You are on page 1of 40

เอกสารประกอบการเรียน

รายวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ เติม 2 รหัสวิชา ค31203

ครูผู้สอน
นายวีรภัทร ทันวงษา

ชื่อ – นามสกุล.......................................................................................
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ห้อง 1 เลขที่...................

โรงเรียนท่าหลวงวิทยาคม
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาลพบุรี
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ เติม 2 (ค31203) 1 ครูผู้สอน นายวีรภัทร ทันวงษา

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน

1. ความสัมพันธ์
1.1 คู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียน
คู่อันดับ
แต่ละคู่อันดับประกอบด้วยสมาชิกตัวหน้าและสมาชิกตัวหลัง เช่น คู่อันดับ (a, b) มี a เป็นสมาชิกตัวหน้า
และ b เป็นสมาชิกตัวหลัง
คู่อันดับสองคู่อันดับใด ๆ จะเท่ากันก็ต่อเมื่อสมาชิกตัวหน้าเท่ากัน และสมาชิกตัวหลังเท่ากัน นั่นคือ
(a, b) = (c, d) ก็ต่อเมื่อ a = c และ b = d

ตัวอย่างที่ 1 จงหาค่า x และ y ที่ทำให้ (x, 2) = (5, y)


วิธีทำ

ผลคูณคาร์ทีเซียน
ผลคูณคาร์ทีเซียนของเซต A และเซต B คือ เซตของคู่อันดับ (a, b) ทั้งหมด
โดยที่ a เป็นสมาชิกของเซต A และ b เป็นสมาชิกของเซต B เขียนแทนด้วย A×B

นั่นคือ A×B = {(a, b) | a  A และ b  B}


ตัวอย่างที่ 2 กำหนด A = {1, 2} และ B = {4, 5, 8} จงหา A×B และ B×A
วิธีทำ เขียนแผนภาพแสดงการจับคู่จากสมาชิกของเซต A และสมาชิกของเซต B ได้ดังนี้

A×B =

B×A =
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ เติม 2 (ค31203) 2 ครูผู้สอน นายวีรภัทร ทันวงษา

ตัวอย่างที่ 3 กำหนดให้ A = {-1, 0, 1}, B = {3, 7} และ C = {} จงหา A×(B  C)


และ (A×B)  (A×C)
วิธีทำ

แบบฝึกทักษะที่ 1.1
คู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียน

1. จงหา x และ y จากคู่อันดับต่อไปนี้


1) (x, y) = (4, 5)

2) (x, 5) = (3, y)

3) (x + 2, 3) = (5, y – 1)

4) (x + y, 1) = (5, x – y)
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ เติม 2 (ค31203) 3 ครูผู้สอน นายวีรภัทร ทันวงษา

2. จงเขียน A×B และ B×A เมื่อ A และ B เป็นเซตที่กำหนดให้ต่อไปนี้


1) A = {1, 2} และ B ={3, 4}
A×B =

B×A =

2) A = {a, b, c} และ B ={1, 2, 3}


A×B =

B×A =

3) A = {-3, -5} และ B ={4, 5, 6}


A×B =

B×A =

4) A = {2, 4, 6} และ B = {}


A×B =

B×A =

5) A = {0} และ B = {}


A×B =

B×A =

6) A = {1, 2, 3} และ B = 
A×B =

B×A =

7) A= และ B = {2, 4, 6}


A×B =

B×A =
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ เติม 2 (ค31203) 4 ครูผู้สอน นายวีรภัทร ทันวงษา

1.2 ความสัมพันธ์
ความสัมพันธ์
กำหนด A และ B เป็นเซตใด ๆ แล้ว r เป็นความสัมพันธ์จาก A ไป B ก็ต่อเมื่อ r เป็นสับเซตของ A×B

ถ้า r  A×A แล้วเรียก r ว่า ความสัมพันธ์บนเซต A


ตัวอย่างเช่น ให้ A = {3, 5, 8, 10} และ B = {2, 6, 9}
A×B =

ถ้า r1 เป็นความสัมพันธ์ “น้อยกว่า” จาก A ไป B


จะได้ว่า r1 =

หรือ r1 =

ถ้า r2 เป็นความสัมพันธ์ “เท่ากับ” จาก A ไป B


จะได้ว่า r2 =

หรือ r2 =

หมายเหตุ ในกรณีที่ A และ B เป็นเซตของจำนวนจริง อาจละการเขียน (x, y)  × ไว้ในฐานที่เข้าใจว่า


r เป็นความสัมพันธ์บนเซตของจำนวนจริง เช่น r = {(x, y)  × | x2 + y2 = 1}
อาจเขียนเป็น r = {(x, y) | x2 + y2 = 1} หรือเขียนเฉพาะเงื่อนไข เช่น x2 + y2 = 1

