You are on page 1of 147

ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.

com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน


บทที่ 6 โมเมนตัม และการชน
6.1 โมเมนตัม
โมเมนตั ม คื อผลคู ณ ระหว่างมวลกับ ความเร็ ว ของมวลนั้น เป็ นปริ ม าณเวกเตอร์ ซ่ ึ งมี
ทิศทางไปตามทิศของความเร็ วนั้น เขียนเป็ นสมการแสดงจะได้วา่
p = mv
เมื่อ p คือโมเมนตัม ( กิโลกรัม . เมตร/วินาที )
m คือมวล ( กิโลกรัม )
v คือความเร็ วของมวลนั้น ( เมตร/วินาที )
โมเมนตัมของวัตถุหรื อระบบใดๆ จาแนกได้ 2 ประเภท คือ
1. โมเมนตัมเชิงเส้ น ( linear momentum ) เป็ นโมเมนตัมของการเคลื่อนที่แบบเลื่อนที่
2. โมเมนตัมเชิงมุม ( angular momentum ) เป็ นโมเมนตัมของการเคลื่อนที่รอบจุดหนึ่ งๆ
โดยทัว่ ไปเมื่อใช้คาว่า "โมเมนตัม" จะหมายถึงโมเมนตัมเชิงเส้น

6.2 การดล และแรงดล


ในกรณี ที่วตั ถุถูกแรงกระทาวัตถุจะมีการเปลี่ยนแปลงความเร็ วและโมเมนตัม ค่าของ
โมเมนตัมที่เปลี่ยนไปเรี ยกว่า การดล ( p )
นัน่ คือ  p = p 2 – p 1
u v
p = mv – mu
F F
เมื่อ  p คือการดล ( กิโลกรัม . เมตร/วินาที ) m m
m คือมวล ( กิโลกรัม ) P1 = mu P2 = mv
v คือความเร็ วปลาย ( เมตร/วินาที )
u คือความเร็ วต้น ( เมตร/วินาที )
แรงที่ทาให้โมเมนตัมเปลี่ยนไป เรี ยกแรงดล ( F ) ซึ่ งหาค่าได้จาก
F =  pt และ F = m vΔt m u
เมื่อ F = แรงดล ( นิวตัน )
 t = เวลา ( วินาที )
21
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
หมายเหตุ ; ในการคานวณเกี่ยวกับโมเมนตัม การดล และแรงดลนั้น ต้องกากับทิศทางของตัว
แปรต่างๆ โดยใช้เครื่ องหมายบวกและลบ ดังนี้
+u, +v , +F, +p (ทิศเข้า)
สาหรับ ความเร็ วต้น( u ) , ความเร็ วปลาย ( v )
การดล (  p ) , แรงดล ( F )
หากมีทิศพุง่ เข้าหรื อไปข้างหน้าต้องใช้ค่าเป็ นบวก ( + ) –u, –v , –F, –p (ทิศออก)
หากมีทิศพุง่ ออกหรื อมาข้างหลังให้ใช้ค่าเป็ นลบ ( – )
1(แนว En) วัตถุมวล 4 กิโลกรัม เคลื่อนที่ดว้ ยอัตราเร็ วคงตัว 5 เมตรต่อวินาที ในแนวระดับ
ไปชนกาแพงแนวดิ่ งหลังจากชนแล้ววัตถุ กระดอนกลับในแนวเดิมด้วยอัตราเร็ วคงเดิม แต่
ทิศทางตรงกันข้าม จงหาโมเมนตัมที่เปลี่ยนไปหลังการชน และถ้าเวลาที่วตั ถุชนก าแพง 0.5
วินาที จงหาแรงเฉลี่ยที่กาแพงกระทาต่อวัตถุ
1. 40 กิโลกรัม. เมตร/วินาที , 80 นิวตัน
2. 20 กิโลกรัม. เมตร/วินาที , 100 นิวตัน
3. 10 กิโลกรัม. เมตร/วินาที , 70 นิวตัน
4. 10 กิโลกรัม. เมตร/วินาที , 50 นิวตัน

2(แนว En) ก้อนหิ นมวล 2 กิโลกรัม เคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ ว 6 เมตร/วินาที จะต้องใช้แรง


ขนาดกี่นิวตัน จึงจะสามารถหยุดก้อนหิ นก้อนนี้ได้ในช่วงเวลา 5 x 10–3 วินาที
1. 1200 2. 2400 3. 3600 4. 4500

22
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
3(แนว En) นักกี ฬาเตะลู กบอลมวล 0.2 กิ โลกรัม อัดกาแพงแล้วลู กบอลสะท้อนออกมาด้วย
อัตราเร็ ว 10 เมตรต่อวินาที ซึ่ งเท่ากับอัตราเร็ วเดิม ถ้าแรงที่กาแพงกระทาต่อลูกบอลเป็ น
40 นิวตัน ลูกบอลกระทบกาแพงอยูน่ านเท่าใด
1. 0.01 วินาที 2. 0.05 วินาที 3. 0.10 วินาที 4. 0.5 วินาที

ควรทราบเพิม่ เติม
พื้นที่ใต้กราฟของกราฟความสัมพันธ์ของแรงดล ( F ) กับเวลา ( t ) จะมีขนาดเท่ากับ
ขนาดของการดล (  p )
4(แนว En) ลูกบอลมวล 0.5 กิโลกรัม เคลื่อนที่
แรง (N)
ด้วยอัตราเร็ ว 5 เมตร/วินาที ในแนวระดับ
ถูกตีสวนด้วยไม้ กราฟระหว่างแรงกับเวลาใน 1000
ขณะกระทบกัน แสดงดังรู ปอัตราเร็ วหลังถูกตี 500
ของลูกบอลเป็ นกี่เมตร/วินาที เวลา (10–2 s)
1. 22.5 2. 25.0 0 1 2 3 4
3. 27.5 4. 30.0

23
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
6.3 การชน
6.3.1 กฎการอนุรักษ์ โมเมนตัม
กฎการอนุรักษ์ โมเมนตัม กล่ าวว่า " เมื่อไม่มีแรงภายนอกมากระทาต่อระบบ ผลรวมของ
โมเมนตัมของระบบตอนแรก จะเท่ากับผลรวมของโมเมนตัมของระบบตอนหลัง "
นัน่ คือ  p ก่อน =  p หลัง
 m u =  mv
5(แนว En) การชนกันของมวล A กับ B เป็ นดังรู ป จงหาว่า v มีค่ากี่เมตรต่อวินาที
0.2 kg 0.3 kg 0.2 kg 0.3 kg v
A B A B
8.0 m/s 2.0 m/s
ก่อนชน หลังชน
1. 2 2. 4 3. 6 4. 8

6(แนว En) เอและบีเป็ นนักสเกตมีมวล 60 และ 40 กิโลกรัม วิง่ สวนทางกันบนพื้นที่ลื่นมาก


ด้วยความเร็ ว 10 และ 5 เมตร/วินาที ตามลาดับ พุ่งเข้าชนกัน หลังชนเอมี ความเร็ ว 2
เมตร/วินาทีในทิศทางเดิม จงหาความเร็ วหลังชนของบีในหน่วยเมตร/วินาที
1. 2 2. 5 3. 7 4. 10

24
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
7(แนว En) รถ A มีมวล 1000 กิโลกรัม จอดอยูน่ ิ่ง ถูกรถ B มวล 1200 กิโลกรัม วิง่ เข้า
ชนแล้วรถทั้งสองติดกันไปมีความเร็ ว 4 เมตร/วินาที จงหาว่าก่อนชนรถ B มีความเร็ วกี่
เมตร/วินาที
1. 2.33 2. 4.33 3. 6.33 4. 7.33

8(แนว En) วัตถุสองก้อนมวล 2 และ 4 กิโลกรัม วางอยูน่ ิ่งๆ


โดยมีสปริ งอัดอยูร่ ะหว่างกลาง เมื่อปล่อยให้เกิดการเคลื่อน 2 kg 4 kg
ที่ มวล 2 กิโลกรัม จะเคลื่อนที่ออกไปด้วยความเร็ ว 10
เมตร/วินาที จงหาว่ามวล 4 กิโลกรัม จะเคลื่อนที่ออกไปด้วยความเร็ วเท่าใด
1. 5 เมตร/วินาที 2. 15 เมตร/วินาที 3. 24 เมตร/วินาที 4. 30 เมตร/วินาที

25
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
9. ลูกกลม 2 ลูก มวล 4 และ 2 กิโลกรัม ตามลาดับ มี
ขนาดของความเร็ วก่อนชนดังรู ป ความเร็ วหลังชน เมื่อ 2 kg
มวลทั้งสองเคลื่อนที่ติดกันไปมีค่ากี่เมตรต่อวินาที 3 m/s
1. 1.4 2. 1.7 4 kg 2 m/s
3. 2.4 4. 6.0

6.3.2 การชนแบบยืดหยุ่น และไม่ ยืดหยุ่น


การชนกันของวัตถุโดยทัว่ ไปจะมี 2 แบบ คือ
1) การชนกันแบบยืดหยุ่น เป็ นการชนซึ่ งพลังงานจลน์จะมีค่าคงเดิม
นัน่ คือ Ekก่อนชน = Ekหลังชน
2) การชนกันแบบไม่ ยืดหยุ่น เป็ นการชนซึ่งพลังงานจลน์ จะมีค่าไม่คงเดิม
นัน่ คือ Ekก่อนชน  Ekหลังชน
อย่างไรก็ตามการชนทั้งสองแบบนี้ยงั คงเป็ นไปภายใต้กฎการอนุ รักษ์โมเมนตัม กล่าวคือ
ผลรวมโมเมนตัมก่อนชนจะมีค่าเท่ากับผลรวมโมเมนตัมหลังชน
ในกรณี ที่วตั ถุสองก้อนเกิดการชนกันแบบยืดหยุน่ จะได้วา่
u1  v 1 = u 2  v 2
เมื่อ u 1 คือความเร็ วก่อนชนของวัตถุกอ้ นแรก
u2 คือความเร็ วก่อนชนของวัตถุกอ้ นที่สอง
v1 คือความเร็ วหลังชนของวัตถุกอ้ นแรก
v2 คือความเร็ วหลังชนของวัตถุกอ้ นที่สอง
26
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
10. มวล m1 = 10 กิ โลกรัม วิ่งด้วยความเร็ ว u1 = 10 เมตร/วินาที เข้าชนมวล m2 = 2
กิโลกรัม ที่กาลังวิ่งอยูข่ า้ งหน้าด้วยความเร็ ว 4 เมตร/วินาที ในทิศเดี ยวกัน ถ้าการชนกันนี้
เป็ นการชนแบบยืดหยุน่ สมบูรณ์ จงหาว่าชนกันแล้ววัตถุแต่ละก้อนจะมีความเร็ วเท่าไร
1. 5 เมตร/วินาที , 10 เมตร/วินาที 2. 7 เมตร/วินาที , 12 เมตร/วินาที
3. 8 เมตร/วินาที , 14 เมตร/วินาที 4. 10 เมตร/วินาที , 14 เมตร/วินาที

6.4 โจทย์ ประยุกต์ เกีย่ วกับโมเมนตัม


11(แนว En) รถยนต์คนั หนึ่งมวล 2000 กิโลกรัม แล่นด้วยความเร็ ว 10 เมตรต่อวินาที แล้ว
ชน กับรถยนต์อีกคันหนึ่งมวล 3000 กิโลกรัม ซึ่งจอดอยูน่ ิ่ง ภายหลังการชนรถทั้งสองติดกัน
และไถลไปได้ไกล 8 เมตร แล้วหยุด จงหาขนาดของแรงเสี ยดทานที่พื้นถนนกระทาต่อรถ
ทั้งสองในหน่วยนิวตัน
1. 5000 2. 8000 3. 10000 4. 15000

เฉลยบทที่ 6 โมเมนตัม และการชน


1. ตอบข้ อ 1. 2. ตอบข้ อ 2. 3. ตอบข้ อ 3. 4. ตอบข้ อ 1.
5. ตอบข้ อ 2. 6. ตอบข้ อ 3. 7. ตอบข้ อ 4. 8. ตอบข้ อ 1.
9. ตอบข้ อ 2. 10. ตอบข้ อ 3. 11. ตอบข้ อ 1.


27
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
ตะลุ ย ข้ อ สอบเข้ า มหาวิ ท ยาลัย
บทที่ 6 โมเมนตัม และการชน ชุ ด ที่ 1
6.1 โมเมนตัม
6.2 การดล และแรงดล
1(En48 มี.ค.) รถมวล 1000 กิโลกรัม พุง่ เข้าชนตั้งฉากกับกาแพงด้วยความเร็ ว 15.0 เมตร/-
วินาที แล้วกระเด็นถอยมาสวนทางเดิมด้วยความเร็ ว 2.50 เมตร/วินาที ถ้าการชนกันนี้เกิด
ขึ้นในช่วงเวลา 0.10 วินาที จงหาขนาดของแรงเฉลี่ยที่กาแพงกระทาต่อรถ
1. 0.25 x 105 นิวตัน 2. 1.25 x 105 นิวตัน
3. 1.50 x 105 นิวตัน 4. 1.75 x 105 นิวตัน
2(En44 มี.ค.) ลูกบอลมีมวล 0.5 กิโลกรัม เข้าชนผนังในแนวตั้งฉากด้วยอัตราเร็ ว 10 เมตร/-
วินาที และสะท้อนกลับในแนวตั้งฉากกับฝาผนังด้วยอัตราเร็ วเดิม ถ้าช่วงเวลาที่ลูกบอล
กระทบผนังเท่ากับ 5 x 10–3 วินาที จงคานวณแรงเฉลี่ยที่ผนังทาต่อลูกบอล
1. 2 x 103 นิวตัน 2. 2.5 x 103 นิวตัน 3. 4 x 103 นิวตัน 4. 5 x 103 นิวตัน
3(En41 ต.ค) ลูกฟุตบอลมวล 0.5 กิโลกรัม เคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ ว 20 เมตรต่อวินาที ถ้าผูร้ ักษา
ประตูใช้มือรับลูกบอลให้หยุดนิ่งภายในเวลา 0.04 วินาที แรงเฉลี่ยที่มือกระทาต่อลูกบอลมี
ขนาดเท่าใด
1. 100 นิวตัน 2. 250 นิวตัน 3. 500 นิวตัน 4. 750 นิวตัน
4(En42 มี.ค.) กระสุ นปื นมวล 20 กรัม เคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ ว 500 เมตรต่อวินาที เข้าไปใน
กระสอบทรายใช้เวลา 1.0 มิลลิวนิ าที กระสุ นจึงหยุด ถ้าแรงต้านทานของทรายที่กระทา
ต่อกระสุ นมีค่าคงตัวแรงต้านทานนี้ มีค่าเท่าใดในหน่วยเป็ นกิโลนิวตัน
1. 3 2. 5 3. 8 4. 10
5(En 36) นักกีฬาเตะลูกบอลมวล 200 กรัม อัดกาแพงแล้วลูกบอลสะท้อนออกมาด้วยอัตราเร็ ว
5 เมตรต่อวินาที ซึ่ งเท่ากับอัตราเร็ วเดิม ถ้าแรงที่กาแพงกระทาต่อลูกบอลเป็ น 40 นิวตัน
ลูกบอลกระทบกาแพงอยูน่ านเท่าใด
1. 0.025 วินาที 2. 0.05 วินาที 3. 0.25 วินาที 4. 0.5 วินาที

28
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
6(แนว Pat2) จรวดเด็กเล่นมีมวล 0.5 กิโลกรัม ขับเคลื่อนด้วยแรงระเบิดจากดิ นปื น โดยขณะ
จุดระเบิดจะมีแรงคงตัว 20 นิวตัน กระทาเป็ นเวลา 2 วินาที จงหาความเร็ วจรวดหลังจาก
จุดระเบิดในหน่วยเมตรต่อวินาที
1. 65 2. 70 3. 75 4. 80 5. 85
7(En47 ต.ค.) ลูกบอลมวล 0.5 กิโลกรัม เคลื่อนที่เข้ากระ
ทบกาแพงดังรู ป ด้วยอัตราเร็ ว 5 เมตร/วินาที และกระ กาแพง
5 m/s
60o
ดอนออกด้วยอัตราเร็ ว เดิม ช่วงเวลาที่ลูกบอลอัดกาแพง
เท่ากับ 10–5 วินาที แรงอัดกาแพงเป็ นกี่นิวตัน
5 5 5 m/s 60o
1. 1.2 x 10 นิวตัน 2. 2.1 x 10 นิวตัน
3. 2.5 x 105 นิวตัน 4. 4.3 x 105 นิวตัน
8(En41 เม.ย.) แรง F กระทาต่อมวล 0.4 V(m/s)
กิโลกรัม ทาให้ขนาดของความเร็ ว v 30 B
เปลี่ยนแปลงตามเวลา t โดยทิศไม่ 20
เปลี่ยนดังกราฟ อัตราการเปลี่ยนการดล
10 A
ในช่วงความเร็ วที่ A ไปเป็ นความเร็ วที่ B t (วินาที)
มีค่าเท่าใด 0.1 0.2 0.3 0.4
1. 18.34 นิวตัน 2. 26.7 นิวตัน 3. 42.56 นิวตัน 4. 50.4 นิวตัน
9(En46 มี .ค.) แรงคงที่ ข นาดหนึ่ งผลัก วัต ถุ ม วล 80 กิ โ ลกรั ม บนพื้ น ราบที่ ไ ม่ มี ค วามฝื ด
สามารถ เปลี่ยนความเร็ วจาก 3 เมตร/วินาที เป็ น 4 เมตร/วินาที ในทิ ศเดิ ม และในเวลา 1
วินาที จง หาว่าหากใช้แรงขนาดเดี ยวกันนี้ ผลักวัตถุ มวล 50 กิ โลกรั ม บนพื้นเดี ยวกัน จะทา
ให้ความเร็ วเพิ่มขึ้นเท่าไรในเวลา 1 วินาทีเท่ากัน
1. 1.0 เมตร/วินาที 2. 1.2 เมตร/วินาที 3. 1.4 เมตร/วินาที 4. 1.6 เมตร/วินาที
10(En 39) จากรู ปเป็ นกราฟแสดงความสัมพันธ์ แรง (N)
ระหว่างแรงกับเวลาของวัตถุที่กระทบกัน ถ้า 10
พื้นที่ใต้กราฟเท่ากับ 2.5 กิโลกรัม.เมตร/วินาที
แรงเฉลี่ยที่กระทาต่อวัตถุมีค่าเท่าใด 5

1. 2.5 นิวตัน 2. 5 นิวตัน เวลา (s)


0
0.25 0.50 0.75
3. 10 นิวตัน 4. 20 นิวตัน
29
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
11(En 37) ลูกบอลมวล 0.4 กิโลกรัม เคลื่อนที่ แรง (N)
ด้วยอัตราเร็ ว 10 เมตร/วินาที ในแนวระดับ
1000
ถูกตีสวนด้วยไม้ กราฟระหว่างแรงกับเวลาใน
ขณะกระทบกัน แสดงดังรู ปอัตราเร็ วหลังถูกตี 500 เวลา (10–2 s)
ของลูกบอลเป็ นกี่เมตร/วินาที 0 1 2 3 4
1. 27.5 2. 15.35 3. 10.50 4. 5.75
6.3 การชน
6.3.1 กฎการอนุรักษ์ โมเมนตัม
6.3.2 การชนในหนึ่งมิติ
12(En47 ต.ค.) การชนกันของมวล A กับ B เป็ นดังรู ป จงหาว่า v มีค่ากี่เมตรต่อวินาที
0.2 kg 0.3 kg 0.2 kg 0.3 kg v
A B A B
10.0 m/s 1.0 m/s
ก่อนชน หลังชน
1. 2 2. 4 3. 6 4. 8
13(En 41) รถทดลองมวล 1.0 กิโลกรัม เคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ ว 2 เมตรต่อวินาที เข้าชนรถ
ทดลองอีกคันหนึ่งซึ่ งมีมวลเท่ากันและอยูน่ ิ่ง หลังการชนรถทดลองทั้งสองเคลื่อนที่ติดกันไป
จงหาค่าพลังงานความร้อนที่เกิดจากการชน
1. 0.25 จูล 2. 0.5 จูล 3. 0.75 จูล 4. 1.0 จูล
6.3.3 การชนในสองมิติ
6.3.4 การระเบิด
14(En 35) วัตถุมวล m ตกลงมาในแนวดิ่ง ขณะที่อยูห่ ่ างจากพื้น 1000 เมตรนั้น มีความเร็ ว 20
เมตร/วินาที และได้เกิดระเบิดแตกออกเป็ น 2 ก้อน แต่ละก้อนมีมวลเท่าๆ กัน และยังคง
เคลื่อนที่อยูใ่ นแนวดิ่งทั้งคู่ ทันทีหลังการระเบิดมวลก้อนหนึ่งเคลื่อนที่ลงมาด้วยความเร็ ว 60
เมตร/วินาที จงหาว่าเวลา 2 วินาที หลังระเบิดมวลทั้งสองจะอยูห่ ่างกันเป็ นระยะทางเท่าใด
1. 100 เมตร 2. 130 เมตร 3. 160 เมตร 4. 200 เมตร
15(แนว Pat2) นายอ้วนและนายผอมยืนอยูบ่ นพื้นน้ าแข็งลื่น นายอ้วนมีมวล 90 กิโลกรัม นาย
ผอมมีมวล 45 กิโลกรัม ทั้งสองคนออกแรงเล่นชักเย่อกัน ในจังหวะที่นายอ้วนออกแรงดึง
30
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
เชือก จนตนเองมีอตั ราเร็ ว 0.5 เมตรต่อวินาที นายผอมจะมีอตั ราเร็ วกี่เมตรต่อวินาที
1. 1 2. 2 3. 4 4. 6
16(En41 เม.ย.) ชาย 2 คน มวล 50 และ 100 กิโลกรัม ยืนอยูบ่ นลานน้ าแข็งราบและลื่นผูก
ติดกันกันด้วยเชือกเบายาว 9 เมตร เมื่อชายมวล 100 กิโลกรัม ดึงเชือกเข้าหาตัวเอง เขา
จะเลื่อนไปชนกัน ณ.ตาแหน่งที่ห่างจากตาแหน่งเดิมของเขาเป็ นระยะเท่าใด
1. 0 เมตร 2. 3 เมตร 3. 4.5 เมตร 4. 6 เมตร
6.3.5 การชนแบบยืดหยุ่น และไม่ ยืดหยุ่น

6.4 โจทย์ ประยุกต์ เกีย่ วกับโมเมนตัม


17(En 37) ยิงลูกปื นมวล 4 กรัม ด้วยความเร็ ว 1000 เมตร/วินาที ให้ทะลุแผ่นไม้มวล 800 กรัม
ซึ่งแขวนไว้ดว้ ยเชื อกยาว ทันทีที่ลูกปื นทะลุแผ่นไม้ แผ่นไม้มีความเร็ ว 3 เมตร/วินาที ค่า
การเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมของลูกปื นเป็ นกี่นิวตัน.วินาที
1. 1.6 2. 2.4 3. 3.2 4. 4.0
18(En41 ต.ค.) รถยนต์คนั หนึ่งมวล 2000 กิโลกรัม แล่นด้วยความเร็ ว 10 เมตรต่อวินาที แล้ว
ชน กับรถยนต์อีกคันหนึ่งมวล 3000 กิโลกรัม ซึ่งจอดอยูน่ ิ่ง ภายหลังการชนรถทั้งสองติดกัน
และไถลไปได้ไกล 5 เมตร แล้วหยุด จงหาขนาดของแรงเสี ยดทานที่พื้นถนนกระทาต่อรถ
ทั้งสองในหน่วยนิวตัน
1. 4000 2. 8000 3. 10000 4. 15000
19(แนว Pat2) บีบมวล 2 kg และ 6 kg เข้าด้วยกันบนพื้นลื่นโดยมีสปริ งคัน่ กลาง บีบเข้าไป
จนสปริ งหด มีพลังงานศักย์ยดื หยุน่ 120 J เมื่อปล่อยมือให้มวลทั้งสองก้อนวิง่ ออกจากกัน
เมื่อมวลทั้งสองหลุดออกไปจากสปริ ง มวล 6 kg จะมีอตั ราเร็ วอยูใ่ นช่วงใด
1. (0.0 , 1.0] m/s 2. (1.0 , 2.0] m/s 3. (2.0 , 3.0] m/s 4. (3.0 , 4.0] m/s

20(แนว Pat2) วัตถุชนิดหนึ่งวางอยูบ่ นพื้นราบ เมื่อแตกออกเป็ น 2 ชิ้น โดยวัตถุชิ้นหนึ่งมี


พลังงานจลน์เป็ น 2 เท่า ของอีกชิ้นหนึ่ง ชิ้นที่มีพลังงานจลน์มากกว่ามีมวลเป็ นกี่เท่าของ
ชิ้นที่มีพลังงานจลน์นอ้ ยกว่า
1. 14 2. 12 3. 2 4. 4
31
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
เฉลยตะลุ ย ข้ อ สอบเข้ า มหาวิ ท ยาลัย
บทที่ 6 โมเมนตัม และการชน ชุ ด ที่ 1
1. ตอบข้ อ 4. 2. ตอบข้ อ 1. 3. ตอบข้ อ 2. 4. ตอบข้ อ 4.
5. ตอบข้ อ 2. 6. ตอบข้ อ 4. 7. ตอบข้ อ 4. 8. ตอบข้ อ 2.
9. ตอบข้ อ 4. 10. ตอบข้ อ 2. 11. ตอบข้ อ 1. 12 ตอบข้ อ 3.
13. ตอบข้ อ 4. 14. ตอบข้ อ 3. 15. ตอบข้ อ 1. 16. ตอบข้ อ 2.
17. ตอบข้ อ 2. 18. ตอบข้ อ 2. 19. ตอบข้ อ 4. 20. ตอบข้ อ 2.


32
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่ อ นที่ แ บบหมุ น
การเคลื่อนที่แบบหมุน (rotational motion) คือการเคลื่ อนที่หมุนอยู ก่ บั ที่ รอบแกนหมุ น
ตรึ งแน่น หรื ออาจหมุนรอบศูนย์กลางมวล เช่นการหมุนของใบพัดของพัดลม , การหมุนของ
ล้อจักรยาน เป็ นต้น
วัตถุ ที่ใช้ในการศึ กษาการเคลื่ อนที่ แบบหมุ นจะเป็ นวัตถุ ที่มี รูป ร่ างแน่ นอน ระยะห่ าง
ระหว่างจุดต่างๆ บนวัตถุมีระยะคงตัว และวัตถุไม่เปลี่ ยนรู ปร่ างเมื่อเคลื่อนที่หรื อมีแรงกระทา
เรี ยกวัตถุน้ นั ๆ ว่า วัตถุแข็งเกร็ง (regid body)

7.1 ปริมาณต่ างๆ ทีเ่ กีย่ วข้ องกับการหมุน


ก่อนศึกษาการเคลื่อนที่แบบหมุน จาเป็ นต้องรู ้จกั คาศัพท์พื้นฐานเกี่ยวกับการหมุนดังนี้
การกระจัดเชิ งมุม (angular displacement ,  )
คือมุมที่กวาดไปได้ ใช้หน่วยเป็ นเรเดียน เช่นมุมที่ปก
หนังสื อกวาดขึ้นไปได้เมื่อถูกเปิ ดดังรู ป 
ความเร็วเชิ งมุม (angular velocity ,  ) คือปริ -
มาณของการกระจัดเชิงมุมที่กวาดไปได้ในหนึ่งหน่วยเวลา
นัน่ คือ  = 
t
เมื่อ  คือความเร็ วเชิงมุม ( เรเดียน/วินาที )
 คือการกระจัดเชิงมุม ( เรเดียน )
 t คือเวลา ( วินาที )
นอกจากนี้ความเร็ วเชิงมุมยังสามารถหาค่าได้จาก
 = 2T และ  = 2 f

เมื่อ  คือความเร็ วเชิงมุม ( เรเดียน/วินาที )


T คือคาบของการเคลื่อนที่ ( วินาที ) ( คือเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ได้ 1 รอบ )
f คือความถี่ของการเคลื่อนที่ ( เฮิรตซ์ )

32
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
การกระจัดเชิงมุม และความเร็ วเชิง
,
มุม เป็ นปริ มาณเวกเตอร์ซ่ ึงสามารถหาทิศ
ทางได้จากกฎมือขวา โดยใช้มือขวากาแกน
หมุน แล้วให้นิ้วทั้งสี่ วนตามการเคลื่อนที่
นิ้วหัวแม่มือจะชี้บอกทิศของการกระจัดเชิง
มุม และความเร็ วเชิงมุมดังแสดงในรู ป

1. ล้อหมุ นอันหนึ่ งหมุ นด้วยความถี่ ค งที่ 7 รอบ/วินาที จงหาอัตราเร็ วเชิ งมุม เฉลี่ ยของการ
หมุนล้อนี้ในหน่วยเรเดียนต่อวินาที
1. 22 2. 44 3. 66 4. 88

ความเร่ งเชิ ง มุ ม (angular acceleration , α ) คื อ ความเร็ วเชิ ง มุ ม ที่ เปลี่ ย นไปในหนึ่ ง


หน่วยเวลา
นัน่ คือ  =
  o
t
เมื่อ  คือความเร่ งเชิงมุม ( เรเดียน/วินาที2 )
 คือความเร็ วเชิงมุมตอนปลาย ( เรเดียน/วินาที )
o คือความเร็ วเชิงมุมตอนต้น ( เรเดียน/วินาที )
t คือเวลา ( วินาที )
2. ล้ออันหนึ่ง ในตอนแรกหมุนด้วยความเร็ วเชิงมุมคงตัว 50 เรเดียน/วินาที ต่อมา ลดลงเหลือ
10 เรเดียน/วินาที ในเวลา 10 วินาที จงหาความเร่ งเชิงมุมในหน่วย เรเดียนต่อวินาที2
1. 2 2. 4 3. –2 4. –4

33
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
เมื่อเปรี ยบเทียบปริ มาณต่างๆ ของการเคลื่ อนที่แบบเลื่ อนที่ในแนวเส้นตรงกับการเคลื่อนที่
แบบหมุนรอบแกนหมุนตรึ งแน่นจะได้ดงั นี้
ปริมาณของการเคลื่อนที่แบบ ปริมาณการเคลื่อนทีแ่ บบหมุน
เลื่อนทีใ่ นแนวเส้ นตรง รอบแกนหมุนตรึงแน่ น
s 
u o
v 
a α
เมื่อ s คือการกระจัดเชิงเส้น ( เมตร )  คือการกระจัดเชิงมุม (เรเดียน)
u คือความเร็ วต้น (เมตร/วินาที ) o คือความเร็ วเชิงมุมต้น (เรเดียน/วินาที)
v คือความเร็ วปลาย (เมตร/วินาที )  คือความเร็ วเชิงมุมปลาย (เรเดียน/วินาที)
a คือความเร่ ง (เมตร/วินาที2 ) α คือความเร่ งเชิงมุม (เรเดียน/วินาที 2)
ควรทราบ : การกระจัด (s) ความเร็ ว ( v ) และความเร่ ง ( a ) ของการเคลื่อนที่แบบเลื่อนที่น้ นั
อาจเรี ยกเป็ นการกระจัดเชิงเส้น ความเร็ วเชิงเส้น และความเร่ งเชิงเส้น ปริ มาณทั้งสามนี้สามารถ
หาค่าได้จาก
s = R และ v =  R และ a =  R
เมื่อ s คือการกระจัดเชิงเส้น ( เมตร )  คือการกระจัดเชิงมุม (เรเดียน)
v คือความเร็ วเชิงเส้น ( เมตร/วินาที )  คือความเร็ วเชิง (เรเดียน/วินาที)
a คือความเร่ งเชิงเส้น ( เมตร/วินาที2 ) α คือความเร่ งเชิงมุม (เรเดียน/วินาที2)
R คือรัศมีการเคลื่อนที่ ( เมตร )

34
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
เมื่อเปรี ยบเทียบสมการของการเคลื่อนที่แบบเลื่อนที่ในแนวเส้นตรงกับการเคลื่อนที่แบบ
หมุนรอบแกนหมุนตรึ งแน่นจะได้ดงั นี้
สมการการเคลื่อนที่แบบ สมการการเคลื่อนที่แบบหมุน
เลื่อนที่ในแนวเส้ นตรง รอบแกนหมุนตรึงแน่ น
v = u+at  = 0 +  t
s = u 2 v  t  = ( ωo  ω
2 )t
s = u t + 12 a t2  = o t + 12  t2
s = v t – 12 a t2  =  t – 12  t2
v2 = u 2 + 2 a s 2 = ω 02 + 2  
s = V t ( เมื่อ V คงที่ )  =  t ( เมื่อ  คงที่ )

3. วัตถุกอ้ นหนึ่งหมุนรอบตัวเองด้วยความเร็ วเชิงมุม 2 เรเดียน/วินาที เมื่อให้แรงคู ่ควบกระทา


ทางเดียวกับการหมุนปรากฎว่าวัตถุกอ้ นนั้นมีความเร่ งเชิงมุม 2 เรเดียน/วินาที2 จงหาว่าถ้า
ให้แรงคู่ควบกระทานาน 5 วินาที ความเร็ วเชิงมุมของวัตถุเป็ นเท่าใด
1. 10 เรเดียน/วินาที 2. 12 เรเดียน/วินาที
3. 14 เรเดียน/วินาที 4. 18 เรเดียน/วินาที

4. วงล้อวงหนึ่งมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 เมตร เริ่ มหมุนรอบแกนจากหยุดนิ่งด้วยแรงขนาดหนึ่ง


ทาให้ลอ้ นั้นมีความเร่ งเชิงมุม 4 เรเดียน/วินาที 2 ในเวลา 10 วินาที จงหามุมที่ วงล้อนั้น
กวาดไปได้
1. 100 เรเดียน 2. 200 เรเดียน 3. 300 เรเดียน 4. 400 เรเดียน

35
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
5. ล้ออันหนึ่งใช้เวลา 3 วินาที ในการหมุนไปเป็ นมุมทั้งหมด 234 เรเดียน วัดความเร็ วเชิงมุม
ขณะนั้นได้ 108 เรเดียน/วินาที จงหาความเร่ งเชิงมุมของการหมุน
1. 20 เรเดียน/วินาที2 2. 25 เรเดียน/วินาที2
3. 30 เรเดียน/วินาที2 4. 35 เรเดียน/วินาที2

6. ล้ออันหนึ่ง มีรัศมี 2 เมตร หมุนจากหยุดนิ่งจนมีความเร็ วเชิงมุมคงตัว 100 เรเดียน/วินาที


ในเวลา 20 วินาที จงหาความเร็ ว และความเร่ งที่ผวิ ล้อ ณ.วินาทีที่ 20
1. 100 เมตร/วินาที , 5 เมตร/วินาที2 2. 200 เมตร/วินาที , 5 เมตร/วินาที2
3. 100 เมตร/วินาที , 10 เมตร/วินาที2 4. 200 เมตร/วินาที , 10 เมตร/วินาที2

7. ล้ออันหนึ่ง มีรัศมี 2 เมตร หมุนจากหยุดนิ่งจนมีความเร็ วเชิงมุมคงตัว 100 เรเดียน/วินาที


ในเวลา 20 วินาที จงหาระยะทางที่กลิ้งไปได้เมื่อผ่านไป 20 วินาที
1. 500 เมตร 2. 1000 เมตร 3. 1500 เมตร 4. 2000 เมตร

8. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาว่าล้อนี้จะหมุนไปได้กี่รอบเมื่อผ่านไป 20 วินาที


1. 98.8 รอบ 2. 146.5 รอบ 3. 159.24 รอบ 4. 172.2 รอบ

36
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
7.2 โมเมนต์ ความเฉื่ อยรอบแกนหมุนสมมาตร
โมเมนต์ ความเฉื่ อย ( moment of inertia ) เป็ นสมบัติตา้ นการหมุนของวัตถุ วัตถุที่มี
โมเมนต์ความเฉื่ อยมากจะหมุนได้ยาก วัตถุที่มีโมเมนต์ความเฉื่ อยน้อยจะหมุนได้ง ่าย
โมเมนต์ความเฉื่ อยของวัตถุรูปร่ างต่างๆ รอบแกนสมมาตรสามารถหาได้จาก
I =  m r2
I = m1 r12 + m2 r22 + m3 r32 + ….
m1
r1
เมื่อ I คือโมเมนต์ความเฉื่ อย ( กิโลกรัม.เมตร2) r2
r3
m คือมวล ( กิโลกรัม ) m2
r คือรัศมีการหมุนของมวลนั้น ( เมตร ) m 3

ในกรณี วตั ถุรูปร่ างอื่นๆ เราอาจหาค่าโมเมนต์ความเฉื่ อยได้ดงั นี้


รู ปร่ างวัตถุ แกนหมุน รู ป โมเมนต์ความเฉื่ อย
ทรงกลมตัน รอบแกนผ่าน
มวล m รัศมี R จุดศูนย์กลาง I  25 mR 2

ทรงกลมกลวง รอบแกนผ่านจุด
มวล m รัศมี R ศูนย์กลาง I  23 mR 2

ทรงกระบอกตัน รอบแกนของ
มวล m รัศมี R ทรงกระบอก I  12 mR 2
ยาว L
แผ่นกลมบาง รอบแกนผ่านศูนย์กลาง
มวล m รัศมี R บนระนาบของแผ่น I  41 mR 2

แท่งวัตถุเล็ก รอบแกนผ่านศูนย์กลาง
มวล m ยาว L มวล ตั้งฉากกับแท่ง I  121 mL2

37
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
การหมุนของวัตถุท้ งั หมดในตารางนี้ เป็ นการหมุนรอบแกนผ่านศูนย์กลางมวล และเป็ น
แกนสมมาตรของวัตถุซ่ ึ งแกนนั้นต้องอยูก่ บั ที่ ถ้าเลื่อนแกนหมุนไปเป็ นระยะ L ขนานกับแกน
สมมาตรเดิ ม โมเมนต์ความเฉื่ อยจะเพิ่มขึ้นอีก m L2 โมเมนต์ความเฉื่ อยรวมจึงต้องนา m L2
บวกเพิ่มเข้าไปด้วย
9. จากรู ป มวล 3 ก้อน เคลื่อนที่รอบแกน
หมุนเดียวกันพร้อมกัน จงหาโมเมนต์แห่ง m2 = 5 kg
m1 = 2 kg
ความเฉื่ อยของการหมุนนี้ R2 = 1 m R1 = 3 m
1. 19 กิโลกรัม.เมตร2 R3 = 2 m
2. 29 กิโลกรัม.เมตร2
3. 39 กิโลกรัม.เมตร2 m3 = 4 kg
4. 49 กิโลกรัม.เมตร2

7.3 ทอร์ กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน


ความแรงการหมุนของวัตถุจะขึ้นกับโมเมนต์
F
ของแรง ( moment of force ) หรื อ ทอร์ก ( torque , )
ซึ่งหมายถึงผลคูณเชิงเวกเตอร์ ของแรงกระทาต่อวัตถุ ( F )
r
กับการกระจัดที่วดั จากจุดหมุน ( r )
ขนาดของทอร์กสามารถหาค่าได้จาก
 = Fr และ  = Iα
เมื่อ  คือทอร์ก ( นิวตัน.เมตร )
F คือแรงที่ทาให้เกิดการหมุน ( นิวตัน )
r คือระยะจากจุดหมุนไปตกตั้งฉากกับแนวแรงนั้น ( เมตร )
I คือโมเมนต์ความเฉื่ อย ( กิโลกรัม.เมตร2)
α คือความเร่ งเชิงมุม ( เรเดียน/วินาที2)
38
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
10. จากรู ป จงคานวณหาทอร์ก เมื่อ F มีค่า 10 นิวตัน
1. 5 นิวตัน.เมตร
1m O
2. 10 นิวตัน.เมตร
3. 15 นิวตัน.เมตร
F = 10 N
4. 20 นิวตัน.เมตร

