตมัสสี แดงเท่านั้น
3. ถ้านาชิ้นสังกะสี มาพับให้เป็ นก้อนแน่น ๆ จะทาให้ฟองแก๊สเกิดได้เร็วขึ้น และมีปริ มาณมากขึ้น
4. มวลแก๊สที่เกิดขึ้นทั้งหมดในกระบอกตวงน้อยกว่ามวลของสารละลาย X และสังกะสี ที่
ทาปฏิกิริยากัน

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


39
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

PHYSICS
1. (O-NET ม.3) วัตถุกำลังเคลื่อนที่ไปทางขวาบนพื้นโดยการลากด้วยแรง F ขณะที่วัตถุเคลื่อนที่เกิดแรงเสียด
ทาน f กระทำต่อวัตถุตลอดเวลา ดังภาพ

แรงเสียดทานที่เกิดขึ้นเป็นแรงเสียดทานประเภทใด และการกระทำใดที่ทำให้เกิดแรงเสียดทานมีค่าเพิ่มขึ้น
ตามลำดับ
1. แรงเสียดทานสถิต เพิ่มมวลของวัตถุ
2. แรงเสียดทานสถิต เพิ่มพื้นที่ผิวสัมผัสของวัตถุ
3. แรงเสียดทานจลน์ เพิ่มมวลของวัตถุ
4. แรงเสียดทานจลน์ เพิ่มพื้นที่ผิวสัมผัสของวัตถุ

2. (O-NET ม.3) พิจารณาการเบรกอย่างกะทันหันของรถยนต์คันหนึ่ง ซึง่ ล้อจะไถลบนพื้นและไม่หมุน โดย


เปรียบเทียบขณะแล่นบนถนนเดียวกัน อัตราเร็วก่อนเบรกเท่ากัน แรงในการเบรกเท่ากัน แต่สภาพของพื้น
ถนนต่างกัน คือ พื้นเปียกและพื้นแห้ง
จากข้อมูล การเบรกบนถนนแบบใด ที่รถจะไถลได้ระยะทางสัน้ กว่า และแรงเสียดทานระหว่างล้อกับพื้นถนน
ที่เกิดขึ้นขณะเบรกเป็นแรงเสียดทานประเภทใด

สภาพของพื้นถนน แรงเสียดทานระหว่างล้อกับพื้นถนน

1. พื้นแห้ง แรงเสียดทานจลน์

2. พื้นแห้ง แรงเสียดทานสถิต

3. พื้นเปียก แรงเสียดทานจลน์

4. พื้นเปียก แรงเสียดทานสถิต

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


40
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

3. วัตถุมวล 15 กิโลกรัม วางนิ่งบนพืน้ ราบ ถ้าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิตระหว่างพื้นกับวัตถุมีค่า 0.3 และ


สัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลน์มีค่า 0.2 จะต้องออกแรงฉุดเท่าใดวัตถุจึงจะเริ่มเคลื่อนที่
1. 4.5 N
2. 45 N
3. 5.0 N
4. 50 N

แรง มวล และการเคลื่อนที่


4.

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


41
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

5.

6.

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


42
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

7. จากรูป จงหาแรงลัพธ์
12 N

10 N

4√2
1. 2N N
2. 6N
3. 10 N
4. 14 N

8. มวล 10 และ 15 กิโลกรัม วางบนพื้นฝืด ต่อกันด้วยเชือกเบา ออกแรง 300 นิวตัน ดึงในแนวราบทำ ให้ระบบมี
ความเร่งคงที่ สัมประสิทธิ์ของความเสียดทานจลน์มีค่า 0.5 จงหาความเร่งของระบบ

1. 7 เมตร/วินาที2 2. 5 เมตร/วินาที2
3. 3 เมตร/วินาที2 4. 1 เมตร/วินาที2

9. วัตถุวางอยู่บนพื้นลื่น ดังรูปข้างล่าง แรง F มีค่าเท่าใด

3 kg T = 18 N 2 kg
F=?

