You are on page 1of 38

สนามสอบ GAT-PAT

ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3)
วันที่ 31 ม.ค. 64 เวลา 13:00 - 16:00 น.
ข้อสอบโดย : สถาบันกวดวิชา OnDemand
ชื่อ-นามสกุล เลขที่นั่งสอบ
สถานที่สอบ ห้องสอบ

กรุณาอ่านค�ำอธิบายให้เข้าใจ ก่อนลงมือท�ำข้อสอบ
1. ลักษณะแบบทดสอบ ข้อสอบจ�ำนวน 70 ข้อ (คะแนนเต็ม 300 คะแนน)
2. ก่อนตอบค�ำถามให้เขียนชื่อ-นามสกุล เลขที่นั่งสอบ สถานที่สอบ และห้องสอบ
บนหน้าปกข้อสอบ
3. ให้เขียนชื่อ-นามสกุล ข้อมูลส่วนบุคคลและที่นั่งสอบในกระดาษค�ำตอบ
และตรวจสอบเลขที่นั่งว่าตรงกับบัตรประจ�ำตัวผู้เข้าสอบ
4. ใช้ดินสอด�ำเบอร์ 2B ระบายวงกลมตัวเลือกในกระดาษค�ำตอบให้เต็มวง
(ห้ามระบายนอกวง) ถ้าต้องการเปลี่ยนตัวเลือกใหม่ต้องลบให้สะอาดจน
หมดรอยด�ำแล้วจึงระบายวงกลมตัวเลือกใหม่
5. เมื่อสอบเสร็จให้วางกระดาษค�ำตอบไว้ด้าน บนข้อสอบ
6. ห้ามน�ำกระดาษค�ำตอบออกจากห้องสอบ
7. ไม่อนุญาตให้ผู้เข้าสอบออกจากห้องสอบก่อนหมดเวลาสอบ
8. ไม่อนุญาตให้ผู้คุมสอบเปิดอ่านข้อสอบ

เอกสารนี้เป็นลิขสิทธิ์ของบริษัท ออนดีมานด์ เอ็ดดูเคชัน จ�ำกัด


การท�ำซ�้ำ ดัดแปลง หรือเผยแพร่เอกสารดังกล่าว จะถูกด�ำเนินคดีตามกฎหมาย
ค�ำชี้แจง
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3)

รายละเอียดแบบทดสอบ จ�ำนวน 70 ข้อ คะแนนเต็ม 300 คะแนน


ตอนที่ 1 แบบปรนัย 5 ตัวเลือก เลือก 1 ค�ำตอบที่ถูกต้องที่สุด จ�ำนวน 60 ข้อ 240 คะแนน

ตอนที่ 2 แบบอัตนัย ระบายค�ำตอบที่เป็นค�ำตอบหรือตัวเลข จ�ำนวน 10 ข้อ 60 คะแนน


ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 3
วันที่ 31 ม.ค. 64 เวลา 13:00 - 16:00 น.

ตอนที่ 1 แบบปรนัย 5 ตัวเลือก เลือก 1 ค�ำตอบที่ถูกต้องที่สุด จ�ำนวน 60 ข้อ (ข้อ 1 - 60)


ข้อละ 4 คะแนน

1. ดึงตาชั่งสปริงผูกติดมวล m ขึ้นด้วยความเร่ง 2 m/s2 พบว่าตาชั่งสปริงอ่านค่าได้ 20 N


มวล m มีค่ากี่กิโลกรัม
1. 1 kg
2. 1.67 kg
3. 2 kg
4. 2.5 kg
5. 2.67 kg

2. กล่องหนัก 200 กิโลกรัม สูง 2 เมตร ฐานกว้าง 1 เมตร วางบนพื้นที่มีสัมประสิทธิ์


ความเสียดทานเท่ากับ 0.5 ออกแรงดึงกล่องที่ความสูง 1 เมตร และท�ำมุม 60 องศา
กับแนวดิ่ง จะออกแรงได้กี่นิวตัน กล่องจึงจะเริ่มเคลื่อนที่โดยที่กล่องไม่ล้ม
F
60˚

1m

1. 500 ถึง 1,000
2. 800 ถึง 1,000
3. 900 ถึง 1,150
4. 1,000 ถึง 1,200
5. 1,000 ถึง 1,250
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 4
วันที่ 31 ม.ค. 64 เวลา 13:00 - 16:00 น.

3. เด็กเล่นปืนอัดลมโดยเล็งไปที่เป้าในแนวขนานกับแนวราบห่างจากเป้า 10 เมตร กระสุนพุ่งออก


จากปลายกระบอกปืนด้วยอัตราเร็ว 80 m/s กระสุนจะพุ่งเข้าตรงเป้าหรือห่างจากจุดที่เล็ง
เท่าใด (ไม่คิดแรงต้านอากาศและความเร็วลม)
1. ตรงเป้าพอดี
2. สูงกว่าเป้า 7.8 cm
3. ต�่ำกว่าเป้า 7.8 cm
4. สูงกว่าเป้า 5.6 cm
5. ต�่ำกว่าเป้า 5.6 cm

4. รถแข่งคันหนึ่งเริ่มเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง 12 m/s2 เป็นเวลา 6 วินาที


จากนั้นเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วคงที่เป็นเวลา 2 นาที แล้วเหยียบเบรกเป็นเวลา 5 วินาที
รถจึงหยุด รถแข่งคันนี้เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วเฉลี่ยประมาณกี่กิโลเมตรต่อชั่วโมง
1. 120 km/hr
2. 156 km/hr
3. 180 km/hr
4. 212 km/hr
5. 248 km/hr
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 5
วันที่ 31 ม.ค. 64 เวลา 13:00 - 16:00 น.

