You are on page 1of 20

(บทที่ ๕–๑๖ นํามาจาก R2.2.04 และจะทยอยปรับปรุงเนื้อหาทีละบท จนเป็น R2.

9 ฉบับสมบูรณ์ครับ)

๕ บทที่

f (n) = c + tn
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความรู้เกี่ยวกับความสัมพันธ์และฟังก์ชัน จะเป็น
ประโยชน์ในการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับตัวแปร และ
เป็นพื้นฐานที่จําเป็นของการประยุกต์ใช้คณิตศาสตร์ใน
การทํางาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งสาขาที่ใช้วิชาแคลคูลัส
เป็นสําคัญ เช่น สาขาพาณิชยศาสตร์ เศรษฐศาสตร์
วิศวกรรม ฯลฯ
เนื้อหาในบทนี้ จะเป็นการแนะนําให้รู้จักลักษณะเบื้องต้นของความสัมพันธ์
และฟังก์ชัน แล้วในบทต่อไปจึงจะได้ศึกษาเกี่ยวกับฟังก์ชันที่สําคัญ ได้แก่
ฟังก์ชันตรีโกณมิติ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล และลอการิทึม จากนั้นลําดับ
สุดท้ายจะเป็นบทเรียนเกี่ยวกับ “แคลคูลัส” (ในบทที่ ๑๒) ซึ่งเป็นการนํา
ความรู้เรื่องฟังก์ชันไปใช้ประโยชน์

ผลคูณ คู่อันดับ (Ordered Pair) คือสิ่งที่ประกอบด้วยสมาชิกสองตัวในรูป (a, b)


ของสองเซต และลําดับก่อนหลังของสมาชิกถือว่ามีความสําคัญ ไมสามารถสลับกันได้
นอกจากนั้น (a, b)  (c, d) ก็ต่อเมื่อ “ a  c และ b  d” เท่านั้น

การดําเนินการเกี่ยวกับเซตที่ได้ศึกษาไปแล้วในบทเรียนแรก ได้แก่ ยูเนียน,


อินเตอร์เซกชัน, การลบ และคอมพลีเมนต์ ในบทนี้จะได้กล่าวถึงการดําเนินการอีก
แบบหนึ่ง นั่นคือการคูณ ซึ่งเป็นการทําให้เกิดเซตใหม่ขึ้นจากเซตที่มีอยู่เดิมเช่นกัน
ผลคูณระหว่างเซตสองเซต ในลักษณะที่รู้จักกันโดยทั่วไป (และจะได้ศึกษา
ในระดับ ม.ปลาย เพราะเป็นที่มาของความสัมพันธ์และฟังก์ชัน) นั้นเรียกว่า ผลคูณ
คาร์ทีเซียน (Cartesian Product) เขียนแทนด้วยเครื่องหมายคูณแบบกากบาท เช่น
เซต A  B (อ่านว่า “เอคูณบี” เช่นเดียวกับการคูณจํานวน) ผลลัพธ์ที่ได้จากการ
คูณจะเกิดเป็นเซตของคู่อันดับ โดยที่สมาชิกตัวหน้าของคู่อันดับถูกนํามาจากเซต A
และสมาชิกตัวหลังของคู่อันดับถูกนํามาจากเซต B และตองจับคูกันใหครบทุกคู
หรือเขียนแบบเงื่อนไขได้เป็น A  B  {(a, b) | a  A และ b  B }
บทที่ ๕ 198 Math E-Book
Release 2.6.4

ตัวอย่างเช่น ถ้า A  {0, 1, 2} , B  {1, 3} จะได้


A  B  {(0, 1), (0, 3), (1, 1), (1, 3), (2, 1), (2, 3)}
A  A  {(0, 0), (0, 1), (0, 2), (1, 0), (1, 1), (1, 2), (2, 0), (2, 1), (2, 2)}

ข้อสังเกต
1. n (A  B)  n (A)  n (B)
2. n (A  )  n (A)  n ()  0 ดังนั้น A    
3. โดยทั่วไป A  B  B  A
A  B  B  A ก็ต่อเมื่อ A  B หรือมีเซตใดเซตหนึ่งเป็น 

๕.๑ ลักษณะของความสัมพันธ์
ความสัมพันธ์ (Relation : r) คือเซตที่สมาชิกทุกตัวเป็นคู่อันดับ
หรือกล่าวว่าเซตที่นําไปเขียนกราฟ 2 มิติ บนแกน X, Y ได้ จัดว่าเป็นความสัมพันธ์

ความสัมพันธ์ นิยาม “ความสัมพันธ์จาก A ไป B” (from A to B)


จาก A ไป B คือเซตของคู่อันดับที่สมาชิกตัวหน้าอยู่ในเซต A และสมาชิกตัวหลังอยู่ในเซต B แต่
ไม่จําเป็นต้องครบทุกคู่ ดังนั้น “ความสัมพันธ์จาก A ไป B” ก็คือสับเซตของ A B
และเกิดขึ้นได้ทั้งหมด 2 n (A  B) แบบ
สัญลักษณ์ที่ใช้แทนคําว่า “ความสัมพันธ์จาก A ไป B” คือ
r  {(x, y)  A  B | .....}

ตัวอย่างเช่น A  {2, 3, 4} และ B  {1, 3, 5, 8}


จะได้ A  B  {(2, 1), (2, 3), (2, 5), (2, 8), (3, 1), (3, 3), (3, 5), ..., (4, 8)}
และมี r  A  B ทั้งสิ้น 2 3  4  4096 แบบ
ทุกแบบสามารถเขียนเงื่อนไขได้ เช่น
r 1  {(x, y)  A  B | y < x } จะได้ r 1  {(2, 1),(3, 1),(3, 3),(4, 1),(4, 3)}
r2  {(x, y)  A  B | y  x  1 } จะได้ r2  {(2, 3),(4, 5)}
r 3  {(x, y)  A  B | x หาร y ลงตัว } จะได้ r 3  {(2, 8),(3, 3),(4, 8)}
r 4  {(x, y)  A  B | x3  y } จะได้ r 4  

หมายเหตุ
1. เนื่องจากความสัมพันธ์จัดเป็นเซตชนิดหนึ่ง จึงเขียนแสดงความสัมพันธ์ได้ 2
ลักษณะ ได้แก่ แจกแจงสมาชิก และบอกเงื่อนไข
2. r  {(x, y)  A  A | .....} เรียกว่า “ความสัมพันธ์ภายใน A” (in A)
3. ถ้าไม่ระบุว่าเป็นความสัมพันธ์จากเซตใดไปเซตใด ให้ถือเป็นที่ตกลงกันว่าหมายถึง
เซตจํานวนจริง R  R
คณิต มงคลพิทักษสุข 199 ความสัมพันธและฟงกชัน
kanuay.com