1. 20 N
2. 30 N
3. 40 N
4. 50 N

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


43
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

10. ออกแรง 22 นิวตัน และ 2 นิวตัน ดึงวัตถุมวล 5 กิโลกรัมให้เคลื่อนที่บนพื้นราบที่มีค่าสัมประสิทธิ์ความเสียด


ทานระหว่างพื้นกับวัตถุเท่ากับ 0.2 โดยให้แรงทั้ง 2 มีทิศตรงข้ามกัน ดังรูป วัตถุจะเคลื่อนที่ด้วยความเร่งเท่าใด
a=?
22 N
2N
5 kg
f

1. 1 เมตร/วินาที2
2. 2 เมตร/วินาที2
3. 3 เมตร/วินาที2
4. 4 เมตร/วินาที2

11. สตาร์ลอร์ด ชั่งน้ำหนักบนโลกได้ 650 นิวตัน ถ้าสตาร์ลอร์ดไปอยู่ที่บนดาวซานดาร์ซึ่งมีค่าสนามความโน้มถ่วง 2


m/s2สตาร์ลอร์ดจะมีน้ำหนักเท่าใดบนดาวซานดาร์
1. 65 N
2. 130 N
3. 650 N
4. 1300 N
12. วัตถุเคลื่อนที่เป็นรูปครึ่งวงกลมจาก A ไป B มีรัศมีความโค้ง 14 เมตร และ B ไป C มีรัศมีความโค้ง 7 เมตร
จากนั้นเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงจาก C ไป D เป็นระยะ 10 เมตร จงหาระยะทางและการกระจัดของวัตถุ

A 14 m B 7m
C D

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


44
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

13. (O-NETม.6 ปี 61) วัตถุหนึ่งกำลังเคลื่อนที่เป็นแนวตรงบนพื้นราบ ที่เวลา t=10 วินาที และ t=30 วินาที วัตถุ
มีอัตราเร็วเท่ากับ 10 เมตรต่อวินาที และ 24 เมตรต่อวินาที ตามลำดับ ดังภาพ

ขนาดของความเร่งเฉลี่ยในช่วงเวลา t=10 วินาที ถึง t=30 วินาที มีค่าเท่าใด


1. 0.70 เมตรต่อวินาที2
2. 0.80 เมตรต่อวินาที2
3. 0.85 เมตรต่อวินาที2
4. 0.90 เมตรต่อวินาที2
5. 1.70 เมตรต่อวินาที2

14. (O-NETม.6 ปี 62) วัตถุชิ้นหนึ่งเคลื่อนที่เป็นแนวตรงด้วยอัตราเร็ว ณ เวลาต่างๆ เป็นดังกราฟ

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


45
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

ในช่วงเวลา 0 วินาที ถึง 5 วินาที วัตถุเคลื่อนที่ได้ระยะเท่าใด และช่วงเวลาเท่าใดที่ความเร่งมีทิศทางตรง


ข้ามกับทิศทางการเคลื่อนที่
ระยะทาง (m) ช่วงเวลาที่ความเร่งมีทิศตรงข้ามกับการเคลื่อนที่

1. 0.4 0 วินาที ถึง 5 วินาที

2. 0.4 5 วินาที ถึง 10 วินาที

3. 0.4 10 วินาที ถึง 15 วินาที

4. 10 5 วินาที ถึง 10 วินาที

5. 10 10 วินาที ถึง 15 วินาที

15. กราฟต่อไปนี้ป็นการแสดงการเปลี่ยนแปลงความเร็วตามเวลาของวัตถุหนึ่ง

ข้อใดอธิบายเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุนี้ไม่ถูกต้อง
1. มีการเปลี่ยนแปลงทิศการคลื่อนที่ในช่วงวินาทีที่ 4-8
2. ความเร่งในช่วงวินาทีที่ 0-2 คือ 3 m/s2
3. ในวินาทีที่ 6 วัตถุอยู่ไกลจากจุดเริ่มต้นมากที่สุด
4. การกระจัดในช่วงวินาทีที่ 0-8 คือ 32 เมตร
16. รถยนต์แล่นด้วยอัตราเร็วเฉลี่ย 80 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จากเมือง ก ไปยังเมือง ข ที่อยู่ห่างกัน 200 กิโลเมตร
ถ้าออกเดินทางเวลา 08.00 น. จะถึงปลายทางเวลาเท่าใด
1. 09.30 น.
2. 09.50 น.
3. 10.30 น.
4. 10.50 น.

