You are on page 1of 64

สารบัญ

เวกเตอร์ในสามมิติ
• ระบบพิกัดฉากสามมิติ 2
• เวกเตอร์ 6
• การบวก และ ลบ เวกเตอร์ 11
• เวกเตอร์ในระบบพิกัดฉาก 24
• พีชคณิตของเวกเตอร์ 27
• โคไซน์แสดงทิศทาง และมุมกำหนดทิศทาง 30
• เวกเตอร์หนึง่ หน่วย 34
• ผลคูณเชิงสเกลาร์ 41
• ผลคูณเชิงเวกเตอร์ 52

1
1. ระบบพิกัดฉากสามมิติ

Z
Z

ระนาบ
ระนาบ YZ

Y XZ Y
ระนาบ
XY
X
X

Ex1. จงหาโพรเจกชันของ จุด P ( 2,3,4 ) บนระนาบ xy , yz และ xz

Z โพรเจกชันของจุด P ( 2,3,4 ) บนระนาบ xy คือจุด ..................

P โพรเจกชันของจุด P ( 2,3,4 ) บนระนาบ yz คือจุด ..................

โพรเจกชันของจุด P ( 2,3,4 ) บนระนาบ xz คือจุด ..................


Y

2
Ex2. จงหาโพรเจกชันของจุด P , Q บนระนาบ xy , yz และ xz
เมื่อ P , Q มีพิกัดเปน ( 3,– 4,8 ) และ ( –4, 2,–3 ) ตามลําดับ

Ex3. จากรูปที่กําหนดให จงหาตําแหนงของจุด P , Q , R และ S


Z
C ( 0,0,6 ) R
S P

Y
O B ( 0,4,0 )
A ( 3,0,0 ) Q
X

3
Ex4. จากรูปที่กําหนดให จงหาตําแหนงของจุดพิกัดตางๆที่เหลือ
Z
H G

A D Y

E F ( –4,3,–5 )

X B
C

O E
Y

G F

D C
X
B A ( 3,2,–5 )

4
Æ ระยะทางระหวางจุดสองจุดในปริภูมิสามมิติ

Y Z

Y
X

Π ทฤษฎีบท ระยะทางระหวางจุด P(x1,y1,z1) และ Q(x2,y2,z2) หรือ PQ มีคาเทากับ

( x 2 − x 1) 2 + (y 2 − y1 ) 2 + (z 2 − z1 ) 2

Ex1. กําหนดให P ( 1,–2,7 ) และ Q ( –2,–1,0 ) เปนจุดในสามมิติ จงหาขนาด PQ

Ex2. จงพิจารณาวา สามเหลี่ยมที่มีจุดยอดที่ A( 1,2,1 ) , B( –3,7,9 ) และ C( 11,4,2 ) เปน


สามเหลี่ยมชนิดใด

5
2. เวกเตอร ( Vector )

บทนิยาม ปริมาณที่มีแตขนาดเพียงอยางเดียว เรียกวา ปริมาณสเกลาร ( scalar quantity )


ปริมาณที่มีทั้งขนาดและทิศทาง เรียกวา ปริมาณเวกเตอร ( vector quantity )

1. เราจะใช “ สวนของเสนตรง ” แทน “ ขนาดของเวกเตอร ”


และ ใช “ หัวลูกศร ” แทน “ ทิศทางของเวกเตอร” B AB = − BA
ขนาดของ “ เวกเตอร เอ – บี “ ( AB ) สามารถเขียนแทนดวยสัญลักษณ AB AB = BA
A

2. u = v ก็ตอเมื่อเวกเตอรทั้งสองมีขนาดเทากัน และทิศทางเดียวกัน
B
⎢ ……..………………………………….……….…………………
A
B
B

A
A

3.ระบบการกําหนดทิศทางของเวกเตอร ( Three figure system )


⎢ …………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………

6
1. ให u ≠ 0, v ≠ 0 u // v เมื่อมีจําวนจริง k ≠ 0 ซึ่งทําให u = kv

⎢ ……..……………………….. ⎢ …………..…….…………………
⎢ ……..……………………….………………………………………………………..

Ex1. จงอธิบายความหมายของ u = 3 v Ex2. จงอธิบายความหมายของ u = –2 v

1 4
Ex3. จงอธิบายความหมายของ u = v Ex4. จงอธิบายความหมายของ u = − v
2 3

Ex5.
ถา u = kv จงหาคา k
u =2

v =3

Ex6. B กําหนดให u = AB จงหา


1. AM 2. OM
M
O 3. NB 4. OA
N
5. MA 6. BA
A

7
Ex7. ขอใดผิด
1. ถา u = −v แสดงวา u และ v มีขนาดเทากัน แตทิศทางตรงขาม
2. ถา 2u − v = 0 แลว u จะมีขนาดเปน 2 เทาของ v และมีทิศเดียวกัน
3. ถา u แทนการเดินทาง 50 เมตร ในทิศ 25 o แลว − u คือการเดินทาง 50 เมตรในทิศ 205 o
4. ถา u + v = 0 เมื่อ u ≠ 0 และ v ≠ 0 แลว u // v

Ex8. ถา u ≠ 0, v ≠ 0 และ 3 v +5 u = ( a2+4a) u +2 v เมื่อ a เปนจํานวนจริงใดๆ


ถา u และ v มีทิศทางเดียวกันแลว จงหาคาของ a

Ex9. ให u ≠ 0, v ≠ 0 และ a เปนจํานวนจริงใดๆ ขอใดที่ u และ v มีทิศทางไปทางเดียวกันเสมอ


1. 3 u +5 v = a u – 2 v 2. 2a2 u +3 v = 3 u – 4 v
3. 5 u –3 v = 2a2 v – 2 u 4. ( 1 – a2 ) u = a2 v

5. ให u , v ≠ 0 และ u // v ถา au + bv = 0 แลว a = 0 และ b = 0

Ex1. กําหนด u , v ≠ 0 และ u // v ถา a 2 u − bv = au + 3v โดย a>0 จงหา a + b ( ตอบ – 2 )

8
Π การบานชุดที่ 1.

1. จงพิกัดของจุดที่เหลือ โดยอางอิงจากระบบแกนใน 3 มิติ จากรูปในแตละขอตอไปนี้


Z Z

A( –3,–6,0 ) B
O Y Y
A( 1,3,–2 ) C D
B
D C F
H
G
X
H E
E F ( 3,7,–6 ) G ( 0,–2,–5 )
X
รูปที่ 1.1 รูปที่ 1.2

Z Z H G ( –1,6,7 )
E
O E Y F
C
D
G F A ( 3,3,4 ) B
O Y

D C X
X
B A ( 3,2,–5 )

รูปที่ 1.3 รูปที่ 1.4

9
2. ถา 6 u +2 v = v – 2 u แลวขอสรุปใดไมมีโอกาสเปนไปไดเลย ( ตอบ 1 )
1. u ขนาน v และมีทิศทางไปทางเดียวกัน 2. u ขนาน v และมีทิศทางตรงกันขาม
1
3. u = v = 0 4. ขนาดของ u เปน เทาของขนาด v
8

3. ถา u ≠ 0, v ≠ 0 และ w ≠ 0 แลว ขอใดตอไปนี้ไมถูกตอง ( ตอบ 3 )


1. ถา 2 u +3 w = 2 v – 3 u แลว v – u ขนานกับ u + w
2. ถา 4 v – 5 u = 5 w – 4 u แลว v + u มีทิศทางเดียวกันกับ u + w
1 3 3 1
3. ถา u + w = u – v แลว u + v มีทิศทางตรงขามกับ u – w
2 2 2 2
4. ถา u + v = w – u แลว u มีทิศทางเดียวกันกับ w – v

4. กําหนดให u , v ≠ 0 และ 3au + v + u = 2au เมื่อ u และ v มีทิศทางตรงขามกัน จงหาคา a


( ตอบ 1 )
1. ( – 1,∞ ) 2. ( –∞, –1 )
3. ( – 2,∞ ) 4. ( –∞, –2 )

5. กําหนด u ≠ 0, v ≠ 0 และ x u +3 v = 5 u +4x v แลวขอใดถูกตอง ( ตอบ 2 )


4x − 3
1. u , v มีทิศเดียวกัน เมื่อ x > 0 และ u มีขนาด เทาของ | v |
x −5
3 4x − 3
2. u , v มีทิศเดียวกัน เมื่อ x > 5 หรือ x < และ u มีขนาด เทาของ | v |
4 x −5
3. u , v มีทิศตรงขามกัน เมื่อ x > 5 และ v มีขนาดเปน 4 เทาของ | v |
3
4. u , v มีทิศตรงขามกัน เมื่อ < x < 5 และ v มีขนาดเปน 5 เทา | u |
4

6. กําหนด x ≠ 0 , y ≠ 0 และ 8 x + r ( y − x ) = 2s( y + x ) ซึ่ง x และ y ไมขนานกันคาของ rs เปนเทาใด ( ตอบ 3 )


1. 1 2. 6 3. 8 4. 16

10
Æ การบวก และ ลบ เวกเตอร ( Addition and Subtraction of Vectors )

Π รูปแบบพื้นฐานการบวกเวกเตอร ( หาง – ตอ – หัว )


⎢ …………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
……………….…………………………………………………………………

Ex1. กําหนดเวกเตอร ดังรูป จงหา

v v v v
a b c d

v v v v v
1.1 a + b 1.2 a +b – c

v v v v v v
1.3 – c – d 1.4 c + a + b – d

v v v 3 v v v 1 v v
1.5 2 a + b – c + d 1.6 a +2 b – c + d
2 2

11
 การบวก และ ลบ เวกเตอรกับสี่เหลี่ยมดานขนาน ( หาง – ตอ – หาง )

1. …………………………………………………………………………………………………………………………………

2. …………………………………………………………………………………………………………………………………

u u +v u u
v– u u −v

v v v

พิสูจน 1. พิสูจน 2. พิสูจน 3.

