You are on page 1of 21

รูป 2 รูปเท่ากันทุกประการ เมื่อสามารถนารูปหนึ่ง ไปซ้อนทับอีกรูปหนึ่งได้สนิทพอดี

สัญลักษณ์ “  ” แทนคาว่า เท่ากันทุกประการกับ


เราสามารถตรวจสอบความเท่ากันทุกประการของ
1. ส่วนของเส้นตรง
“ส่วนของเส้นตรง 2 เส้นเท่ากันทุกประการเมื่อส่วนของเส้นตรง 2 เส้นนั้นยาวเท่ากัน”
2. มุม
“มุม 2 มุมเท่ากันทุกประการ เมื่อมุมทั้ง 2 มีขนาดเท่ากัน”
3. รูปสามเหลี่ยม
ความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับรูปสามเหลี่ยมที่เท่ากัน ทุกประการมี 5 แบบ
ความเท่ากันทุกประการ
ของรูปสามเหลี่ยม
 ด.ม.ด. “ด้านประกบมุม”


 ม.ด.ม. “มุมประกบด้าน”

 ด.ด.ด. “มีด้าน 3 ด้าน” 


 ม.ม.ด. “2 มุม 1 ด้าน”

 

 

 
จะเข้าความสัมพันธ์แบบ “ม.ด.ม.”
ไม่มี ม.ม.ม. (มุม-มุม-มุม) ถ้ามุมเท่ากัน 3 คู่
 ฉ.ด.ด. “ 2 ด้าน 1 ฉาก ” จะเกี่ยวข้องกับ เรื่องความคล้าย



ต้องมีด้านตรงข้ามมุมฉากด้วย

 
ต้องมีด้านตรงข้ามมุมฉากด้วย

 
จะเข้าความสัมพันธ์แบบ “ ด.ม.ด.”
Ex.1 จากรูป ABD  ACD

A จะได้

BD  DC ˆ
และ BAD  ˆ
CAD

AD  AD ˆ
และ ABD  ˆ
ACD
B D C ˆ ˆ
AB  AC และ ADB  ADC
Ex.2 จากรูป ABD  ACD

A จะได้

BD  DC ˆ
และ BAD  ˆ
CAD

AD  AD ˆ
และ ABD  ˆ
ACD
B D C ˆ ˆ
AB  AC และ ADB  ADC
xx แยกรูป x x

Ex.2 พิจารณาสามเหลี่ยมในแต่ละข้อว่าเท่ากันทุกประการ ด้วยความสัมพันธ์แบบใด


แยกรูป

แยกรูป

Ex.2 พิจารณาสามเหลี่ยมในแต่ละข้อว่าเท่ากันทุกประการ ด้วยความสัมพันธ์แบบใด


แยกรูป

(มุมตรงข้าม)

Ex.2 พิจารณาสามเหลี่ยมในแต่ละข้อว่าเท่ากันทุกประการ ด้วยความสัมพันธ์แบบใด


เฉลย
x x 1. ด.ม.ด.
x x 2. ม.ม.ด.
3. ด.ม.ด.
4. ม.ม.ด.
5. ด.ม.ด.
6. ด.ม.ด.
7. ม.ด.ม.
Ex.2 พิจารณาสามเหลี่ยมในแต่ละข้อว่าเท่ากันทุกประการ ด้วยความสัมพันธ์แบบใด
คุณสมบัติของ
สามเหลี่ยมหน้าจั่ว
สามเหลี่ยมหน้าจั่ว
คือสามเหลี่ยมที่มีด้าน 2 ด้านยาวเท่ากัน
คุณสมบัติของสามเหลี่ยมหน้าจั่ว ที่นาไปใช้...
3. ถ้าลากเส้นจากจุดยอดมาตั้ง
1. เส้นแบ่งครึ่งมุมยอดจะแบ่ง 2. เส้นแบ่งครึ่งมุมยอดจะตั้ง ฉากกับฐานทาให้เกิดสามเหลี่ยม 4. มุมที่ฐานของสามเหลี่ยม
ครึ่งฐาน ฉากกับฐาน 2 รูปที่เท่ากันทุกประการ หน้าจั่วจะเท่ากัน
ABD  ACD

B D C

คุณสมบัติของสามเหลี่ยมหน้าจั่วจะนาไปใช้...ในการพิสูจน์ ความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมซึ่งจะช่วยให้การพิสูจน์ง่ายขึ้น
คุณสมบัติของ
สามเหลี่ยมหน้าจั่ว
EX. 3 จากรูปสามเหลี่ยม ABC และรูปสามเหลี่ยม XYZ A B X Y