แบบฝึกทักษะที่ 1.2
ความสัมพันธ์

1. กำหนด A = {1, 3, 5}, B = {0, 2, 4}


และ r1 = {(x, y)  A×B | x < y}
r2 = {(x, y)  A×B | x > y}

r3 = {(x, y)  A×B | x = y}

จงเขียน r1, r2 และ r3 แบบแจกแจงสมาชิก


r1 =

r2 =

r3 =
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ เติม 2 (ค31203) 5 ครูผู้สอน นายวีรภัทร ทันวงษา

2. กำหนด A = {-4, -3, -2, -1, 0, 1, 2, 3, 4} และ r = {(x, y)  A×A | y = x2}


จงเขียน r แบบแจกแจงสมาชิก
r=

3. กำหนด A = {0, 1, 2, 3, 4, 5} และ r = {(x, y)  A×A | x หารด้วย 3 แล้วเหลือเศษ y}


จงเขียน r แบบแจกแจงสมาชิก
r=

4. กำหนด A = {x  N | x  8} และ r = {(x, y)  A×A | x + y = 9}


จงเขียน r แบบแจกแจงสมาชิก
r=

5. กำหนด A = {1, 2, 3, 4, 5} และ r = {(x, y)  A×A | x > 2 และ y = 3}


จงเขียน r แบบแจกแจงสมาชิก
r=

6. กำหนด A = {x  N | x  8} และ r = {(x, y)  A×A | x + y  12}


จงเขียน r แบบแจกแจงสมาชิก
r=

7. กำหนด A = {-3, -2, -1, 0, 1, 2, 3} และ r = {(x, y)  A× | y = x2 + 1}


จงเขียน r แบบแจกแจงสมาชิก
r=

8. ให้ A = {0, 2, 4}, B = {0, 1, 2} และ r เป็นความสัมพันธ์จาก A ไป B กำหนดโดย (x, y)  r เมื่อ x > y
1) จงเขียน r แบบแจกแจงสมาชิก
r=

2) จงเขียน r แบบบอกเงื่อนไข
r=
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ เติม 2 (ค31203) 6 ครูผู้สอน นายวีรภัทร ทันวงษา

1.3 กราฟของความสัมพันธ์
ในระบบแกนมุ มฉาก สามารถจั บ คู่ ห นึ่ งต่ อหนึ่ งระหว่างคู่อั น ดับ ของจำนวนจริง (x, y) กับ จุ ด ในระนาบ
โดยให้ x เป็นพิกัดแรก และ y เป็นพิกัดหลัง
ให้ r เป็นสับเซตของ × กราฟของความสัมพันธ์ r คือ เซตของจุดในระนาบที่แสดงคู่อันดับที่เป็นสมาชิก
ของความสัมพันธ์ r
ตัวอย่างที่ 4 จงเขียนกราฟของความสัมพันธ์ r = {(x, y)  A×A | x + y = 5} เมื่อ A = {1, 2, 3, 4}
วิธีทำ

ตัวอย่างที่ 5 จงเขียนกราฟของความสัมพันธ์ r = {(x, y)  × | y = x – 1}


วิธีทำ

ตัวอย่างที่ 6 จงเขียนกราฟของความสัมพันธ์ r = {(x, y)  × | y = x2}


วิธีทำ
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ เติม 2 (ค31203) 7 ครูผู้สอน นายวีรภัทร ทันวงษา

ตัวอย่างที่ 7 จงเขียนกราฟของความสัมพันธ์ r = {(x, y)  × | y = x2}


วิธีทำ

ตัวอย่างที่ 8 จงเขียนกราฟของความสัมพันธ์ r = {(x, y)  × | -1 < y  2}


วิธีทำ

แบบฝึกทักษะที่ 1.3
กราฟของความสัมพันธ์

จงเขียนกราฟของความสัมพันธ์ต่อไปนี้
1. r = {(1, 2), (2, 3), (3, 4), (4, 5), (5, 6)} 2. r = {(-3, 6), (-2, 5), (-1, 4), (0, 3), (1, 2), (2, 1), (3, 0)}
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ เติม 2 (ค31203) 8 ครูผู้สอน นายวีรภัทร ทันวงษา

3. r = {(x, y)  × | x + y = 8} 4. r = {(x, y)  × | x + y = 5 ; -2  x  2}

5. r = {(x, y)  × | x + y ≤ 5} 6. r = {(x, y)  × | x + y < 6}

7. r = {(x, y)  × | y ≤ 𝑥 2 } 8. r = {(x, y)  × | y ≤ −𝑥 2 }


รายวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ เติม 2 (ค31203) 9 ครูผู้สอน นายวีรภัทร ทันวงษา

1.4 โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์
ให้ r เป็นความสัมพันธ์จาก A ไป B
โดเมนของ r คือ เซตของสมาชิกตัวหน้าของคู่อันดับทั้งหมดใน r เขียนแทนด้วย Dr
Dr = {x  A | มี y  B ซึง่ (x, y)  r}

