You are on page 1of 22

1

โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

วิชา วิทยาศาสตร์

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบ กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ฟิสิกส์


แรงเสียดทาน
1. (O-NET ม.3) วัตถุกาลังเคลื่อนที่ไปทางขวาบนพื้นโดยการลากด้วยแรง F ขณะที่วัตถุเคลื่อนที่เกิดแรงเสียด
ทาน f กระทาต่อวัตถุตลอดเวลา ดังภาพ

แรงเสียดทานที่เกิดขึ้นเป็นแรงเสียดทานประเภทใด และการกระทาใดที่ทาให้เกิดแรงเสียดทานมีค่าเพิ่มขึ้น
ตามลาดับ
1. แรงเสียดทานสถิต เพิ่มมวลของวัตถุ
2. แรงเสียดทานสถิต เพิ่มพื้นที่ผิวสัมผัสของวัตถุ
3. แรงเสียดทานจลน์ เพิ่มมวลของวัตถุ
4. แรงเสียดทานจลน์ เพิ่มพื้นที่ผิวสัมผัสของวัตถุ

2. (O-NET ม.3) พิจารณาการเบรกอย่างกะทันหันของรถยนต์คันหนึ่ง ซึง่ ล้อจะไถลบนพื้นและไม่หมุน โดย


เปรียบเทียบขณะแล่นบนถนนเดียวกัน อัตราเร็วก่อนเบรกเท่ากัน แรงในการเบรกเท่ากัน แต่สภาพของพื้น
ถนนต่างกัน คือ พื้นเปียกและพื้นแห้ง
จากข้อมูล การเบรกบนถนนแบบใด ที่รถจะไถลได้ระยะทางสัน้ กว่า และแรงเสียดทานระหว่างล้อกับพื้นถนน
ที่เกิดขึ้นขณะเบรกเป็นแรงเสียดทานประเภทใด

สภาพของพื้นถนน แรงเสียดทานระหว่างล้อกับพื้นถนน
1. พื้นแห้ง แรงเสียดทานจลน์
2. พื้นแห้ง แรงเสียดทานสถิต
3. พื้นเปียก แรงเสียดทานจลน์
4. พื้นเปียก แรงเสียดทานสถิต

3. วัตถุมวล 15 กิโลกรัม วางนิ่งบนพืน้ ราบ ถ้าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิตระหว่างพื้นกับวัตถุมีค่า 0.3 และ


สัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลน์มีค่า 0.2 จะต้องออกแรงฉุดเท่าใดวัตถุจึงจะเริ่มเคลื่อนที่
1. 4.5 N
2. 45 N
3. 5.0 N
4. 50 N

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครัง้ ที่ 1-6


2
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

แรง มวล และการเคลื่อนที่


4.

5.

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครัง้ ที่ 1-6


3
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

6.

7. จากรูป จงหาแรงลัพธ์
12 N

10 N

4√2
1. 2 N N
2. 6 N
3. 10 N
4. 14 N
8. มวล 10 และ 15 กิโลกรัม วางบนพื้นฝืด ต่อกันด้วยเชือกเบา ออกแรง 300 นิวตัน ดึงในแนวราบทา ให้ระบบมี
ความเร่งคงที่ สัมประสิทธิ์ของความเสียดทานจลน์มีค่า 0.5 จงหาความเร่งของระบบ

1. 7 เมตร/วินาที2 2. 5 เมตร/วินาที2
3. 3 เมตร/วินาที2 4. 1 เมตร/วินาที2

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครัง้ ที่ 1-6


4
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

9. วัตถุวางอยู่บนพื้นลื่น ดังรูปข้างล่าง แรง F มีค่าเท่าใด

3 kg T = 18 N 2 kg
F=?