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


46
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

17. วัตถุ A และ B ออกจากจุดเริ่มต้นพร้อมกัน แต่จุดเริ่มต้นของ A อยู่หลัง B และวัตถุทั้งสองมีความเร่ง 4


เมตร/วินาที2 และ 2 เมตร/วินาที 2 ตามลำดับ ปรากฏว่าวัตถุทั้งสองทันกัน เมื่อวัตถุ Bเคลื่อนที่ได้ระยะทาง 100
เมตร จงหาว่าจุดเริ่มต้นของวัตถุทั้งสองอยู่ห่างกันกี่เมตร
1. 50 m
2. 100 m
3. 150 m
4. 200 m
18. ชายคนหนึ่งโยนเหรียญขึ้นไปในแนวดิง่ ด้วยความเร็วต้น 20 เมตร/วินาที เป็นเวลาเท่าใดเหรียญจึงจะตกลง
มาถึงตำแหน่งเริ่มต้น
1. 2 s
2. 3 s
3. 4 s
4. 5 s
19. เมื่อลากแถบกระดาษผ่านเครื่องเคาะสัญญาณเวลาที่เคาะด้วยความถี่ 50 เฮิรตซ์ ปรากฏจุดบนแถบกระดาษ
เป็นดังรูป จงหาอัตราเร็วเฉลี่ยระหว่างจุด A และ จุด B

5 cm

1. 0.2 m/s
2. 0.5 m/s
3. 1.0 m/s
4. 1.5 m/s
20. เมื่อลากแถบกระดาษผ่านเครื่องเคาะสัญญาณเวลาที่เคาะด้วยความถี่ 50 เฮิรตซ์ ปรากฏจุดบนแถบกระดาษ
เป็นดังรูป จงหาความเร่งที่ตำแหน่ง C

1. 5.00 m/s2 2. 6.25 m/s2


3. 7.50 m/s2 4. 8.33 m/s2

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


47
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

21. (O-NET51) กราฟของความเร็ว v กับเวลา t ข้อใดสอดคล้องกับการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ถูกโยนขึ้นไปใน


แนวดิ่ง
1. 2.

3. 4.

22. ลูกบอลชนิดเดียวกัน 2 ลูก A และ B อยู่สูงจากพื้นเท่ากัน ลูกบอล A ถูกปล่อยให้ตกลงในแนวดิ่ง และลูก


บอล B ถูกดีดออกไปในแนวราบพร้อมกัน จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้แล้วเลือกข้อที่ถูกที่สุด
ก. ลูกบอล A ตกถึงพื้นก่อน B
ข. ลูกบอล B ไม่มีการเปลี่ยนแปลงความเร็วในแนวราบ
ค. ความเร็วของลูกบอล A และ B ขณะที่ตกถึงพื้นมีค่าเท่ากัน
ง. ลูกบอล A และ B มีการเปลี่ยนแปลงความเร็วในแนวดิ่งเท่ากัน
ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อ ข. และ ง. ถูก 2. ข้อ ค. และ ง. ถูก
3. ข้อ ก. ข. และ ค. ถูก 4. ข้อ ก. ข. และ ง. ถูก

23. ก้อนหินถูกขว้างออกจากหน้าผาในแนวระดับด้วยความเร็ว 10 เมตรต่อวินาที ก้อนหินตกถึงพื้นดินในเวลา 8


วินาที หน้าผาสูงเท่าใด
1. 80 m
2. 160 m
3. 256 m
4. 320 m

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


48
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

24. ลูกระเบิดถูกปล่อยจากเครื่องบิน ซึ่งบินอยู่ในแนวระดับด้วยความเร็ว 75 เมตร/วินาที และอยู่สูงจากพื้น


