You are on page 1of 73

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 1

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 2

แบบทดสอบก่อนเรียน

เรื่อง ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ

คาชี้แจง 1. ข้อสอบเป็นปรนัยเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 15 ข้อ ใช้เวลา


2. จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 10 นาที

1. ข้อใดหมายถึงหมอก 3. สิ่งใดบ้างคือหยาดน้าฟ้า
ก. ไอน้าที่กลั่นตัวเป็นหยดน้าใน 1) หมอก 2) ลูกเห็บ
ระดับสูง 3) น้าค้าง 4) เมฆ
ข. ไอน้าที่กลั่นตัวเป็นละอองน้าใน 5) ฝน 6) หิมะ
ระดับสูง ก. 1), 2), 3), 4)
ค. ไอน้าที่กลั่นตัวเป็นละอองน้าใน ข. 2), 3), 4), 5)
ระดับใกล้พื้นโลก ค. 2), 3), 5), 6)
ง. หยดน้าในอากาศที่ได้รับ ง. 1), 2), 4), 5)
ความกดอากาศจนกลายเป็นน้าแข็ง 4. เมฆชนิดใดเป็นที่ก่อตัวในแนวตั้ง
2. เมฆกับหมอกแตกต่างกันอย่างไร ก. อัลโตสตราตัส เมฆสตราตัส
ก. เมฆเกิดจากไอน้าในอากาศกลั่นตัว ข. เมฆอัลโตสตราตัส อัลโตคิวโมลัส
รวมกันเป็นก้อนส่วนหมอกเกิดจาก ค. นิมโบสตราตัส เมฆสตราตัส
ไอน้าในอากาศกลั่นตัวเป็นฝอย ง. เมฆคิวมูลัส คิวมูโลนิมบัส
ข. เมฆเกิดจากไอน้าในอากาศรวม 5. ข้อใดแสดงปริมาณน้าฝนได้ถูกต้องที่สุด
กันเป็นก้อน ส่วนหมอกเกิดจาก ก. มวลของน้าฝนที่ตกลงสู่พื้นที่ใดที่หนึ่ง
เกิดจากไอน้าในอากาศกลั่นตัว ข. ปริมาตรของน้าฝนที่ตกลงสู่
ค. เมฆมีลักษณะเป็นก้อน หมอก พื้นผิวโลกต่อหนึ่งหน่วยตารางเมตร
มีลักษณะเป็นแผ่น ค. ส่วนสูงของน้าฝนที่ตกลงสู่พื้นผิวโลก
ง. เมฆเกิดในระดับสูงหมอกเกิดใน ต่อหนึ่งหน่วยตารางเมตร
ระดับต่าเหนือพื้นดิน ง. ความลึกของน้าฝนที่ตกลงสู่พื้นผิวโลก
ในหน่วยมิลลิเมตรหรือเซนติเมตร

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 3

6. พายุที่เกิดในทะเลจีนใต้เรียกว่าอะไร 10. ข้อใดเป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดลม


ก. พายุไซโคลน ก. ปริมาณความชื้นในอากาศ
ข. พายุไต้ฝุ่น ข. สภาพภูมิประเทศที่ต่างกันมากๆ
ค. พายุทอร์นาโด ค. ความแตกต่างของความกดอากาศ
ง. พายุโซนร้อน ทั้งสองบริเวณ
7. ในช่วงเดือนพฤษภาคม – กลางเดือน ง. เหตุผลทั้งสามข้อ
ตุลาคมของประเทศไทยเป็นช่วงฤดูที่มีฝนตก 11. เมื่อเข้าช่วงฤดูหนาวจะมีมวลอากาศเย็นพัดจาก
ชุก ทั้งนี้เนื่องจากอิทธิพลของลมชนิดใด ประเทศจีนเข้าสู่ประเทศไทย เป็นเพราะเหตุใด
ก. ลมสินค้า ก. ประเทศไทยมีความกดอากาศสูงกว่า
ข. ลมบก ลมทะเล ประเทศจีน
ค. ลมมรสุม ข. ประเทศจีนมีความกดอากาศสูงกว่า
ง. ลมไต้ฝุ่น ประเทศไทย
8. จากภาพถ้าลมพัดจากทิศตะวันตก ค. ประเทศจีนมีความกดอากาศต่ากว่า
เฉียงเหนือ ลูกศรของศรลมจะชี้ไปทาง ประเทศไทย
ตัวเลขใด ง. ประเทศไทยตอนเหนือมีอุณหภูมิต่ากว่า
ประเทศจีน
R 12. ในช่วงเดือนธันวาคมที่จังหวัดเชียงใหม่
s
อุณหภูมิของอากาศใกล้พื้นดินลดลงต่ากว่า
Q จุดเยือกแข็ง จะทาให้เกิดปรากฏการณ์ใด
ก. หมอก
R ข. หยาดน้าฟ้า
ก. P ค. เหมยขาบ
ข. Q ง. ละอองฝน
ค. R 13. ข้อใดเรียงลาดับความเร็วลมจากเร็วสุด
ง. S ไปช้าสุดได้ถูกต้อง
9. เครื่องมือที่ใช้วัดทิศทางและความเร็วลม ก. พายุไต้ฝุ่น→ พายุโซนร้อน→พายุดีเปรสชัน
คือข้อใด ข. พายุดีเปรสชัน→พายุโซนร้อน→ พายุไต้ฝุ่น
ก. ศรลม ค. พายุโซนร้อน →พายุไต้ฝุ่น→ พายุดีเปรสชัน
ข. แอโรเวน ง. พายุดีเปรสชัน →พายุไต้ฝุ่น→พายุโซนร้อน
ค. แอนิมอมิเตอร์
ง. บารอมิเตอร์

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 4

14. ลมชนิดใดที่พัดพาความหนาวเย็นมาสู่
ประเทศไทย
ก. ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ
ข. ลมมรสุมตะวันตกเฉียงเหนือ
ค. ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้
ง. ลมมรสุมตะวันออกเฉียงใต้
15. พายุหมุนเขตร้อนประเภทใดที่เป็นสาเหตุ
ทาให้เกิดฝนตกในประเทศไทยมากที่สุด
ก. พายุโซนร้อน
ข. พายุไต้ฝุ่น
ค. พายุดีเปรสชั่น
ง. พายุไซโคลน

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 5

กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียน
เรื่อง ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ

ชื่อ..............................................สกุล................................เลขที่ ……………………

คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด แล้วทาเครื่องหมายกากบาท (X) ลงใน


กระดาษคาตอบ
ข้อ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15

เกณฑ์การวัดผล
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้
นักเรียนต้องได้คะแนน ร้อยละ 80
12-15 คะแนน ผ่านเกณฑ์ 15
0-11 คะแนน ไม่ผ่านเกณฑ์

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 6

บัตรกิจกรรมที่ 3.1
เรื่อง วิเคราะห์เหตุการณ์ข่าวปรากฏการณ์ธรรมชาติ

จุดประสงค์
1. วิเคราะห์เหตุการณ์ข่าวปรากฏการณ์ธรรมชาติได้
2. บอกสาเหตุและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากเหตุการณ์ทาง
ธรรมชาติจากข่าวได้ ใช้เวลา 20 นาที

วัสดุอุปกรณ์
1. คลิปเหตุการณ์ข่าวปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ
2. โทรศัพท์มือถือ (ของนักเรียน)

คาสั่ง
ให้นักเรียนดูคลิปวีดิโอเหตุการณ์ข่าวปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ จาก QR code
ด้านล่างนี้ แล้ววิเคราะห์เหตุการณ์ข่าวและตอบคาถามลงในแบบบันทึกบัตรกิจกรรมที่ 3.1
เรื่อง วิเคราะห์เหตุการณ์ข่าวปรากฏการณ์ธรรมชาติ

คลิปวิดีโอข่าว
จาก TNN

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 7

แบบบันทึกบัตรกิจกรรมที่ 3.1
เรื่อง วิเคราะห์เหตุการณ์ข่าวปรากฏการณ์ธรรมชาติ

คาสั่ง
จากทีน่ ักเรียนดูคลิปวีดิโอเหตุการณ์ข่าวปรากฏการณ์ธรรมชาติ ให้บันทึกผล
การวิเคราะห์เหตุการณ์ข่าว ตามข้อคาถามด้านล่างนี้

==================================

1. จากคลิปวิดีโอเหตุการณ์ข่าวปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ นักเรียนคิดว่าเป็น
เหตุการณ์เกี่ยวกับอะไร
............................................................................................................................. ............
.........................................................................................................................................

2. เหตุการณ์ดังกล่าวเกิดจากสาเหตุใด มีผลกระทบต่อมนุษย์ และสิ่งแวดล้อมอย่างไร


.........................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............
.........................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............
.........................................................................................................................................

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 8

บัตรเนื้อหาที่ 3.1
เรื่อง เมฆ หมอก และน้าค้าง

ความหมายของเมฆและการเกิดเมฆ
เมฆ (Cloud) คือ น้าหรือผลึกน้าแข็งในอากาศขนาดเล็กลอยในบรรยากาศเบื้องสูง
ซึง่ เกิดจากอากาศเคลื่อนที่ยกตัวสูงขึ้นจนถึงระดับที่อากาศมีอุณหภูมิต่า จนอากาศอิ่มตัวด้วย
ไอน้า ไอน้าในอากาศจะเกิดการควบแน่นกลั่นตัวเป็นละอองน้าเล็ก ๆ เมื่ออุณหภูมิของ
อากาศเท่ากับจุดน้าค้าง และถ้าอุณหภูมิของอากาศต่ากว่าจุดเยือกแข็ง ซึ่งมักจะพบในบริเวณ
ที่สูงขึ้นไปในบรรยากาศ ไอน้าจะกลายเป็นผลึกน้าแข็งเล็ก ๆ และเมื่ออยู่รวมกันเป็นกลุ่มจะ
เรียกว่าเมฆ

ภาพที่ 3.1 แสดงการยกตัวของอากาศควบแน่นเกิดเป็นเมฆ


ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โลกและดาราศาสตร์
http://www.lesa.biz/earth/atmosphere/cloud, 8 เมษายน 2559.

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 9

ชนิดของเมฆ
ในธรรมชาติเมื่อพิจารณารูปร่างลักษณะของเมฆ สามารถจาแนกเป็น 3 ลักษณะ
คือ
1. เมฆก้อน เรียกว่า เมฆคิวมูลัส (Cumulus)
2. เมฆแผ่น หรือ เมฆชั้น เรียกว่า เมฆสตราตัส (Stratus)
3. เมฆที่เป็นริ้ว ๆ คล้ายขนสัตว์ เรียกว่า ซีร์รัส (Cirrus)
หากเมฆก้อนลอยชิดติดกัน เรานาชื่อทั้งสองมาต่อกันเรียกว่า “เมฆสตราโตคิวมูลัส”
(Stratocumulus) ในกรณีที่เป็นเมฆฝนจะเพิ่มคาว่า “นิมโบ” หรือ “นิมบัส” ซึ่งแปลว่า
“ฝน” เข้าไป โดยเรียกเมฆก้อนที่ทาให้เกิดพายุฝนฟ้าคะนองว่า “เมฆคิวมูโลนิมบัส”
(Cumulonimbus) และเรียกเมฆแผ่นที่มีฝนตกปรอยๆ อย่างสงบว่า “เมฆนิมโบสตราตัส”
(Nimbostratus)
เมื่อใช้ความสูงของฐานเมฆเป็นเกณฑ์ สามารถแบ่งเมฆออกเป็น 4 ชนิด คือ
เมฆชั้นต่า เมฆชั้นกลาง และเมฆชั้นสูง เมฆที่ก่อตัวในแนวตั้ง ดังนี้

เมฆชั้นต่า
เมฆชั้นต่า เกิดอยู่สูงจากพื้นดินไม่เกิน 2 กิโลเมตร ได้แก่ เมฆสตราตัส
เมฆสตราโตคิวมูลัส เมฆนิมโบสตราตัส ซึ่งมีลักษณะดังภาพที่ 3.2 - 3.4

ภาพที่ 3.2 เมฆสตราตัส (Stratus)


เมฆแผ่นบาง ลอยสูงเหนือพื้นไม่มากนัก
เช่น ลอยปกคลุมยอดเขา มักเกิดขึ้น
ตอนเช้าหรือหลังฝนตก บางครั้งลอยต่า
มีลักษณะคล้ายหมอก

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 10

ภาพที่ 3.3 เมฆสตราโตคิวมูลัส


(Stratocumulus) เมฆก้อน ลอยติดกัน
เป็นแพ ไม่มีรูปทรงที่ชัดเจน มีช่องว่าง
ระหว่างก้อนเพียงเล็กน้อย มักเกิดขึ้นเวลาที่
อากาศไม่ดี และมีสีเทา เนื่องจากลอยอยู่ใน
เงาของเมฆชั้นบน

ภาพที่ 3.4 เมฆนิมโบสตราตัส


(Nimbostratus) เมฆแผ่นสีเทา
เกิดขึ้นเวลาที่อากาศมีเสถียรภาพทาให้เกิด
ฝนพราๆ ฝนผ่าน หรือฝนตกแดดออกไม่มี
พายุฝนฟ้าคะนอง ฟ้าร้องฟ้าผ่ามักปรากฏ
ให้เห็นสายฝนตกลงมาจากฐานเมฆ

ภาพที่ 3.2-3.4 แสดงลักษณะของเมฆชั้นต่า

ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โลกและดาราศาสตร์
http://www.lesa.biz/earth/atmosphere/cloud, 8 เมษายน 2559.