1. 20 N
2. 30 N
3. 40 N
4. 50 N

10. ออกแรง 22 นิวตัน และ 2 นิวตัน ดึงวัตถุมวล 5 กิโลกรัมให้เคลื่อนที่บนพื้นราบที่มีค่าสัมประสิทธิ์ความเสียด


ทานระหว่างพื้นกับวัตถุเท่ากับ 0.2 โดยให้แรงทั้ง 2 มีทิศตรงข้ามกัน ดังรูป วัตถุจะเคลื่อนที่ด้วยความเร่งเท่าใด
a=?
22 N
2N
5 kg
f

1. 1 เมตร/วินาที2
2. 2 เมตร/วินาที2
3. 3 เมตร/วินาที2
4. 4 เมตร/วินาที2

11. สตาร์ลอร์ด ชั่งน้าหนักบนโลกได้ 650 นิวตัน ถ้าสตาร์ลอร์ดไปอยู่ที่บนดาวซานดาร์ซึ่งมีค่าสนามความโน้มถ่วง 2


m/s2สตาร์ลอร์ดจะมีน้าหนักเท่าใดบนดาวซานดาร์
1. 65 N
2. 130 N
3. 650 N
4. 1300 N

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครัง้ ที่ 1-6


5
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

12. วัตถุเคลื่อนที่เป็นรูปครึ่งวงกลมจาก A ไป B มีรัศมีความโค้ง 14 เมตร และ B ไป C มีรัศมีความโค้ง 7 เมตร


จากนั้นเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงจาก C ไป D เป็นระยะ 10 เมตร จงหาระยะทางและการกระจัดของวัตถุ

A 14 m B 7m
C D

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

13. (O-NETม.6 ปี 61) วัตถุหนึ่งกาลังเคลื่อนที่เป็นแนวตรงบนพื้นราบ ที่เวลา t=10 วินาที และ t=30 วินาที วัตถุ
มีอัตราเร็วเท่ากับ 10 เมตรต่อวินาที และ 24 เมตรต่อวินาที ตามลาดับ ดังภาพ

ขนาดของความเร่งเฉลี่ยในช่วงเวลา t=10 วินาที ถึง t=30 วินาที มีค่าเท่าใด


1. 0.70 เมตรต่อวินาที2
2. 0.80 เมตรต่อวินาที2
3. 0.85 เมตรต่อวินาที2
4. 0.90 เมตรต่อวินาที2
5. 1.70 เมตรต่อวินาที2

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครัง้ ที่ 1-6


6
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

14. (O-NETม.6 ปี 62) วัตถุชิ้นหนึ่งเคลื่อนที่เป็นแนวตรงด้วยอัตราเร็ว ณ เวลาต่างๆ เป็นดังกราฟ

ในช่วงเวลา 0 วินาที ถึง 5 วินาที วัตถุเคลื่อนที่ได้ระยะเท่าใด และช่วงเวลาเท่าใดที่ความเร่งมีทิศทางตรง


ข้ามกับทิศทางการเคลื่อนที่
ระยะทาง (m) ช่วงเวลาที่ความเร่งมีทิศตรงข้ามกับการเคลื่อนที่
1. 0.4 0 วินาที ถึง 5 วินาที
2. 0.4 5 วินาที ถึง 10 วินาที
3. 0.4 10 วินาที ถึง 15 วินาที
4. 10 5 วินาที ถึง 10 วินาที
5. 10 10 วินาที ถึง 15 วินาที

15. กราฟต่อไปนี้ป็นการแสดงการเปลี่ยนแปลงความเร็วตามเวลาของวัตถุหนึ่ง

ข้อใดอธิบายเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุนี้ไม่ถูกต้อง
1. มีการเปลี่ยนแปลงทิศการคลื่อนที่ในช่วงวินาทีที่ 4-8
2. ความเร่งในช่วงวินาทีที่ 0-2 คือ 3 m/s2
3. ในวินาทีที่ 6 วัตถุอยู่ไกลจากจุดเริ่มต้นมากที่สุด
4. การกระจัดในช่วงวินาทีที่ 0-8 คือ 32 เมตร

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครัง้ ที่ 1-6


7
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

16. รถยนต์แล่นด้วยอัตราเร็วเฉลี่ย 80 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จากเมือง ก ไปยังเมือง ข ที่อยู่ห่างกัน 200 กิโลเมตร