 SA – RUP เรื่องการบวก และ ลบ เวกเตอร


1. …………………………………………………………………………………………………………………………………

2. …………………………………………………………………………………………………………………………………

Ex1. A
แง … แง …. ทําไม ?
B C E ไมบอกกอนวา ?
………………………………………
………………………………………
D ………………………………………
1. AB + BC เทากับขอใด
1. AC 2. CE 3. CD 4. ไมมีขอถูก

12
2. BC + CE เทากับขอใด
1. CD 2. AC 3. BE 4. ไมมีขอถูก

3. BC + CD เทากับขอใด
1. AD 2. BD 3. AE 4. ไมมีขอถูก

4. BC + CA + AB เทากับขอใด
1. DE + EC + CD 2. BA + AC + CB
3. BC + CE + ED + DC + CB 4. ถูกมากกวา 1 ขอ

v
Ex2. E a D
v v
b f
O
F C
v v
c e

v
A d B
v v
1. a + b เทากับขอใด
v v v
1. c 2. d 3. f 4. ไมมีขอถูก

v v
2. b + c เทากับขอใด
v v v v v v
1. e + f 2. e + d 3. a + f 4. ไมมีขอถูก

v v
3. f + d เทากับขอใด
1. CE 2. BF 3. ถูกทั้ง 1 และ2 4. ไมมีขอถูก

13
Ex3. E D
วน ... ไป วน ... มา งง .…
O จนจะกินหางตัวเองแลวนะ /
F C

A B
1. FE − FA เทากับขอใด
1. EA 2. BD 3. FD 4. AC

2. AD − AF เทากับขอใด
1. AB − AD 2. CD − CB 3. ED − EF 4. ไมมีขอถูก

3. ED − AB เทากับขอใด
v
1. FC 2. EC 3. 0 4. ไมมีขอถูก

4. FO − OC เทากับขอใด
1. EO − OB 2. EO + OE 3. AB − OC 4. ถูกทุกขอ

5. AO + CD เทากับขอใด
1. FE − FA 2. CD − CB 3. − EA 4. ถูกทุกขอ

6. AF − BC เทากับขอใด
1. CB − BA 2. OA − OB 3. CB − CD 4. ถูกทุกขอ

7. AB − OE เทากับขอใด
1. ED + DC 2. OE − OC 3. − CE 4. ถูกมากกวา 1 ขอ

14
Ex4. A B จากรูป เวกเตอรในขอใดไมเทากับขออื่น
1. AB + BD + DC + CB − AB
2. AB + BC + CD
3. AC − BC + BD
4. AB + BC + CA + AD

D C

Ex5. จากรูปเปนสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีขนาดเทากัน 3 รูปวางเรียงติดกัน


A B E F จงหาคาของ AB − BC + CD
1. AD 2. DA
3. CF 4. AH

C D G H

Ex6. ถากําหนด u = 3 AB + 2 BC + 8CD + 5 DA − 6 BA − 3CB − 4 AD + 4 BD + 3 DC


1 1 1 1 1 1
v=
AB + BC − AB + CB + CA + BC
3 6 6 2 6 2
แลว จงหาคาของ u + v

Ex7. D w C จากรูป จงเขียนเวกเตอร AD , AC และ CD ในรูป


v u และ v
E
u 2u

A 2w B

15
Ex8. นองเตย ไปเดินแบบในงาน Marathon Fashion show โดยในการเดินแบบครั้งนี้นองเตยจะตองเดินใน
ทิศ 030° เปนระยะทาง 100 กิโลเมตร แลว เดินทางตอไปในทิศ 150° อีกเปนระยะทาง 50 กิโลเมตร
อยากทราบเมื่อเดินแบบเสร็จนองเตย จะอยูทางทิศใดและหางจากจุดเริ่มตนประมาณกี่กิโลเมตร ( ตอบ 4 )
1. ทิศ 030° ระยะ 86 กิโลเมตร 2. ทิศ 060° ระยะ 86 กิโลเมตร
3. ทิศ 060° ระยะ 87 กิโลเมตร 4. ทิศ 030° ระยะ 87 กิโลเมตร

Π การบานชุดที่ 2.

1. กําหนด A , B , C , D , E และ F บนระนาบ จงพิจารณาขอความตอไปนี้


ก. DC + BA + CB + AD = 0
ข. AB + DE + BC + EF + CA + FD = 0
ค. AB − DC + BC − FE + DE − AF ≠ 0 ขอใดตอไปนี้ถูกตอง ( ตอบ 2 )
1. ถูกเพียง 1 ขอ 2. ถูกเพียง 2 ขอ 3. ถูกทุกขอ 4. ผิดทุกขอ

1
2. C กําหนด CA = 15u ,CE = 15v ,CB = CA
3
1
B D และ CD = CE จงหา BD และ AE ( ตอบ 2 )
3
1. 5 u – 5 v , 15 u –15 v 2. 5 v – 5 u ,15 v – 15 u
A E
3. 5 v – 5 u , 15 u – 15 v 4. 5 u –5 v ,15 v – 15 u

3. C D E จากรูป ให BA = u , BC = v จุด D และ F เปนจุด


กึ่งกลางของดาน CE และ AE ตามลําดับ
v ถา BA = BC = CD แลว
1
F จงเขียน DF ในรูปของ u กับ v ( ตอบ ( u - v ) )
2
B u A

16
4. กําหนด P , Q , R และ S เปนจุดกึ่งกลางของดาน AB , BC , CD และ DA ตามลําดับ ดังรูป
ขอใดตอไปนี้สรุปไดถูกตอง ( ตอบ 2 )
B
P
A 1. PQRS เปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
2. PQRS เปนรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน
Q 3. PQRS เปนรูปสี่เหลี่ยมขนมเปยกปูน
S 4. PQRS เปนรูปสี่เหลี่ยมคางหมู

D C
R

5. E D จากรูป ABCDEF เปนรูปสี่เหลี่ยมดานเทา ขอใดตอไปนี้ไมถูกตอง ( ตอบ 4 )


1. AB + AE = AD
O 2. AB + AF = ( 1 / 2 ) AD
F C 3. AB + AC + AE + AF = 2 AD
4. 4 AB + 2 AC + AD + AE + 5 AF = 5 AD
A B

6. รูปสี่เหลี่ยม ABCD มีจุด P , Q และ R D C


เปนจุดกึ่งกลางดาน AB , BC และ AC
ตามลําดับ จะไดเวกเตอร DA + DB + DC
มีผลลัพธเทากับเวกเตอรในขอใดตอไปนี้ ( ตอบ 3 ) R Q

1. DP − DQ − DR 2. DP − DQ + DR
A P B
3. DP + DQ + DR 4. DP + DQ − DR

17
D C
7. ABCD เปนสี่เหลี่ยมดานขนาน มี M เปนจุดกึ่งกลาง ดาน AB และ
ให DM ตัดเสนทะแยงมุม AC ที่จุด O ขอใดตอไปนี้ผิด ( ตอบ 4 )

A M B
1. AO + OM + MB + BC = DC − DA 2. OC + CD + DO = AC + CA
3. AO − DO = BA − CA 4. AD − AM = 2 MO

8. ยิงลูกดอกขึ้นไปบนทองฟาในแนวดิ่ง ดวยอัตราเร็ว 8 เมตร/นาที และ ขณะนั้นมีลมพัดไปทางทิศตะวันตก


ดวยอัตราเร็ว 360 เมตร/ชั่วโมง จงหาวาใน 1 นาที ลูกดอกจะไปไดไกลกี่เมตร และ อยูทางทิศไหนของจุดเริ่มตนในระนาบดิ่ง (
กําหนด tan 53°8′ = 4/3 ) ( ตอบ 4 )
1. ไกล 10 เมตร ทิศ 053°8′ 2. ไกล 10 เมตร ทิศ 036°52′
3. ไกล 10 เมตร ทิศ 306°52′ 4. ไกล 10 เมตร ทิศ 323°8′

Æ โจทย เวกเตอร ในเชิงเรขาคณิตวิเคราะห

Ex1. ให BC = CD และ AC = DE = u , CB = v จงหา AB + EB


B

C E

A D

18
v v 2
Ex2. กําหนด AB = a , AC = b และ BD = DC จงหา AD
3
B

A C

Ex3. จากรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน ABCD ถาจุด Q อยูบนดาน AB ทําให AQ : QB = 2 : 3


ถา AB = u และ AD = v จงหา PQ
D C
P

A B
Ex4. กําหนดให ABCD เปนสี่เหลี่ยมจัตุรัส มี M และ N เปนจุดกึ่งกลางดาน BC และ CD ตามลําดับ ถา
AM = u และ AN = v จงหา AB , AD

Ex5. จากรูป จงหา AC , AD และ BE ในรูปของ u , v และ w E D

w
F C

v
A u B

19
Ex6. กําหนด ABCDEF เปนทรงสามเหลี่ยม
จงเขียน AD , FD , BD , และ FC D
F
ในรูปของ u , v และ w
w
C
A E
u v
B

Ex7. กําหนดให ABCDEFGH เปนทรงสี่เหลี่ยมดานขนาน H G


ให AG = U และ EC = V แลว AC U
เทากับเวกเตอรในขอใดตอไปนี้ ( ตอบ 1 ) E F
D C
1.
U+ V
2. U − 2V
V
2 A B
2U − V
3. 4. 3U + 2V
2

Π การบานชุดที่ 3.