5. มอเตอร์ไซค์คันหนึ่ง มีล้อขนาด 14 นิ้ว วิ่งด้วยอัตราเร็วแสดงตามหน้าปัด 50 km/hr


ถ้ามอเตอร์ไซค์คันเดิมเปลี่ยนขนาดล้อเป็น 12 นิ้ว และหน้าปัดแสดงอัตราเร็ว 50 km/hr
อัตราเร็วที่แท้จริงขอมอเตอร์ไซค์คันนี้มีค่าประมาณเท่าใด
1. 40 km/hr
2. 43 km/hr
3. 48 km/hr
4. 50 km/hr
5. 58 km/hr

6. วัตถุหนึ่งถูกแรงกระท�ำเป็นเวลา 10 วินาที เขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่างขนาดโมเมนตัม


กับเวลาได้ดังรูป จงหาแรงลัพธ์ที่เวลา 5 วินาที และ 9.5 วินาที ตามล�ำดับ
p (kg.m/s)

200

100

t (s)
4 8 12
-50

1. -25 N และ 25 N
2. 50 N และ 25 N
3. 25 N และ 50 N
4. 50 N และ -50 N
5. -50 N และ 50 N
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 6
วันที่ 31 ม.ค. 64 เวลา 13:00 - 16:00 น.

7. วัตถุเหมือนกัน 2 ก้อน มวล 50 kg ผูกต่อกันด้วยเชือกที่ทนแรงดึงได้มากสุด 100 นิวตัน


จะสามารถออกแรง F ลากวัตถุทั้งสองไปบนพื้นฝืดด้วยอัตราเร็วคงที่ได้มากสุดกี่นิวตัน
เชือกจึงจะไม่ขาด

เชือก
F

1. 100 N
2. 150 N
3. 200 N
4. 250 N
5. 300 N

8. นักแข่งมอเตอร์ไซค์ทดสอบสนามแข่งตอนเข้าโค้งที่มีรัศมีความโค้ง 90 เมตร แต่เขาต้องการ


เข้าโค้งด้วยความเร็วมากสุด 108 km/hr เขาจะต้องเอียงตัวท�ำมุมกี่องศากับแนวราบ
1. 30
2. 37
3. 45
4. 53
5. 60
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 7
วันที่ 31 ม.ค. 64 เวลา 13:00 - 16:00 น.

9. ปล่อยลูกบอลมวล 500 กรัม จากตึกสูง 10 เมตร ตกกระทบพื้น พบว่าลูกบอลกระดอนกลับขึ้น


มาได้สูงสุด 5 เมตร ขณะที่ลูกบอลกระทบพื้น ขนาดของการเปลี่ยนโมเมนตัมของลูกบอล
เท่ากับเท่าใด
1. 0 kg.m/s
2. 1.02 kg.m/s
3. 1.50 kg.m/s
4. 2.05 kg.m/s
5. 12.07 kg.m/s

10. มีวัตถุหนึ่งก้อนเคลื่อนที่บนพื้นราบด้วยความเร็ว 5 m/s เข้าชนวัตถุอีกก้อนที่มีมวลเท่ากัน


วางอยู่นิ่งๆ โดยไม่ผ่านศูนย์กลางมวล หลังชนวัตถุก้อนหนึ่งมีความเร็ว 4 m/s วัตถุอีกก้อนจะมี
ขนาดความเร็วเท่าใด ถ้าการชนไม่มีการสูญเสียพลังงานกล
1. 3 m/s
2. 4 m/s
3. 5 m/s
4. 6 m/s
5. 7 m/s
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 8
วันที่ 31 ม.ค. 64 เวลา 13:00 - 16:00 น.

11. ที่จุด A มีประจุ +6 μC และจุด C มีประจุบวกวางอยู่ ดังรูป ที่จุด B ต้องมีประจุเท่าใดจึงจะ


ท�ำให้จุด D มีสนามไฟฟ้ารวมเป็นศูนย์
A D
+

4m

? +
B C
3m
1. -12.5 μC
2. -20.83 μC
3. +20.83 μC
4. -27.78 μC
5. +27.78 μC

12. มีวงจรตัวเก็บประจุดังรูป ปล่อยกระแสขนาด 1 μA เข้าวงจร ถ้าต้องการพลังงานสะสมในวงจร


1 J จะต้องใช้เวลานานเท่าใด

2 μF

4 μF

2 μF 2 μF

1. 500 s
2. 625 s
3. 1,000 s
4. 1,414 s
5. 3,600 s
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 9
วันที่ 31 ม.ค. 64 เวลา 13:00 - 16:00 น.

13. ลวดโลหะมีความต้านทาน 10 โอห์ม ถูกยืดให้มีรัศมีลดลงครึ่งหนึ่ง ความต้านทานหลังจากยืด


มีค่ากี่โอห์ม
1. 10 Ω
2. 40 Ω
3. 60 Ω
4. 80 Ω
5. 160 Ω

14. ตัวต้านทานขนาด 100 Ω จ�ำนวน 2 ตัว และตัวเก็บประจุค่าความต้านทานเชิงความจุ 50 Ω


ต่อขนานกัน และต่อเข้ากับไฟบ้านขนาด 220 V ก�ำลังเฉลี่ยของวงจรไฟฟ้ามีขนาดเท่าใด
1. 0 Watt
2. 484 Watt
3. 968 Watt
4. 1,364 Watt
5. 1,936 Watt

15. ข้อใดไม่ถูกต้อง
1. ส�ำหรับหม้อแปลงชนิดแปลงขึ้นกระแสที่ออกจากขดลวดทุติยภูมิจะมากกว่ากระแสที่ไหลเข้า
ขดลวดปฐมภูมิ
2. ในการใช้งานหม้อแปลงไฟฟ้าขดลวดปฐมภูมิของหม้อแปลงต้องต่อกับไฟฟ้ากระแสสลับ
3. ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับตัวประกอบก�ำลังจะมีค่าเท่ากับ 1 เมื่อวงจรไฟฟ้ามีตัวต้านทาน
อย่างเดียว
4. ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับที่มีตัวต้านทานและตัวเก็บประจุต่อรวมกัน ตัวประกอบก�ำลังมีค่า
น้อยกว่า 1
5. อัตราเร็วการหมุนของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงจะหมุนเร็วขึ้นเมื่อกระแสมากขึ้น
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 10
วันที่ 31 ม.ค. 64 เวลา 13:00 - 16:00 น.