ถ้าออกเดินทางเวลา 08.00 น. จะถึงปลายทางเวลาเท่าใด
1. 09.30 น.
2. 09.50 น.
3. 10.30 น.
4. 10.50 น.
17. วัตถุ A และ B ออกจากจุดเริ่มต้นพร้อมกัน แต่จุดเริ่มต้นของ A อยู่หลัง B และวัตถุทั้งสองมีความเร่ง 4
เมตร/วินาที2 และ 2 เมตร/วินาที 2 ตามลาดับ ปรากฏว่าวัตถุทั้งสองทันกัน เมื่อวัตถุ Bเคลื่อนที่ได้ระยะทาง 100
เมตร จงหาว่าจุดเริ่มต้นของวัตถุทั้งสองอยู่ห่างกันกี่เมตร
1. 50 m
2. 100 m
3. 150 m
4. 200 m
18. ชายคนหนึ่งโยนเหรียญขึ้นไปในแนวดิง่ ด้วยความเร็วต้น 20 เมตร/วินาที เป็นเวลาเท่าใดเหรียญจึงจะตกลง
มาถึงตาแหน่งเริ่มต้น
1. 2 s
2. 3 s
3. 4 s
4. 5 s
19. เมื่อลากแถบกระดาษผ่านเครื่องเคาะสัญญาณเวลาที่เคาะด้วยความถี่ 50 เฮิรตซ์ ปรากฏจุดบนแถบกระดาษ
เป็นดังรูป จงหาอัตราเร็วเฉลี่ยระหว่างจุด A และ จุด B

5 cm
1. 0.2 m/s
2. 0.5 m/s
3. 1.0 m/s
4. 1.5 m/s
20. เมื่อลากแถบกระดาษผ่านเครื่องเคาะสัญญาณเวลาที่เคาะด้วยความถี่ 50 เฮิรตซ์ ปรากฏจุดบนแถบกระดาษ
เป็นดังรูป จงหาความเร่งที่ตาแหน่ง C

1. 5.00 m/s2 2. 6.25 m/s2


3. 7.50 m/s2 4. 8.33 m/s2
คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครัง้ ที่ 1-6
8
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

21. (O-NET51) กราฟของความเร็ว v กับเวลา t ข้อใดสอดคล้องกับการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ถูกโยนขึ้นไปใน


แนวดิ่ง
1. 2.

3. 4.

22. ลูกบอลชนิดเดียวกัน 2 ลูก A และ B อยู่สูงจากพื้นเท่ากัน ลูกบอล A ถูกปล่อยให้ตกลงในแนวดิ่ง และลูก


บอล B ถูกดีดออกไปในแนวราบพร้อมกัน จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้แล้วเลือกข้อที่ถูกที่สุด
ก. ลูกบอล A ตกถึงพื้นก่อน B
ข. ลูกบอล B ไม่มีการเปลี่ยนแปลงความเร็วในแนวราบ
ค. ความเร็วของลูกบอล A และ B ขณะที่ตกถึงพื้นมีค่าเท่ากัน
ง. ลูกบอล A และ B มีการเปลี่ยนแปลงความเร็วในแนวดิ่งเท่ากัน
ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อ ข. และ ง. ถูก 2. ข้อ ค. และ ง. ถูก
3. ข้อ ก. ข. และ ค. ถูก 4. ข้อ ก. ข. และ ง. ถูก

23. ก้อนหินถูกขว้างออกจากหน้าผาในแนวระดับด้วยความเร็ว 10 เมตรต่อวินาที ก้อนหินตกถึงพื้นดินในเวลา 8


วินาที หน้าผาสูงเท่าใด
1. 80 m
2. 160 m
3. 256 m
4. 320 m

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครัง้ ที่ 1-6


9
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

24. ลูกระเบิดถูกปล่อยจากเครื่องบิน ซึ่งบินอยู่ในแนวระดับด้วยความเร็ว 75 เมตร/วินาที และอยู่สูงจากพื้น


2,000 เมตร จงหาว่าระเบิดจะตกถึงพื้นในตาแหน่งที่ห่างจากจุดที่ทิ้งระเบิดตามแนวระดับกี่เมตร