แบบฝึกหัด ๕.๑
(1) กําหนดให้เอกภพสัมพัทธ์เป็นเซตของจํานวนจริง ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
(1.1) ab [ (a, b)  (b, a) ]
(1.2) ab [ (a, b)  (c, d)  a  c และ b  d ]
(1.3) ab [ (a  2b, 1)  (1, b  a/2) ]

(2) ถ้า (3x  5, 8  4y)  (5, 6) และ (y, 2)  (p, 2) แล้ว ให้หา (xp, x/p)

(3) กําหนดให้ (a, b)  (c, d)  (a  c, b  d) ถ้า (3, 4)  (0, 0)  (x, y)  (3, 4)


แล้ว ให้หา (x, y)

(4) กําหนด A, B, C เป็นเซตใด ๆ แล้ว ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด


(4.1) ถ้า A เป็นเซตอนันต์ และ B เป็นเซตจํากัดแล้ว A  B เป็นเซตอนันต์
(4.2) ถ้า A  B เป็นเซตอนันต์ แล้ว A เป็นเซตอนันต์ หรือ B เป็นเซตอนันต์
(4.3) ถ้า A  B  A  C แล้ว B  C
(4.4) ถ้า A  B   แล้ว A  B  
(4.5) A  B  B  A ก็ต่อเมื่อ A  B
(4.6) (A  B)  C  A  C  (A  B)  C
(4.7) A  B  A และ A  B  B
(4.8) มีเซต A บางเซต ที่ทําให้ A  (A  B)  

(5) ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
(5.1) ถ้า A  {4, 5, 6, {4, 5, 6}} และ B  {4, 5, {4, 5}}
แล้ว n [P (A)  P (B)]  128
(5.2) ถ้า A  {3, 4, 5, ..., 32} , B  {7, 8, 9, ..., 40} และ C  {0, 1, 2, ..., 25}
แล้ว n [(A  B)  (A  C)]  570
(5.3) ถ้า A  {0, 1, 2, ..., 28} และ B  {3, 2, 1, ..., 4}
แล้ว n [(A  B)  (B  A)]  439

(6) กําหนดให้ A  {a1, a2 , a3 , ..., am } , B  {a1, a2 , a3 , ..., ak } โดยที่ m < k


ถ้า (A  B)  (B  A)  (A  B)  (B  A) แล้ว n [(A  B)  (B  A)] มีเท่าใด

(7) ถ้า n (U)  10 , n (A '  B ')  2 , n (A '  B ')  9 และ n (B)  n (A)  1
แล้ว ให้หาจํานวนความสัมพันธ์ต่าง ๆ กันทั้งหมดจาก A ไป B

(8) ถ้า n (A)  10 แล้ว ให้หาจํานวนความสัมพันธ์ทั้งหมดจาก AA ไป A


บทที่ ๕ 200 Math E-Book
Release 2.6.4

(9) กําหนดให้ A  {1, 2, 3} และ B  {0, 4} แล้ว ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด


(9.1) มีความสัมพันธ์จาก A ไป B ทั้งหมด 64 เซต
(9.2) มีความสัมพันธ์จาก A ไป B ที่โดเมนเท่ากับ A ทั้งหมด 27 เซต

(10) กําหนดให้ n (A)  3 และ n (B)  4 แล้ว ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด


(10.1) จํานวนความสัมพันธ์จาก A ไป B เท่ากับจํานวนความสัมพันธ์จาก B ไป A
(10.2) จํานวนความสัมพันธ์จาก A ไป B ที่โดเมนเป็น A มีทั้งหมด 15 3 เซต
(10.3) จํานวนความสัมพันธ์จาก B ไป A ที่โดเมนเป็น B มีทั้งหมด 2401 เซต
(10.4) จํานวนความสัมพันธ์ภายใน A ที่โดเมนเป็น A มีทั้งหมด 343 เซต

(11) ให้เขียน r1  r2 แบบแจกแจงสมาชิก เมื่อกําหนด


(11.1) r1  {(x, y)  I  I | x  y  1 } และ r2  {(x, y)  I  I | x  y  3}
(11.2) r1  {(x, y) | x2  y2  16 } และ r2  {(x, y) | y  4  x2}

(12) ถ้า A  {1, 2, 3, ..., 20} , B  {0, 1, 2, ..., 25}


และ r  {(x, y)  A  B | y > x } ให้หาจํานวนคู่อันดับภายใน r

๕.๒ โดเมน เรนจ์ และตัวผกผันของความสัมพันธ์


โดเมน โดเมน (Domain; D) ของความสัมพันธ์ คือเซตของสมาชิกตัวหน้าของคู่
และเรนจ์ อันดับ เรนจ์ หรือ พิสัย (Range; R) ของความสัมพันธ์ คือเซตของสมาชิกตัวหลัง
ของคู่อันดับ
นั่นคือ Dr  { x | (x, y)  r } และ Rr  { y | (x, y)  r }
เช่น ในตัวอย่างความสัมพันธ์จากหัวข้อที่แล้ว จะได้
Dr  {2, 3, 4} , Rr  {1, 3} , Dr  {2, 4} , Rr  {3, 5} และ Dr  Rr
1 1 2 2 4 4
 

ถ้า r เป็นความสัมพันธ์จาก A ไป B แล้ว Dr  A และ Rr  B

การหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ภายใน R ซึ่งบอกมาเป็นเงื่อนไข
(สมการ) ให้พิจารณาที่เงื่อนไขว่าหากมีสิ่งเหล่านี้คือ การหาร, การถอดราก, ค่า
สัมบูรณ์, การยกกําลัง จะมีข้อจํากัดเกิดขึ้น กล่าวคือ
๏ ถ้ามี a  b จะได้ว่า c  0
c
๏ ถ้ามี a  n b ถ้า n เป็นจํานวนคู่ จะได้ว่า a > 0 และ b > 0
๏ ถ้ามี a  b n ถ้า n เป็นจํานวนคู่ จะได้ว่า a > 0
๏ ถ้ามี a  b จะได้ว่า a > 0
ในการหาโดเมน จะพิจารณาจากสมการในรูป y  ...(x)... (เขียน y ในเทอมของ
x) ได้ทันที แต่ในการหาเรนจ์ หากเป็นไปได้ควรจัดรูปสมการให้เป็น x  ...(y)...
(เขียน x ในเทอมของ y) ก่อน แล้วจึงพิจารณาข้อจํากัดที่เกิดขึ้น
คณิต มงคลพิทักษสุข 201 ความสัมพันธและฟงกชัน
kanuay.com