2,000 เมตร จงหาว่าระเบิดจะตกถึงพื้นในตำแหน่งที่ห่างจากจุดที่ทิ้งระเบิดตามแนวระดับกี่เมตร

SX

1. 1,000 m
2. 1,500 m
3. 2,000 m
4. 4,000 m

แรงพยุง
25. วัตถุ 3 ชนิด มีปริมาตรเท่ากัน ลอยอยู่ในน้ำ ดังรูป ข้อใดไม่ถูกต้อง

1. วัตถุ ก มีความหนาแน่นน้อยกว่าน้ำ 2. วัตถุ ค มีน้ำหนักมากกว่าวัตถุ ข


3. วัตถุ ก มีมวลมากกว่าวัตถุ ค 4. วัตถุ ค มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำ

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


49
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

26.

27.

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


50
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

28.

29.

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


51
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

30. ใช้เครื่องชั่งสปริงชั่งน้ำหนักของวัตถุชิ้นหนึง่ เมื่อชั่งในอากาศได้น้ำหนัก 14 นิวตัน ชั่งในของเหลวได้ 8 นิวตัน

กำหนดให้ ความหนาแน่นของของเหลวเท่ากับ 2x103 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร


วัตถุนี้มีปริมาตรเท่าใด
1. 3 x 10-4 ลูกบาศก์เมตร
2. 4 x 10-4 ลูกบาศก์เมตร
3. 3 x 104 ลูกบาศก์เมตร
4. 4 x 104 ลูกบาศก์เมตร
พลังงานความร้อน
31. จากการเดินทางไปทัศนศึกษา เมื่อถึงจังหวัดเชียงใหม่วัดอุณหภูมิได้ 15 องศาเซลเซียส วันรุ่งขึ้นเดินทางไป
จังหวัดเชียงราย วัดอุณหภูมิได้ 50 ฮงศาฟาเรนไฮต์ ทั้งสองจังหวัดมีอุณหภูมิต่างกันเท่าใด
1. เชียงใหม่อุณหภูมิสูงกว่าเชียงราย 5 องศาเซลเซียส
2. เชียงใหม่อุณหภูมิต่ำกว่าเชียงราย 45 องศาเซลเซียส
3. เชียงรายอุณหภูมิต่ำกว่าเชียงใหม่ 45 องศาเซลเซียส
4. เชียงใหม่และเชียงรายมีอุณหภูมิเท่ากัน

32. ช้อนเงินมีมวล 60 กรัม อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส นำไปแช่ในน้ำร้อนจนมีอุณหภูมิเป็น 50 องศา


เซลเซียส ช้อนเงินได้รับความร้อนจากน้ำร้อนเท่าไร (ความจุความร้อนจำเพาะของเงิน = 0.05 แคลอรี/กรัม·
องศาเซลเซียส)
1. 75 แคลอรี
2. 105 แคลอรี
3. 125 แคลอรี
4. 150 แคลอรี
คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6
52
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

33. กราฟข้อใดที่แสดงการเปลี่ยนแปลงของน้ำ จากไอน้ำกลายเป็นน้ำแข็ง


อุณหภูมิ อุณหภูมิ
1. A
2. A

B C
0 0 เวลา
เวลา B

3. อุณหภูมิ 4. อุณหภูมิ

A B A B

D 0
0 เวลา เวลา
C C

34. ถ้าน้ำแข็งมวล 1 กรัม หลอมเหลวกลายเป็นน้ำใช้ปริมาณความร้อน 80 แคลอรี แล้วน้ำมวล 1 กรัม เย็นลงจน


กลายเป็นน้ำแข็งจะต้องดูดหรือคายความร้อนเท่าใด
1. ดูดความร้อน 80 แคลอรี
2. ดูดความร้อน 160 แคลอรี
3. คายความร้อน 80 แคลอรี
4. คายความร้อน 160 แคลอรี