SX

1. 1,000 m
2. 1,500 m
3. 2,000 m
4. 4,000 m

แรงพยุง
25. วัตถุ 3 ชนิด มีปริมาตรเท่ากัน ลอยอยู่ในน้า ดังรูป ข้อใดไม่ถูกต้อง

1. วัตถุ ก มีความหนาแน่นน้อยกว่าน้า 2. วัตถุ ค มีน้าหนักมากกว่าวัตถุ ข


3. วัตถุ ก มีมวลมากกว่าวัตถุ ค 4. วัตถุ ค มีความหนาแน่นมากกว่าน้า

26.

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครัง้ ที่ 1-6


10
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

27.

28.

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครัง้ ที่ 1-6


11
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

29.

30. ใช้เครื่องชั่งสปริงชั่งน้าหนักของวัตถุชิ้นหนึง่ เมื่อชั่งในอากาศได้น้าหนัก 14 นิวตัน ชั่งในของเหลวได้ 8 นิวตัน

กาหนดให้ ความหนาแน่นของของเหลวเท่ากับ 2x103 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร


วัตถุนี้มีปริมาตรเท่าใด
1. 3 x 10-4 ลูกบาศก์เมตร
2. 4 x 10-4 ลูกบาศก์เมตร
3. 3 x 104 ลูกบาศก์เมตร
4. 4 x 104 ลูกบาศก์เมตร

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครัง้ ที่ 1-6


12
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

พลังงานความร้อน
31. จากการเดินทางไปทัศนศึกษา เมื่อถึงจังหวัดเชียงใหม่วัดอุณหภูมิได้ 15 องศาเซลเซียส วันรุ่งขึ้นเดินทางไป
จังหวัดเชียงราย วัดอุณหภูมิได้ 50 ฮงศาฟาเรนไฮต์ ทั้งสองจังหวัดมีอุณหภูมิต่างกันเท่าใด
1. เชียงใหม่อุณหภูมิสูงกว่าเชียงราย 5 องศาเซลเซียส
2. เชียงใหม่อุณหภูมิต่ากว่าเชียงราย 45 องศาเซลเซียส
3. เชียงรายอุณหภูมิต่ากว่าเชียงใหม่ 45 องศาเซลเซียส
4. เชียงใหม่และเชียงรายมีอุณหภูมิเท่ากัน
32. ช้อนเงินมีมวล 60 กรัม อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส นาไปแช่ในน้าร้อนจนมีอุณหภูมิเป็น 50 องศา
เซลเซียส ช้อนเงินได้รับความร้อนจากน้าร้อนเท่าไร (ความจุความร้อนจาเพาะของเงิน = 0.05 แคลอรี/กรัม·
องศาเซลเซียส)
1. 75 แคลอรี
2. 105 แคลอรี
3. 125 แคลอรี
4. 150 แคลอรี
33. กราฟข้อใดที่แสดงการเปลี่ยนแปลงของน้า จากไอน้ากลายเป็นน้าแข็ง
1. อุณหภูมิ
2. อุณหภูAมิ
A

B C
0 0 เวลา
เวลา B
3. อุณหภูมิ 4. อุณหภูมิ
A B A B

D 0
0 เวลา เวลา
C C

34. ถ้าน้าแข็งมวล 1 กรัม หลอมเหลวกลายเป็นน้าใช้ปริมาณความร้อน 80 แคลอรี แล้วน้ามวล 1 กรัม เย็นลงจน


กลายเป็นน้าแข็งจะต้องดูดหรือคายความร้อนเท่าใด
1. ดูดความร้อน 80 แคลอรี
2. ดูดความร้อน 160 แคลอรี
3. คายความร้อน 80 แคลอรี
4. คายความร้อน 160 แคลอรี

35. ปริมาณความร้อนที่ทาให้น้าแข็ง 60 กรัม อุณหภูมิ -4 องศาเซลเซียส เปลี่ยนเป็น 20 องศาเซลเซียส มีค่ากี่