ตัวอย่าง 5.1 ให้หาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r  {(x, y) | y  4  x2 }

วิธีคิด ก. หาโดเมน พบว่ามีรากทีส่ อง ดังนัน้ เงือ่ นไขที่เกิดขึน้ คือ 4  x2 > 0


หรือแก้อสมการได้เป็น 2 < x < 2 นั่นเอง
ข. หาเรนจ์ เนือ่ งจากมีรากทีส่ อง ดังนั้น y> 0 เสมอ
จากนั้นจัดรูปเป็น x   4  y ซึง่ จะได้ว่า2
4  y2 > 0 ก็คือ 2 < y < 2
นําเงือ่ นไขมารวมกันได้เป็น 0 < y < 2
ตอบ Dr  [2, 2] และ Rr  [0, 2]
Y
หมายเหตุ 2
หากได้ศึกษาเรือ่ งกราฟวงกลมในบทเรียน “เรขาคณิตวิเคราะห์” แล้ว
จะทราบว่าสมการ y  4  x2 อยู่ในรูปแบบวงกลม x2  y2  4
(แต่เป็นครึ่งวงกลม เนือ่ งจากมีเครื่องหมายรากทีส่ อง ทําให้ y > 0 ) O X
ซึ่งถ้าเขียนกราฟจะมองเห็นโดเมนและเรนจ์ได้ชัดเจนกว่าการคํานวณ –2 2

ตัวผกผัน 1
r คือ ตัวผกผัน หรือ อินเวอร์ส (Inverse) ของ r
(อินเวอร์ส) กําหนดโดย r  {(y, x) | (x, y)  r }
1

หรืออธิบายได้ว่า r 1 เกิดจากการสลับที่ของสมาชิกตัวหน้าและหลังของคู่
อันดับใน r หรือถ้าเป็นความสัมพันธ์แบบบอกเงื่อนไขก็หาได้จากการสลับที่ระหว่าง
ตัวแปร x และ y ในสมการนั่นเอง

เช่น ถ้า r  {(2, 1),(3, 3),(4, 5),(0, 1)}


1
จะได้ r  {(1, 2),(3, 3),(5, 4),(1, 0)}
แต่ถ้าเป็นแบบเงื่อนไข r  {(x, y)  A  B | y  2x  3 }
จะสามารถเขียน r 1 ได้หลายแบบ เช่น r 1  {(y, x)  B  A | y  2x  3 }
หรือ r 1  {(x, y)  B  A | x  2y  3 }
หรือ r 1  {(x, y)  B  A | y  x 2 3 }
ซึ่งแบบสุดท้าย (เขียนในรูปของ y) นี้เป็นที่นิยมมากกว่า

ข้อสังเกต Dr1  Rr และ Rr1  Dr เสมอ

แบบฝึกหัด ๕.๒
(13) ให้หาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ต่อไปนี้
(13.1) r  {(x, y) | xy  2 }
(13.2) r  {(x, y) | (x  2)(y  1)  1 }
(13.3) r  {(x, y) | y  1 }
x1
บทที่ ๕ 202 Math E-Book
Release 2.6.4

2x  3
(13.4) r  {(x, y) | y  }
x1
x1
(13.5) r  {(x, y) | y  , x  1}
x1

(14) ให้หาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ต่อไปนี้ (บางสมการควรจัดรูปให้เป็นกําลังสองสมบูรณ์)


(14.1) r  {(x, y) | y  x2}
(14.2) r  {(x, y) | y  x }
(14.3) r  {(x, y) | y  x2  2x  3 }
(14.4) r  {(x, y) | y  3  x  1 }
(14.5) r  {(x, y) | x2  y2  16 }
(14.6) r  {(x, y) | y  16  x2 }
(14.7) r  {(x, y) | y  21 4  3x  x2 }
(14.8) r  {(x, y) | x2  y2  6x  4y  3  0 }

(15) ให้หาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ต่อไปนี้
(15.1) r  {(x, y) | y  2 1 }
x x
1
(15.2) r  {(x, y) | y  }
x2  4x  3
x1
(15.3) r  {(x, y) | y  }
x
(15.4) r  {(x, y) | 2x2  y2  2xy  x  1  0 }
(15.5) r  {(x, y) | x2y2  y2  x  2  0 }
(15.6) r  {(x, y) | xy2  xy  2y2  2y  6x  11  0 }

(16) ให้หาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ต่อไปนี้
3
(16.1) r  {(x, y) | y  }
x3 4

(16.2) r  {(x, y) | y  x2  x }


2
(16.3) r  {(x, y) | y  x  4 }

(17) ให้หาเรนจ์ ของอินเวอร์สของความสัมพันธ์ต่อไปนี้


(17.1) r  {(x, y) | y  2 1 }
x 4
1
(17.2) r  {(x, y) | y  }
2
x 4
x
(17.3) r  {(x, y) | y  }
x 2
(17.4) r  {(x, y) | y  3x  1  2 2x2  3x  2 }
คณิต มงคลพิทักษสุข 203 ความสัมพันธและฟงกชัน
kanuay.com

(18) ให้ r  {(x, y) | xy  1  y } แล้ว Rr  Dr เป็นเซตใด

 x  2 , x < 11
(19) ให้ r เป็นความสัมพันธ์ภายใน R ซึ่ง r  {(x, y) | y   }
 15  x , x  11
ถ้า A  Dr  Rr แล้ว ผลบวกของค่าขอบเขตบนน้อยสุดกับค่าขอบเขตล่างมากสุดเป็นเท่าใด

(20) กําหนดให้ r  {(x, y) | y2  2xy2  x  1  0 }


จํานวนเต็มบวกที่น้อยที่สุดที่เป็นสมาชิกของ Rr  Dr' เป็นเท่าใด
1
(21) ถ้า r  {(x, y) | y  2
} แล้ว ให้หาคอมพลีเมนต์ของ Dr1
x  2x  3

(22) ถ้าให้เอกภพสัมพัทธ์เป็น Rr โดยที่ r  {(x, y) | y2  (9  x2)1} แล้ว ข้อใดถูก


ก. xy [x  y  y] ข. xy [x  y  0]

๕.๓ กราฟของความสัมพันธ์
“กราฟของความสัมพันธ์ r” คือเซตของจุดบนแกนมุมฉาก (x, y) ซึ่งแต่ละ
จุดแทนสมาชิกใน r (โดยให้สมาชิกตัวหน้าเป็นแกนนอน และสมาชิกตัวหลังเป็น
แกนตั้ง)
เช่น ถ้า r1  {(1, 2),(1, 2),(2, 3),(2, 0),(0, 2)}
r2  {(x, y)  I  I | y  x2 }  {(0, 0),(1, 1),(2, 4), ...}
และ r3  {(x, y)  R  R | y  x2} จะได้กราฟดังภาพ
Y Y Y
3 4 r3
r1 r2
2
1
X X X
–2 –1 O 1 2 –2 –1 O 1 2 O
–2