เรนจ์ของ r คือ เซตของสมาชิกตัวหลังของคู่อันดับทั้งหมดใน r เขียนแทนด้วย Rr


Rr = {y  B | มี x  A ซึง่ (x, y)  r}

หลักการหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์
เมื่อกำหนดความสัมพันธ์ r แบบบอกเงื่อนไขมาให้
1. เมื่อต้องการหาโดเมน ให้จัด y ให้อยู่ในรูปของ x แล้วพิจารณาค่า x ทั้งหมดที่ทำให้ y หาค่าได้ และ (x, y)  r
2. เมื่อต้องการหาเรนจ์ ให้จัด x ให้อยู่ในรูปของ y แล้วพิจารณาค่า y ทั้งหมดที่ทำให้ x หาค่าได้ และ (x, y)  r
1
ตัวอย่างเช่น กำหนด r = {(x, y)  × | y = }
x −2
1. หา Dr : 2. หา Rr :

แบบฝึกทักษะที่ 1.4
โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์

1. จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ต่อไปนี้
1) r1 = {(1, 2), (2, 3), (3, 4), (4, 5)}
Dr =
1

Rr =
1

2) r2 = {(-3, 1), (-5, 2), (-7, 3), (-8, 4)}

Dr =
2

Rr =
2
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ เติม 2 (ค31203) 10 ครูผู้สอน นายวีรภัทร ทันวงษา

3) r3 = {(1, 5), (2, 5), (3, 5), (4, 5)}

Dr =
3

Rr =
3

4) r4 = {(1, 1), (1, 2), (1, 3), (1, 4), (1, 5)}

Dr =
4

Rr =
4

2. จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ต่อไปนี้
1) r = {(x, y)  A×B | y > x + 1} เมื่อ A = {1, 2, 3, 4} และ B = {2, 3, 4, 5}
r=

Dr =

Rr =

2) r = {(x, y)  A×A | y = x2} เมื่อ A = {-2, -1, 0, 1, 2}


r=

Dr =

Rr =

3) r = {(x, y)  A×A | y + x = 8} เมื่อ A = {x   | x  6}


r=

Dr =

Rr =

4) r = {(x, y)  × | x + y = 10}

r=

Dr =

Rr =
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ เติม 2 (ค31203) 11 ครูผู้สอน นายวีรภัทร ทันวงษา

3. จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ต่อไปนี้
1) r = {(x, y)  × | y = 3x + 1} 2) r = {(x, y)  × | 2x + 3y = 5}

3) r = {(x, y)  × | y = x2} 4) r = {(x, y)  × | y = x2 + 1}

5) r = {(x, y)  × | y = -x2 + 2} 6) r = {(x, y)  × | y = |x|}

7) r = {(x, y)  × | y = |x – 5|} 8) r = {(x, y)  × | y = x}


รายวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ เติม 2 (ค31203) 12 ครูผู้สอน นายวีรภัทร ทันวงษา

9) r = {(x, y) | y = x−3} 10) r = {(x, y) | y =


1
}
x −1

11) r = {(x, y) | y =
1
} 12) r = {(x, y) | y = x2 − 4 }
|x|

13) r = {(x, y) | y = 9 − x2 } 14) r = {(x, y) | y =


1
}
16 − x 2
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ เติม 2 (ค31203) 13 ครูผู้สอน นายวีรภัทร ทันวงษา

1.5 ตัวผกผันของความสัมพันธ์
ตัวผกผันของความสัมพันธ์ r คือ ความสัมพันธ์ซึ่งเกิดจากการสลับทีข่ องสมาชิกตัวหน้าและสมาชิกตัวหลัง
ในแต่ละคู่อันดับที่เป็นสมาชิกของ r เขียนแทนด้วย r–1

เมื่อ r เป็นความสัมพันธ์จาก A ไป B นั่นคือ r–1 = {(y, x)  B×A | (x, y)  r}

การสลับตำแหน่งของสมาชิกตัวหน้า และสมาชิกตัวหลัง ทำได้ 2 วิธีดังนี้


วิธีที่ 1 สลับที่ x และ y ในคู่อันดับ (x, y) แต่เงื่อนไขเหมือนเดิม
ตัวอย่างเช่น r = {(x, y)  × | y = 3x – 1}

วิธีที่ 2 สลับที่ x และ y ในเงื่อนไข โดยแทนที่ x ด้วย y และแทนที่ y ด้วย x แต่คู่อันดับ (x, y) เหมือนเดิม
ตัวอย่างเช่น r = {(x, y)  × | y = 3x – 1}

กราฟของตัวผกผันของความสัมพันธ์
กราฟของความสัมพันธ์ใด ๆ กับกราฟของตัวผกผันของความสัมพันธ์นั้นจะมีเส้นตรง y = x เป็นแกนสมมาตร
ตัวอย่างเช่น r = {(x, y) | y = 2x + 1}
r–1 =
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ เติม 2 (ค31203) 14 ครูผู้สอน นายวีรภัทร ทันวงษา

