You are on page 1of 44

สนามสอบ วิชาความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3)

วันที่ 24 ม.ค. 64 เวลา 13:30 - 15:00 น.


ข้อสอบโดย : สถาบันกวดวิชา OnDemand
ชื่อ-นามสกุล เลขที่นั่งสอบ
สถานที่สอบ ห้องสอบ

กรุณาอ่านค�ำอธิบายให้เข้าใจ ก่อนลงมือท�ำข้อสอบ
1. ลัักษณะแบบทดสอบ ข้้อสอบจำำ�นวน 70 ข้้อ (คะแนนเต็็ม 300 คะแนน)
2. ก่อนตอบค�ำถามให้เขียนชื่อ-นามสกุล เลขที่นั่งสอบ สถานที่สอบ และห้องสอบ
บนหน้าปกข้อสอบ
3. ให้เขียนชื่อ-นามสกุล ข้อมูลส่วนบุคคลและที่นั่งสอบในกระดาษค�ำตอบ
และตรวจสอบเลขที่นั่งว่าตรงกับบัตรประจ�ำตัวผู้เข้าสอบ
4. ใช้ดินสอด�ำ 2B ระบายวงกลมตัวเลือกในกระดาษค�ำตอบให้เต็มวง
(ห้ามระบายนอกวง) ถ้าต้องการเปลี่ยนตัวเลือกใหม่ต้องลบให้สะอาดจน
หมดรอยด�ำแล้วจึงระบายวงกลมตัวเลือกใหม่
5. เมื่อสอบเสร็จให้วางกระดาษค�ำตอบไว้ด้าน บนข้อสอบ
6. ห้ามน�ำกระดาษค�ำตอบออกจากห้องสอบ
7. ไม่อนุญาตให้ผู้เข้าสอบออกจากห้องสอบก่อนหมดเวลาสอบ
8. ไม่อนุญาตให้ผู้คุมสอบเปิดอ่านข้อสอบ

เอกสารนี้เป็นลิขสิทธิ์ของบริษัท ออนดีมานด์ เอ็ดดูเคชัน จ�ำกัด


การท�ำซ�้ำ ดัดแปลง หรือเผยแพร่เอกสารดังกล่าว จะถูกด�ำเนินคดีตามกฎหมาย
ค�ำชี้แจง
รายละเอียดแบบทดสอบ
แบบปรนััย 5 ตััวเลืือก เลืือก 1 คำำ�ตอบที่่�ถููกที่่�สุุด
ตอนที่่� 1 จำำ�นวน 60 ข้้อ ข้้อละ 4 คะแนน รวม 240 คะแนน
ตอนที่่� 2 จำำ�นวน 10 ข้้อ ข้้อละ 6 คะแนน รวม 60 คะแนน
วิิธีีการตอบ ให้้ใช้้ดิินสอดำำ� 2B ระบายในวงกลมที่่�เป็็นคำำ�ตอบในกระดาษคำำ�ตอบ
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 3
วันที่ 24 ม.ค. 64 เวลา 13:30 - 15:00 น.

ข้อก�ำหนด
ให้ผู้เข้าสอบใช้ค่าคงที่ หน่วย และแนวทางการคำ�นวณที่ได้กำ�หนดให้ต่อไปนี้ ในการหาคำ�ตอบ
เว้นแต่จะมีการแจ้งกำ�กับในแต่ละข้อไว้เป็นอย่างอื่น
ค่าคงที่
g ค่าความโน้มถ่วงโลก = 10 m/s2
R ค่าคงที่สากลของแก๊ส = 8.3 kPa∙m3/(kmol∙K)
Patm ค่าความดันที่ 1 atm = 1 bar = 100 kPa
K ค่าคงที่ตามกฎของคูลอมบ์ = 9 × 109 N∙m2/C2
 ค่าความหนาแน่นของน�้ำ = 1,000 kg/m3

2 = 1.414 log 2 = 0.301


3 = 1.732 log 3 = 0.477
5 = 2.236 e = 2.718
22 o 3
 = 7 sin 37 = 5

มวลอะตอมของ C = 12 มวลอะตอมของ Ca = 10
มวลอะตอมของ Cl = 35.5 มวลอะตอมของ H = 1
มวลอะตอมของ N = 14 มวลอะตอมของ Na = 23
มวลอะตอมของ O = 16 มวลอะตอมของ Al = 27

การแปลงค่าอุณหภูมิ : K = oC + 273
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 4
วันที่ 24 ม.ค. 64 เวลา 13:30 - 15:00 น.

1. รถยนต์์คัันหนึ่่�งมวล 2000 kg เคลื่่�อนที่่�ด้้วยความเร็็ว 24 m/s เข้้าชนกำำ�แพงทำำ�ให้้ทิิศ


การเคลื่่�อนที่่�เปลี่่�ยนไป 90 องศา ด้้วยความเร็็ว 18 m/s รถยนต์์ถููกกำำ�แพงกระทำำ�ด้้วยแรง
ขนาดเท่่าใด ถ้้าช่่วงเวลาการชนเท่่ากัับ 1.50 s
1. 20 kN
2. 25 kN
3. 30 kN
4. 35 kN
5. 40 kN

2. ท่อนซุงที่มีความยาว 300 cm มีมวล 200 kg ลอยอยู่ในน�้ำ ถ้าเด็กชายไผ่มีมวลเท่ากับ 50 kg


ขึ้นไปยืนบนท่อนซุงนี้จะท�ำให้เกิดแรงลอยตัวดันกลับ ถ้าต�ำแหน่งที่ไผ่ยืน และต�ำแหน่งที่แรง
ลอยตัวกระท�ำห่างจากปลายด้านซ้ายของท่อนซุงมาเป็นระยะ Xp และ Xb ตามล�ำดับ จงหาว่า
ถ้าเงื่อนไขเป็นไปตามข้อใด ท่อนซุงนี้จึงจะไม่พลิกคว�่ำ
Xp (cm) Xb (cm)

1. 145 125

2. 125 145

3. 135 145

4. 145 135

5. 145 110
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 5
วันที่ 24 ม.ค. 64 เวลา 13:30 - 15:00 น.

3. ลูกบอลเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ ก่อนที่จะถูกตบจนเคลื่อนที่ย้อนทางเดิมด้วยความเร็ว
อีกค่าหนึ่ง ดังกราฟ จงหาผลต่างของอัตราเร็วเฉลี่ยกับขนาดความเร็วเฉลี่ย
v (m)

5
t (s)
10

-6

1. 1.5 m/s
2. 3.0 m/s
3. 4.5 m/s
4. 6.0 m/s
5. 7.5 m/s

4. เครื่องบินบินในแนวราบที่ระดับความสูง 2,880 m จากพื้นด้วยความเร็วคงที่ 200 m/s


ณ เวลาหนึ่ง ปล่อยวัตถุจากเครื่องบินในแนวดิ่ง ไม่คิดแรงต้านอากาศ วัตถุจะเคลื่อนที่
ได้ระยะทางในแนวราบเท่ากับเท่าใดนับตั้งแต่วัตถุถูกปล่อยจนกระทบพื้นพอดี
1. 2,880 m
2. 3,400 m
3. 4,800 m
4. 5,760 m
5. 11,520 m
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 6
วันที่ 24 ม.ค. 64 เวลา 13:30 - 15:00 น.