แคลอรี
1. 160 แคลอรี

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครัง้ ที่ 1-6


13
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

2. 800 แคลอรี
3. 4,800 แคลอรี
4. 6,120 แคลอรี

36. พลังงานความร้อน 925 แคลอรี สามารถทาให้น้าแข็งอุณหภูมิ -10 องศาเซลเซียส กลายเป็นน้าเดือด 100


องศาเซลเซียส ได้กี่กรัม
1. 5 กรัม
2. 10 กรัม
3. 15 กรัม
4. 20 กรัม

37. จากข้อความต่อไปนี้ ให้นักเรียนพิจารณาว่า เป็นการถ่ายโอนความร้อนโดยวิธีใด 1) ความร้อนจากเตาไฟมาถึง


ตัวปลาขณะกาลังปิ้ง 2) ความร้อนจากเตาไฟมาถึงมือที่จับตะแกรงขณะกาลังปิ้ง 3) ความร้อนจากเตาไฟมายังหน้า
คนปิ้งปลา
1. 1) คือ การนาความร้อน 2) คือ การพาความร้อน 3) คือ การแผ่รังสีความร้อน
2. 1) คือ การพาความร้อน 2) คือ การนาความร้อน 3) คือ การแผ่รังสีความร้อน
3. 1) คือ การแผ่รังสีความร้อน 2) คือ การนาความร้อน 3) คือ การพาความร้อน
4. 1) คือ การแผ่รังสีความร้อน 2) คือ การพาความร้อน 3) คือ การนาความร้อน

38. เมื่อใช้น้าร้อนมวล 100 กรัม อุณหภูมิ 90 องศาเซลเซียส มาผสมกับน้าเย็นมวล 200 กรัม อุณหภูมิ 15 องศา
เซลเซียส อุณหภูมิผสมของน้าเป็นเท่าใด
1. 10 องศาเซลเซียส
2. 20 องศาเซลเซียส
3. 30 องศาเซลเซียส
4. 40 องศาเซลเซียส

39. ใส่ก้อนอลูมิเนียมมวล 20 กรัม อุณหภูมิ 210 องศาเซลเซียส ลงในน้าเย็นมวล 200 กรัม อุณหภูมิ 0 องศา
เซลเซียส เมื่อถึงสมดุลความร้อน อุณหภูมิของสารทั้งสองจะเป็นเท่าใด (กาหนดให้ ค่าความจุความร้อน
จาเพาะของอลูมิเนียมเท่ากับ 0.5 แคลอรี/กรัม·องศาเซลเซียส)
1. 10 องศาเซลเซียส
2. 40 องศาเซลเซียส
3. 60 องศาเซลเซียส
4. 100 องศาเซลเซียส

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครัง้ ที่ 1-6


14
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

งาน กาลัง พลังงานกล เครื่องกล


40. ข้อใด ไม่เกิดงาน ตามหลักวิทยาศาสตร์
1. ออกแรงดันเก้าอี้ให้ไถลไปตามพื้นห้อง
2. แบกกระสอบข้าวเดินไปตามทางราบจนถึงโรงอาหาร
3. ลากวัตถุให้เคลื่อนที่ไปตามพื้นราบโดยทิศของแรงลากทามุม 15° กับพื้น
4. ฉุดรถยนต์ขึ้นจากหล่มมาบนพื้นดินที่ราบเรียบ

41. ชายคนหนึ่ง ออกแรง 100 นิวตัน ผลักตู้เสื้อผ้าแต่ตู้เสื้อผ้าไม่มีการขยับเขยื้อน ชายคนนี้ทางานได้กี่จูล


1. 0 จูล 2. 10 จูล
3. 100 จูล 4. 1,000 จูล

42. ชายคนหนึ่งแบกข้าวสารหนัก 100 กิโลกรัม ไว้บนบ่าเดินไปตามพื้นราบเป็น ระยะทาง 10 เมตร แล้วจึงขึ้น


บันไดด้วยความเร็วคงที่ไปชั้นบนซึ่งสูงจากพื้นล่าง 3 เมตร จงหางานที่ชายผู้นั้นทา
1. 10,000 จูล
2. 13,000 จูล
3. 3,000 จูล
4. 1,300 จูล