ˆ  XYZ
มี ABC ˆ  90 และ AB = XY, BC = YZ
ดังนั้น รูปสามเหลี่ยม ABC กับรูปสามเหลี่ยม XYZ เท่ากันทุกประการแบบใด
C Z

- ขั้นต่อไป หาความสัมพันธ์ความเท่ากันทุกประการของรูป
แนวคิด - นาสิ่งที่โจทย์กาหนดมาใส่ในสามเหลี่ยมทั้ง 2 รูป สามเหลี่ยม
จากรูปจะได้ความสัมพันธ์แบบ ด.ม.ด. !!!
A B X Y - จากนั้นนาข้อมูลที่มีมาเขียนพิสูจน์ตามความสัมพันธ์ (ด.ม.ด.) ที่ได้
เป็นขั้นสุดท้าย
ข้อความ เหตุผล
1 AB  CD กาหนดให้
2 ˆ
ABD  ˆ
CDB กาหนดให้
3 BD  BD กาหนดให้
C Z
4 ABD  CDB จากข้อ 1 – 3 (ด.ม.ด.)
D
ˆ
EX. 4 จากรูป กาหนดให้ AB  CD และ ABD  ˆ
CDB
จงพิสูจน์ว่า ABD  CDB B C

แนวคิด – แยกรูปเป็น 2 รูป


จากรูป จะได้ความสัมพันธ์แบบ ด.ม.ด. ต่อไปเขียนพิสูจน์
B D ข้อความ เหตุผล
1 AB  CD กาหนดให้
2 ˆ
ABD  ˆ
CDB กาหนดให้

A D B C 3 BD  BD ด้านร่วม
4 ABD  CDB จากข้อ 1 – 3 (ด.ม.ด.)
ยาวเท่ากัน เพราะเป็นด้านร่วม
A
ˆ
EX. 5 จากรูป กาหนดให้ AD  AE , ADC  ˆ
AEB
D E
จงพิสูจน์ว่า BE  CD
C
B
แนวคิด – แยกรูปเป็น 2 รูป ˆ
จากรูป จะได้ BAE  ˆ เพราะเป็นมุมร่วม
CAD
– นาสิ่งที่โจทย์กาหนดใส่ในรูป
ข้อนี้ต้องพิสูจน์ว่า ABE  ACD ให้ได้ก่อน ซึ่งสามเหลี่ยมทั้ง 2 รูป

A มีความสัมพันธ์แบบ (ม.ด.ม.) เมื่อพิสูจน์ได้แล้วก็จะสามารถสรุปในตอนท้ายได้


A มุมร่วม
ข้อความ เหตุผล
1 ˆ
AEB  ˆ
ADC กาหนดให้
ED 2 AE  AD กาหนดให้
3 ˆ
EAB  ˆ
DAC มุมร่วม
C 4 ABE  ACD จากข้อ 1 – 3 (ม.ด.ม.)
B สมบัติของความเท่ากันทุก
5 BE  CD ประการของรูปสามเหลี่ยม
EX. 7 ให้ ABC และ DEF เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก 2 รูป
โดยที่ AC  DF และ BF  EC
จงแสดงว่า ABC  DEF จะแสดงว่า ABC  DEF ดังนั้น ต้องหาความสัมพันธ์ของสามเหลี่ยม

A D ทั้ง 2 ให้ได้ก่อน ซึ่งจะเห็นว่าโจทย์กาหนด BF  EC เพียงเท่านั้น แต่เรา


ต้องการ BC  EF เพื่อสรุป ABC  DEF แบบ (ฉ.ด.ด.)
สรุปเป็ นความสัมพันธ์แบบ ฉ.ด.ด. เพราะเราทราบว่า “ความยาวด้านตรงข้าม
B E มุมฉากเท่านัน้ ”
F C
ข้อความ เหตุผล

แนวคิด – แยกรูป 1 ˆ
ABC  ˆ
DEF กาหนดให้
2 AC  DF กาหนดให้
A D 3 BF  EC กาหนดให้
4 BF  FC  EC  CF สมบัติของความเท่ากัน
5 BC  EF ผลจากข้อ 4
B F C F C E 6 ABC  DEF จากข้อ 1 – 5 (ฉ.ด.ด.)

You might also like