16. วางวัตถุไว้หน้าทัศนอุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ระยะ 20 cm พบว่าเกิดภาพที่ฝั่งตรงข้ามกับวัตถุขนาด


เดียวกันกับวัตถุ แต่เมื่อน�ำวัตถุไปวางชิดกับทัศนอุปกรณ์ เกิดภาพขนาดใหญ่กว่าวัตถุที่ฝั่งเดียว
กับวัตถุ ทัศนอุปกรณ์นี้คืออะไร และมีความยาวโฟกัสเท่าใด
1. เลนส์เว้า, 10 cm
2. เลนส์นูน, 10 cm
3. กระจกเว้า, 10 cm
4. เลนส์เว้า, 20 cm
5. เลนส์นูน, 20 cm

17. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ความเร็วของอนุภาคตัวกลางเท่ากับความเร็วของคลื่นเสมอ
2. คลื่นน�้ำเป็นคลื่นตามขวางเท่านั้น
3. การสะท้อนของคลืน่ จะสะท้อนได้ดเี มือ่ ความยาวคลืน่ มีขนาดใหญ่กว่าขนาดของวัตถุทสี่ ะท้อน
4. เมื่อแสงขาวผ่านเลนส์แว่นสายตา ท�ำให้ความถี่และความเร็วของแสงขาวเปลี่ยนไป
5. เมื่อเสียงเคลื่อนที่จากอากาศเข้าไปในน�้ำ พลังงานของเสียงมีค่าเท่าเดิม

18. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
1. สนามแม่เหล็กที่มาพร้อมกับการเคลื่อนที่ของแสงจะตั้งฉากกับสนามไฟฟ้าและเฟสต่างกัน
90 องศา
2. อิเล็กตรอนเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกจะเหนี่ยวน�ำให้เกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแผ่ออกไป
3. อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ในตัวน�ำจะเหนี่ยวน�ำให้เกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแผ่ออกไป
4. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าทุกความถี่มีอัตราเร็วเท่ากันเมื่อเคลื่อนที่ในสุญญากาศ
5. แสงสีม่วงมีความยาวคลื่นน้อยกว่าแสงสีแดง
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 11
วันที่ 31 ม.ค. 64 เวลา 13:00 - 16:00 น.

19. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการใช้ไฟฟ้าและเครื่องใช้ไฟฟ้า
1. การเลือกใช้ฟิวส์ควรเลือกให้มีขนาดกระแสที่ใช้มากๆ เพื่อไม่ให้ฟิวส์ขาดง่าย
2. ถ้าน�ำหลอดไฟขนาด 110 V 60 Watt มาต่อกับไฟบ้าน 220 V จะท�ำให้หลอดไฟสว่าง
มากกว่าปกติ
3. ถ้ากล่าวว่าไฟบ้านมีขนาด 220 V หมายความว่าไฟบ้านมีความต่างศักย์สูงสุด 220 V
4. ถ้าต้องการส่งไฟฟ้าไปในทีห่ า่ งไกลมากๆ ต้องใช้กระแสน้อย เพือ่ ให้ได้กำ� ลังไฟฟ้าตามต้องการ
5. ถ้าพัดลมหยุดหมุนขณะเสียบไฟอยู่ อาจจะท�ำให้มอเตอร์ไหม้ เพราะมีความเสียดทานเกิดขึ้น
ตามจุดหมุนมากเกินไป

20. ปล่อยวัตถุจากหน้าผาสูง 50 เมตร เวลาผ่านไปนานเท่าใด วัตถุจึงจะมีพลังงานจลน์เท่ากับ


พลังงานศักย์
1. 1 วินาที
2. 2 วินาที
3. 3 วินาที
4. 2 วินาที
5. 5 วินาที
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 12
วันที่ 31 ม.ค. 64 เวลา 13:00 - 16:00 น.

21. ให้ความร้อน 1,000 kJ แก่น�้ำเย็น 0 ˚C ปริมาตร 1 ลิตร ในภาชนะที่เป็นฉนวนความร้อนที่


ความดันบรรยากาศ จะเหลือน�้ำในภาชนะอยู่เท่าใด
ก�ำหนด ค่าความร้อนแฝงในการกลายเป็นไอของน�้ำเท่ากับ 2,250 kJ/kg
ค่าความจุความร้อนจ�ำเพาะของน�้ำมีค่าเท่ากับ 4.2 kJ/kg.K
1. กลายเป็นไอหมด
2. 120 กรัม
3. 258 กรัม
4. 742 กรัม
5. 1,000 กรัม

22. ลวดโลหะเส้นหนึ่งมีพื้นที่หน้าตัด 1 cm2 และมีขีดจ�ำกัดสภาพยืดหยุ่น 20.5 × 108 N/m2


น�ำมาท�ำเป็นโซ่ ถ้าน�ำโซ่เส้นนี้ไปยกรถบรรทุก 21 ตัน ค่าความเค้นของโซ่เส้นนี้เท่ากับเท่าใด
1. 1 × 108 N/m2
2. 20.5 × 108 N/m2
3. 21 × 108 N/m2
4. โซ่ขาด
5. สรุปไม่ได้
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 13
วันที่ 31 ม.ค. 64 เวลา 13:00 - 16:00 น.