เมฆชั้นกลาง
เมฆชั้นกลาง เป็นเมฆที่เกิดขึ้นที่ระดับสูง 2 - 6 กิโลเมตร ในการเรียกชื่อจะ
เติมคาว่า “อัลโต” ซึ่งแปลว่า “ชั้นกลาง” ไว้ข้างหน้า เช่น เมฆแผ่นชั้นกลางเรียกว่า
“เมฆอัลโตสตราตัส” (Altostratus) เมฆก้อนชั้นกลางคือ “เมฆอัลโตคิวมูลัส”
(Altocumulus) ซึ่งมีลักษณะดังภาพที่ 3.5 และ 3.6

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 11

ภาพที่ 3.5 เมฆอัลโตคิวมูลัส


(Altocumulus) เมฆก้อน สีขาว
มีลักษณะคล้ายฝูงแกะ ลอยเป็นแพ
มีช่องว่างระหว่างก้อนเล็กน้อย

ภาพที่ 3.6 เมฆอัลโตสตราตัส


(Altostratus)
เมฆแผ่นหนา ส่วนมากมักมีสีเทา เนื่องจาก
บังแสงดวงอาทิตย์ ไม่ให้ลอดผ่าน และ
เกิดขึ้นปกคลุมท้องฟ้าเป็นบริเวณกว้าง
มาก หรือปกคลุมท้องฟ้าทั้งหมด

ภาพที่ 3.5-3.6 แสดงลักษณะของเมฆชั้นกลาง

ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โลกและดาราศาสตร์
http://www.lesa.biz/earth/atmosphere/cloud, 8 เมษายน 2559.

ข้อสังเกต : เมฆชั้นกลาง
มีความหนาแน่นพอที่จะบดบัง
ดวงอาทิตย์ ทาให้เกิดเงา
บางครั้งมองเห็นเป็นสีเทา

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 12

เมฆชั้นสูง
เมฆชั้นสูง เป็นเมฆที่เกิดขึ้นที่ระดับความสูงมากกว่า 6 กิโลเมตร ในการเรียกชื่อ
จะเติมคาว่า “ซีร์โร” ซึ่งแปลว่า“ชั้นสูง”ไว้ข้างหน้า เช่น เมฆแผ่นชั้นสูงเรียกว่า
“เมฆซีร์โรสตราตัส” (Cirrostratus) เมฆก้อนชั้นสูงเรียกว่า “เมฆซีร์โรคิวมูลัส”
(Cirrocumulus) นอกจากนั้นยังมีเมฆชั้นสูงที่มีรูปร่างเหมือนขนนก เรียกว่า “เมฆซีร์รัส”
(Cirrus) เมฆชั้นสูงซึ่งมีลักษณะดังภาพที่ 3.7-3.9

ภาพที่ 3.7 เมฆซีร์โรคิวมูลัส


(Cirrocumulus)เมฆสีขาว เป็นผลึก
น้าแข็ง มีลักษณะเป็นริ้วคลื่นเล็กๆ
มักเกิดขึ้นปกคลุมท้องฟ้าบริเวณกว้าง

ภาพที่ 3.8 เมฆซีร์โรสตราตัส (Cirrostratus)


เมฆแผ่นบาง สีขาว เป็นผลึกน้าแข็ง ปกคลุม
ท้องฟ้าเป็นบริเวณกว้าง โปร่งแสงต่อ
แสงอาทิตย์ บางครั้งหักเหแสง ทาให้เกิด
ดวงอาทิตย์ทรงกลด และดวงจันทร์ทรงกลด
เป็นรูปวงกลม สีคล้ายรุ้ง

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 13

ภาพที่ 3.9 เมฆซีร์รัส (Cirrus) เมฆริ้ว


สีขาว รูปร่างคล้ายขนนก เป็นผลึก
น้าแข็ง มักเกิดขึ้นในวันที่มีอากาศดี
ท้องฟ้าเป็นสีฟ้าเข้ม

ภาพที่ 3.7-3.9 แสดงลักษณะของเมฆชั้นสูง

ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โลกและดาราศาสตร์
http://www.lesa.biz/earth/atmosphere/cloud, 8 เมษายน 2559.

ข้อสังเกต: เนื่องจากอากาศข้างบน
บางมาก เมฆชั้นสูงไม่มีความหนาแน่น
มากพอที่จะบดบังดวงอาทิตย์ จึงมองเห็น
เมฆเป็นสีขาวเท่านั้น

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 14

เมฆที่ก่อตัวในแนวตั้ง
เมฆชนิดนี้เป็นเมฆซึ่งก่อตัวตามแนวตั้ง สูงตั้งแต่ 500 ถึง 20,000 เมตร มี 2 ชนิด
ซึง่ มีลักษณะ ดังภาพที่ 3.10 – 3.11

ภาพที่ 3.10 เมฆคิวมูลัส (Cumulus)


เมฆก้อนปุกปุย สีขาวเป็นรูปกะหล่า
ก่อตัวในแนวตั้ง เกิดขึ้นจากอากาศไม่มี
เสถียรภาพ ฐานเมฆเป็นสีเทาเนื่องจากมี
ความหนามากพอที่จะบดบังแสง จนทาให้
เกิดเงา มักปรากฏให้เห็นเวลาอากาศดี
ท้องฟ้าเป็นสีฟ้าเข้ม

ภาพที่ 3.11 เมฆคิวมูโลนิมบัส


(Cumulonimbus)
เมฆก่อตัวในแนวตั้ง พัฒนามาจาก
เมฆคิวมูลัส มีขนาดใหญ่มาก ปกคลุม
พื้นที่ครอบคลุมทั้งจังหวัด ทาให้เกิดพายุ
ฝนฟ้าคะนอง หากกระแสลมชั้นบน
พัดแรง ก็จะทาให้ยอดเมฆรูปกะหล่า
กลายเป็นรูปทั่งตีเหล็ก ต่อยอดออกมา
เป็นเมฆซีร์โรสตราตัส หรือเมฆซีร์รัส

ภาพที่ 3.10-3.11 แสดงลักษณะของเมฆก่อตัวในแนวตั้ง

ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โลกและดาราศาสตร์
http://www.lesa.biz/earth/atmosphere/cloud, 8 เมษายน 2559.

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 15

ชนิดและปริมาณเมฆในท้องฟ้าช่วยให้ทราบว่าในแต่ละวันหรือแต่ละเวลา
ในหนึ่งวันมีเมฆชนิดต่างๆ และมีปริมาณเมฆที่แตกต่างกัน เพื่อใช้บอกลักษณะของท้องฟ้า
ดังตารางที่ 3.1

ตาราง 3.1 ลักษณะของท้องฟ้าโดยใช้ปริมาณเมฆเป็นเกณฑ์


ลักษณะท้องฟ้า ปริมาณเมฆ
แจ่มใส มีเมฆน้อยกว่า 1/10 ของท้องฟ้า
โปร่ง มีเมฆ 1/10 แต่ไม่เกิน 3/10
มีเมฆบางส่วน มากกว่า 3/10 แต่ไม่เกิน 5/10
มีเมฆเป็นส่วนมาก มากกว่า 5/10 แต่ไม่เกิน 8/10
มีเมฆมาก มากกว่า 8/10 ถึง 9/10
เมฆเต็มท้องฟ้า 10/10

ที่มา : สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) อ้างอิงจาก กรมอุตุนิยมวิทยา


หนังสือรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2

หมอก (Fog)
หมอก เกิดจากไอน้าควบแน่นเปลี่ยนสถานะเป็นละอองหยดน้าเล็ก ๆ
เช่นเดียวกับเมฆ แต่หมอกเกิดจากอากาศชื้นเย็นตัวและลอยต่าใกล้พื้นผิวโลก ในขณะที่เมฆ
เกิดจากอากาศชื้นเย็นตัวในระดับสูงจากพื้นผิวโลก หมอกสามารถเกิดขึ้นจากสาเหตุ
หลายประการ ตัวอย่าง ดังนี้
-หมอกในหุบเหว ในวันที่มีอากาศชื้นและท้องฟ้าใส พอตกกลางคืนพื้นดินจะเย็นตัว
อย่างรวดเร็วทาให้ไอน้าในอากาศ ที่อยู่เหนือพื้นดินควบแน่นเป็นหยดน้า หมอกซึ่งเกิดขึ้น
โดยวิธีนี้มีอุณหภูมิต่าและมีความหนาแน่นสูง เคลื่อนตัวลงสู่ที่ต่า และมีอยู่อย่างหนาแน่น
ในหุบเหว เรียกว่า ทะเลหมอก ดังภาพที่ 3.12

ภาพที่ 3.12 ทะเลหมอก


http://www.lesa.biz/earth/atmosphere/fog,
24 เมษายน 2559.

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 16

-ละอองหมอก เป็นหยดน้าขนาด 0.005 – 0.05 มิลลิเมตร เกิดจาก


เมฆสตราตัส ทาให้เรารู้สึกชื้นเมื่อเดินผ่าน มักพบบนยอดเขาสูง

ภาพที่ 3.13 ละอองหมอกบนยอดเขา


http://oknation.nationtv.tv/blog/print.php?id=64676, 24 เมษายน 2559.

-หมอกเหนือพื้นน้า เกิดขึ้นเมื่อมวลอากาศอุ่นที่มีความชื้นสูงปะทะกับพื้นผิวที่มี
ความหนาวเย็นเหนือพื้นน้า ไอน้าในอากาศจะควบแน่นกลายเป็นหยดน้า ทาให้มองเห็น
เป็นควันสีขาวลอยขึ้นเหนือพื้นน้า

ภาพที่ 3.14 หมอกเหนือผิวน้า


https://www.tripadvisor.ca/LocationPhotoDirectLink-g, 24 เมษายน 2559.

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 17

หมอกควันสีขาว เมื่ออากาศร้อนซึ่งมีความชื้นสูง ปะทะกับอากาศเย็นซึ่งอยู่


ข้างบน แล้วควบแน่นเป็นหยดน้า เช่น
ไอน้าพุ่งออกมาจากพวยกาขณะน้ากาลังเดือดปะทะกับอากาศซึ่งมีอุณหภูมิต่ากว่า
เกิดการควบแน่นทาให้เห็นเป็นควันสีขาว
เวลาหลังฝนตก ไอน้าที่ระเหยขึ้นจากพื้นถนนซึ่งร้อน ปะทะกับอากาศเย็นซึ่งอยู่
ข้างบน แล้วควบแน่นกลายเป็นหมอก
ไอน้าจากลมหายใจเมื่อปะทะกับอากาศเย็นของฤดูหนาแล้วควบแน่นกลายเป็น
ละอองน้าเล็กๆ ให้เรามองเห็นเป็นควันสีขาว

ภาพที่ 3.15 หมอกควันสีขาว


https://board.postjung.com/1079843, 24 เมษายน 2559.

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 18

น้าค้าง
น้าค้างเกิดจากการควบแน่นของไอน้าบนพื้นผิวของวัตถุ ซึ่งมีการแผ่รังสีออกจน
กระทั่งอุณหภูมิลดต่าลงกว่าจุดน้าค้างของอากาศซึ่งอยู่รอบ ๆ น้าค้างมักเกิดขึ้นบนใบไม้
ใบหญ้า ทั้งนี้เนื่องจากใบของพืชคายไอน้าออกมา ทาให้อากาศบริเวณนั้นมีความชื้นสูง
เช่น การเกิดน้าค้างในตอนหัวค่า

ภาพที่ 3.16 น้าค้างเกาะบนใบหญ้า


http://portal.edu.chula.ac.th/lesa_cd/assets/document/
lesa212/6/clouds/clouds_precip/clouds_precip.html, 24 เมษายน 2559.

จุดน้าค้าง (Dew Point) หมายถึง


จุดทีม่ ีการกลั่นตัวของไอน้าที่เกิดขึ้น
อันเนื่องจากปริมาณไอน้าในอากาศอิ่มตัว
เต็มที่ และอุณหภูมิของอากาศลดต่าลงทา
ให้เกิดการกลั่นตัวเป็นหยดน้าตามธรรมชาติ

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 19

บัตรกิจกรรมที่ 3.2
เรื่อง สังเกตเมฆบนท้องฟ้า

จุดประสงค์

1. สังเกตและอธิบายรูปร่างลักษณะของเมฆในท้องฟ้า
2. ระบุชนิดของเมฆ และปริมาณเมฆในท้องฟ้า ใช้เวลา 30 นาที
3. เปรียบเทียบและอธิบายชนิดของเมฆในท้องฟ้า กับ
แผนภาพเมฆ

วัสดุอุปกรณ์

รายการ จานวน/กลุ่ม
แผนภาพเมฆ 1 แผ่น / กลุ่ม
กระดาษ A 4 1 แผ่น / กลุ่ม

คาสั่ง

ให้นักเรียนสังเกตเมฆที่อยู่ในท้องฟ้าเปรียบเทียบกับแผนภาพเมฆ แล้วบันทึก
ข้อมูลการสังเกต ลงในแบบบันทึกบัตรกิจกรรมที่ 3.2 เรื่อง สังเกตเมฆบนท้องฟ้า

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 20

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 21

แบบบันทึกบัตรกิจกรรมที่ 3.2
เรื่อง สังเกตเมฆบนท้องฟ้า
========================

คาสัง่
ให้นักเรียนบันทึกข้อมูลการสังเกตเมฆบนท้องฟ้า ลงในแบบบันทึกบัตรกิจกรรม
ที่ 3.2 เรื่อง สังเกตเมฆบนท้องฟ้า ตารางด้านล่างนี้ แล้วตอบคาถาม

วันที่/เวลา ผลการสังเกต
ที่สังเกต ลักษณะของเมฆ ชนิดเมฆ สภาพอากาศ

ผลการสังเกตปริมาณเมฆในท้องฟ้า

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 22

คาถาม
1. เมฆที่นักเรียนสังเกตมีลักษณะอย่างไร และจัดเป็นเมฆชนิดใด
ตอบ....................................................................................................................................
..........................................................................................................................................
2. เมฆที่เกิดขึ้นมีความสัมพันธ์กับสภาพอากาศหรือไม่ อย่างไร
ตอบ....................................................................................................................................
..........................................................................................................................................
3. ขณะที่สังเกตเมฆมีการเปลี่ยนแปลงลักษณะ และปริมาณหรือไม่ อย่างไร
ตอบ....................................................................................................................................
..........................................................................................................................................
สรุปผลการทากิจกรรม
......................................................................................................................... .......................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 23

บัตรกิจกรรมพัฒนาทักษะการสื่อสารทางวิทยาศาสตร์ที่ 3.1
เรื่อง เมฆ หมอก และน้าค้าง

จุดประสงค์
ใช้เวลา 20 นาที
1. อธิบาย และเปรียบเทียบการเกิดเมฆ หมอก และ
น้าค้างได้
2. อธิบายลักษณะและระบุชนิดชองเมฆได้
3. บอกผลของการเกิดเมฆ หมอก และน้าค้าง ต่อ
มนุษย์และสิ่งแวดล้อมได้

คาสัง่ ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ (20 คะแนน)

1. เมฆและหมอกมีลักษณะการเกิดเหมือนหรือต่างกัน อย่างไร
ตอบ…………………………………..…………………………………………………………….…………………
………………………………………………………………………………………………………………………….
2. ให้นักเรียนยกตัวอย่างปรากฏการณ์ที่คล้ายคลึงกับการเกิดหมอก ซึ่งพบเห็นได้ในชีวิตประจาวัน
ตอบ………………………………………………..……………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….……………….
3. ถ้าตอนเช้าของวันหนึ่งนักเรียนพบว่า มีน้าค้างอยู่ตามใบไม้ ยอดหญ้าที่อยู่ใกล้กับพื้นดิน
แสดงว่าในเวลากลางคืนที่ผ่านมามีสภาพอากาศเป็นอย่างไร
ตอบ…………………………………..……………………………………………………………..………………..
………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………….