1. กําหนด OA = a , OB = b , OP = p และ จุด P แบง AB โดย AP : PB = h: k จงหา OP ( ตอบ 2 )


A
a +b ka + hb
1. 2.
h+k h+k
ha + kb
3. 4. ไมมีขอถูก P
h+k

O B
A
2. จากรูป ให AC = a , AB = b ถา BD : DC = 4 : 3
และ AE : ED = 2 : 3 แลว เมื่อเขียน BE = x a + yb E
คาของ x + y เทากับขอใดตอไปนี้ ( ตอบ 1 )
1. –3/5 2. 3/5
3. – 1 4. 1 B D C

www.tutoronline.co.th
20
3. กําหนด AB = u , AC = v , BD : DC = 3 : 4 , AE : ED = 2 : 1 A
จะได AE ตรงกับขอใด ( ตอบ 2 )
8 1 8 2
1. u + v 2. u + v
13 4 21 7 E
1 1 21 1
3. u− v 4. u − v
12 4 13 4 B C
D

4. ABCD เ ปนรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน มี M เปนจุดกึ่งกลางของดาน AD ลาก MB D C


ตัดกับ AC ที่จุด P จงหา DP ในรูปของ DA และ DC ( ตอบ 1 )
2 1 3 1 M
1. DA + DC 2. DA + DC
3 3 2 2
1 1 1 1 P
3. DA + DC 4. DA + DC
3 2 2 3 A B

5. กําหนดให AD = u , DB = v และ DC = x จากรูป AB : BC = 3 : 1 D


จะได x ในรูปของ u , v ตรงกับขอใด ( ตอบ 2 )
1 1
1. ( 3u − 4v ) 2. ( u + 4v )
3 3
1 1
3. ( u − 3v ) 4. ( 3u + v )
4 4 A B C

6. จากทรงสี่เหลี่ยมดานขนานตอไปนี้ ให M เปนจุดบนดาน DC


H G
โดยที่ DM : MC = 1 : 4 , N เปนจุดบนดาน FG
โดยที่ FN : NG = 2 : 1 ให U = AB , V = AD E F
และ W = AE แลว AM + DN คือเวกเตอรใด ( ตอบ 4 )
1 2 C
1. 6U + 2V + W 2. U + V − W D
5 3
2 2 1 6 2 A B
3. U − V − W 4. U + V + W
5 3 3 5 3

21
7. กําหนดให ABCDEFGH เปนทรงสี่เหลี่ยมดานขนาน ให AB = U , AD= V และ AE = W
ถา M เปนจุดบนดาน BC ซึ่งทําให BM : MC = 2 : 5 H G
N เปนจุดบนดาน CG ซึ่งทําให CN : CG = 1 : 3 O
และ O เปนจุดบนดาน FG ซึ่งทําให FO : OG = 1 : 1 F N
E
จงพิจารณา ขอใดตอไปนีผ้ ิด ( ตอบ 3 )
1 1 C
1. AN = U + V + W 2. BO = W + V D
3 2 M
2 5
3. ME = U + V − W 4. HM = U − V − W A B
7 7

H G
8. จากทรงสี่เหลี่ยมผืนผาที่กําหนดใหตอไปนี้
ให U = AB , V = AD และ W = AE
E F
พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. AC +DH +FG = U+ W ข. (U– V ) –HB = W D C
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง ( ตอบ 3 )
1. ก. และ ข. ถูก 2. ก. ถูก แต ข. ผิด A B
3. ก. ผิด แต ข. ถูก 4. ก. และ ข. ผิด

1 D C
9. จากรูป ABCD เปนสี่เหลี่ยมดานขนาน กําหนด AE = AB , BE = a
3
, FA = b จงเขียน AD ในรูป a , b ตรงกับขอใด ( ตอบ 2 )
3 3
1. a − 3b 2. a − 4b F
2 2
3. 3a − 3b 4. 4b − 3a
A B
E

10. ABCD เปน ดานขนาน P เปนจุดแบง BC ที่ทําให BP : PC = 1 : 2 D C


ลาก DP ตัดเสนทะแยงมุมที่จุด O จงหา a เมื่อ AO = a AC ( ตอบ 4 )
1. 1/2 2. 2/3 O
3. –3/4 4. 3/5 P

A B

22
11. จากรูป BE : EA = 1 : 3 และ AD : DC = 2 : 3 A
BA = u , BC = v และ CE ตัด BD ที่ H จงหาวา BH
ในรูป u และ v ไดตรงกับขอใด ( ตอบ 4 )
1 1 D
1. ( 3u + 2v ) 2. ( 3u + 2v )
2 7
1 1 H
3. ( 3u + 2v ) 4. ( 3u + 2v ) E
9 14

B C

3 1
12. จากรูป ให AE = AB และ CE = CD ถา AD = m AC + nBD C
5 3
A B
แลว m – n เทากับขอใดตอไปนี้ ( สมาคมฯ 42 ) ( ตอบ 2 )
11. 1/15 2. 1/4 E
3. 1/2 4. 3/4
D

A
13. กําหนด OA = a , OB = b M และ N เปนจุดกึ่งกลางดาน OA และ OB
ถา AG = p AN , BG = q BM จงหา OG ( ตอบ 2 )
1 1
1. (a + b ) 2. (a + b ) M
2 3
G
1 1
3. (a − b ) 4. (a − b )
2 3
O N B

14. จากรูป ABC เปนสามเหลี่ยมมี X , Y เปนจุดบนดาน AB และ AC A


ที่ทําใหอัตราสวนแบง AX : XB = AY : YC = 2 : 3
ถา CX และ BY ตัดกันที่จุด Z ให AB = u , AC = v แลว X
Y
จงหา ZB ในรูปพจนของ u , v ตรงกับขอใด ( ตอบ 4. )
2 1 2 1
1. − u − v 2. u − v Z
5 5 5 5
2 5 2 5
3. − u + v 4. − v + u
7 7 7 7 B C
23
3. เวกเตอรในระบบพิกัดฉาก

y y Z

P ( a,b,c )
j j
x x U
0 i 0 i c
k j Y
a i
A
b B
• สิ่งที่ตองรู X

…………………………………………………… ………………………………………………………….
…………………………………………………… …………………………………………………………..
…………………………………………………… ………………………………………………………….
…………………………………………………… …………………………………………………………..
…………………………………………………… …………………………………………………………..

Ex1. จงเขียนเวกเตอรที่กําหนดใหในรูป พรอมทั้งหาขนาด และ ความชัน ของเวกเตอรในแตละขอ

( – 2,2 ) v
v v
v ( 1, 3 ) c d
a b 3 1
( – 1 ,– 3
) ( ,–
2 2
)
2 2

24
Ex2. ให O เปนจุดกําเนิด และ P( 2,–2,4 ) , Q( –4,1,–2 ) , R ( 6,5,–7 ) จงเขียนเวกเตอรเหลานี้ในรูปเวกเตอร i , j , k
2.1 OP 2.2 OQ 2.3 OR

Π แลวในกรณีที่จุดเริ่มตนไมไดอยูที่จุดกําเนิดละ
....................................................................................................................................................................
Æ 2D ถาจุด P ( a,b ) และ Q( c,d ) Æ 3D ถาจุด P ( a,b,c ) และ Q( d,e,f )
Q ( c,d ) Q ( d,e,f )

P ( a,b ) P ( a,b,c )

Ex1. กําหนดให AB = 3i − 7 j ถา A( 2,3 ) เปนจุดเริ่มตน จงหาจุด B

Ex2. กําหนดให A( –3,5 ) และ B( – 2,7) จงหา BA

25
Ex3. กําหนดให AB = 8i − 5 j และ B( 5,–3 ) จงหา A

Ex4. จงหาขนาดเวกเตอรในแตละขอ
⎡ x1 − x 2 ⎤
⎢y − y ⎥
⎣ 1 2⎦ 1 ⎡− 1⎤ ⎡4⎤
1. AB = 2. CD = (2⎢ ⎥ + 4⎢ ⎥ )
x1 − 2 x1 x 2 + x 2 + y 22 − 2 y1 y 2 + y12
2 2
5 ⎣1⎦ ⎣− 1⎦
1 ⎛ ⎡− 1⎤ ⎡ 4 ⎤⎞
3. PQ โดย P และ Q คือจุด ( –3, 7) และ ( –2, 6 ) 4. MN = ⎜⎜ ⎢ ⎥ + ⎢ ⎥ ⎟⎟
5 ⎝ ⎣ 9 ⎦ ⎣ − 5⎦ ⎠

Ex5. ให O เปนจุดกําเนิด และ P( 2,–2,4 ) , Q( –4,1,–2 ) , R ( 6,5,–7 ) จงเขียนเวกเตอรเหลานี้ในรูปเวกเตอร i , j , k


5.1 RP 5.2 PQ 5.3 QR

Ex6. กําหนดให P ( 1,–2,7 ) และ Q ( –2,–1,0 ) เปนจุดในสามมิติ จงหาขนาด PQ

26
Æ พีชคณิตของเวกเตอร

บทนิยาม สองมิติ ( 2D ) สามมิติ ( 3D )


⎡a ⎤ ⎡d ⎤
⎢b ⎥ = ⎢ e ⎥ ก็ตอเมื่อ
⎡a ⎤ ⎡c ⎤ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥
การเทากัน ⎢b ⎥ = ⎢d ⎥ ก็ตอเมื่อ ................................ ⎢⎣ c ⎥⎦ ⎢⎣ f ⎥⎦
⎣ ⎦ ⎣ ⎦
......................................

⎡a ⎤ ⎡ d ⎤ ⎡a ± d ⎤
⎡a ⎤ ⎡ c ⎤ ⎡a ± c⎤ ⎢b ⎥ ± ⎢ e ⎥ ⎢b ± e ⎥
การบวก – ลบ ⎢b ⎥ ± ⎢d ⎥ = ⎢b ± d ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥ = ⎢ ⎥
⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎢⎣ c ⎥⎦ ⎢⎣ f ⎥⎦ ⎢⎣c ± f ⎥⎦

⎡0 ⎤
⎡0 ⎤ ⎢0 ⎥
เวกเตอรศูนย ⎢0 ⎥ ⎢ ⎥
⎣ ⎦ ⎢⎣0 ⎥⎦

การคูณดวย ⎡a ⎤ ⎡α a ⎤
α ⎡⎢ ⎤⎥ ⎡α a ⎤
α ⎢⎢b ⎥⎥ ⎢αb ⎥ เมื่อ α
a
= ⎢αb ⎥ เมื่อ α ∈ R = ⎢ ⎥ ∈R
สเกลาร ⎣b ⎦ ⎣ ⎦ ⎢⎣ c ⎥⎦ ⎢⎣ αc ⎥⎦

Ex1. ถา a, b ∈R โดยที่ (bi + 4 j ) + (5i + 6 j ) = a(4i + 5 j ) จงหาคา a + b

Ex2. กําหนดให a, b ∈R และ − 7(ai + bj ) + 4(ai + bj ) = 2i จงหา a, b

Ex3. กําหนดให 2(a2 i + b j ) – 3(a i + b 2 j ) = 2 i − j และ a , b > 0 จงหา a – 2 b