5. เข็มยาว (เข็มนาที) ของนาฬิกาแขวนผนัง เดินด้วยอัตราเร็วเชิงมุมเฉลี่ยเท่าไร


2r
1. 6 rad/s
2r
2. 24 rad/s
2r
3. 60 rad/s
2r
4. 3600 rad/s
2r
5. 7200 rad/s

6. วััตถุุ A ต้้องเคลื่่�อนที่่�ด้้วยความเร่่งอย่่างน้้อยเท่่าใด จึึงจะทำำ�ให้้วััตถุุ B มวล 2 kg เคลื่่�อนที่่�


ติิดกัับมวล A และไม่่ไถลลง เมื่่�อสััมประสิิทธิ์์�ความเสีียดทานสถิิตระหว่่างวััตถุุทั้้�งสองมีีค่า่
เท่่ากัับ 0.5
a

B g = 10 m/s2
A

1. 5 m/s2

2. 10 m/s2

3. 15 m/s2

4. 20 m/s2

5. 40 m/s2
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 7
วันที่ 24 ม.ค. 64 เวลา 13:30 - 15:00 น.

7. ปล่่อยแท่่งไม้้ทรงกระบอกให้้กลิ้้�งโดยไม่่ไถลลงจากพื้้�นเอีียง ดัังรููป จงหาขนาดของความเร็็วของ


ศููนย์์กลางมวลของแท่่งไม้้นี้้�มีีขนาดเท่่าไร หลัังจากกลิ้้�งไปได้้ 5 เมตร บนพื้้�นเอีียง
(กำำ�หนดให้้ โมเมนต์์ความเฉื่่�อยที่่�จุุดศููนย์์กลางของทรงกระบอกเท่่ากัับ I = 21 mr
CM
2

2 = 1.414, 3 = 1.732, 5 = 2.236 )

5m

37c

1. 3.16 m/s
2. 4.47 m/s
3. 6.32 m/s
4. 8.94 m/s
5. 12.64 m/s

8. วัตถุมวล 100 g เคลื่อนที่เข้าชนสปริงที่มีค่าคงตัว 1,000 N/m ซึ่งวางตัวในแนวระดับบนพื้นลื่น


ท�ำให้สปริงหดไประยะหนึ่ง จากนั้นสปริงจะดีดวัตถุนั้นกลับออกไป พบว่าวัตถุมีอัตราเร็วเท่ากับ
20 m/s ณ ต�ำแหน่งที่สปริงไม่ยืดไม่หด จงหาว่าสปริงหดไปเป็นระยะเท่าใด
1. 0.04 m
2. 0.16 m
3. 0.20 m
4. 0.40 m
5. 4.00 m
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 8
วันที่ 24 ม.ค. 64 เวลา 13:30 - 15:00 น.

9. วัตถุ A เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว u ในทิศ +X เข้าชนกับวัตถุ B ที่มีอัตราเร็วเป็นครึ่งหนึ่งของ


วัตถุ A แต่มีทิศสวนทางกัน ถ้าหลังการชนอัตราเร็วของวัตถุ A เป็นสองเท่าของวัตถุ B
และวัตถุทั้ง 2 มีทิศตรงข้ามกับการเคลื่อนที่ก่อนชนทั้งคู่
จงหาอัตราส่วนของมวลของวัตถุ A ต่อมวลของวัตถุ B ก�ำหนดให้การชนกันดังกล่าวไม่มี
การสูญเสียพลังงาน
1. 0.5
2. 0.667
3. 1.0
4. 1.5
5. 2.0

10. เรือล�ำหนึง่ บรรทุกคนและสัมภาระ มีมวลรวมกัน 200 kg ซึง่ ก�ำลังเคลือ่ นทีด่ ว้ ยความเร็ว 5 m/s
ในขณะนัน้ คนบนชายฝัง่ เห็นคนบนเรือปาสัมภาระมวล 5 kg ออกไปในแนวระดับ
ด้วยอัตราเร็ว 10 m/s โดยวัดเทียบกับคนบนฝัง่ ในทิศตรงข้ามกับการเคลือ่ นทีข่ องเรือ
จงหาว่าหลังจากคนบนเรือปาวัตถุออกไปแล้ว คนบนฝัง่ จะเห็นว่าเรือเคลือ่ นทีด่ ว้ ยความเร็ว
ประมาณเท่าใด
1. 5.38 m/s ไปในทิศทางตรงกันข้ามกับตอนก่อนปา
2. 5.38 m/s ไปในทิศทางเดียวกับตอนก่อนปา
3. 9.98 m/s ไปในทิศทางตรงกันข้ามกับตอนก่อนปา
4. 9.98 m/s ไปในทิศทางเดียวกับตอนก่อนปา
5. มีขนาดเท่าเดิม การปาของออกไปไม่ส่งผลต่อการเคลื่อนที่ของเรือ
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 9
วันที่ 24 ม.ค. 64 เวลา 13:30 - 15:00 น.

11. จุดประจุไฟฟ้า Q1 และ Q2 วางอยู่ที่จุดโฟกัสของครึ่งวงรี ที่อยู่เหนือแกน x และมีแกนเอก


อยู่ตามแนวแกน x โดยมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่จุดก�ำเนิด น�ำ Q1 วางที่จุด A (30,0) และ Q2
วางที่จุด B (-30,0) ดังรูป
ก�ำหนดให้ Q Q1 และ r1+r2 = 90 จงหาจุดบนเส้นโค้งครึ่งวงรีที่มีศักย์ไฟฟ้าเป็นศูนย์
=- 135
2

y
C
r2 r1
Q2 Q1
x
B O A

1. (25,65)
2. (-25,65)
3. (30,25)
4. (-30,25)
5. (0,33.54)
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 10
วันที่ 24 ม.ค. 64 เวลา 13:30 - 15:00 น.