23. น�ำมวล m และ M ท�ำจากวัสดุคนละชนิดติดกันแน่น ไปลอยในถังน�้ำที่มีน�้ำปริ่มถังพอดี ดังรูป


พบว่าน�้ำล้นออกมาปริมาณหนึ่ง ถ้าสลับมวล m มาอยู่ด้านล่างแทนมวล M แล้วจุ่มลงใน
ถังน�้ำทีม่ ีน�้ำปริ่มพอดีแบบเดิม ปริมาณน�้ำที่ล้นออกมาจะเป็นไปตามข้อใด


1. น�้ำล้นออกมามากกว่าเดิม
2. น�้ำล้นออกมาเท่าเดิม
3. น�้ำล้นออกมาน้อยกว่าเดิม
4. น�้ำไม่ล้นออกมา
5. ข้อมูลไม่เพียงพอ

24. เขือ่ นกัน้ น�ำ้ สูง 10 เมตร ยาว 6 เมตร และมีเสาค�ำ้ ท�ำมุม 60˚ ดังรูป ถ้าฝนตกหนักจนน�ำ้ ล้นเขือ่ น
เสานีอ้ อกแรงดันเขื่อนกี่นิวตัน

60˚

1. 3 × 104 N
2. 2 × 105 N
3. 1 × 104 N
4. 3 × 106 N
5. 2 × 106 N
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 14
วันที่ 31 ม.ค. 64 เวลา 13:00 - 16:00 น.

25. เด็กคนหนึ่งต้องการรดน�้ำต้นไม้ด้วยสายยาง โดยชันสายขึ้นเทียบกับแนวราบตอนแรก เขาพบว่า


น�้ำพุ่งออกไปได้ไกลสุดเพียง 2.5 เมตร เทียบกับระดับที่เขาถือสายยาง เขาจึงใช้นิ้วปิดปลาย
สายยางให้เหลือพื้นที่เพียงครึ่งหนึ่ง น�้ำจะพุ่งออกไปได้ไกลที่สุดเท่าใดเมื่อเทียบกับระดับที่เขาถือ
สายยาง ถ้าอัตราการไหลของน�้ำเท่าเดิมตลอดเวลา
1. 1 เมตร
2. 5 เมตร
3. 8 เมตร
4. 10 เมตร
5. 12 เมตร

26. น�ำวัตถุ 2 ก้อน A และ B ผูกติดกันด้วยตาชั่งสปริงมวลเบาและไปลอยในน�้ำ มีส่วนที่ลอยเหนือ


น�้ำปริมาตรเท่าใด และตาชั่งสปริงอ่านค่าได้เท่าใดตามล�ำดับ
(ก�ำหนด ρA = 500 kg/m3, VA = 0.02 m3, ρB = 1,200 kg/m3, VB = 0.01 m3)
1. 0.012 m3, 20 N
2. 0.008 m3, 20 N
3. 0.050 m3, 20 N
4. 0.012 m3, 120 N
5. 0.008 m3, 120 N
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 15
วันที่ 31 ม.ค. 64 เวลา 13:00 - 16:00 น.

27. ลูกสูบที่มีภาระเป็นสปริง ดังรูป บรรจุแก๊สฮีเลียม เมื่อลูกสูบไม่ได้สัมผัสกับสปริงพบว่า


แก๊สมีความดันและปริมาตรเป็น 100 กิโลพาสคัล และ 0.5 ลูกบาศก์เมตร ตามล�ำดับ
เมื่อให้ความร้อนกับลูกสูบท�ำให้ฝาสูบเริ่มสัมผัสกับสปริงจนแก๊สภายในกระบอกสูบมีความดัน
และปริมาณสุดท้ายเป็น 300 กิโลพาสคัล และ 1.0 ลูกบาศก์เมตร จงหางานของทั้งระบบ

k = 160 kN/m

5 กิโลกรัม


1. 60 kJ
2. 100 kJ
3. 120 kJ
4. 130 kJ
5. 270 kJ

28. ถุงลมในปอดขณะขยายตัวมีปริมาตร 0.4 L มีความดันเท่ากับความดันบรรยากาศ อากาศใน


ถุงลมปอดขณะนั้นมีค่าเท่ากับกี่โมล (ก�ำหนดให้ อุณหภูมิอากาศเท่ากับ 25 องศาเซลเซียส)
1. 0.016 mol
2. 0.021 mol
3. 0.032 mol
4. 0.050 mol
5. 0.062 mol
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 16
วันที่ 31 ม.ค. 64 เวลา 13:00 - 16:00 น.

29. สารในข้อใดต่อไปนี้มีออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ
1. แกรฟีน
2. ลูกเหม็น
3. น�้ำแข็งแห้ง
4. เกลือแกง
5. สไตรีน

30. สารในข้อใดต่อไปนี้มีจุดเดือดสูงสุด
1. pentan-3-ol
2. 2,2-dimethylpropan-1-ol
3. 2-methylpentan-1-ol
4. 2-methylpropan-1-ol
5. 3,3-dimethylbutan-1-ol

31. ถ้าน�ำสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์เข้มข้นร้อยละ 4 โดยมวลต่อปริมาตร จ�ำนวน


50 ลูกบาศก์เซนติเมตร มาเติมน�้ำกลั่นจนมีปริมาตร 200 ลูกบาศก์เซนติเมตร pH
จะเปลี่ยนแปลงอย่างไร (มวลอะตอม H = 1, O = 16, Na = 23 และ log 2 = 0.3)
1. ลดลง 0.3 หน่วย
2. ลดลง 0.6 หน่วย
3. ลดลง 4.0 หน่วย
4. เพิ่มขึ้น 0.3 หน่วย
5. เพิ่มขึ้น 0.6 หน่วย
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 17
วันที่ 31 ม.ค. 64 เวลา 13:00 - 16:00 น.