27
Ex4. กําหนด A( 1,2 ) , B( 4, 6 ) , C( 2,–2 ) และ D( x,y ) ถา AC = 3DB จงหา x + y ( ตอบ 11 )

⎡ 1⎤ ⎡− 3⎤ ⎡− 1⎤
Ex5. กําหนด a = ⎢ ⎥, b = ⎢ ⎥, k = ⎢ ⎥ ; จงเขียน k ในรูปของ a และ b ไดดังขอใด
⎣2⎦ ⎣4⎦ ⎣8⎦
1. 4 a + b 2. a +4 b 3. 2 a + b 4. a +2 b

Ex6. ถา ai + bj = 3u − v เมื่อ u = 2i + 2 j และ v = i − j จงหา a + b

⎡ 2⎤ ⎡ 4⎤ ⎡− 1⎤
Ex7. กําหนด u = ⎢ ⎥ , v = ⎢ ⎥ , w = ⎢ ⎥ ถา w = xu + yv จงหาคา x – y
⎣ 4⎦ ⎣ 2⎦ ⎣− 1⎦

Ex8. กําหนด u = 2i + 4 j และ v = (m + n)i + (2m − n) j ถา u = 2 v แต ทิศตรงขาม


จงหา u + v

⎡0⎤ ⎡18 ⎤
Ex9. กําหนด OA = ⎢ ⎥ , OB = ⎢ ⎥ , P เปนจุดๆหนึ่งบน AB จงหา OP เมื่อ AP : PB = 1 : 3
⎣10⎦ ⎣22⎦

28
Ex10. กําหนดให AB = 4 i – 2 j +3 k และ A ( 0,1,–2 ) เปนจุดเริ่มตน จงหาจุดสิ้นสุด B

Ex11. กําหนดให PQ = – i +3 j – 4 k และ Q ( 3 ,–1 , 2 ) เปนจุดสิ้นสุด จงหาจุดเริ่มตน P

Ex12. กําหนดให A ( 2 ,–1 , z ) และ B ( 3 , y , 2 ) เปนจุดในสามมิติ


ถา PQ = ( 2x , 4 , 0 ) และ PQ = AB จงหา 4x + 3y + z

Ex13. กําหนดให A = 2 i + ( b–1 ) j + ( c–9 ) k , B = ( a+1 ) i + 3 j


ถา A = B จงหา a + 2b +c

Ex14. กําหนดให A = ( 2,3,–1 ) และ B = ( – 6,2,4 ) จงหา


14.1 A + B 14.2 3A 14.3 4 A –2B

Ex15. กําหนดให Z เปนเวกเตอรที่มีจุดเริ่มตนที่ ( 2,–1,3 ) และจุดสิ้นสุดที่ ( –4,7,5 )


จงพิจารณาวา Z ขนานกับเวกเตอรใดตอไปนี้
15.1 X = 3i –4 j –k
15.2 Y = 12 i –16 j +4 k

29
Æ โคไซนแสดงทิศทาง และ มุมกําหนดทิศทาง(Direction Angle and Direction cosine)

⎡ a1 ⎤
Z ⎢ ⎥
กําหนดให a = ⎢a 2 ⎥ ซึ่ง ⎜ a ⏐≠ 0 กําหนด α , β , γ ∈ [ 0,π ]
P ( a1,a2,a3 )
⎢a3 ⎥
⎣ ⎦
a เปนมุมที่วัดจากแกนพิกัดดานบวกทั้งสามตามลําดับไปยัง a จะได
a1 a2 a3
γ cosα = , cosβ = , cosγ =
a a a
β
Y a1 a 2 a3
α
Π โคไซนแสดงทิศทาง Æ , ,
a a a
X
Π มุมกําหนดทิศทาง Æ α ,β,γ

⎡3 ⎤
⎢ ⎥
Ex1. ให a = ⎢4⎥ จงหาโคไซนแสดงทิศทางของ a
⎢5 ⎥
⎣ ⎦

Ex2. จงหาโคไซนแสดงทิศทางของเวกเตอรที่มีจุดเริ่มตนที่ P( 0,3,5 ) และ จุดสิ้นสุดที่ Q( 1,5,2 )

30
Π การบานชุดที่ 4.
1. กําหนดให AB เปนสวนของเสนตรง โดยที่จุด P เปนจุดแบง AB ออกเปนอัตราสวน 2 : 3
⎡14⎤ ⎡ 2⎤
ถา OA = ⎢ ⎥ และ OP = ⎢ ⎥ จงหา OB ( ตอบ – 16i – 2j )
8
⎣ ⎦ 4 ⎣ ⎦

2. กําหนดให ABCD เปน สี่เหลี่ยมดานขนาน มีพิกัด A( – 1, 2 ) และ AB = 9i + 4 j , AD = −i + 5 j


จงหาพิกัดของจุด C ( ตอบ ( 7,11 ) )

⎡3⎤ ⎡6 ⎤ ⎡3 ⎤
3. กําหนดให OA = ⎢ ⎥ และ OB = ⎢ ⎥ จงหา AB ( ตอบ ⎢ ⎥ )
⎣ − 2⎦ ⎣5 ⎦ ⎣7 ⎦

⎡20⎤ ⎡− 20⎤
4. ถา OA = ⎢ ⎥ , OB = ⎢ ⎥ และ C เปนจุดตัดกันของเสนมัธยฐานของ Δ OAB จงหา OC ( ตอบ 4j )
⎣6⎦ ⎣ 6 ⎦

⎡3⎤ ⎡5 ⎤ ⎡7 ⎤
5. ถา u = ⎢ ⎥ , v = ⎢ ⎥ , w = ⎢ ⎥ จงหาพิกัด w ในรูปของ u , v ( ตอบ 3 )
⎣4⎦ ⎣6 ⎦ ⎣8 ⎦
1. − u + v 2. 2u − v 3. 2v − u 4. 2u − 2v

6. กําหนดให ABCD เปนสี่เหลี่ยมใด ๆ โดย AB, BC และ CD มีขนาดและทิศทางเดียวกับ 2i , i + j


⎡− 4 ⎤
และ i − 3 j ตามลําดับ จงหา DA ( ตอบ ⎢ ⎥ )
⎣2 ⎦

31
7. กําหนด u = 5 i – 3 j และ v = 2 i – 3 j จงหา u − v ( ตอบ 3 )
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

⎡3 ⎤ ⎡ 1⎤
8. กําหนด AB = ⎢ ⎥ และ AC = ⎢ ⎥ จงหา BC ( ตอบ 2 )
⎣5 ⎦ ⎣3 ⎦
1. – 3 i – 2 j 2. – 2 i – 2 j 3. 2 i + 2 j 4. 3 i + 2 j

⎡7⎤ ⎡a ⎤
9. กําหนด u = 5 i +3 j และ v = 2 i – 6 j ถา a u +b v = ⎢ ⎥ แลว ⎢ ⎥ จะเทากับขอใด ( ตอบ 1 )
⎣− 3⎦ ⎣b ⎦
⎡1⎤ ⎡ 1⎤ ⎡2⎤ ⎡− 1⎤
1. ⎢ ⎥ 2. ⎢ ⎥ 3. ⎢ ⎥ 4. ⎢ ⎥
⎣1⎦ ⎣2⎦ ⎣ 1⎦ ⎣− 1⎦

10. ให u = – 2 i +3 j , v = – 6 i +5 j , w = 2 i – 3 j ถา a u +b v = 2 w จงหา a, b ( ตอบ 4 )


1. a = 1 , b = – 1 2. a = 2 , b = 2 3. a = 0 , b = 2/3 4. a = – 2 , b = 0

11. กําหนด u = 5 i – 2 j และ v = – i +3 j จงหา 3 u – 2 v ( ตอบ 3 )


1. 6 i – 5 j 2. 6 i + 5 j 3. 17 i – 12 j 4. 17 i +12 j

⎡2⎤ ⎡5 ⎤
12. กําหนด a = ⎢ ⎥ และ b = ⎢ ⎥ คาของ a − b เทากับขอใด ( ตอบ 2 )
⎣3 ⎦ ⎣7 ⎦
1. 3 2. 5 3. 7 4. 9

13. ถา u = 6 i – 5 j , v = i + j , w = 3 i – j แลว u + 2 v − 3 w คือขอใด ( ตอบ 1 )


1. 1 2. 2 3. 3 4. 2

32
⎡− 7⎤ ⎡− 5⎤
14. ถา DA = ⎢ ⎥ และ DB = ⎢ ⎥ แลว AB คือขอใด ( ตอบ 1 )
⎣4⎦ ⎣6⎦
1. 2 i + 2 j 2. – 2 i – 3 j 3. 2 i + 3 j 4. – 12 i + 12 j

⎡ 1⎤ ⎡2⎤
15. กําหนดให AB = ⎢ ⎥ , CD = ⎢4⎥ และ จุด A( –3,6) , D(1,0) จงหา AD + BC ( ตอบ 3 )
⎣3 ⎦ ⎣ ⎦
⎡5⎤ ⎡3 ⎤ ⎡ 5 ⎤ ⎡ 3 ⎤
1. ⎢ ⎥ 2. ⎢ ⎥ 3. ⎢ ⎥ 4. ⎢ ⎥
⎣15⎦ ⎣7 ⎦ ⎣− 19⎦ ⎣−15⎦

16. กําหนด จุด A( 1,1 ) , B( 3,5 ) , C( 2,8 ) มาให จงหาคาของ AB + AC ตรงกับขอใด ( ตอบ 3 )
1. – i –6 j 2. – i + 6 j 3. i +6 j 4. i –6 j

17. จงหาเวกเตอร AB โดย A( 2,3,–2 ) และ B( –1,–2,0 ) ( ตอบ – 3 i – 5 j +2 k )

18. จงหาเวกเตอร CD โดย C( –1,2,–3 ) และ D( –2,–1,1 ) ( ตอบ – i – 3 j +4 k )

19. กําหนด AC = 2 i – 3 j – k และ A( 3, 2, –1 ) จงหาพิกัด C ( ตอบ C คือ ( 5, –1, –2 ) )

20. กําหนด DE = – i +2 j – 2 k และ E( –1,– 3,1 ) จงหาพิกัน D ( ตอบ D คือ ( 0,–5,3 ) )