12. จงหาความต่างศักย์ Vxy มีค่ากี่โวลต์


กําหนดให้ R1 = R2 = 40 , R3 = R4 = 15 , R5 = R6 = 30 

R1 R2
12 V x
R3 R5

R4 R6
y
1. 6.0 V
2. 12.0 V
3. 18.0 V
4. 24.0 V
5. 30.0 V

13. ในตอนแรกสับสวิตช์ 1, 2 ขึ้น แอมมิเตอร์วัดได้ค่าหนึ่ง จากนั้นเอาสวิตช์ 1, 2 ลง วัดได้


อีกค่าหนึ่ง วัดสองครั้งได้ค่าต่างกันเท่าใด
12 V

6X sw 1
1X 2X
3X
A
6X sw 2

1. 0.33 A
2. 0.67 A
3. 1.33 A
4. 1.67 A
5. 2.33 A
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 11
วันที่ 24 ม.ค. 64 เวลา 13:30 - 15:00 น.

14. วงจรไฟฟ้าประกอบด้วยความต้านทาน 15 X ขดลวดเหนี่ยวน�ำ 50 mH และตัวเก็บประจุ


500 nF และมีแหล่งก�ำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ ดังรูป จงหาความต่างศักย์คร่อมตัวเก็บประจุ
ที่โวลต์มิเตอร์วัดค่าได้
500 nF 50 mH

15 X

+
V = 120 sin (100t)

1. 24 V
2. 48 V
3. 48 2 V
4. 160 V
5. 80 2 V

15. กระจกเว้้ามีีรััศมีีความโค้้ง 12 cm จากนั้้�นวางวััตถุุ A ห่่างจากกระจก 8 cm พบว่่าเกิิด


ภาพขยายขนาดหนึ่่�ง จงหาว่่าจะต้้องวางวััตถุุห่่างจากกระจกเว้้านี้้�เป็็นระยะเท่่าใด ภาพที่่�ได้้
จึึงจะเป็็นภาพชนิิดเดีียวกััน และมีีกำำ�ลัังขยายเป็็นครึ่่�งเท่่าของตอนแรก
1. 6 cm
2. 8 cm
3. 10 cm
4. 12 cm
5. 15 cm
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 12
วันที่ 24 ม.ค. 64 เวลา 13:30 - 15:00 น.

16. ท่อปลายปิดหนึ่งข้างสูง 30 cm เมื่อทดลองส่งคลื่นเสียงที่มีความถี่ค่าหนึ่ง เข้าที่ด้านปลายเปิด


ของท่อจะเกิดปรากฏการณ์เรโซแนนซ์ขึ้นซึ่งเป็นฮาร์มอนิกที่ 3 จะต้องเติมน�้ำใส่ท่อสูงอย่างน้อย
ที่สุดเท่าใดจึงจะเกิดปรากฏการณ์เรโซแนนซ์อีกครั้ง
1. 8 cm
2. 10 cm
3. 18 cm
4. 20 cm
5. 28 cm

17. ลวดตัวนํา AB มีความต้านทาน 5 โอห์ม วางพาดบนรางตัวนํารูปตัวยู รางตัวนําต่อเป็นวงจรกับ


เซลล์์ไฟฟ้้า 12 โวลต์์ ความต้้านทานภายใน 1 โอห์์ม ถ้้าสนามแม่่เหล็็กมีีขนาด 2.5 เทสลา และ
ลวด AB มีีมวล 100 กรััม เมื่่�อเริ่่�มปล่่อยลวด AB ให้้เคลื่่�อนที่่�จากหยุุดนิ่่�ง จงหาว่่าขณะนั้้�น
ลวด AB มีีความเร่่งเท่่าใดในสนามแม่่เหล็็กนี้้�
A
× × × × × ×
12 V
× × × × × × B
10 cm
× × × × × ×
1Ω
× × × × × ×
B

1. 2.00 m/s2
2. 3.00 m/s2
3. 5.00 m/s2
4. 7.50 m/s2
5. 10.00 m/s2
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 13
วันที่ 24 ม.ค. 64 เวลา 13:30 - 15:00 น.

18. ข้อใดไม่ถูกต้อง
1. พลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าขึ้นกับความถี่
2. คลื่นแสงสีน�้ำเงินมีความถี่มากกว่าคลื่นแสงสีเหลือง
3. คลื่นไมโครเวฟ สามารถเคลื่อนที่ทะลุพลาสติกได้
4. คลื่นวิทยุ AM จะส่งไปได้ไกลกว่า FM ในการส่งภาคพื้นเพราะมีความยาวคลื่นที่ยาวกว่า
5. ในการอัลตราซาวนด์ใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในการตรวจ

19.
ข้อใดไม่ถูกต้อง
1. ไดนาโม ท�ำหน้าที่เปลี่ยนพลังงานแม่เหล็กไปเป็นพลังงานไฟฟ้า
2. มอเตอร์ ท�ำหน้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าไปเป็นพลังงานกล
3. โซลาร์เซลล์ ท�ำหน้าที่เปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์ไปเป็นพลังงานไฟฟ้า
4. กังหันลม ท�ำหน้าที่เปลี่ยนพลังงานจลน์ของลมไปเป็นพลังงานกล จากนั้นเปลี่ยนพลังงานกล
ไปเป็นพลังงานไฟฟ้า
5. เซลล์เชื้อเพลิง ท�ำหน้าที่เปลี่ยนพลังงานเคมีไปเป็นพลังงานไฟฟ้า เกิดจากกระบวนการเคมี
ไฟฟ้า จึงไม่เกิดกระบวนการเผาไหม้
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 14
วันที่ 24 ม.ค. 64 เวลา 13:30 - 15:00 น.

20. ในกระบอกสูบมีแก๊สอุดมคติจ�ำนวนหนึ่ง ที่มีความดัน 120 kPa โดยลูกสูบจะเคลื่อนที่เมื่อแก๊ส


ได้รับความร้อนเพิ่มขึ้น ท�ำให้อุณหภูมิเปลี่ยนจาก 275 K เป็น 295 K พบว่าพลังงานความร้อน
ที่ใช้ในการท�ำให้ กระบอกสูบเคลื่อนที่ภายใต้สภาวะความดันคงที่มีค่าเท่ากับ 436.35 J
(ก�ำหนดให้ความจุความร้อนจ�ำเพาะที่ปริมาตรคงที่ของแก๊สนี้มีค่า 20.78 J/mol.K)
จงหาว่่าแก๊๊สในลููกสููบมีีปริิมาณประมาณเท่่าใด
1. 0.25 mol
2. 0.50 mol
3. 0.75 mol
4. 1.00 mol
5. 2.25 mol

21. กาต้มน�้ำไฟฟ้า 1,000 W 220 V ประสิทธิภาพ 80% น�ำมาต้มน�้ำมวล 1 kg ที่มีอุณหภูมิ


20cC จนเดือด ถ้าเปลี่ยนมาใช้กระทะไฟฟ้าที่มีประสิทธิภาพ 60% ต้มน�้ำจนเดือด ปรากฏว่า
ใช้เวลานานกว่ากาต้มน�้ำไฟฟ้าอยู่ 5 นาที ถ้ากระทะไฟฟ้าใช้ไฟ 220 V กระทะไฟฟ้าจะต้อง
ใช้ก�ำลังไฟฟ้ากี่วัตต์
(ก�ำหนดให้ ค่าความจุความร้อน 4,200 J/kg�K)
1. 748 Watt
2. 758 Watt
3. 778 Watt
4. 878 Watt
5. 978 Watt
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 15
วันที่ 24 ม.ค. 64 เวลา 13:30 - 15:00 น.