32. หากน�ำ Isopropyl isovalerate มาท�ำปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชันกับสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์


(มากเกินพอ) จะได้ผลิตภัณฑ์เป็นสารใด
O
+ NaOH ?
O
1. 3-methylbutanoic acid และ 1-methylethanol
2. 3-methylbutanoic acid และ propan-2-ol
3. 3-methylbutanoic acid และ sodium propanoate
4. sodium 3-methylbutanoate และ 1-methylethanol
5. sodium 3-methylbutanoate และ propan-2-ol

33. ต้องการท�ำโลหะ A ให้บริสุทธิ์ จากโลหะผสมที่ประกอบด้วยโลหะ A, B และ C เท่านั้น


โดยใช้หลักการเซลล์อิเล็กโทรลิติกตามรูป
+ -

A
B A
C A2+

ถ้าให้ความต่างศักย์ต�่ำที่สุดที่ท�ำให้เกิดโลหะ A บริสุทธิ์เพียงสารเดียว เมื่อกระบวนการสิ้นสุด


พบว่ามีเพียงโลหะ B ตกตะกอนอยู่ที่ก้นภาชนะ ข้อใดต่อไปนี้เรียงล�ำดับค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐาน
ของครึ่งเซลล์รีดักชันของไอออนโลหะทั้ง 3 ชนิดจากมากไปน้อยได้ถูกต้อง
1. A2+ > B2+ > C2+
2. B2+ > A2+ > C2+
3. B2+ > C2+ > A2+
4. C2+ > A2+ > B2+
5. C2+ > B2+ > A2+
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 18
วันที่ 31 ม.ค. 64 เวลา 13:00 - 16:00 น.

34. แก๊สผสมชนิดหนึ่งปริมาตร 44.8 dm3 ที่ STP ประกอบด้วยแก๊สออกซิเจนและแก๊สฮีเลียม


เท่านั้น เมื่อน�ำแก๊สผสมนี้มาท�ำปฏิกิริยากับแก๊สมีเทนมากเกินพอที่อุณหภูมิค่าหนึ่ง พบว่า
เกิดปฏิกิริยาอย่างสมบูรณ์ได้ผลิตภัณฑ์ชนิดหนึ่งเป็นแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 11 g
ในตอนเริ่มต้นแก๊สผสมนี้มีฮีเลียมกี่อะตอมเป็นองค์ประกอบ
(มวลอะตอม H = 1, He = 4, C = 12, O = 16)
1. 1.505 × 1023
2. 3.01 × 1023
3. 6.02 ×1023
4. 9.03 × 1023
5. 12.04 × 1023

35. โมเลกุลใดต่อไปนี้ไม่มพี ันธะคู่


1. ฟอสจีน
2. เอทิลีน
3. ยูเรีย
4. กรดแอซิติก
5. อะเซทิลีน
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 19
วันที่ 31 ม.ค. 64 เวลา 13:00 - 16:00 น.

36. ก�ำหนดให้ u เป็นฟังก์ชันของตัวแปร x และ x เป็นฟังก์ชันของ i ดังนี้


u ] xg = 1 + sin a 4x k
x ]i g = - i
2

จงค�ำนวณหา ddui เมื่อ i = 2 r


1. - r
2. - r /2
3. 0
4. r /2
5. r

37. จงค�ำนวณหาพื้นที่ที่แรเงาใต้เส้นโค้ง y = a cos rx ดังรูป


2b
y
a
y = a cos rx
2b

x
b b
2

1. ab
r
2. ab
3r
3. 3ab
r
4. ab
2r
5. 2ab
r
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 20
วันที่ 31 ม.ค. 64 เวลา 13:00 - 16:00 น.

38. จงหาเลขตัวถัดไปจาก 1, - 0.2, 0.06, - 0.024, ?


1. 0.012
2. - 0.012
3. 0.036
4. - 0.036
5. 0.048

39. จงหาค่าของ A+B+C-D จากสมการ


2
x + 15 = x A3 + B + Cx + D
] x + 3g2 ^ x + 3h ] x + 3g2 ^ x2 + 3h
2 +
1. 1
2. 1.5
3. 3
4. 3.5
5. 0
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 21
วันที่ 31 ม.ค. 64 เวลา 13:00 - 16:00 น.

f ^ g ] xgh = 2x - 5x + x - 7 จงหาค่า f]8g


3 2
40. ก�ำหนดให้ g (x) = 2 - 3x และ
1. - 9
2. - 27
3. - 45
4. - 63
5. 0

41. ธาตุกัมมันตรังสีชนิดหนึ่งมีเวลาครึ่งชีวิต 10 วัน ถ้าเก็บธาตุนั้นจ�ำนวน 24 # 1018 อะตอมไว้ 30 วัน


จะเหลือธาตุนั่้นกี่อะตอม เมื่อก�ำหนดให้ N = N0 e- mt
โดย N0 คือ จ�ำนวนนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีที่เริ่มต้นพิจารณา ]t = 0g
N คือ จ�ำนวนนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีเมื่อเวลาผ่านไป t
m คือ ค่าคงที่การสลายตัว
e c 2.718, ln ]2g . 0.6931, ln ]0.125g . - 2.0793
1. 3 # 1018 อะตอม
2. 1.5 # 1018 อะตอม
3. 3 # 1017 อะตอม
4. 1.5 # 1017 อะตอม
5. 3 # 1016 อะตอม
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 22
วันที่ 31 ม.ค. 64 เวลา 13:00 - 16:00 น.