33
21. จงหาขนาดของเวกเตอร AB โดย
⎡3⎤
⎢ ⎥
21.1 AB = ⎢− 6⎥ 21.2 AB = 5 i + 2 j – k 21.3 มี A ( 2,1, –1 ) และ B( –1,3,–1 )
⎢2⎥
⎣ ⎦
( ตอบ 7 ) ( ตอบ 30 ) ( ตอบ 13 )

22. เวกเตอรตอไปนี้เปนเวกเตอรหนึ่งหนวยหรือไม
1 2 2 6 2 3
22.1 u = i + j – k 22.2 v = i + j – k 22.3 w = i – j + k
3 3 3 7 7 7
( ตอบ u เปนเวกเตอร 1 หนวย ) ( ตอบ v ไมเปนเวกเตอร 1 หนวย ) ( ตอบ w เปนเวกเตอร 1 หนวย )

Æ เวกเตอรหนึ่งหนวย ( Unit Vector )

2D ( สองมิติ ) 3D ( สามมิติ )
กําหนดให u ⎡a ⎤
⎡a ⎤
เปนเวกเตอรใดๆ u = ai + bj = ⎢ ⎥ u = ai + bj + c k = ⎢⎢b ⎥⎥
⎣b ⎦ ⎢⎣ c ⎥⎦

⎡a ⎤
⎡a ⎤ ⎢ ⎥
1. เวกเตอร 1 หนวย u ⎢b ⎥ u ⎢b ⎥
ทีม่ ีทิศทางเดียวกับ u u ⎣ ⎦ u ⎢c ⎥
a2 + b2 ⎣ ⎦
a + b 2 + c2
2

⎡a ⎤
⎡a ⎤ ⎢ ⎥
2. เวกเตอร 1 หนวย u −⎢ ⎥ u − ⎢b ⎥
ทีม่ ีทิศตรงขามกับ u

u ⎣b ⎦ –
u ⎢c ⎥
a2 + b2 ⎣ ⎦
a2 + b 2 + c2

34
⎡a ⎤
⎡a ⎤ ⎢ ⎥
3. เวกเตอร 1 หนวย u ±⎢ ⎥ u ± ⎢b ⎥
± ⎣b ⎦ ±
ทีข่ นานกับ u u u ⎢c ⎥
a2 + b2 ⎣ ⎦
a2 + b 2 + c2
⎡b⎤
4. เวกเตอร 1 หนวย ±⎢ ⎥
ที่ตงั้ ฉากกับ u
– ⎣− a⎦ – –
a2 + b2
⎡a ⎤
⎡a ⎤ ⎢ ⎥
5. เวกเตอร k หนวย u k⋅⎢ ⎥ u k ⋅ ⎢b ⎥
k⋅ ⎣b ⎦ k⋅
ทีม่ ีทิศทางเดียวกับ u u u ⎢c ⎥
a2 + b2 ⎣ ⎦
a2 + b 2 + c2
⎡a ⎤
⎡a ⎤ ⎢ ⎥
6. เวกเตอร k หนวย u k⋅⎢ ⎥ u k ⋅ ⎢b ⎥
ทีม่ ีทิศตรงขามกับ u
–k⋅
u ⎣b ⎦ –k⋅
u ⎢c ⎥
a2 + b2 ⎣ ⎦
a2 + b 2 + c2
⎡a ⎤
⎡a ⎤ ⎢ ⎥
7. เวกเตอร k หนวย u ±k⋅⎢ ⎥ u ± k ⋅ ⎢b ⎥
±k⋅ ⎣b ⎦ ±k⋅
ทีข่ นานกับ u u u ⎢c ⎥
a2 + b2 ⎣ ⎦
a2 + b 2 + c2
⎡b⎤
8. เวกเตอร k หนวย ±k⋅⎢ ⎥
ที่ตงั้ ฉากกับ u
– ⎣− a⎦ – –
a2 + b 2

Ex1. กําหนดให u = 3 i +4 j จงหาเวกเตอรที่มีลักษณะดังตอไปนี้


1.1 เวกเตอรหนึ่งหนวยที่มีทิศเดียวกับ u 1.2 เวกเตอรหนึ่งหนวยที่มีทิศตรงขามกับ u

35
1.3 เวกเตอรหนึ่งหนวยที่ขนานกับ u 1.4 เวกเตอรหนึ่งหนวยที่ตั้งฉากกับ u

1.5 เวกเตอร 3 หนวยที่มีทิศเดียวกับ u 1.6 เวกเตอร 4 หนวยที่มีทิศตรงขามกับ u

1.7 เวกเตอร 2 หนวยที่ขนานกับ u 1.8 เวกเตอร 5 หนวยที่ตั้งฉากกับ u

Ex2. กําหนดให u = 8i − 6 j และ v = 3i + 4 j จงหาเวกเตอรที่มีลักษณะดังตอไปนี้

2.1 เวกเตอรหนึ่งหนวยที่มีทิศเดียวกับ u + v 2.2 เวกเตอรหนึ่งหนวยที่มีทิศตรงขามกับ u – v

2.3 เวกเตอร ⎪ v ⎢หนวยที่ขนานกับ u 2.4 เวกเตอร ⎪ u ⎪ หนวยที่ตั้งฉากกับ v

36
2.5 เวกเตอร 2 หนวยที่ขนานกับ u – 2 v 2.6 เวกเตอร 3 หนวยที่ตั้งฉากกับ v – u

Ex3. กําหนด A ( 2, –1 ) และ B ( 3, 4 ) จงหาเวกเตอรที่มีลักษณะดังตอไปนี้


3.1 เวกเตอรหนึ่งหนวยที่มีทิศทางเดียวกับ AB 3.2 เวกเตอรหนึ่งหนวยที่ตั้งฉากกับ AB

3.3 เวกเตอร 2 หนวยที่มีทิศทางเดียวกับ BA 3.4 เวกเตอร 3 หนวยที่ตั้งฉากกับ BA

Ex4. กําหนดให u = −2i + 7 j , v = −2i − 4 j และ w = 7i + 5 j จงหาเวกเตอรซึ่งมีขนาดเทากับ u + v


และ มีทิศทางเดียวกับ u + w

⎡1 ⎤ ⎡5⎤ 1
Ex5. กําหนด u = ⎢ ⎥ , v = ⎢ ⎥ จงหาเวกเตอรหนึ่งหนวยที่มีทิศทางตรงขามกับเวกเตอร (u − v )
⎣ 4⎦ ⎣1⎦ u

37
Ex6. กําหนดให u = −2i + 7 j , v = −2i − 4 j และ w = 7i + 5 j จงหาเวกเตอรซึ่งมีขนาดเทากับ u + v
และ มีทิศทางเดียวกับ u + w

Ex7. จงหาเวกเตอรหนึ่งหนวยที่มีทิศทางเดียวกับเวกเตอร 2 i – j –2 k

Ex8. ให u = 2 i +3 j + 5 k และ v = 2 i – j –2 k จงหา w = ซึ่งมีทิศทางเดียวกับ v และมีขนาดเทากับ u

Ex9. จงหาเวกเตอรที่มีทิศทางเดียวกับ u – v แตมีขนาดเทากับ u + v


เมื่อ u = ( 2,4, –3 ) และ ให v = ( –1, –2 ,3 )

38
Ex10. กําหนด A( 2, 2 ) , B( – 3, – 2 ) , C( 7, 0 ) เปนจุดยอดของสามเหลี่ยม ABC จงหาปริมาณเวกเตอรหนึ่งหนวยที่มี
ทิศทางเดียวกันเวกเตอรจากจุด A ไปยังจุดกึ่งกลางของดาน BC(ตอบ 4)
1. 3 j 2. 5 j – 2 j 3. 2 i – j 4. – j

Π การบานชุดที่ 5.
⎡ − 3⎤
1. จงหาเวกเตอรที่มีขนาด 2 หนวย และขนานกับ ⎢ ⎥ และมีทิศทางตรงขามกัน ( ตอบ 3 )
⎣4⎦
⎡ 6 ⎤
⎡3 ⎤ 2 ⎡3 ⎤ ⎢ 5 ⎥ ⎡6 ⎤
1. −2 ⎢ ⎥ 2. − ⎢ ⎥ 3. ⎢− 8⎥ 4. ⎢ ⎥
⎣4 ⎦ 3 ⎣4 ⎦ ⎢ ⎥ ⎣− 8 ⎦
⎣ 5 ⎦

2. กําหนด A( –2 ,1 ) และ B( 7,4 ) เวกเตอรหนึ่งหนวยที่มีทิศทางเดียวกับ AB คือเวกเตอรในขอใดตอไปนี้ ( ตอบ 2 )


10 3 10 3 10 10 2 10 3 10 3 10 2 10
1. i+ j 2. i+ j 3. i+ j 4. i+ j
10 10 10 10 10 10 10 10

3. กําหนดให u = 3i − 4 j และ v = 4i − 3 j เวกเตอรในขอใดตอไปนี้เปนเวกเตอรหนึ่งหนวยที่ขนานกับ u และ


มีขนาดเทากับ v ( ตอบ 2 )
1. − 3i − 4 j 2. 3i − 4 j และ − 3i + 4 j 3. 3i + 4 j 4. 3i + 4 j และ − 3i − 4 j

4. กําหนดให A ( 1,2 ) , B( 3, –1 ) ถา u เปนเวกเตอรหนึ่งหนวยซึ่งตั้งฉากกับ AB แลว u คือ


เวกเตอรในขอใดตอไปนี้ ( ตอบ 3 )
1 1 1 1
1. ± ( 2i + 3 j) 2. ± ( 2i + 3 j) 3. ± (3i + 2 j) 4. ± (3i + 2 j)
13 13 13 13

5. เวกเตอรในขอใดตอไปนี้มีขนาด 5 หนวย และ ตั้งฉากกับเวกเตอร 3i + 4 j ( ตอบ 2 )


1 1
1. ± (3i + 4 j) 2. ± ( 4i − 3 j) 3. ± ( 4i − 3 j) 4. ± (3i − 4 j)
5 5

39
6. จงหาเวกเตอรที่มีขนาด 10 หนวย และ ตั้งฉากกับ u โดยกําหนด u = 2 i + j (ตอบ 3)
1. – 4 5 i +2 5 j 2. 4 5 i – 2 5 j 3
3. 2 5 i – 4 5 j 4. – 5 i +2 5 j