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 24

4. เมฆคิวมูโลนิมบัสเป็นเมฆที่ปรับตัวมาจากเมฆชนิดใด เมฆชนิดนี้เกิดขึ้นได้อย่างไร
ตอบ…………………………………..………………….……………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………….
5. เมฆชนิดใดจัดเป็นเมฆที่ก่อตัวในแนวตั้ง
ตอบ………………………………….………………..……………………………………………………………
6. เมฆชนิดใดมีลักษณะเป็นริ้วสีขาว คล้ายขนนก
ตอบ……………………………………………...…………………………………………………………………
7. เมฆชนิดใด ที่ทาให้ฝนตกหนัก ลมแรง และเกิดพายุ ฟ้าคะนอง
ตอบ……………………………………………...…………………………………………………………………
8. สถานะของละอองน้าในเมฆที่อยู่ในที่สูง ๆ กับที่อยู่ในที่ต่าเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
ตอบ……………………………………………...……………………………………..……………………………
………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………….
9. เมฆนิมโบสเตรตัส มีลักษณะอย่างไร และเมื่อเกิดเมฆชนิดนี้สภาพอากาศจะเป็นอย่างไร
ตอบ……………………………………………...……………………………………..……………………………
………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………….
10. ลักษณะของเมฆ และปริมาณเมฆในท้องฟ้า มีความสาคัญอย่างไรต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม
ตอบ……………………………………………...……………………………………..………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………….

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 25

บัตรเนื้อหาที่ 3.2
เรื่อง ฝน ลูกเห็บ หิมะ

ฝน ลูกเห็บ หิมะ ซึ่งเรียกว่า น้าฟ้า เกิดจากละอองน้าหรือเกล็ดน้าแข็งในเมฆ


มีขนาดใหญ่ขึ้น และมีความหนาแน่นมากขึ้น จนอากาศไม่สามารถอุ้มน้าหรือน้าแข็ง
ในเมฆไว้ได้จึงตกลงมาที่พื้นผิวโลก

ภาพที่ 3.17 กระบวนการเกิดน้าฟ้าในเมฆคิวมูโลนิมบัส


http://www.lesa.biz/earth/atmosphere/precipitation, 24 เมษายน 2559.

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 26

ฝน
ฝนเป็นหยดน้าที่เกิดจากกระบวนการกลั่นตัวของไอน้าในอากาศที่รวมกันเป็นเมฆ
เมื่อหยดน้ามีขนาดใหญ่และมีน้าหนักมาก จนอากาศไม่สามารถอุ้มไว้ได้ จึงตกลงมาทีพ่ ื้นโลก
เป็นฝน ฝนส่วนใหญ่ตกลงมาจากเมฆนิมโบสตราตัส และเมฆคิวมูโลนิมบัส

ภาพที่ 3.18 แสดงลักษณะของเม็ดฝน


https://www.springnews.co.th/thailand/533751, 24 เมษายน 2559.

ชนิดของฝน
ฝนที่ตกกระจายอยู่ในส่วนต่างๆ ของโลกมีลักษณะการเกิดที่แตกต่างกัน ดังนี้
1. ฝนพาความร้อน
เป็นฝนที่เกิดจากเมฆที่ก่อตัวขึ้นจากมวลอากาศร้อนและลอยตัวขึ้นสูงขึ้นไป
กระทบกับอากาศเย็น ทาให้ฝนตกลงมา เวลาฝนตกมักมีพายุ ฟ้าแลบ ฟ้าร้อง เรียกว่า
ฝนฟ้าคะนอง ในประเทศไทย พบในฤดูร้อน ราวเดือนมีนาคม – ต้นเดือนพฤษภาคม

ภาพที่ 3.19 การเกิดฝนพาความร้อน


ที่มา : 2003 LISA Project. [24 เมษายน 2559]
วาดภาพโดยนางนิภาวดี น่วมอินทร์

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 27

2. ฝนภูเขา
เป็นฝนที่เกิดจากมวลอากาศชื้นไหลมาปะทะภูเขาที่ขวางกั้นทิศทางลม มวลอากาศ
จะถูกยกตัวให้สูงขึ้น และเย็นลง ไอน้าจึงกลั่นตัวเป็นเมฆหนาทึบและตกมาเป็นฝน ฝนชนิดนี้
จะตกหนักเป็นพักๆ อาจมีพายุฝนฟ้าคะนองเกิดขึ้นด้วย

ภาพที่ 3.20 การเกิดฝนภูเขา


ทีม่ า : ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ และเจียมจิต กุลมาลา , 2558.

3. ฝนพายุหมุน
เป็นฝนที่เกิดจากพายุหมุนที่มวลอากาศไหลเข้าสู่ศูนย์กลางหย่อมความกดต่า
มวลอากาศที่ไหลเข้ามาจะถูกยกตัวให้สูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ทาให้ไอน้ากลั่นตัวกลายเป็น
เมฆหนาทึบและตกลงมาเป็นฝน ฝนชนิดนี้จะตกหนักแผ่เป็นบริเวณกว้าง และจะตก
ติดต่อกันเป็นเวลานาน เช่น ฝนจากพายุดีเปรสชั่น ฝนจากพายุโซนร้อน
4. ฝนแนวปะทะ
เป็นฝนที่จากมวลอากาศร้อนกับมวลอากาศเย็นเคลื่อนมาปะทะกันมวลอากาศเย็น
จะดันให้มวลอากาศร้อนที่ชุ่มชื้น และเบากว่าลอยขึ้นสูงเบื้องบน ไอน้าในมวลอากาศร้อน
จะกลั่นตัว กลายเป็นเมฆ และตกลงมาเป็นฝน

ภาพที่ 3.21 การเกิดฝนแนวปะทะ


ที่มา : 2003 The LISA Project , 2558. [24 เมษายน 2559]

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 28

ลูกเห็บ
ลูกเห็บ เป็นก้อนน้าแข็งขนาดใหญ่กว่า 5 เซนติเมตร ที่อยู่ในเมฆคิวมูโลนิมบัส
ถูกกระแสลมพัดวนอยู่ในเมฆเป็นเวลานาน จนกระทั่งมีขนาดใหญ่มากพอที่เมื่อตกลงมาแล้ว
ละลายไม่หมดก่อนถึงพื้น

ภาพที่ 3.22 พายุลูกเห็บ ที่อาเภอพิมาย โคราช วันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2558


https://soclaimon.wordpress.com/2015/04/04, เมษายน 2559.

หิมะ
หิมะ เป็นผลึกน้าแข็งขนาดประมาณ 1 – 20 มิลลิเมตร ซึ่งเกิดจากไอน้าจาก
น้าเย็นยิ่งยวด ระเหิดกลับเป็นผลึกน้าแข็งแล้วตกลงมา

ภาพที่ 3.23 หิมะทีป่ ระเทศจีน


https://travel.thaiza.com/foreign/170185/, 24 เมษายน 2559.

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 29

การวัดปริมาณน้าฝน
การวัดปริมาณน้าฝน จะไม่วัดเป็นปริมาตร เพราะน้าฝนที่ได้จะเปลี่ยนแปลงไป
ตามขนาดของภาชนะที่รองรับ แต่บริเวณที่ฝนตกสม่าเสมอ ระดับความสูงของน้าฝนจาก
ภาชนะที่รองรับน้าฝนขนาดต่างๆกัน จะมีความสูงเท่ากัน หรือใกล้เคียงกัน ดังนั้น การวัด
ปริมาณน้าฝน จึงวัดเป็นความสูงของน้าฝนหน่วยเป็นมิลลิเมตร และภาชนะที่ใช้วัด
ปริมาณน้าฝนจะเป็นทรงกระบอก ทั้งนี้เพราะภาชนะที่เป็นทรงกระบอก ถึงแม้มีขนาด
ต่างกัน ความสูงของน้าในภาชนะเกือบเท่ากัน จากหลักการดังกล่าวจึงนามาสร้างเป็น
เครื่องมือวัดปริมาณน้าฝน ซึ่งเครื่องวัดปริมาณน้าฝนที่ใช้ทั่วไปเป็นภาชนะทรงกระบอก
ขนาดมาตรฐานจะมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 20 เซนติเมตร หรือ 8 นิ้ว ซึ่งมีหลายแบบ ได้แก่
1. เครื่องวัดน้าฝนแบบธรรมดาหรือแบบแก้วตวง (ordinary raingage)
2. เครื่องวัดน้าฝนแบบบันทึก (recording raingage) เป็นชนิดที่มีปากกาเขียน
ด้วยหมึกสาหรับบันทึกปริมาณน้าฝนไว้เป็นเวลา 24 ชั่วโมง หรือตลอดสัปดาห์หรือนานกว่านี้

3.24 ก เครื่องวัดปริมาณน้าฝนแบบแก้วตวง 3.24 ข เครื่องวัดปริมาณน้าฝนแบบถ้วยกระดก

ภาพที่ 3.24 ก-ข เครื่องวัดปริมาณน้าฝนแบต่าง ๆ


ที่มา : ถ่ายภาพเครื่องวัดปริมาณน้าฝน ณ สถานีอุตุนิยมวิทยา จังหวัดกาแพงเพชร
โดยนางนิภาวดี น่วมอินทร์

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 30

บัตรกิจกรรมที่ 3.3
เรื่อง การทดลองวัดปริมาณน้าฝนอย่างง่าย

จุดประสงค์

1. อธิบายหลักการของเครื่องวัดปริมาณน้าฝน
2. ทดลองสร้างเครื่องวัดปริมาณน้าฝนอย่างง่าย
3. ทาการวัดปริมาณน้าฝนจากเครื่องมือที่สร้างขึ้นได้ ใช้เวลา 30 นาที

วัสดุอุปกรณ์

รายการ จานวน/กลุ่ม
1. ภาชนะใสทรงกระบอก ขนาดต่าง ๆ กัน 3 ใบ
2. ขวดฉีดน้า 1 ขวด
3. น้าเปล่า 1 ลิตร
4. ไม้บรรทัด 1 อัน

วิธีการทดลอง

1. เตรียมภาชนะใสทรงกระบอก 3 ขนาด เช่น กระป๋อง ขวดปากกว้าง แก้ว


2. ใช้ขวดฉีดน้า ฉีดน้าให้เป็นฝอยๆ เหนือภาชนะที่เตรียมได้จากข้อ 1 และสังเกต
การเพิ่มขึ้นของน้าในภาชนะ จนกระทั่งระดับน้าสูงพอที่จะวัดความสูงได้
3. วัดความสูงของน้าในภาชนะ และเปรียบความสูงของน้าในแต่ละภาชนะ บันทึกผล
ลงในตารางบันทึกผลการทดลอง

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 31

แบบบันทึกบัตรกิจกรรมที่ 3.3
เรื่อง การทดลองวัดปริมาณน้าฝนอย่างง่าย

วันที่ทาการทดลอง...........เดือน........................พ.ศ..........................

กลุ่มที่.............ชั้น ม.1/.........

1………………………………………………………………………………เลขที่....................
2………………………………………………………………………………เลขที่....................
3………………………………………………………………………………เลขที่....................
4………………………………………………………………………………เลขที่....................
5………………………………………………………………………………เลขที่....................
6………………………………………………………………………………เลขที่....................
7………………………………………………………………………………เลขที่....................

ตารางบันทึกผลการทดลอง

ภาชนะทรงกระบอก ระดับความสูงของน้าในภาชนะ (mm)


ใบที่ 1
ใบที่ 2
ใบที่ 3

คาถาม
1. ปริมาณน้าในภาชนะที่มีขนาดต่าง ๆ แตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร
ตอบ......................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 32

2. ความสูงของน้าในภาชนะต่างๆ แตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร


ตอบ...................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………
3. ถ้าใช้ จาน ชาม ขวดแก้วทากิจกรรม จะให้ผลการทดลองแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร
ตอบ..................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………

สรุปผลการทดลอง
...................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
................................................................................................................................... ...............
..................................................................................................................................................