43. ปั้นจั่นยกของมวล 1,200 กิโลกรัม ขึ้นสูง 5 เมตร ในเวลา 10 วินาที จงหากาลังของปั้นจั่นในการยกของนี้


1. 4,000 วัตต์
2. 5,000 วัตต์
3. 6,000 วัตต์
4. 7,000 วัตต์

44. เครื่องยนต์เรือลาหนึ่งใช้แรง 3,000 นิวตัน สามารถทาให้เรือแล่นได้ด้วยอัตราเร็วคงตัว 6 เมตรต่อวินาที จง


หากาลังของเรือนี้เป็นกี่กิโลวัตต์
1. 3 กิโลวัตต์
2. 5 กิโลวัตต์
3. 15 กิโลวัตต์
4. 18 กิโลวัตต์
45. พื้นเอียงอันหนึ่งยาว 10 เมตร สูง 2 เมตร ถ้าต้องการลากวัตถุมวล 300 นิวตัน ขึ้นไปตามพื้นเอียงจะต้องออก
แรงพยายามเท่าไร
1. 40 นิวตัน
2. 50 นิวตัน
3. 60 นิวตัน
4. 70 นิวตัน

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครัง้ ที่ 1-6


15
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

46. คานยาว 2 เมตรมีน้าหนักถ่วงที่ปลายทั้ง 2 ข้างดังรูป จะต้องใช้น้าหนักถ่วงที่จุด Y ซึ่งอยู่จากจุดหมุน


1 เมตรเท่าใด จึงจะทาให้คานสมดุล
0.5 ม. 0.5 ม.

50 kg 50 kg Y
1. 25 กิโลกรัม กก.
2. 50 กิโลกรัม
3. 75 กิโลกรัม
4. 100 กิโลกรัม
47. คานเบาอันหนึ่งยาว 9 เมตร ที่ปลายทั้งสองข้างมีน้าหนัก 60 นิวตัน และ 120 นิวตัน แขวนอยู่ อยากทราบว่า
จะต้องแขวนคานไว้ที่ตาแหน่งใด คานจึงจะอยู่ในแนวสมดุล
1. ตาแหน่งห่างจากน้าหนัก 60 นิวตัน 3 เมตร
2. ตาแหน่งห่างจากน้าหนัก 120 นิวตัน 3 เมตร
3. ตาแหน่งห่างจากน้าหนัก 60 นิวตัน 4 เมตร
4. ตาแหน่งห่างจากน้าหนัก 120 นิวตัน 4 เมตร

48. จากรูป วัตถุหนัก 300 นิวตัน เมื่อดึงวัตถุให้เคลื่อนที่ขึ้นไป จะต้องออกแรง E เท่าไร


1. 50 นิวตัน
1. 2. 100 นิวตัน
2. 3. 150 นิวตัน
3. 4. 300 นิวตัน

49. รถยนต์มวล 1,200 กิโลกรัม แล่นด้วยความเร็ว 36 กิโลเมตร/ชั่วโมง จงหาพลังงานจลน์


1. 45 กิโลจูล
2. 60 กิโลจูล
3. 650 กิโลจูล
4. 777 กิโลจูล

50. กล่องใบหนึ่งมีมวล 2 กิโลกรัม อยู่สูงจากพื้นเป็นระยะทาง 2 เมตร จงหาว่ามีพลังงานศักย์โน้มถ่วงเท่าใด


1. 2 จูล
2. 4 จูล
3. 20 จูล
4. 40 จูล

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครัง้ ที่ 1-6


16
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

51. สปริงอันหนึ่งมีค่าคงที่ 100 นิวตัน/เมตร ทาให้ยืดออก 2 เมตร จากตาแหน่งสมดุล จงหาพลังงานศักย์


ยืดหยุ่น
1. 200 จูล
2. 400 จูล
3. 600 จูล
4. 800 จูล

กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
52. นายฟักทิ้งขวดมวล 0.5 กิโลกรัม จากหลังคาบ้านครูใหญ่ ซึ่งสูง 12 เมตร ให้ตกอย่างอิสระ ถ้าขวดตกลงมาได้
ทาง 1/3 ของทางทั้งหมด จะมีพลังงานจลน์เท่าใด
1. 20 จูล
2. 40 จูล
3. 60 จูล
4. 80 จูล