แบบฝึกทักษะที่ 1.5
ตัวผกผันของความสัมพันธ์

1. จงหาตัวผกผันของความสัมพันธ์ พร้อมทั้งหาโดเมนและเรนจ์ของตัวผกผันของความสัมพันธ์
เมื่อกำหนดความสัมพันธ์ดังต่อไปนี้
1) r = {(1, 2), (2, 3), (3, 4), (4, 5), (5, 6)}
 r–1 =

Dr−1 =

R r −1 =

2) r = {(1, 3), (2, 3), (3, 3), (4, 3), (5, 3)}

 r–1 =

Dr−1 =

R r −1 =

3) r = {(x, y) | y = x + 5}

 r–1 =

Dr−1 =

R r −1 =

4) r = {(x, y) | y = 3x – 1}

 r–1 =

Dr−1 =

R r −1 =

5) r = {(x, y) | y = x2}

 r–1 =

Dr−1 =

R r −1 =
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ เติม 2 (ค31203) 15 ครูผู้สอน นายวีรภัทร ทันวงษา

6) r = {(x, y) | y = x}

 r–1 =

Dr−1 =

R r −1 =

7) r = {(x, y) | y = |x|}

 r–1 =

Dr−1 =

R r −1 =

8) r = {(x, y) | xy = 1}

 r–1 =

Dr−1 =

R r −1 =

2. จงเขียนกราฟของ r และ r–1 ในระบบพิกัดฉากเดียวกัน เมื่อกำหนดความสัมพันธ์ r ดังต่อไปนี้


1) r = {(1, 2), (3, 4), (5, 6), (7, 8), (9, 10)}
 r–1 =
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ เติม 2 (ค31203) 16 ครูผู้สอน นายวีรภัทร ทันวงษา

2) r = {(x, y) | y = x2 + 1}

 r–1 =

3) r = {(x, y) | y = |x – 2|}

 r–1 =
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ เติม 2 (ค31203) 17 ครูผู้สอน นายวีรภัทร ทันวงษา

2. ฟังก์ชัน
2.1 ความหมายของฟังก์ชัน
ฟังก์ชัน คือ ความสัมพันธ์ซึ่งคู่อันดับสองคู่อันดับใด ๆ ของความสัมพันธ์นั้น ถ้าสมาชิกตัวหน้าเหมือนกันแล้ว
สมาชิกตัวหลังต้องเหมือนกัน

สรุป ฟังก์ชัน f คือ ความสัมพันธ์ ซึ่งสำหรับ x, y และ z ใด ๆ ถ้า (x, y)  f และ (x, z)  f แล้ว y = z
ตัวอย่างที่ 9 กำหนดความสัมพันธ์ต่อไปนี้ จงตรวจสอบว่าความสัมพันธ์ใดบ้างเป็นฟังก์ชัน
1) f = {(1, a), (1, b), (2, a), (3, c)}
2) g = {(a, 1), (b, 2), (c, 3), (d, 4)}
วิธีทำ เขียนแผนภาพแสดงการจับคู่ระหว่างสมาชิกของโดเมนและสมาชิกของเรนจ์ของ r ได้ดังนี้

กรณีที่ 1 ความสัมพันธ์ที่แจกแจงสมาชิก

ตัวอย่างที่ 10 กำหนดความสัมพันธ์ต่อไปนี้ จงตรวจสอบว่าความสัมพันธ์ใดบ้างเป็นฟังก์ชัน


1) f = {(x, y) | y = x2}
2) g = {(x, y) | y2 = x}
วิธีทำ

กรณีที่ 2 ความสัมพันธ์ที่กำหนดเงื่อนไขสมาชิก
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ เติม 2 (ค31203) 18 ครูผู้สอน นายวีรภัทร ทันวงษา

ตัวอย่างที่ 11 จงพิจารณาว่าความสัมพันธ์ต่อไปนี้เป็นฟังก์ชันหรือไม่ โดยพิจารณาจากกราฟของความสัมพันธ์นั้น


1) f = {(x, y) | y = |x|} 2) g = {(x, y) | |y| = x}

วิธีทำ

กรณีที่ 3 กราฟของความสัมพันธ์

แบบฝึกทักษะที่ 2.1
ความหมายของฟังก์ชัน

1. จงตรวจสอบว่าความสัมพันธ์ต่อไปนี้ว่าเป็นฟังก์ชันหรือไม่ พร้อมให้เหตุผล
ฟังก์ชัน
ข้อ ความสัมพันธ์ เหตุผล
เป็น ไม่เป็น
1) r1 = {(1, 2), (2, 3), (3, 4), (4, 1)}