42. ชายคนหนึ่งใช้เวลาในการปอกส้มผลแรกเป็นเวลา 1 นาที 45 วินาที และผลถัดไปจะใช้เวลาเพิ่มขึ้น


ผลละ 30 วินาที อยากทราบว่าชายคนนี้จะใช้เวลาเท่าใดในการปอกส้มผลที่ 20
1. 10 นาที 45 วินาที
2. 11 นาที 15 วินาที
3. 12 นาที 45 วินาที
4. 13 นาที 15 วินาที
5. 13 นาที 45 วินาที

43. ถ้าจ�ำนวนเต็ม x1, x2, x3, x4, x5 เป็นข้อมูลของประชากร ที่มีฐานนิยมเท่ากับ 40 ค่าเฉลี่ยเลขคณิต


และค่ามัธยฐานต่างมีค่าเท่ากับ 35 ข้อมูลชุดนี้มีค่าพิสัยที่มากที่สุดที่เป็นไปได้เท่าไร
1. 12
2. 13
3. 14
4. 15
5. 16
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 23
วันที่ 31 ม.ค. 64 เวลา 13:00 - 16:00 น.

44. โถใบหนึ่งบรรจุลูกแก้วสีเงิน 5 ลูก สีบรอนซ์ 6 ลูก และสีทอง 7 ลูก สุ่มหยิบลูกแก้วจากโถนี้


2 ครั้ง ครั้งละ 1 ลูก โดยหยิบแล้วไม่ใส่คืน ถ้าความน่าจะเป็นที่ได้ลูกแก้วสีทองทั้งสองลูกเท่ากับ a/b
เมื่อ ]a, bg = 1 จงหาค่า a + b
1. 58
2. 71
3. 91
4. 134
5. 182

45. จงหาเวกเตอร์ uy ที่ท�ำให้ uy $ vy = 2 เมื่อก�ำหนด vy = 2iy - 3yj + ky


1. 3iy + 2yj - 2ky
2. 2iy + 3yj + 2ky
3. - 3iy + 2yj - 2ky
4. - 3iy - 2yj - 3ky
5. - 2iy - 3yj + 2ky
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 24
วันที่ 31 ม.ค. 64 เวลา 13:00 - 16:00 น.

x
46. มีจ�ำนวนเต็มบวก x ทั้งหมดที่ท�ำให้เมทริกซ์ < F มีค่าดีเทอร์มิแนนต์อย่างน้อย 56
1
x 15x
ทั้งหมดกี่จ�ำนวน
1. 0
2. 1
3. 2
4. 3
5. 5

47. ก�ำหนดให้จุด ]a, bg เป็นจุดบนเส้นตรง y = 3x - 5 ที่อยู่ใกล้จุด ]1, 3g มากที่สุด แล้วค่าของ a ]a - bg


เป็นเท่าไร
1. - 5
2. - 2.5
3. 5
4. 2.5
5. 0

48. ถ้าต้องการขันสลักเกลียวยึดวัตถุ โดยวัสดุมีป้ายก�ำกับ max 4 N.m ต้องใช้เครื่องมือในข้อใดจึง


จะเหมาะสมที่สุด
1. ประแจเลื่อน
2. ประแจปอนด์
3. ไขควงปากแบน
4. ไขควงปากแฉก
5. ประแจปากตาย
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 25
วันที่ 31 ม.ค. 64 เวลา 13:00 - 16:00 น.

49. ภาพฉายนี้คือชิ้นงานในข้อใด

1. 2.

3. 4.

5.
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 26
วันที่ 31 ม.ค. 64 เวลา 13:00 - 16:00 น.

50. ชิ้นงานนี้มีภาพฉายตามข้อใด

1. 2.

3. 4.

5.
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 27
วันที่ 31 ม.ค. 64 เวลา 13:00 - 16:00 น.

51. ชิ้นงานนี้มีภาพฉายตามข้อใด

1. 2.

3. 4.

5.
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 28
วันที่ 31 ม.ค. 64 เวลา 13:00 - 16:00 น.

52. ภาพฉายนี้คือชิ้นงานในข้อใด

1. 2.

3. 4.

5.
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 29
วันที่ 31 ม.ค. 64 เวลา 13:00 - 16:00 น.

53. ข้อใดเป็นวิธีการเก็บกากกัมมันตรังสีระดับสูงที่ปลอดภัยที่สุด
1. จัดเก็บกากกัมมันตรังสีเหล่านั้นไว้ในพื้นที่จ�ำเพาะ แล้วปล่อยให้สลายตัว
2. เจือจางจนกระทั้งความเข้มข้นของสารกัมมันตรังสีต�่ำกว่าที่กฎหมายก�ำหนด
แล้วจึงปล่อยออกสู่สิ่งแวดล้อม
3. การแยกสารกัมมันตรังสีออกจากตัวกลาง
4. การเผาท�ำลายที่อุณหภูมิ 1,000 ˚C
5. ฝังที่ความลึกจากผิวดิน 500-1,000 เมตร

54. กลุ่มเด็กมัธยมจ�ำนวน 6 คน มีอยู่ 2 คนในจ�ำนวนดังกล่าวอยู่ในทีมบาสเกตบอล ซึ่งข้อมูลที่สอบถาม


จากเด็กทั้ง 6 คน ว่า 2 คนที่อยู่ในทีมบาสเกตบอลนั้นเป็นใคร แสดงได้ดังนี้
ฟิลิปส์ บอกว่า “2 คนนั้น คือ โรเจอร์และเคล่า”
เคล่า บอกว่า “2 คนนั้น คือ ฟิลิปส์และโรเจอร์”
โรเจอร์ บอกว่า “2 คนนั้น คือ เคล่าและแซม”
แซม บอกว่า “2 คนนั้น คือ ทริสทาและโรเจอร์”
ทริสทา บอกว่า “2 คนนั้น คือ ยูเซลล่าและแซม”
ส่วน ยูเซลล่า “ปฏิเสธที่จะให้ข้อมูลอะไร”
ถ้า ค�ำพูดของ 4 ใน 6 คนนี้ ระบุชื่อที่เป็นจริง 1 ชื่อ และเป็นเท็จ 1 ชื่อ และมี 1 คนที่พูดโกหกทั้ง 2 ชื่อ
อยากทราบว่า เด็ก 2 คนไหนอยู่ในทีมบาสเกตบอลจริง
1. ฟิลิปส์และเคล่า
2. ฟิลิปส์และยูเซลล่า
3. โรเจอร์และแซม
4. โรเจอร์และยูเซลล่า
5. เคล่าและยูเซลล่า
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 30
วันที่ 31 ม.ค. 64 เวลา 13:00 - 16:00 น.