22.
ถ้าต้องการให้น�้ำแข็งมวล 200 g อุณหภูมิ 0cC กลายเป็นไอ 20% และเป็นน�้ำอุณหภูมิ 100cC
ที่ความดันบรรยากาศต้องให้ความร้อนเป็นปริมาณเท่าใด
ก�ำหนดให้ ค่าความร้อนแฝงในการหลอมเหลวของน�้ำมีค่าเท่ากับ 333 kJ/kg
ค่าความร้อนแฝงในการกลายเป็นไอของน�้ำมีค่าเท่ากับ 2250 kJ/kg
ค่าความจุความร้อนจ�ำเพาะของน�้ำมีค่าเท่ากับ 4.2 kJ/kg�K
1. 150.6 kJ
2. 223.8 kJ
3. 240.6 kJ
4. 510.6 kJ
5. 610.6 kJ

23. เครื่องอัดไฮดรอลิกมีประสิทธิภาพ 70 เปอร์เซ็นต์ และได้เปรียบเชิงกล 35 เท่า จงหาว่ารัศมี


ของลูกสูบใหญ่เป็นกี่เท่าของลูกสูบเล็ก
1. 2 5 เท่า
2. 35 เท่า
3. 5 2 เท่า
4. 35 เท่า
5. 50 เท่า
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 16
วันที่ 24 ม.ค. 64 เวลา 13:30 - 15:00 น.

24. แผ่่นโฟมตัันรููปปริิซึึมความกว้้าง 0.8 m ยาว 2 m ลอยอยู่่�บนน้ำำ�� ความสููงที่่�ลอยพ้้นน้ำำ��วััดได้้


40 mm เมื่่�อวางวััตถุุหนึ่่�งบนแผ่่นโฟมที่่�ภาวะสมดุุล แผ่่นโฟมจมลงไปอีีก 15 mm
จงหามวลของวััตถุุนี้้�
1. 3.60 kg
2. 4.80 kg
3. 12.0 kg
4. 24.0 kg
5. 36.0 kg

25. ถ้้าตาชั่่�ง A อ่่านได้้ 5 kg และตาชั่่�ง B อ่่านได้้ 4.2 kg และเมื่่�อดึึงตาชั่่�ง B ที่่�ผููกกัับมวลที่่�จมอยู่่�


ในน้ำำ��ขึ้้�นด้้วยความเร็็วคงที่่� ที่่�มีีค่่าต่่างๆ แล้้วทำำ�การวััดแรงหนืืดจึึงได้้ผล ดัังกราฟ

Fv (N)

10

5 v (m/s)
A B 10

พิิจารณาข้้อความต่่อไปนี้้� ข้้อใดถููกต้้อง
1. ถ้้าดึึงขึ้้�นด้้วยแรง 60 N วััตถุุจะมีีขนาดความเร็็วเท่่ากัับ 10 m/s
2. ถ้้าดึึงขึ้้�นด้้วยแรง 60 N วััตถุุจะมีีขนาดความเร็็วเท่่ากัับ 18 m/s
3. ถ้้าดึึงขึ้้�นด้้วยแรง 60 N วััตถุุจะมีีขนาดความเร็็วเท่่ากัับ 25 m/s
4. ถ้้าดึึงขึ้้�นด้้วยแรง 60 N วััตถุุจะมีีขนาดความเร็็วเท่่ากัับ 42 m/s
5. ถ้้าดึึงขึ้้�นด้้วยแรง 60 N วััตถุุจะมีีขนาดความเร็็วเท่่ากัับ 60 m/s
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 17
วันที่ 24 ม.ค. 64 เวลา 13:30 - 15:00 น.

26. สายยางรดน�้ำต้นไม้มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2 cm ถูกใช้เติมน�้ำในโอ่งขนาด 120 ลิตร


จนเต็มภายในเวลา 2 นาที ถ้าน�ำสายยางนี้มาต่อกับหัวฉีดที่มีขนาดพื้นที่หน้าตัด 0.4 cm2
และฉีดไปในแนวระดับสูงจากพื้น 1.25 m ด้วยอัตราการไหลเท่าเดิม อยากทราบว่าน�้ำจะตก
ถึงพื้นห่างจากหัวฉีดเป็นระยะทางเท่าใดตามแนวระดับ
1. 0.00125 m
2. 1.25 m
3. 12.5 m
4. 750 m
5. 1,250 m

27.
แก๊๊ส A บรรจุุอยู่่�ในถััง 5.00 ลิิตร ที่่�อุุณหภููมิิ 27 องศาเซลเซีียส โดยมีีความดัันค่่าหนึ่่�ง และ
แก๊๊ส B บรรจุุอยู่่�ในถััง 3.00 ลิิตร ที่่�อุุณหภููมิิ 27 องศาเซลเซีียส มีีความดััน 1.60 บรรยากาศ
เมื่่�อต่่อท่่อให้้แก๊๊สทั้้�งสองชนิิดผสมกััน โดยแก๊๊สทั้้�งสองชนิิดไม่่ทำำ�ปฏิิกิริิ ยิ ากัันและปริิมาตรของท่่อ
มีีค่าน้
่ อ้ ยมาก ความดัันรวมของแก๊๊สผสมจะเป็็น 3.50 บรรยากาศ และอุุณหภููมิิเพิ่่�มขึ้้�นเป็็น
227 องศาเซลเซีียส แล้้วความดัันของแก๊๊ส A ก่่อนผสมเป็็นกี่่�บรรยากาศ
1. 1.84
2. 1.90
3. 2.40
4. 3.36
5. 4.64
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 18
วันที่ 24 ม.ค. 64 เวลา 13:30 - 15:00 น.

28. สารในข้้อใดต่่อไปนี้้�มีีเนื้้�อสารแตกต่่างจากข้้ออื่่�น
1. กาว
2. น้ำำ��ปููนใส
3. น้ำำ��สลััด
4. น้ำำ��นม
5. แยม

29. โลหะแทรนซิิชัันในข้้อใดมีีเลขออกซิิเดชัันน้้อยที่่�สุุด
1. [Fe(CN)6]3-
2. Cr2O72-
3. [CoCl(NH3)5]2+
4. K4[Ni(CN)4]
5. [Cu(NH3)4]SO4

30. สารในข้้อใดเมื่่�อละลายน้ำำ��แล้้วเปลี่่�ยนสีีกระดาษลิิตมััสแตกต่่างกััน
1. HCl และ NH4NO3
2. KNO3 และ NaCl
3. NH3 และ KOH
4. NaHSO4 และ Ca(OH)2
5. NaOH และ KCN
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 19
วันที่ 24 ม.ค. 64 เวลา 13:30 - 15:00 น.