53. เสาชิงช้าหน้าวัดสุทัศน์สูง 20 m ถ้าแกว่งชิงช้าจนถึง 90 องศา อัตราเร็วของชิงช้าตอนผ่านจุดต่าสุดจะเป็นกี่


เมตรต่อวินาที
1. 10 เมตรต่อวินาที
2. 15 เมตรต่อวินาที
3. 20 เมตรต่อวินาที
4. 30 เมตรต่อวินาที

54. จากรูป รถมวล 4 กิโลกรัม มีความเร็ว 2 เมตรต่อวินาที เข้าชนสปริงซึ่งมีค่านิจ 400 นิวตัน/เมตร สปริงจะหด
สั้นที่สุดเท่าใด ถ้าพื้นไม่มีความฝืด

1. 0.1 เมตร
2. 0.2 เมตร
3. 0.3 เมตร
4. 0.4 เมตร

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครัง้ ที่ 1-6


17
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

แสงและทัศนอุปกรณ์

55 กระจกเงาเว้ารัศมี R มีแกนมุขสาคัญตามแนว X และขั้นกระจกอยู่ที่ x = 0 รูปใดต่อไปนี้แสดงการเกิดภาพ


ของวัตถุเนื่องจากการสะท้อนกระจกเงาเว้านี้ได้อย่างถูกต้อง

พิจารณาตารางบันทึกผลการทดลองการเกิดภาพของเลนส์นูนต่อไปนี้แล้วตอบคาถามข้อ 56-57
ระยะวัตถุ (cm) ขนาดภาพ ชนิดภาพ
3 ใหญ่กว่าวัตถุ ภาพเสมือนหัวตั้ง
6 ไม่สามารถวัดได้ ไม่สามารถระบุชนิดได้
9 ใหญ่กว่าวัตถุ ภาพจริงหัวกลับ
12 เท่ากับวัตถุ ภาพจริงหัวกลับ
18 เล็กกว่าวัตถุ A

56. เลนส์นูนอันนี้มีความยาวโฟกัสเท่าไร
1. 3 เซนติเมตร
2. 6 เซนติเมตร
3. 7.5 เซนติเมตร
4. 18 เซนติเมตร
57. จากตารางบันทึกผลการทดลองการเกิดภาพของเลนส์นูนชนิดภาพ A คือข้ดใด
1. ภาพเสมือนหัวตั้ง 2. ภาพจริงหัวตั้ง
3. ภาพจริงหัวกลับ 4. ข้อมูลไม่เพียงพอไม่สามารถระบุได้

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครัง้ ที่ 1-6


18
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

58. เลนส์นูนอันหนึ่งมีความยาวโฟกัส 0.05 เมตร ถ้าวางดินสอแท่งหนึ่งห่างจากเลนส์นูน 0.06 เมตร


อยากทราบว่าจะเกิดภาพที่ระยะใด
1. 0.03 เซนติเมตร
2. 0.3 เซนติเมตร
3. 3 เซนติเมตร
4. 30 เซนติเมตร

59. ตุ๊กตาหมีตัวหนึ่งวางอยู่หน้ากระจกนูนความยาวโฟกัส 30 เซนติเมตร ห่างเป็นระยะ 45 เซนติเมตร


อยากทราบว่าจะเกิดภาพชนิดใดและที่ระยะห่างจากกระจกเท่าไร
1. ภาพเสมือนหัวตั้ง 18 เซนติเมตร
2. ภาพเสมือนหัวตั้ง 36 เซนติเมตร
3. ภาพจริงหัวกลับ 45 เซนติเมตร
4. ภาพจริงหัวกลับ 90 เซนติเมตร

60. ทดลองใช้แว่นขยายส่งดูมดตัวหนึ่งมีขนาด 1 มิลลิเมตร ถ้าเห็นภาพขนาด 1 เซนติเมตร อยากทราบว่าแว่น