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 33

บัตรกิจกรรมพัฒนาทักษะการสื่อสารทางวิทยาศาสตร์ที่ 3.2
เรื่อง ฝน ลูกเห็บ หิมะ

จุดประสงค์

1. อธิบายกระบวนการเกิดฝน ลูกเห็บ หิมะ ได้ ใช้เวลา 10 นาที


2. บอกเครื่องมือและหน่วยที่ใช้วัดปริมาณน้าฝนได้
3. บอกประโยชน์ และโทษของน้าฟ้าที่มีต่อมนุษย์
และสิ่งแวดล้อมได้

คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ (10 คะแนน )

1. ฝน และลูกเห็บ แตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร


ตอบ…………………………………..…………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………….
2. หยาดน้าฟ้าที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ได้แก่ อะไรบ้าง
ตอบ…………………………………..…………………………………………………………………
3. ปริมาณน้าฝนที่ตกลงมาในส่วนต่างๆ ของโลกจะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับสิ่งใดบ้าง
ตอบ…………………………………..…………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………..…….
4. เครื่องมือวัดปริมาณน้าฝนที่ใช้กันทั่วไปมีรูปทรงอะไร และใช้หน่วยใดในการวัดปริมาณน้าฝน
ตอบ…………………………………..…………………………………………………………………
…………………………………………………………………..……………………………………….
5. ฝนที่เกิดจากลมมรสุมมีลักษณะอย่างไร และเกิดผลดีหรือผลเสียต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม
หรือไม่ อย่างไร
ตอบ…………………………………..…………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………….

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 34

บัตรเนื้อหาที่ 3.3
เรื่อง ลมและพายุ

ลมคืออะไร
ลม คือ มวลของอากาศที่เคลื่อนที่ในแนวราบ

ภาพที่ 3.25 ลมพัดดอกหญ้าไหวเอน


https://pantip.com/topic/35159153, 25 เมษายน 2559.

ลมเกิดขึ้นได้อย่างไร
ลมเกิดเนื่องจากอากาศในบริเวณที่ร้อนจะลอยตัวสูงขึ้น ความกดอากาศต่า
ในขณะที่อากาศบริเวณใกล้เคียงที่อุณหภูมิต่ากว่า อากาศบริเวณที่มีความกออากาศสูง
จะเคลื่อนที่เข้ามายังบริเวณที่มีความกดอากาศต่า มวลอากาศที่เคลื่อนที่เราเรียกว่า
"ลม" จึงกล่าวได้ว่า ลมเกิดจากการเคลื่อนที่ของอากาศจากบริเวณที่มีความกดอากาศสูง
ไปยังบริเวณที่มีความกดอากาศต่า

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

ภาพที่ 3.4.2 แสดงความกดอากาศแตกต่างกันเป็นสาเหตุการเกิดลม


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 35

ภาพที่ 3.26 แสดงความกดอากาศแตกต่างกันเป็นสาเหตุการเกิดลม


ที่มา : http://tairgle.egat.co.th/index.php?option=com_content&view=
article&idการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย [25 เมษายน 2559]

ลมจะเร็ว หรือช้าขึ้นอยู่กับอะไร

การเคลื่อนที่ของลมจะเร็วหรือช้าขึ้นอยู่กับความแตกต่างของความกดอากาศสูง
และความกดอากาศต่า ถ้ามีความแตกต่างกันน้อยลมที่เกิดขึ้นจะเป็นลมเอื่อย และถ้ามี
ความแตกต่างกันมากจะกลายเป็นพายุได้

ภาพที่ 3.27 ภาพแสดงลมพัดแรง


https://board.postjung.com/743255, 25 เมษายน 2559.

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 36

การหมุนเวียนของลมบนโลกเป็นกลไก
ในการช่วยกระจายพลังงานความร้อน
จากดวงอาทิตย์ ให้เฉลี่ยทั่วถึงโลก และ
ช่วยพัดพาเอาความชุ่มชื้นจากพื้นน้ามา
สู่พื้นดินด้วย

ชนิดของลม
จากการที่นักเรียนได้เรียนรู้มาแล้วว่าลมเกิดขึ้นได้อย่างไร แล้วนักเรียน
คิดว่าลมมีกี่ชนิด แล้วแต่ละชนิดแตกต่างกันอย่างไร ซึ่งสามารถจาแนกลมได้ดังนี้
ลมบก ลมทะเล
ลมทะเล เป็นลมประจาเวลาเกิดในตอนกลางวัน เนื่องจากความร้อนซึ่งแตกต่างกัน
ระหว่างบริเวณทะเล และพื้นดินตามชายฝั่ง ซึง่ เวลากลางวัน พื้นดินตามชายฝั่งได้รับรังสี
จากดวงอาทิตย์ ทาให้มีอุณหภูมิสูงกว่าบริเวณทะเล ดังนั้น อากาศในบริเวณพื้นดินจึงมี
ความแน่นน้อยกว่า และความกดก็ลดลงด้วยจึงลอยตัวขึ้น ดังนั้น อากาศเย็นตามบริเวณ
ทะเลจะพัดเข้ามาแทนที่ ลมจึงพัดจากทะเลเข้าสู่ฝั่ง

ภาพที่ 3.28 ลมทะเลพัดจากทะเลเข้าฝั่ง เวลากลางวัน


https://1freewallpapers.com/beach-coast-sea-blue-green-palm-
scenery/th, 26 เมษายน 2559.
ปรับแต่งภาพโดย นางนิภาวดี น่วมอินทร์ โรงเรียนวัชรวิทยา

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 37

ลมบก เกิดในเวลากลางคืน เนื่องจากในตอนกลางคืนพื้นดิน


คายความร้อนได้ดีกว่าพื้นน้าทาให้อุณหภูมิของอากาศเหนือพื้นน้าสูงกว่าพื้นดิน อากาศ
ในบริเวณทะเลมีความแน่นน้อยกว่าพื้นดินจะลอยตัวขึ้น อากาศเย็นบริเวณพื้นดินจะพัด
ออกไปแทนที่จึ่งทาให้ลมพัดจากฝั่งสู่ทะเล

ภาพที่ 3.29 ลมบกพัดจากฝั่งไปยังทะเล เวลากลางคืน


ที่มา : https://1freewallpapers.com/beach-coast-sea-blue-green-palm-
scenery/th, 26 เมษายน 2559.
ปรับแต่งภาพโดย นางนิภาวดี น่วมอินทร์ โรงเรียนวัชรวิทยา

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 38

ประโยชน์ของลมบกลมทะเล
เรือประมงขนาดเล็กจะออกสู่ท้องทะเลเพื่อหาปลาในเวลากลางคืน โดยอาศัย
“ลมบก”ซึง่ พัดจากฝั่งออกสู่ทะเล พอรุ่งสางเรือเหล่านี้ก็จะแล่นกลับเข้าสู่ฝั่งอีกครั้ง
โดยอาศัย “ลมทะเล” ซึง่ พัดจากทะเลเข้าฝั่งในเวลากลางวัน

ลมก็มีประโยชน์นะคะ

ภาพที่ 3.30 แสดงเรืออาศัยลมทะเลเล่นเข้าสู่ฝั่ง


http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type1/science03/
16/conte16/content s/p02.html, 20 เมษายน 2559.

ลมมรสุม
คาว่า “มรสุม” หรือ monsoon มาจากคาว่า mausim ในภาษาอาหรับ
แปลว่า ฤดูกาล (season) สาเหตุใหญ่ๆ เกิดจากความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิของ
พื้นดิน และพื้นน้า ประเทศไทยอยู่ภายใต้อิทธิพลของลมมรสุม 2 ชนิด คือ ลมมรสุม
ตะวันตกเฉียงใต้ และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 39

ลมมรสุมฤดูร้อน
ลมมรสุมฤดูร้อน หรือเรียกว่า ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดปกคลุมประเทศไทย
ระหว่างกลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม โดยมีแหล่งกาเนิดจากบริเวณ
ความกดอากาศสูง ในซีกโลกใต้บริเวณมหาสมุทรอินเดีย ซึ่งพัดออกจากศูนย์กลางเป็นลม
ตะวันออกเฉียงใต้ และเปลี่ยนเป็นลมตะวันตกเฉียงใต้เมื่อพัดข้ามเส้นศูนย์สูตร มรสุมนี้
จะนามวลอากาศชื้นจากมหาสมุทรอินเดียมาสู่ประเทศไทย ทาให้มีเมฆมากและฝนชุกทั่วไป
โดยเฉพาะอย่างยิ่งตามบริเวณชายฝั่งทะเล และเทือกเขาด้านรับลมจะมีฝนมากกว่า
บริเวณอื่น

ภาพที่ 3.31 ทิศทางของลมมรสุมฤดูร้อน


ที่มา : ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ และเจียมจิต กุลมาลา , 2558.

ลมมรสุมฤดูหนาว
ลมมรสุมฤดูหนาว หรือเรียกว่าลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ประมาณ
กลางเดือนตุลาคม จนถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ จะมีมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัดปกคลุม
ประเทศไทย มรสุมนี้มีแหล่งกาเนิดจากบริเวณความกดอากาศสูงบนซีกโลกเหนือ
แถบประเทศมองโกเลียและจีน จึงพัดพาเอามวลอากาศเย็น และแห้งจากแหล่งกาเนิดเข้ามา
ปกคลุมประเทศไทย ทาให้ท้องฟ้าโปร่ง อากาศหนาวเย็นและแห้งแล้งทั่วไป โดยเฉพาะ
ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนภาคใต้จะมีฝนชุกโดยเฉพาะภาคใต้ฝั่งตะวันออก
เนื่องจากมรสุมนี้นาความชุ่มชื้นจากอ่าวไทยเข้ามาปกคลุม

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 40

ภาพที่ 3.32 ทิศทางของลมมรสุมฤดูหนาว


ทีม่ า : ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ และเจียมจิต กุลมาลา, 2558.

ในแต่ละปีการเริ่มต้น
และสิ้นสุดลมมรสุม
ทั้งสองชนิด
อาจผันแปรไป
จากปกติได้

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 41

พายุ
พายุหมุน
พายุหมุนเกิดจากศูนย์กลางความกดอากาศต่า ทาให้บริเวณโดยรอบซึ่งก็คือ
ความกดอากาศสูงพัดเข้าหาศูนย์กลางความกดอากาศต่า ขณะเดียวกันศูนย์กลาง
ความกดอากาศต่าจะลอยตัวสูงขึ้น และเย็นลง อุณหภูมิลดลงเมื่อความสูงเพิ่มขึ้น ทาให้
เกิดเมฆและหยาดน้าฟ้า พายุหมุนจะมีความรุนแรงหรือไม่ขึ้นอยู่กับอัตราการลดลง
ของความกดอากาศ ถ้าอัตราการลดลงของความกดอากาศมีมากจะเกิดพายุรุนแรง
แต่ทั้งนี้ พายุจะหมุนทวนเข็มนาฬิกาในซีกโลกเหนือ และหมุนตามเข็มนาฬิกาในซีกโลกใต้
ซึ่งความแตกต่างของการหมุนดังกล่าวนั้น เกิดจากผลของแรงที่เกิดจากการหมุน
รอบตัวเองของโลก

ภาพที่ 3.33 ไซโคลน และ แอนติไซโคลน ในซีกโลกเหนือ


http://portal.edu.chula.ac.th/lesa_cd/assets/document/lesa212/6/atm, 20 ตุลาคม 2559.

องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกแบ่งประเภทพายุหมุนตามความเร็ว ใกล้ศูนย์กลางพายุเป็น
เกณฑ์ โดยแบ่ง เป็น 3 ชนิด ได้ดังนี้
1. พายุดีเปรสชั่น มีความเร็วของลมรอบศูนย์กลาง ไม่เกิน 63 กิโลเมตร/ชั่วโมง
โดยบริเวณที่เกิดพายุ หรือมีพายุชนิดนี้เคลื่อนที่ผ่าน ท้องฟ้าจะมืดครึ้ม และปกคลุมด้วยเมฆหนาทึบ
มีฝนตกเล็กน้อยถึงหนัก แผ่เป็นบริเวณกว้าง และตกติดต่อกันเป็นเวลานาน
2. พายุโซนร้อน มีความเร็วลมของลมรอบศูนย์กลาง 63-118 กิโลเมตร/ชั่วโมง
มีกาลังปานกลาง และมีฝนตกหนัก

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 42

3. พายุหมุนเขตร้อน หรือพายุรุนแรง มีความเร็วลมมากกว่า 118 กิโลเมตร/ชั่วโมง


เป็นพายุที่มีกาลังแรงมีฝนตกหนักมาก บางครั้งจะมีพายุฝนฟ้าคะนองร่วมด้วย โดยพายุหมุน
เขตร้อนนี้มีชื่อเรียกต่าง ๆ กัน ตามแหล่งกาเนิด ดังนี้
3.1 ถ้าเกิดในมหาสมุทรแปซิฟิก และทะเลจีนใต้ เรียกว่า ใต้ฝุ่น ถ้าพัดขึ้นฝั่ง
ในทวีปอเมริกา เรียกว่า ทอร์นาโด
3.2 ถ้าเกิดในอ่าวเบงกอล และทะเลอาหรับ เรียกว่า พายุไซโคลน
3.3 ถ้าเกิดในแอตแลนติก ทะเลแคริบเบียน อ่าวแม็กซิโก และทะเลฝั่งตะวันตก
ของอ่าวแม็กซิโก เรียกว่า พายุเฮอร์ริเคน หรือสลาตัน
3.4 ถ้าเกิดในทะเลประเทศฟิลิปปินส์ เรียกว่า พายุบาเกียว
3.5 ถ้าเกิดที่ทะเลออสเตรเลีย เรียกว่า พายุวิลลี วิลลี

ภาพที่ 3.34 "ทอร์นาโดขนาดมหึมา" พัดถล่มเมืองโคโลราโด ในสหรัฐอเมริกา


https://variety.thaiza.com เว็บไซต์ข่าว washingtonpost, 10 พฤษภาคม 2559.

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 43

ภาพที่ 3.35 การเกิดพายุเฮอริเคน เกิดบริเวณทิศตะวันตกของมหาสมุทรแอตแลนติก


https://whansangjan.wordpress.com/2014/02/05 ,10 พฤษภาคม 2559.