31. แก๊๊ส PCl5 สลายตััวได้้ดัังสมการ


PCl5(g) ? PCl3(g) + Cl2(g) ΔH = 90 kJ/mol
พิิจารณาข้้อความต่่อไปนี้้�
ก. ปฏิิกิิริิยา PCl5(g) ? PCl3(g) + Cl2(g) เป็็นปฏิิกิิริิยาคายความร้้อน
ข. ถ้้ารบกวนสมดุุลโดยการลดอุุณหภููมิิของระบบ ค่่าคงที่่�สมดุุลจะมีีค่่าลดลง
ค. ถ้้ารบกวนสมดุุลโดยการเพิ่่�มปริิมาตรภาชนะ สมดุุลจะเลื่่�อนไปทางซ้้าย
ง. เมื่่�อเติิมตััวเร่่งปฏิิกิริิ ิยา สมดุุลจะเลื่่�อนไปทางขวามากขึ้้�น แต่่ค่่าคงที่่�สมดุุลคงเดิิม
ข้้อใดกล่่าวถููกต้้อง
1. ข. เท่่านั้้�น
2. ง. เท่่านั้้�น
3. ก. และ ค.
4. ข. และ ค. เท่่านั้้�น
5. ข., ค. และ ง.

32. เซลล์์ชนิิดใดต่่อไปนี้้�มีีลัักษณะการทำำ�งานแตกต่่างจากพวก
1. ถ่่านไฟฉ่่าย
2. เซลล์์แอลคาไลน์์
3. เซลล์์ปรอท
4. แบตเตอรี่่�ซิิลเวอร์์ออกไซด์์
5. เซลล์์เชื้้�อเพลิิงแบบแอลคาไลน์์
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 20
วันที่ 24 ม.ค. 64 เวลา 13:30 - 15:00 น.

33. ธาตุุ A 10 โมล ทำำ�ปฏิิกิิริิยาพอดีีกัับแก๊๊สออกซิิเจน 112 ลููกบาศก์์เดซิิเมตร ที่่� STP ในภาชนะปิิด


เมื่่�อปฏิิกิิริิยาสิ้้�นสุุด เกิิดผลิิตภััณฑ์์เป็็นสารประกอบออกไซด์์ หนััก 560 กรััม เพีียงชนิิดเดีียว
เท่่านั้้�น ธาตุุ A มีีมวลอะตอมเท่่าใด
1. 11
2. 24
3. 26
4. 40
5 65

34. โมเลกุุลใดต่่อไปนี้้�เป็็นโมเลกุุลไม่่มีีขั้้�ว
1. OF2
2. PCl3
3. HCN
4. ClF5
5. XeF4
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 21
วันที่ 24 ม.ค. 64 เวลา 13:30 - 15:00 น.

35. ถ้าเข็มยาวและเข็มสั้นของนาฬิกา ยาว 7 และ 4 เซนติเมตร ตามลำ�ดับ


จงหาระยะทางจากจุดปลายของเข็มยาวไปยังจุดปลายของเข็มสั้น
เมื่อนาฬิกาเรือนนี้บอกเวลา 14 : 00 น.
1. 27 หน่วย
2. 32 หน่วย
3. 34 หน่วย
4. 37 หน่วย
5. 41 หน่วย

36. จงหาอัตราส่วนของพื้นที่ผิวต่อปริมาตรของทรงกลมตันที่มีรัศมี 4 หน่วย


1. 0.60
2. 0.70
3. 0.75
4. 0.80
5. 0.90
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 22
วันที่ 24 ม.ค. 64 เวลา 13:30 - 15:00 น.

37. จงหาเลขถัดไปของลำ�ดับต่อไปนี้
4, 6, 10, 14, 22, ...
1. 24
2. 26
3. 28
4. 30
5. 34

38. โรงภาพยนตร์แห่งหนึ่งจัดเก้าอี้เป็นแถวสำ�หรับผู้ชม โดยแถว A มี 7 ที่นั่ง


และแถวต่อไปจะเพิ่มจำ�นวนเก้าอี้จากแถวก่อนหน้า 4 ตัวเสมอ
ถ้าโรงภาพยนตร์แห่งนี้มีที่นั่งตั้งแต่แถว A - Z จงหาว่าโรงภาพยนตร์แห่งนี้
สามารถจุผู้ชมได้ทั้งหมดกี่คน
1. 1,248 คน
2. 1,384 คน
3. 1,412 คน
4. 1,460 คน
5. 1,482 คน
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 23
วันที่ 24 ม.ค. 64 เวลา 13:30 - 15:00 น.

39. กำ�หนดให้ f1(x) = 3x + 2


2
f2 (x) = 2x - 1

f3 (x) = - 2 x
ค่าของ f3 (16) เป็นกี่เท่าของ f3 (f2 (f1(1)))
1. 72
2. 4
7
3. 6
7
4. 5
9
5. 8
9

40. จุดตัดของสมการ x = - 4y และ 2xy = - 16


ห่างจากจุดกำ�เนิดเป็นระยะเท่าใด
1. 30 หน่วย
2. 32 หน่วย
3. 34 หน่วย
4. 6 หน่วย
5. 38 หน่วย
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 24
วันที่ 24 ม.ค. 64 เวลา 13:30 - 15:00 น.

41. แบคทีเรียสายพันธุ์ A เพิ่มขึ้นเป็น 3 เท่า ในทุกๆ 1 ชั่วโมง


ถ้าเริ่มต้นมีแบคทีเรีย 3 เซลล์ เมื่อ ครบ 8 ชั่วโมง
จะมีแบคทีเรียเพิ่มขึ้นจากจำ�นวนเริ่มต้นกี่เซลล์
1. 38 เซลล์
7
2. 3 (3 - 1) เซลล์
3. 39 เซลล์
8
4. 3 (3 - 1) เซลล์
5. 39 - 1 เซลล์

42. การเพิ่มขึ้นของจำ�นวนประชากร สามารถคาดการณ์ได้จาก


n (t) = n0 (1 + r) t
เมื่อ n (t) แทนจำ�นวนประชากรเมื่อเวลาผ่านไป t ปี
n0 แทนจำ�นวนประชากรเมื่อเวลาเริ่มต้น
r แทนอัตราการเพิ่มขึ้นของประชากรต่อปี
ถ้าในปี พ.ศ. 2564 ประเทศไทยมีประชากร 66 ล้านคน
อยากทราบว่าประเทศไทยจะมีประชากร 72 ล้านคนในปี พ.ศ. ใด
ถ้าสมมติว่าจำ�นวนประชากรเพิ่มขึ้นด้วยอัตราคงที่ 0.45 % ต่อปี
(ให้ log 11 = 1.041, log 12 = 1.079, log (1.0045) = 0.0019 )
1. พ.ศ. 2584
2. พ.ศ. 2585
3. พ.ศ. 2586
4. พ.ศ. 2587
5. พ.ศ. 2588
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 25
วันที่ 24 ม.ค. 64 เวลา 13:30 - 15:00 น.