11. จงหาทอร์กที่ใช้ในการทาให้จานกลมที่มีโมเมนต์ความเฉื่อย 5 กิโลกรัม.เมตร2 เริ่ มหมุน


จากหยุดนิ่งจนกระทัง่ มีความเร็ วเชิงมุม 30 เรเดียน/วินาที ใน 10 วินาที
1. 15 นิวตัน.เมตร 2. 22 นิวตัน.เมตร
3. 44 นิวตัน.เมตร 4. 88 นิวตัน.เมตร

12. จงหาทอร์กที่ใช้ในการทาให้จานกลมที่มีโมเมนต์ความเฉื่อย 5 กิโลกรัม.เมตร2 เริ่ มหมุน


จากหยุดนิ่งจนกระทัง่ มีอตั ราเร็ ว 7 รอบ/วินาที ใน 10 วินาที
1. 18 N.m 2. 20 N.m 3. 22 N.m 4. 24 N.m

39
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
7.4 โมเมนตัมเชิงมุมและอัตราการเปลีย่ นโมเมนตัมเชิงมุม
โมเมนตัมเชิ งมุม (L) หมายถึงผลคูณเชิงเวกเตอร์ของโมเมนตัมเชิงเส้น ( L ) กับเวกเตอร์
บอกตาแหน่ง ( r ) จากจุด O ไปยังตาแหน่งของมวล m
ขนาดของของโมเมนตัมเชิงมุมสามารถหาได้จาก
L = I และ L= t และ L= mvr
เมื่อ L คือโมเมนตัมเชิงมุม ( กิโลกรัม.เมตร2 /วินาที )
I คือโมเมนต์ความเฉื่ อย (กิโลกรัม.เมตร2)
 คือความเร็ วเชิงมุม ( เรเดียน/วินาที )
 คือทอร์ก ( นิวตัน.เมตร )
t คือเวลา (วินาที)
m คือมวล ( กิโลกรัม )
v คือความเร็ ว ( เมตร/วินาที )
r คือรัศมีการหมุน ( เมตร )
13. ถ้าเหวีย่ งมวล 0.2 กิโลกรัม ด้วยเชือกยาว 2 เมตร ให้เคลื่อนที่เป็ นวงกลมในระนาบระดับ
ถ้าความเร็ วเชิงมุมมีค่า 10 เรเดียน/วินาที จงหาโมเมนตัมเชิงมุมหน่วยกิโลกรัม.เมตร2/วินาที
1. 8 2. 12 3. 16 4. 20

กฏทรงโมเมนตัมเชิ งมุม กล่าวว่า “ หากผลรวมของทอร์ กมีค่าเป็ นศูนย์ โมเมนตัมเชิ งมุมจะ


มีค่าคงตัว ”
นัน่ คือ L1 = L2
และ I11 =  I22

40
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
14. วัตถุมวล 50 กรัม ผูกติดกับปลายเชื อกซึ่ งลอดผ่านรู หลอดเล็กๆ ปลายเชื อกข้างหนึ่ งดึ ง
ยืดไว้ดว้ ยแรงค่าหนึ่งแล้วเหวีย่ งให้เป็ นวงกลมรัศมี 1 เมตร ถ้าดึงเชือกให้รัศมีวงกลมเป็ น
50 เซนติ เมตร ทันที วัตถุ จะเคลื่ อนที่ ด้วยอัตราเร็ วเชิ งมุ มเท่ าไรในหน่ วยเรเดี ยน/วินาที
ถ้าเดิมมีอตั ราเร็ วเชิงมุม 6 เรเดียนต่อวินาที

15. ชายคนหนึ่งยืนบนแป้ นหมุนซึ่ งหมุนรอบแกนดิ่ง ชายคนนี้ขณะเหยียดแขนและแป้ นหมุนมี


โมเมนต์ความเฉื่อย 12 กิโลกรัมเมตร2 เมื่อหมุนแป้ นจนกระทัง่ มีอตั ราเร็ ว 5 รอบต่อนาที
แล้วเขาหดแขนลง พบว่าแป้ นหมุนหมุนด้วยอัตราเร็ ว 6 รอบ/นาที โมเมนต์ความเฉื่อยขณะ
นั้นมีค่ากี่กิโลกรัม.เมตร2
1. 1 2. 5.0 3. 8 4. 10.0

7.5 พลังงานจลน์ ของการหมุน


พลังงานจลน์ของการเคลื่อนที่แบบหมุนสามารถหาค่าได้จาก
Ek = 12 I 2
เมื่อ Ek คือพลังงานจลน์ ( จูล )
I คือโมเมนต์ความเฉื่ อย (กิโลกรัม.เมตร2 )
 คือความเร็ วเชิงมุม ( เรเดียน/วินาที )
เมื่อเปรี ยบเทียบกับการเคลื่อนที่แบบเลื่อนที่จะได้วา่
Ek การเลื่อนที่ = 12 m v2 เทียบได้กบั Ek การหมุน = 12 I 2
41
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
16(แนว En) วัตถุมวล 0.1 กิโลกรัม และ 0.3 0.25 ม. 0.75 ม.
กิโลกรัม ติดอยูก่ บั ปลายทั้งสองของแท่ง
โลหะเบายาว 1.00 เมตร ดังรู ป จงหา 0.1 kg A 0.3 kg
พลังงานจลน์ของการหมุน ถ้าแท่งโลหะ
B
หมุนรอบแกน AB 5 เรเดียน/วินาที
1. 2.19 J 2. 5.63 J 3. 7.50 J 4. 15.0 J

7.6 การเคลื่อนทีท่ ้งั แบบเลื่อนทีแ่ ละแบบหมุน


เนื่ องจากการเคลื่ อนที่ของวัตถุ บางอย่างเช่ นลู กบอล ล้อรถจักรยาน วัตถุเหล่านี้ จะมีการ
เคลื่ อนที่ ท้ งั แบบหมุ นและแบบเลื่ อนที่ ไ ปด้ว ย เรี ย กว่าเป็ นการกลิ้ง (rolling motion) การหา
พลังงานจลน์ของการกลิ้ งต้องหาทั้งพลังงานจลน์ของการเลื่ อนที่ และของการหมุ นแล้วนามา
รวมกัน
นัน่ คือ Ek การกลิ้ง = Ek การเลื่อนที่ + Ek การหมุน
Ek การกลิ้ง = 12 m v2 + 12 I 2

17. แผ่นไม้กลมมีรัศมี 1 เมตร มวล 4 กิโลกรัม และโมเมนต์ความเฉื่ อย 1 กิโลกรัม.เมตร2


เคลื่อนที่ในแนวตรง โดยมีความเร็ วของศูนย์กลางมวล 4 เมตรต่อวินาที จงหาพลังงานจลน์
ของแผ่นไม้น้ ี เมื่อวัตถุเคลื่อนที่โดยหมุนกลิ้งรอบศูนย์กลางมวล
1. 10 จูล 2. 20 จูล 3. 30 จูล 4. 40 จูล

42
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
18. แผ่นโลหะกลมแบนรัศมี 20 เซนติเมตร มวล 10
กิโลกรัม กลิ้งลงมาตามพื้นเอียงดังรู ป โดยเริ่ มต้น +
จากสภาวะหยุดนิ่ง จงหาความเร็ ว v ของแผ่นโลหะ v

นี้เมื่อกลิ้งระยะทาง 50 เซนติเมตร ตามแนวบนระ 3


นาบเอียง ให้โมเมนต์ความเฉื่ อยของแผ่นโลหะรอบ 4
2
แกนหมุนเท่ากับ 0.4 กิโลกรัม.เมตร และสมมติ
ให้การกลิ้งบนพื้นเอียงไม่มีการลื่นไถล
1. 3 เมตร/วินาที 2. 5 เมตร/วินาที
3. 6 เมตร/วินาที 4. 10 เมตร/วินาที

เฉลยบทที่ 7 การเคลื่ อ นที่ แ บบหมุ น


1. ตอบข้ อ 2. 2. ตอบข้ อ 4. 3. ตอบข้ อ 2. 4. ตอบข้ อ 2.
5. ตอบข้ อ 1. 6. ตอบข้ อ 4. 7. ตอบข้ อ 4. 8. ตอบข้ อ 3.
9. ตอบข้ อ 3. 10. ตอบข้ อ 2. 11. ตอบข้ อ 1. 12. ตอบข้ อ 2.
13. ตอบข้ อ 1. 14. ตอบ 24 15. ตอบข้ อ 4. 16. ตอบข้ อ 1.
17. ตอบข้ อ 4. 18. ตอบข้ อ 1.



43
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
ตะลุ ย ข้ อ สอบเข้ า มหาวิ ท ยาลัย
บทที่ 7 การเคลื่ อ นที่ แ บบหมุ น ชุ ด ที่ 1
7.1 ปริมาณต่ างๆ ทีเ่ กีย่ วข้ องกับการหมุน
1. วงล้อวงหนึ่ งมี เส้ นผ่านศูนย์กลาง 1 เมตร เริ่ มหมุ นรอบแกนจากหยุดนิ่ งด้วยแรงขนาด
หนึ่ งท าให้ ล้อ นั้น มี ค วามเร็ ว ปลาย 40 เรเดี ย น/วิน าที ในเวลา 10 วิ น าที จงหาค่ า
ความเร่ งเชิงมุม
1. 4 เรเดียน/วินาที2 2. 8 เรเดียน/วินาที2
3. 12 เรเดียน/วินาที2 4. 16 เรเดียน/วินาที2
2. จากข้อที่ผา่ นมา จงหามุมที่วงล้อนั้นกวาดไปได้
1. 100 เรเดียน 2. 200 เรเดียน 3. 300 เรเดียน 4. 400 เรเดียน
3. จักรยานคันหนึ่งเริ่ มเคลื่อนที่ออกไปด้วยความเร่ งเชิงมุม 2 เรเดียน/วินาที2 ถ้าล้อจักรยาน
มีรัศมี 0.5 เมตร จงหาระยะทางที่จกั รยานเคลื่อนที่ได้ใน 10 วินาที นับจากเริ ่ มต้น
1. 25 เมตร 2. 50 เมตร 3. 75 เมตร 4. 100 เมตร
4. มวล 0.5 กิ โลกรัม เคลื่ อนที่เป็ นวงกลมรอบจุดหมุนด้วยรัศมี 2 เมตร จากหยุดนิ่ งจนมี
ความเร็ วเชิงเส้น 20 เมตร/วินาที เมื่อเวลาผ่านไป 10 วินาที จงหาจานวนรอบที่เคลื่อนที่ได้
1. 5.56 รอบ 2. 6.68 รอบ 3. 7.96 รอบ 4. 8.86 รอบ

5. ต้องการส่ งกาลังในรู ปความเร็ วเชิงมุมจากลูกรอกกลมหมายเลข 1 ไปยังลูกรอกกลมหมาย


เลข 4 โดยส่ งกาลังผ่านสายพานไปยังลูกรอกที่ 2 ลูกรอกหมายเลข 2 และ 3 อยูบ่ นเพลา
เดียวกัน ลูกรอกกลม 4 สัมผัสโดยตรงกับลูกรอกกลม 3 (ดูรูปประกอบ) ลูกรอกที่ 1 มี
รัศมี 1 นิ้ว ลูกรอกที่ 2 เท่ากับ 3 นิ้ว ลูกรอกที่ 3 เท่ากับ 1.5 นิ้ว และลูกรอกที่ 4
มีรัศมี 2 นิ้ว ถ้าลูกรอกที่ 1 มีความเร็ วเชิงมุมเท่ากับ 10 เรเดียน/วินาที อยากทราบว่าลูก
รอกที่ 4 จะหมุนด้วยความเร็ วเชิงมุมเท่าใด
1. 10 เรเดียน/วินาที 2
1
2. 7.5 เรเดียน/วินาที 3 4
3. 5 เรเดียน/วินาที
4. 2.5 เรเดียน/วินาที
44
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
7.2 โมเมนต์ ความเฉื่ อยรอบแกนหมุนสมมาตร
6. วัตถุมวล 100 กรัม และ 200 กรัม 20 cm 100 cm
ติดอยูก่ บั ปลายทั้งสองของแท่งโลหะ
100 g A 200 g
เบายาว 120 เซนติเมตร ดังรู ป จง B
หาโมเมนต์ความเฉื่อยรอบแกน AB
1. 0.204 กิโลกรัม.เมตร2 2. 1.204 กิโลกรัม.เมตร2
3. 5.204 กิโลกรัม.เมตร2 4. 6.204 กิโลกรัม.เมตร2

7.3 ทอร์ กกับการเคลื่อนทีแ่ บบหมุน


7(En41 เม.ย.) ทรงกระบอกเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.12 เมตร เมื่อดึงเชือกที่พนั รอบทรงกระบอก
ด้วยแรง 9.0 นิวตัน พบว่าเชือกมีความเร่ ง 0.36 เมตร/-
วินาที2 จงหาโมเมนต์ความเฉื่อยทรงกระบอก F = 9.0 นิวตัน
d = 0.12 เมตร
1. 0.05 กิโลกรัม.เมตร2 O
2. 0.09 กิโลกรัม.เมตร2
3. 0.12 กิโลกรัม.เมตร2
4. 1.20 กิโลกรัม.เมตร2

8. เชือกยาว 10 เมตร พันรอบแกนทรงกระบอกรัศมี


F
10 เซนติเมตร ซึ่งมีโมเมนต์ของความเฉื่ อย 0.02
กิโลกรัม . เมตร2 เมื่อเชือกได้รับแรงดึง 5 นิวตัน
ถ้าการหมุนของทรงกระบอกไม่เกิดแรงเสี ยดทาน จง
หาว่าเมื่อดึงเชื อกจนหมด ทรงกระบอกจะหมุนด้วย
อัตราเร็ วเชิงมุมกี่เรเดียน/วินาที
1. 50 2. 50 2 3. 100 4. 100 2

45
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
9. หินลับมีดอันหนึ่งมีโมเมนต์ความเฉื่อย 0.5 กิโลกรัม.เมตร2 รัศมี 0.5 เมตร กาลังหมุน ด้ว ย
อัตรา 700 รอบ/วินาที ถ้านาวัตถุไปกดผิวของหิ นลับมีดในแนวที่ผา่ นจุดศูนย์กลาง ของหิ น
ลับมีดด้วยแรงขนาด 500 นิวตัน ปรากฏว่าจะทาให้หินลับมีดหยุดหมุนได้ในเวลา 10
วินาที จงหาค่าสัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทานระหว่างผิวของหิ นลับมีดกับวัตถุที่กดนั้น
1. 0.68 2. 0.72 3. 0.88 4. 0.92

7.4 โมเมนตัมเชิงมุมและอัตราการเปลีย่ นโมเมนตัมเชิงมุม


10(En 40) วัตถุ ม วล 50 กรัม ผูกติ ดกับ ปลายเชื อกซึ่ งลอดผ่านรู ห ลอดเล็กๆ ปลายเชื อกข้าง
หนึ่ งดึ งยึดไว้ด้วยแรงค่าหนึ่ ง แล้วเหวี่ยงให้เป็ นวงกลมรั ศมี 1 เมตร ถ้าดึ งเชื อกให้รัศ มี
วงกลมเป็ น 50 เซนติเมตรทันที วัตถุจะเคลื่อนที่ดว้ ยอัตราเร็ วเชิ งมุมเท่าไรในหน่วยเรเดียน/-
วินาที ถ้าเดิมมีอตั ราเร็ วเชิงมุม 3 เรเดียน/วินาที
1. 25 2. 50 3. 75 4. 100
11(En 37) ชายคนหนึ่ งยืนบนแป้ นหมุนซึ่ งหมุนรอบแกนดิ่ง ชายคนนี้และแป้ นหมุนมีโมเมนต์
ความเฉื่ อย 8.0 กิโลเมตร. เมตร2 มือแต่ละข้างถือดัมเบลไว้ขา้ งละอัน ดัม เบลแต่ละอันมี
มวล 2.0 กิ โลกรัม เหยียดแขนให้มวลดัมเบลอยู่ห่างจากแกนหมุน 1.0 เมตร แล้วหมุ น
แป้ น จนมี อตั ราเร็ ว 5.0 รอบ/นาที ต่ อไปหดแขนให้ดัม เบลอยู่ห่ างจากแกนหมุ น 20.0
เซนติเมตร จงหาว่าแป้ นจะหมุนด้วยอัตราเร็ วกี่รอบต่อนาที
1. 6.0 2. 6.2 3. 6.6 4. 7.3
7.5 พลังงานจลน์ ของการหมุน
12(En 40) วัตถุมวล 0.1 กิโลกรัม และ 0.3 0.25 ม. 0.75 ม.
กิโลกรัม ติดอยูก่ บั ปลายทั้งสองของแท่ง
โลหะเบายาว 1.00 เมตร ดังรู ป จงหา 0.1 kg A 0.3 kg
พลังงานจลน์ของการหมุน ถ้าแท่งโลหะ
B
หมุนรอบแกน AB 10 เรเดียน/วินาที
1. 3.75 จูล 2. 5.63 จูล 3. 8.75 จูล 4. 15.0 จูล

46
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
7.6 การเคลื่อนทีท่ ้งั แบบเลื่อนทีแ่ ละแบบหมุน
13(แนว A-net) ทรงกลมลูกหนึ่งมีโมเมนต์ความเฉื่ อย
2 MR2 เดิมอยูน่ ิ่งๆ บนพื้นเอียงสู ง 2.8 เมตร
5
กลิ้งลงพื้นมาตามเอียง เมื่อถึงพื้นราบ ทรงกลม v 2.8 m
นี้จะมีความเร็ วเท่าใด
1. 6.3 เมตร/วินาที 2. 7.4 เมตร/วินาที
3. 9.0 เมตร/วินาที 4. 12 เมตร/วินาที

14(แนว A-net) จานหมุนมีโมเมนต์ความเฉื่อย 500 กิโลกรัม.(เมตร)2 ความเร็ วเชิงมุมตอนต้น


เป็ น 6 เรเดียน/วินาที ต่อมาความฝื ดทาให้แป้ นสู ญเสี ยพลังงานจลน์ไป 6750 จูล อัตรา
เร็ วเชิงมุมจะเหลือเป็ นค่าเท่าใด
1. 2 เรเดียน/วินาที 2. 3 เรเดียน/วินาที
3. 4 เรเดียน/วินาที 4. 5 เรเดียน/วินาที
15(แนว 9 สามัญ ) ทรงกระบอกตัน (โมเมนต์ค วามเฉื่ อย 12 mr 2 ) และทรงกระบอกกลวง
(โมเมนต์ความเฉื่ อย m r 2) กลิ้ งแบบไม่ไถลลงมาตามพื้ นเอี ยงจากระดับความสู งเดี ยวกัน
เมื่อถึ งปลายล่างของพื้นเอียงแล้ว อัตราส่ วนความเร็ วของทรงกระบอกตันต่อทรงกระบอก
กลวงมีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 23 2. 12 3. 1 4. 2 5. 2
3
16(แนว Pat2) มอเตอร์ กาลัง 50 วัตต์ ต่อกับแกนกลางจานหมุน มวล 10 กิโลกรัม รัศมี 20
เซนติเมตร จะสามารถทาให้จานหมุนหมุนจากหยุดนิ่ งจนมีความเร็ ว 300 รอบต่อนาที ได้
ในเวลาประมาณกี่วนิ าที
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4 5. 5

47
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
เฉลยตะลุ ย ข้ อ สอบเข้ า มหาวิ ท ยาลัย
บทที่ 7 การเคลื่ อ นที่ แ บบหมุ น ชุ ด ที่ 1
1. ตอบข้ อ 1. 2. ตอบข้ อ 2. 3. ตอบข้ อ 2. 4. ตอบข้ อ 3.
5. ตอบข้ อ 4. 6. ตอบข้ อ 1. 7. ตอบข้ อ 2. 8. ตอบข้ อ 2.
9. ตอบข้ อ 3. 10. ตอบข้ อ 1. 11. ตอบข้ อ 4. 12. ตอบข้ อ 3.
13. ตอบข้ อ 1. 14. ตอบข้ อ 2. 15. ตอบข้ อ 4. 16. ตอบข้ อ 4.



48
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
บทที่ 8 สภาพสมดุ ล และสภาพยื ด หยุ่ น
8.1 สภาพสมดุล
สภาพสมดุล (equilibrium ) คือภาวะที่วตั ถุรักษาสภาพการเคลื่ อนที่ให้คงเดิมได้ เช่ นตู ้
วางนิ่งๆ บนพื้น , รถยนต์วงิ่ ด้วยความเร็ วคงที่ , ล้อหมุนด้วยความเร็ วคงตัว เป็ นต้น

8.2 สมดุลต่ อการเคลื่อนที่


สมดุลต่ อการเคลื่อนที่ ( translational equilibrium ) คือภาวะที่วตั ถุไม่เคลื่อนที่ (อยูน่ ิ่งๆ)
หรื อเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ วคงตัว เช่นตูว้ างนิ่งๆ บนพื้น , รถยนต์วงิ่ ด้วยความเร็ วคงที่ เป็ นต้น
สมดุลต่อการเลื่อนที่ จะเกิดเมื่อแรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุมีค่าเป็ นศูนย์ ( ∑F = 0 )
หรื อเกิดเมื่อ ผลรวมของแรงที่มีทิศไปทางซ้าย = ผลรวมของแรงที่มีทิศไปทางข้างขวา
Fไปทางซ้าย = Fไปทางขวา

พร้อมกันนั้น ผลรวมของแรงที่มีทิศขึ้น = ผลรวมของแรงที่มีทิศลง


Fทิศขึ้น = Fทิศลง

1(แนว En) จากรู ปมวล 2 กิโลกรัม ผูกเชือกแขวนเพดาน ถูกแรงผลัก P ผลักไปทางขวา


มีแรงดึงเชือก ( T ) และน้ าหนักกระทาดังรู ป
จงหาขนาดของแรงดึงเชือก ( T ) และแรง
T
ผลัก ( P ) ตามลาดับ 45o
P
1. 10 นิวตัน , 10 นิวตัน 2
2. 10 2 นิวตัน , 10 นิวตัน
mg
3. 20 นิวตัน , 10 2 นิวตัน
4. 10 2 นิวตัน , 20 นิวตัน

1
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
2. มวล 10 กิโลกรัม แขวนด้วยเชื อก 2 เส้น ทามุม
กับเพดานดังรู ป จงหาอัตราส่ วนของขนาดแรงตึง 30o 60o
เชือก ก ต่อเชื อก ข ก ข
1. 1 : 1 2. 1 : 2 3. 1 : 3 4. 1 : 3 m กิโลกรัม

8.3 สมดุลต่ อการหมุน


สมดุลต่ อการหมุน คือภาวะที่วตั ถุ ไม่หมุน ( อยูน่ ิ่ งๆ ) หรื อหมุนด้วยความเร็ วคง
ตัว เช่ นไม้คานซึ่ งถู กแรงขนาดเท่ากันกดลงทั้งด้านขวาและด้านซ้ายห่ างจากจุดหมุนเท่ากันดัง
รู ป เป็ นต้น F F

r r

8.3.1 โมเมนต์ ของแรง หรื อทอร์ ก


การหมุนของวัตถุ จะขึ้ นกับโมเมนต์ของแรง (moment of force) หรื อทอร์ ก (torque , )
ซึ่งหมายถึงผลคูณเชิงเวกเตอร์ ของแรงกระทาต่อวัตถุ ( F ) กับการกระจัดที่วดั จากจุดหมุน ( r )
ขนาดของทอร์ กหรื อขนาดของโมเมนต์ จะมีค่าเท่ากับผลคู ณระหว่างขนาดของแรงกับ
ระยะทางจากจุดหมุนไปตั้งฉากกับแนวแรงนั้น
นัน่ คือ M =Fd
เมื่อ M คือขนาดของโมเมนต์ ( นิวตัน . เมตร )
F คือแรง ( นิวตัน )
d คือระยะห่างจากจุดหมุนไปตั้งฉากกับแนวแรงนั้น ( เมตร )
2
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
สมดุลต่อการหมุนจะเกิดเมื่อ
ผลรวมของโมเมนต์ ทวนเข็มนาฬิ กา = ผลรวมของโมเมนต์ ตามเข็มนาฬิ กา
 Mทวน =  Mตาม

3. นาย A และนาย B ยืนอยูป่ ลายกระดานหก


4m 6m
คนละด้าน มวลของกระดาน 5 กิโลกรัม จุด
หมุนอยูท่ ี่ C ถ้านาย A มีมวล 60 กิโลกรัม
B
นาย B จะมีมวลกี่กิโลกรัม A
C
1. 50 2. 49 3. 40 4. 39

4. คานสม่าเสมอยาว 50 เซนติเมตร มีไม้ 5 cm 20 cm 25 cm


หมอนหนุนไว้ที่จุดกึ่งกลางคาน P และมี
P
น้ าหนักแขวนไว้ที่ต่างๆ ดังรู ป ถ้าต้อง
การให้คานวางตัวตามแนวระดับ จะต้อง 2 kg
แขวนมวล 5 กิโลกรัม เพิ่มทางขวามือ
4 kg 4 kg
ของจุด P ห่างออกไปกี่เซนติเมตร
1. 2 2. 4 3. 6 4. 8

3
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
5(แนว En) แท่งวัตถุขนาดไม่สม่าเสมอยาว
L = 1.4 เมตร ถูกแขวนอยูใ่ นสมดุลด้วย
F1 = 60 N F2 = 20 N
สปริ งเบาที่ปลายทั้งสองของแท่งวัตถุ ดัง
รู ป ถ้าแรงดึงสปริ ง F1= 60 นิวตัน และ CM
F2 = 20 นิวตัน จงหาตาแหน่งจุดศูนย์ A
XC
กลางมวลวัดจากปลาย A ของแท่งวัตถุใน L = 1.4 m
หน่วยเมตร
1. 0.10 2. 0.20 3. 0.35 4. 0.45

6. กล่องสี่ เหลี่ยมกว้าง 1 เมตร สู ง 2 เมตร หนัก 10 กิโลกรัม ออกแรงผลักในแนวขนาน


กับพื้นขนาด 30 นิวตัน สู งจากพื้นเท่าไรกล่องจึงจะเริ่ มล้ม
1. 1.0 เมตร 2. 1.2 เมตร 3. 1.5 เมตร 4. 1.7 เมตร

4
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
7. บันไดยาว 2.5 เมตร มีน้ าหนัก 40 นิวตัน
A
ศูนย์ถ่วงของบันไดอยูห่ ่างจากปลายล่าง 1.0
เมตร จงหาแรงที่บนั ไดกระทาต่อกาแพงที่
จุด A และแรงเสี ยดทานระหว่างพื้นล่างกับ
บันไดและเพื่อทาให้บนั ไดอยูน่ ิ่งได้ ตอบตามลาดับ 53o B
1. 12 นิวตัน , 12 นิวตัน 2. 12 นิวตัน , 24 นิวตัน
3. 24 นิวตัน , 12 นิวตัน 4. 24 นิวตัน , 24 นิวตัน

8.3.2 โมเมนต์ ของแรงคู่ควบ


แรงคู่ควบ (couple) คือแรงที่กระทาต่อวัตถุสองแรงซึ่ งมีขนาดเท่ากัน แต่มีทิศตรงกันข้าม
โมเมนต์ของแรงคู่ควบจะมีขนาดเท่ากับผลคู ณขนาดของแรงใดแรงหนึ่ งกับระยะทางตั้ง
ฉากระหว่างแนวแรงทั้งสอง
นัน่ คือ Mc = F l
เมื่อ Mc คือโมเมนต์ของแรงคูค่ วบ ( นิวตัน . เมตร )
F คือขนาดของแรงคู่ควบ ( นิวตัน )
l คือระยะตั้งฉากระหว่างแนวแรงทั้งสอง ( เมตร )
8. ชายคนหนึ่งขับรถเลี้ยวซ้าย เกิดโมเมนต์ของแรงคู่ควบที่พวงมาลัย 100 นิวตัน–เมตร ถ้า
พวงมาลัยมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.5 เมตร จงหาแรงที่มือแต่ละข้างดึงพวงมาลัย
1. 50 นิวตัน 2. 100 นิวตัน 3. 150 นิวตัน 4. 200 นิวตัน

5
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
8.4 การได้ เปรียบเชิงกล และประสิ ทธิภาพเชิงกล
พิจารณาตัวอย่างคานงัดต่อไปนี้
F = 10 N
W = 40 N

r = 1 ม. R = 4 ม.
จากรู ปตัวอย่างจะพบว่าการยกน้ าหนัก (W) 40 นิวตัน เราใช้แรงกด (F) เพียง 10 นิวตัน
เช่นนี้เรี ยกมีการได้เปรี ยบเชิงกล ( mechanical advantage , MA )
การได้เปรี ยบเชิงกลสามารถหาค่าได้จาก
W R
MA = F หรื อ MA = r
เมื่อ MA คือการได้เปรี ยบเชิงกล
W คือน้ าหนักที่ยกได้
F คือแรงที่ใช้ยก
R คือระยะห่างจากจุดหมุนถึงแรงที่ใช้
r คือระยะห่างจากจุดหมุนถึงน้ าหนักที่ยกได้
ในการปฏิ บ ัติจริ ง นั้น น้ าหนัก ที่ ยกได้จริ ง จะมี ข นาดน้อยกว่าน้ าหนัก ที่ ย กได้จากการ
คานวณ เช่นจากตัวอย่างนี้ น้ าหนักที่ยกได้จริ งจะมีขนาดน้อยกว่า 40 นิ วตัน แต่หากเครื่ องมือมี
ประสิ ทธิ ภาพเชิงกลสู ง ขนาดของน้ าหนักที่ยกได้จริ งจะมีขนาดใกล้เคียงกับที่คานวณได้
ประสิ ทธิ ภาพเชิงกล ( Mechanical Efficiency ) สามารถหาค่าได้จาก
W/F
Eff = R / r x 100 %
เมื่อ Eff คือประสิ ทธิภาพเชิงกล
W คือน้ าหนักที่ยกได้จริ ง
F คือแรงที่ใช้ยกจริ ง
R คือระยะห่างจากจุดหมุนถึงแรงที่ใช้
r คือระยะห่างจากจุดหมุนถึงน้ าหนักที่ยกได้
6
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
9. กว้านตัวหนึ่งมีแขนหมุนยาว 60 เซนติเมตร และ รัศมีกว้าน 7.5 เซนติเมตร ถ้าไม่มีแรง
เสี ยดทาน การได้เปรี ยบเชิงกลจะเป็ นกี่เท่า
1. 2 2. 3 3. 5 4. 8

10. จากข้อที่ผา่ นมา ถ้าออกแรง 50 นิวตัน ยกน้ าหนักได้จริ ง 150 นิวตัน การได้เปรี ยบเชิง
กลครั้งหลังนี้เป็ นกี่เท่า
1. 2 2. 3 3. 5 4. 8

11. จากข้อที่ผา่ นมา ประสิ ทธิ ภาพเชิงกลเป็ นเท่าใด


1. 25.0% 2. 37.5% 3. 47.5% 4. 50.0%

8.5 สภาพยืดหยุ่น
สภาพยืดหยุ่น (elasticity) คือสมบัติของวัตถุที่มีการเปลี่ยนแปลงรู ปร่ างเมื่อมีแรงกระทา
และสามารถคืนตัวกลับสู่ สภาพเดิมเมื่อหยุดออกแรงกระทา
สภาพพลาสติก (plasticity) คือสมบัติของวัตถุที่มีการเปลี่ยนรู ปร่ างไปอย่างถาวร โดยผิว
วัตถุไม่ฉีกขาดหรื อแตกหัก
พิจารณาตัวอย่างการออกแรงดึงสปริ งต่อไปนี้ เมื่อออก
แรงดึง (หรื อกด) สปริ ง (หรื อเส้นลวด) จะพบว่าในขอบเขต
หนึ่งความยาวที่เปลี่ยนไป (x) จะแปรผันตรงกับแรงกระทา (F)
( กฎของฮุก , Hooke’s law ) เมื่อเขียนกราฟแสดงความสัม
พันธ์ระหว่างแรง ( F ) กับความยาวที่เปลี่ ยนไป ( x ) จะได้กราฟเป็ นเส้นตรงดังช่วง 0a ในรู ป
จุด a นี้ เรี ยกขีดจ ากัด การแปรผันตรง (proportional limit) เมื่ อออกแรงมากกว่าจุ ด a ไป
เล็กน้อยจนถึงจุด b ความยาวจะเปลี่ยนไปเพียงเล็กน้อย และเมื่อหยุดแรงกระทาสปริ งจะยังคง
กลับไปอยู่ในสภาพเดิ มได้ จุด b นี้ เรี ยกขีดจากัดสภาพยืดหยุ่น (elastic limit) และเมื่อออก
7
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
แรงมากเกิ นกว่าจุด b สปริ งจะเปลี่ ยนรู ปร่ างไปอย่างถาวร ไม่สามารถกลับคืนสู่ สภาพเดิ มได้
อีก และถ้าออกแรงไปถึ งจุด c เส้นวัสดุ จะขาด จุด c นี้ เรี ยกจุ ด แตกหั ก (breaking point)
และสภาพของวัสดุช่วง bc ก็คือสภาพพลาสติก
F
c

*
b (จุดแตกหัก)

*
a

*
(ขีดจำกัดสภำพยืดหยุน่ )
(ขีดจำกัดกำรแปรผันตรง)

0 x
ช่วง 0a ระยะยืดกับแรงจะแปรผันตรงต่อกัน เมื่อหมดแรงกระทาสปริ งจะคืนสภาพเดิมได้
ช่วง ab ระยะยืดกับแรงจะไม่แปรผันตรงต่อกัน เมื่อหมดแรงกระทาสปริ งยังคืนสภาพเดิมได้
ช่วง bc เมื่อแรงกระทาหมดไปสปริ งจะไม่คืนสภาพเดิม เมื่อถึงจุด c สปริ งจะขาด
8.5.1 ความเค้ น และ ความเครียด
พิจารณาตัวอย่างดังรู ป เมื่อเส้นลวดถูกแรงดึง F ทุกๆ
ส่ วนของภาคตัดขวางของเส้นลวดจะได้รับแรงกระทาเป็ น F
อย่างสม่าเสมอ อัตราส่ วนระหว่างแรงกระทากับพื้นที่ภาคตัด
ขวางของเส้นลวด เรี ยกว่าความเค้ นดึง (tensile stress)
F
นัน่ คือ s= A
เมื่อ s คือความเค้น ( นิวตัน/เมตร2)
F คือแรงเค้น ( นิวตัน )
F = mg
A คือพื้นที่ภาคตัดขวางของเส้นลวด (เมตร2)
โดยทัว่ ไปความเค้นมี 2 ชนิด
1. ความเค้ นตามยาว ( longitudinal stress) เกิดจากแรงกระทาตามแนวยาวของวัตถุ
ซึ่งได้แก่ ความเค้ นดึง (tensile stress) เกิดจากแรงดึง
และ ความเค้ นอัด (compressive stress) เกิดจากแรงกดหรื อแรงอัด
8
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
2. ความเค้ นเฉื อน (shear stress) เกิดจากแรงเฉื อน

เมื่อเส้นลวดถูกแรงกระทาความยาวของเส้นลวดจะเปลี่ยนไป อัตราส่ วนระหว่างความ


ยาวที่เปลี่ยนไปต่อความยาวเดิม เรี ยกความเครียด ( strain )
L
นัน่ คือ e = L0
เมื่อ e คือความเครี ยดตามยาว
L คือความยาวที่เปลี่ยนไป ( เมตร )
Lo คือความยาวเดิม ( เมตร )
8.5.2 ค่ ามอดูลสั ของยัง
ค่ามอดูลสั ของยัง (Young’s modulus) เป็ นค่าคงที่ซ่ ึงได้จากอัตราส่ วนของความเค้นต่อ
ความเครี ยด
F
A
 
 L 
 
s L  F Lo
นัน่ คือ Y = e =  o  = A ΔL

เมื่อ Y คือค่ามอดูลสั ของยัง ( นิวตัน/เมตร2)


s คือความเค้น ( นิวตัน/เมตร2)
e คือความเครี ยด
F คือแรงเค้น ( นิวตัน )
A คือพื้นที่หน้าตัดของเส้นลวด ( เมตร2)
Lo คือความยาวเดิม ( เมตร )
L คือความยาวที่เปลี่ยนไป ( เมตร )
9
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
12(แนว En) แขวนมวล 1000 กิโลกรัม กับเส้นลวดโลหะชนิดหนึ่งยาว 10 เมตร มีพื้นที่
หน้าตัด 2 x 10–4 ตารางเมตร เส้นลวดนี้ จะยืดออกเท่าใด ถ้ากาหนดให้ค่ายังมอดูลสั ของ
เส้นนี้เป็ น 2 x 1011 นิวตัน/ตารางเมตร
1. 0.10 เซนติเมตร 2. 0.25 เซนติเมตร
3. 1.00 เซนติเมตร 4. 2.50 เซนติเมตร

13. แท่งโลหะอันหนึ่งมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 2 เซนติเมตร มีคา่ มอดูลสั ของยัง Y = 2 x 1011


นิ วตัน/เมตร 2 จงหาว่าต้องออกแรงดึ งกี่ นิวตัน จึ งจะท าให้แท่ งโลหะมี ความยาวเพิ่ ม ขึ้ น
0.01 เปอร์เซ็นต์
1. 5000 2. 5700 3. 6300 4. 7000

10
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
14. วัตถุมวล 10 กิโลกรัม แขวนไว้ที่ปลายข้างหนึ่งของลวด x ที่ยาว 1 เมตร ลวด x ยืด
ออก 1 มิลลิเมตร และเมื่อเอามวล 20 กิโลกรัม แขวนกับลวด y ที่ยาว 1.5 เมตร ลวด y
ยืดออก 2 มิลลิเมตร รัศมีของพื้นที่หน้าตัดของลวด x เป็ น 2 เท่า ของรัศมีของพื้นที่หน้า
ตัดของลวด y อัตราส่ วนของค่ามอดูลสั ยังของลวด x ต่อลวด y มีค่าเท่าใด
1. 1 : 6 2. 3 : 8 3. 2 : 3 4. 3 : 4

15. ลวดเหล็กเส้นหนึ่งยาว 2 เมตร ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.4 เซนติเมตร นาไปผูกกับมวล


1000 กิ โลกรัม แล้วหย่อนให้มวลนั้นเคลื่ อนที่ ลงในแนวดิ่ งด้วยความเร่ ง 2 เมตร/วินาที 2
จงหาว่าลวดจะยืดยาวออกมากกว่าเดิมเท่าไร
(ให้ค่ามอดูลสั ของเหล็ก = 2 x 1010 นิวตัน/เมตร2)
1. 5.2 มิลลิเมตร 2. 6.5 มิลลิเมตร 3. 7.8 มิลลิเมตร 4. 36 มิลลิเมตร

11
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
เฉลยบทที่ 8 สภาพสมดุ ล และสภาพยื ด หยุ่ น
1. ตอบข้ อ 3. 2. ตอบข้ อ 4. 3. ตอบข้ อ 4. 4. ตอบข้ อ 3.
5. ตอบข้ อ 3. 6. ตอบข้ อ 4. 7. ตอบข้ อ 1. 8. ตอบข้ อ 4.
9. ตอบข้ อ 4. 10. ตอบข้ อ 2. 11. ตอบข้ อ 2. 12. ตอบข้ อ 2.
13. ตอบข้ อ 3. 14. ตอบข้ อ 1. 15. ตอบข้ อ 1.