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 44

พายุฝนฟ้าคะนอง
พายุฝนฟ้าคะนอง หรืออาจเรียกว่า พายุพาความร้อน เป็นพายุที่เกิดจาก
เมฆฝนฟ้าคะนอง ได้แก่ เมฆคิวมูโลนิมบัส ซึ่งมีลักษณะการเกิดโดยมวลอากาศร้อนและ
ชื้นลอยตัวสูงขึ้นสู่เบื้องบน อุณหภูมิของอากาศจะลดต่าลงจนไอน้าควบแน่น กลายเป็น
เมฆเมฆคิวมูโลนิมบัสที่ก่อตัวหนาทึบในระยะเวลาอันสั้น สามารถเกิดได้ในทุกบริเวณ
ที่มีอากาศร้อน และมีความชื้นมากพอสมควร จึงเป็นลักษณะสาคัญของอากาศเขตร้อน
โดยมากมักจะมีทั้งลมแรง, ฟ้าแลบ, ฟ้าร้อง และฝนตกหนักเกิดขึ้นพร้อมกัน บางครั้ง
อาจมีลูกเห็บตกลงมาด้วย ความแรงของลมสามารถทาลายบ้านเรือน สิ่งปลูกสร้างและ
ต้นไม้เสียหายได้
ประเทศไทยจะมีพายุฝนฟ้าคะนองเกือบขึ้นตลอดทั้งปี ยกเว้นในช่วงฤดูหนาว
คือ เดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมกราคม เดือนที่เกิดพายุฝนฟ้าคะนองน้อยที่สุด ส่วนเดือน
ที่เกิดพายุฝนฟ้าคะนองมากที่สุด คือ เดือนพฤษภาคม

ภาพที่ 3.36 ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณความกดอากาศสูงได้แผ่ลงมาปกคลุม


ประเทศจีนตอนใต้และเวียดนามตอนบน เกิดเป็นพายุฤดูร้อน
https://news.mthai.com/general-news/436223.html, 10 พฤษภาคม 2559.

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 45

เครื่องมือวัดกระแสลม

เครือ่ งมือวัดกระแสลม เป็นเครื่องมือสาหรับวัดทิศทางและวัดความเร็วของลม


แยกตามลักษณะการใช้งาน ได้ 2 ชนิด ดังนี้
ศรลม
ศรลม หรือ วินเวน (Wind Vane) เป็นเครื่องมือวัดทิศทางลม มีลักษณะ
เป็นรูปไก่ หรือ ลูกศร ที่มีหางลูกศรเป็นแผ่นใหญ่กว่าหัวลูกศร เมื่อลมพัดมาหางลูกศร
จะถูกแรงลมปะทะมากกว่าหัวลูกศร ทาให้หัวลูกศรชี้ไปทางทิศที่ลมพัดมา ทาให้เรา
ทราบว่าทิศทางลมว่าพัดมาจากทางไหน

ภาพที่ 3.37 ก ศรลมรูปลูกศร ภาพที่ 3.37 ข ศรลมรูปไก่

ภาพที่ 3.37 ก-ข แสดงลักษณะของศรลมลักษณะต่างๆ


sites.google.com/site/gem2kkr/person, 10 พฤษภาคม 2559.

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 46

แอนิโมมิเตอร์ ( Anemometer)
แอนิโมมิเตอร์ หรือ มาตรวัดความเร็วลม เป็นเครื่องมือที่ใช้วัดความเร็วลม
ประกอบด้วยถ้วยกลมครึ่งซีกที่ทาด้วยโลหะเบา 3-4 ใบ หันตามกัน ติดอยู่ที่ปลายแกนหมุน
ซึ่งหมุนได้อิสระเมื่อมีลมพัดมาปะทะถ้วย ถ้วยจะหมุนไปตามรอบแกน
ถ้ามีลมพัดแรงถ้วยจะหมุนรอบแกนได้เร็ว ซึ่งสามารถอ่านค่าความเร็วลมได้จาก
ตัวเลขที่อยู่ในหน้าปัดของเครื่อง หน่วยวัดความเร็วลมมีหลายอย่าง เช่น นอต
ไมล์ทะเลต่อชั่วโมง กิโลเมตรต่อชั่วโมง ไมล์ต่อชั่วโมง

ภาพที่ 3.38 ก แอนิโมมิเตอร์แบบแกนหมุน ภาพที่ 3.38 ข แอนิโมมิเตอร์แบบดิจิตอล

รูปที่ 3.38 ก-ข แสดงลักษณะของแอนิโมมิเตอร์แบบต่างๆ

http://kanchanapisek.or.th, 10 พฤษภาคม 2559.


http://61.19.202.164/works/smtpweb52/B05/tools.html, 10 พฤษภาคม 2559.

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 47

การวัดทิศทางและความเร็วของลม
ในที่สูงๆต้องใช้เครื่องมือที่ เรียกว่า
เรวินด์ (Rawind) ซึ่งผูกติดกับบอลลูน
โดยรายงานแบบคลื่นวิทยุ นอกจากนี้
ยังใช้ ไพลอทบอลลูน ซึ่งบางครั้ง
อาจใช้เครื่องเรดาห์ กล้องส่องทางไกล
หรือกล้องโทรทัศน์ ตรวจสอบจาก
บอลลูนได้

ประโยชน์และผลของปรากฏการณ์ทางลมฟ้าอากาศที่มีต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม

ประโยชน์ของปรากฏการณ์ทางลมฟ้าอากาศ
1. การเกิดลมจะช่วยให้เกิดการไหลเวียนของบรรยากาศ
2. การเกิดลมสินค้า
3. การเกิดเมฆและฝน ทาให้เกิดผลดีทางการเกษตร
4. การเกิดลมประจาเวลา เช่น การเกิดลมบกลมทะเล เป็นประโยชน์
ต่อการประมง
5. พลังงานลมในการผลิตกระแสไฟฟ้า

ภาพที่ 3.39 ทุ่งกังหันลม


ห้วยบง จังหวัดนครราชสีมา

https://www.thetrippacker.com/th/image/%E0, 10 พฤษภาคม 2559.


ถ่ายภาพโดย Kairatfern@gmail.com88408840

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 48

ผลกระทบและภัยอันตรายจากปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ
1. ผลกระทบจากอิทธิพลของลมมรสุม เช่น น้าท่วม น้าท่วมฉับพลัน
2. ผลกระทบจากอิทธิพลของลมพายุ เช่น ต้นไม้ล้มทับ คลื่นสูงในทะเล

ภาพที่ 3.40 "ทอร์นาโด"ถล่มรัฐ"โอกลาโฮมา"ของสหรัฐฯ


วันที่ 21 พฤษภาคม 2556 เวลา 08:50:23 น.
http://www.cmadong.com/board/index.php?topic, 10 พฤษภาคม 2559.

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 49

เอลนีโน และ ลานีนา

เอลนีโน (El Nino - EN)


เอลนีโน เป็นปรากฏการณ์การไหลย้อนกลับของผิวน้าทะเลที่อุ่นในช่วงเวลาหนึ่ง ๆ
จากบริเวณเส้นศูนย์สูตรทางมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ไปยังบริเวณเส้นศูนย์สูตรของ
มหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออกและตามบริเวณชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาใต้
ชายฝั่งเปรู
ตามปกติ บริเวณชายฝั่งประเทศเปรู ซึ่งเป็นประเทศที่อยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือ
ของทวีปอเมริกาได้ หรือทางด้านตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิกใต้ใกล้เส้นศูนย์สูตร จะมีน้าเย็นได้
มหาสมุทรพัดขึ้นมายังผิวน้า กระบวนการนี้คือการพัดขึ้นมาแทนที่ของกระแสน้าเย็นจากใต้มหาสมุทร
ขึ้นมาตามบริเวณชายฝั่งอันเป็นผลเกิดจากลมสินค้าตะวันออกเฉียงใต้ที่มีกาลังแรงพัดขนานฝั่ง
อีกทั้งการหมุนรอบตัวเองของโลกขณะที่ลมรวมกับการหมุนของโลกจึงผลักดันให้ผวิ น้าเบื้องบน
ที่อุ่นพัดห่างจากฝั่งไปน้าเย็นข้างล่างที่อุดมด้วยแร่ธาตุอาหารสาหรับแพลงก์ตอนพืชจะพัดขึ้นมา
แทนที่ผิวน้าอุ่นที่ถูกพัดพาไป บริเวณชายฝั่งที่มีกระแสน้าเย็นพัดขึ้นมาแทนที่จะเป็นบริเวณ
ที่เหมาะที่สุดสาหรับการเจริญพันธุ์ของปลาทะเลทั่วโลก
ปรากฏการณ์เอลนีโนทาให้ระดับน้าทะเลและสภาพอากาศเปลี่ยนแปลงไปจาก
สภาพปกติ อุณหภูมิผิวน้าทะเลที่สูงขึ้นผิดปกติ จะเกิดขึ้นโดยเฉลี่ยประมาณ 2 ครั้งในทุกๆ 10 ปี
แม้ว่าช่วงห่างระหว่างการเกิดแต่ละครั้งจะไม่สม่าเสมอก็ตาม การอุ่นขึ้นของน้าทะเลบริเวณแปซิฟิก
ตะวันออกกับน้าทะเลที่เย็นลงบริเวณใกล้ทวีปออสเตรเลีย จะกินเวลาประมาณ 12 เดือน
โดยมักจะเริ่มประมาณช่วงต้นของปี และสิ้นสุดประมาณต้นปีถัดไป
ลานีนา (La Nina = ลานีญา)
คือ ปรากฏการณ์ที่สลับกันกับเอลนีโน กล่าวคือ เป็นปรากฏการณ์ที่อุณหภูมิ
ผิวน้าทะเลบริเวณเส้นศูนย์สูตรในมหาสมุทรแปซิฟิกกลางและตะวันออกมีค่าต่ากว่าปกติ
ทั้งนี้เนื่องจากลมสินค้าตะวันออกเฉียงใต้ที่พัดอยู่เป็นประจาในมหาสมุทรแปซิฟิกเขตร้อน
ทางซีกโลกใต้ (ละติจูด 0 - 30 องศาใต้) มีกาลังแรงกว่าปกติ จึงพัดพาผิวน้าทะเลที่อุ่น
จากมหาสมุทรแปซิฟิกเขตร้อนตะวันออก (บริเวณชายฝั่งเปรู) ไปสะสมอยู่ทางมหาสมุทรแปซิฟิก
เขตร้อนตะวันตก (บริเวณชายฝัง่ อินโดนีเซียและออสเตรเลีย) มากยิ่งขึ้นทาให้ทางมหาสมุทร
แปซิฟิกเขตร้อนตะวันตกซึ่งแต่เดิมมีอุณหภูมิผิวน้าทะเล และระดับน้าทะเลสูงกว่าทางมหาสมุทร
แปซิฟิกเขตร้อนตะวันออกอยู่แล้ว กลับยิ่งมีอุณหภูมิผิวน้าทะเล และระดับน้าทะเลสูงกว่า
ทางมหาสมุทรแปซิฟิกเขตร้อนตะวันออกมากขึ้นไปอีก มีผลทาให้ทางมหาสมุทรแปซิฟิกเขตร้อน
ตะวันตกมีปริมาณฝนตกมากขึ้น ขณะที่ทางแปซิฟิกเขตร้อนตะวันออกจะมีความแห้งแล้ง
มากขึ้นเช่นกัน ลานีนาจะเกิดโดยเฉลี่ย 5 - 6 ปีต่อครั้ง และเกิดแต่ละครั้งกินเวลานาน
ประมาณ 1 ปี

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 50

เอลนีโน และลานีนา ส่งผลโดยตรงต่อโลก คือทาให้เกิดความแปรปรวน


ของลมฟ้าอากาศทั่วโลกแต่บริเวณต่าง ๆ จะได้รับผลกระทบไม่เท่ากัน กล่าวคือ โดยทั่วไป
เอลนีโนจะทาให้บริเวณที่เคยมีฝนตกชุกมีปริมาณฝนลดลงอย่างมาก และบริเวณที่เคยมีฝนตกน้อย
จะมีฝนเพิ่มขึ้นมาก ส่วนลานีนาจะทาให้บริเวณที่มีฝนมากอยู่แล้วมีฝนเพิ่มขึ้นอีก และบริเวณ
ที่แห้งแล้งจะยิ่งแห้งแล้งยิ่งขึ้นเช่นกัน การเกิดเอลนีโน และ ลานีนา เป็นการเปลี่ยนแปลง
ตามธรรมชาติที่มีช่วงการเปลีย่ นแปลงไม่แน่นอนคืออยู่ในช่วง 2 ปี ถึง 10 ปี

ภาพที่ 3.41 ปรากฏการณ์ เอลนีโน และลานีนา

https://www.bkkvariety.com/2021, 21 พฤษภาคม 2558.

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 51

บัตรกิจกรรมที่ 3.4
เรื่อง การทดลองวัดทิศทางลมและความเร็วลม

จุดประสงค์การทดลอง

1. สามารถประดิษฐ์เครื่องมือวัดทิศทางลมและความเร็วลม
อย่าง ง่ายๆได้
2. ใช้เครื่องวัดทิศทางลมและความเร็วลมจากเครื่องมือที่ประดิษฐ์
ขึ้นได้ ใช้เวลา 60 นาที

วัสดุและอุปกรณ์

รายการ จานวน/กลุม่
1. แผ่นกระดาษแข็ง 1 แผ่น
2. คลิปหนีบกระดาษ 4 อัน
3. ดินน้ามัน 1 ก้อน
4. กรรไกร 1 อัน
5. แกนไม้ 1 อัน
6. หลอดกาแฟ 2 อัน
7. ลูกปิงปองครึ่งซีก 4 ซีก
8. ปืนกาว พร้อมแท่งกาว 1 ชุด
9. วงเวียน 1 อัน
10. ด้ายเย็บผ้า 1 หลอด

คาสั่ง

1. ให้นักเรียนศึกษาวิธีการทาเครื่องวัดทิศทางลม และความเร็ว จากสื่อ ๆ เช่น Internet


2. นักเรียนออกแบบและทาเครื่องวัดทิศทางลม และความเร็วลมที่สามารถทางาน
ไปพร้อมกันภายในเครื่องเดียวกัน โดยใช้วัสดุอุปกรณ์ที่กาหนดให้

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 52

แบบบันทึกบัตรกิจกรรมที่ 3.4
เรื่อง การทดลองวัดทิศทางลมและความเร็วลม

วันที่ทาการทดลอง...........เดือน........................พ.ศ..........................