43. บริษัทแห่งหนึ่งสั่งซื้อวัคซีนป้องกัน Covid-19 เพื่อฉีดให้กับพนักงานทุกคนจำ�นวน 400 โดส


โดยสั่งซื้อจากบริษัท A จำ�นวน 160 โดส ในราคาโดสละ 1,800 บาท และสั่งซื้อที่เหลือ
จากบริษัท B ในราคาโดสละ 2,000 บาท อยากทราบว่าวัคซีน 1 โดส มีราคาเฉลี่ยเท่าใด
1. 1,880 บาท
2. 1,900 บาท
3. 1,910 บาท
4. 1,920 บาท
5. 1,940 บาท

44. มีบัตร 4 ใบ แต่ละใบมีตัวอักษร M, O, C, K เขียนกำ�กับไว้บัตรละ 1 ตัวอักษร สุ่มหยิบบัตร 4 ใบ


โดยหยิบทีละใบแล้วใส่คืนก่อนหยิบบัตรใบถัดไป จงหาความน่าจะเป็นของบัตรที่ได้เรียงตามลำ�ดับเป็น
คำ�ว่า MOOK
1. 256 4

2. 3
256
3. 2
256
4. 1
256
5. 0
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 26
วันที่ 24 ม.ค. 64 เวลา 13:30 - 15:00 น.

45. กำ�หนดให้ u = i + 3j , v = - 3 i + 2j + k และ w = 2 i + aj + k


ถ้า u $ v = u $ w แล้ว ค่า a มีค่าเท่าใด
1. 13
2. 2
3
3. 1

4. 4
3
5. 5
3

46. ให้ A และ B เป็นเมทริกซ์ที่มีขนาด 3 # 3 โดยที่ det A = 2, det B = 3


3 2 t
(A B )
ค่าของ detdet 2A
มีค่าเท่าใด
1. 2.5
2. 3.5
3. 4.5
4. 5.5
5. 6.5
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 27
วันที่ 24 ม.ค. 64 เวลา 13:30 - 15:00 น.

47. จงหาระยะทางระหว่างจุด (1, 2) และเส้นตรง y = - 3x + 2


1. 10 หน่วย
10
2. 2 หน่วย
10
3. 3 หน่วย
10
4. 4 หน่วย
10
5. 7
10 หน่วย
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 28
วันที่ 24 ม.ค. 64 เวลา 13:30 - 15:00 น.

48. ภาพฉายต่อไปนี้ คือภาพฉายของงานชิ้นใด

1. 2.

3. 4.

5.
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 29
วันที่ 24 ม.ค. 64 เวลา 13:30 - 15:00 น.

49. วัตถุสามมิติต่อไปนี้ มีภาพฉายตามข้อใด

1. 2.

3. 4.

5.
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 30
วันที่ 24 ม.ค. 64 เวลา 13:30 - 15:00 น.

50.

วัตถุสามมิติต่อไปนี้มีภาพฉายตามข้อใด

1. 2.

3. 4.

5.
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 31
วันที่ 24 ม.ค. 64 เวลา 13:30 - 15:00 น.

51.

รูปในข้อใดประกบชิ้นงานได้พอดี

1. 2.

3. 4.

5. ไม่มีข้อใดถูก
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 32
วันที่ 24 ม.ค. 64 เวลา 13:30 - 15:00 น.

52. ระบบเบรคแบบ ABS (Anti-Lock Brake System) คืือระบบเบรคที่่�จะห้้ามล้้อเป็็นจัังหวะ


แทนที่ จะเป็นการห้ามล้อตลอดเวลาที่เหยียบเบรค ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับระบบเบรค
ABS นี้
1. คนขับพอจะสามารถควบคุมทิศทางของรถยนต์ในขณะท�ำการเบรคได้
2. ใช้ระยะทางในการเบรคจนหยุดนิ่งน้อยกว่าระบบเบรคแบบทั่วไป
3. เกิดการสั่นสะเทือนภายในห้องโดยสารมากกว่าระบบเบรคแบบทั่วไป
4. ลดโอกาสเกิดการพลิกคว�่ำเนื่องจากการเบรค
5. ลดการสึกหรอของดอกยาง

53. ภาพ ? คืือภาพในข้้อใด

1. 2. 3. 4. 5.


ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 33
วันที่ 24 ม.ค. 64 เวลา 13:30 - 15:00 น.

54. สารในข้้อใดเมื่่�อบรรจุุด้้วยกัันในภาชนะปิิด ซึ่่�งมีีอากาศบรรจุุอยู่่�ที่่�อุุณหภููมิิ 80 oC


แล้้วมีีความเสี่่�ยงในการติิดไฟน้้อยที่่�สุุด
1. แก๊๊สบิิวเทน กระดาษ
2. น้ำำ��มัันเบนซิิน น้ำำ��มัันก๊๊าด
3. ไม้้อััด แก๊๊สคาร์์บอนไดออกไซด์์
4. ขี้้�เถ้้า แก๊๊สไฮโดรเจน
5. น้ำำ��มัันหมูู เบนซีีน

55. ข้้อใดกล่่าวไม่่ถููกต้้อง
1. ไดนาโม (Dynamo) คืืออุุปกรณ์์ที่่�สามารถเปลี่่�ยนพลัังงานกลเป็็นพลัังงานไฟฟ้้า
2. ฟ้้าร้้อง เกิิดขึ้้�นได้้เมื่่�อมีีฟ้้าแลบหรืือฟ้้าผ่่าเท่่านั้้�น
3. เครื่่�องใช้้ไฟฟ้้าชิ้้�นหนึ่่�งระบุุว่่า "220 V, 110 W" ถ้้าต่่ออุุปกรณ์์ชิ้้�นนี้้�เข้้ากัับไฟฟ้้า 200 V
อุุปกรณ์์จะไม่่สามารถทำำ�งานได้้
4. รีีเลย์์ (Relay) คืืออุุปกรณ์์ที่่�ทำำ�หน้้าที่่�เหมืือนสวิิตซ์์ในวงจรโดยอาศััยแม่่เหล็็กไฟฟ้้า
5. ระบบไฟฟ้้าภายในบ้้านควรมีีการติิดตั้้�งสายดิินเพื่่�อป้้องกัันไฟรั่่�ว
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 34
วันที่ 24 ม.ค. 64 เวลา 13:30 - 15:00 น.