ตะลุ ย ข้ อ สอบเข้ า มหาวิ ท ยาลัย


บทที่ 8 สภาพสมดุ ล และสภาพยื ด หยุ่ น ชุ ด ที่ 1
8.1 สภาพสมดุล
8.2 สมดุลต่ อการเคลื่อนที่
1(En 40) ผูก มวล m ติ ดกับ ปลายเชื อกที่ มี ม วล m แล้วแขวนไว้ก ับ เพดานดัง รู ป ความตึ ง
เชือกที่จุดกึ่งกลางเชือกเป็ นเท่าใด
1. mg
2. 23 mg m

3. 2 mg
4. 25 mg m

2(En42 มี.ค.) มวล m ถูกตรึ งให้อยูใ่ นลักษณะดังรู ป


T1
แรงดึงเส้นเชือก T1 ในเทอมของ m , g และ 
มีค่าเป็ นเท่าไร  T2
1. mg / sin  2. mg / cos 
3. mg tan  4. mg / tan  m

12
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
3(En 37) มวล m แขวนไว้ดงั รู ป และถูกตรึ ง
ไว้ดว้ ยแรง F ในแนวระดับ เมื่อ  = 60o
ความตึงของเส้นเชื อกจะเป็ นเท่าใด 60o

1. 12 mg 2. 23 mg F
3. 3 mg 4. 2 mg
4(En37) จากโจทย์ขอ้ ที่ผา่ นมาความเร่ งของมวล m ทันทีหลังจากตัดแรง F ออกจะเป็ นเท่าใด
1. 0.50 g 2. 0.71 g 3. 0.87 g 4. 1.00 g

8.3 สมดุลต่ อการหมุน


8.3.1 โมเมนต์ ของแรง หรื อทอร์ ก
5(En41 ต.ค) รถยกคันหนึ่งมีมวล 2400 กิโล-
กรัม มีศูนย์กลางมวลของรถอยูท่ ี่ตาแหน่งกึ่ง
กลางระหว่างล้อหลังกับล้อหน้า ซึ่ งห่างกัน
2.0 เมตร ถ้ารถพยายามยกวัตถุที่อยูห่ ่างจาก
ตัวรถไปทางด้านหน้า 10 เมตร มวลมาก
ที่สุดที่รถสามารถยกได้เป็ นกี่กิโลกรัม 2m 10 m

1. 100 2. 150 3. 240 4. 300


6(En47 มี.ค.) คานยาวสม่าเสมอมวล 3 กิโลกรัม
40 cm 60 cm
ยาว 100 เซนติเมตร มีไม้หมอนหนุ นอยูท่ ี่จุด P
และมีกอ้ นมวล 9 กิโลกรัม กับ 5 กิโลกรัม P x
แขวนไว้ที่ปลายแต่ละข้างดังรู ป ถ้าต้องการให้
คานวางตัวตามแนวระดับ เราต้องแขวนมวล
9 kg 2 kg 5 kg
2 กิโลกรัม เพิ่มทางขวาของจุด P ที่ระยะ X
ตามข้อใด
1. 30 เซนติเมตร 2. 25 เซนติเมตร
3. 15 เซนติเมตร 4. 10 เซนติเมตร
13
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
7(En42 ต.ค) แท่งวัตถุขนาดไม่สม่าเสมอยาว
L = 1.4 เมตร ถูกแขวนอยูใ่ นสมดุลด้วย
F1 = 60 N F2 = 20 N
สปริ งเบาที่ปลายทั้งสองของแท่งวัตถุ ดัง
รู ป ถ้าแรงดึงสปริ ง F1= 60 นิวตัน และ CM
F2 = 20 นิวตัน จงหาตาแหน่งจุดศูนย์ A
XC
กลางมวลวัดจากปลาย A ของแท่งวัตถุใน L = 1.4 m
หน่วยเมตร
1. 0.10 2. 0.20 3. 0.35 4. 0.45

8(แนว A–net) คานเหล็กสม่ าเสมอมวล 2 กิ โลกรัม ยาว 2 เมตร ที่ปลายทั้งสองข้างผูกมวล


13 และ 6 กิโลกรัม ถามว่าจะต้องผูกเชื อกที่ตาแหน่ งห่ างจากปลายด้านมวล 13 กิ โลกรัม
กี่เมตรคานจึงจะสมดุล
1. 1.33 2. 1.00 3. 0.75 4. 0.67

9(En42 มี.ค.) ชายสองคนช่ วยกันหามวัตถุ มวล 90 กิ โลกรั ม ซึ่ งแขวนอยู่ที่ จุดกึ่ งกลางคาน
สม่าเสมอมวล 10 กิ โลกรัม ถ้าชายคนที่หนึ่ งแบกคานตรงตาแหน่งห่ างจากจุดที่แขวนวัตถุ
0.5 เมตร และรับน้ าหนัก 600 นิวตัน ชายคนที่สองจะแบกคานที่ตาแหน่งห่างจากจุดแขวน
วัตถุเท่าไร
1. 0.13 เมตร 2. 0.25 เมตร 3. 0.50 เมตร 4. 0.75 เมตร

10(En43 มี.ค.) ชายคนหนึ่งถือแผ่นไม้ขนาดสม่าเสมอยาว


2 เมตร น้ าหนัก 100 นิวตัน ให้สมดุลตามแนวระดับ
โดยมือข้างหนึ่งยกแผ่นไม้ข้ ึนที่ตาแหน่ง 40 เซนติเมตร
จากปลายใกล้ตวั และมืออีกข้างหนึ่งกดแผ่นไม้ลงที่
ปลายเดียวกันนั้นดังรู ป จงคานวณหาแรงกด และแรง
ยก จากมือทั้งสองตามลาดับที่ทาให้แผ่นไม้นิ่งอยูไ่ ด้ในหน่วยนิวตัน
1. 120 และ 220 นิวตัน 2. 130 และ 230 นิวตัน
3. 140 และ 240 นิวตัน 4. 150 และ 250 นิวตัน

14
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
11(แนว 9 สามัญ) ชายมวล 75 กิโลกรัม วิดพื้นดังรู ป ถ้า
จุดศูนย์กลางของมวลของชายคนนี้ อยูห่ ่างจากปลาย
เท้า 100 เซนติเมตร และห่ างจากมือ 50 เซนติเมตร
น้ าหนักที่ตกลงบนมือแต่ละข้างของชายคนนั้นเป็ นกี่นิวตัน
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4 5. 5
8.3.2 โมเมนต์ ของแรงคู่ควบ
8.4 สมดุลของวัตถุ
12(En44 มี.ค.) ออกแรง F = 160 นิวตัน ผลักตูเ้ ย็น 40
กิโลกรัม บนพื้นฝื ดที่ความสู ง 90 เซนติเมตร จาก F
พื้นโดยตูเ้ ย็นไม่ลม้ จงหาความกว้างน้อยที่สุดของ 120 cm
90 cm
ฐานตูเ้ ย็น (X) ในหน่วยเซนติเมตร กาหนดให้ความ mg
สู งของตูเ้ ย็นคือ 120 เซนติเมตร และจุดศูนย์กลาง
มวลอยูส่ ู งจากพื้น 40 เซนติเมตร ดังรู ป X
1. 15 2. 30
3. 72 4. 96
13(En43 ต.ค.) กล่องวัตถุรูปสี่ เหลี่ยมมีมวลสม่าเสมอ
37o
ฐานกว้าง 0.2 เมตร สู ง 0.5 เมตร มีน้ าหนัก 200
P
นิวตัน วางอยูบ่ นพื้นที่ฝึดมาก ถ้าออกแรง P กระ
ทาต่อวัตถุในแนวทามุม 37o กับแนวระดับดังรู ป
จะต้องออกแรงเท่าไร จึงจะทาให้วตั ถุลม้ พอดี
1. 25 นิวตัน 2. 50 นิวตัน 3. 75 นิวตัน 4. 100 นิวตัน
14. บันไดสม่าเสมอ AB ยาว 2 L และมีมวล m ปลาย A วางพิงก าแพงเกลี้ยงและปลาย B
วางทามุม  กับพื้นซึ่ งมีสัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทาน  จงหาค่ามุม  ที่ทาให้บนั ไดอยูใ่ น
สภาพสมดุล
1. cot–1() 2. cot–1  1  3. cot–1  21μ  4. cot–1(2)
μ   

15
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
15(En42 มี.ค.) บันไดขนาดสม่าเสมอ มีน้ าหนัก W วางพาดกาแพงเกลี้ยงซึ่งไม่คิดแรงเสี ยดทาน
ถ้าสัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทานสถิตระหว่างพื้นล่างกับบันได เท่ากับ  จงหามุม  น้อย
ที่สุดที่ทาให้บนั ไดวางอยูน่ ิ่งได้
1. tan–1 1  2. tan–1 3. tan–1  21  4. tan–12
 
16(แนว 9 สามัญ ) ท่ อ นไม้โตสม่ า เสมอวางปลายบนิ ง ก าแพงลื่ น ปลายล่ า งอยู่บ นพื้ น ฝื ดมี
สัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทานกับ
ท่อนไม้เป็ น  จงหาค่าของ 
ที่โตที่สุดที่ท่อนไม้พิงอยูไ่ ด้โดย กำแพง ืน
g
ไม่ไถลลง
1. arctan  
2. arctan 2
3. arctan μ1
4. arctan 21μ พืน ื ด
5. arctan μ  1 
 μ
17. จากรู ป คาน AB ยาว 2.4 เมตร วางพิงกาแพงผิว
B
เกลี้ยง โดยที่ปลาย A อยูบ่ นพื้นหยาบซึ่ งมีสัมประ
สิ ทธิ์ ความเสี ยดทาน 13 ส่ วนปลาย B แตะผิวกา
แพงเกลี้ยง จงหาว่าปลาย B จะต้องสู งจากพื้นน้อย
A
ที่สุดเท่าไรคาน AB จึงจะไม่เลื่อนไถลลงมา
1. 1.6 เมตร 2. 1.8 เมตร 3. 2.0 เมตร 4. 2.3 เมตร

18(แนว มช) AB เป็ นท่อนไม้ขนาดสม่าเสมอยาว


C
4 เมตร หนัก 4 กิโลกรัม ปลาย A ถูก
ยึดไว้กบั ผนังอาคารด้วยบานพับ ปลาย B ผูก
ด้วยเส้นลวดโลหะ BC ยาว 5 เมตร ทาให้ AB A
B
อยูใ่ นแนวระดับและที่ปลาย B นี้ มีวตั ถุหนัก

16
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
28 กิโลกรัม แขวนดังรู ป จงหาแรงดึงลวด BC
1. 466.7 นิวตัน 2. 46.7 นิวตัน 3. 500 นิวตัน 4. 50 นิวตัน
8.5 การได้ เปรียบเชิงกล และประสิ ทธิภาพเชิงกล
8.6 เสถียรภาพของสมดุล
8.7 ศู นย์ กลางมวล และศู นย์ ถ่วง
8.8 สภาพยืดหยุ่น
8.5.1 ความเค้ น และ ความเครียด
8.5.2 ค่ ามอดูลสั ของยัง
19(แนว Pat2) ลวดโลหะยาว 2.000 เมตร ถูกดึงด้วยแรงคงที่ จนมีความเครี ยด 1.000 x 10 –3
จงหาความยาวของลวดโลหะขณะถูกแรงดึงในหน่วยมิลลิเมตร
1. 0.5 2. 1.0 3. 1.5 4. 2.0 5. 2.5
20(En 37) ลวดทองแดงเส้นหนึ่งยาว 4 เมตร มีพื้ นที่ภาคตัดขวาง 1 x 10–8 ตารางเมตร มีค่า
มอดูลสั ของยังเป็ น 1.1x 1011 นิ วตัน/ตารางเมตร จะต้องออกแรงดึ งเท่าใดจึงจะทาให้ลวด
เส้นนี้ยดื ออกอีก 1 มิลลิเมตร
1. 0.2 นิวตัน 2. 0.3 นิวตัน 3. 0.4 นิวตัน 4. F0.5= mg
นิวตัน
21(En42 ต.ค) แขวนมวล 400 กิโลกรัม กับเส้นลวดโลหะชนิดหนึ่งยาว 10 เมตร มีพื้นที่หน้า
ตัด 2 x 10–4 เมตร2 เส้นลวดนี้จะยืดออกเป็ นเท่าใด ถ้ากาหนดให้ค่ายังมอดูลสั ของเส้นลวด
นี้เป็ น 2 x 1011 นิวตัน/เมตร2
1. 0.1 เซนติเมตร 2. 0.2 เซนติเมตร
3. 1.0 เซนติเมตร 4. 2.0 เซนติเมตร
22(แนว A-net) ลวดโลหะมีพ้ืนที่หน้าตัด 1 ตารางมิลลิเมตร ความยาว 80 เซนติเมตร มีค่า
มอดูลสั ของยังเท่ากับ 9 x 1010 นิวตัน/ตารางเมตร ถ้าใช้ลวดนี้ รับน้ าหนัก 45 นิวตัน ลวด
จะยืดออกเท่าไร
1. 0.04 มิลลิเมตร 2. 0.4 มิลลิเมตร 3. 4 มิลลิเมตร 4. 40 มิลลิเมตร

17
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
23(แนว A–net) ลวดโลหะยาว 1.8 เมตร มีพื้นที่หน้าตัด 1.2 ตารางมิลลิเมตร ถูกยืดออก
1.0 มิลลิเมตร ถามว่าลวดโลหะนี้มีความตึงเท่าใด ถ้ามอดูลสั ของลวดนี้ เท่ากับ 9.0x1010
นิวตันต่อตารางเมตร
1. 6 นิวตัน 2. 60 นิวตัน 3. 600 นิวตัน 4. 6000 นิวตัน
24(En 35) เมื่อแขวนมวล M ไว้ที่ปลายเส้นลวดดังรู ป จะทาให้เส้น
ลวดยืดออก 0.12 เปอร์ เซ็นต์ของความยาวเดิม ถ้าพื้นที่หน้าตัด
ของลวดเท่ากับ 0.20 ตารางมิลลิเมตร และมีค่ามอดูลสั ของยัง
เท่ากับ 2.0 x 1011 นิวตันต่อตารางเมตร มวล M จะมีค่าเท่าใด M
1. 48 กิโลกรัม 2. 24 กิโลกรัม
3. 4.8 กิโลกรัม 4. 2.4 กิโลกรัม
25(En46 ต.ค) ลวดเส้นหนึ่งยาวเท่ากับ L มีพ้ืนที่ภาคตัดขวางเป็ น A และมีคา่ มอดูลสั ของยัง
เป็ น Y ถ้าต้องการยืดลวดนี้ ให้ยาวขึ้น 1% จะต้องใช้แรงดึงเท่าใด
1. AY 2. 100YA 3. 100Y
LA 4. YLA
100
26(En47 ต.ค.) ลวด A กับลวด B ยาวเท่ากัน พื้นที่หน้าตัดของ B เป็ นสองเท่าของ A ดึงลวด
B ด้วยแรง 50 นิวตัน จะต้องดึงลวด A ด้วยแรงกี่นิวตัน จึงจะยาวเท่ากับ B กาหนดว่าค่า
มอดูลสั ของยังสาหรับ A เป็ น 3 เท่าของ B
1. 8.3 2. 33 3. 75 4. 300
27(En 36) ลวดทาด้วยโลหะต่างชนิ ดกันสองเส้นยาวเท่ากัน มีพ้ืนที่หน้าตัดเป็ น 0.1 และ 0.18
ตารางเซนติ เมตร เมื่ อถึ งลวดทั้งสองนี้ ด้วยแรงเท่ ากัน มันจะยืดออกเท่ ากับ 0.3 และ 0.2
เซนติเมตร ตามลาดับ จงหาอัตราส่ วนของมอดู ลสั ยังของลวดเส้ นที่ หนึ่ งต่อมอดู ลสั ของยัง
ของลวดเส้นที่สอง
27
1. 100 2. 65 3. 65 4. 100
27
28(En 38) นาทองแดงและโลหะไม่ทราบชนิดที่มีพ้ืนที่หน้าตัดและความยาวเท่ากัน มาผูกวัตถุ
7000 กิโลกรัม แขวนห้อยไว้ในแนวดิ่ง ปรากฏว่าทองแดงยืดออกจากเดิม 1.75 มิลลิเมตร
ขณะที่โลหะไม่ทราบชนิดยืดออกจากเดิม 1.43 มิลลิเมตร ถ้าทองแดงมีค่ามอดูลสั ของยัง
เท่ากับ 1.1 x 1011 นิวตันต่อตารางเมตร โลหะนี้ จะมีค่ามอดูลสั ของยังเท่ากับ
18
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ

1. 1.15 x 1011 นิวตัน/เมตร2 2. 1.35 x 1011 นิวตัน/เมตร2


3. 1.65 x 1011 นิวตัน/เมตร2 4. 1.85 x 1011 นิวตัน/เมตร2
29(En44 ต.ค.) ลวดชนิดเดียวกัน 2 เส้นเดิมยาว L และ
L/2 ถูกถ่วงด้วยมวล ดังรู ป จงหาอัตราส่ วนของระยะ L/2
L
ยืดของลวดในรู ปที่ 1 กับระยะยืดของลวดในรู ปที่ 2 M
1. 4 : 1 2. 2 : 1
2M รู ปที่ 2
3. 1 : 2 4. 1 : 1
รู ปที่ 1
30(Ent 44 มี.ค.) ลวดเหล็กกล้าสาหรับดึ งลิ ฟต์ตวั หนึ่ ง มีพื้ นที่หน้าตัด 5 ตารางเซนติเมตร ตัว
ลิฟต์และสัมภาระในลิฟต์ มีน้ าหนักรวม 2000 กิ โลกรัม จงหาความเค้น (Stress) ในสาย
เคเบิล ในขณะที่ลิฟต์กาลังเคลื่อนที่ข้ ึนด้วยความเร่ งสู งสุ ด 2.0 เมตรต่อ(วินาที)2
1. 64 x 106 นิวตัน/เมตร2 2. 48 x 106 นิวตัน/เมตร2
3. 40 x 106 นิวตัน/เมตร2 4. 32 x 106 นิวตัน/เมตร2


เฉลยตะลุ ย ข้ อ สอบเข้ า มหาวิ ท ยาลัย


บทที่ 8 สภาพสมดุ ล และสภาพยื ด หยุ่ น ชุ ด ที่ 1

1. ตอบข้ อ 2. 2. ตอบข้ อ 1. 3. ตอบข้ อ 4. 4. ตอบข้ อ 3.


5. ตอบข้ อ 3. 6. ตอบข้ อ 3. 7. ตอบข้ อ 1. 8. ตอบข้ อ 3.
9. ตอบข้ อ 4. 10. ตอบข้ อ 4. 11. ตอบข้ อ 4. 12. ตอบข้ อ 3.
13. ตอบข้ อ 2. 14. ตอบข้ อ 4. 15. ตอบข้ อ 3. 16. ตอบข้ อ 4.
17. ตอบข้ อ 3. 18. ตอบข้ อ 3. 19. ตอบข้ อ 4. 20. ตอบข้ อ 2.
21. ตอบข้ อ 1. 22. ตอบข้ อ 2. 23. ตอบข้ อ 2. 24. ตอบข้ อ 3.
25. ตอบข้ อ 2. 26. ตอบข้ อ 3. 27. ตอบข้ อ 3. 28. ตอบข้ อ 2.
29. ตอบข้ อ 1 30. ตอบข้ อ 2.


19
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล

บทที่ 9 คลื่ น กล
9.1 การถ่ ายโอนพลังงานของคลื่นกล
การเคลื่อนที่แบบคลื่น หมายถึง “ การเคลื่อน
ที่ซ่ ึงพลังงานถูกถ่ายทอดไปข้างหน้าได้ โดยที่อนุ ภาค
ตัวกลางสัน่ อยูท่ ี่เดิม ”

ตัวอย่างเช่ น
ถ้าเราทาการทดลองโดยใช้เชือกยาวประมาณ 5 เมตร วางไว้บนพื้นราบโดยผูกด้ายสี สด
ไว้ตรงกลางเส้นเชือก แล้วยึดปลายเชื อกข้างหนึ่ งไว้ก บั ฝาผนัง ใช้มือดึงปลายเชื อกที่เหลื อให้
ตึงพอประมาณแล้วสะบัดปลายเชื อกนั้นขึ้นลงตามแนวดิ่ง จะเกิดส่ วนโค้งขึ้นในเส้นเชื อกซึ่ งจะ
เคลื่ อนจากปลายที่ ถูกสะบัดพุ่งเข้าหาฝาผนัง การเคลื่ อนที่น้ ี จะมี การนาพลังงานจากจุดสะบัด
เชื อกเคลื่อนติดไปพร้อมกับส่ วนโค้งของเชื อกนั้น ส่ งผลให้พลังงานถูกถ่ายทอดไปข้างหน้าได้
แต่ถา้ พิจารณาถึงเส้นด้ายที่ผูกไว้กลางเชื อก จะพบว่าเส้นด้ายเพียงแต่สั่นขึ้นลงอยู่กบั ที่ไม่ได้
เคลื่อนที่เข้าหาฝาผนังเหมือนกับพลังงาน แสดงให้เห็นว่าอนุ ภาคของเส้นเชื อกตรงที่ผูกด้ายอยู่
นั้นไม่ได้เคลื่อนที่ไปกับพลังงาน แต่จะสั่นขึ้นลงอยูท่ ี่เดิม เราเรี ยกการเคลื่ อนที่ซ่ ึ งพลังงานถูก
ถ่ายทอดไปข้างหน้าได้ โดยอนุภาคตัวกลางสัน่ อยูท่ ี่เดิมเช่นนี้วา่ เป็ นการเคลื่อนที่แบบคลื่น
ทิศของพลังงาน

ทิศการสัน่ ไปมาของอนุภาค

อีกตัวอย่างเช่ น
ถ้าเรานาลูกแก้วกลมๆ มาวางเรี ยงกันจานวนหนึ่ง แล้วออกแรงตีลูกแก้วลูกแรก จะทาให้
ลูกแก้วนั้นวิง่ ไปกระทบลูกที่ 2 แล้วลูกที่ 2 นั้นจะวิง่ ไปชนลูกที่ 3 เป็ นเช่นนี้ไปเรื่ อยๆ จนถึงลูก
สุ ดท้าย การชนกันแบบนี้ จะมี การถ่ายทอดพลังงานไปข้างหน้าเรื่ อยๆ ทาให้พ ลังงานเกิ ดการ
เคลื่ อ นที่ ไ ปข้างหน้ า ได้ โดยที่ อ นุ ภ าคตัวกลาง (คื อ ลู ก แก้ว ) เพี ย งแต่ สั่ น ไปมาอยู่เดิ ม การ
เคลื่อนที่แบบนี้ เรี ยกการเคลื่อนที่แบบคลื่นได้เช่นกัน

1
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
ชนิดของคลื่น
การแบ่ งชนิ ดของคลื่น วิธีที่ 1 แบ่งโดยอาศัยทิ ศทางของพลังงานกับทิ ศการสั่ นอนุ ภาค
จะแบ่งคลื่นได้ 2 ชนิด คือ
1) คลื่นตามขวาง (longitudinal wave) คือ
คลื่นซึ่ งมีทิศการถ่ายทอดพลังงานตั้งฉากกับทิศของการ
สั่นอนุภาค เช่นคลื่นในเส้นเชือก เป็ นต้น
2) คลื่นตามยาว (transverse wave) คื อคลื่ นที่ มีทิศการถ่ายทอดพลังงานขนาน กับ
ทิศการสั่นของอนุภาค เช่นคลื่นในลูกแก้ว เป็ นต้น
การแบ่ งชนิดของคลื่นวิธีที่ 2 แบ่งโดยอาศัยลักษณะการถ่ายทอดพลังงาน จะแบ่งคลื่ น
ได้ 2 ชนิด คือ
1) คลื่ น กล (mechanical wave) คื อ คลื่ น ที่ ต้อ งอาศัย อนุ ภ าคตัว กลางจึ ง ถ่ า ยทอด
พลังงานได้ เช่นคลื่นในเส้นเชือก คลื่นในลูกแก้ว เป็ นต้น
2) คลื่ น แม่ เหล็ ก ไฟฟ้ า (electromagnetic wave) คื อ คลื่ น ที่ ไ ม่ ต้อ งอาศัย อนุ ภ าค
ตั ว กลาง ก็ ส ามารถถ่ า ยทอดพลั ง งานได้ ซึ่ งได้ แ ก่ รั ง สี แกมมา รั ง สี เอ็ ก ซ์ รั ง สี
อัลตราไวโอเลต คลื่นแสง รังสี อินฟาเรด คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุ ไฟฟ้ากระแสสลับ

9.2 คลื่นผิวนา้
คลื่นผิวน้ าเป็ นคลื่นกล เกิดเมื่อผิวน้ า
ถูกรบกวน และมีการถ่ายโอนพลังงานผ่าน
อนุภาคของน้ า
สิ่ งที่ควรทราบเป็ นเบื้องต้นเกี่ยวกับคลื่นผิวน้ ามีดงั นี้
1. สั นคลื่น (crest) คือจุดสู งสุ ดที่คลื่นกระเพื่อมขึ้ นไปได้
2. ท้องคลื่น (trough) คือจุดต่ำสุ ดที่คลื่นกระเพื่อมลงไปได้
3. แอมพลิจูด (amplitude , A ) คือกำรกระจัดจำกระดับผิวน้ ำปกติข้ ึนไปถึงสันคลื่นหรื อ
กำรกระจัดจากระดับผิวน้ าปกติลงไปถึงท้องคลื่น

2
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล

สันคลื่น 
A  X
W Y Z
A

ท้องคลื่น
4. หนึ่งลูกคลื่น คือช่วงจังหวะคลื่นกระเพื่อมขึ้น 1 อัน รวมกับลงอีก 1 อัน เช่นในรู ป
ช่ วง WX คื อ 1 ลู ก คลื่ น หรื อ ช่ วง XY ก็ เป็ น 1 ลู ก คลื่ น หรื อ ช่ ว ง YZ ก็ เป็ น 1 ลู ก คลื่ น
เช่นกัน
5. ความยาวคลื่ น ( wavelength , ) คื อ ระยะทางที่ วดั เป็ นเส้ น ตรงจากจุ ด ตั้งต้น ไป
จนถึ งจุดสุ ดท้ายของหนึ่ งลูกคลื่น เช่น ระยะทางจาก W ไป X ดังรู ป หรื อระยะระหว่างสัน
คลื่นที่อยูถ่ ดั กัน หรื อระยะระหว่างท้องคลื่นที่อยูถ่ ดั กัน ก็ได้
6. คาบ (period , T) คื อเวลาที่ ค ลื่ นใช้ในการเคลื่ อนที่ ค รบ 1 ลู ก คลื่ น มี ห น่ วยเป็ น
วินาที (s)
7. ความถี่ (frequency , f ) คื อจานวนลู กคลื่ นที่เกิ ดขึ้นในหนึ่ งหน่ วยเวลา เช่ นถ้าเกิ ด
คลื่น 3 ลูกในเวลา 1 วินาที เช่นนี้เรี ยกได้วา่ ความถี่คลื่นมีค่า 3 รอบต่อวินาที
ความถี่ มีหน่วยเป็ น รอบ/วินาที หรื อ 1 /วินาที หรื อสั้นๆ ว่า เฮิตรซ์ (Hz)
เราอาจคานวณหาค่าความถี่ได้จาก
f = จำนวนคลื่นที่เกิด หรื อ f = T1
เวลำที่เกิดคลื่นนั้น
เมื่อ f คือความถี่ ( 1s , Hz)
T คือคาบ (วินาที)
8. อัตราเร็วคลื่น (wave speed , v ) คือระยะทางที่คลื่นเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา
เราสามารถคานวณหาอัตราเร็ วคลื่นได้จาก
v = st หรื อ v = f
เมื่อ v คืออัตราเร็ วคลื่น (เมตร/วินาที)
s คือระยะทางที่เคลื่อนที่ไปได้ ( เมตร )
3
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
t คือเวลาที่คลื่นใช้ในการเคลื่อนที่ ( วินาที )
f คือความถี่คลื่น ( Hz หรื อ รอบ/วินาที )
 คือ ความยาวคลื่น ( เมตร )

9. เฟสของคลื่น (phase , ) เป็ นการบอกตาแหน่งบนหน้าคลื่นในรู ปของมุมหน่วย


องศาหรื อเรเดียน เช่นในรู ป
90o 450o 810o
B
A 180o E
0o C 360o 540o 720o 900o 1180o
D
270o 630o 990o

จุด A เป็ นจุดซึ่ งคลื่นเริ่ มเคลื่อนที่ข้ ึนจากจุดสมดุล เราถือว่าจุด A มีเฟสเป็ น 0o


จุด E เป็ นจุดซึ่งคลื่นเคลื่อนที่ครบ 1 รอบนับจากจุดเริ่ มต้น A เราถือว่าจุด E มีเฟสเป็ น 360o
จุด C เป็ นจุดซึ่ งคลื่นเคลื่อนที่ได้ครึ่ งรอบ นับจากจุดเริ่ มต้น A เราถือว่าจุด C มีเฟสเป็ น 180o
จุด B เป็ นจุดซึ่ งอยูต่ รงกับสันคลื่น เราถือว่าจุด B มีเฟสเป็ น 90o
จุด D เป็ นจุดซึ่ งอยูต่ รงกับท้องคลื่น เราถือว่าจุด D มีเฟสเป็ น 270o
สู ตรใช้คานวณเกี่ยวกับเฟสของคลื่น ได้แก่
o o
 = 360 vf ( x) หรื อ  = 360 ( x) หรื อ  = 360o f (Δ t)

เมื่อ  คือเฟสที่ต่างกันของจุด 2 จุด ( องศา )
x คือระยะการกระจัดที่ต่างกันของจุด 2 จุด ( เมตร )
f คือความถี่ของคลื่น ( เฮิรตซ์ )
v คืออัตราเร็ วของคลื่น ( เมตร/วินาที )
 คือความยาวคลื่น ( เมตร )
t คือเวลาที่ต่างกันของจุด 2 จุด ( วินาที )

4
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
10. เฟสตรงกัน คือจุดบนหน้าคลื่นซึ่ งอยูห่ ่างกันเท่ากับ n  เมื่อ n = 1 , 2 , 3 , …

3
2
90o 1 450o 810o 1170o
0o 180o 540o 900o 1260o
360o 720o 1180o 1440o
270o 630o 990o 1350o

ตัวอย่างเช่น เฟส 90o , 450o , 810o , 1170o ในรู ป อยูห่ ่างกันเท่ากับ 1  , 2  , 3 


ดังนั้นเฟสเหล่านี้ถือว่าเป็ นเฟสที่ตรงกันหมด
และจากรู ปจะได้อีกว่า 270o , 630o , 990o , 1350o เป็ นเฟสที่ตรงกัน
และ 180o , 540o , 900o , 1260o เป็ นเฟสที่ตรงกัน
เพราะอยูห่ ่างกันเท่ากับ n 

11. เฟสตรงกันข้ าม คือจุดบนหน้าคลื่นซึ่ งอยูห่ ่างกัน ( n – 12 )  เมื่อ n = 1 , 2 , 3 , …


90o 450o 810o 1170o
0o 180o 540o 990o 1260o
360o 720o 1180 o 1440o
λ 270
o 630o 990o 1350o
2 3λ
2 5λ
2
ตัวอย่างเช่นในรู ปด้านบน
เฟส 90o เป็ นเฟสที่ตรงกันข้ามเฟส 270o เพราะเฟสทั้งสองอยูห่ ่างกัน 1  ( คือ [ 1–
2
1])
2
เฟส 90o เป็ นเฟสที่ตรงกันข้ามเฟส 630o เพราะเฟสทั้งสองอยูห่ ่างกัน 3
2  ( คือ [ 2–
1])
2
เฟส 90o เป็ นเฟสที่ตรงกันข้ามเฟส 990o เพราะเฟสทั้งสองอยูห่ ่างกัน 5
2  ( คือ [ 3–
1])
2

5
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
12. สมการของคลื่น
s = A sin  t Y
S t
เมื่อ s = การกระจัดจากระดับน้ าปกติ
ไปถึงจุดใดๆ บนผิวคลื่น
A = แอมพลิจูดของคลื่น
 = อัตราเร็ วเชิงมุม ( เรเดียน/วินาที )
ค่าของ  สามารถหาได้จาก
 = 2f

เมื่อ f คือความถี่ของคลื่น ( เฮิรตซ์ )


1. คลื่นชนิดหนึ่งเกิดจากการสั่น 3000 รอบต่อนาที คลื่นนี้มีความถี่และคาบเท่าไร
1. 50 Hz , 0.02 วินาที 2. 100 Hz , 0.04 วินาที
3. 150 Hz , 0.06 วินาที 4. 300 Hz , 0.08 วินาที

2(แนว En) ในการทดลองเรื่ องการเคลื่อนที่ของคลื่ นโดยใช้ถาดน้ ากับตัวกาเนิ ดคลื่ น ซึ่ งเป็ น


มอเตอร์ ที่หมุน 3 รอบต่อวินาที ถ้าคลื่ นบนผิวน้ าเคลื่ อนที่ดว้ ยอัตราเร็ ว 18 เซนติเมตร/-
วินาที จงหาความยาวคลื่นบนผิวน้ าที่เกิดขึ้น
1. 1.5 cm 2. 6.0 cm 3. 9.0 cm 4. 18.0 cm

3. เมื่ อสังเกตคลื่ นเคลื่ อนที่ ไปบนผิวน้ ากระเพื่อมขึ้ นลง 600 รอบ ใน 1 นาที และระยะระ
หว่างสันคลื่ นที่ถดั กันวัดได้ 10 เซนติเมตร จงหาว่าเมื่อสังเกตคลื่นลู กหนึ่ งเคลื่ อนที่ไปใน
1 นาที จะได้ระยะทางกี่เมตร

6
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
4(แนว A–Net) ถ้าความเร็ วของคลื่นน้ าเท่ากับ 9 เมตรต่อวินาที ขณะที่สันคลื่นที่หนึ่งและที่สาม
ห่าง 9 เมตร คลื่นนี้ มีความถี่เท่าใด
1. 2.0 Hz 2. 3.0 Hz 3. 4.0 Hz 4. 4.5 Hz

5. คลื่ นมี ความถี่ 150 เฮิรตซ์ มีความเร็ ว 300 เมตร/วินาที จุ ดที่ มี เฟสต่างกัน 45o อยู่ห่าง
กัน กี่เมตร
1. 0.25 2. 0.5 3. 0.75 4. 1.00

6. จากรู ป S เป็ นแหล่งกาเนิ ดคลื่นซึ่ งมีความถี่ 20 Hz ให้


A
คลื่นแผ่ออกไปอัตราเร็ ว 1.2 เมตร/วินาที จุด A และ B 16 cm
อยูห่ ่างจาก S เป็ นระยะ 16 และ 13 ซม. ตามลาดับ S
13 cm B
อยากทราบว่าคลื่นที่จุด A และ B มีเฟสต่างกันกี่องศา
1. 180o 2. 270o 3. 360o 4. 450o

7
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
9.3 การซ้ อนทับของคลื่น
หลักการซ้ อนทับ ( principle of superposition ) กล่ำวว่ำ “ เมื่อคลื่ นตั้งแต่สองคลื่ น
มำพบกันแล้วเกิดกำรรวมกัน กำรกระจัดของคลื่นรวมจะมีค่ำเท่ำกับผลบวกกำรกระจัดของคลื่น
แต่ละคลื่นที่มำพบกัน หลังจำกที่คลื่ นเคลื่ อนผ่ำนพ้นกันแล้ว แต่ละคลื่ นยังคงมีรูปร่ ำงและทิศ
ทำงกำรเคลื่อนที่เหมือนเดิม ”
ตัวอย่ำง ก.
คลื่น  คลื่น 

คลื่นรวม เมื่อคลื่นมาซ้อนกัน จะเกิดการ


รวมกัน ทาให้แอมพลิจูดรวมสูงขึ้น
เมื่อคลื่นแยกจากกัน จะกลับมา
คลื่น  คลื่น  มีลกั ษณะเดิมทั้งขนาดและทิศทาง
ตัวอย่ำง ข.

คลื่น  คลื่น 
เมื่อคลื่นมาซ้อนกัน จะเกิดการ
คลื่นรวม รวมกัน ทาให้แอมพลิจูดรวมลึกลง
เมื่อคลื่นแยกจากกัน จะกลับมา
คลื่น  คลื่น  มีลกั ษณะเดิมทั้งขนาดและทิศทาง
ตัวอย่ำง ค.
คลื่น 
คลื่น 
คลื่นรวม เมื่อคลื่นมาซ้อนกัน จะเกิดการ
หักล้างกัน ทาให้คลื่นรวมหายไป
คลื่น  เมื่อคลื่นแยกจากกัน จะกลับมา
คลื่น 
มีลกั ษณะเดิมทั้งขนาดและทิศทาง

8
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
9.4 สมบัติของคลื่น
การเขียนรู ปคลื่น
แบบที่ 1 หากเรามองดูคลื่นน้ าในตูป้ ลา
โดยมองจากด้านข้างตู ้ ใช้ตามองที่ระดับผิวน้ า
พอดี เราจะเห็นคลื่นผิวน้ าเป็ นดังรู ป การเขียน
รู ปคลื่นแบบนี้ เป็ นรู ปแบบที่ 1
แบบที่ 2 หากเราใช้มือตีผวิ น้ าที่อยูน่ ิ่งใน
สระว่ายน้ า จะเกิดคลื่นน้ ากระจายออกไปเป็ นรู ป รังสี คลื่น แสดงทิศทำงกำรเคลื่อนที่ของคลื่น
ครึ่ งวงกลม เราอาจเขียนรู ปแสดงการกระจาย สันคลื่น
ของคลื่นได้ดงั รู ป เส้นทึบเป็ นตาแหน่งที่อยูต่ รง (หน้ าคลื่น)
กับสันคลื่น และตาแหน่งที่อยูต่ รงกลางระหว่าง
เส้นทึบจะอยูต่ รงกับท้องคลื่น และลูกศรที่แสดง S
ถึงทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นเรี ยกรังสี คลื่น และจากรู ปจะเห็นได้ว า่ รังสี คลื่นจะตั้งฉากกับ
แนวสันคลื่น (หน้าคลื่น) เสมอ

ฝึ กทา จากรู ปหน้าคลื่นต่อไปนี้


แหล่งกาเนิดคลื่น
จงเขียนรังสี คลื่น อยูด่ า้ นนี้

คลื่นทุกชนิดจะมีคุณสมบัติ 4 ประการ คือ


1. การสะท้อน (Reflection) 2. การหักเห (Refraction)
3. การแทรกสอด (lnterference) 4. การเลี้ ยวเบน (Diffrection)
การสะท้อน และการหักเห ทั้งคลื่ นและอนุ ภาคต่างก็แสดงคุ ณสมบัติสองข้อนี้ ได้ แต่การ
แทรกสอดและการเลี้ ยวเบนจะเป็ นคุ ณสมบัติเฉพาะตัวของคลื่ น เพราะคลื่ นเท่านั้นที่จะแสดง
คุณสมบัติสองข้อนี้ ได้

9
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
9.4.1 การสะท้อน
เมื่อคลื่นพุ่งเข้ าไปตกกระทบสิ่ งกีด รังสีตกกระทบ เส้ นปกติ รังสีสะท้ อน
ขวาง คลื่นจะเกิดการสะท้อนกลับออกมา มุมตก มุมสะท้ อน
ได้ ดังแสดงในรู ปภาพ สมบัติของคลื่นข้ อ 1 2
นีเ้ รียก สมบัติการสะท้อนได้ ของคลื่น
คาศัพท์เกีย่ วกับการสะท้อนคลื่น
1. รังสี ตกกระทบ คือรังสี คลื่นทีพ่ ่ งุ เข้ าไปตกกระทบ
2. รังสี สะท้อน คือรังสี คลื่นทีส่ ะท้อนย้อนกลับออกมา
3. เส้ นปกติ คือเส้ นตรงทีล่ ากมาตกตั้งฉากกับผิวทีค่ ลื่นมาตกกระทบ
4. มุมตกกระทบ คือมุมระหว่ างรังสี ตกกระทบกับเส้ นปกติ
5. มุมสะท้ อน คือมุมระหว่ างรังสี สะท้ อนกับเส้ นปกติ
การสะท้อนของคลื่นใดๆ จะเป็ นไปภายใต้ กฎการสะท้อน 2 ข้ อคือ
1. มุมตกกระทบจะมีขนาดเท่ ากับมุมสะท้ อน
2. รังสี ตกกระทบ รังสี สะท้ อน และเส้ นปกติ ต้ องอยู่ในระนาบเดียวกัน
การสะท้อนของคลื่นในเส้ นเชื อก
หากเรานาเชือกเส้นหนึ่งมามัดติดเสา ปลายอีกข้างหนึ่งใช้มือดึงให้ตึงพอสมควร จากนั้น
สะบัดให้เกิดคลื่นในเส้นเชื อก คลื่นนี้ จะเคลื่อนที่จากจุดที่ใช้มือสะบัดพุง่ เข้าหาต้นเสา และเมื่อ
คลื่นกระทบเสาแล้วจะสามารถสะท้อนย้อนกลับออกมาได้ดว้ ย คลื่นเข้ า
สาหรับการสะท้อนของคลื่นในเส้นเชือกนี้
จะเป็ นไปได้ 2 กรณี ได้แก่
1) ถ้าปลายเชือกมัดไว้แน่น คลื่นที่ออก
มาจะมีลกั ษณะตรงกันข้ามกับคลื่นที่เข้าไป นัน่
คลื่นออก
คือคลื่นที่สะท้อนออกมาจะมีเฟสเปลี่ยนไป 180o
คลื่นเข้ า

2) ถ้าปลายเชือกมัดไว้หลวมๆ ( จุดสะ
ท้อนไม่คงที่ ) คลื่นที่สะท้อนออกมาจะมีลกั ษณะ
เหมือนคลื่นที่เข้าไป นัน่ คือคลื่นที่สะท้อนออก
คลื่นออก
10
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
มาจะมีเฟสเท่าเดิมหรื อมีเฟสเปลี่ยนไป 0o
7(แนว Pat2) นาเชื อกสองเส้นที่มีขนาดต่างกันมาต่อกัน โดยเส้นเล็กมีน้ าหนักเบากว่าเส้นใหญ่
ทาให้เกิดคลื่นดลในเชือกเส้นเล็กดังรู ป

เมื่ อคลื่ นเคลื่ อนที่ ไปถึ งรอยต่ อของเชื อกท าให้เกิ ดการสะท้อน และการส่ งผ่านของคลื่ น
ลักษณะของคลื่นสะท้อนและคลื่นส่ งผ่านในเส้นเชือกควรเป็ นอย่างไร

1. 2.