การเขียนกราฟของความสัมพันธ์ จะช่วยให้เห็นโดเมนและเรนจ์ได้ชัดเจน
ยิ่งขึ้น รูปแบบของกราฟที่ควรรู้จักมีดังนี้

หมายเหตุ ควรศึกษาเทคนิคการเขียนกราฟ (การเลือ่ นแกน, การปรับขนาดกราฟ) ซึ่งอธิบายไว้


ในบทเรียน “เรขาคณิตวิเคราะห์” เพื่อช่วยในการหาโดเมนและเรนจ์ต่อไป
บทที่ ๕ 204 Math E-Book
Release 2.6.4

1. กราฟเส้นตรง y  mx  c m คือความชัน และ c คือระยะตัดแกน Y


Y Y Y

m>0 m<0 m=0


c c c
X X X
O O O

2. กราฟพาราโบลา y  ax2 หรือ x  ay2 a คือค่าคงที่ใด ๆ ที่ไม่ใช่ศูนย์


Y Y Y
x = ay2
y = ax2 a>0
a>0 X
X O X
O y = ax2 O
a<0

3. กราฟค่าสัมบูรณ์ (ที่คล้ายพาราโบลา) y  a x หรือ x  a y


Y Y Y
x = a|y|
a>0
y = a|x| O
a>0 X
X y = a|x| X
O O
a<0

4. กราฟวงกลม x2  y2  r2 r คือรัศมีของวงกลม (มากกว่าศูนย์)


5. กราฟค่าสัมบูรณ์ (ที่คล้ายวงกลม) x  y  k k คือค่าคงที่ที่มากกว่าศูนย์
Y Y
r k

–r r X O X
O –k k

–r –k

กราฟใด ๆ ที่มีคา่ สัมบูรณ์น้นั จะมีลักษณะคล้ายกราฟของภาคตัดกรวย


S เพียงมองค่าสัมบูรณ์ให้เป็นยกกําลังสอง เพือ่ ให้ได้รูปกราฟเส้นโค้งก่อน แล้วจึงปรับให้เป็นเส้นตรง
คณิต มงคลพิทักษสุข 205 ความสัมพันธและฟงกชัน
kanuay.com

6. กราฟไฮเพอร์โบลามุมฉาก xy  c c คือค่าคงที่ใด ๆ ที่ไม่ใช่ศูนย์


Y Y
c>0 c<0
O O
X X

กราฟของความสัมพันธ์อาจเป็นพื้นที่ (แรเงา) ในระนาบ หากว่า


ความสัมพันธ์นั้นเป็นอสมการ โดยมีหลักในการเขียนกราฟคือ คิดว่าเป็นเครื่องหมาย
เท่ากับแล้วเขียนกราฟของสมการก่อน จากนั้นตรวจสอบว่าบริเวณใดของพื้นที่ตรง
ตามเงื่อนไขของอสมการ จึงแรเงา (เส้นกราฟทึบแสดงว่าจุดบนเส้นนั้นอยู่ใน r,
เส้นประแสดงว่าจุดบนเส้นนั้นไม่อยู่ใน r)
Y Y Y
2

2 y > 3x2
–2 O X
O X X 2
O
y < x+2 –2
x2 + y2 > 4

กราฟของอินเวอร์ส ( r 1 ) มีความเกี่ยวข้องกับกราฟของ r คือ เกิดจากการ


หมุนกราฟโดยมีเส้นตรง y  x เป็นแกนหมุน เท่ากับเป็นการสลับแกน X กับ Y
กันนั่นเอง
Y เส้นตรง Y
y=x
r r–1
X X
(–3,–1) O
(–1,–3)
บทที่ ๕ 206 Math E-Book
Release 2.6.4

แบบฝึกหัด ๕.๓
(23) ให้หาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ต่อไปนี้ โดยอาศัยการเขียนกราฟ
(23.1) r  {(x, y) | x  y  4 }
(23.2) r  {(x, y) | x  2  y  2 }
(23.3) r  {(x, y) | y  x2  2x  2 }
(23.4) r  {(x, y) | y  x2  2x  2 ,  3  x < 2 }

(24) ขนาดพื้นที่ของบริเวณในแต่ละข้อเป็นกี่ตารางหน่วย
เมื่อกําหนดให้ r1  {(x, y) | x  y < 1 } r2  {(x, y) | x  y < 1 }
r3  {(x, y) | y  x < 1 } r4  {(x, y) | y > 0 } และ r5  {(x, y) | x > 0 }
(24.1) r1  r2  r5
(24.2) r1  r4  r5
(24.3) r1  r3  r4
(24.4) r3  r4  r5

(25) ให้หาขนาดพื้นที่ (ตารางหน่วย) ของกราฟที่แสดงบริเวณ r1  r2  r3


เมื่อกําหนด r1  {(x, y) | x  y  1 > 0 } r2  {(x, y) | 2x  y  4 < 0 }
และ r3  {(x, y) | y  1 > 0 }

(26) ให้หาขนาดพื้นที่ (ตารางหน่วย) ของกราฟที่แสดงบริเวณ r1  r2 เมื่อ


(26.1) r1  {(x, y) | 2 < x  y } และ r2  {(x, y) | x  y < 4 }
(26.2) r1  {(x, y) | x  2 y < 4 } และ r2  {(x, y) | 2 x  y > 2 }
(26.3) r1  {(x, y) | y2 < 4  x2} และ r2  {(x, y) | y > x }
(26.4) r1  {(x, y) | y < 16  x2 } และ r2  r11

(27) ให้หาขนาดพื้นที่ (ตารางหน่วย) ของกราฟที่แสดงบริเวณ r  r 1


เมื่อ r  {(x, y) | 2 x  y < 8 }

(28) ถ้า A  โดเมนของ r1  r2 และ B  เรนจ์ของ r1  r2


โดยที่ r1  {(x, y) | x  y > 2 } และ r2  {(x, y) | x  2 y < 4}
แล้ว ผลบวกของจํานวนเต็มใน A  B ' เป็นเท่าใด

(29) ถ้า r1  {(x, y) | x  y  5 } และ r2  {(x, y) | x2  y2 < 53 }


แล้ว โดเมนของ r1  r2 เป็นช่วงใด

(30) ถ้า A  {x | x2  2x < 3} และ r  {(x, y)  A  R | x2  y  1  0 }


แล้ว เรนจ์ของ r เป็นช่วงใด
คณิต มงคลพิทักษสุข 207 ความสัมพันธและฟงกชัน
kanuay.com