55. ป้ายแสดงความปลอดภัยดังภาพมีความหมายว่าอย่างไร

1. ระวังแสงเข้าตา
2. ระวังอันตรายจากไฟฟ้าช็อต
3. ระวังอันตรายจากล�ำแสงเลเซอร์
4. ระวังวัตถุระเบิด
5. ระวังอันตรายจากเครื่องเชื่อมไฟฟ้า

56. สัญลักษณ์แสดงความเป็นอันตรายตามระบบ National Fire Protection Association หรือ


NFPA ในข้อใดต่อไปนี้เป็นอันตรายในด้านความว่องไวในการเกิดปฏิกิริยาน้อยที่สุด

2 0
1. 3 1 2. 1 3

3 1
3. 0 4 4. 4 2

1
5. 3 4
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 31
วันที่ 31 ม.ค. 64 เวลา 13:00 - 16:00 น.

57. ในปัจจุบันหน้ากากกรองอนุภาคชนิด N95 เป็นที่นิยมในวงกว้าง เพราะมีประสิทธิภาพ


ในการกรองฝุ่นละอองขนาด 0.1-0.3 ไมครอนได้เป็นอย่างดี ซึ่ง “N95” นี้ อ้างอิงมาจากมาตรฐาน
ของสถาบันอาชีวอนามัยและความปลอดภัยแห่งประเทศสหรัฐอเมริกาหรือ NIOSH ข้อใดต่อไปนี้
คือความหมายของตัวอักษร “N” ใน N95
1. แผ่นกรองทนต่อน�้ำได้ระดับหนึ่ง
2. หลีกเลี่ยงการใช้งานใกล้เปลวไฟ
3. หน้ากากไม่สามารถน�ำมาใช้ซ�้ำได้
4. แผ่นกรองไม่ทนต่อน�้ำมัน
5. หน้ากากมีประสิทธิภาพในการกรองฝุ่น PM2.5

58. ข้อใดเป็นการประพฤติตัวที่เหมาะสมน้อยที่สุดในห้องปฏิบัติการเคมี
1. เทกรดไนตริกเข้มข้นลงในบีกเกอร์ที่มีน�้ำอยู่จ�ำนวนหนึ่ง
2. หลีกเลี่ยงการสวมใส่คอนแทคเลนส์ขณะอยู่ในห้องปฏิบัติการเคมี
3. หลังจากปิดและถอดปลั๊กเตาแผ่นให้ความร้อนแล้ว ควรจัดเก็บในตู้ที่เตรียมไว้ทันที
4. ใช้มือโบกให้ไอของสารเข้าจมูกเพียงเล็กน้อยเพื่อทดสอบกลิ่น
5. ขณะท�ำปฏิกิริยาของสารในหลอดทดลอง ไม่หันปากหลอดไปทางด้านที่มีคน
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 32
วันที่ 31 ม.ค. 64 เวลา 13:00 - 16:00 น.

59. ถ้าต้องการวัดเส้นผ่าศูนย์กลางของเส้นลวดขนาดเล็กให้ได้ความละเอียดสูงสุด ต้องใช้


เครื่องมือวัดตามข้อใด
1.

2.

3.

4.

5.
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 33
วันที่ 31 ม.ค. 64 เวลา 13:00 - 16:00 น.

60. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถึงมาตรฐานความปลอดภัยได้ถูกต้อง
1. ความร้อนภายในสถานที่ประกอบการไม่ควรมีสภาพอุณหภูมิที่สูงจนส่งผลให้อุณหภูมิภายใน
ร่างกายของลูกจ้างมีค่าสูงเกิน 38 องศาเซลเซียส
2. ส�ำหรับงานที่ต้องใช้ความละเอียดสูงในการด�ำเนินงาน ตัวอย่างเช่น การซ่อมแซมเครื่องจักร
หรือการกลึงแต่งโลหะ ควรมีแสงสว่างที่มีค่าความเข้มของแสงมากกว่า 300 Lux
3. ส�ำหรับลูกจ้างที่มีระยะเวลาในการท�ำงานมากกว่า 8 ชั่วโมงต่อวัน ระดับเสียงที่ได้รับ
ติดต่อกันต้องมีค่าไม่เกิน 80 เดซิเบล
4. การท�ำงานของลูกจ้างภายในสถานที่ประกอบการ จะต้องมีปริมาณของฝุ่นและแร่ใน
บรรยากาศโดยเฉลี่ยไม่เกินค่ามาตรฐานที่กฎหมายก�ำหนดไว้
5. ถูกทุกข้อ
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 34
วันที่ 31 ม.ค. 64 เวลา 13:00 - 16:00 น.