กลุ่มที่.............ชั้น ม.1/.........

1………………………………………………………………………………เลขที่....................
2………………………………………………………………………………เลขที่....................
3………………………………………………………………………………เลขที่....................
4………………………………………………………………………………เลขที่....................
5………………………………………………………………………………เลขที่....................
6………………………………………………………………………………เลขที่....................
7………………………………………………………………………………เลขที่....................

บันทึกผลการทดลอง
ลักษณะรูปร่างของสิ่งที่ประดิษฐ์ขึ้น ผลการทดสอบวัดทิศทางลม
และความเร็วลม

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 53

คาถาม
1. เมื่อนาอุปกรณ์ไปวางในบริเวณที่มีลมพัด หัวลูกศรจะชี้ไปในทิศทางใด
ตอบ…………………………………..………………………………….………………………………………..……
2. เมื่อลมพัด กรวยมีเคลื่อนที่อย่างไร และถ้าลมมีความเร็วเพิ่มขึ้น การเคลื่อนที่ของกรวย
เป็นอย่างไร
ตอบ…………………………………..……………………………………….………………….……………..………
……………………………………………………………………………………….…………………………………….
3. อุปกรณ์ที่สร้างขึ้นมาเพื่อใช้ตรวจสอบทิศทางลม และความเร็วลมนี้ เรียกว่าอะไร
ตอบ…………………………………..………………………………………………………….………………………
…………………………………………………………………………………….………………………………………..
สรุปผลการทดลอง
........................................................................................................................................ ..........
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 54

บัตรกิจกรรมพัฒนาทักษะการสื่อสารทางวิทยาศาสตร์ที่ 3.3
เรื่อง ลมและพายุ

จุดประสงค์

1. อธิบายกระบวนการเกิดลมและพายุได้ ใช้เวลา 20 นาที


2. บอกวิธีการวัดทิศทางลม และความเร็วลมได้
3. บอกประโยชน์ และโทษของลมและพายุที่มีต่อ
มนุษย์และสิ่งแวดล้อมได้

คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ ( 10 คะแนน )

1. ลมเกิดขึ้นได้อย่างไร
ตอบ..................................................................................................................................
………………………………………………………………………………………………………………………….
2. ลมและพายุแตกต่างกันอย่างไร
ตอบ..................................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………..
3. ลมทะเลเกิดขึ้นในเวลากลางวันหรือกลางคืน และเกิดขึ้นได้อย่างไร
ตอบ…………………………………..……………………………………………………………….……………
….…………………………………………………………………………………………………………….……….
4. ในการแบ่งประเภทของพายุหมุนใช้สิ่งใดเป็นเกณฑ์ และแบ่งออกเป็นกี่ชนิดอะไรบ้าง
ตอบ…………………………………..…………………………………………………………….………………
…………………………………………………………………………………………………………….………….
5. พายุไซโคลนเป็นพายุที่มีลักษณะใด และเกิดขึ้นในบริเวณใด
ตอบ…………………………………..………………………………………………………………….…………
….…………………………………………………………………………………………………………………….

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 55

6. ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้เกิดขึ้นในฤดูใด และพัดจากบริเวณใดไปยังบริเวณใด
ตอบ…………………………………..……………………………………………………………..….…………
……………………………………………………………………………………………………..…….………….
7. พายุชนิดใดที่เกิดขึ้นในประเทศไทย และทาให้ฝนตกบ่อย ๆ
ตอบ…………………………………..……………………………………………………………..……………
8. ในขณะที่เกิดพายุฝนฟ้าคะนองจะมีสิ่งใดเกิดขึ้นบ้าง
ตอบ…………………………………..………………………………………..…………………………………
9. การเกิดพายุทาให้เกิดผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมอย่างไร (ตอบมา 3 ข้อ)
ตอบ…………………………………..………………………………………………………………….….………
…….……………………………………………………………………………………………….………..……….
……………………………………………………………………………………………………….…………..…….
10. ปรากฏการณ์เอลนิโน และลานินา ส่งผลกระทบต่อมนุษย์อย่างไร
ตอบ…………………………………..…………………………………………………………………….………
……………………………………………………………………………………………..………………..…..…….

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 56

แบบทดสอบหลังเรียน

เรื่อง ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ

คาชี้แจง 1 ข้อสอบเป็นปรนัยเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 15 ข้อ ใช้เวลา


2. จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 10 นาที

1. เมฆกับหมอกแตกต่างกันอย่างไร 3. ข้อใดแสดงปริมาณน้าฝนได้ถูกต้องที่สุด
ก. เมฆเกิดจากไอน้าในอากาศกลั่นตัว ก. มวลของน้าฝนที่ตกลงสู่พื้นที่ใดที่หนึ่ง
ส่วนหมอกเกิดจากไอน้าในอากาศ ข. ปริมาตรของน้าฝนที่ตกลงสู่
รวมกันเป็นก้อน พื้นผิวโลกต่อหนึ่งหน่วยตารางเมตร
ข. เมฆเกิดจากไอน้าในอากาศรวม ค. ส่วนสูงของน้าฝนที่ตกลงสู่พื้นผิวโลก
กันเป็นก้อน ส่วนหมอกเกิดจาก ต่อหนึ่งหน่วยตารางเมตร
เกิดจากไอน้าในอากาศกลั่นตัว ง. ความลึกของน้าฝนที่ตกลงสู่
ค. เมฆมีลักษณะเป็นก้อน หมอก พื้นผิวโลกในหน่วยมิลลิเมตรหรือเซนติเมตร
มีลักษณะเป็นแผ่น 4. ในช่วงเดือนพฤษภาคม – กลางเดือนตุลาคม
ง. เมฆเกิดในระดับสูงหมอกเกิดใน ของประเทศไทยเป็นช่วงฤดูที่มีฝนตกชุก ทั้งนี้
ระดับต่าเหนือพื้นดิน เนื่องจากอิทธิพลของลมชนิดใด
2. ข้อใดหมายถึงหมอก ก. ลมสินค้า ข. ลมบก ลมทะเล
ก. ไอน้าที่กลั่นตัวเป็นหยดน้าใน ค. ลมมรสุม ง. ลมไต้ฝุ่น
ระดับสูง 5. พายุที่เกิดในทะเลจีนใต้เรียกว่าอะไร
ข. ไอน้าที่กลั่นตัวเป็นละอองน้าใน ก. พายุไซโคลน ข. พายุไต้ฝุ่น
ระดับสูง ค. พายุทอร์นาโด ง. พายุโซนร้อน
ค. ไอน้าที่กลั่นตัวเป็นละอองน้าใน 6. สิ่งใดบ้างคือหยาดน้าฟ้า
ระดับใกล้พื้นโลก 1) หมอก 2) ลูกเห็บ
ง. หยดน้าในอากาศที่ได้รับ 3) น้าค้าง 4) เมฆ
ความกดอากาศจนกลายเป็นน้าแข็ง 5) ฝน 6) หิมะ
ก. 1), 2), 3), 4) ข. 2), 3), 4), 5)
ค. 2), 3), 5), 6) ง. 1), 2), 4), 5)

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 57

7. เมื่อเข้าสู่ช่วงฤดูหนาวจะมีมวลอากาศเย็น 11. ในช่วงเดือนเดือนธันวาคมที่จงั หวัดเชียงใหม่


พัดจากประเทศจีนเข้าสู่ประเทศไทย อุณหภูมิของอากาศใกล้พื้นดินลดลงต่ากว่า
เป็นเพราะเหตุใด จุดเยือกแข็ง จะทาให้เกิดปรากฏการณ์ใด
ก. ประเทศไทยมีความกดอากาศสูงกว่า ก. หมอก ข. หยาดน้าฟ้า
ประเทศจีน ค. เหมยขาบ ง. ละอองฝน
ข. ประเทศจีนมีความกดอากาศสูงกว่า 12. ข้อใดเรียงลาดับความเร็วลมจากเร็วสุด
ประเทศไทย ไปช้าสุดได้ถูกต้อง
ค. ประเทศจีนมีความกดอากาศต่ากว่า ก. พายุไต้ฝุ่น→ พายุโซนร้อน→พายุ
ประเทศไทย ดีเปรสชัน
ง. ประเทศไทยตอนเหนือมีอุณหภูมิต่ากว่า ข. พายุดีเปรสชัน→พายุโซนร้อน→
ประเทศจีน พายุไต้ฝุ่น
8. จากภาพถ้าลมพัดจากทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ค. พายุโซนร้อน →พายุไต้ฝุ่น→ พายุ
ลูกศรของศรลมจะชี้ไปทางตัวเลขใด ดีเปรสชัน
P
ง. พายุดีเปรสชัน→พายุไต้ฝุ่น→พายุ
S โซนร้อน
13. ลมชนิดใดที่พัดพาความหนาวเย็นมาสู่
Q ประเทศไทย
ก. ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ
R ข. ลมมรสุมตะวันตกเฉียงเหนือ
ค. ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้
ก. S ข. P ง. ลมมรสุมตะวันออกเฉียงใต้
ค. Q ง. R 14. พายุหมุนเขตร้อนประเภทใดที่เป็น
9. เมฆชนิดใดเป็นที่ก่อตัวในแนวตั้ง สาเหตุทาให้เกิดฝนตกในประเทศไทยมาก
ก. อัลโตสตราตัส เมฆสตราตัส ที่สุด
ข. เมฆซีร์รัส อัลโตคิวโมลัส ก. พายุโซนร้อน ข. พายุไต้ฝุ่น
ค. นิมโบสตราตัส เมฆสตราตัส ค. พายุดีเปรสชั่น ง. พายุไซโคลน
ง. เมฆคิวมูลัส คิวมูโลนิมบัส 15. เครื่องมือที่ใช้วัดทิศทางและความเร็ว
10. ข้อใดเป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดลม ลมคือข้อใด
ก. ปริมาณความชื้นในอากาศ ก. ศรลม ข. แอโรเวน
ข. สภาพภูมิประเทศที่ต่างกันมากๆ ค. แอนิมอมิเตอร์ ง. บารอมิเตอร์
ค. ความแตกต่างของความกดอากาศ
ทั้งสองบริเวณ
ง. เหตุผลทั้งสามข้อ

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 58

กระดาษคาตอบแบบทดสอบหลังเรียน

เรื่อง ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ

ชื่อ..............................................สกุล................................เลขที่ ……………………

คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดแล้ว ทาเครื่องหมายกากบาท (X) ลงใน


กระดาษคาตอบ
ข้อ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15

เกณฑ์การวัดผล
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้
นักเรียนต้องได้คะแนน ร้อยละ 80
12-15 คะแนน ผ่านเกณฑ์ 15
1-11 คะแนน ไม่ผ่านเกณฑ์

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 59

บรรณานุกรม

ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ และเจียมจิต กุลมาลา. (2558.) หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน


วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. กรุงเทพฯ : ไซเบอร์พริ้นท์กรุ๊ป จากัด.
สุชาดา จูอนุวัฒนกุล และวาสินี ขุนทวี. (2554.) คู่มือสื่อการสอนวิชาเคมี.
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและคณะวิทยาศาสตร์จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย ภาควิชาเคมี
สมพงศ์ จันทร์โพธิ์ศรี. (2554.) คู่มือเตรียมสอบวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2. กรุงเทพฯ :
ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง.
สมโภค สุขอนันต์ และ สามารถ พงศ์ไพบูลย์. คู่มือเตรียมสอบวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่มรวม 1-2.
กรุงเทพฯ : ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง, 2554.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. คู่มือครูรายวิชา
พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์.
(2554.) กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สกสค. ลาดพร้าว.
. (2553.). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ เล่ม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สกสค. ลาดพร้าว.
เสียง เชษฐศิริพงศ์. (ม.ป.ป.) คู่มือสาระการเรียนรู้แกนกลาง วิทยาศาสตร์ ม.1. กรุงเทพฯ :
เรืองแสงการพานิชย์.
การพายุฤดูร้อน (Oniline). https://news.mthai.com/general-news/436223.html
ข่าวออนไลน์ M Thai 7 เมษายน 2558, 10 พฤษภาคม 2559.
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย. การเกิดลม (Oniline). http://tairgle.egat.co.th
/index.php?option=com_content&view=article&id, 25 เมษายน 2559.
การเกิดฝน (Oniline). www.springnews.co.th/thailand/533751, 24 เมษายน 2559.
การเกิดฝนพาความร้อน(Oniline). 2003 LISA Project, 24 เมษายน 2559.
การเกิดพายุเฮอริเคน เกิดบริเวณทิศตะวันตกของมหาสมุทรแอตแลนติก (Oniline).
https://whansangjan.wordpress.com/2014/02/05, 10 พฤษภาคม 2559.
กระบวนการเกิดน้าฟ้าในเมฆคิวมูโลนิมบัส (Oniline).
www.lesa.biz/earth/atmosphere/precipitation, 24 เมษายน 2559.
กังหันลม (Oniline). www.thetrippacker.com/th/image/%E0, 28 ตุลาคม 2559.
ความกดอากาศและการเกิดลม (Oniline). http://portal.edu.chula.ac.th/lesa
_cd/assets/document/lesa212/6/atm, 20 ตุลาคม 2559.