(31) ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
(31.1) ถ้า r  {(x, y)  R  R | y  x2 } แล้ว r 1  r
(31.2) ถ้า r  {(x, y)  R  R | y  x2 } แล้ว r 1  r
(31.3) ถ้า r  {(x, y)  R  R | x2  y2  25 } แล้ว r 1  r
(31.4) ถ้า r  {(x, y)  R  R | x2  y2  25 } แล้ว r 1  r

(32) ให้หาขนาดพื้นที่ของอาณาบริเวณ Y
ที่ถูกล้อมด้วยกราฟของ r และ r 1
(0,1) (2,2)
เมื่อกําหนดกราฟของ r เป็นดังภาพ
O X
(–2,–2) (0,–1)

๕.๔ ลักษณะของฟังก์ชัน
จากที่ศึกษาผ่านมาแล้วว่า ความสัมพันธ์ คือเซตของคู่อันดับ (ที่พบบ่อยจะ
เขียนอยู่ในรูปสมการ) แต่หากความสัมพันธ์ใดมีลักษณะดังต่อไปนี้ด้วย จะเรียก
ความสัมพันธ์นั้นเป็น ฟังก์ชัน (Function : f)
“สมาชิกตัวหนาแตละตัว จับคูกบั สมาชิกตัวหลังไดเพียงแบบเดียวเทานั้น”
หรือกล่าวว่า สําหรับ x แต่ละตัว จะคู่กับ y ได้เพียงแบบเดียวเท่านั้น (ต้องไม่มี x
ตัวใดที่จับคู่กับ y หลายแบบพร้อมกัน)

เช่น r1  {(0, 1),(1, 2),(1, 3),(2, 4)} ไม่เป็นฟังก์ชัน เพราะ 1 คู่กับทั้ง 2


และ 3
r2  {(0, 1),(1, 2),(3, 1),(2, 4)}
เป็นฟังก์ชัน เพราะไม่มีการใช้สมาชิกตัว
หน้าซ้ําเลย (ห้ามใช้สมาชิกตัวหน้าซ้ํา แต่ใช้สมาชิกตัวหลังซ้ําได้)
r1 r2
0 1 0 1
2 1
1 2 2
3
2 4 3 4
ไม่เป็นฟังก์ชัน เป็นฟังก์ชัน

r3  {(x, y) | y2  x } ไม่เป็นฟังก์ชัน สมมติ x  4 จะได้ว่า y  2 หรือ 2


2
r4  {(x, y) | y  x } เป็นฟังก์ชัน เพราะไม่ว่าค่า x ใด ก็ได้ y เพียงค่าเดียวเสมอ

ฟังก์ชนั เปรียบเสมือนเครือ่ งจักรที่เมื่อใส่ x เข้าไป จะเกิดกระบวนการคํานวณแล้วได้ y ออกมา


S ..ดังนัน้ การจะเป็นฟังก์ชันได้ ถ้าเราใส่ x แบบเดิมเข้าไป ก็ควรจะได้ค่า y เท่าเดิมออกมานั่นเอง
บทที่ ๕ 208 Math E-Book
Release 2.6.4

เมื่อเขียนกราฟของความสัมพันธ์ จะเห็นได้ชัดเจนว่า x แต่ละตัว คู่กับ y


เพียงตัวเดียวหรือไม่ (โดยลากเส้นแนวตั้งเพื่อตรวจสอบดูว่าที่ x แต่ละค่า เส้นนี้ตัด
กราฟไม่เกินหนึ่งจุดหรือไม่)
Y Y
r3
r4

O X X
O

ไม่เป็นฟังก์ชัน เป็นฟังก์ชัน

สิ่งที่ควรทราบ
1. ความสัมพันธ์ที่เขียนในรูป y  ...(x)... ได้แบบเดียว จะเป็นฟังก์ชันเสมอ
* 2. ถ้า f เป็นฟังก์ชัน จะเขียนแทน y ด้วยคําว่า f (x) (อ่านว่า เอฟเอกซ์)
เช่น f (x)  x2 มีความหมายเดียวกับ y  x2 แต่สื่อให้รู้ว่าเป็นฟังก์ชันด้วย

ฟังก์ชัน “ฟังก์ชันจาก A ไป B” (from A into B หรือ f : A B)


จาก A ไป B คือฟังก์ชันซึ่ง D  A และ R  B
f f

“ฟังก์ชันจาก A ไปทั่วถึง B” (from A onto B หรือ f : A onto B)


คือฟังก์ชันซึ่ง Df  A และ Rf  B

r5 r6 r7
0 0 a 0 a
1
a 1 b 1
b 2 c 2 b
2 d c
3 3
A B A B A B
เป็นฟังก์ชัน เป็นฟังก์ชันจาก A ไป B เป็นฟังก์ชันจาก A ไปทั่วถึง B

ฟังก์ชนั จาก A ไป B จะตองใชโดเมน (คือสมาชิกของเซต A) ใหครบทุกตัวเสมอ


S ผิดกับความสัมพันธ์จาก A ไป B ซึ่งไม่จาํ เป็นต้องใช้สมาชิกของ A ให้หมดก็ได้

“ฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก A ไป B” (one-to-one หรือ f : A 1 1  B )


คือฟังก์ชันที่ Df  A และ Rf  B และมีเงื่อนไข “สําหรับ y แต่ละตัว จะคู่กับ x
เพียงตัวเดียวด้วย”
“ฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก A ไปทั่วถึง B” (one-to-one correspondence
1 1
หรือ f : A onto  B ) คือฟังก์ชันที่ Df  A และ Rf  B และมีเงื่อนไข “สําหรับ y
แต่ละตัว จะคู่กบั x เพียงตัวเดียวด้วย”
คณิต มงคลพิทักษสุข 209 ความสัมพันธและฟงกชัน
kanuay.com

r5 r8 r9
0 1 a 0 a
a b 1 b
1 b 2 c 2 c
2 4 d 3 d
A B A B A B
เป็นฟังก์ชัน 1–1 เป็นฟังก์ชัน 1–1 จาก A ไป B เป็นฟังก์ชัน 1–1 จาก A ไปทั่วถึง B

เมื่อเขียนกราฟของความสัมพันธ์ จะทําการตรวจสอบว่า y แต่ละตัว คู่กับ


x เพียงตัวเดียวหรือไม่ โดยลากเส้นแนวนอนและดูว่าที่ y แต่ละค่า เส้นนี้ตัดกราฟ
ไม่เกินหนึ่งจุดหรือไม่
Y Y Y
r3 r10
r4