7. ABCD เปนสี่เหลี่ยมดานขนาน ซึ่ง AB = −2i + 4 j และ AD = −3 + 5 j


จงหาเวกเตอรหนึ่งหนวยที่มีทิศตรงขามกับ BD คือขอใด ( ตอบ 2 )
1 1 1 1
1. − i + j 2. i− j
2 2 2 2
5 9 5 9
3. − i+ j 4. i+ j
106 106 106 106

8. ให A( 1,0 ) , B( 5,0 ) และ C( 3,4 ) เปนจุดยอดของสามเหลี่ยม ABC จงหาเวกเตอรหนึ่งหนวยซึ่งมีทิศทางเดียวกับเวกเตอร


จากจุด A ไปยังจุดกึ่งกลางของดาน BC ( ตอบ 3 )
2 1 1 2 3 2 2 3
1. i+ j 2. i+ j 3. i+ j 4. i+ j
5 5 5 5 13 13 13 13

9. กําหนด u = 2 i + j – 2 k , v = i – 2 j +3 k และ w = – 2 i +3 j +2 k จงหา

9.1 u + v +2 w ( ตอบ – i +5 j +5 k )

9.2 2 u – 3 v + w ( ตอบ – i +11 j – 11 k )

9.3 ⏐3 u – v +2 w ⏐ (ตอบ 147 )

2 1 2
9.4 เวกเตอร 1 หนวย ที่มีทิศเดียวกับ u ( ตอบ i+ j− k )
3 3 3

40
1 1 5
9.5 เวกเตอร 3 หนวย ที่มีทิศตรงขามกับ ( v + w ) ( ตอบ i− j− k )
3 3 3

9.6 เวกเตอรขนาดเทากับ ⏐2 u – v ⏐ และมีทิศเดียวกัน ( u + w ) ( ตอบ 74 j )

4. ผลคูณเชิงสเกลาร ( Scalar Product or Dot product )

Æ 2D ( สองมิติ ) ให u = ( a,b) และ v = ( c,d )

…………………………………………..……………………………………………………………………………..

…………………………………………..…………………………………………………………………………….

Æ 3D ( สามมิติ ) ให u = ( a,b,c ) และ v = ( d,e,f )

…………………………………………..…………………………………………………………………………….

…………………………………………..…………………………………………………………………………….

Π สิ่งที่ควรรู
1. u ⋅ v = v ⋅ u 2. u ⋅ (v + w ) = u ⋅ v + u ⋅ w
2
3. (ku ) ⋅ v = u ⋅ (kv ) = k (u ⋅ v ) 4. u ⋅ u = u
5. ให u , v ≠ 0 ถา u ตั้งฉากกับ v จะไดวา u ⋅ v = 0

Ex1. ถา u = 2 i + j , v = – i +2 j และ w = i + j แลว ( u +2 w ) ⋅ ( u +2 v ) มีคาเทากับขอใด

41
Ex2. กําหนดให u = 2i + j และ v = −2i + 3 j จงหา w ซึ่งทําให u ⋅ W = 2 และ v ⋅ w = 1

⎡1 ⎤ ⎡0 ⎤ ⎡a ⎤
Ex3. กําหนด u = ⎢ ⎥ , v = ⎢ ⎥ , w = ⎢ ⎥ และ v = 2u + w จงหาคาของ v ⋅ ( w − 3u )
⎣ 4⎦ ⎣ 2⎦ ⎣b ⎦

Ex4. ให u = ( a,b,1 ) , v = ( 3,1,–1 ) และ w = ( –3,2,2 )


ถา u ตั้งฉากกับ v และ u ตั้งฉากกับ w แลวจงหา u

Ex5. กําหนดให u = 4 i − 2 j + 3k
u+v = 6i + 4 j + 6k
w = ai +b j โดยที่ a > 0 และ b > 0
และ ⎜ w ⎜ = 2 17
ถา w ตั้งฉากกับ u − v แลว จงหา a+b

42
 เทคนิคเพิ่มเติม “ การ Dot ทําไดเหมือนการคูณพหุนาม ”

(u + 2v ) ⋅ (u − v ) =

(u + v ) ⋅ (u + v ) =

Ex1. กําหนดให u = 8 , v = 2 และ u + v = 9 จงหา u − v

Ex2. ถา u = 8 , v = 3 และ u − 2v = 7 จงหา u ⋅ v

2
Ex3. กําหนด u และ v เปนเวกเตอร ซึ่ง u =3 , v = 8 และ u−v = 97
แลว u ⋅ v มีคาเทาใด ( ตอบ 1 )
1. – 12 2. 12 3. – 18 4. 24

43
Æ มุมระหวาง Vector

Ex1. กําหนดให P = ( 1,1 ) , Q = ( 5,3 ) และ R = ( 3,5 ) จงหามุมระหวาง PQ และ PR

Ex2. ให u = 10 , v = 6 , w = 14 และ u − v = w จงหามุมระหวาง u กับ w

Ex3. กําหนดให A (1, 1) , B ( –1 , –2 ) , C ( 7, 3 ) และ D ( 6 , 5 ) เปนจุดยอดของ ABCD


ถา θ เปนมุมระหวางเสนทแยงมุม 2 เสนตัดกัน จงหาคาของ sin θ

44
Ex4. กําหนดให u = 2v − w โดยที่ v และ w ตางเปนเวกเตอรหนึ่งหนวยที่ทํามุมตอกัน 120 องศา
ถา θ เปนมุมระหวาง u กับ v แลว cosθ มีคา เทากับเทาใด

Ex5. กําหนด u + v + w = u − v − w และ มุมระหวาง u กับ w เทากับ 120 องศา


ถา v = w แลวมุมระหวาง u กับ v มีคา เทาใด

Ex6. กําหนด u = 6 , v = 5 และ ( 2u + v )⋅(u -2 v ) = 5 ถา θ เปนมุมที่ u + v ทํากับ u – v


จงหาคาของ cosθ

Ex7. กําหนดให u = 3i − j +2k , v = i + 2 j + 3 k จงหามุมระหวาง u กับ v

45
Ex8. กําหนดให u = 2i −A j +3k , v = 3 i + 2 j + 4 k จงหาคา A ที่ทําให u ตั้งฉากกับ v

Æ Projection ของเวกเตอร

Ex1. จงหาเวกเตอรที่เปนโปรเจคชัน ของ u บน v เมื่อ u = i + 3 j และ v = 3 i + j ( ตอบ 1 )


3 3 3 3 3 3 3 3
1. i + j 2. i+ j 3. i − j 4. i− j
2 2 2 2 2 2 2 2

Ex2. กําหนด A( –2 ,–3 ) , B( 4,0 ) , C( 2,5 ) จงหาโปรเจคชันของ AB บน AC คือขอใด ( ตอบ 1 )


12 ⎡1 ⎤ 12 ⎡1 ⎤ 5 ⎡1 ⎤ 5 ⎡1 ⎤
1. 2. − 3. 4. −
5 ⎢⎣2⎥⎦ 5 ⎢⎣2⎥⎦ 12 ⎣⎢2⎥⎦ 12 ⎢⎣2⎥⎦

46
Ex3. ให OA = 3i – 4j และ OB = 12i + 5j ลาก BC ตั้งฉากกับ OA ที่จุด C จงหา OC

Ex4. ให AB = 2 i − j + 2 k และ AC = − i + 2 j + 3 k ถาลากเสนตรงที่ผานจุด C มาตั้งฉากกับ AB ที่จุด


D จงหา AD

Π การบานชุดที่ 6.

⎡ 1⎤ ⎡− 3⎤
1. ให u ⋅ w = 1 และ v ⋅ w = 2 ถา u = ⎢ ⎥ , v = ⎢ ⎥ จงหา w ( ตอบ 3 )
⎣− 2⎦ ⎣5⎦
1. 30 2. 91 3. 106 4. 117

2. ให u = 3 i +4 j และ v = 12 i – 5 j จงหา ( u + v )⋅( u – v ) ( ตอบ 3 )


1. 144 2. – 8 3. – 144 4. 136

3. ถา u = i – 3 j , v = – i – 3 j จงหามุมระหวาง u กับ v ( ตอบ 3 )


π π π π
1. 2. 3. 4.
6 4 3 2

4. ถามุมระหวาง u กับ v เทากับ 120° เมื่อ u =2, v = 3 แลว u + v คือขอใด ( ตอบ 2 )


1. 3 2. 7 3. 10 4. 19

47
5. ให u = i +3 j , v = 4 j + j , w = 2 i –3 j คาของ ( u +2 v )⋅( u – 2 w ) เทากับขอใด ( ตอบ 3 )
1. 10 2. – 10 3. 18 4. – 18

6. u ทํามุม 150° กับ j ในทิศทวนเข็มนาฬิกา โดย u มีขนาดเปน 3 เทาของ v


⎡ 2⎤ ⎡ − 1⎤
เมื่อ v = ⎢ ⎥ และ กําหนด w = ⎢ ⎥ จงหา u ⋅ w ( ตอบ 2 )
⎣ 2⎦ ⎣ 3⎦
1. – 5 2. – 6 3. – 7 4. – 8

7. กําหนดให A ( –1,–2 ) , B = ( 3,4 ) เปนจุดปลายเสนผานศูนยกลางของวงกลมวงหนึ่ง ถา C เปนจุดบนเสนรอบวงที่ทํา


ให C Â B = 30° จงหา AB ⋅ BC มีคา เทาใด ( ตอบ 2 )
1. 13 2. – 13 3. 13 3 4. – 13 3

8. กําหนด u , v และ w เปนเวกเตอรใดๆ ที่ไมเทากับเวกเตอรศูนย ซึ่ง u = v = w =4


และ u + v + w = 0 จงหาคา u ⋅ v + v ⋅ w +3 u ⋅ w ( ตอบ 1 )
1. – 40 2. – 32 3. – 24 4. – 16

2 2 2 π
9. กําหนด u = 16 , v = 3 , w = 2 มุมระหวาง u กับ v คือ
4
ถา u + v + w = u − v − w แลว มุมระหวาง u กับ w มีคาเทาไร ( ตอบ 1 )
5π 2π π π
1. 2. 3. 4.
6 3 3 6

10. ถา u และ v เปนเวกเตอรหนึ่งหนวย และ θ เปนมุมระหวาง u และ v ขอใดถูก ( ตอบ 4 )