ขยายมีกาลังขยายเท่าไร
1. 0.1 เท่า
2. 1 เท่า
3. 10 เท่า
4. 100 เท่า

61. เด็กชายโดมยืนส่องกระจกเว้าที่มีกาลังขยาย 0.1 เท่า เห็นภาพตัวเองขนาด 17 เซนติเมตร ในกระจก ถ้า


เด็กชายโดมมาส่องกระจกเงาราบ อยากทราบว่าภาพเด็กชายโดมในกระจกเงาราบจะมีขนาดเท่าไร
1. 1.7 เซนติเมตร
2. 100 เซนติเมตร
3. 169 เซนติเมตร
4. 170 เซนติเมตร

62. กาลังขยายของกระจกเว้าอันหนึ่งเท่ากับ 0.2 ถ้าวางวัตถุอยู่หน้ากระจกที่ระยะ 180 เซนติเมตร ซึ่งทาให้เกิด


ภาพที่มีขนาดเล็กกว่าวัตถุอยู่หน้ากระจก อยากทราบว่ากระจกเว้ามีความยาวโฟกัสเท่าไหร่
1. 3 เซนติเมตร
2. 30 เซนติเมตร
3. 36 เซนติเมตร
4. 360 เซนติเมตร

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครัง้ ที่ 1-6


19
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

63. ข้อใดถูกต้อง
1. เลนส์นูน-เกิดภาพจริงหัวกลับเท่านั้น
2. เลนส์เว้า-เกิดภาพเสมือนหัวตั้งและภาพจริงหัวกลับ
3. กระจกนูน-เกิดภาพเสมือนหัวตั้งเท่านั้น
4. กระจกเว้า-เกิดภาพเสมือนหัวกลับและภาพจริงหัวกลับ

64.

65.

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครัง้ ที่ 1-6


20
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

66.

ไฟฟ้า
67.

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครัง้ ที่ 1-6


21
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

68.

69.

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครัง้ ที่ 1-6


22
โรงเรียนกวดวิชาครูสมชาย

70. วงจรไฟฟ้าดังรูป มีกระแสไฟฟ้า 4 แอมแปร์ ผ่านความต้านทาน 0.5 โอห์ม


ต่อกับหลอดไฟ และแบตเตอรี่ 6 โวลต์ ถ้าไม่คิดความต้านทาน
ภายในแบตเตอรี่ จงหาความต้านทานหลอดไฟ
1. 0.5  2. 1.0 
3. 1.5  4. 2.0 

71. จงหากระแสไฟฟ้าผ่านตัวต้านทาน 4  ในวงจรไฟฟ้าดังรูป


1. 1.50 A
2. 0.25 A
3. 0.75 A
4. 1.00 A

การคานวณหาจานวนหน่วยไฟฟ้าที่ใช้ไปและเงินค่าไฟฟ้า

72. เครื่องทาน้าอุ่นไฟฟ้าขนาด 3000 วัตต์ 220 โวลต์ ถ้าอาบน้าอุ่นเป็นเวลา 30 นาที จะเสียค่าไฟฟ้ากี่บาท


( อัตราค่าไฟฟ้าเป็น 3 บาท / หน่วย )

73. (O-NET 59) นายวินเช่าห้องพักเป็นที่อยู่อาศัยห้องหนึ่งตลอดทั้งเดือนสิงหาคม เจ้าของห้องเช่าคิดค่าไฟฟ้า


หน่วยละ 8 บาท นายวินใช้พลังงานไฟฟ้า ดังนี้
ก. หลอดไฟฟ้าขนาด 100 วัตต์ 2 หลอด วันละ 5 ชั่วโมง
ข. โทรทัศน์ที่มีกาลังไฟฟ้า 500 วัตต์ วันละ 2 ชั่วโมง
นายวินเสียค่าไฟฟ้าเดือนสิงหาคมกี่บาท

คอร์สโค้งสุดท้ายก่อนสอบเข้า กลุ่ม 2 ห้องเรียนปกติ วิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ครัง้ ที่ 1-6

You might also like