3. 4.

9.4.2 การหักเห
เมื่อคลื่นผ่านจากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่ ง ซึ่ งมีความหนาแน่นไม่เท่ากัน จะทา
ให้อตั ราเร็ ว ( v ) แอมพลิจูด (A) และความยาวคลื่น () เปลี่ยนไป แต่ความถี่ ( f ) จะคงเดิม
ในกรณี ที่คลื่ นตกกระทบพุ่งเข้าตกตั้งฉากกับแนวรอยต่อตัวกลาง คลื่ นที่ ทะลุ ลงไปใน
ตัวกลางที่ 2 จะมีแนวตั้งฉากกับแนวรอยต่อตัวกลางเช่นเดิม แต่หากคลื่นตกกระทบตกเอียงทา
มุมกับแนวรอยต่อตัวกลาง คลื่ นที่ทะลุ ลงไปในตัวกลางที่ 2 จะไม่ทะลุ ลงไปในแนวเส้นตรง
เดิม แต่จะมีการเบี่ยงเบนไปจากแนวเดิมดังรู ป ปรากฏการณ์น้ี เรี ยกว่าเกิดการหักเหของคลื่น
กรณี คลื่นตกตั้งฉากรอยต่อ เส้นปกติ กรณี คลื่นตกไม่ต้งั ฉากกับรอย
รังสี ตกกระทบ
ตัวกลาง คลื่นจะไม่เปลี่ยน ต่อตัวกลาง คลื่นจะเบี่ยงเบน
ทิศทางการเคลื่อนที่ ตัวกลางที่ 1 มุมตก แนวการเคลื่อนที่
V 1 , 1 , A 1 V 1 ,  1 , A 1 1
รอยต่อตัวกลาง
V2 , 2 , A2 ตัวกลางที่ 2 V ,  , A 
2 2 2 มุมหักเห2
รังสี หกั เห
v,  , A เปลี่ยน แต่ f คงที่

11
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล

คาศัพท์เกี่ยวกับการหักเหของคลื่น
1. รังสี ตกกระทบ คือรังสี คลื่นที่พุง่ เข้าไปตกกระทบ
2. รังสี หกั เห คือรังสี คลื่นที่ทะลุเข้าไปในตัวกลางที่ 2
3. เส้นปกติ คือเส้นตรงที่ลากมาตกตั้งฉากกับรอยต่อตัวกลาง
4. มุมตกกระทบ คือมุมระหว่างรังสี ตกกระทบกับเส้นปกติ
5. มุมหักเห คือมุมระหว่างรังสี หกั เหกับเส้นปกติ
กฏของสเนลล์
sin θ 1 v
= 1 = 1 = n ( เมื่อ   90o )
sin θ 2 v  21
2 2
เมื่อ 1 และ 2 คือมุมระหว่างรังสี คลื่นกับเส้นปกติในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามลาดับ
v1 และ v2 คือความเร็ วคลื่นในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามลาดับ
1 และ 2 คือความยาวคลื่นในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามลาดับ
n21 คือค่าดัชนี หกั เหของตัวกลางที่ 2 เทียบกับตัวกลางที่ 1
เกี่ยวกับการหักเหผ่านน้ าตื้น น้ าลึก
น้ าตื้น
เมื่อคลื่นเคลื่อนที่ระหว่างน้ าตื้นกับน้ าลึก
ตอนคลื่นอยูใ่ นน้ าลึก คลื่นจะมีความยาวคลื่น รอยต่อระหว่างตัวกลาง
(ผิวหักเห)
แอมพลิจูด ความเร็ วคลื่น มากกว่าในน้ าตื้น
เสมอ แต่ความถี่จะมีค่าเท่าเดิม น้ าลึก

8. คลื่ น เคลื่ อ นที่ จ ากตัว กลาง x ไปยัง ตัว กลาง y ถ้า ความเร็ ว คลื่ น ในตัว กลาง x เป็ น 8
เมตร/วิ น าที และความยาวคลื่ น มี ข นาดเท่ า กับ 4 เมตร เมื่ อ ผ่ า นเข้า ไปในตัว กลาง y
ความเร็ วคลื่นเปลี่ยนเป็ น 10 เมตร/วินาที ความยาวคลื่นในตัวกลาง y จะมีค ่าเป็ นกี่เมตร
1. 3 2. 5 3. 6 4. 8

12
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
9. คลื่นผิวน้ าเคลื่อนที่จากน้ าตื้นเข้าสู่ บริ เวณน้ าลึก พบว่าอัตราเร็ วของคลื่นเพิ่มเป็ น 2 เท่า
ของเดิม ถ้ามุมตกกระทบมีขนาด 30o จงหามุมหักเหที่เกิดขึ้น
1. 30o 2. 45o 3. 60o 4. 90o

10. เมื่อคลื่นแนวตรงเคลื่อนที่จากบริ เวณ A


ไปสู่ บริ เวณ B ในถาดคลื่นทาให้เกิดการ 4 6 8 10 12 cm
หักเหของคลื่นปรากฏดังรู ป ซึ่งมีไม้
สเกลเซนติเมตรวางเทียบอยู่ ถ้าคลื่นนี้ A 45o
เขตระหว่าง
เกิดจากแหล่งกาเนิ ดซึ่ งมีความถี่ 9 30o ตัวกลาง
เฮิรตซ์ จงหาดัชนีหกั เหของ B เทียบ
B
กับ A
1. 2 2. 2 2 3. 2 4. 12

13
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
9.4.3 การแทรกสอดคลื่น

คลื่น  คลื่น 

คลื่นรวม

คลื่น  คลื่น 
แนวปฏิบพั แนวปฏิบพั แนวปฏิบพั
A3 A2 บัพN A1 บัNพ A0 บัพ A1 บัพ A2 A3
N3 2 1 N1 N2 คลื่นรวม

คลื่น 
คลื่น 
คลื่นรวม
*S1 *S2
ถ้าเราให้แหล่งกาเนิ ดคลื่นอาพันธ์ (แหล่งกาเนิ ดคลื่ น 2 แหล่ง ที่ให้คลื่ นที่มีความถี่ และ
เฟสตรงกันตลอด ) วางอยูห่ ่ างกันในระยะที่พอเหมาะ แล้วสร้างคลื่นพร้อมๆ กัน จะพบว่าคลื่น
ที่เกิ ดขึ้ นทั้งสองจะเกิ ดการแทรกสอดกัน โดยจะมี แนวบางแนวที่ ค ลื่ นทั้งสองจะมาเสริ มกัน
โดยคลื่ นทั้งสองอาจนาสันคลื่ นมารวมกัน จะทาให้คลื่ นรวมมี แอมปลิ จูดสู งขึ้ นกว่าเดิ ม หรื อ
คลื่ นทั้งสองอาจนาท้องคลื่ นมารวมกัน จะทาให้คลื่ นรวมมี แอมปลิ จูดลึ กลงกว่าเดิ ม ลักษณะ
เช่นนี้ จะทาให้ตลอดแนวดังกล่าวคลื่นน้ าจะกระเพื่อมขึ้นลงอย่างแรง แนวที่คลื่ นมีการเสริ มกัน
เช่นนี้ เรี ยก แนวปฎิบัพ (Antinode , A) ซึ่ งจะมีอยูห่ ลายแนวกระจายออกไปทั้งทางด้านซ้ายและ
ด้านขวาอย่างสมมาตรกัน แนวปฏิบพั ที่อยูต่ รงกลางเราจะเรี ยกเป็ นปฏิบพั ที่ 0 ( A0) ถัดออกไป
จะเรี ยกแนวปฏิบพั ที่ 1 ( A1) , 2 ( A2) , 3 ( A3) , .... ไปเรื่ อยๆ ทั้งด้านซ้ายและด้านขวาดังรู ป
นอกจากนี้ แล้วยังจะมีแนวบางแนวที่คลื่นทั้งสองจะมาหักล้างกัน โดยคลื่นหนึ่ งจะนาสัน
คลื่นมารวมกับท้องคลื่นของอีกคลื่นหนึ่ ง คลื่นรวมของคลื่นทั้งสองจะมีลกั ษณะราบเรี ยบ (ผิวน้ า
จะค่อนข้างนิ่ ง ) แนวหักล้างนี้ จะเรี ยกแนวบัพ (Node , N) แนวบัพจะแทรกอยู่ระหว่างกลาง
แนวปฏิบพั เสมอ แนวบัพแรกที่อยูถ่ ดั จากแนวปฏิบพั กลาง ( A0 ) จะเรี ยกแนวบัพที่ 1 ( N1) ถัด
ออกไปจะเรี ยกแนวบัพที่ 2 ( N2) , 3 (N3) , ….. ไปเรื่ อยๆ ทั้งทางด้านซ้ายและด้านขวาดังรู ป
14
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
สู ตรทีใ่ ช้ คานวณเกี่ยวกับการแทรกสอดคลื่น n=0 n=1 n=2
A1 A0 A1
สาหรับแนวปฎิบัพลาดับที่ n (An) A2 A2
A3
P
S1P – S2P = n 
d sin  = n 
เมื่อ P คือจุดซึ่ งอยูบ่ นแนวปฎิบพั ลาดับที่ n ( An )
x x
S1 คือจุดเกิดคลื่นลูกที่ 1 S1 S2
S2 คือจุดเกิดคลื่นลูกที่ 2
S1P คือระยะจาก S1 ถึง P
S2P คือระยะจาก S2 ถึง P
n=3 n=2 n=1
 คือความยาวคลื่น A0
A2 A1
A3
n คือลาดับที่ของปฎิบพั นั้น 
d คือระยะห่างจาก S1 ถึง S2 
 คือมุมที่วดั จาก A0 ถึง An 
สาหรับแนวบัพลาดับที่ n (Nn) x x
S1 S2
S1P – S2P= n – 12   d
d sin = n – 12  
เมื่อ P คือจุดซึ่ งอยูบ่ นแนวบัพลาดับที่ n ( Nn )
S1P คือระยะจาก S1 ถึง P S2P คือระยะจาก S2 ถึง P
 คือความยาวคลื่น (m) n คือลาดับที่ของบัพนั้น
d คือระยะห่างจาก S1 ถึง S2  คือมุมที่วดั จาก A0 ถึง Nn

15
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
11. คลื่นชนิดหนึ่ง เมื่อเกิดการแทรกสอดจะเกิดแนวดังรู ป
ก. คลื่นนี้มีความยาวคลื่นเท่าใด
ข. ถ้าคลื่นนี้มีความถี่ 150 เฮิรตซ์ จะมีความเร็ วเท่าใด A0 A1
1. ก. 2 เมตร ข. 300 เมตร/วินาที A2
2. ก. 2 เมตร ข. 220 เมตร/วินาที
3. ก. 4 เมตร ข. 250 เมตร/วินาที 5 เมตร 1 เมตร
4. ก. 4 เมตร ข. 200 เมตร/วินาที S1 S2

12. คลื่นชนิดหนึ่งเมื่อเกิดการแทรกสอดแนวปฏิบพั ที่ 2 เอียงทามุมจากแนวกลาง 30o หาก


แหล่งกาเนิดคลื่นทั้งสองอยูห่ ่ างกัน 10 เมตร
ก. ความยาวคลื่นนี้ มีค่าเท่าใด
ข. หากคลื่นนี้มีความเร็ ว 100 เมตร/วินาที จะมีความถี่เท่าใด
1. ก. 2.5 เมตร ข. 45 เฮิรตซ์ 2. ก. 4.2 เมตร ข. 45 เฮิรตซ์
3. ก. 4.2 เมตร ข. 40 เฮิรตซ์ 4. ก. 2.5 เมตร ข. 40 เฮิรตซ์

16
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
13(แนว En) จากรู ปเป็ นภาพการแทรกสอดของคลื่น ปฏิบพั
ผิวน้ าจากแหล่งกาเนิดอาพันธ์ S1 และ S2 โดย บัพ
มี P เป็ นจุดใดๆ บนแนวเส้นบัพ S1P = 19 P
เซนติเมตร S2P = 10 เซนติเมตร ถ้าอัตราเร็ วของ
คลื่นทั้งสองเท่ากับ 60 เซนติเมตรต่อวินาที แหล่ง
กาเนิดคลื่นทั้งสองมีความถี่กี่เฮิรตซ์ S1 S2
1. 7.5 Hz 2. 10.0 Hz 3. 12.5 Hz 4. 15.0 Hz

9.4.4 การเลีย้ วเบนของคลื่น


ถ้าเรานาแผ่นที่มีช่องแคบๆ ไปกั้นหน้าคลื่นไว้ จะพบว่า
เมื่อคลื่นเข้าไปตกกระทบแผ่นกั้นแล้ว คลื่นส่ วนหนึ่งจะลอด
ช่องนั้นออกไปได้ คลื่นส่ วนที่ลอดออกไปนั้นจะสามารถสร้าง
s
คลื่นลูกใหม่หลังแผ่นกั้นดังรู ป คลื่นลูกใหม่ที่เกิดขึ้นนั้นจะ
สามารถกระจายเลี้ยวอ้อมไปทางด้านซ้ายและขวาของช่องแคบ
ได้ ปรากฏการณ์น้ ี จึงเรี ยกเป็ น การเลี้ยวเบนได้ของคลื่น
การเลี้ยวเบนได้ของคลื่น จะเป็ นไปตามหลักของฮอยเกนส์ ซึ่งกล่าวว่า “ ทุก ๆ จุดบน
หน้าคลื่น สามารถประพฤติตวั เป็ นแหล่งกาเนิดคลื่นใหม่ได้ ”
14. หลักของฮอยเกนส์ใช้อธิบายปรากฏการณ์ใด
1. การเลี้ยวเบน 2. การแทรกสอด 3. การเปลี่ยนเฟส 4. การหักเห

17
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
9.5 คลื่นนิ่ง
ถ้านาเชื อกเส้นหนึ่งมัดติดเสาให้แน่น แล้วดึงปลายอีกข้างหนึ่งให้ตึงพอสมควร จากนั้นทา
การสะบัดให้เกิดคลื่นต่อเนื่องพุ่งไปกระทบเสา คลื่นที่เข้ากระทบเสาจะสามารถจะสะท้อนกลับ
ออกมาจากเสาได้ จากนั้นคลื่นที่เข้าและคลื่นที่สะท้อนออกมานี้ จะเกิดการแทรกสอดกัน ทาให้
เชื อกที่บางจุดมีการสั่นขึ้นลงอย่างแรงกว่าปกติ เรี ยกจุดที่สั่นสะเทือนแรงนี้ วา่ แนวปฎิบัพ (A)
และจะมีบางจุดไม่สั่นขึ้นหรื อลงเลย เราเรี ยกจุดที่ไม่มีการสั่นสะเทือนนี้วา่ แนวบัพ (N)
และเนื่ อ งจากจุ ด ที่ สั่ น และไม่ สั่ น ดั ง กล่ า ว จะสั่ น หรื อไม่ สั่ น อยู่ ที่ เดิ ม ตลอดเวลา
ปรากฏการณ์น้ ีจึงเรี ยกเป็ นการเกิด คลื่นนิ่ง เคลื่อนเข้า λ
2
ควรทราบ A A A
1) คลื่นนิ่งจะเกิดได้ก็ต่อเมื่อมีคลื่น 2 คลื่น N N

ซึ่งมีความถี่ ความยาวคลื่น แอมพลิจูด เท่ากัน แต่


เคลื่อนที่สวนทางกันเข้ามาแทรกสอดกันเท่านั้น เคลื่อนออก λ
4
2) แนวปฏิบพั (A) 2 แนวที่อยูถ่ ดั กัน จะห่างกัน = 2
แนวบัพ ( N ) 2 แนวที่อยูถ่ ดั กัน จะห่างกัน = 2
แนวปฏิบพั (A) และแนวบัพ ( N ) ที่อยูถ่ ดั กัน จะห่างกัน = 4
3) จานวนแนวปฏิบพั (A ) หรื อจานวน Loop ของคลื่นนิ่งที่เกิดขึ้น จะหาได้จาก
n = 2L

เมื่อ L คือความยาวของเชือกทั้งหมด (เมตร)
 คือความยาวคลื่น (เมตร)
n คือจานวนแนวปฏิบพั หรื อจานวน Loop ของคลื่นนิ่งที่เกิด
4) ความถี่ของคลื่น จะหาได้จาก
f = nv
2L
เมื่อ f คือความถี่คลื่นนิ่ง ( เฮิรตซ์ ) v คือความเร็ วคลื่นนิ่ง (เมตร/วินาที)
L คือความยาวของเชือก (เมตร)  คือความยาวคลื่น (เมตร)
n คือจานวนแนวปฏิบพั หรื อจานวน Loop ของคลื่นนิ่งที่เกิด

18
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
15. ในการทดลองคลื่นนิ่ งบนเส้นเชือก ถ้าความถี่ของคลื่นนิ่งเป็ น 512 เฮิรตซ์ และอัตราเร็ ว
ของคลื่นในเส้นเชือกเท่ากับ 256 เมตรต่อวินาที ตาแหน่งบัพสองตาแหน่งที่อยูถ่ ดั กันจะห่าง
กันเท่าใด
1. 0.4 2. 2.5 3. 0.25 4. 4.05

16. ระยะห่ างระหว่างจุดปฎิ บพั กับจุดปฏิ บพั ที่ อยูถ่ ดั ไปของคลื่ นนิ่ งเป็ น 12.5 เซนติเมตร ตัว
คลื่นมีความเร็ ว 75 เซนติเมตร/วินาที จงหาความถี่ของคลื่นนิ่งมีค่ากี่เฮิรตซ์
1. 1.5 2. 3.0 3. 4.5 4. 6.0

17. คลื่นนิ่งในเส้นเชื อกยาว 0.8 เมตร มีจานวน 4 Loop อัตราเร็ วคลื่น 20 เมตร/วินาที จง
หาความถี่คลื่น
1. 10 Hz 2. 25 Hz 3. 50 Hz 4. 100 Hz

18. เมื่อสั่นเชื อกเส้นหนึ่งซึ่ งยาว 1.6 เมตร ถูกขึงตรึ งด้วยความถี่ 50 เฮิรตซ์ ปรากฏว่าเกิด
คลื่นนิ่งมีลกั ษณะเป็ น Loop 5 Loop พอดี จงหาอัตราเร็ วของคลื่นในเชื อกเส้นนี้
1. 32 m/s 2. 50 m/s 3. 64 m/s 4. 100 m/s

19
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล

เฉลยบทที่ 9 คลื่ น กล
1. ตอบข้ อ 1. 2. ตอบข้ อ 2. 3. ตอบ 60 4. ตอบข้ อ 1.
5. ตอบข้ อ 1. 6. ตอบข้ อ 1. 7. ตอบข้ อ 3. 8. ตอบข้ อ 2.
9. ตอบข้ อ 4. 10. ตอบข้ อ 1. 11. ตอบข้ อ 1. 12. ตอบข้ อ 4.
13. ตอบข้ อ 2. 14. ตอบข้ อ 1. 15. ตอบข้ อ 3. 16. ตอบข้ อ 2.
17. ตอบข้ อ 3. 18. ตอบข้ อ 1.


20
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
ตะลุ ย ข้ อ สอบเข้ า มหาวิ ท ยาลัย
บทที่ 9 คลื่ น กล ชุ ด ที่ 1
9.1 การถ่ ายโอนพลังงานของคลื่นกล
9.2 คลื่นผิวนา้
1(แนว Pat2) นักเรี ยนคนหนึ่ งสังเกตคลื่นเคลื่อนที่ โดยมีคำบเท่ำกับ 2 วินำที ถ้ำคลื่นหนึ่ งลูก
เคลื่อนที่ระหว่ำงเสำสองต้นซึ่ งห่ำงกัน 45 เมตร ในเวลำ 25 วินำที ควำมยำวคลื่นของคลื่น
นี้มีขนำดเท่ำกับกี่เมตร
1. 3.6 2. 4.8 3. 7.2 4. 9.6 5. 10.4
2(En44 มี.ค.) ในการทดลองเรื่ องการเคลื่อนที่ของคลื่นโดยใช้ถาดน้ ากับตัวกาเนิดคลื่น ซึ่ งเป็ น
มอเตอร์ที่หมุน 4 รอบต่อวินาที ถ้าคลื่นบนผิวน้ า เคลื่อนที่ดว้ ยอัตราเร็ ว 12 เซนติเมตร/-
วินาที จงหาความยาวคลื่นบนผิวน้ าที่เกิดขึ้น
1. 1.5 cm 2. 3.0 cm 3. 4.5 cm 4. 6.0 cm
3(แนว A–Net) ถ้าความเร็ วของคลื่นน้ าเท่ากับ 12 เมตรต่อวินาที ขณะที่สันคลื่นที่หนึ่งและที่สี่
ห่าง 9 เมตร คลื่นนี้ มีความถี่เท่าใด
1. 1 Hz 2. 2 Hz 3. 3 Hz 4. 4 Hz
4(En45 มี.ค.) คลื่นน้ าเคลื่อนที่ผา่ นจุดๆ หนึ่งไป 30 ลูกคลื่น ในเวลา 1 นาที ถ้าคลื่นนี้ เคลื่อน
ที่ดว้ ยอัตราความเร็ ว 2 เมตรต่อวินาที จงหาระยะระหว่างสันคลื่นและท้องคลื่นที่อยูต่ ิดกัน
1. 1 m 2. 2 m 3. 3 m 4. 4 m
5(แนว 9 สามัญ) พิจารณาภาพของคลื่นที่กาลังเคลื่อนที่ขบวนหนึ่ ง เราทาการจับภาพคลื่ นขบวน
นั้นที่เวลา 2 ค่า และได้ภาพของคลื่นออกมาดังรู ป จงหาความเร็ วของคลื่นนี้ กาหนดให้
ทิศการเคลื่อนที่ไปทางขวาเป็ นบวก
t = 0.25 s

1.00 m
t = 0.15 s
21
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
1. +6.67 ms–1 2. –6.67 ms–1 3. +4.00 ms–1
4. –4.00 ms–1 5. +10.00 ms–1
6(แนว A–Net) คลื่นบนเส้นเชือกเคลื่อนที่ไปทางขวามือ ขณะหนึ่งจุด A ซึ่งเป็ นจุดสี แต้มบน
เส้นเชือกอยูต่ รงสันคลื่นพอดี จะต้องใช้เวลาเท่าไรจุด A จึงจะเคลื่อนลงมาอยูท่ ี่ตาแหน่งปกติ
(ระดับเส้นประ)  = 0.8 m A
1. 20 ms
2. 40 ms เส้นเชือก
3. 60 ms
4. 80 ms  = 5 m/s
7(แนว Pat2) คลื่นในเชื อกเส้นหนึ่งซึ่ งขึงให้ตึงที่ปลายทั้งสองข้าง กาลังสั่นในแนวดิ่ง ณ
เวลา t = 0 วินาที รู ปร่ างของเชือกเป็ นดังรู ป ( ก )
เมื่อเวลาผ่านไป 0.5 วินาที รู ปร่ างของเชื อกเป็ น (ก)
ดังรู ป (ข) และถ้าเวลาผ่านไป 1.0 วินาที รู ปร่ าง
ของเชื อกจะกลับมาเป็ นรู ป (ก) อีกครั้ง ถ้าระยะ
ห่างระหว่างจุดตรึ งของเชือกเท่ากับ 9 เมตร อัตรา (ข)
เร็ วของคลื่นในเส้นเชือกเป็ นกี่เมตร/วินาที
1. 3 2. 4 3. 5 4. 6
9.3 การซ้ อนทับของคลื่น
9.4 สมบัติของคลื่น
9.4.1 การสะท้อน
8(แนว Pat2) นาเชื อกสองเส้นที่มีขนาดต่างกันมาต่อกัน โดยเส้นเล็กมีน้ าหนักเบากว่าเส้นใหญ่
ทาให้เกิดคลื่นดลในเชือกเส้นเล็กดังรู ป

เมื่ อคลื่ นเคลื่ อนที่ ไปถึ งรอยต่ อของเชื อกท าให้เกิ ดการสะท้อน และการส่ งผ่านของคลื่ น
ลักษณะของคลื่นสะท้อนและคลื่นส่ งผ่านในเส้นเชือกควรเป็ นอย่างไร
22
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล

1. 2.

3. 4.

9(มช 54) คลื่นดลลูกหนึ่งกำลังเคลื่อนที่บนเชื อกเส้น


ที่มีมวลต่อหน่วยควำมยำวมำกไปสู่ เชือก เส้นที่มี
มวลต่อหน่วยควำมยำวน้อยดังรู ป โดยเมื่อคลื่น
เคลื่อนที่มำถึงตรงบริ เวณรอยต่อจะมี กำรสะท้อน
และกำรส่ งผ่ำนของคลื่นหลังจำกนั้นลักษณะของคลื่นในเส้นเชือกจะเป็ นไปตำมรู ปในข้อใด
1. 2.

3. 4.

10(แนว Pat2) คลื่นในเส้นเชือกกำลังเคลื่อนที่จำก


ซ้ำยมือไปขวำมือซึ่งเป็ นปลำยตรึ ง อัตรำเร็ ว คลื่น
จุดตรึ ง
คือ 1 ช่องต่อวินำที หลังจำกผ่ำนไป 4 วินำที
คลื่นจะเป็ นเช่นใด
1. 2.

3. 4.

23
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
9.4.2 การหักเห
11(แนว En) คลื่นน้ าเคลื่อนที่ผา่ นจากเขตน้ าลึกไปยังเขตน้ าตื้น แล้วทาให้ความยาวคลื่นลดลง
ครึ่ งหนึ่ ง ถ้าอัตราเร็ วคลื่นในน้ าลึกมีค่าเท่ากับ 8 เมตร/วินาที จงหาอัตราเร็ วคลื่นในน้ าตื้น
ในหน่วยเมตร/วินาที
1. 0.5 2. 1.0 3. 2.0 4. 4.0
12(En42 มี.ค.) คลื่นน้ าเคลื่อนที่จากน้ าตื้นไปยังน้ าลึก
ถ้ามุมตกกระทบและมุมหักเหเท่ากับ 30 และ 45 น้ ำตื้น
30o=น้ ำตื้น
องศา ตามลาดับ และความยาวคลื่นในน้ าตื้นเท่า ผิวรอยต่อ
กับ 2 เซนติเมตร จงหาความยาวคลื่นในน้ าลึก น้ ำลึก= 45o
น้ ำลึก
ในหน่วยเซนติเมตร
1. 2.83 2. 0.75 3. 1.82 4. 5.26
13(En 40) คลื่นน้ าแบบต่อเนื่องที่มีหน้าคลื่นตรง เคลื่อนที่ผา่ นรอยต่อระหว่างบริ เวณน้ าลึกและ
น้ าตื้นแล้วทาให้เกิดคลื่นหักเหหน้าคลื่นตรง ถ้าแนวทางเดินของคลื่นตกกระทบทามุมกับรอย
ต่อระหว่างตัวกลางเท่ากับ 30 องศา จงหามุมหักเหถ้าความยาวคลื่นในน้ าตื้นลดลงเป็ น 13
ของความยาวคลื่นในน้ าลึก
1. 15 องศา 2. 30 องศา 3. 45 องศา 4. 60 องศา
14(En43 ต.ค.) ในการทดลองเรื่ องการหักเหของคลื่นผิวน้ า เมื่อคลื่ นผิวน้ าเคลื่อนที่จากบริ เวณ
น้ าลึกไปน้ าตื้น ความยาวคลื่น  ความเร็ ว v และ ความถี่ f ของคลื่นจะเปลี่ยนอย่างไร
1.  น้อยลง v น้อยลง แต่ f คงที่ 2.  มากขึ้น v มากขึ้น แต่ f คงที่
3.  น้อยลง f มากขึ้น แต่ v คงที่ 4.  มากขึ้น f น้อยลง แต่ v คงที่
9.4.3 การแทรกสอดคลื่น
15(En42 ต.ค) จากรู ปเป็ นภาพการแทรกสอด A0 N1
ของคลื่นผิวน้ าที่เกิดจากแหล่งกาเนิดอาพันธ์ A1
P N2
S1 และ S2 โดยมี P เป็ นจุดใดๆ บนแนวเส้น 15 cm
5 cm
บัพ S1P = 15 เซนติเมตร S2P = 5 เซนติ-
เมตร ถ้าอัตราเร็ วของคลื่นทั้งสองเท่ากับ S1 S2
50 เซนติเมตรต่อวินาที แหล่งกาเนิดคลื่นทั้งสองมีความถี่กี่เฮิรตซ์
24
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
16(En 37) แหล่งกาเนิ ดคลื่นน้ าอาพันธ์ให้หน้าคลื่น วงกลมสองแหล่งอยูห่ ่ างกัน 10 เซนติเมตร
มีความยาวคลื่น 2 เซนติเมตร ที่ตาแหน่งหนึ่ งห่างจากแหล่งกาเนิ ดคลื่นทั้งสองเป็ นระยะ 10
เซนติเมตร และ 19 เซนติเมตร ตามลาดับ 10 cm P
จะอยูบ่ นแนวบัพหรื อปฏิบพั ที่เท่าใด นับ S1
จากแนวกลาง 10 cm 19 cm
1. ปฎิบพั ที่ 4 2. บัพที่ 4
S2
3. ปฎิบพั ที่ 5 4. บัพที่ 5
17(แนว มช) ถ้า S1 และ S2 เป็ นแหล่งกาเนิ ดคลื่ นความถี่ เท่ากัน และเฟสตรงกันอยู่ห่าง 8.0
เซนติเมตร ถ้าความยาวคลื่นเท่ากับ 4.0 เซนติเมตร จะเกิดจุดบัพกี่จุดบนเส้นตรง S1S2
1. 0.1 2. 2 3. 3 4. 4
9.4.4 การเลีย้ วเบนของคลื่น

9.5 คลื่นนิ่ง
18(มช 36) คลื่นนิ่ งเป็ นคลื่นที่เกิดจากการแทรกสอดกันของคลื่นสองขบวนที่เหมือนกันทุกประ
การแต่เคลื่อนที่สวนทางกัน ถ้าคลื่ นนิ่ งที่เกิดขึ้น มีตาแหน่งบัพและปฎิบพั อยูห่ ่ างกัน 3.5
เมตร คลื่นที่มาแทรกสอดกันนี้จะต้องมีความยาวคลื่นกี่เมตร
1. 13 2. 14 3. 15 4. 16
19(En 43 มี.ค) จากรู ปเป็ นคลื่นนิ่งในเส้นเชื อกที่มีปลาย 90 cm
ทั้งสองยึดแน่นไว้ ถ้าเส้นเชื อกยาว 90 เซนติเมตร
และความเร็ วคลื่นในเส้นเชื อกขณะนั้นเท่ากับ
2.4 x 102 เมตรต่อวินาที จงหาความถี่คลื่น
1. 200 Hz 2. 267 Hz 3. 400 Hz 4. 800 Hz
20(En48 มี.ค.) เชือกขึงตึงยาว 1.2 เมตร สั่นด้วยความถี่ 100 เฮิรตซ์ เกิดปฏิบพั 3 ตาแหน่ง
ความเร็ วของคลื่นในเส้นเชื อกเป็ นเท่าใดในหน่วยเมตรต่อวินาที

25
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
21(แนว A–Net) 2.8 m

เมื่อใช้เครื่ องเคาะสัญญาณเวลาซึ่งเคาะ 50 รอบต่อวินาที มากระตุน้ เส้นเชือกทาให้เกิดคลื่น


นิ่งมีปฏิบพั 4 ลูก ในความยาว 2.80 เมตร ความเร็ วของคลื่นในเส้นเชือกเป็ นกี่เมตรต่อวินาที
22(En46 มี.ค.) เชื อกยาว 1 เมตร ปลายข้างหนึ่งถู กตรึ งปลายอีกข้างหนึ่ งติดกับเครื่ องที่สั่น
ในแนวตั้งฉากกับเส้นเชื อกและสั่นด้วยความถี่ 80 เฮิรตซ์ ถ้าเกิดคลื่นนิ่ งมีปฏิบพั 4 แห่ ง
อัตราเร็ วของคลื่นในเชือกเป็ นเท่าใด
1. 20 m/s 2. 27 m/s 3. 40 m/s 4. 53 m/s
23(En42 ต.ค.) เส้นด้ายปลายด้านหนึ่งผูกติดกับปลาย
ของส้อมเสี ยงที่สั่นด้วยความถี่ 250 เฮิรตซ์ ส่ วน
ปลายอีกด้านหนึ่งผ่านรอกลื่นและมีมวลถ่วงให้เส้น
ด้ายตึง เมื่อส้อมเสี ยงสั่นปรากฏว่าเกิดคลื่นนิ่ง ดัง
m
รู ป แสดงว่าความเร็ วคลื่นในเส้นด้ายมีค่าเท่าใด
1. 50 m/s 2. 100 m/s 0.6 m

3. 150 m/s 4. 200 m/s



26
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
เฉลยตะลุ ย ข้ อ สอบเข้ า มหาวิ ท ยาลัย
บทที่ 9 คลื่ น กล ชุ ด ที่ 1
1. ตอบข้ อ 1. 2. ตอบข้ อ 2. 3. ตอบข้ อ 4. 4. ตอบข้ อ 2.
5. ตอบข้ อ 5. 6. ตอบข้ อ 2. 7. ตอบข้ อ 4. 8. ตอบข้ อ 3.
9. ตอบข้ อ 4. 10. ตอบข้ อ 2. 11. ตอบข้ อ 4. 12. ตอบข้ อ 1.
13. ตอบข้ อ 2. 14. ตอบข้ อ 1. 15. ตอบ 7.50 16. ตอบข้ อ 4.
17. ตอบข้ อ 4. 18. ตอบข้ อ 2. 19. ตอบข้ อ 3. 20. ตอบ 80
21. ตอบ 70 22. ตอบข้ อ 3. 23. ตอบข้ อ 2.