56. ดััชนีีคุณ
ุ ภาพอากาศ (Air Quality Index : AQI) เป็็นการรายงานข้้อมููลคุุณภาพอากาศในรููปแบบ
ที่่�ง่่ายต่่อความเข้้าใจของประชาชนทั่่�วไป ให้้ทราบถึึงสถานการณ์์มลพิิษทางอากาศในแต่่ละพื้้�นที่่�
ว่่าอยู่่�ในระดัับใด มีีผลกระทบต่่อสุุขภาพหรืือไม่่ ซึ่่�งดััชนีีคุุณภาพอากาศ 1 ค่่า ใช้้เป็็นตััวแทน
ค่่าความเข้้มข้้นของสารมลพิิษทางอากาศ 6 ชนิิด สารในข้้อใดไม่่ใช่่สารมลพิิษทางอากาศที่่�ถููกใช้้
วััดค่่า AQI
1. CO
2. CH4
3. NO2
4. SO2
5. O3

57. พิิจารณาข้้อความต่่อไปนี้้�
ก) สมศัักดิ์์�เป็็นพ่่อ ข) เขีียวและแดงเป็็นลููก
ค) สมบููรณ์์เป็็นพ่่อ ง) 1 ใน สมศัักดิ์์�หรืือขาวหรืือแดง เป็็นพ่่อ
จากข้้อมููลนี้้�เป็็นการพููดถึึงสถานการณ์์ที่่�มีพ่ี ่อ 1 คน ลููก 4 คน
และมีีเพีียง 1 ข้้อความข้้างต้้นเป็็นจริิง อยากทราบว่่าใครเป็็นพ่่อ
1. สมศัักดิ์์�
2. สมบููรณ์์
3. เขีียว
4. แดง
5. ขาว
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 35
วันที่ 24 ม.ค. 64 เวลา 13:30 - 15:00 น.

58. ข้อใดไม่ใช่หลักปฏิบัติที่ถูกต้องเมื่อเกิดเหตุไฟไหม้ภายในอาคาร
1. หมอบคลานต�่ำหรือย่อตัวใกล้กับระดับพื้น
2. กดสัญญาณเตือนภัยทันที
3. ใช้ถังดับเพลิงควบคุมเพลิงในเบื้องต้น
4. รีบเปิดประตูหนีออกจากอาคารทันที
5. ใช้ผ้าชุบน�้ำปิดปากปิดจมูก

59.
ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
1. น้ำำ��ปููนใสมีีสมบััติิเป็็นด่่าง
2. แว่่นขยายสร้้างจากเลนส์์เว้้า
3. พายุเฮอร์ริเคน คือพายุหมุนเขตร้อนที่เกิดขึ้นบริเวณมหาสมุทรแอตแลนติก
4. เมื่อแสงเปลี่ยนตัวกลางจากน�้ำไปสู่อากาศจะเกิดทั้งการสะท้อนและการหักเห
5. ความเร็วหลุดพ้น (escape velocity) คือ ความเร็วอย่างน้อยที่สุดที่ยานอวกาศต้องใช้
ในการหลุดจากแรงดึงดูดของโลก
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 36
วันที่ 24 ม.ค. 64 เวลา 13:30 - 15:00 น.

60. รูปใดอธิบายการเกิด "ลมบก" ได้ถูกต้อง


1. 2.

แผ่นดิน แผ่นดิน
ทะเล ทะเล

3. 4.

แผ่นดิน
แผ่นดิน
ทะเล
ทะเล

5.

แผ่นดิน
ทะเล
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 37
วันที่ 24 ม.ค. 64 เวลา 13:30 - 15:00 น.

61. รถ A กับ B มวล 1000 kg เท่ากัน ห่างกัน 1 km วิ่งทิศสวนทางกัน A มีความเร็วต้น


20 m/s และ B มีความเร็วต้น 30 m/s ถ้ารถทั้งสองคันเริ่มเบรกพร้อมกันหลังผ่านไปแล้ว
10 วินาทีและจากนั้นจึงหยุดพร้อมกันที่จุดหนึ่ง ถ้าจะเบรกให้รถ A, B แตะกันพอดี
โดยไม่เกิดแรงปะทะ จงหาว่าคนขับรถ B ต้องออกแรงเบรกอย่างน้อยที่สุดกี่นิวตัน

62. สปริงตัวล่างถูกอัดตัวเป็นระยะ 10 cm จากต�ำแหน่งสมดุลเดิม น�ำวัตถุมวล 1 kg มาวางชิด


กับสปริง ดังรูป เมื่อปล่อยให้สปริงดีดตัวกลับ วัตถุจะวิ่งไปตามราวที่ไม่มีความเสียดทาน
จงหาว่าสปริงตัวบนจะหดไปกี่เซนติเมตร
(ให้ g = 10 m/s2 )

k2 = 300 N/m g
k1 = 700 N/m
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 38
วันที่ 24 ม.ค. 64 เวลา 13:30 - 15:00 น.

63. นำำ�จุุดประจุุ +2.5 n C จำำ�นวน 2 ตััว และจุุดประจุุ -2.5 n C จำำ�นวน 1 ตััว มาวางที่่�จุุดยอดของ
สามเหลี่่�ยมด้้านเท่่า ที่่�มีีระยะแต่่ละด้้านยาว 2.0 m จงหาขนาดของสนามไฟฟ้้าที่่�จุุดเซนทรอยด์์
ว่่ามีีขนาดกี่่�กิิโลนิิวตัันต่่อคููลอมบ์์
(กำำ�หนดให้้ 2 = 1 .414, 3 = 1.732, 5 = 2.236 )

64. แหล่่งจ่่าย VS = 120 sin(100t) ต่่อขนานกัับตััวต้้านทาน 20 X ขดลวดเหนี่่�ยวนำำ� 100 mH


และตััวเก็็บประจุุ 500 n F กระแสไฟฟ้้า Is จะมีีค่่าสููงสุุดกี่่�แอมแปร์์
(กำำ�หนดให้้ 2 = 1 .414, 3 = 1.732, 5 = 2.236 )

Is
100 mH

VS = 120 sin(100t)
+

20 X
500 n F
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 39
วันที่ 24 ม.ค. 64 เวลา 13:30 - 15:00 น.

65.
เมื่่�อปล่่อยให้้น้ำำ��ไหลผ่่านท่่อ A และ B ซึ่่�งต่่อกัับแมนอมิิเตอร์์ที่่�บรรจุุด้้วยปรอทที่่�มีี
ความถ่่วงจำำ�เพาะเท่่ากัับ 13.6 ดัังรููป จงหาว่่าผลต่่างความดัันระหว่่างท่่อ A และ B
มีีค่่ากี่่�กิิโลพาสคััล
(กำำ�หนดให้้ g = 10 m/s2)

น�้ำ
น�้ำ B

A 200 cm

150 cm
50 cm

ปรอท
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 40
วันที่ 24 ม.ค. 64 เวลา 13:30 - 15:00 น.