2) r2 = {(1, 1), (1, 2), (1, 3), (1, 4)}

3) r3 = {(1, 0), (2, 4), (3, 1), (3, 3)}

4) r4 = {(x, y) | y = 2x + 3}

5) r5 = {(x, y) | y = 2x2 + 3}

6) r6 = {(x, y) | x = -3}

7) r7 = {(x, y) | y = x}

8) r8 = {(x, y) | x2 + y2 = 1}

9) r9 = {(x, y) | x + y = 4}

10) r10 = {(x, y) | x3 + 3y = 4}


รายวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ เติม 2 (ค31203) 19 ครูผู้สอน นายวีรภัทร ทันวงษา

2. กราฟของความสัมพันธ์ต่อไปนี้เป็นฟังก์ชันหรือไม่เป็นฟังก์ชัน ถ้าไม่เป็น จงให้เหตุผล


ฟังก์ชัน
ข้อ กราฟของความสัมพันธ์ เหตุผล
เป็น ไม่เป็น

1)

2)

3)

4)

5)
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ เติม 2 (ค31203) 20 ครูผู้สอน นายวีรภัทร ทันวงษา

2.2 ค่าของฟังก์ชัน
ในกรณีที่ความสัมพันธ์ f เป็นฟังก์ชัน จะเขียน y = f(x) แทน (x, y)  f
เรียก f(x) ว่าเป็น ค่าของฟังก์ชัน f ที่ x อ่านว่า เอฟของเอกซ์ หรือ เอฟเอกซ์
2−x
ตัวอย่างที่ 12 กำหนดฟังก์ชัน f(x) = จงหา f(-2), f(0), f(1) และ f(3)
x
วิธีทำ

ตัวอย่างที่ 13 กำหนดฟังก์ชัน f(x + 1) = 2x + 3 จงหา f(3x + 5)


วิธีทำ

แบบฝึกทักษะที่ 2.2
ค่าของฟังก์ชัน

1. กำหนดให้ f = {(1, 5), (2, 7), (3, 8), (4, 9)} จงหาค่าของ f(1), f(2), f(3) และ f(4)

2. กำหนดให้ f(x) = x2 – 3x + 5 จงหา


1) f(0)

2) f(-1)

3) f(3)
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ เติม 2 (ค31203) 21 ครูผู้สอน นายวีรภัทร ทันวงษา

2.3 โดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชัน
เซตของค่า x ซึ่งฟังก์ชัน f หาค่าได้ที่ x เรียกว่า โดเมนของฟังก์ชัน f
เซตของค่าของฟังก์ชัน f ที่เป็นไปได้ทั้งหมด เรียกว่า เรนจ์ของฟังก์ชัน f
ตัวอย่างที่ 14 จงหาโดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้
1
1) f(x) = 3x2 2) g(x) = 3) h(x) = x
x

วิธีทำ

ตัวอย่างที่ 15 จงหาโดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชัน f(x) = |x + 2|


วิธีทำ
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ เติม 2 (ค31203) 22 ครูผู้สอน นายวีรภัทร ทันวงษา

แบบฝึกทักษะที่ 2.3
โดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชัน

จงหาโดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้
3x + 1
1. f(x) =
2x − 2

2. g(x) = 3 – 4 − x2

x−3
3. h(x) =
x−4
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ เติม 2 (ค31203) 23 ครูผู้สอน นายวีรภัทร ทันวงษา

2.4 รูปแบบฟังก์ชัน
ฟังก์ชันจาก A ไป B (function from A into B)

f เป็นฟังก์ชันจาก A ไป B ก็ต่อเมื่อ f เป็นฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็น A และเรนจ์เป็นสับเซตของ B


f เป็นฟังก์ชันจาก A ไป B เขียนแทนด้วย f :A→B

ฟังก์ชันจาก A ไปทั่วถึง B (function from A onto B)

f เป็นฟังก์ชันจาก A ไปทั่วถึง B ก็ต่อเมื่อ f เป็นฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็น A และเรนจ์เป็น B


f เป็นฟังก์ชันจาก A ไปทั่วถึง B เขียนแทนด้วย f : A ⎯⎯⎯
onto
→B

ตัวอย่างที่ 16 กำหนด f(x) = x2 – 1 จงพิจารณาว่า f เป็นฟังก์ชันจาก  ไปทั่วถึง  หรือไม่


วิธีทำ

หมายเหตุ จากตัวอย่างข้างต้น f เป็นฟังก์ชันจาก  ไปทั่วถึง

ฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก A ไป B (one–to–one function from A into B)

f เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก A ไป B ก็ต่อเมื่อ f เป็นฟังก์ชันจาก A ไป B ซึ่งสำหรับ x1 และ x2 ใด ๆ


ถ้า f(x1) = f(x2) แล้ว x1 = x2
f เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก A ไป B เขียนแทนด้วย f : A ⎯⎯⎯
1−1
→B

ตัวอย่างที่ 17 จงตรวจสอบว่า ฟังก์ชันที่กำหนดให้ต่อไปนี้เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งหรือไม่