27
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
บทที่ 10 เสี ย ง
10.1 ธรรมชาติและสมบัติของเสี ยง
เสี ยงเกิดจากการสั่นสะเทือนของวัตถุซ่ ึ งส่ งผลให้โมเลกุลของตัวกลางเกิดการอัดตัวและ
ขยายตัวแล้วเกิดการถ่ายทอดพลังงานไปโดยที่อนุภาคตัวกลางสั่นไปมาอยูท่ ี่เดิม
พลังงาน

ส่วนอัด ส่วนขยาย ส่วนอัด ส่วนขยาย

เมื่อพิจารณาการเคลื่อนที่ของเสี ยงแล้ว จะพบว่าเสี ยงมีลกั ษณะเป็ นคลื่นตามยาว และ


เนื่องจากการเดินทางของเสี ยงนั้นต้องอาศัยตัวกลางเสมอ ดังนั้นเสี ยงจึงเป็ นคลื่นกล ด้วย

10.2 อัตราเร็วของเสี ยง
อัตราเร็ วเสี ยงสามารถหาค่าได้จาก
v = st หรื อ v = f
เมื่อ v คืออัตราเร็ วเสี ยง ( เมตร/วินาที )
s คือระยะทางที่เสี ยงเคลื่อนที่ได้ ( เมตร )
t คือเวลา ( วินาที )
f คือความถี่เสี ยง ( เฮิรตซ์ )
 คือความยาวคลื่น ( เมตร )
ปัจจัยทีม่ ีผลต่ ออัตราเร็วเสี ยง
1. ความหนาแน่ นของตัวกลาง
อัตราเร็ วเสี ยงในตัวกลางที่ มีความหนาแน่ นมากกว่า จะมี ค่ามากกว่าในตัวกลางที่ มี
ความหนาแน่นน้อยกว่า

364
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
ตารางแสดงอัตราเร็วของเสี ยงในตัวกลางต่ างๆ ทีอ่ ุณหภูมิ 25oC
ตัวกลาง อัตราเร็ว (m/s)
อากาศ 346
น้ า 1,498
น้ าทะเล 1,531
เหล็ก 5,200
2. อุณหภูมิ
อัตราเร็ วเสี ยงจะแปรผัน ตรงกับ รากที่ 2 ของอุ ณ หภู มิ เคลวิน เพราะเมื่ ออุ ณ หภู มิ
สู งขึ้นจะทาให้อนุภาคตัวกลางมีพลังงานจลน์มากขึ้ น การอัดตัวและขยายตัวจะเกิดได้เร็ วขึ้น ทา
ให้เสี ยงเคลื่อนที่ได้เร็ วขึ้น ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเร็ วเสี ยงกับอุณหภูมิเคลวินคือ
v T
ในอากาศปกติเราสามารถหาอัตราเร็ วเสี ยงที่อุณหภูมิต่างๆ ได้จากสมการ
v = 331 + 0.6 t
เมื่อ v คืออัตราเร็ วเสี ยงในอากาศ ( เมตร/วินาที )
t คืออุณหภูมิ ( oC )
1. แหล่งกาเนิดเสี ยงอันหนึ่งสั่นด้วยความถี่ 692 เฮิรตซ์ วางไว้ในอากาศที่อุณหภูมิ 25oC
อยากทราบว่าคลื่นเสี ยงที่ออกจากแหล่งกาเนิดนี้จะมีความยาวคลื่นกี่เมตร
1. 0.5 2. 2.0 3. 2.5 4. 5.0

365
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
10.3 สมบัติของคลื่นเสี ยง
ดังได้กล่ าวไปแล้วว่า เสี ยงเป็ นคลื่ นชนิ ดหนึ่ ง ดังนั้นเสี ยงจึงต้องมี สมบัติของคลื่ น
ครบ 4 ประการ ได้แก่ การสะท้อนได้ การหักเหได้ การแทรกสอดได้ และการเลี้ ยวเบนได้
10.3.1 การสะท้อนได้ ของเสี ยง
เมื่อเสี ยงไปตกกระทบวัตถุที่มีขนาดใหญ่กว่าความ
ยาวคลื่นเสี ยง เสี ยงจะสะท้อนออกจากวัตถุน้ นั ได้
สิ่ งควรทราบเพิม่ เติมเกีย่ วกับการสะท้อนเสี ยง
1) วัตถุที่จะสะท้อนเสี ยงออกมาได้น้ นั ต้องมีขนาด
ใหญ่กว่าความยาวคลื่นเสี ยง หากวัตถุมีขนาดเล็กกว่า
ความยาวคลื่นเสี ยง เมื่อเสี ยงตกกระทบจะเลี้ ยวอ้อมไป
ทางอื่นไม่สะท้อนออกมา
2) หากมีเสี ยงสะท้อนจากหลายแหล่งมาถึงผูฟ้ ังในช่วงเวลาที่ต่างกันมากกว่า 0.1 วินาที
จะทาให้ได้ยนิ เสี ยงสะท้อนหลายเสี ยง เรี ยกว่าเกิดเสี ยงก้อง

2(แนว En) คัดขนาดของผลไม้ในขณะก าลังไหลผ่านมาตามรางน้ าโดยอาศัยการสะท้อนของ


เสี ยงจากเครื่ องโซนาร์ โดยต้องการแยกผลไม้ที่มีขนาดใหญ่กว่าและเล็กกว่า 10 เซนติเมตร
ออกจากกัน จงหาความถี่เหมาะสมของคลื่นจากโซนาร์
( ความเร็ วเสี ยงในน้ า = 1500 เมตร/วินาที )
1. 1.5 กิโลเฮิรตซ์ 2. 2 กิโลเฮิรตซ์
3. 15 กิโลเฮิรตซ์ 4. 20 กิโลเฮิรตซ์

366
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
3. เรื อลำหนึ่ งลอยอยูใ่ นทะเลลึก 300 เมตร ส่ งคลื่ นดลเสี ยง (sonic pulse) ออกไปและได้รับ
สัญญำณสะท้อนกลับจำกก้นทะเลในเวลำ 0.4 วินำที ควำมเร็ วของคลื่ นเสี ยงในน้ ำมี ค่ำกี่
เมตร/วินำที
1. 1000 2. 1200 3. 1500 4. 2000

4. ชายคนหนึ่งตะโกนเสี ยงมีความถี่ 1000 ครั้ง/วินาที ออกไปยังหน้าผาซึ่งอยูห่ ่างออกไป


300 เมตร ปรากฏว่าเขาได้ยินเสี ยงสะท้อนกลับหลังจากตะโกนแล้ว 4 วินาที จงหา
ก) ความเร็ วเสี ยง ข) ความยาวคลื่นเสี ยง
1. ก. 150 เมตร/วินาที , ข. 0.15 เมตร 2. ก. 250 เมตร/วินาที , ข. 0.25 เมตร
3. ก. 450 เมตร/วินาที , ข. 0.45 เมตร 4. ก. 750 เมตร/วินาที , ข. 0.75 เมตร

367
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
10.3.2 การหักเหของเสี ยง
เมื่อคลื่ นเสี ยงเคลื่ อนที่ จากตัวกลางหนึ่ งไปยังอี กตัวกลางหนึ่ ง ซึ่ งมี ความหนาแน่ นไม่
เท่ากัน จะทาให้อตั ราเร็ ว ( v ) แอมพลิจูด (A) และความยาวคลื่น () เปลี่ยนไป แต่ความถี่ ( f )
จะคงเดิม ในกรณี ที่คลื่นเสี ยงตกกระทบเอียงทามุมกับแนวรอยต่อตัวกลาง คลื่นเสี ยงที่ทะลุลง
ไปในตัวกลางที่ 2 จะไม่ทะลุ ลงไปในแนวเส้นตรงเดิ ม แต่จะมี การเบี่ ยงเบนไปจากแนวเดิ ม
เล็กน้อยดังรู ป ปรากฏการณ์เช่นนี้เรี ยกว่าเกิดการหักเหของคลื่นเสี ยง
กรณี คลื่นตกตั้งฉากรอยต่อ เส้นปกติ กรณี คลื่นตกไม่ต้งั ฉากกับรอย
รังสี ตกกระทบ
ตัวกลาง คลื่นจะไม่เปลี่ยน ต่อตัวกลาง คลื่นจะเบี่ยงเบน
ทิศทางการเคลื่อนที่ ตัวกลางที่ 1 มุมตก แนวการเคลื่อนที่
v 1 , 1 , A 1 v 1 , 1 , A 1 1
รอยต่อตัวกลาง
v2 , 2 , A2 ตัวกลางที่ 2 v ,  , A 
2 2 2 มุมหักเห2
รังสี หกั เห
v,  , A เปลี่ยน แต่ f คงที่
จากกฎของสเนลจะได้วา่
sin  1 v1 1 T1
sin  2 = v 2
= 2 = T = n21
2
เมื่อ 1 และ 2 คือมุมในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามลาดับ
v1 และ v2 คือความเร็ วคลื่นในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามลาดับ
1 และ 2 คือความยาวคลื่นในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามลาดับ
T1 และ T2 คืออุณหภูมิ (เคลวิน) ในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามลาดับ
n21 คือดัชนีหกั เหของตัวกลางที่ 2 เทียบกับตัวกลางที่ 1
5. เสี ยงระเบิดใต้น้ า หักเหขึ้นสู่ อากาศโดยมีมุมตกกระทบ 30o จงหามุมหักเหที่ออกสู่ อากาศ
ถ้าอัตราเร็ วเสี ยงในอากาศและในน้ าเป็ น 350 และ 1400 เมตร/วินาที ตามลาดับ
1. sin–1 0.125 2. sin–1 0.131 3. sin–1 0.152 4. sin–1 0.175

368
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
6. เสี ยงเคลื่อนที่จากบริ เวณที่มีอุณหภูมิ 27oC ไปสู่ บริ เวณที่มีอุณหภูมิเท่ากับกี่องศาเซลเซี ยส
จึงทาให้ความยาวคลื่นเป็ น 23 เท่าของความยาวคลื่นเดิม
1. 400 2. 402 3. 408 4. 420

10.3.3 การเลีย้ วเบนของเสี ยง


เมื่อคลื่นเสี ยงลอดผ่านช่องแคบไป คลื่นส่ วนที่ลอดไป
หลังช่องแคบจะสร้างคลื่นลูกใหม่หลังช่องแคบนั้น และคลื่น
ที่เกิดใหม่จะสามารถเลี้ยวกระจายออกไปทั้งด้านซ้ายและขวา
ของแนวคลื่นที่ลอดไปนั้น ปรากฏการณ์น้ ี จึงเรี ยกเป็ นการ
เลี้ยวเบนได้ของคลื่นเสี ยง
การเลี้ยวเบนจะเกิดได้ดี เมื่อช่องแคบมีขนาดเล็กกว่าความยาวคลื่น หรื อความยาวคลื่น
ต้องใหญ่กว่าช่องแคบ นัน่ เอง
10.3.4 การแทรกสอดของเสี ยง
หากเราวางแหล่งกาเนิดเสี ยง 2 แนวปฏิบพั แนวปฏิบพั แนวปฏิบพั
A3 A2 บัพN A1 บัNพ A0 บัพ A1 บัพ A2 A3
แหล่ง ( S1 , S2 ) ห่างกันขนาดหนึ่งแล้ว N3 2 1 N1 N2

ส่ ง คลื่นเสี ยง ที่มีลกั ษณะเหมือนกันทุก


ประการ ( คลื่นอาพันธ์ ) ออกมาพร้อม
กัน คลื่นเสี ยงทั้งสองนั้นจะเข้ามาแทรก
สอดกันโดยจะมีแนวบางแนวคลื่นเสี ยง *S1 *S2
ทั้งสองจะเข้ามาเสริ มกันทาให้มีเสี ยงดังมากกว่าปกติ เรี ยกแนวนี้ วา่ แนวปฏิบัพ (Antinode , A)

369
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
ซึ่งจะมีอยูห่ ลายแนวกระจายออกไปทั้งทางด้านซ้ายและด้านขวาอย่างสมมาตรกัน แนวปฏิบพั ที่
อยูต่ รงกลางเราจะเรี ยกเป็ นปฏิบพั ที่ 0 ( A0) ถัดออกไปจะเรี ยกแนวปฏิบพั ที่ 1 ( A1) , 2 ( A2) ,
3 ( A3) , .... ไปเรื่ อยๆ ทั้งทางด้านซ้ายและด้านขวาดังรู ป
ระหว่างกลางแนวปฏิบพั คลื่นเสี ยงทั้งสองจะเกิดการหักล้างกันทาให้เสี ยงเบากว่าปกติ
เรี ยกแนวนี้วา่ เป็ นแนวบัพ ( Node , N ) แนวบัพแรกที่อยูถ่ ดั จากแนวปฏิบพั กลาง ( A0 ) จะเรี ยก
แนวบัพที่ 1 ( N1) ถัดออกไปจะเรี ยกแนวบัพที่ 2 ( N2) , 3 (N3) , ….. ไปเรื่ อยๆ ทั้งทางด้าน
ซ้ายและด้านขวาดังรู ป
n=0 n=1 n=2
สู ตรทีใ่ ช้ คานวณเกี่ยวกับการแทรกสอดคลื่น A 0 A1
A2 A1 A2
A3
สาหรับแนวปฎิบัพลาดับที่ n (An) P
S1P – S2P = n 
d sin  = n 
เมื่อ P คือจุดซึ่ งอยูบ่ นแนวปฎิบพั ลาดับที่ n ( An ) x x
S1 S2
S1 คือจุดเกิดคลื่นลูกที่ 1
S2 คือจุดเกิดคลื่นลูกที่ 2 n=3 n=2 n=1
A0
A2 A1
S1P คือระยะจาก S1 ถึง P A3
S2P คือระยะจาก S2 ถึง P 

 คือความยาวคลื่น

n คือลาดับที่ของปฎิบพั นั้น
x x
d คือระยะห่ างจาก S1 ถึง S2 S1 S2
 คือมุมที่วด ั จาก A0 ถึง An d
สาหรับแนวบัพลาดับที่ n (Nn)
S1P – S2P= n – 12  
d sin = n – 12  
เมื่อ P คือจุดซึ่ งอยูบ่ นแนวบัพลาดับที่ n ( Nn )
S1P คือระยะจาก S1 ถึง P S2P คือระยะจาก S2 ถึง P
 คือความยาวคลื่น n คือลาดับที่ของบัพนั้น
d คือระยะห่างจาก S1 ถึง S2  คือมุมที่วดั จาก A0 ถึง Nn

370
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
7. คลื่นชนิดหนึ่ง เมื่อเกิดการแทรกสอด จะเกิดแนวดังรู ป
ก. คลื่นนี้มีความยาวคลื่นเท่าใด A0
ข. ถ้าคลื่นนี้มีความถี่ 50 เฮิรตซ์ จะมีความเร็ วเท่าใด A1
1. ก. 2 เมตร , ข. 100 เมตร/วินาที A2
P
2. ก. 3.5 เมตร , ข. 25 เมตร/วินาที 5 เมตร
1 เมตร
3. ก. 4 เมตร , ข. 150 เมตร/วินาที
S1 S2
4. ก. 5 เมตร , ข. 250 เมตร/วินาที

8. จากรู ป S1 และ S2 เป็ นลาโพง 2 ตัว วางห่ างกัน 3 เมตร ให้คลื่นขนาดเดียวกันและ


มีเฟสตรงกัน ถ้า P เป็ นตาแหน่ งเสี ยงดังครั้งที่สอง ห่ างจากแนวกลางในทิศทามุ ม 30o
คลื่นที่แผ่มีความยาวกี่เมตร
1. 0.50 2. 0.75 3. 0.90 4. 1.20

9. S1 และ S2 เป็ นลาโพงสองตัว วางห่ างกัน 3 เมตร ในที่ โล่ ง Q เป็ นผูฟ้ ั งอยู่ห่างจาก S1
5 เมตร และห่ างจาก S2 4 เมตร เสี ยงความถี่ ต่ าสุ ดที่หักล้างกันทาให้ Q ได้ยินเสี ยงเบา
ที่สุดจะเป็ นเท่าใด ถ้าอัตราเร็ วเสี ยงในอากาศเป็ น 340 เมตร/วินาที
1. 270 เฮิรตซ์ 2. 230 เฮิรตซ์ 3. 190 เฮิรตซ์ 4. 170 เฮิรตซ์

371
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
10.4 ความเข้ มเสี ยง
10.4.1 ความเข้ มเสี ยง
ความเข้มเสี ยง ( I ) คือกาลังเสี ยงที่แหล่งกาเนิดเสี ยงส่ งออกไปต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่
เขียนเป็ นสมการจะได้
I = P
A
เมื่อ I คือความเข้มเสี ยง ( วัตต์/ตารางเมตร )
P คือกาลังเสี ยง ( วัตต์ )
A คือพื้นที่ ( ตารางเมตร )
ปกติแล้วนั้น เสี ยงที่ออกมาจากจุดกาเนิดจะมีลกั ษณะแผ่ออกเป็ นทรงกลมคล้ายลูกบอล
กว้างออกไปเรื่ อย ๆ ดังรู ป
และเนื่องจากพื้นที่ผิวทรงกลมจะหาค่าได้จากสมการ
A = 4  R2
ดังนั้นสมการหาความเข้มเสี ยงจึงสามารถเปลี่ยนเป็ น
I = P
4R 2
เมื่อ I คือความเข้มเสี ยง ( วัตต์/ตารางเมตร )
P คือกาลังเสี ยง ( วัตต์ )
R คือระยะห่างจากจุดกาเนิ ดเสี ยงถึงผูฟ้ ัง ( รัศมีวงกลม ) ( เมตร )
โปรดทราบ
 ความเข้มเสี ยงสู งสุ ดที่หูคนเราทนฟังได้มีค่าเท่ากับ 1 วัตต์/ตารางเมตร
 ความเข้มเสี ยงต่าสุ ดที่หูคนเรายังคงได้ยนิ (Io) มีค่าเท่ากับ 10–12 วัตต์/ตารางเมตร
 ความเข้มสัมพัทธ์ คืออัตราส่ วนของความเข้มเสี ยงที่จุดใดๆ หารด้วย Io
ดังนั้น ความเข้ มสัมพัทธ์ = I
I
o
10. แหล่ งกาเนิ ดเสี ยงส่ งพลังงานด้วยอัตรา  x 10–8 วัตต์ ผูฟ้ ั งซึ่ งอยู่ห่างจากแหล่งกาเนิ ด
10 เมตร จะได้ยนิ เสี ยงมีความเข้มเสี ยงกี่วตั ต์/ตารางเมตร
1. 2.5x10–10 2. 2.5x10–11 3. 4.5x10–10 4. 4.5x10–11

372
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
10.4.2 ระดับความเข้ มเสี ยง
เนื่องจากค่าความเข้มเสี ยง ( I ) ปกติจะมีค่าน้อยมาก เราจึงนิยมเปลี่ยนให้อยูใ่ นรู ปที่ดูง่าย
ขึ้นคือรู ปของระดับความเข้มเสี ยง (  ) วิธีการเปลี่ยนจะใช้สมการ
 12)
(10
 = 10 log I และ I = 10
10  12
เมื่อ  คือระดับความเข้มเสี ยง ( เดซิเบล , dB )
I คือความเข้มเสี ยง ( วัตต์/ตารางเมตร )
หมายเหตุ 1. log 10 = 1
2. log Mx = x log M เช่น log 105 = 5 log 10 = 5 ( 1 ) = 5
3. log x = log y ก็ต่อเมื่อ x = y
11. ณ ตาแหน่งซึ่ งอยูห่ ่างจากแหล่งกาเนิดเสี ยงอันหนึ่ง วัดค่าความเข้มเสี ยงได้ 10–10 วัตต์-
ต่อตารางเมตร ณ ตาแหน่งนี้จะมีค่าระดับความเข้มเสี ยงเท่ากับกี่เดซิเบล
1. 10 2. 20 3. 30 4. 40

12. จงหาระดับเสี ยงเมื่อผูฟ้ ังอยูห่ ่างจากวิทยุ 1 เมตร เมื่อกาลังเสี ยงของวิทยุเป็ น 4x10–3 วัตต์
1. 50 เดซิเบล 2. 70 เดซิเบล 3. 90 เดซิเบล 4. 120 เดซิเบล

373
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
13. ณ. จุดซึ่ งอยูห่ ่ างจากแหล่งกาเนิดเสี ยงแหล่งหนึ่งมีระดับเสี ยง 60 เดซิ เบล ณ. จุดนั้นจะมีค่า
ความเข้มเสี ยงกี่วตั ต์/ตารางเมตร
1. 10–4 2. 10–5 3. 10–6 4. 10–7

14. จากข้อที่ผา่ นมา ถ้าจุดนั้นอยูห่ ่างจากแหล่งกาเนิดเสี ยง 5 เมตร แหล่งกาเนิดส่ งเสี ยง


ด้วยกาลังกี่วตั ต์
1. 3.14 x 10–4 2. 3.14 x 10–5 3. 4.36 x 10–4 4. 6.32 x 10–4

สู ตรเพิม่ เติมเกีย่ วกับระดับความเข้ มเสี ยง


I P R2
2 – 1= 10 log I2 และ 2 – 1 = 10 log 2 12
1 P1 R 2
เมื่อ 1 , 2 คือระดับความเข้มเสี ยงตอนแรก และ ตอนหลัง ( เดซิเบล )
I1 , I2 คือความเข้มเสี ยงตอนแรก และ ตอนหลัง ( วัตต์/ตารางเมตร )
P1 , P2 คือกาลังเสี ยงตอนแรก และ ตอนหลัง ( วัตต์ )
R1 , R2 คือระยะห่างตอนแรก และ ตอนหลัง ( เมตร )
374
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
15(แนว มช) ลาโพง 1 ตัว ให้เสี ยงที่ระดับเสี ยง 60 เดซิเบล ถ้าใช้ลาโพงชนิ ดเดียวกัน 10 ตัว
จะให้ระดับเสี ยงกี่เดซิเบล
1. 600 2. 100 3. 70 4. 60

16. เครื่ องเจาะถนนเครื่ องหนึ่ ง อยู่ห่างจากนาย ก. 10 เมตร เขาวัดระดับเสี ยงได้เป็ น 90 เดซิ -


เบล ถ้ามีเครื่ องเจาะสามเครื่ องที่เหมือนกันทุกประการอยู่ห่างจากเขา 10 เมตร เท่ากัน เมื่อ
เครื่ องเจาะทั้งสามทางานพร้อมกัน เขาจะวัดระดับเสี ยงได้เป็ นเท่าใด
1. 93 เดซิเบล 2. 95 เดซิเบล 3. 120 เดซิเบล 4. 270 เดซิเบล

10.5 เสียงดนตรี
10.5.1 ความดัง เบา และระดับสู งต่าของเสี ยง
ความดังหรื อเบาของเสี ยงขึ้นกับแอมพลิจูดของคลื่นเสี ยง
ถ้าคลื่นเสี ยงมีแอมพลิจูดสู ง เสี ยงจะดัง
ถ้าคลื่นเสี ยงมีแอมพลิจูดต่า เสี ยงจะเบา
ระดับความสู งต่า หรื อทุม้ แหลมของเสี ยง
จะขึ้นกับความถี่ของคลื่นเสี ยง
ถ้าคลื่นเสี ยงมีความถี่สูง เสี ยงจะแหลม เรี ยกระดับเสี ยงสู ง
ถ้าคลื่นเสี ยงมีความถี่ต่า เสี ยงจะทุม้ เรี ยกระดับเสี ยงต่า
ช่วงความถี่ของเสี ยงที่หูคนปกติจะได้ยนิ คือช่วง 20 – 20000 เฮิรตซ์ เท่านั้น
เสี ยงที่มีความถี่ต่ากว่า 20 เฮิรตซ์ ลงไปเรี ยกคลื่นใต้เสี ยง ( Infrasonic wave )
เสี ยงที่มีความถี่สูงกว่า 20000 เฮิรตซ์ ขึ้นไปเรี ยกคลื่นเหนือเสี ยง ( Ultrasonic wave )
หู คนปกติจะไม่ได้ยนิ เสี ยงพวกนี้
375
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง

ข้ อควรทราบเกีย่ วกับความถี่เสี ยงของตัวโน้ ตดนตรี


คู่ 8 หรื อ 2 คู่ 8 3 คู่ 8 4 คู่ 8
เสี ยงมูลฐำน เสี ยงที่ 8 (เสี ยงที่ 16 ) (เสี ยงที่ 24 ) (เสี ยงที่ 32 )
Harmonicที่ 1 Harmonicที่ 2 Harmonicที่ 3 Harmonicที่ 4 Harmonicที่ 5

โด เร มี ฟำ ซอล ลำ ที โด/ โด//….. โด///….. โด////…..

ควำมถี่ 256 Hz 512 Hz 1024 Hz 2048 Hz 4096 Hz


จากโน้ตโด ไปสู่ โน้ตโด/ จะนับได้ 8 ตัวโน๊ตพอดี ดังนั้นโน้ตโด กับ โด/ จึงเรี ยกเป็ น
คู่แปดซึ่ งกันและกัน และสาหรั บโน้ต โด // , โด/// , โด//// ถัดๆ ไปจะเรี ยกเป็ น 2 คู่แปด ,
3 คู่แปด และ 4 คู่แปด ตามลาดับ เมื่อตัวโน๊ตสู งขึ้ นไปทุกๆ คู่แปด ความถี่ของคลื่นเสี ยงจะ
เพิ่มขึ้นเป็ น 2 เท่าตัวเสมอ

10.5.2 คุณภาพเสี ยง
ขณะที่เรำฟังเสี ยงเครื่ องดนตรี หลำยชนิด เช่น ขลุ่ย เปี ยโน ซึ่งเล่นโน้ตตัวเดียวกันพร้อมๆ
กัน แต่เรำยังสำมำรถแยกออกได้วำ่ เสี ยงใดเป็ นเสี ยงขลุ่ย เสี ยงใดเป็ นเสี ยงเปี ยโน ทั้งนี้เพรำะ
เสี ยงทั้งสองจะมีลกั ษณะที่ต่ำงกัน กล่ำวคือเสี ยงแต่ละเสี ยงจะมี Higher Hamonic ( เสี ยงตัวโน๊ต
ชั้นสู งถัดๆ ไป ) และควำมเข้มสัมพัทธ์ของแต่ละ Hamonic ไม่เท่ำกัน จึงทำให้เสี ยงแต่ละ
เสี ยงมีลกั ษณะโดยรวมต่ำงกันไป ลักษณะของเสี ยงเช่นนี้เรำเรี ยกคุณภาพเสี ยง
ตัวอย่ างสมมุติ 90% 4% 4% 1% 1%
เสี ยงเครื่ องดนตรี ชนิดที่ 1 ประกอบด้วย โด โด โด โด โด
เสี ยงเครื่ องดนตรี ชนิดที่ 2 ประกอบด้วย โด โด โด
95% 3% 2%
17. ถ้าแหล่งกาเนิดส่ งเสี ยงออกมามีความถี่ 25000 เฮิรตซ์ มนุษย์จะรู ้สึกอย่างไร
1. ปวดแก้วหู 2. ราคาญ , หงุดหงิด 3. เสี ยวฟัน 4. ไม่ได้ยนิ

18(แนว มช) เราสามารถแยกประเภทของแหล่งกาเนิ ดเสี ยงว่าเป็ นกีตาร์ หรื อเสี ยงขลุ่ยได้จาก


1. คุณภาพเสี ยง 2. ระดับเสี ยง 3. ความถี่เสี ยง 4. ความเข้มเสี ยง
376
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
10.6 การบีต และคลื่นนิ่งของเสี ยง
10.6.1 การบีตเสี ยง
เมื่อมีคลื่นเสี ยง 2 คลื่น ซึ่ งมีความถี่ต่างกันเล็กน้อยเข้ามาปนกัน คลื่นทั้งสองจะเกิด
การแทรกสอดกันเอง แล้วจะได้คลื่นรวมที่มีแอมพลิจูดสู งต่าสลับกันไป เสี ยงที่เกิดจากคลื่นรวม
จะมีลกั ษณะดังสลับกับเบา ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นนี้เรี ยกว่าการบีตของเสี ยง ( beats )

คลื่นรวม

จานวนครั้งที่เสี ยงดังใน 1 หน่วยเวลาเรี ยก ความถี่บีต ซึ่งหาค่าจาก


f B =  f 1 – f2 
เมื่อ fB คือความถี่บีต (เฮิรตซ์ )
f1 คือความถี่เสี ยงที่ 1 (เฮิรตซ์ )
f2 คือความถี่เสี ยงที่ 2 (เฮิรตซ์ )
และความถี่คลื่นเสี ยงรวมหาจาก
f f
fรวม = 1 2
2
ปกติแล้วหูคนเราจะได้ยนิ เสี ยงบีตที่มีความถี่ไม่เกิน 7 เฮิรตซ์
19. คลื่นเสี ยงจากแหล่งกาเนิ ดเสี ยงสองแหล่ง เมื่อมาซ้อนทับกันแล้วเกิดบีตส์ 5 ครั้งต่อวินาที
คลื่นเสี ยงที่ทุม้ กว่ามีความถี่ 438 เฮิรตซ์ คลื่นเสี ยงคลื่นหนึ่งจะมีความถี่กี่เฮิรตซ์
1. 433 2. 435.5 3. 440.5 4. 443

377
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
10.6.2 คลื่นนิ่งของเสี ยง
คลื่นนิ่งของเสี ยง เป็ นปรากฏการณ์แทรกสอดของคลื่นเสี ยงที่ตกกระทบ กับคลื่นเสี ยง
ที่สะท้อนจากตัวกลาง ทาให้เกิดตาแหน่งเสี ยงดังและเสี ยงค่อยสลับกันไป
ตาแหน่งเสี ยงดัง เรี ยกว่าปฏิบัพ (A)
ตาแหน่งเสี ยงค่อย เรี ยกว่าบัพ (N)
เคลื่อนเข้า λ
ควรทราบ 2
A A A
1) คลื่นนิ่งจะเกิดได้ก็ต่อเมื่อ มีคลื่น 2 คลื่น N N
ซึ่งมีความถี่ ความยาวคลื่น แอมพลิจูด เท่ากัน แต่
เคลื่อนที่สวนทางกันเข้ามาแทรกสอดกัน
เคลื่อนออก λ
2) แนวปฏิบพั (A) 2 แนวที่อยูถ่ ดั กัน จะห่างกัน = 2 4
แนวบัพ ( N ) 2 แนวที่อยูถ่ ดั กัน จะห่างกัน = 2
แนวปฏิบพั (A) และแนวบัพ ( N ) ที่อยูถ่ ดั กัน จะห่างกัน = 4
20. ในการทดลองส่ งคลื่นเสี ยงความถี่ 3000 เฮิรตซ์ ให้ไปตกกระทบกาแพงในแนวตั้งฉาก
ปรากฏว่าจุดที่มีเสี ยงเบาที่สุด 2 จุด ที่ติดกันห่างกัน 6 เซนติเมตร จงหาอัตราเร็ วของเสี ยง
1. 340 เมตร/วินาที 2. 350 เมตร/วินาที
3. 360 เมตร/วินาที 4. 380 เมตร/วินาที

378
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
10.7 ความถี่ธรรมชาติ และการสั่ นพ้องของเสี ยงในอากาศ
10.7.1 ความถี่ธรรมชาติ และการสั่ นพ้อง
เมื่อวัตถุถูกกระทบกระเทือน โดยทัว่ ไปแล้ววัตถุจะเกิดการสั่นสะเทือนด้วยความถี่เฉพาะ
ตัวค่าหนึ่ ง เรี ยกความถี่ น้ ี วา่ ความถี่ธรรมชาติ ( natural frequency ) ของวัตถุ น้ ัน เช่ นลู กตุม้ ที่
แขวนติดกับสายแกว่ง เมื่อถูกกระทบก็จะแกว่งไปมาด้วยความถี่ธรรมชาติของลูกตุม้ นั้น
เมื่อวัตถุ น้ นั ถูกแรงภายนอกมากกระทาอย่างต่อเนื่ องด้วยความถี่เท่ากับความถี่ธรรม ชาติ
ของวัตถุ จะท าให้ว ตั ถุ เกิ ดการสั่ น สะเทื อนอย่างรุ น แรง เราเรี ย กปรากฏการณ์ ก ารสั่ น อย่า ง
รุ นแรงเนื่องจากเหตุเช่นนี้ วา่ เป็ นการสั่ นพ้อง ( Resonance )
10.7.2 การสั่ นพ้องของเสี ยงในอากาศ
เมื่อเรำส่ งคลื่นเสี ยงเข้ำไปในท่อปลำยตัน เสี ยงที่ส่งเข้ำไปนั้นจะไปกระทบผนังด้ำนในแล้ว
สะท้อนออกมำ และเข้ำมำแทรกสอดกับคลื่นที่เข้ำไปเกิดเป็ น
คลื่นนิ่ง และหำกตรงตำแหน่งปำกท่ออยูต่ รงกับแนวปฏิบพั
ของคลื่นนิ่งนั้น จะทำให้โมเลกุลตัวกลำง(อำกำศ) สั่นสะเทือนอย่ำงรุ นแรง ทำให้เสี ยงที่ออกมำ
จำกท่อนั้นดังกว่ำปกติปรำกฏกำรณ์ที่มีเสี ยงดังอันเกิดจำกอนุภำคตัวกลำงสั่นสะเทือนอย่ำง
รุ นแรงเช่นนี้ เรี ยกว่ำการสั่ นพ้องของเสี ยง
ควรทราบเพิม่ เติมเกีย่ วกับการสั่ นพ้อง
ประการที่ 1 ท่อที่ทาให้เกิดเสี ยงดัง จะต้อง
เป็ นท่อที่มีความพอดีที่จะทาให้ปากท่ออยูต่ รงกับ
แนวปฏิบพั ของคลื่นนิ่งพอดี หากปากท่อตรงกับ
แนวบัพจะไม่เกิดเสี ยงดัง เช่นที่แสดงในรู ปภาพ
จากรู ปโปรดสั งเกตว่า
ความยาวที่ทาให้เกิดสั่นพ้องแต่ละครั้ง
ถัดกัน จะยาวต่างกัน = 2
ความยาวจากปากท่อถึงจุดที่ทาให้เกิด
สั่นพ้องครั้งแรก จะมีความยาว = 4

379
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
ประการที่ 2 สาหรับท่อปลายตันซึ่ งมีความยาวขนาดหนึ่ง หากเราปรับความถี่ของเสี ยงที่ส่ ง
เข้าไปให้เหมาะสม อาจท าให้เกิ ดการสั่ นพ้องได้เช่ นกัน ความถี่ ที่ ท าให้เกิ ดการสั่ นพ้องนั้น
สามารถคานวณหาได้จาก
f = 4n Lv
เมื่อ f คือความถี่เสี ยงที่ทาให้เกิดการสั่นพ้อง ( เฮิรตซ์ )
v คือความเร็ วเสี ยง ( เมตร/วินาที )
L คือความยาวลาอากาศ หรื อ ความยาวท่อ ( เมตร )
n คือจานวนเต็มบวกคี่ คือ 1 , 3 , 5 , 7 , 9 ,…
ถ้า n = 1 ความถี่ที่ได้จะทาให้เกิดเสี ยงดังครั้งแรก เรี ยกความถี่น้ ี วา่ ความถี่มูลฐาน
หรื อ Harmonic ที่ 1
ถ้า n = 3 ความถี่ที่ได้จะทาให้เกิดเสี ยงดังครั้งที่ 2 เรี ยกความถี่น้ ี วา่ Harmonic ที่ 2
ถ้า n = 5 ความถี่ที่ได้จะทาให้เกิดเสี ยงดังครั้งที่ 3 เรี ยกความถี่น้ ี วา่ Harmonic ที่ 3
หมายเหตุ : ถ้าท่อกาทอนมีปลายเปิ ดทั้งสองข้าง ความถี่ที่ทาให้เกิดการสั่นพ้องนั้น สามารถ
คานวณหาได้จาก f = 2n Lv
เมื่อ f คือความถี่เสี ยงที่ทาให้เกิดการสัน่ พ้อง ( เฮิรตซ์ )
v คือความเร็ วเสี ยง ( เมตร/วินาที )
L คือความยาวลาอากาศ หรื อ ความยาวท่อปลายเปิ ด ( เมตร )
n คือจานวนเต็มบวกธรรมดา คือ 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , ….
ถ้า n = 1 ความถี่ที่ได้จะทาให้เกิดเสี ยงดังครั้งแรก เรี ยกความถี่มูลฐาน
หรื อ Harmonic ที่ 1
ถ้า n = 2 ความถี่ที่ได้จะทาให้เกิดเสี ยงดังครั้งที่ 2 เรี ยก Harmonic ที่ 2
ถ้า n = 3 ความถี่ที่ได้จะทาให้เกิดเสี ยงดังครั้งที่ 3 เรี ยก Harmonic ที่ 3
21. จากการทดลองปรากฏว่า ถ้าเคาะส้อมเสี ยงซึ่งมีความถี่ 346 รอบต่อวินาที หน้าหลอดกาทอน
จะเกิดกาทอนขึ้นครั้งแรกที่ระยะ 25 เซนติเมตร อุณหภูมิของอากาศขณะนั้นกี่องศาเซลเซี ยส
1. 25 หลอดกาทอน
ส้อมเสี ยง
2. 24
3. 22
4. 20 25 ซม. ลูกสู บ
380
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
22. ในการทดลองหาอัตราเร็ วของเสี ยงโดยใช้หลอดกาทอน เมื่อใช้แหล่งกาเนิ ดเสี ยงความถี่ 800
เฮิ รตซ์ ตาแหน่ ง ที่ เสี ยงดังมากสองครั้ ง ถัดกัน ห่ างกัน เป็ นระยะ 50.0 เซนติ เมตร จงหา
อัตราเร็ วของเสี ยงนี้
1. 344 เมตร/วินาที 2. 412 เมตร/วินาที
3. 512 เมตร/วินาที 4. 800 เมตร/วินาที

24. ท่อทรงกระบอกปลายปิ ดข้างหนึ่ งยาว 2 เมตร ความถี่ต่าที่สุดของคลื่นเสี ยงที่ทาให้เกิดการ


สัน่ พ้องในท่อนี้จะเท่ากับกี่เฮิรตซ์ ให้ความเร็ วเสี ยงในอากาศเท่ากับ 340 เมตรต่อวินาที
1. 170 2. 85 3. 42.5 4. 21.25

25(แนว En) จงเลื อกหลอดก าทอนอันสั้ น ที่ สุ ด เพื่ อจะใช้ก บั คลื่ นที่ มี ค วามถี่ 700 เฮิ รตซ์
แล้วเกิดกาทอนได้ 3 ครั้ง กาหนดความเร็ วเสี ยงเป็ น 350 เมตร/วินาที
1. หลอดยาว 40 เซนติเมตร 2. หลอดยาว 50 เซนติเมตร
3. หลอดยาว 60 เซนติเมตร 4. หลอดยาว 70 เซนติเมตร

26. ท่อปลายเปิ ดสองข้างยาว 50 เซนติเมตร จงหาความถี่ 3 ลาดับแรกที่ทาให้เกิดการสั่นพ้อง


ของเสี ยงในท่อนี้ได้ เมื่ออัตราเร็ วเสี ยงในอากาศขณะนั้นมีค่า 350 เมตร/วินาที
1. 350 , 700 , 1050 เฮิรตซ์ 2. 350 , 1050 , 1750 เฮิรตซ์
3. 700 , 1400 , 2100 เฮิรตซ์ 4. 700 , 2100 , 3500 เฮิรตซ์

381
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
สาหรับเสี ยงที่เกิดจากสายสั่น เราสามารถหาความถี่และความเร็ วของเสี ยงที่เกิดได้จาก
f = nv และ v = T
2L 
เมื่อ f คือ ความถี่เสี ยงที่เกิดจากสายสั่น ( เฮิรตซ์ )
n คือ จานวน Loop คลื่นนิ่งที่เกิดในสายสั่น
L คือ ความยาวสายสั่น (เมตร)
T คือ แรงดึงสายสัน่ (นิวตัน)
 คือ มวลสายสั่นซึ่ งยาว 1 เมตร (กิโลกรัม)
v คือ ควำมเร็ วเสี ยง (เมตร/วินำที)

27. เชื อกเส้ นหนึ่ งยาว 2 เมตร มี ม วล 15 กรั ม ถู ก ดึ งให้ตึง ด้วยแรง 12 นิ วตัน จงหา
ความถี่ของคลื่นในเส้นเชือกในหน่วยเฮิรตซ์
1. 10 2. 20 3. 30 4. 40

10.8 ปรากฏการณ์ ดอปเพลอร์ และคลื่นกระแทก


10.8.1 ปรากฏการณ์ ดอปเพลอร์
ปรากฏการณ์ ดอปเพลอร์ เป็ นปรากฏการณ์มีการเปลี่ยนแปลงระดับเสี ยง (ความถี่ของ
เสี ยง) เมื่อแหล่งกาเนิดและผูส้ ังเกตเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ วสัมพัทธ์ต่อกัน
กรณีที่ 1 หากแหล่งกาเนิดเสี ยงพุง่ เข้าหาผูฟ้ ังที่อยูน่ ิ่ง เช่นผูฟ้ ังยืนอยูห่ น้ารถแล้วฟังเสี ยง
รถที่พุง่ เข้ามาหาตัวผูฟ้ ัง เสี ยงรถที่มาถึงผูฟ้ ังจะถูกกดดันทาให้ความยาวคลื่น ( ) ของเสี ยงลดลง
ความถี่ (f ) ของเสี ยงเพิ่มขึ้น ทาให้ผฟู ้ ังได้ยนิ เสี ยงที่แหลมกว่าปกติ

382
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง

กรณีที่ 2 หากแหล่งกาเนิ ดเสี ยงเคลื่อนห่างออกจากผูฟ้ ังที่อยูน่ ิ่ง เช่นผูฟ้ ังยืนอยูห่ ลังรถ


แล้วฟังเสี ยงรถที่เคลื่อนห่างออกจากตัวผูฟ้ ัง เสี ยงรถที่มาถึงผูฟ้ ังจะถูกลากออกไปทาให้ความ
ยาวคลื่น ( ) ของเสี ยงมากขึ้น ความถี่ (f ) ของเสี ยงลดลง ทาให้ผฟู ้ ังได้ยนิ เสี ยงที่ทุม้ กว่าปกติ
กรณีที่ 3 หากผูฟ้ ังเคลื่อนห่างออกไปจากแหล่งกาเนิดเสี ยงที่อยูน่ ิ่ง เสี ยงที่มาถึงผูฟ้ ังจะถูก
ลากออกไปทาให้ความยาวคลื่น ( ) ของเสี ยงมากขึ้น ความถี่ (f ) ของเสี ยงลดลง ทาให้ผฟู ้ ังได้
ยินเสี ยงที่ทุม้ กว่าปกติ เสี ยงกระจายออกจากเปี ยโน