35. ปริมาณความร้อนที่ทำให้น้ำแข็ง 60 กรัม อุณหภูมิ -4 องศาเซลเซียส เปลี่ยนเป็น 20 องศาเซลเซียส มีค่ากี่


แคลอรี
1. 160 แคลอรี
2. 800 แคลอรี
3. 4,800 แคลอรี
4. 6,120 แคลอรี

36. พลังงานความร้อน 925 แคลอรี สามารถทำให้น้ำแข็งอุณหภูมิ -10 องศาเซลเซียส กลายเป็นน้ำเดือด 100


องศาเซลเซียส ได้กี่กรัม
1. 5 กรัม
2. 10 กรัม
3. 15 กรัม
4. 20 กรัม

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


53
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

37. จากข้อความต่อไปนี้ ให้นักเรียนพิจารณาว่า เป็นการถ่ายโอนความร้อนโดยวิธีใด 1) ความร้อนจากเตาไฟมาถึง


ตัวปลาขณะกำลังปิ้ง 2) ความร้อนจากเตาไฟมาถึงมือที่จับตะแกรงขณะกำลังปิ้ง 3) ความร้อนจากเตาไฟมายังหน้า
คนปิ้งปลา
1. 1) คือ การนำความร้อน 2) คือ การพาความร้อน 3) คือ การแผ่รังสีความร้อน
2. 1) คือ การพาความร้อน 2) คือ การนำความร้อน 3) คือ การแผ่รังสีความร้อน
3. 1) คือ การแผ่รังสีความร้อน 2) คือ การนำความร้อน 3) คือ การพาความร้อน
4. 1) คือ การแผ่รังสีความร้อน 2) คือ การพาความร้อน 3) คือ การนำความร้อน

38. เมื่อใช้น้ำร้อนมวล 100 กรัม อุณหภูมิ 90 องศาเซลเซียส มาผสมกับน้ำเย็นมวล 200 กรัม อุณหภูมิ 15 องศา
เซลเซียส อุณหภูมิผสมของน้ำเป็นเท่าใด
1. 10 องศาเซลเซียส
2. 20 องศาเซลเซียส
3. 30 องศาเซลเซียส
4. 40 องศาเซลเซียส

39. ใส่ก้อนอลูมิเนียมมวล 20 กรัม อุณหภูมิ 210 องศาเซลเซียส ลงในน้ำเย็นมวล 200 กรัม อุณหภูมิ 0 องศา
เซลเซียส เมื่อถึงสมดุลความร้อน อุณหภูมิของสารทั้งสองจะเป็นเท่าใด (กำหนดให้ ค่าความจุความร้อน
จำเพาะของอลูมิเนียมเท่ากับ 0.5 แคลอรี/กรัม·องศาเซลเซียส)
1. 10 องศาเซลเซียส
2. 40 องศาเซลเซียส
3. 60 องศาเซลเซียส
4. 100 องศาเซลเซียส

งาน กำลัง พลังงานกล เครื่องกล


40. ข้อใด ไม่เกิดงาน ตามหลักวิทยาศาสตร์
1. ออกแรงดันเก้าอี้ให้ไถลไปตามพื้นห้อง
2. แบกกระสอบข้าวเดินไปตามทางราบจนถึงโรงอาหาร
3. ลากวัตถุให้เคลื่อนที่ไปตามพื้นราบโดยทิศของแรงลากทำมุม 15° กับพื้น
4. ฉุดรถยนต์ขึ้นจากหล่มมาบนพื้นดินที่ราบเรียบ
41. ชายคนหนึ่ง ออกแรง 100 นิวตัน ผลักตู้เสื้อผ้าแต่ตู้เสื้อผ้าไม่มีการขยับเขยื้อน ชายคนนี้ทำงานได้กี่จูล
1. 0 จูล 2. 10 จูล
3. 100 จูล 4. 1,000 จูล

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


54
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

42. ชายคนหนึ่งแบกข้าวสารหนัก 100 กิโลกรัม ไว้บนบ่าเดินไปตามพื้นราบเป็น ระยะทาง 10 เมตร แล้วจึงขึ้น