1) f(x) = 3x 2) f(x) = x2
วิธีทำ
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ เติม 2 (ค31203) 24 ครูผู้สอน นายวีรภัทร ทันวงษา

ฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก A ไปทั่วถึง B (one–to–one function from A onto B)

f เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก A ไปทั่วถึง B หมายถึง f เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งและเป็นฟังก์ชันทั่วถึง


f เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก A ไปทั่วถึง B เขียนแทนด้วย f : A ⎯⎯⎯
1−1
onto
→B

การตรวจสอบฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งโดยพิจารณาจากกราฟของฟังก์ชัน
ฟังก์ชัน f จะเป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง ก็ต่อเมื่อ
ฟังก์ชัน f ไม่เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง ก็ต่อเมื่อ

ตัวอย่างเช่น 1) f(x) = 3x เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง 2) f(x) = x2 ไม่เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง

แบบฝึกทักษะที่ 2.4
รูปแบบฟังก์ชัน

1. จงพิจารณาว่า f และ g เป็นฟังก์ชันจาก  ไปทั่วถึง  หรือไม่


1) f(x) = 10 – 2x
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ เติม 2 (ค31203) 25 ครูผู้สอน นายวีรภัทร ทันวงษา

2) g(x) = x2 – 3x

2. จงพิจารณาว่า f และ g เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งหรือไม่


1) f(x) = x + 1

2) g(x) = x2 – 3x
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ เติม 2 (ค31203) 26 ครูผู้สอน นายวีรภัทร ทันวงษา

2.5 ฟังก์ชันเพิ่มและฟังก์ชันลด
ให้ f เป็นฟังก์ชันซึ่งโดเมนและเรนจ์เป็นสับเซตของจำนวนจริง และ A เป็นสับเซตของโดเมน
1. f เป็น ฟังก์ชันเพิ่ม (increasing function) บนเซต A
ก็ต่อเมื่อ สำหรับ x1 และ x2 ใด ๆ ใน A ถ้า x1 < x2 แล้ว f(x1) < f(x2)
2. f เป็น ฟังก์ชันลด (decreasing function) บนเซต A
ก็ต่อเมื่อ สำหรับ x1 และ x2 ใด ๆ ใน A ถ้า x1 < x2 แล้ว f(x1) > f(x2)

ตัวอย่างที่ 18 จงพิจารณาว่า f(x) = 2x – 1 เป็นฟังก์ชันเพิ่มหรือฟังก์ชันลดบน 


วิธีทำ

1
ตัวอย่างที่ 19 จงพิจารณาว่า g(x) = เป็นฟังก์ชันเพิ่มหรือฟังก์ชันลดบนช่วง (-, 0)
x
วิธีทำ
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ เติม 2 (ค31203) 27 ครูผู้สอน นายวีรภัทร ทันวงษา

แบบฝึกทักษะที่ 2.5
ฟังก์ชันเพิ่มและฟังก์ชันลด

จงพิจารณาว่า f, g และ h เป็นฟังก์ชันเพิ่มหรือฟังก์ชันลดบนช่วงที่กำหนดให้


1. f(x) = x + 1 บน +

2. g(x) = x2 – 3x บนช่วง (-, 0]

3. h(x) = |x| บนช่วง [2, 6]


รายวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ เติม 2 (ค31203) 28 ครูผู้สอน นายวีรภัทร ทันวงษา

3. การใช้ฟังก์ชันในชีวิตจริง
3.1 ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้น (linear function) คือ ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป f(x) = ax + b เมื่อ a และ b เป็นจำนวนจริง
กราฟของฟังก์ชันเชิงเส้นจะเป็นเส้นตรงในระบบพิกัดฉาก

ฟังก์ชัน f(x) = ax + b เมื่อ a = 0 จะได้ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป f(x) = b มีชื่อเรียกว่า ฟังก์ชันคงตัว


(constant function)

ตัวอย่างที่ 20 ฟังก์ชันแสดงราคาของรถยนต์ยี่ห้อหนึ่งเมื่อเวลาผ่านไปเป็นฟังก์ชันเชิงเส้น ถ้าปัจจุบันรถยนต์มีราคา


500,000 บาท และในอีก 5 ปีข้างหน้า รถยนต์จะมีราคา 350,000 บาท จงหา

1) ฟังก์ชันแสดงราคาของรถยนต์เมื่อเวลาผ่านไป x ปี
2) เมื่อเวลาผ่านไปสองปี รถยนต์ยี่ห้อนี้จะมีราคาลดลงเหลือเท่าใด
วิธีทำ
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ เติม 2 (ค31203) 29 ครูผู้สอน นายวีรภัทร ทันวงษา

3.2 ฟังก์ชันกำลังสอง
ฟังก์ชันกำลังสอง (quadratic function) คือ ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป y = ax2 + bx + c เมื่อ a, b, c เป็น
จำนวนจริงใด ๆ และ a  0

กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง f(x) = ax2 + bx + c เมื่อ a  0 จะเป็นเส้นโค้ง มีชื่อเรียกว่า พาราโบลา


 b 4ac − b2   b  b 
ซึง่ จะมีจุดวกกลับที่จุด  − ,  หรือ − , f  −  
 2a 4a   2a
  2a  

ตัวอย่างที่ 21 ชายคนหนึ่งโยนลูกบอลขึ้นไปในอากาศแนวดิ่ง ถ้าความสูงจากพื้นดินของลูกบอลมีหน่วยเป็นฟุต


ซึ่งหาได้จาก f(t) = -t2 + 2t + 3 เมื่อ t แทนระยะเวลาตั้งแต่เริ่มโยนลูกบอลมีหน่วยเป็นวินาที จงหา
1) เมื่อเวลาผ่านไปนานเท่าใด ลูกบอลจะอยู่สูงที่สุดจากพื้นดิน และลูกบอลจะอยู่สูงจากพื้นดินเท่าใด
2) เมื่อเวลาผ่านไปนานเท่าใด ลูกบอลจึงตกถึงพื้นดิน
วิธีทำ
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ เติม 2 (ค31203) 30 ครูผู้สอน นายวีรภัทร ทันวงษา

แบบฝึกทักษะที่ 3
การใช้ฟังก์ชันในชีวิตจริง

1. ในปี 2560 ยอดขายสินค้าชนิดใหม่ของบริษัทแห่งหนึ่งอยู่ที่ 12,000 ชิ้น ถ้าบริษัทต้องการให้ยอดขายสินค้า


เพิ่มขึ้นปีละ 10% ของยอดขายในปี 2560
1) จงเขียนฟังก์ชันแสดงยอดขายสินค้าเมื่อเวลาผ่านไป x ปี

2) อีก 5 ปีข้างหน้า บริษัทนี้ควรจะมียอดขายสินค้าเท่าใด

2. ถ้ารายได้เฉลี่ยจากการขายสินค้า (ต่อชิ้น) หลังหักค่าใช้จ่ายแล้วเท่ากับ 100 – 0.1x บาท


เมื่อ x แทนจำนวนสินค้าที่ขายได้
1) จงเขียนสมการแสดงรายได้จากการขายสินค้า x ชิ้น

2) จงหาว่าจะต้องขายสินค้ากี่ชิ้น จึงจะมีรายได้มากที่สุด และมีรายได้มากที่สุดเท่าใด


รายวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ เติม 2 (ค31203) 31 ครูผู้สอน นายวีรภัทร ทันวงษา

4. กราฟของฟังก์ชัน
ตัวอย่างที่ 22 จงเขียนฟังก์ชันและกราฟของฟังก์ชันแสดงอัตราค่าบริการในการส่งจดหมายในประเทศ
(ไปรษณีย์ธรรมดา) ซึ่งกำหนดอัตราค่าบริการ ดังนี้

พิกัดน้ำหนัก ค่าบริการ (บาท)


ไม่เกิน 20 กรัม ว3.00
เกิน 20 กรัม แต่ไม่เกิน 100 กรัม ว5.00
เกิน 100 กรัม แต่ไม่เกิน 250 กรัม ว9.00
เกิน 250 กรัม แต่ไม่เกิน 500 กรัม ว15.00
เกิน 500 กรัม แต่ไม่เกิน 1,000 กรัม ว25.00
เกิน 1,000 กรัม แต่ไม่เกิน 2,000 กรัม ว45.00

วิธีทำ

ฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นสับเซตของเซตของจำนวนจริง และโดเมนถูกแบ่งออกเป็นช่วงย่อยมากกว่าหนึ่งช่วง
โดยค่าของฟังก์ชันในแต่ละช่วงย่อยเป็นค่าคงตัวที่เป็นลำดับเพิ่ม หรือลำดับลดอย่างใดอย่างหนึ่ง เรียกว่า ฟังก์ชันขั้นบันได
(step function) โดยกราฟของฟังก์ชันนี้มีลักษณะคล้ายขั้นบันได
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ เติม 2 (ค31203) 32 ครูผู้สอน นายวีรภัทร ทันวงษา

แบบฝึกทักษะที่ 4
กราฟของฟังก์ชัน

จงเขียนฟังก์ชันและกราฟของฟังก์ชันแสดงอัตราค่าบริการในการส่งพัสดุของบริษัทแห่งหนึ่ง ซึ่งกำหนดอัตรา
ค่าบริการ ดังนี้
พิกัดน้ำหนัก ค่าบริการ (บาท)
ไม่เกิน 1 กิโลกรัม ว20.00
เกิน 1 กิโลกรัม แต่ไม่เกิน 2 กิโลกรัม ว35.00
เกิน 2 กิโลกรัม แต่ไม่เกิน 3 กิโลกรัม ว50.00
เกิน 3 กิโลกรัม แต่ไม่เกิน 4 กิโลกรัม ว65.00
เกิน 4 กิโลกรัม แต่ไม่เกิน 5 กิโลกรัม ว80.00
เกิน 5 กิโลกรัม แต่ไม่เกิน 6 กิโลกรัม ว95.00