1 θ
1. u − v = sin 2. ( u + v ) ⋅ ( u − v ) = u 2 − v 2
2 2
1
3. u ⋅ v = ( u + v 2 − u − v 2 ) 4. ถูกทุกขอ
4

48
11. กําหนดให ABC เปนสามเหลี่ยมรูปหนึ่ง ลาก BD ไปตั้งฉากกับ AC และ ลาก CE ตั้งฉากกับ AB
ถา AB = u , AC = v จงหา DE ( ตอบ 3 )
⎡u ⎤ ⎡u ⎤
1. (u ⋅ v ) ⋅ ⎢ 2. (u ⋅ v ) ⋅ ⎢
v v
− ⎥ + ⎥
⎢⎣ u ⎥⎦v ⎢⎣ u v ⎥⎦
⎡ u v ⎤ ⎡ u v ⎤
3. (u ⋅ v ) ⋅ ⎢ 2 − 2 ⎥ 4. (u ⋅ v ) ⋅ ⎢ 2 + 2 ⎥
⎢⎣ u v ⎥⎦ ⎢⎣ u v ⎥⎦

12. จงหา PQ ⋅ RQ ( ตอบ 2 )


y 1. 0
P 1 2. 0.25
3 Q 3. 0.50
4. 1.75
60°
0 R x

13. กําหนดให O เปนจุดศูนยกลางของวงกลม รัศมี 3 หนวย โดยวงกลมดังกลาวลอมรอบรูปสามเหลี่ยมดานเทา ABC ถา


AD เปนเสนผานศูนยกลางวงกลม O จงหา AC ⋅ CD + AD ⋅ DC + CA ⋅ AD ( ตอบ 4 )
1. 6 2. – 6
3. 12 4. –12

14. กําหนด u และ v เปนเวกเตอรหนึ่งหนวยที่ตั้งฉากกัน ถา w เปนเวกเตอรใดๆในระนาบ


จงพิจารณาขอความใดตอไปนี้ถูกตอง ( ตอบ 1.)
1 1
1. w = ( w ⋅ u)u + ( w ⋅ v ) ⋅ v 2. w = ( w ⋅ u)u + ( w ⋅ v) ⋅ v
2 2
w +1 w +1 w +1 w +1
3. w = u+ v 4. w = u+ v
u⋅ w v⋅w v⋅w u⋅ w

15. ให u และ v เปนเวกเตอรหนึ่งหนวย ถา 3u − 2v = 7 จงหามุมระหวาง u และ v คือขอใด ( ตอบ 3 )


1. π + arcsec(2) 2. π – arcsec(2) \
π π
3. – arcsin(1/2) 4. – arccos(1/2)
2 2
49
16. ให u และ v เปนเวกเตอรที่ ≠ 0 ถา θ เปนมุมระหวาง u และ v จะได cosθ เปนเทาใด ( ตอบ 1.)
2 2
1 u v 1 u v
1. 1 − − 2. 1 + −
2 u v 2 u v
2 2
1 u v 1 u v
3. − 1 + − 4. − 1 − −
2 u v 2 u v

17. ถา u = 2 , v = 3 และ u + v = 10 แลว จะไดวา (u ⋅ v ) u − v เทากับขอใด ( ตอบ 2 )


3
1. − 10 2. – 6 3. − 4 10 4. 6
2

18. ให u และ v เปนเวกเตอรขนาด 2 หนวย ที่แตกตางกัน และ ตางก็ทํามุม 60° กับ เวกเตอร i + j
แลว u + v คือเวกเตอรในขอใดตอไปนี้ ( สมาคมฯ40 ) ( ตอบ 2 )
1 1
1. i+ j 2. 2 i + 2 j 3. 2 i +2 j 4. 2 2 i + 2 2 j
2 2

19. กําหนด AB = 4i + 6 j , BC = i − 6 j , D เปนจุดตัดของเสนมัธยฐานของรูปสามเหลี่ยม ABC


ถา θ เปนมุมระหวาง AB ทํากับ DA แลวคาของ cosθ คือขอใด ( ตอบ 4 )
1. 12/13 2. 5/13 3. – 5/13 4. – 12/13

20. ให u = 2i − 3 j , u + v = 10 , u − v = 26 จงหา v ที่ทําใหมุมระหวาง u กับ v มีคาเทากับ


⎛ −4 ⎞
arccos ⎜ ⎟ ( ตอบ 3 )
⎝ 65 ⎠
−2 29 2 29
1. i + 2 j , i+ j 2. i − 2 j , i− j
13 13 13 13
−29 2 −29 2
3. i + 2 j , i− j 4. i − 2 j , i− j
13 13 13 13

21. ถา ABC เปนสามเหลี่ยมใดๆ AB = u , AC = v และ BC = w พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมนี้คือขอใด( ตอบ 1 )


1 1
1. ( v ⋅ v )( w ⋅ w) − ( v ⋅ w) 2 2. (u ⋅ u)( v ⋅ v) − ( w ⋅ w) 2
2 2
1 2 1
3. (u ⋅ u)( v ⋅ v ) − (u ⋅ v ) 4. (u ⋅ v )( v ⋅ w) − (u ⋅ w) 2
2 2

50
22. กําหนดเวกเตอร u = 3i − 4 j , v = 4i + 3 j และ w = ai − b j
ถา มุมระหวาง w กลับ u เทากับ 30° ถา มุมระหวาง w กลับ v เทากับ 60°
และ w มีขนาด 2 หนวย แลว คาของ a + b เทากับขอใดตอไปนี้ ( สมาคมฯ41 ) ( ตอบ 3 )
1 1
1. 1+ 3 2. 1 – 3 3. (7 − 3 ) 4. (1 + 7 3 )
5 5

23. ให u , v และ w ตางไมเปนเวกเตอรศูนย และ ไมขนานกัน ถา u + v + w = u + v − w แลว


ขอใดตอไปนี้ถูกตอง ( ตอบ 2 )
1. u ตั้งฉากกับ v + w 2. w ตั้งฉากกับ u + v 3. u = w + v 4. w = u + v

24. กําหนด u = 3i + j , v = 2i − 2 j ให θ เปนมุมระหวาง u กับ v


ถา x = sin 2 θi + 3 cos θ j และ y = 2 sin 2 θi − 6 cos θ j และ α เปนมุมระหวาง x กับ y แลว
จงหาคา sinα ( ตอบ 2 )
1. 1 2. 24/25 3. 3 /2 4. 1/ 2

51
5. ผลคูณเชิงเวกเตอร ( Cross Product or Vector product

Æ 3D ( สามมิติ ) ให u = ( a,b,c ) และ v = ( d,e,f )

…………………………………………..…………………………………………………………………………………

…………………………………………..…………………………………………………………………………………

Π สิ่งที่ควรรู
1. u × v คือเวกเตอรที่ตั้งฉากกับ u และ v 2. u × v = − ( v × u )

3. u×u = 0 4. ถา u ขนาน v แลว u × v = 0


5. ( u + v )× w = ( u × w ) + ( v × w )
u ×( v + w ) = ( u × v ) + ( u × w )
c ⋅ ( u × v ) = (c ⋅ u ) × v = u × (c ⋅ v )

U× V U
V UV
θ θ

U VU V
U× V

52
Ex1. จงหาคาของ u× v และ v × u จากเวกเตอรที่กําหนดให
⎡2⎤ ⎡5⎤
⎢ ⎥ ⎢ ⎥
1. u = 2i + 3 k 2. u = ( 1,1, – 1 ) 3. u = ⎢7⎥ , v = ⎢ 4 ⎥
⎢0 ⎥ ⎢− 3⎥
v = i +2 j –k v = ( 0,1,0 ) ⎣ ⎦ ⎣ ⎦

Ex2. กําหนดให u = 2 i + j − k และ v = − i − 2 j + k จงหา


2.1 u × v 2.2 v × u

( )
2.3 u × v ⋅ u ( )
2.4 v × u ⋅ v

Ex3. กําหนด u = 2 i − j − 3 k และ v = i − 2 j + 4 k จงหา


1. u × v ( ตอบ − 10 i − 11 j − 3 k ) 2. v × u ( ตอบ 10 i + 11 j + 3 k )

53
3. ( 2 u ) × v ( ตอบ − 20 i − 22 j − 6 k ) 4. u × ( 2 v ) ( ตอบ − 20 i − 22 j − 6 k )

5. ( u + v ) × ( u − v ) ( ตอบ 20 i + 22 j + 6 k )

Ex4. กําหนด u =2 i −6 j −3 k , v =4i +3 j − k


3 2 6
จงหาเวกเตอร 1 หนวยที่มีทิศเดียวกัน u × v ( ตอบ i − j + k )
7 7 7

Ex5. ( )( )
กําหนดให A( 0,1,–1 ) , B( 1,0,2 ) และ C( 3,–1, –2 ) จงหา AB × AC ⋅ AC × AB ( ตอบ –150 )

54
Ex6. จงหา i × j j×k k ×i Z

k
i Y

j
X

k j

Ex7. จงหาสเกลารหรือเวกเตอรในแตละขอตอไปนี้
1. i × ( i × j ) 2. ( i ⋅ i )( i × j )

3. i × [ j × ( − k )] 4. ( 2 i − j + 5 k ) × i

5. ( i × k ) × ( j × i ) 6. k ⋅ ( j × k )

55
Ex8. กําหนดให u = 5i –3 j +4k , v = j –k จงหา
1. u× v 2. u× v 3. คา sine ของมุมระหวาง u และ v

Ex9. จงพิจารณาวา u กับ v ในแตละขอขนานกันหรือไม


4 2
9.1 u = 2 i − j + 3 k , v = − i + j − 2 k ( ตอบ ขนานกัน )
3 3
9.2 u = 3 i − 2 j − k , v = −6 i − 4 j + 2 k ( ตอบ ไมขนานกัน )

Ex10. ให A ( 0,–1,3 ) , B( 2,0,4 ) , C (2,–1,4 ) และ D( 3,3,2 )


จงหาเวกเตอรหนึ่งหนวยที่ตั้งฉากกับ AB และ CD

Ex11. ให u = 2i – j +k , v = -i + j –2k จงหาเวกเตอรสองเวกเตอรที่มีขนาดเทากับ u⋅ v และมี


ทิศทางตั้งฉากกับระนาบที่ประกอบดวยเวกเตอร u และ v

56
Ex12. กําหนด u = i + 3k
v = 2 j + xk เมื่อ x เปนจํานวนจริง
และ w = –3 i + j – k
ถา u , v และ w อยูบนระเดียวกัน แลว x มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ ( A–NET’49 3 คะแนน ) ( ตอบ 4 )
1. –12 2. –8 3. 8 4. 16

Ex13. ให u = ai + b j + 2k และ v = 2ai – 3b j โดยที่ a , b เปนจํานวนเต็มบวก และ θ เปนมุมระหวาง u


1
และ v ถา ⏐u ⏐ = 3 และ cos θ = แลว u × v มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ ( A – NET’50 ตอบ 1 )
3
1. 6 i + 8 i – 10 k 2. – 6 i – 8 j + 10 k
3. 12i + 4 j – 10k 4. –12i – 4 j + 10 k

Π การบานชุดที่ 7.