กรณีที่ 4 หากผูฟ้ ังเคลื่อนเข้าหาแหล่งกาเนิดเสี ยงที่อยูน่ ิ่ ง เสี ยงที่มาถึงผูฟ้ ังจะถูกกดดัน


เข้าทาให้ความยาวคลื่น ( ) ของเสี ยงลดลง ความถี่ (f ) ของเสี ยงมากขึ้น ทาให้ผฟู ้ ังได้ยนิ เสี ยง
ที่แหลมกว่าปกติ
กรณีที่ 5 หากแหล่งกาเนิ ดเสี ยงเคลื่อนที่เข้าหาผูฟ้ ังที่กาลังเคลื่อนที่
หากความเร็ วแหล่งกาเนิ ดเสี ยงมากกว่าผูฟ้ ัง เสี ยงที่มาถึงผูฟ้ ังจะถูกกดดันเข้าทาให้ความ
ยาวคลื่น() ของเสี ยงลดลง ความถี่ (f ) ของเสี ยงมากขึ้น ทาให้ผฟู ้ ังได้ยนิ เสี ยงที่แหลมกว่าปกติ
หากความเร็ วแหล่งกาเนิ ดเสี ยงน้อยกว่าผูฟ้ ัง เสี ยงที่มาถึงผูฟ้ ังจะถูกลากออกทาให้ความ
ยาวคลื่น ( ) ของเสี ยงเพิ่มขึ้น ความถี่ (f )ของเสี ยงลดลง ทาให้ผฟู ้ ังได้ยนิ เสี ยงที่ทุม้ กว่าปกติ
เสี ยงแตรออกจากมอเตอร์ไซด์

383
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
ในปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ เราสามารถหาความถี่ที่ผฟู ้ ังได้ยนิ จากสมการ
(V  V )
fL = (Vo  VL) fs เมื่อ fL = ความถี่ที่ผสู ้ ังเกตได้ยนิ
o s
fs = ความถี่ปกติของต้นกาเนิดเสี ยง
Vo = อัตราเร็ วเสี ยง
และหาความยาวคลื่นโดยจากสมการ Vs = อัตราเร็ วของต้นกาเนิดเสี ยง
 = (Vo fs Vs ) VL = อัตราเร็ วของผูส้ ังเกต
 = ความยาวคลื่นเสี ยงที่ผสู ้ ังเกตได้ยนิ
เงื่อนไขการใช้ สมการทั้งสองนี้ คือ
ในการแทนค่า VL กับ Vs ต้องคานึงค่า +, – ด้วย โดยอาศัยหลักดังนี้
ถ้า VL , Vs มิทิศสวนทางกับ Vo จะมีค่าเป็ น +
ถ้า VL , Vs มีทิศไปทางเดียวกัน Vo จะมีค่าเป็ น –
28. ผูส้ ังเกตจะรับฟังเสี ยงมีระดับเสี ยงสู งที่สุดเมื่อ
1. ผูส้ ังเกต วิง่ ตามแหล่งกาเนิดด้วยความเร็ วเท่ากัน
2. ผูส้ ังเกต และแหล่งกาเนิดวิง่ เข้าหากัน
3. ผูส้ ังเกต และแหล่งกาเนิดวิง่ หนีออกจากกัน
4. ผูส้ ังเกต และแหล่งกาเนิดอยู่ ณ. ตาแหน่งเดียวกัน

29. รถไฟวิง่ ด้วยความเร็ ว 30 เมตร/วินาที ในอากาศนิ่งความถี่หวูดรถไฟมีคา่ 500 เฮิรตซ์


ถ้าเสี ยงมีอตั ราเร็ ว 330 เมตร/วินาที จงหาความถี่เสี ยงที่ได้ยนิ จากผูฟ้ ังซึ่ งก าลังเคลื่อนที่
ด้วยความเร็ ว 15 เมตร/วินาที เมื่อ
ก. ผูฟ้ ังวิง่ เข้าหารถไฟ ข. ผูฟ้ ังและรถไฟวิง่ ออกจากกัน
1. ก. 275 เฮิรตซ์, ข. 357.5 เฮิรตซ์ 2. ก. 575 เฮิรตซ์ ,ข.437.5 เฮิรตซ์
3. ก. 757 เฮิรตซ์, ข. 734.5 เฮิรตซ์ 4. ก. 895 เฮิรตซ์, ข. 745.5 เฮิรตซ์

384
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
30. รถไฟวิ่งด้วยความเร็ ว 30 เมตร/วินาที ในอากาศนิ่ งความถี่ หวูดรถไฟมีค่า 500 เฮิรตซ์
ถ้าเสี ยงมีอตั ราเร็ ว 330 เมตร/วินาที จงหาความยาวคลื่นเสี ยงที่ผสู ้ ังเกตได้ยนิ เมื่อ
ก. อยูห่ น้ารถไฟ ข. อยูห่ ลังรถไฟ
1. ก. 0.4 เมตร , ข. 0.70 เมตร 2. ก. 0.6 เมตร , ข. 0.72 เมตร
3. ก. 0.8 เมตร , ข. 0.92 เมตร 4. ก. 0.9 เมตร , ข. 1.20 เมตร

10.8.2 คลื่นกระแทก
ถ้าแหล่งกาเนิดเคลื่อนที่เร็ วกว่าเสี ยง
จะทาให้แหล่งกาเนิดเสี ยงเคลื่อนทะลุออก
จากคลื่นเสี ยงที่กระจายออกไป และคลื่น
เสี ยงที่เกิดจากแหล่งกาเนิ ดในเวลาต่อๆ มา
จะทะลุทะลวงออกจากคลื่นเสี ยงที่เกิดในตอนก่อนหน้าดังแสดงในรู ป ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นนี้
เรี ยกว่า คลื่นกระแทก ( Sonic boom ) ซึ่งจะทาให้เกิดเสี ยงดังมากเหมือนเสี ยงระเบิด และเกิด
แรงดันขึ้นอย่างมหาศาล เช่นในกรณี ที่เครื่ องไอพ่นบินด้วยความเร็ วมากกว่าเสี ยง แรงดันที่
เกิดขึ้นนี้ อาจทาให้กระจกหน้าแตกได้

จากรู ปของคลื่นกระแทกจะได้วา่
385
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
Sin = VVos = M1 = hx
เมื่อ  คือมุมครึ่ งหนึ่งของยอดกรวยเสี ยง
Vo คือความเร็ วเสี ยง ( เมตร/วินาที )
Vs คือความเร็ วแหล่งกาเนิดเสี ยง ( เมตร/วินาที )
M คือเลขมัค คือจานวนเท่าตัวของความเร็ วเสี ยง
h คือความสู งจากพื้นดินถึงเพดานบิน ( เมตร )
x คือระยะจากจุดสังเกตถึงแหล่งกาเนิดเสี ยงตอนที่ได้ยินเสี ยงพอดี ( เมตร )

31. เครื่ องบิ นบิ น ด้วยอัตราเร็ ว 510 เมตร/วิน าที ในแนวระดับ เหนื อพื้ นดิ น 4 กิ โลเมตร
ในขณะที่เสี ยงมีอตั ราเร็ วในอากาศ 340 เมตร/วินาที จงหา
ก. เลขมัค
ข. มุมระหว่างหน้าคลื่นกระแทกกับแนวการเคลื่อนที่ของเครื่ องบิน
ค. เมื่อคนที่พ้ืนดินได้ยินเสี ยงนั้นเครื่ องบินอยูห่ ่างจากคนคนนั้นเท่าไร
1. ก. 1.5 , ข. sin–1 23 , ค. 6 กิโลเมตร 2. ก. 1.5 , ข. sin–1 43 , ค. 6 กิโลเมตร
3. ก. 3.0 , ข. sin–1 23 , ค. 8 กิโลเมตร 4. ก. 3.0 , ข. sin–1 45 , ค. 8 กิโลเมตร



386
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
เฉลยบทที่ 10 เสี ย ง
1. ตอบข้ อ 1. 2. ตอบข้ อ 3. 3. ตอบข้ อ 3. 4. ตอบข้ อ 1.
5. ตอบข้ อ 1. 6. ตอบข้ อ 2. 7. ตอบข้ อ 1. 8. ตอบข้ อ 2.
9. ตอบข้ อ 4. 10. ตอบข้ อ 2. 11. ตอบข้ อ 2. 12. ตอบข้ อ 3.
13. ตอบข้ อ 3. 14. ตอบข้ อ 1. 15. ตอบข้ อ 3. 16. ตอบข้ อ 2.
17. ตอบข้ อ 4. 18. ตอบข้ อ 1. 19. ตอบข้ อ 4. 20. ตอบข้ อ 3.
21. ตอบข้ อ 1. 22. ตอบข้ อ 1. 24. ตอบข้ อ 3. 25. ตอบข้ อ 4.
26. ตอบข้ อ 1. 27. ตอบข้ อ 1. 28. ตอบข้ อ 2. 29. ตอบข้ อ 2.
30. ตอบข้ อ 2. 31. ตอบข้ อ 1.


387
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
ตะลุ ย ข้ อ สอบเข้ า มหาวิ ท ยาลัย
บทที่ 10 เสี ย ง ชุ ด ที่ 1
10.1 ธรรมชาติและสมบัติของเสี ยง
10.2 อัตราเร็วของเสี ยง
1(En41 ต.ค) อัตราเร็ วของเสี ยงในอากาศนิ่งขึ้นอยูก่ บั ข้อใด
1. ความถี่ของการสัน่ ของแหล่งกาเนิด 2. อุณหภูมิของอากาศ
3. ความเร็ วของแหล่งกาเนิดเสี ยง 4. ความเข้มของเสี ยง

10.3 สมบัติของคลื่นเสี ยง
10.3.1 การสะท้อนได้ ของเสี ยง
2(En 36) คัดขนาดของผลไม้ในขณะกาลังไหลผ่านมาตามรางน้ าโดยอาศัยการสะท้อนของเสี ยง
จากเครื่ องโซนาร์ โดยต้องการแยกผลไม้ที่ มี ขนาดใหญ่ กว่าและเล็ก กว่า 7.5 เซนติ เมตร
ออกจากกัน จงหาความถี่เหมาะสมของคลื่นจากโซนาร์
( ความเร็ วเสี ยงในน้ า = 1500 เมตร/วินาที )
1. 1 กิโลเฮิรตซ์ 2. 2 กิโลเฮิรตซ์
3. 10 กิโลเฮิรตซ์ 4. 20 กิโลเฮิรตซ์
3(แนว Pat2) นักเรี ยนคนหนึ่งยืนอยูห่ ่างจากกาแพง 102 เมตร ร้องตะโกนออกไปและได้ยนิ
เสี ยงตะโกนของตนเองในเวลา 0.6 วินาที หลังจากตะโกน ถ้าความยาวคลื่นเสี ยงเป็ น 1.0
เมตร ความถี่ของเสี ยงที่ได้ยินเป็ นกี่เฮิรตซ์
1. 85 2. 340 3. 680 4. 1360
4(En 37) เรื อหาปลาลาหนึ่งหาฝูงปลาด้วยโซนาร์
120 ม.
ส่ งคลื่นดลของเสี ยงความถี่สูงลงไปในน้ าทะเล
ถ้าฝูงปลาอยูห่ ่างจาก เครื่ องกาเนิดคลื่นไปทาง
หัวเรื อเป็ นระยะทาง 120 เมตร และอยูล่ ึก 90 ม.
จากผิวน้ าเป็ นระยะ 90 เมตร หลังจากส่ งคลื่นดล

388
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
จากโซนาร์ ไปเป็ นเวลาเท่าใด จึงจะได้รับคลื่นที่สะท้อนกลับมา กาหนดความเร็ วเสี ยง
ในน้ าทะเล = 1500 เมตร/วินาที
1. 0.1 วินาที 2. 0.2 วินาที 3. 0.3 วินาที 4. 0.4 วินาที
5(En42 มี.ค.) เรื อลาหนึ่ งวิ่งเข้าหาหน้าผาเรี ยบด้วยความเร็ ว 10 เมตรต่อวินาที เมื่อเปิ ดหวูด
ขึ้น คนในเรื อได้ยินเสี ยงหวูดสะท้อนจากหน้าผาในเวลา 2.0 วินาที ถ้าขณะนั้นความเร็ ว
เสี ยงในอากาศเป็ น 350 เมตรต่อวินาที ขณะเปิ ดหวูดเรื อห่างจากหน้าผาเป็ นระยะเท่าใด
1. 340 เมตร 2. 350 เมตร 3. 360 เมตร 4. 370 เมตร
10.3.2 การหักเหของเสี ยง
6(แนว Pat2) การที่เสี ยงเดินทางจากแหล่งกาเนิดเสี ยงที่หยุดนิ่งผ่านตัวกลางหนึ่งเข้าไป ในอีก
ตัวกลางหนึ่ง เราจะพบว่าปริ มาณใดของเสี ยงที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
1. อัตราเร็ วคลื่น 2. ความยาวคลื่น
3. ความถี่ 4. ไม่มีปริ มาณใดที่ไม่เปลี่ยนแปลง

10.3.3 การเลีย้ วเบนของเสี ยง


10.3.4 การแทรกสอดของเสี ยง
7(En 36) แหล่งกาเนิดเสี ยงอยูห่ ่างจากกาแพง 1.50 เมตร ผูส้ ังเกตยืนห่างจากกาแพงออกไป 5.00
เมตร ในแนวเดี ย วกับ แหล่ ง ก าเนิ ด สามารถรั บ ฟั ง เสี ยงได้ ท้ ั ง ที่ อ อกจากแหล่ ง ก าเนิ ด
โดยตรง และจากการสะท้อนที่ ก าแพง ถ้าขณะนั้นความเร็ วในเสี ย งในอากาศมี ค่ า 348
เมตร/วินาที ความถี่ต่าสุ ดของแหล่งกาเนิดที่ทาให้ผสู ้ ังเกตได้ยนิ เสี ยงค่อยที่สุดมีค่ากี่เฮิรตซ์
1. 50 2. 54 3. 58 4. 60
8(En 41) จากรู ปเป็ นท่อซึ่ งตรงกลางมีทางแยกเป็ นส่ วนโค้งรู ปครึ่ งวงกลมรัศมี r เท่ากับ 14
เซนติเมตร ถ้าอัตราเร็ วของเสี ยงในท่อเท่ากับ 344 เมตรต่อวินาที ให้คลื่นเสี ยงเข้าไปในท่อ
ทางด้าน S ความถี่ของเสี ยงที่ทาให้ผฟู ้ ังที่ปลายด้าน D ได้ยนิ เสี ยงค่อยที่สุดมีค่าเท่าใด
1. 287 เฮิรตซ์
2. 574 เฮิรตซ์
3. 718 เฮิรตซ์ S r D
4. 1075 เฮิรตซ์
389
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
10.4 ความเข้ มเสี ยง
10.4.1 ความเข้ มเสี ยง
9(En44 มี.ค.) ในการทดลองเรื่ องความเข้มของเสี ยงวัดความเข้มของเสี ยงที่ตาแหน่งที่อยูห่ ่ างไป
10 เมตร จากลาโพงได้ 1.2 x 10–2 วัตต์ต่อตารางเมตร ความเข้มเสี ยงที่ตาแหน่ง 30 เมตร
จากลาโพงจะเป็ นเท่าใด
1. 1.10 x 10–2 วัตต์/เมตร2 2. 0.60 x 10–2 วัตต์/เมตร2
3. 0.40 x 10–2 วัตต์/เมตร2 4. 0.13 x 10–2 วัตต์/เมตร2

10(En45 ต.ค.) ลาโพงตัวหนึ่ งให้เสี ยงที่มีความเข้ม Io ที่ระยะห่ างจากลาโพง 10 เมตร ถ้า


ต้องการเสี ยงความเข้ม 2 Io จะต้องไปอยูท่ ี่ตาแหน่งซึ่ งห่างจากลาโพงเท่าใด
1. 5 เมตร 2. 7 เมตร 3. 14 เมตร 4. 20 เมตร

10.4.2 ระดับความเข้ มเสี ยง


11(En43 ต.ค.) ณ จุดหนึ่ งเสี ยงจากเครื่ องจักรมีระดับเสี ยงวัดได้ 50 เดซิ เบล จงหาความเข้ม
เสี ยงจากเครื่ องจักร ณ จุดนั้น กาหนดให้ความเข้มเสี ยงที่ เริ่ มได้ยินเป็ น 10–12 วัตต์ต่อ-
ตารางเมตร
1. 10–5 วัตต์/เมตร2 2. 10–7 วัตต์/เมตร2
3. 10–9 วัตต์/เมตร2 4. 10–17 วัตต์/เมตร2
12(En48 มี.ค.) คลื่นเสี ยงถูกส่ งออกจากแหล่งกาเนิ ดเสี ยงที่เป็ นจุด กาลังเสี ยงที่ส่งออกไปมีค่า
3.14 วัตต์ ผูฟ้ ั งได้ยินระดับเสี ยงเป็ น 80 เดซิ เบล จงหาระยะห่ างระหว่างผูฟ้ ั งกับ แหล่ ง
กาเนิดเสี ยง
1. 25 เมตร 2. 50 เมตร 3. 100 เมตร 4. 180 เมตร
13(แนว A–net) ระดับเสี ยงจากการทางานของเครื่ องจักร 2 เครื่ องมีค ่าเป็ น 50 เดซิเบล ถ้าเดิน
เครื่ องจักรเพียง 1 เครื่ อง ระดับเสี ยงใหม่จะเป็ นเท่าใด
1. 93 เดซิเบล 2. 83 เดซิเบล 3. 47 เดซิเบล 4. 20 เดซิเบล

390
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
14(En45 ต.ค.) เครื่ องเจาะถนนเครื่ องหนึ่ งอยูห่ ่ างจากนาย ก 10 เมตร เขาวัดระดับเสี ยงได้เป็ น
90 เดซิ เบล ถ้ามี เครื่ องเจาะสามเครื่ องที่ เหมื อนกัน ทุ ก ประการอยู่ห่างจากเขา 10 เมตร
เท่ากัน เมื่อเครื่ องเจาะทั้งสามทางานพร้อมกัน เขาจะวัดระดับเสี ยงได้เป็ นเท่าใด
1. 1.93 เดซิเบล 2. 95 เดซิเบล 3. 120 เดซิเบล 4. 270 เดซิเบล
15(แนว 9 สามัญ) เครื่ องตัดหญ้ำหนึ่งให้เสี ยงควำมดัง 85 เดซิ เบล ที่ระยะห่ ำงออกมำ 8.0 เมตร
ควำมดังของเสี ยงจำกเครื่ องตัดหญ้ำที่ระยะห่ำงออกมำ 80 เมตร มีขนำดเท่ำกับกี่เดซิ เบล
1. 55 2. 58 3. 60 4. 63 5. 65
.

16(En47 ต.ค.) ลาโพง A และ B มี ก าลังเสี ยง 1.0 และ 4.0 วัตต์ ตามล าดับ ระดับ เสี ยงที่
ตาแหน่ งห่ างจาก A เท่ากับ 2 เมตร กับระดับเสี ยงที่ตาแหน่ งห่ างจาก B เท่ากับ 4 เมตร
ต่างกันกี่เดซิ เบล (ในการวัดระดับ ความเข้มเสี ยงนั้นทาคนละเวลา)
1. 0 2. 3 3. 12 4. 30
17(En46 ต.ค) มอเตอร์ไซด์เหมือนๆ กัน 3 คัน แล่นมาจากปากซอย พอมาถึงกลางซอยคันหนึ่ง
จอดและดับเครื่ องยนต์ นาย ก ซึ่ งมีบา้ นอยู่สุดซอย จะวัดความแตกต่างของระดับเสี ยงจาก
มอเตอร์ ไซด์ที่ปากซอยกับที่กลางซอยได้กี่เดซิ เบล
1. 4.3 2. 3.0 3. 2.3 4. 1.2
18(En44 มี.ค.) ระดับเสี ยงในโรงงานแห่ งหนึ่ งมีค่า 80 เดซิ เบล คนงานผูห้ นึ่ งใส่ เครื่ องครอบ
หู ซ่ ึ งสามารถลดระดับ เสี ย งลงเหลื อ 60 เดซิ เบล เครื่ องดัง กล่ าวลดความเข้ม เสี ย งลงกี่
เปอร์เซ็นต์
1. 80 เปอร์เซ็นต์ 2. 88 เปอร์เซ็นต์
3. 98 เปอร์เซ็นต์ 4. 99 เปอร์เซ็นต์
19(แนว 9 สามัญ) แหล่งกาเนิดเสี ยงแผ่คลื่นเสี ยงออกไปสม่าเสมอทุกทิศทุกทาง ต่อมาถ้านาแผ่น
สะท้อนเสี ยงดีเยีย่ มไปวางทางด้านซ้ายมือของแหล่งกาเนิ ดเสี ยงเพื่อสะท้อนเสี ยงกลับไปทาง
ซี กขวาหมด ผูฟ้ ังจะพบระดับเสี ยงเพิ่มขึ้นกี่เดซิ เบล

แหล่งกำเนิดเสี ยง ผูฟ้ ัง
1. 10 log 2 2. 10 log 3 3. 20 log 2 4. 20 log 3 5. 10 log (2)
391
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
10.5 เสียงดนตรี
10.5.1 ความดัง เบา และระดับสู งต่าของเสี ยง
10.5.2 คุณภาพเสี ยง
20(แนว มช) ความถี่ ข องคลื่ นเสี ยงที่ระดับ ความเข้มเสี ยง 70 เดซิ เบล ที่ หูของคนปกติ ไม่
สามารถได้ยนิ คือ
1. 30 เฮิรตซ์ 2. 1000 เฮิรตซ์ 3. 10000 เฮิรตซ์ 4. 30000 เฮิรตซ์
21(แนว มช) เปี ยโนกับกีตาร์ เมื่อเล่นโน้ตเดียวกัน แต่เราสามารถแยกออกได้วา่ เสี ยงใดเป็ นเสี ยง
เปี ยโน เสี ยงใดเป็ นเสี ยงกีตาร์ ทั้งนี้เพราะเสี ยงจากเครื่ องดนตรี ท้ งั สองมีอะไรแตกต่างกัน
1. บีสต์ 2. ความถี่และความเร็ ว
3. ความถี่มูลฐาน 4. จานวนฮาร์ โมนิก

10.6 การบีต และคลื่นนิ่งของเสี ยง


10.6.1 การบีตเสี ยง
22(En47 มี.ค.) ลวดขึงตึงสองเส้นให้เสี ยงที่มีความถี่มูลฐาน 110.0 เฮิรตซ์ และ 110.8 เฮิรตซ์
ตามลาดับ ถ้าดี ดลวดทั้งสองเส้ นนี้ พร้ อมกันจะได้ยินเสี ยงดัง-ค่อยสลับ กัน ถามว่าภายใน
20 วินาที จะได้ยนิ เสี ยงดังขึ้นกี่ครั้ง
1. 16 2. 20 3. 25 4. 32

10.6.2 คลื่นนิ่งของเสี ยง
10.7 ความถี่ธรรมชาติ และการสั่ นพ้องของเสี ยงในอากาศ
10.7.1 ความถี่ธรรมชาติ และการสั่ นพ้อง
10.7.2 การสั่ นพ้องของเสี ยงในอากาศ
23(แนว 9 สามัญ) ท่อใส่ น้ าใบหนึ่งใส่ น้ าให้มีระดับสู งจากพื้น 10.5 เซนติเมตร พบว่าเกิดการสั่น-
พ้องกับส้อมเสี ยงอันหนึ่ ง ต่อมาเติมน้ าเข้าไปเพิ่มทาให้ระดับน้ าสู งจากพื้น 44.5 เซนติเมตร
พบว่าการเกิดการสั่นพ้องกับส้อมเสี ยงนี้ อีกรอบ โดยหากเติมน้ าลงไปมากกว่านี้อีกจะไม่เกิด

392
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
การสั่นพ้องอีกแล้ว กาหนดว่าอัตราเร็ วเสี ยงในอากาศ 340 เมตรต่อวินาที ความถี่ ของส้อม
เสี ยงที่ใช้มีค่าเท่ากับกี่เฮิรตซ์
1. 300 2. 400 3. 500 4. 550 5. 600
24(En43 มี.ค.) หลอดแก้วรู ปทรงกระบอกปลายปิ ดข้างหนึ่ง ถ้านามาใส่ น้ าให้มีระดับต่างๆ กัน
แล้วนาส้อมเสี ยงที่กาลังสั่นให้เกิดเสี ยงไปไว้ใกล้ปากหลอด จะพบว่ามีความสู งของน้ าใน
หลอดแก้ว 2 ค่า ที่ทาให้เกิดเสี ยงดังกว่าเดิม ครั้งแรกมีน้ าในหลอดแก้วสู ง 15 เซนติเมตร
ครั้งที่ 2 มีน้ าในหลอดแก้วสู ง 47 เซนติเมตร ส้อมเสี ยงสั่นด้วยความถี่กี่เฮิรตซ์ ถ้าอัตราเร็ ว
เสี ยงในอากาศขณะนั้นมีค่า 352 เมตรต่อวินาที
1. 400 2. 450 3. 500 4. 550
25(แนว Pat2) วางแหล่งกาเนิดเสี ยงไว้ใกล้กบั ท่อปลายปิ ด 1
ด้าน ยาว 1 เมตร ดังรู ป เมื่อปรับความถี่ของแหล่งกาเนิด
เสี ยงเพื่อให้ได้ยนิ เสี ยงดังที่สุด ถ้าอัตราเร็ วเสี ยงในอากาศ
เท่ากับ 300 เมตร/วินาที เสี ยงจะดังที่สุดที่ความถี่กี่เฮิรตซ์
1. 80 2. 225 3. 375 4. 525
26(แนว Pat2) หลอดเรโซแนนซ์ปลายปิ ดด้านหนึ่งมีความยาว 5 เมตร ความยาวคลื่นของฮาร์ -
มอนิกที่สองเท่ากับกี่เมตร
1. 1.33 2. 3.60 3. 6.67 4. 8.32
27(แนว 9 สามัญ) คลื่นเสี ยงมีความยาวคลื่นเป็ นเท่าใดที่สั่นพ้องอันดับที่สองกับท่อปลายปิ ดหนึ่ง
ข้างและความยาว L
ปลำยปิ ด ปลำยเปิ ด
1. 23 L 2. L
3. 43 L 4. 2 L
5. 3 L L
28(แนว 9 สามัญ) พิจารณาท่อปลายเปิ ดและท่อปลายปิ ดดังรู ป ถ้าทาการปล่อยเสี ยงด้วยความถี่
ที่ ต่างกันผ่านท่อทั้ง 2 แล้วทาให้เกิ ดการสั่นพ้องที่ความถี่ ที่ ต่ าที่สุด จงหาอัตราส่ วนของ
ความยาวคลื่นในท่อปลายปิ ดต่อท่อปลายเปิ ดเมื่อเกิดการสั่นพ้องที่ความถี่ที่ต่าที่สุดนั้น

393
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
L
1.  LA 
 B
L
2. 4  LA 
 B
L
3. 14  LA 
 B
L
4. 2  LA 
 B
L
5. 12  LA 
 B
29(En47 ต.ค.) เส้นลวดโลหะยาว 0.25 เมตร ที่ ขึงตึง เกิ ดการสั่นพ้องที่ความถี่ ต่ าสุ ดกับส้อม
เสี ยงความถี่ 500 เฮิรตซ์ ความเร็ วของคลื่นบนเส้นลวดเป็ นกี่เมตรต่อวินาที
1. 125 2. 250 3. 340 4. 500

10.8 ปรากฏการณ์ ดอปเพลอร์ และคลื่นกระแทก


10.8.1 ปรากฏการณ์ ดอปเพลอร์
30(En42 ต.ค.) ในขณะที่แหล่งกาเนิดเสี ยงเคลื่อนที่ในอากาศนิ่ง ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ความยาวคลื่นเสี ยงที่อยูด่ า้ นหน้าแหล่งกาเนิดจะสั้นกว่าความยาวคลื่นเสี ยงที่จุด
ด้านหลังแหล่งกาเนิ ด
2. ความถี่เสี ยงที่อยูด่ า้ นหน้าแหล่งกาเนิดจะต่ากว่าความถี่เสี ยงที่จุดด้านหลังแหล่งกาเนิ ด
3. ความเร็ วเสี ยงด้านหน้าแหล่งกาเนิดจะสู งกว่าความเร็ วเสี ยงด้านหลังแหล่งกาเนิด
4. ความเร็ วเสี ยงด้านหน้าแหล่งกาเนิดจะต่ากว่าความเร็ วเสี ยงด้านหลังแหล่งกาเนิด
31(En 40) ชายคนหนึ่ งเคาะส้ อมเสี ยงซึ่ งมีความถี่ f แล้วนาไปแกว่งเป็ นวงกลมในแนวระดับ
ดังรู ป ชายอีกคนหนึ่งซึ่ งนัง่ นิ่งอยูจ่ ะได้ยนิ เสี ยงขณะที่ส้อมเสี ยงอยูใ่ นตาแหน่ง A B C
และ D ดังรู ป ด้วยความถี่ fA fB fC และ fD ตามลาดับข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. fA < fB = fD < fC
B
2. fC < fB = fD < fA C
A ผูฟ้ ัง
3. fD < fA = fC < fB D
4. fB < fA = fC < fD
394
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
32(En46 ต.ค) รถพยาบาลแล่ นด้วยอัตราเร็ ว 25 เมตร/วินาที ส่ งเสี ยงไซเรนมี ความถี่ 400
เฮิรตซ์ ถ้าอัตราเร็ วเสี ยงในอากาศเป็ น 350 เมตร/วินาที ความยาวคลื่ นเสี ยงไซเรนด้าน
หน้ารถพยาบาลเป็ นเท่าใด
1. 76 เซนติเมตร 2. 81 เซนติเมตร
3. 87 เซนติเมตร 4. 94 เซนติเมตร
1 ของอัต ราเร็ ว เสี ย ง อัต ราส่ ว นของ
33(แนว Pat2) รถพยาบาลก าลังแล่ น ด้ว ยอัต ราเร็ ว 100
ความยาวคลื่นเสี ยงไซเรนด้านหน้ารถต่อด้านหลังรถที่ปรากฏต่อผูส้ ังเกตที่ยนื นิ่งบนถนนเป็ น
เท่าใด
0.99
1. 1.01 2. 1.01 1.01
3. 1.02 4. 1.02
0.99 1.01
10.8.2 คลื่นกระแทก
34(แนว En) เครื่ องบิน บินด้วยอัตราเร็ ว 510 เมตร / วินาที ในแนวระดับ ซึ่ งสู งจากพื้นดิน 6
กิโลเมตร ชายคนนั้นยืนอยูบ่ นถนนจะได้ยนิ เสี ยงเครื่ องบิน เมื่อเครื่ องบินอยูห่ ่างจากชายผูน้ ้ นั
เป็ นระยะทางกี่กิโลเมตร ( กาหนดอัตราเร็ วของเสี ยง = 340 เมตร/วินาที )
1. 6 2. 6.7 3. 9 4. 12
35(En43 ต.ค.) เครื่ องบินความเร็ วเหนื อเสี ยงบินในแนวระดับผ่านเหนื อศีรษะชายผูห้ นึ่ ง เมื่อ
เขา ได้ยนิ เสี ยงของคลื่นกระแทก เขาจะมองเห็นตัวเครื่ องบินมีมุมเงยจากพื้นดิน 30o เครื่ อ ง
บินมีความเร็ วเท่าใดในหน่วยเมตร/วินาที ถ้าอัตราเร็ วเสี ยงในอากาศเป็ น 345 เมตร/วินาที
1. 350 2. 400 3. 580 4. 690



395
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
เฉลยตะลุ ย ข้ อ สอบเข้ า มหาวิ ท ยาลัย
บทที่ 10 เสี ย ง ชุ ด ที่ 1
1. ตอบข้ อ 2. 2. ตอบข้ อ 4. 3. ตอบข้ อ 2. 4. ตอบข้ อ 2.
5. ตอบข้ อ 3. 6. ตอบข้ อ 3. 7. ตอบข้ อ 3. 8. ตอบข้ อ 4.
9. ตอบข้ อ 4. 10. ตอบข้ อ 2. 11. ตอบข้ อ 2. 12. ตอบข้ อ 2.
13. ตอบข้ อ 3. 14. ตอบข้ อ 2. 15. ตอบข้ อ 5. 16. ตอบข้ อ 1.
17. ตอบข้ อ 1. 18. ตอบข้ อ 4. 19. ตอบข้ อ 1. 20. ตอบข้ อ 4.
21. ตอบข้ อ 4. 22. ตอบข้ อ 1. 23. ตอบข้ อ 3. 24. ตอบข้ อ 4.
25. ตอบข้ อ 2. 26. ตอบข้ อ 3. 27. ตอบข้ อ 1. 28. ตอบข้ อ 3.
29. ตอบข้ อ 2. 30. ตอบข้ อ 1. 31. ตอบข้ อ 4. 32. ตอบข้ อ 2.
33. ตอบข้ อ 1. 34. ตอบข้ อ 3. 35. ตอบข้ อ 4.


396
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
บทที่ 11 แสงและทัศ นอุ ป กรณ์
11.1 การเคลือ่ นที่ และอัตราเร็วของแสง
แสงเป็ นคลื่นตามขวางชนิดหนึ่ง แสงจะเดินทาง
เป็ นเส้นตรง ทิศทางการเคลื่อนที่ของแสงเราอาจใช้เส้น
ลูกศรแทนได้ เรี ยกลูกศรนี้ วา่ รังสี ของแสง ความเร็ วแสง
ในสุ ญญากาศจะมีค่าเท่ากับ 3 x 108 เมตรต่อวินาที แต่
ในตัวกลางต่างชนิดกันความเร็ วแสงจะมีค่าไม่เท่ากัน

11.2 การสะท้ อนแสงของแสง


11.2.1 กฎการสะท้อนของแสง
รังสี ตกกระทบ เส้นปกติ รังสี สะท้อน
เมื่อแสงไปตกกระทบผิววัตถุใดๆ
ปกติแล้วแสงจะสะท้อนออกจากผิวของ มุมตก มุมสะท้อน
กระทบ
วัตถุน้ นั ได้ ปรากฏการณ์น้ ี เรี ยกว่าเป็ น 1 2
การสะท้อนได้ ของแสง
กฎการสะท้อนของแสง มีดังนี้
1. รังสี ตกกระทบ รังสี สะท้อน และเส้นปกติ ต้องอยูใ่ นระนาบเดียวกัน
2. มุมตกกระทบต้องมีขนาดเท่ากับมุมสะท้อน
ข้ อควรรู้ เพิม่ เติมเกีย่ วกับการสะท้ อนแสง แสงสะท้อน
1. ถ้ารังสี ตกกระทบตกตั้งฉากกับผิวของวัตถุ แสงตกกระทบ
รังสี สะท้อนจะสะท้อนย้อนแนวเดิมออกมาโดยตลอด
2. หากรังสี สะท้อนอย่างน้อย 2 เส้น มาตัดกัน
จะเกิดภาพของวัตถุตน้ กาเนิดแสงขึ้น ณ.จุดตัดนั้น
ระยะจากใจกลางผิวตกกระทบถึงวัตถุ เรี ยก
ระยะวัตถุ (s )
ระยะจากใจกลางผิวตกกระทบถึงภาพ เรี ยก ระยะภาพ ( s)
ระยะภาพ ( s) ระยะวัตถุ (s)
1
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
อัตราส่ วนของระยะภาพต่อระยะวัตถุ หรื อขนาดภาพต่อขนาดวัตถุ ของการสะท้อน
หนึ่งๆ จะมีค่าคงที่ เรี ยกค่าคงที่น้ ีวา่ กาลังขยาย ( m )
นัน่ คือ กำลังขยำย (m) = ss = yy
เมื่อ s = ระยะภาพ s = ระยะวัตถุ
y = ขนาดภาพ y = ขนาดวัตถุ
โดยทัว่ ไปแล้วการศึกษาการสะท้อนแสง จะใช้
กระจกเป็ นอุปกรณ์ในการศึกษา กระจกโดยทัว่ ไปนั้น
จะมี 2 ชนิด
1. กระจกราบ
2. กระจกโค้ง ( กระจกโค้งเว้า และกระจกโค้งนูน )

หลัง หน้า

กระจกโค้งเว้า กระจกโค้งนูน กระจกราบ

11.2.2 ภาพทีเ่ กิดจากกระจกเงาราบ


พิจารณาตามรู ป เมื่อยิงแสง
ออกจากวัตถุตน้ กาเนิดแสง ไปตก
กระทบกระจกดังรู ป รังสี ของแสง
สะท้อนเส้นที่ 1 และ 2 จะกระ
จายออกจากกัน ดังนั้นรังสี สะท้อน
นี้จะไม่สามารถตัดกันและไม่ทาให้
เกิดภาพที่ดา้ นหน้ากระจกได้ แต่
ถ้าเราต่อแนวรังสี สะท้อนทั้งสองย้อน
ไปด้านหลังกระจก จะพบว่าเส้นสมมติที่ต่อออกไปนี้จะไปตัดกันได้ที่จุดจุดหนึ่ง การตัดกัน
ของเส้นสมมติน้ ี จะทาให้เกิดภาพหลังกระจก เรี ยกภาพที่เกิดนี้วา่ ภาพเสมือน

2
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
สาหรับภาพที่เกิดจากกระจกราบ จะได้วา่
ระยะภาพ ( s ) = ระยะวัตถุ ( s )
และ ขนาดภาพ ( y ) = ขนาดวัตถุ ( y )
ดังนั้น กาลังขยายของกระจกราบ ( m ) = ss = yy = 1

11.2.3 ภาพทีเ่ กิดจากกระจกเงาทรงกลม


กระจกเงาทรงกลม หรื อกระจกโค้ง จะแบ่งได้เป็ น 2 ชนิ ดย่อย ได้แก่กระจกโค้ง
เว้า และกระจกโค้งนูน กระจกแต่ละ
แบบจะมีจุดต่างๆ ซึ่งต้องรู้จกั เป็ นพื้น
ฐานดังรู ป R R
จากรู ป จุด C เรี ยกจุดศูนย์กลางความโค้ง O C C O
จุด O เรี ยกจุดใจกลางบนผิวโค้ง
กระจกเว้า กระจกนูน
เส้นตรง CO เรี ยกเส้นแกนมุขสาคัญ
ระยะ CO เรี ยกรัศมีความโค้ง ( R )
ถ้าเราให้รังสี ของแสงขนานกับเส้นแกนมุขสาคัญ
มาตกกระทบกระจกเว้า จะพบว่ารังสี สะท้อนของรังสี
ขนานเหล่านี้ จะไปตัดกันที่จุดกึ่งกลางระหว่างจุด C กับ
จุด O เสมอ จุดตัดนี้ เรี ยกจุดโฟกัส ( F ) และระยะ
ห่างจากจุด O ถึงจุด F เรี ยกความยาวโฟกัส ( f )
แต่กระจกนูนจะเป็ นกระจกกระจายแสง กล่าวคือ
เมื่อรังสี ของแสงขนานกับเส้นแกนมุขสาคัญไปตกกระ
ทบกระจกนูน รังสี สะท้อนจะกระจายออกจากกัน
ดังรู ป แต่ถา้ ต่อแนวรังสี สะท้อนย้อนไปด้านหลังกระจก
จะพบว่าเส้นสมมุติเหล่านั้น จะไปตัดกันที่จุดกึ่งกลางระ
หว่างจุด C กับจุด O ด้านหลังกระจก จุดตัดนี้ เรี ยกจุดโฟกัส ( F ) และระยะห่างจากจุด O ถึง
จุด F เรี ยกความยาวโฟกัส ( f ) แต่เป็ นจุดโฟกัสและความยาวโฟกัสเสมือนเท่านั้น
ทีส่ าคัญ f = R2 เสมอ
3
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
เกิดภาพโดยกระจกโค้งเว้ า
รู ปที่ 1 รู ปที่ 4