วิธีทำ
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ เติม 2 (ค31203) 33 ครูผู้สอน นายวีรภัทร ทันวงษา

5. การดำเนินการของฟังก์ชัน
5.1 การดำเนินการพื้นฐานเชิงพีชคณิตระหว่างฟังก์ชัน
ให้ f และ g เป็นฟังก์ชันที่มีโดเมนและเรนจ์ของสับเซตของ  ผลบวก (sum) ผลต่าง (difference)
f
ผลคูณ (product) และผลหาร (quotient) ของ f และ g เขียนแทนด้วย f + g, f – g, fg และ
g
ตามลำดับ เป็นฟังก์ชันซึ่งกำหนดโดย (f + g)(x) = f(x) + g(x)
(f – g)(x) = f(x) – g(x)
(fg)(x) = f(x)g(x)
f f(x)
  (x) = เมื่อ g(x)  0
g g(x)

โดยที่ Df + g = Df − g = Dfg = Df  Dg และ D f = Df  Dg – {x  Dg | g(x) = 0}


g

ตัวอย่างที่ 23 ให้ f(x) = x2 + 1 และ g(x) = x+2 จงหา


f
1) f + g, f – g, fg และ พร้อมทั้งโดเมนของแต่ละฟังก์ชัน
g
f
2) (f + g)(3), (f – g)(3), (fg)(3) และ   (3)
g
วิธีทำ
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ เติม 2 (ค31203) 34 ครูผู้สอน นายวีรภัทร ทันวงษา

5.2 ฟังก์ชันประกอบ
ให้ f และ g เป็นฟังก์ชัน และ R  D   f g

ฟังก์ชันประกอบ (composite function) ของ f และ g เขียนแทนด้วย g f คือฟังก์ชันที่โดเมนคือ


Dg f
= {x  Df | f(x)  Dg }

และกำหนด g f โดย g f (x) = g(f(x)) สำหรับทุก x ใน Dg f

ตัวอย่างที่ 24 กำหนด f(x) = -x2 – 1 และ g(x) = x จะมี g f และ f g หรือไม่ เพราะเหตุใด
ถ้ามี จงหา g f และ f g พร้อมทั้งโดเมน
วิธีทำ

ตัวอย่างที่ 25 กำหนด ( f g )(x) = x2 – 1, g(x) = x และ h(x) = x – 2 จงหา f(x) และ f(1)
วิธีทำ
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ เติม 2 (ค31203) 35 ครูผู้สอน นายวีรภัทร ทันวงษา

แบบฝึกทักษะที่ 5
การดำเนินการของฟังก์ชัน

1. ให้ f = {(-3, 1), (0, 4), (2, 0)}, g = {(-3, 2), (1, 2), (2, 6)} และ h = {(2, 4), (1, 0)}

จงหาฟังก์ชันต่อไปนี้
1) f + g

2) f–g

3) g–f

4) fg

f
5)
g

g
6)
f

7) f g

8) g f

9) f h

10) h f

11) h g
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ เติม 2 (ค31203) 36 ครูผู้สอน นายวีรภัทร ทันวงษา

12) g h

2. กำหนดให้ f(x) = x2 – 1 และ g(x) = 3x + 5 จงหา


1) ( g f )(x)

2) ( g f )(5)

3) (f g )(x)

4) (f g )(-4)
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ เติม 2 (ค31203) 37 ครูผู้สอน นายวีรภัทร ทันวงษา

6. ฟังก์ชันผกผัน
ถ้าตัวผกผันของฟังก์ชัน f เป็นฟังก์ชันแล้ว จะเรียก f–1 ว่าเป็น ฟังก์ชันผกผัน (inverse function) ของ f
ให้ f เป็นฟังก์ชัน
f มีฟังก์ชันผกผัน ก็ต่อเมื่อ f เป็นฟังก์ชัน 1 – 1

ตัวอย่างที่ 26 ฟังก์ชัน f ซึ่งกำหนดโดย f(x) = 2x – 1 มีฟังก์ชันผกผันหรือไม่


วิธีทำ

ตัวอย่างที่ 27 จงหาฟังก์ชันผกผันของฟังก์ชัน f ซึ่งกำหนดโดย f(x) = 3x + 1


วิธีทำ
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ เติม 2 (ค31203) 38 ครูผู้สอน นายวีรภัทร ทันวงษา

แบบฝึกทักษะที่ 6
ฟังก์ชันผกผัน

จงหาฟังก์ชันผกผันของ f
1. f(x) = 5 – x

x
2. f(x) =
5

5 − 2x
3. f(x) =
1 + 3x

You might also like