1. กําหนด u = 3 i + j + 2 k , v = 2 i − j − k และ w = i + 2 j + 2 k จงหา


1.1 ( u × v ) × w 1.2 u × ( v × w )
( ตอบ 24 i − 7 j − 5 k ) ( ตอบ 15 i − 15 j − 15 k )

1.3 ( u ⋅ w ) v − ( u ⋅ v ) w 1.4 ( u ⋅ w ) v − ( v ⋅ w ) u
( ตอบ 15 i − 15 j − 15 k ) ( ตอบ 24 i − 7 j − 5 k )

2. กําหนด u = 2 i − 3 j , v = i + j − k และ w = 3 i − k จงหา


2.1 u ( v × w ) ( ตอบ 4 ) 2.2 w ( v × u ) ( ตอบ – 4 )

3. จงหาผลลัพธของ
3.1 4 j × (3 i − 2 k ) ( ตอบ − 8 i − 12 k ) 3.2 ( i − 2 j ) × k ( ตอบ − 2 i − j )

57
3.2 ( 2 i + 4 k ) × ( i − 2 j ) 3.4 ( 4 i − j + 2 k ) × (3 i + k )
( ตอบ 8 i + 4 j − 4 k ) (ตอบ − i + 2 j + 3 k )

3.5 ( 2 j + j − k ) × (3 i + 2 j − 4 k ) (ตอบ − 2 i + 5 j + k )

4. กําหนด u = 3 i + j − 2 k และ v = 2 i − 3 j + k จงหา


4.1 | u × v | 4.2 ( u + 2 v ) × (2 u − v )
( ตอบ 195 ) ( ตอบ 25 i + 35 j + 55 k )

4.3 | ( u + v ) × ( u − v ) | ( ตอบ 2 195 )

5. กําหนด u = i − 2 j − 3 k , v = 2 i + j − k และ w = i + 3 j − 2 k จงหา


5.1 | ( u × v ) × w | ( ตอบ 5 26 ) 5.2 | u × ( v × w ) | ( ตอบ 3 10 )

5.3 u ⋅ ( v × w ) ( ตอบ –20 ) 5.4 w ⋅ ( u × v ) ( ตอบ –20 )

5.5 ( u × v ) × ( v × w ) 5.6 ( u × v )( v ⋅ w )
( ตอบ − 40 i − 20 j + 20 k ) ( ตอบ 35 i − 35 j + 35 k )

58
6. กําหนด u = 2 i − 6 j − 3 k และ v = 4 i + 3 j − k
3 2 6
6.1 จงหาเวกเตอร 1 หนวยที่มีทิศทางเดียวกับ u × v ( ตอบ i− j+ k )
7 7 7

3 2 6
6.2 จงหาเวกเตอร 1 หนวยที่ตั้งฉากกับ u และ v ( ตอบ ± ( i− j+ k ))
7 7 7

7. กําหนด u = 4 i − j + 3 k และ v = −2 i + j − 2 k
จงหาเวกเตอร 6 หนวยที่ตั้งฉากกับ u กับ v ( ตอบ ±( 2 i − 4 j − 4 k ) )

8. กําหนด u = 2 i + j − 3 k และ v = i − 2 j + k
จงหาเวกเตอร 3 หนวยที่ตั้งฉากกับ u กับ v ( ตอบ ± 3 ( i + j + k ) )

9. กําหนด u = 2 i + j – 2 k , v = i – 2 j +3 k และ w = – 2 i +3 j +2 k จงหา


−2
9.1 มุมระหวาง u กับ v ( ตอบ θ = arccos )
14

−1
9.2 มุมระหวาง ( u + w ) กับ ( u + v ) ( ตอบ θ = arccos )
11

4 7
9.3 s ที่ทําให 2 u – v – 3 s = 0 ( ตอบ i + j– k )
3 3

9.4 ถา s = 4 i +2 j + k จงพิจารณาวา s ตั้งฉากกับ w หรือไม ( ตอบ ตั้งฉากกัน )

59
1
9.5 เวกเตอรหนึ่งหนวยที่ตั้งฉากกับ u กับ v ( ตอบ ± ( i +8 j +5 k ) )
3 10

9
9.6 ถา s = a i +5 j – 3 k จงหาคา a ที่ทําให s ตั้งฉากกับ w ( ตอบ a = )
2

−5
9.7 เวกเตอรที่เกิดจากการโปรเจก w ลงบน u ( ตอบ (2 i + j –2 k ))
3

Π ความหมายของ u × v ในทางเรขาคณิต

1. u×v = พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน ซึ่งมี u และ v เปนดานประชิด

2. u⋅ v×w ( ) = ปริมาตรของรูปทรงสี่เหลี่ยมดานขนานที่มี u , v และ w เปนดานระกอบ


⎯ พิสูจน 1.

V
θ

⎯ พิสูจน 2. U
ให U , V และ W เปนดานของทรงสี่เหลี่ยมดานขนาน ( ดังรูป )
จงหาปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมดังกลาว

U W

60 V
Ex1. กําหนดให A( 1,2,–1 ) , B( 2,5,3 ) , C( 4,0,2 ) และ D( 3,–3,–2 ) เปนจุด 4 จุดในสามมิติ
จงแสดงวา ABCD เปนรูปสี่เหลี่ยมดานขนานพรอมทั้งหาพื้นที่

Ex2. จงหาพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมดานขนาน ABCD เมื่อ AB = i − 2 j + 3 k และ AD = 3 i − j − k

Ex3. จงหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน PQRS เมื่อ PQ = 3i –2 j PS = 3 j +4k

Ex4. จงหาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมที่มีจุดยอดเปน A ( 1,2,4 ) , B( 1,–1,3 ) และ C ( –1,–1,2 ) ตามลําดับ ( ตอบ 7/2 )

Ex5. กําหนดให u = 4i –3 j + k และ v = 2i + j –3k จงหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน


ที่มี u และ v เปนเสนทแยงมุมของสี่เหลี่ยมดานขนาน

61
Ex6. จงหาปริมาตรของรูปทรงเหลี่ยมดานขนานทรงตันที่มีดานประกอบมุมหนึ่งเปน
6.1 u = i +k , v = i + j , r = j +k 6.2 u = 2i +3 j –4k , v = i – j +k , r = i + j +2k

Ex7. จงหาปริมาตรของรูปทรงเหลี่ยมดานขนานทรงตันที่มี AB , AC และ AD เปนดานขอบที่มี


พิกัด A( 1,–1,1 ) , B( 3,–1, –2 ) , C ( 2,–2,2 ) และ D( 4, –2,1 )

Π การบานชุดที่ 8.

1. กําหนด u = i − 3 j + 4 k และ v = 3 i + j − 2 k จงหาพื้นที่ของสี่เหลี่ยมดานขนานที่มี u กับ v เปนดานประกอบ


ของสี่เหลี่ยมดานขนาน ( ตอบ 10 3 ตารางหนวย )

2. จงหาพื้นที่ของสี่เหลี่ยมดานขนานที่มีเสนทแยงมุมคือ u กับ v
โดย u = 3 i + j − 2 k และ v = i − 3 j + 4 k ( ตอบ 5 3 )

62
3. จงหาพื้นที่ของสี่เหลี่ยมดานขนานที่มี u = i − 4 j + 3 k และ v = 3 i + j − 2 k
เปนดานประกอบของสี่เหลี่ยมดานขนาน ( ตอบ 3 35 ตารางหนวย )

4. จงหาพื้นที่ของสามเหลี่ยมที่มีจุดยอดอยูที่ A( 1, 4, 5 ) , B( 7, 2, 9 ) และ C( 2, 0, 3 ) ( ตอบ 285 ตารางหนวย )

5. จงหาปริมาตรของกลองทรงสี่เหลี่ยมดานขนานที่มีดานประกอบเปนเวกเตอร
u = 3 i + j + 2 k , v = 4 i + 5 j + k และ w = i + 2 j + 4 k ( ตอบ 45 ลูกบาศกหนวย )

6. กําหนด u = i + a j + k , v = 5 i − 4 j และ w = 3 i − 2 k จงหาคา a ที่ทําให u , v และ w อยูบนระนาบ


เดียวกัน ( ตอบ – 2 )

7. ใหจุด A( 0, 2, 3 ) , B( 1, 0, 1 ) และ C( 3, 5, 1 ) เปนจุดยอดของรูปสามเหลี่ยม จงหาความสูงของสามเหลี่ยมที่ลากจุด C ไป


197
ยังดาน AB (ตอบ )
3

63
1
8. จงหาเวกเตอรหนึ่งหนวย ซึ่งขนานกับระนาบ yz และ ตั้งฉากกับ u = 3i – j +2k ( ตอบ ± (2 j + k ) )
5

9. ถา u ⋅ ( v × w ) = 8 จงหาคาของ
9.1 u ⋅ ( w × v ) ( ตอบ – 8 ) 9.2 ( v × w ) ⋅ u ( ตอบ 8 )

9.3 ( ตอบ 8 ) 9.4 v ⋅ ( u × w ) ( ตอบ – 8 )

9.5 ( u × w ) ⋅ v ( ตอบ – 8 ) 9.6 v ⋅ ( w × u ) ( ตอบ 8 )

64

You might also like