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 60

บรรณานุกรม (ต่อ)

จุดน้าค้าง (Oniline). www.trueplookpanya.com/new/


asktrueplookpanya/questiondetail/3080, 3 เมษายน 2559.
ไซโคลน และ แอนติไซโคลน ในซีกโลกเหนือ (Oniline).
http://portal.edu.chula.ac.th/lesa_cd/assets/document/lesa212/6/atm,
20 ตุลาคม 2559.
ทุ่งกังหันลม(Oniline).https://www.thetrippacker.com/th/image/%E0, .
ถ่ายภาพโดย Kairatfern@gmail.com88408840, 10 พฤษภาคม 2559
ทอร์นาโดขนาดมหึมา พัดถล่มเมืองโคโลราโด ในสหรัฐอเมริกา (Oniline).
https://variety.thaiza.com เว็บไซต์ข่าว washingtonpost, 10 พฤษภาคม 2559.
"ทอร์นาโด"ถล่มรัฐ"โอกลาโฮมา"ของสหรัฐฯ (Oniline).
http://www.cmadong.com/board/index.php?topic, 10 พฤษภาคม 2559.
ทะเลหมอก (Oniline). www.lesa.biz/earth/atmosphere/fog, 24 เมษายน 2559.
น้าค้างเกาะบนใบหญ้า (Oniline). http://portal.edu.chula.ac.th/lesa
_cd/assets/document/lesa212/6/clouds/clouds_precip/clouds_precip.html.,
24 เมษายน 2559.
บารอมิเตอร์ (Oniline), www.phukhieo.ac.th/obec-media/2554/manual
/%A4%D9%E8%C. 8 ตุลาคม 2558.
ประโยชน์ของลมบกลมทะเล (Oniline). www.thai],mtg]goodview.com
/library/contest2552/type1/science03/ 16/conte16/content s/p02.html.,
10 ตุลาคม 2559
ปรากฏการณ์ เอลนีโน และลานีนา (Oniline). https://www.bkkvariety.com/2021,
21 พฤษภาคม 2559.
แผนภาพเมฆ (Oniline). http://portal.edu.chula.ac.th/inet/assets//img006.pdf,
3 เมษายน 2559.
พายุลูกเห็บ (Oniline). https://soclaimon.wordpress.com/2015/04/04,
24 เมษายน 2559.
พายุลูกเห็บ ที่อาเภอพิมาย โคราช วันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2558 (Oniline).
https://soclaimon.wordpress.com/2015/04/04, 24 เมษายน 2559.

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 61

บรรณานุกรม (ต่อ)

พายุหมุน (Oniline). https://news.mthai.com/general-news/436223.html


ข่าวออนไลน์ M Thai 7 เม.ย. 2558, 24 พฤษภาคม 2559.
เรืออาศัยลมทะเลเล่นเข้าสู่ฝั่ง (Oniline).
http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type1/science03/
16/conte16/content s/p02.html., 20 เมษายน 2559.
ละอองหมอก (Oniline). http://oknation.nationtv.tv/blog/print.php?id=64676,
24 เมษายน 2559.
ลมทะเลพัดจากทะเลเข้าฝั่ง (Oniline). https://1freewallpapers.com/beach-coast-sea-
blue-green-palm-scenery/th, 26 เมษายน 2559.
ลมพัดดอกหญ้า (Oniline). https://pantip.com/topic/35159153, 24 พฤษภาคม 2559.
ลมพัดดอกหญ้าไหวเอน (Oniline). https://pantip.com/topic/35159153,
25 เมษายน 2559.
ลมพัดแรง (Oniline). https://board.postjung.com/743255th., 24 พฤษภาคม 2559.
ศรลม (Oniline). sites.google.com/site/gem2kkr/person, 10 พฤษภาคม 2559.
ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โลกและดาราศาสตร์. การยกตัวของอากาศควบแน่นเกิดเป็นเมฆ
(Oniline). www.lesa.biz/earth/atmosphere/cloud, 8 เมษายน 2559.
หมอกจากพวยกา (Oniline). https://board.postjung.com/1079843, 24 เมษายน 2559.
หมอกในหุบเขา (Oniline). www.lesa.biz/earth/atmosphere/fog, 24 เมษายน 2559.
หมอกเหนือผิวน้า (Oniline). www.tripadvisor.ca/LocationPhotoDirectLink-g,
24 เมษายน 2559.
หิมะที่ประเทศจีน (Oniline). https://travel.thaiza.com/foreign/170185/, 24 เมษายน
2559.
แอนิโมมิเตอร์ (Oniline). http://kanchanapisek.or.th., 10 พฤษภาคม 2559.
แอนิโมมิเตอร์ (Oniline). http://61.19.202.164/works/smtpweb52/
B05/tools.html., 10 พฤษภาคม 2559.
เฮอริเคน (Oniline). https://whansangjan.wordpress.com/2014/02/05, 10 พฤษภาคม
2559.

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 62

ภาคผนวก

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 63

บัตรเฉลย แบบทดสอบก่อนเรียน

1.ค
2.ง
3.ค
4.ง
5.ง
6.ข
7.ค
8.ก
9.ข
10.ค
11.ข
12.ค
13.ก
14.ก
15.ค

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 64

บัตรเฉลย แบบบันทึกบัตรกิจกรรมที่ 3.1


เรื่อง วิเคราะห์เหตุการณ์ข่าวปรากฏการณ์ธรรมชาติ

คาสั่ง
จากทีน่ ักเรียนดูคลิปวีดิโอเหตุการณ์ข่าวปรากฏการณ์ธรรมชาติ ให้บันทึกผล
การวิเคราะห์เหตุการณ์ข่าว ตามข้อคาถามด้านล่างนี้
==================================

จากคลิปวิดีโอเหตุการณ์ข่าวปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ นักเรียนคิดว่าเป็นเหตุการณ์
เกี่ยวกับอะไร
การเกิดพายุหมุนพัดถล่มหอบบ้านทั้งหลัง ที่บ้านนายไขแสง บรรหาร บ้านดงติ้ว
ตาบลบ้านกลาง อ.เมือง จังหวัดนครพนม เวลาประมาณ 13.30 น.

เหตุการณ์ดังกล่าวเกิดจากสาเหตุใด และเกิดผลกระทบอย่างไรต่อมนุษย์ และ


สิ่งแวดล้อม
พายุหมุน เกิดจากความแตกต่างของความกดอากาศจากศูนย์กลางความกดอากาศต่า
ทาให้บริเวณโดยรอบซึ่งก็คือความกดอากาศสูงพัดเข้าหาศูนย์กลางความกดอากาศต่า
ส่งผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม คือ การเกิดพายุหมุนทาให้บ้านพักอาศัย
พังทลาย สิ่งแวดล้อมเสียหาย และอาจมีฝนตกหนักก็จะทาเกิดปัญหาน้าท่วม สิ่งผลให้
พืชผัก ถนนหนทางหรือบ้านถูกน้าท่วมทาให้มีผลกระทบต่อการดารงชีวิตประจาวันของ
มนุษย์

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 65

บัตรเฉลย แบบบันทึกบัตรกิจกรรมที่ 3.2


เรื่อง สังเกตเมฆบนท้องฟ้า

========================

คำชี้แจง

ให้นักเรียนบันทึกข้อมูลการสังเกตเมฆบนท้องฟ้า ลงในแบบบันทึกบัตรกิจกรรม
ที่ 3.1 เรื่อง สังเกตเมฆบนท้องฟ้า ตารางด้านล่างนี้ แล้วตอบคาถาม

วันที่/เวลา ผลการสังเกต
ที่สังเกต ลักษณะของเมฆ ชนิดเมฆ สภาพอากาศ
2 ธ.ค.2560 -สีขาว เป็นแผ่นบาง -เมฆซีร์โรสตราตัส อากาศโปร่ง
กระจายอยู่ทั่วบนท้องฟ้า
ลอยอยู่สูง
-เมฆก้อนขนาดเล็ก เกาะ - เมฆคิวโมลัส
รวมกันเป็นกลุ่มๆ
ผลการสังเกตปริมาณเมฆในท้องฟ้า

3/40 2/40

3/40 4/40

ปริมาณเมฆ = 3/40 +2/40 +3/40 +4/40 =3/10


ในท้องฟ้ามีเมฆ ปานกลาง 3/10 ของท้องฟ้า ท้องฟ้าโปร่ง

คาถาม
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 66

4. เมฆที่นักเรียนสังเกตมีลักษณะอย่างไร และจัดเป็นเมฆชนิดใด
ตอบ เมฆสีขาว เป็นแผ่นบางๆ กระจายอยู่ทั่วบนท้องฟ้า ลอยอยู่สูง ชนิดเมฆ
ซีร์โรสตราตัส
-เมฆก้อนขนาดเล็ก เกาะรวมกันเป็นกลุ่มๆ มีสีเทา ชนิดเมฆคิวโมลัส
2. เมฆที่เกิดขึ้นมีความสัมพันธ์กับสภาพอากาศหรือไม่ อย่างไร
ตอบ ลักษณะของเมฆและปริมาณเมฆบนท้องฟ้า มีความสัมพันธ์กับสภาพอากาศ คือ
อากาศปลอดโปร่ง เมฆมีปริมาณน้อย ถ้าอากาศครึม เมฆจะมีปริมาณ
มาก และเมฆอาจมีสีเข้ม
3. ขณะที่สังเกตเมฆมีการเปลี่ยนแปลงลักษณะ และปริมาณหรือไม่ อย่างไร
ตอบ ขณะที่สังเกตเมฆมีการเปลี่ยนแปลงลักษณะไปบ้าง ส่วนปริมาณไม่ค่อย
เปลี่ยนแปลง
อภิปรายและสรุปผลการทากิจกรรม
จากการสังเกตเมฆวันที่ 2 ธ.ค.2560 พบว่า เมฆมีสีขาว เป็นแผ่นบาง
กระจายอยู่ทั่วบนท้องฟ้า ลอยอยู่สูง และมีบางส่วนมีลักษณะเป็นก้อนขนาดเล็ก
เกาะรวมกันเป็นกลุ่ม มีสีเทา เมฆมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างเร็ว และเมื่อพิจารณาปริมาณเมฆ
เปรียบกับสัดส่วนวงกลมของท้องฟ้า พบว่า มีเมฆปริมาณ 3/10 แสดงว่า ท้องฟ้าโปร่ง มีเมฆ
ปริมาณน้อย และส่วนใหญ่เมฆอยู่ในระดับสูง ทั้งนี้เนื่องจากเป็นช่วงฤดูหนาว ไอน้าในอากาศ
มีน้อย ความชื้นสัมพัทธ์ต่า

บัตรเฉลย บัตรกิจกรรมพัฒนาทักษะการสื่อสารทางวิทยาศาสตร์ที่ 3.1


วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ เรื1่อง เมฆ หมอก และน้าค้าง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 67

จุดประสงค์
ใช้เวลา 20 นาที
1. อธิบาย และเปรียบเทียบการเกิดเมฆ หมอก และ
น้าค้างได้
2. อธิบายลักษณะและระบุชนิดชองเมฆได้
3. บอกผลของการเกิดเมฆ หมอก และน้าค้าง ต่อ
มนุษย์และสิ่งแวดล้อมได้

คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ ( 20 คะแนน )

4. เมฆและหมอกมีลักษณะการเกิดเหมือนหรือต่างกัน อย่างไร
ตอบ เมฆและหมอกเหมือนกัน คือ เกิดจากไอน้าควบแน่นเปลี่ยนสถานะเป็นละอองหยดน้า
เล็กๆ เช่นเดียวกัน แต่ต่างกันที่หมอกเกิดจากอากาศชื้นเย็นตัวและลอยต่าใกล้พื้นผิวโลก
ในขณะที่เมฆเกิดจากอากาศชื้นเย็นตัวในระดับสูงจากพื้นผิวโลก
5. ให้นักเรียนยกตัวอย่างปรากฏการณ์ที่คล้ายคลึงกับการเกิดหมอก ซึ่งพบเห็นได้ใน
ชีวิตประจาวัน
ตอบ ควันสีขาวที่พุ่งออกมาจากพวยกา ควันสีขาวที่ออกมาจากลมหายออกในฤดูหนาว
6. ถ้าตอนเช้าของวันหนึ่งนักเรียนพบว่า มีน้าค้างอยู่ตามใบไม้ ยอดหญ้าที่อยู่ใกล้กับพื้นดิน
แสดงว่าในเวลากลางคืนที่ผ่านมามีสภาพอากาศเป็นอย่างไร
ตอบ แสดงว่าในเวลากลางคืนที่ผ่านมาอากาศมีความชื้นสัมพัทธ์สูง ลมสงบ
ทาให้ตอนเช้าซึ่งอุณหภูมิต่า ไอน้าในอากาศใกล้พื้นดินควบแน่นเป็นหยดน้าเกาะอยู่
ตามใบไม้ใบหญ้า เรียกว่า น้าค้าง