รู ปที่ 2 รู ปที่ 5

รู ปที่ 3

รู ปที่ 1 เมื่อวัตถุอยูไ่ กลกว่าจุด C จะเกิดภาพจริ งหัวกลับอยูด่ า้ นหน้าใกล้กระจกเว้า


รู ปที่ 2 และ 3 เมื่อขยับวัตถุเข้าใกล้กระจก ภาพที่เกิดจะถอยไกลออกไป และขนาดใหญ่ข้ ึน
รู ปที่ 4 เมื่อวัตถุอยูท่ ี่จุดโฟกัสของกระจก แสงสะท้อนแต่ละเส้นจะขนานกัน จะไม่เกิดภาพใดๆ
รู ปที่ 5 เมื่อวัตถุอยูใ่ กล้กว่าจุดโฟกัส แสงสะท้อนแต่ละเส้นกระจายออกจากกันไม่ตดั กัน แต่แนว
เส้นสมมุติถอยหลังไปจากแสงสะท้อนจะตัดกันได้ ทาให้เกิดภาพเสมือนหัวตั้งขนาดใหญ่กว่าวัตถุ
การเกิดภาพโดยกระจกนูน
ภาพที่เกิดจากกระจกนูน จะเป็ นภาพเสมือน
หัวตั้งขนาดภาพเล็กกว่าขนาดวัตถุ อยูห่ ลังกระจก
และระยะภาพสั้นกว่าระยะวัตถุเสมอ
ลักษณะของภาพจริงทีเ่ กิดจากการสะท้อน ลักษณะของภาพเสมือนทีเ่ กิดจากการสะท้อน
1. หัวกลับ 1. หัวตั้ง
2. เกิดหน้ากระจก 2. เกิดหลังกระจก
3. เอาฉากมารับได้ 3. เอาฉากมารับไม่ได้ แต่เห็นได้ดว้ ยตาเปล่า
ผ่านกระจก
4
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
1(แนว En) เมื่อเลื่ อนวัตถุ ซ่ ึ งอยูห่ น้ากระจกเว้าจากจุดซึ่ งไกลมากเข้ามาสู่ จุดโฟกัสของกระจก
เว้า ภาพที่เกิดขึ้นจะมีลกั ษณะดังข้อใดต่อไปนี้
1. เป็ นภาพจริ งหัวกลับขนาดใหญ่ข้ ึนเรื่ อยๆ แล้วหายไป
2. เป็ นภาพจริ งหัวกลับขนาดเล็กลงเรื่ อยๆ แล้วหายไป
3. เป็ นภาพเสมือนหัวตั้งขนาดใหญ่กว่าวัตถุ
4. เป็ นภาพเสมือนหัวตั้งขนาดเล็กกว่าวัตถุ

2. เมื่อวางวัตถุไว้หน้ากระจกเว้า ณ. จุดซึ่ งใกล้กระจกมากกว่าจุดโฟกัสของกระจกเว้านั้น ภาพ


ที่เกิดจะมีลกั ษณะดังข้อใดต่อไปนี้
1. เป็ นภาพจริ งหัวกลับขนาดเล็ก อยูห่ น้ากระจกระยะภาพสั้นกว่าระยะวัตถุ
2. เป็ นภาพจริ งหัวตั้งขนาดเล็ก อยูห่ น้ากระจกระยะภาพสั้นกว่าระยะวัตถุ
3. เป็ นภาพเสมือนหัวตั้ง อยูห่ ลังกระจกขนาดใหญ่กว่าวัตถุ
4. ไม่เกิดภาพใดๆ ทั้งสิ้ น
3. ข้อใดไม่ถูกต้อง
1. ภาพจริ งหัวกลับ ภาพเสมือนหัวตั้ง 2. ภาพจริ งต้องใช้ฉากรับ
3. ภาพเสมือนโตเท่าวัตถุเสมอ 4. ภาพเสมือนไม่ตอ้ งใช้ฉากรับ

สู ตรทีใ่ ช้ คานวณการเกิดภาพโดยกระจกเว้า และกระจกนูน


1 = 1s + 1
f m = ss = yy เมื่อ
f = ความยาวโฟกัส
s s = ระยะวัตถุ
m = s f f f = R2 s = ระยะภาพ
y = ขนาดวัตถุ
เงื่อนไขการใช้ สูตร y = ขนาดภาพ
1) หากเป็ นกระจกเว้า ต้องใช้ R , f มีค่าเป็ น + m = กาลังขยาย
หากเป็ นกระจกนูน ต้องใช้ R , f มีค่าเป็ น – R = รัศมีความโค้งกระจก
2) หากภาพที่เกิดเป็ นภาพจริ ง ต้องใช้ s , y , m มีค่าเป็ น +
หากภาพที่เกิดเป็ นภาพเสมือน ต้องใช้ s , y , m มีค่าเป็ น –
5
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
4. วางวัตถุ ไว้หน้ากระจกเว้าอันมีความยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร ปรากฏว่าเกิดภาพจริ งขึ้นที่
ระยะห่างจากกระจก 10 เซนติเมตร จงหาว่าวัตถุอยูห่ ่างกระจกกี่เซนติเมตร
1. 5 2. 10 3. 15 4. 20

5. วางวัตถุไว้หน้ากระจกนูนอันมีความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร ปรากฏว่าเกิดภาพขึ้นที่ระยะ


ห่างจากกระจก 5 เซนติเมตร จงหาว่าวัตถุอยูห่ ่างกระจกกี่เซนติเมตร
1. 5 2. 10 3. 15 4. 20

6(แนว Pat) กระจกเว้าให้ภาพหัวตั้งขนาดเป็ น 2 เท่าของวัตถุ เมื่อระยะวัตถุเป็ น 20 เซนติ เมตร


ความยาวโฟกัสของกระจกเว้าบานนี้ เท่ากับกี่เซนติเมตร
1. +5 2. +10 3. +20 4. +40

6
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
7(แนว มช) ถ้าวางวัตถุ ที่ มีค วามสู ง 10 เซนติเมตร ไว้หน้ากระจกนู นซึ่ งมี รัศมี ความโค้ง 50
เซนติเมตร โดยวางให้ห่างจากกระจกเป็ นระยะ 100 เซนติเมตร จงหาความสู งของภาพ
ว่ามีขนาดกี่เซนติเมตร
1. –2 2. 25 3. 2 4. 2.5

11.3 การหักเหของแสง
11.3.1 กฎการหักเหของแสง
เมื่อแสงผ่านจากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่ งซึ่งมีความหนาแน่นไม่เท่ากัน จะทาให้
อัตราเร็ ว (v) แอมพลิจูด (A) และความยาวคลื่น () ของแสงเปลี่ยนไป แต่ความถี่ (f ) จะคงที่
ในกรณี ที่แสงตกกระทบพุ่งเข้าตกตั้งฉากกับ แนวรอยต่อตัวกลาง แสงที่ท ะลุ ลงไปใน
ตัวกลางที่ 2 จะมีแนวตั้งฉากกับแนวรอยต่อตัวกลางเช่นเดิม แต่หากแสงตกกระทบตกเอียงทา
มุมกับแนวรอยต่อตัวกลาง แสงที่ทะลุลงไปในตัวกลางที่ 2 จะไม่ทะลุลงไปในแนวเส้นตรงเดิม
แต่จะมีการเบี่ยงเบนไปจากแนวเดิมดังรู ป ปรากฏการณ์น้ี เรี ยกการหักเหของแสง
กรณี คลื่นตกตั้งฉากรอยต่อ รังสี ตกกระทบ เส้นปกติ กรณี คลื่นตกไม่ต้งั ฉากกับรอย
ตัวกลาง คลื่นจะไม่เปลี่ยน ต่อตัวกลาง คลื่นจะเบี่ยงเบน
ทิศทางการเคลื่อนที่ ตัวกลางที่ 1 มุมตก แนวการเคลื่อนที่
V 1 , 1 , A 1 V1 , 1 , A1 1
รอยต่อตัวกลาง
V2 , 2 , A2 ตัวกลางที่ 2 V ,  , A 
2 2 2 มุมหักเห2
รังสี หกั เห
v,  , A เปลี่ยน แต่ f คงที่
กฎของสเนลล์
sin 1 v1 1 n
sin 2 = v 2 = 2
= n21 = n2
1
7
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์

เมื่อ 1 และ 2 คือมุมระหว่างรังสี แสงกับเส้นปกติในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามลาดับ


v1 และ v2 คือความเร็ วแสงในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามลาดับ
1 และ 2 คือความยาวคลื่นแสงในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามลาดับ
n1 คือดัชนีหกั เหตัวกลางที่ 1 เทียบกับอากาศ เรี ยกสั้นๆ ดัชนีหกั เหของตัวกลางที่ 1
n2 คือดัชนีหกั เหตัวกลางที่ 2 เทียบกับอากาศ เรี ยกสั้นๆ ดัชนีหกั เหของตัวกลางที่ 2
n21 คือดัชนีหกั เหของตัวกลางที่ 2 เทียบกับตัวกลางที่ 1
8. แสงเคลื่อนที่จากตัวกลาง (1) ซึ่งมีดชั นีหกั เห 23 ไปยังตัวกลาง (2) ซึ่งมีดชั นีหกั เห 65
ด้วยมุมตกกระทบ 30o จงหามุมหักเหในตัวกลาง (2)
1. sin–1 25 2. sin–1 85 3. sin–1 85 4. sin–1 43

9. แสงเคลื่อนที่ผา่ นตัวกลางด้วยอัตราเร็ ว 2.25 x 108 เมตร/วินาที อยากทราบว่าตัวกลางนี้มี


ค่าดัชนีหกั เหเท่าใด
1. 1.11 2. 1.22 3. 1.33 4. 1.44

10(แนวA–net) แสงความถี่ 2.00 x 1014 เฮิรตซ์ ในเส้นใยนาแสงมีความยาวคลื่นในเนื้ อเส้น


ใยเท่ากับ 4.50 x 10–7 เมตร จงหาค่าดรรชนีหกั เหของเนื้ อเส้นใยนาแสงนี้
1. 3.62 2. 3.12 3. 3.52 4. 3.33

8
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.3.2 การสะท้อนกลับหมดของแสง
อากาศ 90o อากาศ
c > c
พลาสติก พลาสติก

หากยิงแสงจากตัวกลางที่มีความหนาแน่ นมากไปสู่ ตวั กลางที่มีความหนาแน่ นน้อยกว่า


เช่ นยิงแสงจากพลาสติกไปสู่ อากาศ จะเกิ ดการหักเหซึ่ งมุมหักเหโตกว่ามุมตกกระทบเสมอดัง
รู ป สาหรับมุมตกกระทบที่ทาให้มุมหักเหเป็ นมุม 90o มุมตกกระทบนั้นเรี ยกมุมกฤติ (C)
ในกรณี ที่มุมตกกระทบมี ขนาดโตกว่ามุมวิกฤติ จะทาให้แสงเกิดการสะท้อนกลับเข้ามา
ภายในตัวกลางแรกทั้งหมดไม่มีการหักเหออกไปยังตัวกลางที่ 2 เราเรี ยกปรากฏการณ์น้ี วา่ เป็ น
การสะท้อนกลับหมด
3
11. เมื่อแสงเคลื่อนที่จากแก้วดัชนีหกั เห 2 สู่ อากาศ จงหามุมวิกฤติของแก้วนี้
1. sin–1 25 2. sin–1 2
3 3. sin–1 85 4. sin–1 43

12. ถ้ามุมวิกฤตของตัวกลางชนิดหนึ่งเป็ น 30 องศา จงหาอัตราเร็ วของแสงในตัวกลางนั้น


1. 1.0 x 108 เมตร/วินาที 2. 1.5 x 108 เมตร/วินาที
3. 2.0 x 108 เมตร/วินาที 4. 3.0 x 108 เมตร/วินาที

9
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.3.3 ความลึกจริง ความลึกปรากฏ
พิจารณาตัวอย่างการมองวัตถุที่จม
อยูใ่ ต้น้ า เราจะเห็นวัตถุน้ นั อยูต่ ้ืนกว่า
ความเป็ นจริ ง ทั้งนี้ เพราะแสงที่สะท้อน
ออกมาจากวัตถุน้ นั เมื่อเคลื่อนที่ออก
จากน้ ามาสู่ อากาศแล้วเข้าตาเรานั้น แสง
จะเกิดการหักเห แต่เนื่ องจากสายตาของ
คนเราจะมองตรงเสมอ เราจึงมองเห็นวัตถุอยูต่ ้ืนกว่าความเป็ นจริ งดังแสดงในรู ป
ในกรณี ที่เรามองวัตถุลงไปตรงๆ
ตา
( มองตั้งฉากกับผิวหักเห ) เราสามารถ
คานวณหาความลึกปรากฏได้จาก
ลึกปรากฏ
ลึกจริ ง = nn1 ภาพ
ลึกปรากฏ 2
ลึกจริ ง
เมื่อ n1 คือดัชนีหกั เหของตัวกลางที่ 1 ที่แสงอยู่ วัตถุ
n2 คือดัชนีหกั เหของตัวกลางที่ 2 ที่แสงไป
กรณี ที่เรามองวัตถุเอียงทามุมกับผิวหักเห เราสามารถคานวณหาความลึกปรากฏได้จาก
ลึกจริ ง = n1 cos 1
ลึกปรากฏ n2 cos 2
เมื่อ n1 คือดัชนีหกั เหของตัวกลางที่ 1 ที่แสงอยู่
n2 คือดัชนีหกั เหของตัวกลางที่ 2 ที่แสงไป
1 คือมุมตกกระทบในตัวกลางที่ 1
2 คือมุมหักเหในตัวกลางที่ 2

13. ปลาอยูท่ ี่พ้ืนสระน้ าซึ่ งลึก 5 เมตร ถ้าดัชนีหกั เหของน้ ามีค่าเท่า 43 จะมองเห็นปลาอยูล่ ึก
จากผิวน้ ากี่เมตร
1. 154 2. 43 3. 43 4. 5

10
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
14(แนว มช) นกตัวหนึ่ งบินอยูใ่ นอากาศสู งจากผิวน้ า 3 เมตร คนที่ดาอยู่ใต้น้ าและมองดูนก
ตัวนี้ ในแนวเส้นปกติจะมองเห็ นนกไกลหรื อใกล้กว่าความจริ งเท่าใด ในหน่ วยของเมตร
กาหนด n ของน้ า = 43
1. ใกล้เข้ามามากกว่าความจริ ง 1.00 2. ไกลออกไปมากกว่าความจริ ง 1.00
3. ใกล้เข้ามากกว่าความจริ ง 2.25 4. ไกลออกไปมากกว่าความจริ ง 2.25

11.4 ปรากฏการณ์ เกีย่ วกับแสง


11.4.1 การกระจายของแสง
พิจารณาส่ องแสงอาทิตย์ผา่ นแท่งแก้ว
สามเหลี่ยม(ปริ ซึม) แสงขาวของดวงอาทิตย์
นั้นมีองค์ประกอบด้วยแสงสี ต่างๆ 7 สี คือ
ม่วง คราม น้ าเงิน เขียว เหลือง แสด และ
แดง เมื่อผ่านปริ ซึมแต่ละสี จะเกิดการหักเห
ออกมาได้ไม่เท่ากัน
สี แดง มีความยาวคลืน่ มากทีส่ ุ ดจะเกิดการหักเหน้ อยทีส่ ุ ด
สี ม่วง มีความยาวคลืน่ น้ อยทีส่ ุ ดจะเกิดการหักเหมากทีส่ ุ ด
ส่ วนสี อื่นๆ ซึ่ งมีความยาวคลื่นแตกต่างกัน ก็จะเกิดการหักเหได้ไม่เท่ากันด้วย ลักษณะนี้ จะ
ทาให้แสงแต่ละสี ที่หกั เหออกมาเกิดการแยกออกจากกันดังรู ป เรี ยกว่าเกิดการกระจายของแสง
11
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.5 เลนส์ บาง
เลนส์โดยทัว่ ไป จะมี 2 ชนิดย่อย ได้แก่เลนส์เว้า และเลนส์นูน
เลนส์แต่ละแบบจะมีจุดต่างๆ ซึ่งต้องรู้จกั R
เป็ นพื้นฐานดังรู ป
C O C/
จุด C , C เรี ยกจุดศูนย์กลางความโค้งของเลนส์
จุด O เรี ยกจุดกลางเลนส์ R
เส้นตรง OC เรี ยกแกนมุขสาคัญ C O C/
ระยะจาก O ถึง C เรี ยกรัศมีความโค้ง (R)
เลนส์นูนจะเป็ นเลนส์รวมแสง กล่าวคือถ้า
เราให้แสงซึ่งมีรังสี ขนานกับเส้นแกนมุขสาคัญมาตก
กระทบผ่านเลนส์นูน แสงหักเหของแสงขนานเหล่า
นี้จะไปตัดกันที่จุดกึ่งกลางระหว่างจุด C กับจุด O
ฝั่งตรงข้ามเสมอ จุดที่แสงหักเหตัดนี้ เรี ยกจุดโฟกัส (F)
และระยะห่างจากจุด O ถึงจุด F เรี ยกว่าความยาวโฟกัส (f )
เลนส์เว้าจะเป็ นเลนส์กระจายแสง กล่าวคือ
เราให้แสงซึ่ งมีรังสี ขนานกับเส้นแกนมุขสาคัญมาตก
กระทบผ่านเลนส์เว้า แสงหักเหจะกระจายออกจาก
กันไม่สามารถมาตัดกันได้ แต่ถา้ เราลากเส้นสมมุติ
ย้อนถอยออกมาจากแสงหักเหแต่ละเส้น เส้นสมมุติ
เหล่านี้จะมาตัดกันที่จุดกึ่งกลางจุด O กับจุด C ด้านหน้าเลนส์จุดตัดนี้ เรี ยกจุดโฟกัส (F) เช่นกัน
และระยะห่างจากจุด O ถึงจุด F เรี ยกว่าความยาวโฟกัส (f ) แต่เป็ นจุดโฟกัสและความยาว
โฟกัสเสมือนเท่านั้น
ทีส่ าคัญ f = R2 เสมอ

12
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
การเกิดภาพโดยเลนส์ นูนบาง รู ปที่ 4
รู ปที่ 1

รู ปที่ 2

รู ปที่ 3
รู ปที่ 5

รู ปที่ 1 เมื่อวัตถุอยูไ่ กลกว่าจุด C จะเกิดภาพจริ งหัวกลับอยู่ดา้ นหลังใกล้เลนส์นูน


รู ปที่ 2 และ 3 เมื่อขยับวัตถุเข้าใกล้เลนส์ ภาพที่เกิดจะถอยไกลออกไป และขนาดใหญ่ข้ ึน
รู ปที่ 4 เมื่อวัตถุอยูท่ ี่จุดโฟกัสของเลนส์ แสงหักเหแต่ละเส้นจะขนานกัน จะไม่เกิดภาพใดๆ
รู ปที่ 5 เมื่อวัตถุอยูใ่ กล้กว่าจุดโฟกัส แสงหักเหแต่ละเส้นกระจายออกจากกันไม่ตดั กัน แต่แนว
เส้นสมมุติถอยหลังไปจากแสงหักเหจะตัดกันได้ ทาให้เกิดภาพเสมือนหัวตั้งขนาดใหญ่กว่าวัตถุ
การเกิดภาพโดยเลนส์ เว้ าบาง
ภาพที่เกิดจากเลนส์เว้า จะเป็ นภาพเสมือน
หัวตั้งขนาดภาพเล็กกว่าขนาดวัตถุ อยูห่ น้าเลนส์
ระยะภาพสั้นกว่าระยะวัตถุเสมอ
ลักษณะของภาพจริงที่เกิดจากเลนส์ ลักษณะของภาพเสมือนที่เกิดจากเลนส์
1. หัวกลับ 1. หัวตั้ง
2. เกิดหลังเลนส์ 2. เกิดหน้าเลนส์
3. เอาฉากมาตั้งรับได้ 3. เอาฉากมารับไม่ได้ แต่เห็นได้ดว้ ยตาเปล่า

13
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
สู ตรทีใ่ ช้ คานวณการเกิดภาพโดยเลนส์ เว้ า และเลนส์ นูน
1 = 1s + 1
f m = ss = yy เมื่อ
f = ความยาวโฟกัส
s s = ระยะวัตถุ
m = s f f f = R2 s = ระยะภาพ
y = ขนาดวัตถุ
เงื่อนไขการใช้ สูตร y = ขนาดภาพ
1) หากเป็ นเลนส์นูน ต้องใช้ f มีค่าเป็ น + m = กาลังขยาย
หากเป็ นเลนส์เว้า ต้องใช้ f มีค่าเป็ น – R = รัศมีความโค้ง
2) หากภาพที่เกิดเป็ นภาพจริ ง ต้องใช้ s , y , m มีค่าเป็ น +
หากภาพที่เกิดเป็ นภาพเสมือน ต้องใช้ s , y , m มีค่าเป็ น –

15. ถ้าวัตถุเคลื่อนที่จาก 2F ไป F ทางด้าน A เมื่อ F ในรู ปเป็ นจุดโฟกัสของเลนส์ ภาพที่


เกิดขึ้นบนด้าน R จะเคลื่อนที่จากที่ใดไปที่ใด
1. 2F ไป F A
2. 2F ไประยะอนันต์
3. F ไป 2F 2F F F 2F
4. F ไปเลนส์

16(แนว มช) เมื่อต้องการดูของที่มีขนาดเล็กเรามักจะใช้ “ แว่นขยาย ” ซึ่งทาด้วยเลนส์ นูน


เพราะภาพที่เกิดจากการวางวัตถุไว้หน้าเลนส์นูนนั้น
1. มีขนาดใหญ่กว่าวัตถุเสมอ
2. เป็ นภาพเสมือนเสมอ
3. เป็ นภาพจริ งหรื อภาพเสมือน และมีขนาดใหญ่กว่าวัตถุเสมอ
4. เป็ นภาพเสมือนขนาดใหญ่กว่าวัตถุที่ระยะวัตถุช่วงหนึ่ง

14
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
17. วางวัตถุไว้หน้าเลนส์นูนซึ่ งมีความยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร เป็ นระยะ 10 เซนติเมตร
ภาพที่เกิดขึ้นจะเป็ น
1. ภาพจริ งหัวกลับ อยูห่ ลังเลนส์เป็ นระยะ 10 เซนติเมตร
2. ภาพจริ งหัวตั้ง อยูห่ ลังเลนส์เป็ นระยะ 10 เซนติเมตร
3. ภาพเสมือนหัวตั้ง อยูห่ น้าเลนส์เป็ นระยะ 10 เซนติเมตร
4. ภาพจริ งหัวกลับ อยูห่ ลังเลนส์เป็ นระยะ 103 เซนติเมตร

18. วางวัตถุไว้หน้าเลนส์เว้าห่างจากเลนส์ 15 เซนติเมตร เกิดภาพห่างจากเลนส์ 10 เซนติเมตร


จงหาความยาวโฟกัสของเลนส์เว้ามีขนาดกี่เซนติเมตร
1. –30 2. +30 3. – 40 4. +40

19. เลนส์เว้ามีความยาวโฟกัส 20 เซนติเมตร จะต้องวางวัตถุไว้ที่ตาแหน่งกี่เซนติเมตร จึงจะ


ให้ภาพมีขนาด 41 เท่าของวัตถุ
1. 20 2. 30 3. 50 4. 60

15
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
20. วัตถุสูง 6 เซนติเมตร อยูห่ ่ างจากเลนส์ นูน 12.0 เซนติเมตร ถ้าเลนส์ มีความยาวโฟกัส
6.0 เซนติเมตร ขนาดของภาพมีความสู งกี่เซนติเมตร

11.6 ความสว่ าง
ความสว่างบนพื้นผิวใด ๆ สามารถคานวณหาค่าได้ จากสมการ
E = AF หรือ E = I2
R
2
เมื่อ E คือความสว่าง (ลูเมน/เมตร . ลักซ์ )
F คืออัตราการให้พลังงานแสง หรื อ ฟลักซ์ส่องสว่าง (ลูเมน)
[ ปริ ม าณพลั ง งานแสงที่ ส่ องออกมาจากแหล่ ง กาเนิ ด ต่ อ หนึ่ ง หน่ ว ย เวลา ]
A คือพื้นที่รับแสง (เมตร2)
I คือความเข้มของการส่ องสว่าง (แคนเดลลา)
[ ความสามารถในการเปล่ ง แสงออกจากแหล่ ง กาเนิ ด ]
R คือระยะจากแหล่งกาเนิดแสงวัดมาตั้งฉากกับพื้นที่ ( เมตร )

21. หลอดฟลูออเรสเซนต์ 1 หลอด ให้อตั ราพลังงานแสงได้ 2500 ลูเมน ความสว่างจาก


หลอดไฟ 4 หลอด บนโต๊ะพื้นที่ 5 ตารางเมตร มีค่าเป็ นเท่าไร
1. 1080 ลักซ์ 2. 880 ลักซ์ 3. 2000 ลักซ์ 4. 2540 ลักซ์

16
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
22. พลังงานแสงเท่ากับ 1000 ลูเมน เมื่อใช้ไประยะหนึ่ งประสิ ทธิ ภาพของหลอดใน การให้
พลังงานแสงเหลื อเพี ยง 60% ถ้าต้องการฉายภาพให้มีค วามสว่างเฉลี่ ยบนจอ 300 ลัก ซ์
ภาพที่ฉายจะมีขนาดใหญ่มากที่สุดได้กี่ตารางเมตร
1. 4 2. 14 3. 20 4. 2

23. เครื่ องฉายภาพยนตร์ เครื่ องหนึ่งให้ความสว่างเฉลี่ยบนจอ 300 ลักซ์ เมื่อฉายที่ระยะห่าง


จากจอ 5 เมตร ถ้าเลื่อนเครื่ องฉายไปเป็ น 2 เท่าของระยะเดิม ความสว่างบนจอจะเป็ นเท่าใด
1. 65 ลักซ์ 2. 70 ลักซ์ 3. 75 ลักซ์ 4. 80 ลักซ์

11.7 แสงสี และการผสมสี


แสงสี ปฐมภูมิ คือ แสงสี พ้ืนฐานซึ่ งมี 3 สี ได้
แก่ แสงสี แดง แสงสี เขียว และแสงสี น้ าเงิน เมื่อนา
แสงสี ปฐมภูมิมาผสมกัน จะเกิดเป็ นสี อื่นๆ อีก ดังนี้
แสงสี แดง + แสงสี น้ าเงิน ได้ แสงสี แดงม่วง
แสงสี แดง + แสงสี เขียว ได้ แสงสี เหลือง
แสงสี น้ าเงิน + แสงสี เขียว ได้ แสงสี น้ าเงินเขียว
ทั้ง 3 แสงสี ปฐมภูมิรวมกัน จะได้แสงขาว
17
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
สาหรับการมองเห็นวัตถุเป็ นสี ต่างๆ นั้น เกิ ดจากการที่วตั ถุ สะท้อนแสงสี น้ ันๆ ออกมา
เข้าตาเรา ตัวอย่างเช่น วัตถุสีแดง
ถ้าเรามองเห็นวัตถุมีสีแดง แสดงว่าวัตถุน้ นั สะท้อน น ้ าเงิ น
เขียว
แสงสี แดงออกมาเข้าตาเรา ส่ วนแสงสี อื่นๆ จะถูกดูดกลืน แดง
หมดดังแสดงในแผนภาพ
ถ้าเรามองเห็นวัตถุมีสีเหลือง แสดงว่าวัตถุน้ นั
สะท้อนแสงสี แดงและเขียวออกมาเข้าตาเรา แล้วแสงสี ท้ ังสองเกิ ดการผสมรวมกันเป็ นแสงสี
เหลือง ส่ วนแสงสี น้ าเงินจะถูกดูดกลืน
ถ้าเรามองเห็นวัตถุมีสีขาว แสดงว่าวัตถุน้ นั สะท้อนแสงทุกสี ออกมาเข้าตาเรา แล้วแสงสี
ทั้งหมดเกิดการผสมรวมกันเป็ นแสงสี ขาว
ส่ วนการที่ เรามองเห็ น วัต ถุ เป็ นสี ด า เป็ นเพราะวัตถุ น้ ั น ดู ด กลื น แสงทุ ก สี จึงไม่ มี แ สง
สะท้อนมาเข้าตาเรา เราจึงมองเห็นวัตถุน้ นั มืดดานัน่ เอง

24. วัตถุหนึ่งมีสีเหลืองภายใต้แสงอาทิตย์ ถ้านาวัตถุน้ี มาไว้ในห้องที่มีแต่แสงสี น้ าเงิน จะ


ปรากฏเป็ นสี อะไร
1. เขียว 2. น้ าเงิน 3. เหลือง 4. ดา

25(แนว En) นาย ก. สวมหมวกสี เขียว เสื้ อสี ขาว กางเกงสี แดง เมื่อฉายแสงสี เขียว ตกกระทบ
นาย ก. จะเห็นเขาแต่งตัวอย่างไร
1. หมวกสี เขียว เสื้ อสี เขียว กางเกงสี ดา
2. หมวกสี เขียว เสื้ อสี เขียว กางเกงสี เขียว
3. หมวกสี ขาว เสื้ อสี เขียว กางเกงสี เหลือง
4. หมวกสี ขาว เสื้ อสี เขียว กางเกงสี เขียว

18
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
เฉลยบทที่ 11 แสงและทัศ นอุ ป กรณ์
1. ตอบข้ อ 1. 2. ตอบข้ อ 3. 3. ตอบข้ อ 3. 4. ตอบข้ อ 2.
5. ตอบข้ อ 2. 6. ตอบข้ อ 4. 7. ตอบข้ อ 1. 8.ตอบข้ อ 3.
9. ตอบข้ อ 3. 10. ตอบข้ อ 4. 11. ตอบข้ อ 2. 12. ตอบข้ อ 2.
13. ตอบข้ อ 1. 14. ตอบข้ อ 2. 15. ตอบข้ อ 2. 16. ตอบข้ อ 4.
17. ตอบข้ อ 1. 18. ตอบข้ อ 1. 19. ตอบข้ อ 4. 20. ตอบ 6
21. ตอบข้ อ 3. 22. ตอบ ข้ อ 4. 23. ตอบข้ อ 3. 24. ตอบข้ อ 4.
25. ตอบข้ อ 1.


19
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
ตะลุ ย ข้ อ สอบเข้ า มหาวิ ท ยาลัย
บทที่ 11 แสงและทัศ นอุ ป กรณ์ ชุ ด ที่ 1
11.1 การเคลือ่ นที่ และอัตราเร็วของแสง
11.2 การสะท้ อนแสงของแสง
11.2.1 กฎการสะท้อนของแสง
11.2.2 ภาพทีเ่ กิดจากกระจกเงาราบ
11.2.3 ภาพทีเ่ กิดจากกระจกเงาทรงกลม
1(มช 40) วางวัตถุอนั หนึ่ งไว้ดา้ นหน้ากระจกเว้า ณ.ตาแหน่งจุดศูนย์กลางความโค้งของกระจก
เว้า ( C ) ถ้าหากเลื่อนวัตถุ น้ ี ไปในทิศทางเข้าใกล้จุดโฟกัสของกระจกเว้านี้ ภาพที่เห็นจะมี
ลักษณะเป็ น
1. ภาพเสมือน ขนาดใหญ่กว่าเมื่อวางวัตถุที่ C
2. ภาพเสมือน ขนาดเล็กกว่าเมื่อวางวัตถุที่ C
3. ภาพจริ ง ขนาดใหญ่กว่าเมื่อวางวัตถุที่ C
4. ภาพจริ ง ขนาดเล็กกว่าเมื่อวางวัตถุที่ C
2(แนว Pat ) ปูนปั้ นทรงกลมลูกหนึ่ งมีแผ่นสแตนเลสหุ ้มอยู่ แผ่นสเตนเลสมีผิวเรี ยบมากและ
สะท้อนแสงได้ดีเหมือนกระจกนูน ถ้าเรายื นห่ างจากปูนปั้ นลูกนี้ มากกว่าระยะสองเท่าของ
ความยาวโฟกัสของกระจกนูนนี้ เราจะเห็นภาพของตนเองในกระจกเป็ นอย่างไร
1. ผอมลงและยืนหัวตั้ง 2. อ้วนขึ้นและยืนหัวตั้ง
3. ผอมลงและยืนหัวกลับ 4. อ้วนขึ้นและยืนกลับหัว
3(En43 มี.ค.) ถ้าวางวัตถุไว้หน้าทัศนอุปกรณ์
วัตถุ
อย่างง่ายชนิดหนึ่ง จะได้ภาพจริ งหัวกลับ
ขนาดขยายใหญ่กว่าวัตถุดงั รู ป ทัศนอุป- ทัศนอุปกรณ์
กรณ์อย่างง่ายนี้คือ
ภาพ
1. กระจกนูน 2. กระจกเว้า
3. เลนส์นูน 4. เลนส์เว้า

20
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
4(มช 35) คากล่าวต่อไปนี้ขอ้ ใดเป็ นจริ ง
1. ภาพของวัตถุจริ งที่เกิดจากกระจกเว้า จะเป็ นภาพจริ งเสมอ
2. ภาพของวัตถุจริ งที่เกิดจากกระจกเว้า จะมีขนาดโตกว่าวัตถุเสมอ
3. ภาพของวัตถุจริ งที่เกิดจากกระจกนูน จะเป็ นภาพเสมือนเสมอ
4. ภาพเสมือนที่เกิดจากกระจกนูน จะมีขนาดโตกว่าวัตถุเสมอ
5(แนว Pat) กระจกเว้าให้ภาพหัวตั้งขนาดเป็ น 4 เท่าของวัตถุ เมื่อระยะวัตถุเป็ น 30 เซนติ-
เมตร ความยาวโฟกัสของกระจกเว้าบานนี้ เท่ากับกี่เซนติเมตร
1. +10 2. +20 3. +30 4. +40
6(En43 ต.ค.) นาวัตถุมาวางด้านหน้าของกระจกเว้าที่มีรัศมีความโค้ง 35.00 เซนติเมตร โดยวาง
ห่างจากกระจกเป็ นระยะที่ทาให้เกิดภาพจริ งขนาดใหญ่เป็ น 2.5 เท่าของวัตถุ อยากทราบว่า
วัตถุห่างจากกระจกเป็ นระยะเท่าไร
1. 10.50 เซนติเมตร 2. 12.25 เซนติเมตร
3. 21.00 เซนติเมตร 4. 24.50 เซนติเมตร
7(แนว Pat2) วางวัตถุอนั หนึ่งไว้หน้ากระจกเว้าที่มีความยาวโฟกัส 4.0 เซนติเมตร โดยอยู่
ห่างจากกระจกเว้า 2.0 เซนติเมตร ถ้าภาพที่เกิดขึ้นมีความสู ง 2.0 เซนติเมตร วัตถุน้ี มีความ
สู งกี่เซนติเมตร
8(En48 มี.ค.) วางดินสอตรงยาว 70.0 เซนติเมตร ตามแนวแกนมุขสาคัญของกระจกโค้งนูนที่
มีขนาดความยาวโฟกัส 40.0 เซนติเมตร ปลายด้านใกล้ของดิ นสออยู่ห่างจากกระจกเป็ น
ระยะทาง 10.0 เซนติเมตร จงหาความยาวของภาพดินสอ
1. 8.0 เซนติเมตร 2. 18.7 เซนติเมตร
3. 26.7 เซนติเมตร 4. 34.7 เซนติเมตร

11.3 การหักเหของแสง
11.3.1 กฎการหักเหของแสง
9(En41 ต.ค.) แสงความยาวคลื่ นในอากาศ 525 นาโนเมตร เมื่ อเคลื่ อนที่ ผ ่านไปในแก้วที่ มี
ดัชนี หกั เห 1.50 จงหาความยาวคลื่ นแสงในแก้วในหน่วยนาโนเมตร ( ให้ ดัชนีหักเหของ
แสงในอากาศ = 1 )
1. 100 2. 150 3. 300 4. 350
21
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
10(En48 มี.ค.) แสงในตัวกลาง A ซึ่ งมีค่าดรรชนี หกั เห 1.50 มีความยาวคลื่นเป็ น 500 นาโน-
เมตร เมื่อเดินทางไปในตัวกลาง B มีความยาวคลื่นเป็ น 450 นาโนเมตร จงหาค่าดรรชนี
หักเหของตัวกลาง B
1. 1.35 2. 1.45 3. 1.54 4. 1.67
11(แนวA–net) แสงความถี่ 5 x 1014 เฮิรตซ์ ในเส้นใยนาแสงมีความยาวคลื่นในเนื้ อเส้นใย
เท่ากับ 4.50 x 10–7 เมตร จงหาค่าดรรชนีหกั เหของเนื้ อเส้นใยนาแสงนี้
1. 1.22 2. 1.33 3. 1.52 4. 1.89
12(En43 มี.ค.) ถ้ามีรังสี ของแสงในอากาศ ตกกระทบผ่านด้านข้างของขวดแก้วและผ่านเข้าใน
ของเหลวที่บรรจุไว้โดยดรรชนี หกั เหของของเหลวเท่ากับ 1.25 มุมตกกระทบบนแก้วเท่ากับ
30o จะได้ค่าของมุมที่แสงหักเหที่รอยต่อระหว่างผิวแก้วกับของเหลวเท่ากับเท่าใด
1. arc sine(0.25) 2. arc sine (0.4)
3. arc sine(0.5) 4. arc sine (0.8)
13(En 40) จากการทดลองเรื่ องการหักเหของแสงพบว่าถ้าใช้มุมตกกระทบในอากาศเท่ากับ 60
องศา จะเกิ ดมุมหักเหในของเหลวชนิ ดหนึ่ ง 30 องศา ถ้าเปลี่ ยนของเหลวเป็ นชนิ ดที่สอง
และใช้มุมตกกระทบในอากาศเท่าเดิม พบว่ามุมหักเหใหม่มีค่า 45 องศา ค่าดัชนี หกั เหของ
ของเหลวชนิดที่หนึ่งเป็ นกี่เท่าของดัชนีหกั เหของของเหลวชนิ ดที่สอง
1. 0.7 2. 1.4 3. 1.5 4. 1.7

11.3.2 การสะท้อนกลับหมดของแสง
14(En 37) มุมวิกฤติ ( C ) ของแสงที่เดินทางจากแก้วซึ่ งมี ค่ าดรรชนี หัก เห 1.5 ไปยัง น้ าซึ่ ง
มีค่าดรรชนีหกั เห 1.3 มีค่าเท่ากับเท่าใด
1. sin–1(0.65) 2. sin–1(0.76) 3. sin–1(0.87) 4. sin–1(0.92)
15(En 38) มุมวิกฤติสาหรับสารโปร่ งใสชนิดหนึ่งในอากาศมีค่าเท่ากับ 45 องศา ความเร็ ว แสง
ในสารโปร่ งใสนี้มีค่าเท่าใด ( ให้ความเร็ วแสงในอากาศ = 3.0 x 108 เมตร/วินาที )
1. 2.1 x 108 เมตร/วินาที 2. 2.4 x 108 เมตร/วินาที
3. 2.7 x 108 เมตร/วินาที 4. 3.0 x 108 เมตร/วินาที

22
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
16(En42 ต.ค.) มุมวิกฤติต่อแสงในของเหลวชนิดหนึ่งมีค่าเท่ากับ 60 องศา ความยาวคลื่น
ของแสงนั้นในของเหลวจะเป็ นกี่เท่าของความยาวคลื่นในอากาศ
1. 22 2. 23 3. 2 4. 12
17(แนว Pat2) แสงเลเซอร์ ตกกระทบผนังด้านบนภายในวัสดุชนิดหนึ่งที่มีดชั นี หักเห 53 ด้วย
มุมตกกระทบ 60o ดังรู ป ถ้าวัสดุน้ ีอยูใ่ นอากาศ แสงเลเซอร์ จะออกจากวัสดุน้ี เป็ นครั้งแรก
ที่ตาแหน่งใด A

1. A 60o
2. B B
3. C n = 1.5
4. สะท้อนอยูภ่ ายในไม่ออกมา C

11.3.3 ความลึกจริง ความลึกปรากฏ


18(แนว Pat2) ชายคนหนึ่ งมองปลาในน้ าตามแนวดิ่ง เห็นภาพของปลาสู งจากตาแหน่ งของ
ปลา 10 เซนติเมตร ตาแหน่งภาพที่เขามองเห็นอยูห่ ่ างจากผิวน้ ากี่เซนติเมตร กาหนดให้
ดัชนีหกั เหของน้ าเท่ากับ 4 / 3 และดัชนีหกั เหของอากาศเท่ากับ 1

19(แนวA–net ) เลนส์นูนมีความยาวโฟกัส 60 เซนติเมตร


ถ้านาเลนส์น้ ีไปวางบนแท่งพลาสติกใสรู ปสี่ เหลี่ยม เมื่อ
แสงจากดวงไฟส่ องลงในแนวดิ่ง แสงจะรวมกันเป็ น
จุดซึ่งต่ากว่าผิวบนของแท่งพลาสติกเท่าใด ถ้าดรรชนี
หักเหของพลาสติกเป็ น 1.5
1. 36 เซนติเมตร 2. 125 เซนติเมตร
3. 120 เซนติเมตร 4. 90 เซนติเมตร

11.4 ปรากฏการณ์ เกีย่ วกับแสง


11.4.1 การกระจายของแสง
23
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.5 เลนส์ บาง
20(แนวA–net) ข้อใดคือภาพที่เกิดโดยเลนส์นูนในรู ป
1. ภาพหัวตั้ง ขนาดโตขึ้น f
2. ภาพหัวกลับ ขนาดโตขึ้น
3. ภาพหัวตั้ง ขนาดเล็กลง
4. ภาพหัวกลับ ขนาดเล็กลง 2f
21(แนวPat2 ) มองยอดหน้าผาที่อยูไ่ กลออกไป 100 เมตร ผ่านเลนส์นูน
ความยาวโฟกัส 0.15 เมตร และให้เลนส์อยูห่ ่างจากตา 0.60 เมตร
ถ้าภาพยอดหน้าผาเมื่อมองด้วยตาเปล่าเป็ นดังนี้ ภาพยอดหน้าผาที่เห็น
ผ่านเลนส์จะเป็ นดังข้อใด

1. 2. 3. 4.