ตอนที่ 2 แบบอัตนัย ระบายค�ำตอบที่เป็นค่าหรือตัวเลข จ�ำนวน 10 ข้อ (ข้อ 61 - 70)


ข้อละ 6 คะแนน

61. ระบบลิฟต์ประกอบด้วยตุ้มถ่วง A หนัก 1,500 kg ห้องโดยสาร B หนัก 1,000 kg และ


ระบบฉุดลาก C พร้อมด้วยรอกและสายพาน ถ้าระบบฉุดลากออกแรง 3,000 N เพื่อดึงให้
ลิฟต์เคลื่อนที่ขึ้น ลิฟต์จะเคลื่อนที่ขึ้นด้วยความเร่งกี่เมตรต่อวินาที2
(ไม่คิดมวลของรอกและสายพาน และรอกไม่มีแรงเสียดทาน)

B A

62. คานเบายาว 5 เมตร ที่ปลายมีมวล 3 กิโลกรัมติดอยู่ ปลายอีกด้านเป็นจุดหมุนตรึงแต่คานหมุน


ได้คล่อง ถ้าออกแรง 80 N กระท�ำกับคานท�ำมุม 30˚ กับแนวดิ่งที่ความสูง 2 เมตรจากพื้น
ระบบคานนี้จะมีความเร่งเชิงมุมเริ่มต้นกี่เรเดียนต่อวินาที2

3 kg
80 N
5m

2m

ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 35
วันที่ 31 ม.ค. 64 เวลา 13:00 - 16:00 น.

63. ประจุตัวน�ำทรงกลมรัศมี 10 เซนติเมตร มีศักย์ไฟฟ้าสูงสุด 10 โวลต์ จงหาศักย์ไฟฟ้าที่ระยะ


40 เซนติเมตร จากจุดศูนย์กลางของตัวน�ำทรงกลมมีค่ากี่โวลต์

64. ในการทดลองเกี่ยวกับความต่างศักย์ระหว่างขั้วเซลล์ไฟฟ้าได้ผลดังนี้

ความต้านทานระหว่างขั้วเซลล์ (Ω) ความต่างศักย์ระหว่างขั้วเซลล์ (V)


∞ 5
20 2
10 X

X มีค่ากี่โวลต์ (V)
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 36
วันที่ 31 ม.ค. 64 เวลา 13:00 - 16:00 น.

65. น�ำแท่งเหล็กร้อนอุณหภูมิ 300 ˚C หย่อนลงภาชนะที่เป็นฉนวนความร้อนมีน�้ำ 1 ลิตร


และน�้ำแข็ง 500 กรัม พบว่าอุณหภูมิสุดท้ายเป็น 50 องศาเซลเซียส มวลของแท่งเหล็กมีค่า
กี่กิโลกรัม
ก�ำหนด ความจุความร้อนจ�ำเพาะของน�้ำมีค่าเท่ากับ 4.18 kJ/kg.K
ความจุความร้อนจ�ำเพาะของเหล็กมีค่าเท่ากับ 0.45 kJ/kg.K
ความร้อนแฝงจ�ำเพาะของการหลอมเหลวของน�้ำเท่ากับ 333 kJ/kg

66. เนื่องจากลิเวอร์พูลได้แชมป์พี่แท๊ปดีใจ เลยขับรถแห่ด้วยความเร็ว 30 m/s ซึ่งขณะนั้นรถ


ของพี่เต้ยอยู่ด้านหน้าก�ำลังขับไปด้วยความเร็ว 40 m/s ไปในทางเดียวกัน เมื่อพี่แท๊ปเปิดเพลง
ด้วยความถี่ 400 Hz พี่เต้ยจะได้ยินเสียงนี้ที่ความถี่กี่ Hz ถ้าขณะนั้นมีลมพัดสวนทาง
การเคลื่อนที่ของรถด้วยความเร็ว 30 m/s
(ก�ำหนดให้ความเร็วเสียงในอากาศขณะนั้นมีค่าเท่ากับ 340 m/s)
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 37
วันที่ 31 ม.ค. 64 เวลา 13:00 - 16:00 น.

67. ถังผสมใบหนึ่งใช้ส�ำหรับผสมน�้ำเกลือ โดยสารที่ป้อนเข้าถังมีความเข้มข้น และอัตราการไหล


โดยปริมาตรดังรูป ที่สภาวะคงตัว (Steady State) ถ้าต้องการให้ความเข้มข้นของน�้ำเกลือ
ขาออกมีค่า 12 kg/m3 จะต้องปรับอัตราการไหลของน�้ำร้อน (V4) เป็นกี่ L/s

สายที่ 1 น�้ำร้อน สายที่ 2


V1 = 10 L/s V4 V2 = 30 L/s
C1 = 30 kg/m3 C2 = 10 kg/m3

V3
C3 = 12 kg/m3

68. ปริมาตรของทรงกลมตันลูกหนึ่งประมาณได้เป็นปริมาตร 0.5r3 เมื่อ r คือรัศมี


ถ้าขณะที่ทรงกลมตันมีรัศมีเท่ากับ 10 มิลลิเมตร มีอัตราการเติบโตของรัศมีขณะนั้นเท่ากับ 0.4
มิลลิเมตรต่อชั่วโมง อยากทราบว่าอัตราการเพิ่มขึ้นของทรงกลมตันในขณะนั้น
มีค่ากี่ลูกบาศก์มิลลิเมตรต่อชั่วโมง
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ (PAT3) หน้า 38
วันที่ 31 ม.ค. 64 เวลา 13:00 - 16:00 น.

2
69. ก�ำลังสองของ ค่า det ของ X - YZ มีค่าเท่าใด

F และ Z = >- 1 2 H
0 -1
X =< F Y =<
2 -2 2 0 -2
เมื่อ
1 0 1 3 2
1 3

70. ถ้าน�ำท่อนไม้ซุงรูปทรงกระบอกมาวางเรียงซ้อนกันเป็นพีระมิดดังรูป โดยวางซุง ก. เป็นฐาน


แล้วเรียงซุง ข. และซุง ค. สลับกันไปดังรูป หากเรียงไป 99 ชั้น จะใช้ซุงแบบ ข. และ ค. รวมกันกี่ท่อน

You might also like