บันไดด้วยความเร็วคงที่ไปชั้นบนซึ่งสูงจากพื้นล่าง 3 เมตร จงหางานที่ชายผู้นั้นทำ
1. 10,000 จูล
2. 13,000 จูล
3. 3,000 จูล
4. 1,300 จูล

43. ปั้นจั่นยกของมวล 1,200 กิโลกรัม ขึ้นสูง 5 เมตร ในเวลา 10 วินาที จงหากําลังของปั้นจั่นในการยกของนี้


1. 4,000 วัตต์
2. 5,000 วัตต์
3. 6,000 วัตต์
4. 7,000 วัตต์

44. เครื่องยนต์เรือลำหนึ่งใช้แรง 3,000 นิวตัน สามารถทำให้เรือแล่นได้ด้วยอัตราเร็วคงตัว 6 เมตรต่อวินาที จง


หากำลังของเรือนี้เป็นกี่กิโลวัตต์
1. 3 กิโลวัตต์
2. 5 กิโลวัตต์
3. 15 กิโลวัตต์
4. 18 กิโลวัตต์

45. พื้นเอียงอันหนึ่งยาว 10 เมตร สูง 2 เมตร ถ้าต้องการลากวัตถุมวล 300 นิวตัน ขึ้นไปตามพื้นเอียงจะต้องออก


แรงพยายามเท่าไร
1. 40 นิวตัน
2. 50 นิวตัน
3. 60 นิวตัน
4. 70 นิวตัน

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


55
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

46. คานยาว 2 เมตรมีน้ำหนักถ่วงที่ปลายทั้ง 2 ข้างดังรูป จะต้องใช้น้ำหนักถ่วงที่จุด Y ซึ่งอยู่จากจุดหมุน


1 เมตรเท่าใด จึงจะทำให้คานสมดุล
0.5 ม. 0.5 ม.

50 kg 50 kg Y
กก.
1. 25 กิโลกรัม
2. 50 กิโลกรัม
3. 75 กิโลกรัม
4. 100 กิโลกรัม
47. คานเบาอันหนึ่งยาว 9 เมตร ที่ปลายทั้งสองข้างมีน้ำหนัก 60 นิวตัน และ 120 นิวตัน แขวนอยู่ อยากทราบว่า
จะต้องแขวนคานไว้ที่ตำแหน่งใด คานจึงจะอยู่ในแนวสมดุล
1. ตำแหน่งห่างจากน้ำหนัก 60 นิวตัน 3 เมตร
2. ตำแหน่งห่างจากน้ำหนัก 120 นิวตัน 3 เมตร
3. ตำแหน่งห่างจากน้ำหนัก 60 นิวตัน 4 เมตร
4. ตำแหน่งห่างจากน้ำหนัก 120 นิวตัน 4 เมตร

48. จากรูป วัตถุหนัก 300 นิวตัน เมื่อดึงวัตถุให้เคลื่อนที่ขึ้นไป จะต้องออกแรง E เท่าไร


1. 50 นิวตัน
1. 2. 100 นิวตัน
2. 3. 150 นิวตัน
3. 4. 300 นิวตัน

49. รถยนต์มวล 1,200 กิโลกรัม แล่นด้วยความเร็ว 36 กิโลเมตร/ชั่วโมง จงหาพลังงานจลน์


1. 45 กิโลจูล
2. 60 กิโลจูล
3. 650 กิโลจูล
4. 777 กิโลจูล
คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6
56
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

50. กล่องใบหนึ่งมีมวล 2 กิโลกรัม อยู่สูงจากพื้นเป็นระยะทาง 2 เมตร จงหาว่ามีพลังงานศักย์โน้มถ่วงเท่าใด


1. 2 จูล
2. 4 จูล
3. 20 จูล
4. 40 จูล
51. สปริงอันหนึ่งมีค่าคงที่ 100 นิวตัน/เมตร ทำให้ยืดออก 2 เมตร จากตำแหน่งสมดุล จงหาพลังงานศักย์
ยืดหยุ่น
1. 200 จูล
2. 400 จูล
3. 600 จูล
4. 800 จูล

กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
52. นายฟักทิ้งขวดมวล 0.5 กิโลกรัม จากหลังคาบ้านครูใหญ่ ซึ่งสูง 12 เมตร ให้ตกอย่างอิสระ ถ้าขวดตกลงมาได้
ทาง 1/3 ของทางทั้งหมด จะมีพลังงานจลน์เท่าใด
1. 20 จูล
2. 40 จูล
3. 60 จูล
4. 80 จูล

53. เสาชิงช้าหน้าวัดสุทัศน์สูง 20 m ถ้าแกว่งชิงช้าจนถึง 90 องศา อัตราเร็วของชิงช้าตอนผ่านจุดต่ำสุดจะเป็นกี่


เมตรต่อวินาที
1. 10 เมตรต่อวินาที
2. 15 เมตรต่อวินาที
3. 20 เมตรต่อวินาที
4. 30 เมตรต่อวินาที

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


57
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

54. จากรูป รถมวล 4 กิโลกรัม มีความเร็ว 2 เมตรต่อวินาที เข้าชนสปริงซึ่งมีค่านิจ 400 นิวตัน/เมตร สปริงจะหด
สั้นที่สุดเท่าใด ถ้าพื้นไม่มีความฝืด

1. 0.1 เมตร
2. 0.2 เมตร
3. 0.3 เมตร
4. 0.4 เมตร
แสงและทัศนอุปกรณ์
55 กระจกเงาเว้ารัศมี R มีแกนมุขสำคัญตามแนว X และขั้นกระจกอยู่ที่ x = 0 รูปใดต่อไปนี้แสดงการเกิดภาพ
ของวัตถุเนื่องจากการสะท้อนกระจกเงาเว้านี้ได้อย่างถูกต้อง

พิจารณาตารางบันทึกผลการทดลองการเกิดภาพของเลนส์นูนต่อไปนี้แล้วตอบคำถามข้อ 56-57
ระยะวัตถุ (cm) ขนาดภาพ ชนิดภาพ
3 ใหญ่กว่าวัตถุ ภาพเสมือนหัวตั้ง
6 ไม่สามารถวัดได้ ไม่สามารถระบุชนิดได้
9 ใหญ่กว่าวัตถุ ภาพจริงหัวกลับ
12 เท่ากับวัตถุ ภาพจริงหัวกลับ
18 เล็กกว่าวัตถุ A

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


58
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

56. เลนส์นูนอันนี้มีความยาวโฟกัสเท่าไร
1. 3 เซนติเมตร
2. 6 เซนติเมตร
3. 7.5 เซนติเมตร
4. 18 เซนติเมตร

57. จากตารางบันทึกผลการทดลองการเกิดภาพของเลนส์นูนชนิดภาพ A คือข้ดใด


1. ภาพเสมือนหัวตั้ง 2. ภาพจริงหัวตั้ง
3. ภาพจริงหัวกลับ 4. ข้อมูลไม่เพียงพอไม่สามารถระบุได้

58. เลนส์นูนอันหนึ่งมีความยาวโฟกัส 0.05 เมตร ถ้าวางดินสอแท่งหนึ่งห่างจากเลนส์นูน 0.06 เมตร


อยากทราบว่าจะเกิดภาพที่ระยะใด
1. 0.03 เซนติเมตร
2. 0.3 เซนติเมตร
3. 3 เซนติเมตร
4. 30 เซนติเมตร

59. ตุ๊กตาหมีตัวหนึ่งวางอยู่หน้ากระจกนูนความยาวโฟกัส 30 เซนติเมตร ห่างเป็นระยะ 45 เซนติเมตร


อยากทราบว่าจะเกิดภาพชนิดใดและที่ระยะห่างจากกระจกเท่าไร
1. ภาพเสมือนหัวตั้ง 18 เซนติเมตร
2. ภาพเสมือนหัวตั้ง 36 เซนติเมตร
3. ภาพจริงหัวกลับ 45 เซนติเมตร
4. ภาพจริงหัวกลับ 90 เซนติเมตร