66. ปั๊มส่งน�้ำไปยังฝักบัวอาบน�้ำผ่านท่อเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5 cm โดยความยาวท่อรวมจากปั๊ม


ไปยังฝักบัวอาบน�้ำเท่ากับ 40 เมตร และฝักบัวอยู่สูงจากระดับปั๊ม 3 เมตร โดยฝักบัวมีทั้งหมด
250 รู แต่ละรูมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.1 cm ขณะที่ความเร็วเฉลี่ยของน�้ำที่ออกจากฝักบัว
เท่ากับ 10 m/s ความดันสัมบูรณ์ของน�้ำขณะออกจากปั๊มมีค่ากี่ kPa
กำำ�หนดให้้ ความดัันบรรยากาศมีีค่่าเท่่ากัับ 105 Pa
ความโน้้มถ่่วงของโลกมีีค่่าเท่่ากัับ 10 m/s2

3m

ปั๊มน�้ำ
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 41
วันที่ 24 ม.ค. 64 เวลา 13:30 - 15:00 น.

67. รถยนต์จอดในที่ร่ม อุณหภูมิอากาศภายในรถเป็น 27 องศาเซลเซียส แต่เมื่อจอดกลางแดด


อุณหภูมิอากาศภายในรถเป็น 77 องศาเซลเซียส มวลอากาศแทรกออกมาจากรถ
ไปกี่เปอร์เซ็นต์เทียบกับมวลเดิม หากความดันอากาศภายในรถคงเดิม

68.ในกระบวนการผสมเพื่่�อผลิิตน้ำำ��ผลไม้้รวม ซึ่่�งประกอบไปด้้วยน้ำำ��ส้้ม น้ำำ��องุ่่�น และน้ำำ��สัับปะรด


โดยมีีความเข้้มข้้นและอััตราการไหลโดยปริิมาตร ดัังรููป ที่่�สภาวะคงตััว (Steady State)
ถ้้าต้้องการผลิิตน้ำำ��ผลไม้้รวมเข้้มข้้น 60% โดยมวลต่่อปริิมาตร และมีีอััตราการไหลขาออก
เท่่ากัับ 600 L/min จะต้้องให้้น้ำำ��ส้้มมีีอััตราการไหล (V1) กี่่� L/min
V2
C2 = 80% โดยมวลต่่อปริิมาตร
น�้ำองุ่น

น�้ำส้ม น�้ำผลไม้รวม
V1 V4 = 600 L/min
C1 = 60% โดยมวลต่อปริมาตร C4 = 60% โดยมวลต่่อปริิมาตร

น�้ำสับปะรด
V3 = 200 L/min
C3 = 45% โดยมวลต่่อปริิมาตร
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 42
วันที่ 24 ม.ค. 64 เวลา 13:30 - 15:00 น.

69. กระดาษรููปสี่่�เหลี่่�ยมผืืนผ้้าขนาด 8 # 15 นิ้้�ว ถ้้าตััดมุุมทั้้�ง 4 ของกระดาษ แล้้วพัับขึ้้�นเป็็นกล่่อง ดัังรููป

15 นิ้ว x x
x x
x x
8 นิ้ว
x x 15 - 2x
x x
x x

8 - 2x

จงหาว่่า จะต้้องตััดสี่่�เหลี่่�ยมจััตุรัุ ัสออกประมาณด้้านละเท่่าไร ถึึงจะทำำ�ให้้กล่่องนี้้�มีีปริิมาตรมากที่่�สุุด


(ตอบเป็็นทศนิิยม 2 ตำำ�แหน่่ง)

70. พื้้�นที่่� ABCD มีีพื้้�นที่่�กี่่�ตารางหน่่วย เมื่่�อกำำ�หนดพิิกััดเป็็นดัังนี้้�

A D
8

4
B
2 C

2 4 6 8
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร (PAT 3)

ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร (PAT 3)

ขอสอบมี 2 ตอน จำนวน 70 ขอ คะแนนเต็ม 300 คะแนน

ตอนที่ 1 แบบปรนัย 5 ตัวเลือก จำนวน 60 ขอ (ขอ 1 - 60) ขอละ 4 คะแนน รวม 240 คะแนน
วิธีการตอบ ใหระบายวงกลมที่เปนคำตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงวงกลมเดียว

1 13 25 37 49

2 14 26 38 50

3 15 27 39 51

4 16 28 40 52

5 17 29 41 53

6 18 30 42 54

7 19 31 43 55

8 20 32 44 56

9 21 33 45 57

10 22 34 46 58

11 23 35 47 59

12 24 36 48 60

กระดาษคำตอบหนา 1
ตอนที่ 2 แบบอัตนัย เปนแบบระบายคำตอบที่เปนตัวเลขที่คำนวณไดลงในกระดาษคำตอบ
จำนวน 10 ขอ (ขอ 61 - 70) ขอละ 6 คะแนน รวม 60 คะแนน
วิธีการตอบ ใหใชปากกาเขียนคำตอบที่เปนตัวเลขลงในชองวางใหตรงกับหลักเลขครบทั้งหกหลัก
ใหใชดินสอดำ 2B ระบายคำตอบในวงกลมใหตรงกับหลักเลข
ตองระบายคำตอบใหถูกตองครบทั้งหกหลัก
ถาคำตอบเปนเลขจำนวนเต็ม 0 3 7ตัวอย5าง. 0 0 ถาคำตอบมีทศนิยมดวย ตัวอยาง
0046.10
ถาคำตอบมีเฉพาะทศนิยม ตัวอยาง
0000.28
ใหระบายวงกลมที่ตรงกับหลักเลข ใหระบายวงกลมหลังจุดทศนิยม ตองระบายเลขศูนย (0)
ของคำตอบ และตองระบาย ใหครบทั้งสองหลัก และตองระบาย หนาทศนิยมใหครบ
เลขศูนย (0) หนาเลขจำนวนเต็ม เลขศูนย (0) หนาเลขจำนวนเต็ม ตัวอยาง
และทศนิยมใหครบ ใหครบ คำตอบเปน .28
ตัวอยาง ตัวอยาง
คำตอบเปน 375 คำตอบเปน 46.1

61 62 63 64 65

66 67 68 69 70

กระดาษคำตอบหนา 2

You might also like