O X X O X
O

ไม่เป็นฟังก์ชัน เป็นฟังก์ชัน แต่ไม่เป็น 1–1 เป็นฟังก์ชัน 1–1

ศัพท์เกี่ยวกับ ฟังก์ชันแบบเฉพาะต่าง ๆ ที่ควรรู้จัก


ฟังก์ชัน ฟังก์ชันคงตัว (Constant Function) f (x)  a (กราฟเส้นตรงแนวนอน)
ฟังก์ชันเชิงเส้น (Linear Function) f (x)  ax  b (กราฟเส้นตรงเฉียง ๆ)
ฟังก์ชันกําลังสอง (Quadratic Function) f (x)  ax2  bx  c
(กราฟพาราโบลาหงายหรือคว่ํา)
ฟังก์ชันพหุนาม (Polynomial Function) f (x)  anxn  an  1xn  1  an  2xn  2  ...  a0
ฟังก์ชันตรรกยะ (Rational Function) f (x)  p(x)
q(x)
(เมื่อ p, q เป็นฟังก์ชันพหุนาม)
ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์ (Absolute Value Function) f (x)  ax  b  c
(กราฟรูปตัววีหงายหรือคว่ํา)

ฟังก์ชันเพิ่ม (Increasing Function) และ ฟังก์ชันลด (Decreasing


Function) มีนิยามดังนี้
สําหรับทุก ๆ x1, x2  [a, b]
ฟังก์ชัน f จะเป็นฟังก์ชันเพิ่มในช่วง [a, b] เพิ่มเติม
ก็ต่อเมื่อ “ถ้า x2  x1 แล้ว f (x2)  f (x1) ” การเขียนกราฟของฟังก์ชนั พหุนาม
และ ฟังก์ชัน f เป็นฟังก์ชันลดในช่วง [a, b] และการหาช่วงทีเ่ ป็นฟังก์ชนั เพิ่ม-ลด
ก็ต่อเมื่อ “ถ้า x2  x1 แล้ว f (x2)  f (x1) ” จะได้ศึกษาอย่างละเอียดในเรื่องอนุพนั ธ์
(บทที่ ๑๒)
บทที่ ๕ 210 Math E-Book
Release 2.6.4

ตัวอย่าง 5.2 ให้ตอบคําถามต่อไปนี้


ก. ถ้า f (x)  2x  3 ให้หา f (3x  1)
วิธีคิด จาก f ()  2()  3 จะได้ f (3x  1)  2(3x  1)  3  6x – 5

ข. ถ้า f (3x  1)  6x  5 ให้หา f (x)


A1
วิธีคิด ให้ A  3x  1 นั่นคือ x 
3
A1
จะได้วา่ f (3x  1)  6x  5 กลายเป็น f (A)  6(
3
)  5  2A  3

ดังนัน้ f (x)  2x – 3

ค. ถ้า f (3x  1)  6x  5
ให้หา f (2)
วิธีคิด ให้ 2  3x  1 ได้เลย นัน่ คือ x  1
จะได้วา่ f (3x  1)  6x  5 กลายเป็น f (2)  6(1)  5  1

ง. ถ้า f (x)  2x  3 ให้หา f (3x  1) ในรูปของ f (x)


วิธีคิด หา f (3x  1)  2(3x  1)  3  6x  5 ก่อน
f (x)  3
จากนั้นเปลี่ยน x เป็น f (x) โดย f (x)  2x  3  x 
2
f (x)  3
จะได้วา่ f (3x  1)  6( ) 5  3 f(x) + 4
2

แบบฝึกหัด ๕.๔
(33) ความสัมพันธ์ f ที่กําหนดให้ในแต่ละข้อ เป็นฟังก์ชันหรือไม่
และถ้าเป็นฟังก์ชัน ให้ระบุเพิ่มเติมด้วยว่าเป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งหรือไม่
(33.1) f (x)  x2 (33.6) f (x)  1/ x
2
(33.2) [f (x)]  x (33.7) f (x)  x2  x  1
(33.3) f (x)  x (33.8) f (x)  x3
(33.4) f (x)  x (33.9) f (x)  1/ x2
(33.5) f (x)  x (33.10) f (x)  x 2/ 3

(34) ความสัมพันธ์ต่อไปนี้เป็นฟังก์ชันหรือไม่
(34.1) r  {(x, y) | x  y  1 }
(34.2) r  {(x, y) | x  y  1 }

(35) ความสัมพันธ์ต่อไปนี้เป็นฟังก์ชันหรือไม่
(35.1) r  {(x, y) | x  y  1}
(35.2) r  {(x, y) | x  y  1}
(35.3) r  {(x, y) | x  y  1}
(35.4) r  {(x, y) | x  y  1}
คณิต มงคลพิทักษสุข 211 ความสัมพันธและฟงกชัน
kanuay.com

(36) ฟังก์ชันต่อไปนี้เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งหรือไม่
(36.1) f  {(x, y) | 2x  y  3  0 }
(36.2) f  {(x, y) | (x  4)(y  3)  1}
(36.3) f  {(x, y) | y  3  (x  4)3}
(36.4) f  {(x, y) | x2  y  3  0 }

(37) ฟังก์ชันต่อไปนี้เป็นฟังก์ชัน f : R  R หรือไม่


(37.1) f  {(x, y) | y  9  x2 }
(37.2) f  {(x, y) | y  9  x2 }
(37.3) f  {(x, y) | y x  1}
(37.4) f  {(x, y) | x  y  5  0 }

(38) ฟังก์ชันต่อไปนี้เป็นฟังก์ชัน f : R onto  A เมื่อ A  [0, ) หรือไม่


(38.1) f  {(x, y) | y  x4}
(38.2) f  {(x, y) | y  x2  2x  3 }
(38.3) f  {(x, y) | y  x2  4 }
(38.4) f  {(x, y) | y  x3  3x2  3x  1 }

(39) ฟังก์ชันต่อไปนี้เป็นฟังก์ชันเพิ่มใน R หรือไม่


(39.1) f (x)  5x  2 (39.4) f (x)  x2  2x  1
(39.2) f (x)  2x  5 (39.5) f (x)  (x  2)3  2
(39.3) f (x)  x2  3 (39.6) f (x)  x3  3x2  3x  1

(40) ให้หาโดเมน และเรนจ์ ของฟังก์ชันต่อไปนี้


(40.1) f (x)  x2  2x  4
2
(40.2) f (x)  x  25
x 5
1  x2
(40.3) f (x) 
x

(41) กําหนด f (x)  x2 เมื่อ 2 < x < 8 ถามว่า f (t  3) เท่ากับเท่าใด


และจะมีความหมายเมื่อ t อยู่ในช่วงใด

(42) ให้หาค่าของ
(42.1) f (x) เมื่อ f (x  1)  x2  3x  9
(42.2) f (2) เมื่อ f ( x2  1)  x2  2
x
(42.3) f (4x) ในเทอมของ f (x) เมื่อ f (x) 
x2
บทที่ ๕ 212 Math E-Book
Release 2.6.4