60. ทดลองใช้แว่นขยายส่งดูมดตัวหนึ่งมีขนาด 1 มิลลิเมตร ถ้าเห็นภาพขนาด 1 เซนติเมตร อยากทราบว่าแว่น


ขยายมีกำลังขยายเท่าไร
1. 0.1 เท่า
2. 1 เท่า
3. 10 เท่า
4. 100 เท่า
คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6
59
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

61. เด็กชายโดมยืนส่องกระจกเว้าที่มีกำลังขยาย 0.1 เท่า เห็นภาพตัวเองขนาด 17 เซนติเมตร ในกระจก ถ้า


เด็กชายโดมมาส่องกระจกเงาราบ อยากทราบว่าภาพเด็กชายโดมในกระจกเงาราบจะมีขนาดเท่าไร
1. 1.7 เซนติเมตร
2. 100 เซนติเมตร
3. 169 เซนติเมตร
4. 170 เซนติเมตร

62. กำลังขยายของกระจกเว้าอันหนึ่งเท่ากับ 0.2 ถ้าวางวัตถุอยู่หน้ากระจกที่ระยะ 180 เซนติเมตร ซึ่งทำให้เกิด


ภาพที่มีขนาดเล็กกว่าวัตถุอยู่หน้ากระจก อยากทราบว่ากระจกเว้ามีความยาวโฟกัสเท่าไหร่
1. 3 เซนติเมตร
2. 30 เซนติเมตร
3. 36 เซนติเมตร
4. 360 เซนติเมตร

63. ข้อใดถูกต้อง
1. เลนส์นูน-เกิดภาพจริงหัวกลับเท่านั้น
2. เลนส์เว้า-เกิดภาพเสมือนหัวตั้งและภาพจริงหัวกลับ
3. กระจกนูน-เกิดภาพเสมือนหัวตั้งเท่านั้น
4. กระจกเว้า-เกิดภาพเสมือนหัวกลับและภาพจริงหัวกลับ

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


60
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

64.

65.

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


61
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

66.

ไฟฟ้า

67.

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


62
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

68.

69.

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


63
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

70. วงจรไฟฟ้าดังรูป มีกระแสไฟฟ้า 4 แอมแปร์ ผ่านความต้านทาน 0.5 โอห์ม


ต่อกับหลอดไฟ และแบตเตอรี่ 6 โวลต์ ถ้าไม่คิดความต้านทาน
ภายในแบตเตอรี่ จงหาความต้านทานหลอดไฟ
1. 0.5  2. 1.0 
3. 1.5  4. 2.0 

71. จงหากระแสไฟฟ้าผ่านตัวต้านทาน 4  ในวงจรไฟฟ้าดังรูป


1. 1.50 A
2. 0.25 A
3. 0.75 A
4. 1.00 A

การคำนวณหาจำนวนหน่วยไฟฟ้าที่ใช้ไปและเงินค่าไฟฟ้า

72. เครื่องทำน้ำอุ่นไฟฟ้าขนาด 3000 วัตต์ 220 โวลต์ ถ้าอาบน้ำอุ่นเป็นเวลา 30 นาที จะเสียค่าไฟฟ้ากี่บาท


( อัตราค่าไฟฟ้าเป็น 3 บาท / หน่วย )

73. (O-NET 59) นายวินเช่าห้องพักเป็นที่อยู่อาศัยห้องหนึ่งตลอดทั้งเดือนสิงหาคม เจ้าของห้องเช่าคิดค่าไฟฟ้า


หน่วยละ 8 บาท นายวินใช้พลังงานไฟฟ้า ดังนี้
ก. หลอดไฟฟ้าขนาด 100 วัตต์ 2 หลอด วันละ 5 ชั่วโมง
ข. โทรทัศน์ที่มีกำลังไฟฟ้า 500 วัตต์ วันละ 2 ชั่วโมง
นายวินเสียค่าไฟฟ้าเดือนสิงหาคมกี่บาท

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6


64
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครั้งที่ 1-6

You might also like