4. เมฆคิวมูโลนิมบัสเป็นเมฆที่ปรับตัวมาจากเมฆชนิดใด เมฆชนิดนี้เกิดขึ้นได้อย่างไร

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 68

ตอบ เมฆคิวมูโลนิมบัสปรับตัวมาจากเมฆคิวมูลัส ซึ่งเกิดจากอากาศร้อน


5. เมฆชนิดใดจัดเป็นเมฆที่ก่อตัวในแนวตั้ง
ตอบ เมฆคิวมูลัส , เมฆคิวมูโลนิมบัส
6. เมฆชนิดใดมีลักษณะเป็นริ้วสีขาว คล้ายขนนก
ตอบ เมฆเซอร์รัส
7. เมฆชนิดใด ที่ทาให้ฝนตกหนัก ลมแรง และเกิดพายุ ฟ้าตะนอง
ตอบ เมฆคิวมูโลนิมบัส
8. สถานะของละอองน้าในเมฆที่อยู่ในที่สูงๆ กับที่อยู่ในที่ต่าเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
ตอบ ละอองน้าในเมฆที่อยู่ในที่สูงๆ มีลักษณะเป็นผลึกน้าแข็ง เนื่องจากที่ระดับสูง
อุณหภูมิของอากาศต่ากว่าจุดเยือกแข็ง ส่วนระดับต่าจะมีสถานะเป็นละอองน้า
เนื่องจากอุณหภูมิของอากาศเท่ากับจุดน้าค้าง ไอน้าในอากาศควบแน่นเป็นละออง
น้าเล็กๆ
9. เมฆนิมโบสตราตัส มีลักษณะอย่างไร และเมื่อเกิดเมฆชนิดนี้สภาพอากาศจะเป็นอย่างไร
ตอบ เมฆนิมโบสตราตัส เป็นเมฆแผ่นสีเทา เกิดขึ้นเวลาที่อากาศมีเสถียรภาพทาให้เกิด
ฝนพราๆ ฝนผ่าน หรือฝนตกแดดออกไม่มีพายุฝนฟ้าคะนอง ฟ้าร้องฟ้าผ่า มัก
ปรากฏให้เห็นสายฝนตกลงมาจากฐานเมฆ
10. ลักษณะของเมฆ และปริมาณเมฆในท้องฟ้า มีความสาคัญอย่างไรต่อมนุษย์และ
สิ่งแวดล้อม
ตอบ ลักษณะของเมฆ และปริมาณเมฆในท้องฟ้า มีความสาคัญ คือ ถ้ามีเมฆที่ทาให้มีฝน
ตกส่งผลดีต่อการเกษตร และปริมาณน้าในแหล่งน้าธรรมชาติที่จาเป็นต่อ
การอุปโภคบริโภคของมนุษย์

แบบบันทึกบัตรกิจกรรมที่ 3.3
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธเรืยมศึ
่อง กษาปี
การทดลองวั
ที่ 1 ดปริมาณน้าฝนอย่างง่าย
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 69

บัตรเฉลย

ตารางบันทึกผลการทดลอง

ภาชนะทรงกระบอก ระดับความสูงของน้าในภาชนะ (cm)


ใบที่ 1 1.3
ใบที่ 2 1.1
ใบที่ 3 1.2

คาถาม
4. ปริมาณในภาชนะที่มีขนาดต่างๆ แตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร
ตอบ ปริมาณน้าในภาชนะจะแตกต่างกัน เพราะภาชนะที่มีขนาดแตกต่างกัน จะมี
พื้นที่หน้าตัดต่างกันตามขนาดของภาชนะ
5. ความสูงในของน้าในภาชนะต่างๆ แตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร
ตอบ แตกต่างกันเพียงเล็กน้อย
6. ถ้าใช้ จาน ชาม ขวดแก้วทากิจกรรม จะให้ผลการทดลองแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร
ตอบ แตกต่างกัน คือ ภาชนะที่มีพื้นที่หน้าตัดรับน้ามาก ได้แก่จาน จะมีปริมาณน้ามาก
รองลงมา ชาม และน้อยที่สุด คือ ขวด เพราะมีพื้นที่หน้าตัดรับน้าได้น้อยที่สุด
สรุปผลการทดลอง
น้าในภาชนะใบที่ 1 2 และ 3 มีระดับความสูงของน้าในภาชนะต่างกันเล็กน้อย
ถึงแม้พื้นที่หน้าตัดต่างกันตามขนาดของภาชนะ ทั้งนี้ เนื่องจากภาชนะแต่ละใบเป็นทรงกระบอก
โอกาสที่น้าซึ่งมีลักษณะกระจายเป็นฝอยจะตกลงในภาชนะจนมีระดับความสูงเกือบเท่ากัน
ถึงแม้ปริมาณน้าในภาชนะจะแตกต่างกัน แสดงว่าขนาดของภาชนะทรงกระบอกไม่มีผล
ต่อความสูงของระดับน้าในภาชนะ ดังนั้น เครื่องมือวัดปริมาณน้าฝนนิยมใช้ภาชนะทรงกระบอก
ปากกว้างขนาดใหญ่

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102บัชัต้นรกิ
มัธจยมศึ
กรรมพั
กษาปีฒทนาทั
ี่ 1 กษะการสื่อสารทางวิทยาศาสตร์ที่ 3.2
เรื่อง ฝน ลูกเห็บ หิมะ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 70

บัตรเฉลย

จุดประสงค์
1. อธิบายกระบวนการเกิดฝน ลูกเห็บ หิมะ ได้
2. บอกเครื่องมือและหน่วยที่ใช้วัดปริมาณน้าฝนได้ ใช้เวลา 10 นาที
3. บอกประโยชน์ และโทษของน้าฟ้าที่มีต่อมนุษย์และ
สิ่งแวดล้อมได้

คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ ( 10 คะแนน )


8. ฝน และลูกเห็บ แตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร
ตอบ ฝน และลูกเห็บ แตกต่างกัน คือ
9. หยาดน้าฟ้าที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ได้แก่ อะไรบ้าง
ตอบ ฝน ลูกเห็บ
10. ปริมาณน้าฝนที่ตกลงมาในส่วนต่างๆ ของโลกจะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับสิ่งใดบ้าง
ตอบ ตาแหน่งที่ตั้ง ลักษณะภูมิประเทศ ทิศทางลมประจาที่พัดผ่าน ระยะทางใกล้ไกลจาก
ทะเล และลักษณะของกระแสน้าในทะเลและมหาสมุทรที่ไหลผ่าน
11. เครื่องมือวัดปริมาณน้าฝนที่ใช้กันทั่วไปมีรูปทรงอะไร และใช้หน่วยใดในการวัดปริมาณน้าฝน
ตอบ เครื่องมือวัดปริมาณน้าฝนที่ใช้กันทั่วไปมีรูปทรงกระบอก ใช้หน่วยวัดความสูง
ระดับน้าในภาชนะเป็นเซนติเมตร หรือมิลลิเมตร
12. ฝนที่เกิดจากลมมรสุมมีลักษณะอย่างไร และเกิดผลดีหรือผลเสียต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม
หรือไม่ อย่างไร
ตอบ ฝนตกติดต่อกันนาน แผ่เป็นบริเวณกว้าง ทาให้เกิดผลดีต่อการเกษตร พืชผักเจริญ
งอกงามดี และทาให้แหล่งน้ามีปริมาณน้าเพียงพอต่อการอุปโภค บิโภค ผลเสีย
บางพื้นที่อาจทาให้เกิดน้าท่วม พืช ผัก ทางเกษตรเสียหาย การจราจรติดขัด ส่งผล
ต่อการดารงชีวิตของมนุษย์

แบบบันทึกบัตรกิจกรรมที่ 3.4
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่อง การทดลองวัดทิศทางลมและความเร็วลม
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 71

บัตรเฉลย

บันทึกผลการทากิจกรรม

ลักษณะรูปร่างของสิ่งที่ประดิษฐ์ขึ้น ผลการทดสอบวัดทิศทางลมและความเร็วลม
ศรลม จะชี้ไปทิศทางที่ลมพัดมา
ส่วนกรวยครึ่งวงกลม จะหมุนรอบแกนหมุน
เมื่อมีลมพัดแรง กรวยครึ่งวงกลมจะหมุนเร็ว
ขึ้น
คาถาม

1. เมื่อ
นาอุปกรณ์ไปวางในบริเวณที่มีลมพัด หัวลูกศรจะชี้ไปในทิศทางใด
ตอบ หัวลูกศรจะชี้ไปทางที่ลมพัดมา
2. เมื่อลมพัด กรวยมีเคลื่อนที่อย่างไร และถ้าลมมีความเร็วเพิ่มขึ้น การเคลื่อนที่ของกรวย
เป็นอย่างไร
ตอบ เมื่อมีลมพัดกรวยมีเคลื่อนที่หมุนรอบแกนหมุน และถ้าลมมีความเร็วเพิ่มขึ้น กรวย
จะหมุนเร็วขึ้น
3. อุปกรณ์ที่สร้างขึ้นมาเพื่อใช้ตรวจสอบทิศทางลม และความเร็วลมนี้ เรียกว่าอะไร
ตอบ เครื่องมือตรวจสอบทิศทางลม เรียกว่า ศรลม และเครื่องมือวัดความเร็วลม
เรียกว่า มาตรวัดความเร็วลม
สรุปผลการทากิจกรรม
เครื่องมือวัดอัตราเร็วลม และทิศทางลมอย่าง่ายที่ประดิษฐ์ขึ้น สามารถใช้วัด และ
เปรียบเทียบอัตราเร็ว และทิศทางลมได้ และเรียกเครื่องมือตรวจสอบทิศทางลม เรียกว่า
ศรลม และเครื่องมือวัดความเร็วลม เรียกว่า มาตรวัดความเร็วลม

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 72

บัตรเฉลย บัตรกิจกรรมพัฒนาทักษะการสื่อสารทางวิทยาศาสตร์ที่ 3.3


เรื่อง ลมและพายุ

จุดประสงค์

1. อธิบายกระบวนการเกิดลมและพายุได้ ใช้เวลา 20 นาที


2. บอกวิธีการวัดทิศทางลม และความเร็วลมได้
3. บอกประโยชน์ และโทษของลมและพายุที่มีต่อ
มนุษย์และสิ่งแวดล้อมได้

คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ ( 20 คะแนน )

1. ลมเกิดขึ้นได้อย่างไร
ตอบ ลมเกิดจากอากาศในบริเวณที่ร้อนจะลอยตัวสูงขึ้น ความกดอากาศต่า ในขณะ
ที่อากาศบริเวณใกล้เคียงที่อุณหภูมิต่ากว่า อากาศบริเวณที่มีความกออากาศสูงจะ
เคลื่อนที่เข้ามายังบริเวณที่มีความกดอากาศต่า
2. ลมและพายุแตกต่างกันอย่างไร
ตอบ ลมและพายุ เกิดจากอากาศบริเวณที่มีความกดอากาศสูงเคลื่อนที่เข้ามายังบริเวณ
ที่มีความกดอากาศต่า แต่พายุจะมีความแตกต่างความกดอากาศมากกว่า ลม
3. ลมทะเลเกิดขึ้นในเวลากลางวันหรือกลางคืน และเกิดขึ้นได้อย่างไร
ตอบ ลมทะเลเกิดในเวลากลางวัน เนื่องจากความร้อนซึ่งแตกต่างกันระหว่างบริเวณทะเล
และพื้นดินตามชายฝั่ง ซึ่งเวลากลางวัน พื้นดินตามชายฝั่งได้รับรังสีจากดวงอาทิตย์
ทาให้มีอุณหภูมิสูงกว่าบริเวณทะเล ดังนั้น อากาศในบริเวณพื้นดินจึงมี
ความแน่นน้อยกว่า และความกดก็ลดลงด้วยจึงลอยตัวขึ้น ดังนั้น อากาศเย็น
ตามบริเวณทะเลจะพัดเข้ามาแทนที่ ลมจึงพัดจากทะเลเข้าสู่ฝั่ง

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 3 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 73

4. ในการแบ่งประเภทของพายุหมุนใช้สิ่งใดเป็นเกณฑ์ และแบ่งออกเป็นกี่ชนิดอะไรบ้าง
ตอบ การแบ่งประเภทของพายุหมุนใช้ความเร็วใกล้ศูนย์กลางเป็นเกณฑ์ ซึ่งแบ่งพายุหมุน
เป็น 3 ประเภท ได้แก่ พายุดีเปรสชั่น พายุโซนร้อน พายุรุนแรง หรือ พายุหมุน
เขตร้อน
5. พายุไซโคลนเป็นพายุที่มีลักษณะใด และเกิดขึ้นในบริเวณใด
ตอบ พายุไซโคลนเป็นพายุหมุนเขตร้อน ที่รนุ แรง ความเร็วลมใกล้ศูนย์มากกว่า 118
กิโลเมตรต่อชั่วโมง มีฝนตกหนักมาก บางครั้งจะมีพายุฝนฟ้าคะนองร่วมด้วย
เกิดบริเวณอ่าวเบงกอล
6. ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้เกิดขึ้นในฤดูใด และพัดจากบริเวณใดไปยังบริเวณใด
ตอบ ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้เกิดในฤดูร้อน และเป็นลมที่พัดจากพื้นสมุทรเข้าสู่
ภาคพื้นทวีป
7. พายุชนิดใดที่เกิดขึ้นในประเทศไทย และทาให้ฝนตกบ่อยๆ
ตอบ พายุดีเปรสชั่น
8. ในขณะที่เกิดพายุฝนฟ้าคะนองจะมีสิ่งใดเกิดขึ้นบ้าง
ตอบ ฟ้าแลบ ฟ้าร้อง และฟ้าฝ่าเกิดขึ้น บางครั้งมีลูกเห็บตกลงมา
9. การเกิดพายุทาให้เกิดผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมอย่างไร
ตอบ ทาให้เกิดฝนตกหนัก เกิดน้าท่วมอย่างรุนแรง บ้านเรือนพังทลาย
10. ปรากฏการณ์เอลนิโน และลานินา
ตอบ ให้เกิดความแปรปรวนของลมฟ้าอากาศทั่วโลกแต่บริเวณต่าง ๆ จะได้รับผลกระทบ
ไม่เท่ากัน กล่าวคือ โดยทั่วไปเอลนิโนจะทาให้บริเวณที่เคยมีฝนตกชุกมีปริมาณ
ฝนลดลงอย่างมาก และบริเวณที่เคยมีฝนตกน้อยจะมีฝนเพิ่มขึ้นมาก ส่วนลานินา
จะทาให้บริเวณที่มีฝนมากอยู่แล้วมีฝนเพิ่มขึ้นอีก และบริเวณที่แห้งแล้งจะยิ่งแห้งแล้ง
ยิ่งขึ้นเช่นกัน

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

You might also like