๕.๕ ฟังก์ชันประกอบ และฟังก์ชันผกผัน


ฟังก์ชัน ให้ f และ g เป็นฟังก์ชันดังแผนภาพ
f g
ประกอบ จะได้ f (0)  3และ g(3)  7 0 3 7
ซึ่งอาจกล่าวว่า g(f (0))  7 ก็ได้ 1 4
5 8
นอกจากนั้นยังพบว่า g(f (1))  8 2 6 9
และ g(f (2))  7 ด้วย
A B C

ฟังก์ชัน g(f (x)) ในที่นเี้ ป็นฟังก์ชันจาก A ไป C


เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ g(f (x))  (g  f)(x) (อ่านว่า จีโอเอฟเอกซ์)
ถือเป็น ฟังก์ชันประกอบ (Composite Function) ของ f และ g

ฟังก์ชัน (g  f)(x) จะหาได้เมื่อ Rf กับ Dg มีสมาชิกร่วมกัน (อย่างน้อย


บางส่วน) หรือกล่าวว่า (g  f)(x) จะหาได้ก็ต่อเมื่อ Rf  Dg  

f f
g g

A B C A B C
หา gof ได้ หา gof ไม่ได้

โดยทั่วไป ถ้า Rf  Dg จะได้ว่า Dgof  Df (คือโดเมนของ f ทุกตัวใช้ได้


หมด) แต่ถ้า Rf  Dg (กรณีนี้พบบ่อยเป็นปกติ) จะได้ว่า Dgof  Df เท่านั้น (คือ
โดเมนของ f บางตัวใช้ไม่ได้ เพราะเรนจ์ของตัวนั้นไม่ได้อยู่ในโดเมน g) การหา
โดเมนของ g  f จึงต้องระวัง

ตัวอย่าง 5.3 กําหนด f (x)  x1 และ g(x)  x2 ให้หา Dgof

วิธีคิด จากโจทย์ จะได้ (g  f)(x)  g(f (x))  g( x  1)  x  1


ซึ่งดูจากลักษณะแล้ว ค่า x น่าจะเป็นจํานวนจริงใด ๆ ( Dgof  R )
แต่ทจี่ ริงแล้ว f (x)  x  1 นัน้ x > 1
จากนั้นนํา f (x) ไปใช้กับ g พบว่าใช้ได้ทั้งหมด จีงสรุปได้วา่ Dgof  [1, )

ตัวอย่าง 5.4 ให้ตอบคําถามต่อไปนี้


ก. ถ้า f (x)  2x  3 และ g(x)  3x  4 ให้หา (g  f)(x)
วิธีคิด จาก (g  f)(x)  g(f (x))  g(2x  3)  3(2x  3)  4  6x – 5
คณิต มงคลพิทักษสุข 213 ความสัมพันธและฟงกชัน
kanuay.com

ข. ถ้า (g  f)(x)  6x  5 และ g(x)  3x  4


ให้หา f (x)
วิธีคิด จาก (g  f)(x)  g(f (x))  3(f (x))  4 แต่โจทย์กาํ หนด (g  f)(x)  6x  5
ดังนัน้ 3(f (x))  4  6x  5 ย้ายข้างสมการได้ f (x)  2x – 3

ค. ถ้า (g  f)(x)  6x  5 และ g(x)  3x  4 ให้หา f (2)

วิธีคิด จาก (g  f)(2)  g(f (2))  3(f (2))  4 แต่ (g  f)(2)  6(2)  5  7
ดังนัน้ 3(f (2))  4  7 ย้ายข้างสมการได้ f (2)  1

ง. ถ้า (g  f)(x)  6x  5 และ f (x)  2x  3


ให้หา g(x)
วิธีคิด จาก (g  f)(x)  g(f (x))  g(2x  3) แต่โจทย์กาํ หนด (g  f)(x)  6x  5
ดังนัน้ g(2x  3)  6x  5 ใช้เทคนิคการแก้ฟงั ก์ชนั ตามเดิมได้ g(x)  3x + 4

จ. ถ้า (g  f)(x)  6x  5
และ f (x)  2x  3 ให้หา g(1)
วิธีคิด ต้องการ g(1) จึงให้ f (x)  1 จะได้ 2x  3  1  x  2
แทนค่า x ด้วย 2 จะได้ (g  f)(2)  g(1)  6(2)  5  7

ฟังก์ชันผกผัน เราทราบแล้วว่าความสัมพันธ์ r ใด ๆ สามารถหาอินเวอร์ส ( r ) ได้เสมอ 1

(อินเวอร์ส) เช่นเดียวกันฟังก์ชัน f ใด ๆ ก็จะหาอินเวอร์สได้เสมอ แต่อินเวอร์สที่ได้นั้นอาจไมเปน


ฟงกชัน
ในกรณีที่อินเวอร์สของ f เป็นฟังก์ชันด้วย จะเรียกอินเวอร์สที่ได้ว่าเป็น
ฟังก์ชันอินเวอร์ส หรือ ฟังก์ชันผกผัน (Inverse Function) และเขียนสัญลักษณ์
เป็น f  1(x) ได้

จากหลักการเขียนกราฟของอินเวอร์ส ทําให้พบว่า f  1 จะเป็นฟังก์ชัน ก็


ต่อเมื่อ f เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งเท่านั้น
และ f  1()   มีความหมายเดียวกับ f ()  

สมบัติที่สําคัญของอินเวอร์ส ได้แก่ (f  g)1  g1  f 1 และ (f 1)1  f

ตัวอย่าง 5.5 ให้ตอบคําถามต่อไปนี้


ก. ถ้า f (x)  2x  3 ให้หา f (x) 1

วิธีคิด จาก f (x)  2x  3  f (2x  3)  x


1

จากนั้นใช้เทคนิคการแก้ฟังก์ชันตามเดิมได้ f  1(x)  0.5x + 1.5


หมายเหตุ
อาจใช้วิธหี าอินเวอร์สแบบเดียวกับในหัวข้อ “ความสัมพันธ์” ก็ได้ คือสลับที่ตวั แปร x กับ y
ข. ถ้า f (x)  2x  3 ให้หา f  1(5)

วิธีคิด จาก f (x)  2x  3  f  1(2x  3)  x


บทที่ ๕ 214 Math E-Book
Release 2.6.4

แล้วให้ 2x  3  5 นั่นคือ x  4 ดังนั้น แทนค่า x ด้วย 4 จะได้ f  1(5)  4


ค. ถ้า f (x  1)  4x  3 ให้หา f  1(x)