22(แนว Pat2) วางวัตถุไว้หน้าเลนส์นูนที่มีความยาวโฟกัส 4.0 เซนติเมตร โดยวางที่


ตาแหน่ง 20 เซนติเมตรหน้าเลนส์ วัตถุกบั ภาพอยูห่ ่างกันกี่เซนติเมตร
23(แนว Pat) วางวัตถุ ห่ างจากเลนส์ A เป็ นระยะทาง 15 เซนติเมตร ได้ภาพเสมือนขนาด
ใหญ่กว่าวัตถุ 4 เท่า เลนส์ A ควรจะเป็ นเลนส์ชนิดใด มีความยาวโฟกัสเท่าไร
1. เลนส์นูน f = 20 เซนติเมตร 2. เลนส์นูน f = 10 เซนติเมตร
3. เลนส์เว้า f = 20 เซนติเมตร 4. เลนส์เว้า f = 10 เซนติเมตร
24(แนว Pat2) วางวัตถุห่างจากเลนส์บาง 20 cm เกิดภาพหัวตั้งขนาดเป็ น 2 เท่าของวัตถุ ข้อใด
กล่าวถูกต้องเกี่ยวกับเลนส์น้ ี
1. เป็ นเลนส์เว้า ทางยาวโฟกัส 40 cm 2. เป็ นเลนส์นูน ทางยาวโฟกัส 40 cm
3. เป็ นเลนส์เว้า ทางยาวโฟกัส 20 cm 4. เป็ นเลนส์นูน ทางยาวโฟกัส 20 cm
25(En 35) เลนส์ นูนบางความยาวโฟกัส 15 เซนติเมตร วางวัตถุไว้หน้าเลนส์ ทาให้เกิ ดภาพ
เสมือนขนาด 3 เท่าของวัตถุ วัตถุและภาพอยูห่ ่างกันเท่าใด
1. 10 เซนติเมตร 2. 20 เซนติเมตร
3. 30 เซนติเมตร 4. 40 เซนติเมตร
24
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
26(แนว 9 สำมัญ) ในรู ป ก ลาแสงขนานเข้าหาระบบเลน์ไปโฟกัสที่จุด A ในรู ป ข. เลนส์ นูน
กับเลนส์ เว้าคู่เดิมสลับที่กนั ทาให้ลาแสงไปโฟกัสที่จุด B จงหาะระยะห่ างของเส้นประ
AB ในหน่วยเซนติเมตร

1. 0 2. 5 3. 10 4. 20 5. 30
27(En 36) เลนส์แว่นตาสาหรับคนสายตายาวทาหน้าที่ต่อผูใ้ ส่ แว่นตานั้นอย่างไร
1. ย้ายวัตถุที่ระยะ 25 ซม. จากตาไปไว้ที่ระยะใกล้สุดที่ตาเปล่ามองเห็นชัด
2. ย้ายวัตถุที่ระยะ 25 ซม. จากตาไปไว้ที่ระยะอนันต์
3. ย้ายวัตถุที่ระยะอนันต์มาไว้ที่ระยะใกล้สุดที่ตาเปล่ามองเห็นชัด
4. ย้ายวัตถุที่ระยะอนันต์มาไว้ที่ระยะไกลสุ ดที่ตาเปล่ามองเห็นชัด
28(แนว Pat2) ชายผูห้ นึ่งเห็นวัตถุได้ชดั เจนที่ระยะไกลสุ ด 2.50 เมตร เขาจะต้องสวมแว่น
ตาที่มีความยาวโฟกัสกี่เมตรเพื่อให้มองเห็นได้เหมือนคนปกติ
( ตอบเฉพาะตัวเลขไม่ตอ้ งระบุเครื่ องหมาย )
29(แนว 9 สำมัญ) ชายคนหนึ่ งสามารถมองเห็นวัตถุได้ไกลสุ ดเป็ นระยะทาง 1.0 เมตร ถ้าต้อง
การให้เขามองเห็นวัตถุเหมือนคนปกติ เขาจะต้องสวมแว่นที่ทาจากเลนส์ชนิ ดใด และความ
ยาวโฟกัสเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. เลนส์เว้า ความยาวโฟกัส 50 cm 2. เลนส์นูน ความยาวโฟกัส 50 cm
3. เลนส์เว้า ความยาวโฟกัส 100 cm 4. เลนส์นูน ความยาวโฟกัส 100 cm
5. เลนส์เว้า ความยาวโฟกัส 150 cm

25
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
30(En45 ต.ค.) แว่นขยายทาด้วยเลนส์นูนความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร ถ้าต้องการใช้ส่องดู
วัตถุเพื่อให้เห็นวัตถุใหญ่ข้ ึน ควรวางวัตถุให้ห่างจากเลนส์เท่าใด
1. 7 เซนติเมตร 2. 14 เซนติเมตร
3. 21 เซนติเมตร 4. 28 เซนติเมตร

11.6 ความสว่ าง
31(En 37) หลอดฉายภาพชนิดหนึ่งมีอตั ราการให้พลังงานแสงเท่ากับ 1,000 ลูเมน เมื่อใช้ไป
ระยะหนึ่งประสิ ทธิภาพของหลอดในการให้พลังงานแสงเหลือเพียง 80% ถ้าต้องการฉาย
ภาพให้มีความสว่างเฉลี่ยบนจอ 250 ลักซ์ ภาพที่ฉายจะมีขนาดใหญ่มากที่สุดได้กี่ตารางเมตร
1. 2.8 เมตร2 2. 3.2 เมตร2 3. 3.6 เมตร2 4. 4.0 เมตร2
32(En 38) ที่จุดศูนย์กลางของลูกโป่ งทรงกลมมีจุดก าเนิ ดแสงเล็กๆ ซึ่ งส่ งแสงออกไปรอบๆ เท่า
กันทุกทิ ศทางด้วยอัตราการให้พลังงานแสง 4 ลูเมน ถ้าลูกโป่ งขยายตัวโดยรัศมีเพิ ่มขึ้ น
จากเดิ มเป็ น 1.5 เท่า อัตราส่ วนของความสว่างที่ พ้ื นผิวภายในลู กโป่ งตอนขยายตัวแล้ว
เทียบกับตอนไม่ขยายตัวมีค่าเท่าใด
1. 0.33 2. 0.44 3. 0.66 4. 0.88
33(En 41) เครื่ องฉายภาพยนตร์ เครื่ องหนึ่งให้ความสว่างเฉลี่ยบนจอ 500 ลักซ์ เมื่อฉายที่
ระยะห่างจากจอ 10 เมตร ถ้าเลื่อนเครื่ องฉายไปเป็ น 1.5 เท่าของระยะเดิม ความสว่าง
บนจอจะเป็ นเท่าใด
1. 200 lux 2. 220 lux 3. 250 lux 4. 280 lux

11.7 แสงสี และการผสมสี


34(En 39) ดอกไม้ดอกหนึ่ งส่ องด้วยแสงสี ขาว เมื่อมองผ่านแผ่นกรองแสงสี แดงจะเห็นดอกไม้
เป็ นสี แดง ถ้ามองผ่านแผ่นกรองแสงสี เขียวจะเห็ นเป็ นสี เขียว ถ้ามองผ่านแผ่นกรองแสง
สี เหลืองจะเห็นเป็ นสี เหลืองดอกไม้ดอกนี้ มีสีอะไร
1. น้ าเงิน 2. แดง 3. เขียว 4. เหลือง

26
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
35(En45 มี.ค.) นาย ก. ชวนเพื่อนไปเที่ยวดิสโก้เธค เพื่อนของเขาสวมหมวกสี เขียว เสื้ อสี ขาวมี
ลายมังกรสี แดง ในดิ สโก้เธคใช้แสงสว่างจากหลอดไฟสี เขียว นาย ก. จะเห็ นเพื่อนของเขา
แต่งตัวอย่างไร
1. หมวกสี เขียว เสื้ อสี เขียว ลายมังกรสี ดา
2. หมวกสี เขียว เสื้ อสี เขียว ลายมังกรสี เขียว
3. หมวกสี ขาว เสื้ อสี เขียว ลายมังกรสี เหลือง
4. หมวกสี ขาว เสื้ อสี เขียว ลายมังกรสี เขียว



เฉลยตะลุ ย ข้ อ สอบเข้ า มหาวิ ท ยาลัย


บทที่ 11 แสงและทัศ นอุ ป กรณ์ ชุ ด ที่ 1

1. ตอบข้ อ 3. 2. ตอบข้ อ 1. 3. ตอบข้ อ 2. 4. ตอบข้ อ 3.


5. ตอบข้ อ 4. 6. ตอบข้ อ 4. 7. ตอบ 1.00 8. ตอบข้ อ 2.
9. ตอบข้ อ 4. 10. ตอบข้ อ 4. 11. ตอบข้ อ 2. 12. ตอบข้ อ 2.
13. ตอบข้ อ 2. 14. ตอบข้ อ 3. 15. ตอบข้ อ 1. 16. ตอบข้ อ 2.
17. ตอบข้ อ 2. 18. ตอบ 30.00 19. ตอบข้ อ 4. 20. ตอบข้ อ 2.
21. ตอบข้ อ 2. 22. ตอบ 25.00 23. ตอบข้ อ 1. 24. ตอบข้ อ 2.
25. ตอบข้ อ 2. 26. ตอบข้ อ 4. 27. ตอบข้ อ 1. 28. ตอบ 2.50
29. ตอบข้ อ 3. 30. ตอบข้ อ 1. 31. ตอบข้ อ 2. 32. ตอบข้ อ 2.
33. ตอบข้ อ 2. 34. ตอบข้ อ 4. 35. ตอบข้ อ 1.



27
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
บทที่ 12 แสงเชิงฟิ สิกส์
12.1 การแทรกสอดของแสง

เมื่อฉายแสงอาพันธ์ผา่ นแผ่นทึบแสงที่มีช่องแคบคู่อยู่ ( สลิตคู่ ) แสงที่ลอดผ่านช่องแคบ


คู่ไปนั้นจะสร้างคลื่นแสงใหม่ข้ ึนมา 2 แสง แล้วคลื่นแสงทั้งสองนั้นจะเกิดการแทรกสอดกัน
หลังแผ่นทึบแสงนั้น โดยจะมีแนวบางแนวแสงทั้งสองจะเข้ามาเสริ มกันทาให้มีความสว่าง
มากกว่าปกติ เรี ยกแนวนี้ วา่ แนวปฏิบัพ (Antinode,A) หรื อแถบสว่าง ซึ่ งจะมีอยูห่ ลายแนว
กระจายออกไปทั้งทางด้านซ้ายและด้านขวาอย่างสมมาตรกัน แถบสว่างที่อยูต่ รงกลางเราจะเรี ยก
เป็ นแถบสว่างที่ 0 ( A0) หรื อแถบสว่างกลาง ถัดออกไปจะเรี ยกแถบสว่างที่ 1 ( A1) , 2 ( A2) ,
3 ( A3) , .... ไปเรื่ อยๆ ทั้งทางด้านซ้ายและด้านขวาดังรู ป
แนวระหว่างแถบสว่าง คลื่นแสงจะเกิดการหักล้างกันทาให้มีความสว่างน้อยกว่าปกติ
เรี ยกแนวนี้วา่ เป็ นแนวบัพ ( Node , N ) หรื อแถบมืด แถบมืดแรกที่อยูถ่ ดั จากแถบสว่างกลาง (
A0 ) จะเรี ยกแถบมืดที่ 1 ( N1) ถัดออกไปจะเรี ยกแถบมืดที่ 2 ( N2) , 3 (N3) , ….. ไปเรื่ อยๆ
ทั้งทางด้านซ้ายและด้านขวาดังรู ป
หากนาฉากรับแสงไปรองรับแสงบริ เวณหลังสลิต เมื่อแสงที่เกิดการแทรกสอดแล้วมาตก
กระทบบนฉากจะทาให้เกิดเป็ นแถบสว่างและแถบมืดสลับกันไปบนฉากรับแสงนั้นดังรู ป
1
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
สมการทีใ่ ช้ คานวณเกีย่ วกับการแทรกสอดแสง
สาหรับแนวปฏิบัพ (An) (แถบสว่าง)
S1P – S2P = n 
d sin  = n 
 = nd Dx
สาหรับแนวบัพ (Nn) (แถบมืด)
S1P – S2P = (n – 12 )
d sin  = (n – 12 )
 = d 1x
(n  2 ) D
เมื่อ P คือจุดซึ่ งอยูบ่ นแถบสว่างหรื อแถบมืดลาดับที่ n
S1 คือจุดเกิดคลื่นลูกที่ 1 (ช่องแคบที่ 1 ) S2 คือจุดเกิดคลื่นลูกที่ 2 (ช่องแคบที่ 2)
S1P คือระยะจาก S1 ถึง P ( เมตร ) S2P คือระยะจาก S2 ถึง P ( เมตร )
 คือความยาวคลื่น ( เมตร ) d คือระยะห่ างจาก S1 ถึง S2 ( เมตร )
D คือระยะจากสลิตถึงฉากรับแสง ( เมตร )
 คือมุมที่วดั จากแถบสว่างกลางถึงแถบสว่างหรื อแถบมืดที่ n
x คือระยะจากแถบสว่างกลางถึงแถบสว่างหรื อแถบมืดที่ n บนฉากรับแสง ( เมตร )
n คือลาดับที่ของแถบสว่างหรื อแถบมืดซึ่ งจุด P อยูบ่ นนั้น หรื อที่วดั มุม  ไปถึง
หรื อที่วดั ความยาว x ไปถึง
1. เมื่อฉายแสงที่มีความยาวคลื่น 700 นาโนเมตร ตกตั้งฉากบนช่องแคบคูห่ นึ่งซึ่ งห่างกัน 0.2
มิลลิเมตร จงหาว่าแถบสว่างลาดับที่ 10 ทั้งสองด้านจะทามุมกันกี่องศา (sin 2o = 0.035)
1. 2 องศา 2. 3 องศา 3. 4 องศา 4. 8 องศา

2
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
2. สลิตคู่ห่างกัน 0.03 มิลลิเมตร วางห่างจากฉาก 2 เมตร เมื่อฉายแสงผ่านสลิต ปรากฏว่า
แถบสว่างลาดับที่ 5 อยูห่ ่างจากแถบกลาง 14 เซนติเมตร ความยาวคลื่นของแสงเป็ นกี่
นาโนเมตร
1. 320 2. 380 3. 420 4. 480

3. สลิตคู่มีระยะห่ างระหว่างช่องสลิตเท่ากับ 0.40 มิลลิเมตร เมื่อส่ องด้วยแสงสี เดียวและเป็ น


แสงอาพันธ์ในแนวตั้งฉาก ปรากฏริ้ วการแทรกสอดบนฉากที่อยูห่ ่างจากสลิต 2.50 เมตร
วัดระยะระหว่างแถบสว่างลาดับถัดกันได้เท่ากับ 3.50 มิลลิเมตร แสงนี้ มีความยาวคลื่นกี่
เมตร
1. 2.60 x 10–7 2. 3.20 x 10–7 3. 4.80 x 10–7 4. 5.60 x 10–7

4. สลิตคู่ห่างกัน 1 ไมโครเมตร มีแสงความยาวคลื่น 550 นาโนเมตร ผ่านในแนวตั้งฉาก


จงหามุมที่แถบมืดแรกเบนออกจากแนวกลาง
1. sin–1 0.275 2. sin–1 0.375 3. sin–1 0.460 4. sin–1 0.500

3
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
5. เมื่อให้ลาแสงขนานแสงสี เดียว ความยาวคลื่น  ตกตั้งฉากกับสลิตคู่ซ่ ึ งมีระยะห่ างระหว่าง
ช่ องสลิ ตเป็ น d แล้วจะเกิ ดภาพการแทรกสอดขึ้ นบนฉากที่ อยู่ห่างจากสลิ ตเป็ นระยะ D
จงหาระยะระหว่างแถบสว่างกลางกับแถบมืดที่สอง
1. λdD 2. 23 λdD 3. 2 λdD 4. 25 λdD

12.2 การเลีย้ วเบนของแสง


เมื่อฉายแสงผ่านแผ่นทึบแสงซึ่ ง
มี 1 ช่องแคบ ( สลิตเดี่ยว ) เมื่อแสง
ลอดผ่านช่องแคบไปแล้ว จะเกิดการ
เลี้ยวเบนโดยแถบสว่างกลางจะมีความ
กว้างมากและถัดออกไป จะมีแถบมืด
กับแถบสว่างสลับกันไป แถบมืดแรก
ที่อยูถ่ ดั จากแถบสว่างกลาง จะเรี ยก
แถบมืดที่ 1 ( N1 ) ถัดไปจะเป็ นแถบ
มืดที่ 2 ( N2 ) , 3 ( N3 ) ไปเรื่ อยๆ
สมการทีใ่ ช้ คานวณเกีย่ วกับแนวบัพของการเลีย้ วเบน
d sin  = n 
และ  = nd D x
เมื่อ d คือความกว้างของช่องสลิตเดี่ยว ( เมตร )
 คือความยาวคลื่น ( เมตร )
 คือมุมที่วดั จากแถบสว่างกลางถึงแถบมืดที่ n
D คือระยะจากสลิตถึงฉากรับแสง ( เมตร )
x คือระยะจากแถบสว่างกลางถึงแถบมืดที่ n บนฉากรับแสง ( เมตร )
n คือลาดับที่ของแถบมืดซึ่งวัด x ไปถึง หรื อวัด  ไปถึง
4
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
6. เมื่อให้แสงมีความยาวคลื่น 640 นาโนเมตร ผ่านช่องแคบเดี่ยว และต้องการให้แถบมืดแรก
เบนจากแนวกลาง 30o จงหาความกว้างของช่องแคบนี้ในหน่วยไมโครเมตร
1. 0.64 2. 1.28 3. 640 4. 1280

7. แสงความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร ตกตั้งฉากผ่านสลิ ตเดี่ยวที่มีความกว้าง 0.01 เซนติ-


เมตร จงหาระยะห่ างระหว่างแถบมืดลาดับที่ 1 ซึ่ งอยู่สองข้างของแถบสว่างที่ปรากฏบน
ฉากซึ่งอยูห่ ่างออกไป 1.5 เมตร
1. 0.75 x 10–2 เมตร 2. 1.5 x 10–2 เมตร
3. 3.0 x 10–2 เมตร 4. 6.0 x 10–2 เมตร

8. เมื่อฉายแสงความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ตกตั้งฉากกับสลิ ตเดี่ ยว จะปรากฏภาพการ


แทรกสอดบนฉากที่ห่างออกไปจากสลิต 1.5 เมตร และแถบสว่างกลางกว้าง 2 เซนติเมตร
จงหาความกว้างของสลิตนี้ ในหน่วยไมโครเมตร
1. 10 2. 30 3. 60 4. 90

5
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
12.3 เกรตติง
เกรตติงเป็ นแผ่นทึ บแสงซึ่ งประกอบด้วยช่ องขนาดเล็กจานวนมากมายที่ เล็กจนมอง
ด้วยตาเปล่าไม่เห็น จานวนช่องของเกรตติงอาจมีต้ งั แต่ 1000 ถึง 10000 ช่องในช่วงความยาว
1 เซนติเมตร โดยช่องมีขนาดแคบมากและอยูห่ ่างเท่าๆ กัน
ปกติแล้วเมื่อแสงผ่านเกรตติงออกไป จะทาให้เกิดทั้งการแทรกสอดและเลี้ ยวเบนขึ้น
ควบคู่กนั ไป โดยแถบสว่างของการเลี้ยวเบนจะมีความกว้างมาก ส่ วนแถบสว่างและแถบมืดของ
การแทรกสอดจะมีขนาดเล็กแทรกอยูภ่ ายในแถบสว่างของการเลี้ยวเบนนั้น

ความสว่ างทีเ่ กิดจากการ ความสว่ างทีเ่ กิดจากการ


เลีย้ วเบนโดยสลิตเดีย่ ว แทรกสอดโดยสลิตคู่

การคานวณเกี่ยวกับแถบสว่าง ( An ) ของการแทรกสอด ยังคงใช้สมการเดิมคือ


d sin  = n 
 = nd Dx
เมื่อ  คือความยาวคลื่น ( เมตร )
d คือระยะห่ างจาก S1 ถึง S2 ( เมตร )
เราหาค่า d ได้จาก
d= ความยาวเกรตติง
จานวนช่องในความยาวนัน
D คือระยะจากเกรตติงถึงฉากรับแสง ( เมตร )
 คือมุมที่วด
ั จากแถบสว่างกลางถึงแถบสว่างที่ n
x คือระยะจากแถบสว่างกลางถึงแถบสว่างที่ n บนฉากรับแสง ( เมตร )
n คือลาดับที่ของแถบสว่างที่วดั มุม  ไปถึง หรื อที่วดั ความยาว x ไปถึง
การคานวณเกี่ยวกับแถบมืด ( Nn ) ของการเลี้ยวเบนใช้สมการ
d sin  = n 
 = nd D x

6
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
เมื่อ d คือความกว้างของช่องสลิตเดี่ยว ( เมตร )
 คือความยาวคลื่น ( เมตร )
 คือมุมที่วดั จากแถบสว่างกลางถึงแถบมืดที่ n
D คือระยะจากเกรตติงถึงฉากรับแสง ( เมตร )
x คือระยะจากแถบสว่างกลางถึงแถบมืดที่ n บนฉากรับแสง ( เมตร )
n คือลาดับที่ของแถบมืดซึ่งวัด x ไปถึง หรื อวัด  ไปถึง
9(En 31) แสงสี ขาวที่ผา่ นเกรตติงที่มีจานวนช่ องเท่ากับ 120 ช่ องต่อความยาว 1 เซนติเมตร
ถ้าต้องการให้แสงสี เขียว ( ความยาวคลื่ น 500 นาโนเมตร ) เลี้ ยวเบนห่ างจากแถบสี ขาว
0.6 เซนติเมตร จะต้องวางฉากรับให้ห่างจากเกรตติงอย่างน้อยเป็ นระยะทางกี่เซนติเมตร
1. 50.0 2. 60.0 3. 66.7 4. 100.0

10. ใช้แสงที่มีความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร ส่ องผ่านเกรตติงอันหนึ่ งทาให้แถบสว่างที่ 2


เบนไปเป็ นมุม 30o จากแนวกลาง จงหาจานวนช่อง/เซนติเมตร ของเกรตติงนี้
1. 2500 2. 3000 3. 4500 4. 5000

11. เกรตติงอันหนึ่ งชนิด 4000 ช่อง/เซนติเมตร ถ้าให้แสงมีความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร


ส่ องผ่านจะเห็นแถบสว่างทั้งหมดกี่แถบ
1. 4 2. 5 3. 8 4. 9

7
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
เฉลยบทที่ 12 แสงเชิงฟิ สิกส์
1. ตอบข้ อ 3. 2. ตอบข้ อ 3. 3. ตอบข้ อ 4. 4.ตอบข้ อ 1.
5. ตอบข้ อ 2. 6. ตอบข้ อ 2. 7. ตอบข้ อ 2. 8. ตอบข้ อ 4.
9. ตอบข้ อ 4. 10. ตอบข้ อ 4. 11. ตอบข้ อ 4.


ตะลุยข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย
บทที่ 12 แสงเชิงฟิ สิกส์ ชุดที่ 2
12.1 การแทรกสอดของแสง
1(แนว Pat2) เมื่อฉายคลื่นแสงผ่านสลิตคู่ที่มีระยะระหว่างสลิต 2 x 10–4 เมตร ทาให้เกิด
แถบสว่างบนฉากที่วางอยูห่ ่างจากสลิต 80 เซนติเมตร โดยตาแหน่งของแถบสว่างลาดับที่ 2
อยูห่ ่างจากกึ่งกลางฉาก 4.0 มิลลิเมตร ความยาวคลื่นแสงนี้ มีค่ากี่นาโนเมตร
1. 400 2. 500 3. 600 4. 700
2(แนว 9 สามัญ) ฉายแสงตกกระทบสลิตคู่ (double slit) มีระยะห่างระหว่างช่อง 0.05 มิลลิเมตร
สังเกตเห็นการแทรกสอดบนฉากที่อยูห่ ่ างออกไป 1.5 เมตร พบว่าริ้ วสว่างที่ 2 ห่ างจากริ้ ว
สว่างกลาง 3 เซนติเมตร แสงที่ใช้มีความยาวคลื่นเท่ากับกี่นาโนเมตร
1. 300 2. 400 3. 500 4. 550 5. 600
3(แนว Pat2) นักเรี ยนคนหนึ่งทาการทด 4.0 cm
ลองการแทรกสอดของยัง ถ้าแสงที่ แถบสว่าง
ใช้มีความยาวคลื่น 650 นาโนเมตร (ส่วนที่แรเงา)
และระยะห่างระหว่างช่องแคบคู่กบั
ฉากเป็ น 2.0 เมตร วัดระยะห่างของ แถบมืด
แถบสว่างจากแนวกลางบนฉากได้ผล
ดังรู ป ช่องแคบคู่ที่ใช้มีระยะห่างระหว่างช่องเป็ นกี่มิลลิเมตร
1. 0.13 2. 0.26 3. 0.33 4. 0.65

8
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
4(En44 มี.ค.) จากการทดลองหาความยาวคลื่นของแสงสี หนึ่ง โดยวางฉากรับริ ้ วการแทรกสอด
ไว้ห่างจากแผ่นสลิตคู่เป็ นระยะทาง 120 เซนติเมตร และระยะห่างระหว่างสลิตทั้งสองเป็ น
0.03 มิลลิเมตร พบว่ามีแถบสว่าง-มืด เกิดขึ้นบนฉากหลายแถบ ถ้าวัดจากแถบสว่างที่หนึ่ง
ไปยังแถบสว่างที่หา้ พบว่ามีระยะห่างกัน 9.0 เซนติเมตร แสงสี น้ ี มีความยาวคลื่นเท่าใด ใน
หน่วยนาโนเมตร
1. 119.6 2. 256.6 3. 366.5 4. 562.5
5(En43 มี.ค.) ให้แสงที่มีความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร ผ่านสลิตคู่ในแนวตั้งฉาก เกิดลวดลาย
การแทรกสอดบนฉากที่อยูห่ ่ างจากสลิต 1.5 เมตร วัดระยะระหว่างกึ่งกลางของแถบสว่าง 2
แถบที่ถดั กันได้ 5 มิลลิเมตร สลิตคู่น้ ีมีระยะห่างระหว่างช่องสลิตเท่าใดในหน่วยมิลลิเมตร
1. 0.15 2. 0.25 3. 0.50 4. 0.75
6(En 37) แสงสี เหลืองความยาวคลื่น 590 ความเข้ม
นาโนเมตร เป็ นลาขนานฉายผ่านสลิตคู่ x
มีระยะระหว่างสลิต 250 ไมโครเมตร
แสงที่ตกบนฉากหลังสลิต ซึ่ งอยูห่ ่าง
สลิต 50 เซนติเมตร มีความเข้มดังรู ป
ระยะ x จะเป็ นเท่าใดในหน่วยมิลลิเมตร
1. 1.00 2. 1.12 3. 1.18 4. 2.00
7(En48 มี .ค.) สลิ ตคู่ ที่ มี ระยะระหว่างสลิ ตเป็ น 0.10 เซนติ เมตร ฉากอยู่ห่ างจากสลิ ตเป็ น
ระยะทาง 1.0 เมตร ระยะระหว่างแถบมืดที่อยูต่ ิดกันมีค่าเป็ น 0.5 มิลลิเมตร ความยาวคลื่น
แสงที่ใช้เป็ นเท่าใดในหน่วยนาโนเมตร
1. 100 2. 300 3. 400 4. 500
8. เมื่อให้ลาแสงขนานแสงสี เดียว ความยาวคลื่น  ตกตั้งฉากกับสลิตคู่ซ่ ึ งมีระยะห่ างระหว่าง
ช่ องสลิ ตเป็ น d แล้วจะเกิ ดภาพการแทรกสอดขึ้ นบนฉากที่ อยู่ห่างจากสลิ ตเป็ นระยะ D
จงหาระยะระหว่างแถบสว่างแถบแรกกับแถบมืดที่สาม
1. λdD 2. 23 λdD 3. 2 λdD 4. 25 λdD

9
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
12.2 การเลีย้ วเบนของแสง x = 6 mm
9(En42 ต.ค.) ใช้แสงความยาวคลื่น 400 นาโนเมตร
ตกตั้งฉากผ่านสลิตเดี่ยวที่มีความกว้างของช่องเท่า N1 N1
กับ 50 ไมโครเมตร จากการสังเกตภาพเลี้ ยวเบน
บนฉาก พบว่าแถบมืดแถบแรกอยูห่ ่างจากกึ่งกลาง
แถบสว่างกลาง 6.0 มิลลิเมตร ระยะระหว่าง d
สลิตเดี่ยวกับฉากเป็ นเท่าใดในหน่วยเซนติเมตร
1. 25 2. 50 3. 75 4. 100
10(En47 มี .ค.) แสงความยาวคลื่ น 600 นาโนเมตร ผ่านสลิ ตเดี่ ย วกว้าง 0.55 มิ ล ลิ เมตร ไป
ปรากฏเป็ นลวดลายการเลี้ ยวเบนบนฉาก อยากทราบว่าจะต้องวางฉากทางด้านหลังสลิตห่ าง
จากสลิตกี่เซนติเมตร จึงจะทาให้แถบมืดแถบแรกบนฉากห่ างจากจุดกึ่ งกลางเป็ นระยะ 2.4
มิลลิเมตร
1. 110 2. 220 3. 330 4. 440
11(แนว A–Net) แสงความยาวคลื่น 400 นาโนเมตร ฉายผ่านสลิตเดี่ยวในแนวตั้งฉากไปปรากฏ
เป็ นแถบสว่างมืดบนฉากที่ห่างออกไป 1 เมตร ถ้าแถบมืดสองข้างสว่างตรงกลางห่ าง
4.0 มิลลิเมตร ถามว่าสลิตเดี่ยวกว้างกี่ไมโครเมตร
1. 100 2. 200 3. 300 4. 400
12(แนว Pat2) แสงมี ความยาวคลื่ น 500 นาโนเมตร ตกตั้งฉากกับ สลิ ตเดี่ ยวที่ มี ความกว้าง
2 ไมโครเมตร ปรากฏภาพช่ องแคบที่ระยะห่ างออกไป 10 เซนติเมตร จงหาความกว้าง
ของแถบสว่างตรงกลางที่เกิดขึ้นในหน่วยเซนติเมตร
1. 2 2. 5 3. 7 4. 10
13(En 40) ถ้าต้องการให้ตาแหน่ งมืดแรกของการเลี้ ยวเบนผ่านสลิ ตเดี่ ยวเกิ ดตรงกับตาแหน่ ง
มื ดที่ ส ามของริ้ วจากการแทรกสอดของสลิ ตคู่ อยากทราบว่าจะต้องให้ระยะห่ างระหว่าง
ช่องสลิตคู่เป็ นกี่เท่าของความกว้างของสลิตเดี่ยว
1. 23 2. 25 3. 72 4. 92

10
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
12.3 เกรตติง
14(En 36) จากการทดลองเพื่อศึกษาสเปกตรัมของก๊าซไฮโดรเจน โดยใช้เกรตติงซึ่งมีจานวน
ช่อง/เซนติเมตร เท่ากับ 4500 ดังรู ป พบว่าเมื่อ x
ระยะ D เท่ากับ 1 เมตร จะมีแถบสว่างสี เดียว O
กันบนไม้เมตรห่ างจากจุด O ทั้งทางด้านซ้ายและ D
ขวาเท่ากันคือ 0.3 เมตร จงหาว่าแถบสว่างนั้น
มีความยาวคลื่นประมาณ เกรตติง
1. 464 นาโนเมตร 2. 565 นาโนเมตร
3. 632 นาโนเมตร 4. 667 นาโนเมตร
15(En 38) ในการทดลองเพื่อหาความยาวคลื่นของแสงโดยใช้เกรตติง เมื่อใช้แสงสี เดี ยวส่ อง
ผ่านเกรตติง จะสังเกตเห็ นแถบสว่างลาดับที่ 1 อยู่ ณ ตาแหน่ ง 10 และ 90 เซนติเมตร
บนไม้เมตร แถบสว่างทั้งสองนี้ ต่างก็อยูห่ ่ างจากเกรตติงเป็ นระยะทาง 1 เมตร ถ้าเกรตติงที่
ใช้มีจานวน 104 ช่องต่อความยาว 1 เซนติเมตร จงหาความยาวคลื่นของแสง
1. 550 นาโนเมตร 2. 500 นาโนเมตร
3. 450 นาโนเมตร 4. 400 นาโนเมตร
16(แนว A–net) ฉายลาแสงเลเซอร์ ความยาวคลื่น 625 นาโนเมตร ผ่านเกรตติงในแนวตั้งฉาก
เพื่อต้องการให้จุดสว่างอันดับที่หนึ่ งเบนจากแนวกลางประมาณ 30 องศา จะต้องเลือกใช้
เกรตติงซึ่ งมีจานวนกี่ช่องต่อมิลลิเมตร
1. 500 2. 650 3. 800 4. 940
17(แนว A–Net) แสงความยาวคลื่น 400 นาโนเมตร ตกกระทบเกรตติงอันหนึ่ งในแนวตั้งฉาก
พบว่าเส้นสเปกตรัมลาดับแรกเบนจากแนวกลางไป 30 องศา ถามว่าเส้นสเปกตรัมลาดับ
แรกเบนจากแนวกลางไป 45 องศา มีความยาวคลื่นกี่นาโนเมตร
1. 333 นาโนเมตร 2. 565 นาโนเมตร
3. 707 นาโนเมตร 4. 750 นาโนเมตร
18(En41 เม.ย.) แสงขาวตกตั้งฉากกับเกรตติง สเปกตรัมอันดับที่ 3 ของแสงสี ม่วงตรงกับ
สเปกตรัมลาดับที่ 2 ของแสงสี แดง ถ้าความยาวคลื่นของแสงสี ม ่วงเป็ น 440 นาโนเมตร
ความยาวคลื่นของแสงสี แดงเป็ นกี่นาโนเมตร
1. 450 2. 500 3. 600 4. 660
11
ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
19(มช 39) ในการทดลองเรื่ องแทรกสอดของแสง โดยใช้สลิตคู ส่ าหรับแสงสี เดียว A และสี
เดียว B พบว่าแถบมืดที่ 5 นับจากแถบสว่างกลางออกไปด้านข้างของแสง A ตกทับแถบ
สว่างอันดับที่ 4 ของแสง B พอดี จะหาค่าอัตราส่ วนของความยาวคลื่นแสง A ต่อความ
ยาวคลื่นแสง B ได้เท่ากับ
1. 4/5 2. 9/8 3. 5/4 4. 8/9
20(En47 ต.ค.) การแทรกสอดของแสงความยาวคลื่น 550 นาโนเมตร ที่ตกกระทบตั้งฉากกับ
เกรตติงแบบ 4000 เส้นต่อเซนติเมตรจะให้แถบสว่างบนฉากทั้งหมดกี่แถบ
1. 5 แถบ 2. 7 แถบ 3. 8 แถบ 4. 9 แถบ
21(แนว 9 สามัญ ) ฉายแสงเลเซอร์ ค วามยาวคลื่ น 600 nm ตกกระทบเกรตติ ง อย่างตั้ง ฉาก
25,000 ช่ องโดยมี ความยาว 2.5 เซนติเมตร แล้วผ่านไปกระทบฉาก จงหาว่าจะเกิ ดจุ ด
สว่างขึ้นบนฉากขึ้นกี่จุด
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4 5. 5


เฉลยตะลุยข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย
บทที่ 12 แสงเชิงฟิ สิกส์ ชุดที่ 2
1. ตอบข้ อ 2. 2. ตอบข้ อ 3. 3. ตอบข้ อ 2. 4. ตอบข้ อ 4.
5. ตอบข้ อ 1. 6. ตอบข้ อ 3. 7. ตอบข้ อ 4. 8. ตอบข้ อ 2.
9. ตอบข้ อ 3. 10. ตอบข้ อ 2. 11. ตอบข้ อ 2. 12. ตอบข้ อ 2.
13. ตอบข้ อ 2. 14. ตอบข้ อ 4. 15. ตอบข้ อ 4. 16. ตอบข้ อ 3.
17. ตอบข้ อ 2. 18. ตอบข้ อ 4. 19. ตอบข้ อ 4. 20. ตอบข้ อ 4.
21. ตอบข้ อ 3.



12

You might also like