วิธีคิด จาก f (x  1)  4x  3  f  1(4x  3)  x  1


จากนั้นใช้เทคนิคการแก้ฟังก์ชันตามเดิมได้ f  1(x)  0.25x – 0.25
ง. ถ้า f (x  1)  4x  3 ให้หา f  1(5)

วิธีคิด จาก f (x  1)  4x  3  f  1(4x  3)  x  1


แล้วให้ 4x  3  5 นั่นคือ x  2 ดังนั้น แทนค่า x ด้วย 2 จะได้ f  1(5)  1
จ. ถ้า f  1(x)  x และ (f  g)(x  2)  3x  6 ให้หา g(2)
x 2

วิธีคิด ต้องการ g(2) จึงให้ x  2  2 นั่นคือ x  0


แทนค่าใน (f  g)(x  2)  3x  6 จะได้ว่า (f  g)(2)  6 หรือ f (g(2))  6
จากนั้นใช้สมบัตขิ องอินเวอร์ส กลายเป็น f  1 (6)  g(2)
ซึ่ง f  1(6)  662  1.5 ดังนั้น g(2)  1.5

พีชคณิต เมื่อนําฟังก์ชันสองฟังก์ชันใด ๆ มาดําเนินการทางพีชคณิต คือบวก ลบ คูณ


ของฟังก์ชัน หรือหารกัน ผลลัพธ์ที่ได้จะยังคงเป็นฟังก์ชันอยู่ สามารถเขียนแทนได้ในรูป f  g
ซึ่งเรียกว่าฟังก์ชันพีชคณิต
นั่นคือ (f  g)(x)  f (x)  g(x)
โดยเครื่องหมาย  เป็นได้ทั้ง , , , 
และในกรณีหารจะต้องเพิ่มเงื่อนไข g(x)  0 ด้วย (ส่วนของการหารห้ามเป็น 0)

โดเมนของฟังก์ชันพีชคณิต หาได้จาก D f  g  D f  Dg

แบบฝึกหัด ๕.๕
(43) ให้หา g  f และ f  g ของฟังก์ชันที่กําหนดให้ในแต่ละข้อ
(43.1) f (x)  2x และ g(x)  x  3
(43.2) f (x)  x  1 และ g(x)  x
(43.3) f (x)  4x  1 และ g(x)  x2
 4  x , x < 0
* (43.4) f (x)   และ g(x)  x2  1 เมื่อ x 2
 6  x , x  4

(44) ถ้า (g  f)(x)  3 [f (x)] 2  2 f (x)  1 และ g(x)  x2  x  2 แล้ว ให้หา (g  f)(1)

x1
(45) ถ้า f (x)  เมื่อ x  0 และ (f  g)(x)  x แล้ว ให้หา g (x)
x
คณิต มงคลพิทักษสุข 215 ความสัมพันธและฟงกชัน
kanuay.com

(46) ถ้า g(x)  x2  x  2 และ (g  f)(x)  x2  x  2 แล้ว ให้หา f (x)

(47) ถ้า f (x)  Ax  B โดยที่ A, B เป็นค่าคงที่ ซึ่ง A  0


และ (f  f)(x)  4x  9 แล้ว ให้หาค่า B

(48) อินเวอร์สของฟังก์ชันต่อไปนี้ เป็นฟังก์ชันหรือไม่


(48.1) f  {(x, y) | y  x x }
(48.2) f  {(x, y) | y  (x  1)2}
(48.3) f  {(x, y) | y  9  x2 }
(48.4) f  {(x, y) | y  1 / x }

(49) ให้หาฟังก์ชันผกผัน f 1(x) เมื่อกําหนด


x 2
(49.1) f (x)  5x (49.5) f (x) 
x3
x
(49.2) f (x)  5x  4 (49.6) f (x) 
2x  1
x1 2x  3
(49.3) f (x)  (49.7) f (x) 
3 3x  2
1
(49.4) f (x) 
x1

2x  2 , x > 0
(50) ให้หา f 1(x) เมื่อกําหนด f (x)   2
x  1 , x  0

(51) ให้หา f 1(x) เมื่อกําหนด


(51.1) f (3x  4)  4x  3
(51.2) f (x  1)  x  1
2 2
5x  7
(51.3) f (x  1) 
x3
(51.4) f  1[ 3 f (2x  1)  3x  2 ]  2x  1

(52) ถ้า f (x  1)  x3  3x2  3x  5 แล้ว ค่าของ f 1(5) เป็นเท่าใด

(53) กําหนดให้ f (x  3)  4x  5 และ g(x  3)  2  3x ให้หาค่าของ


(53.1) (f  g1)(5) (53.3) (f 1  g1)(4)
(53.2) (g  f 1)(1) (53.4) (g1  f 1)(3)

2x  1 , x > 0
(54) กําหนดให้ f (x  1)  2x  3 และ g(x)  
3x  1 , x  0
ให้หาค่าของ
(54.1) (f 1  g1)(0) (54.2) (g1  f 1)(0)
บทที่ ๕ 216 Math E-Book
Release 2.6.4

2x , x > 0 2
 x , x  3
(55) กําหนดให้ f (x)   และ g(x)   ให้หา
 3 , x  0 x , x < 3
(55.1) (f  g)(x) (55.2) Df / g

(56) ถ้า f (x)  x  1 , g(x)  1 x และ h (x)  1  x2 แล้ว ให้หา


fg
(56.1) [(g  f)  h](x) (56.2) ( )(x)
h

(57) ถ้า f (2x  3)  3x  2 และ (f  g)(x)  x2  x  3 แล้ว ให้หา


(57.1) 1
(g  f )(x) (57.2) (g)(x)
f

f
(58) ถ้า f (x)  x  5 และ (g  f)(x)  x2  25 แล้ว ให้หา ( )(x)
g

x  1 , x > 0
(59) ถ้า f (x)  4x , g(x)  x2  1 และ h (x)   แล้ว ให้หา
x  1 , x  0
(59.1) (f 1  g  h1)(2) (59.2) [(g  f 1)  h](2)

(60) ถ้า (f  g)(x)  2x  1 และ (f  g)(x)  3  4x แล้ว ให้หา


(60.1) (f  g) 1(2) (60.2) [(g1  f 1)  f](1)
x
(61) ถ้า f 1(x)  และ (f  g)(x)  x  2 แล้ว ให้หา
x 2
(61.1) (f  g)(2) (61.2) [(g  f)  f 1](4)

(62) ถ้า f 1(x  1)  2x  3 และ (f  g)(x  1)  5x  1 แล้ว ให้หา


(62.1) ( f  f 1)(3) (62.2) [(fg)  f 1](1)
g

You might also like