You are on page 1of 10

บท 7 ่

ชือของคุ ณ คลื่นกลในตัวกลาง
ยืดหยุ่น
AP-TUTOR

ร ับสอนพิเศษพืนฐานวิ
ศวกรรมและวิทยาศาสตร ์

302/1 หมู ่ 7 ต.ท่าโพธิ ์ อ.เมือง จ.พิษณุ โลก 65000


โทร 091-0282083
FACEBOOK : AP-TUTOR

เนื ้อหา

จัดทำโดย ฐำปกรณ์ ธงหำร วิศวกรรมศำสตรบัณฑิต วิศวกรรมไฟฟ้ ำ ม.นเรศวร 1


หัวข ้อที่ 1 ควำมยืดหยุ่น

ในกำรศึกษำกลศำสตร ์ของวัสดุเมือมี ่ แรงภำยนอกกระทำต่อวัตถุวต ่


ั ถุจะมีรูปร่ำง ไม่เปลียนไป แต่ในควำมเป็ นจริง
ไม่ไ ดเ้ ป็ นเช่นนั้ น เมื่อมีแรงภำย นอกกระท ำต่ อ วัตถุ วต ่
ั ถุ จะมีกำรเปลียนรู ้ บ ขนำดของแรง ทิศ ทำงของแรง
ป ร่ำงไป ขึนกั
โครงสร ้ำงของวัสดุเป็ นตน ้ วัสดุถูกแรงภำยนอกกระทำจะมีกำรเปลี่ยนรูปร่ำง ขนำด ซึงเป็ ่ นสมบัติที่ อยู่ในช่วง Elastic
region และสำมำรถกลับสู่สภำพเดิมได ้ หำกยังอยู่ ภำยใน ขอบเขต Proportional limit และจะหมดสภำพยืดหยุ่นเมือ ่
ออกนอกขอบเขต Elastic limit และเขำ้ สู่สภำพสมบัตข ิ องพลำสติก Plastic region เมือให ่ แ้ รง กระทำต่อไปเรื่ อยๆวัสดุ
จะเกิดกำรแตกหักซึงเรี ่ ยกว่ำจุดนั้นว่ำ Fracture

F
▪ ควำมเค ้นดึง =
A

L
▪ ควำมเครียดดึง  =
L0
 F/A
▪ โมดุลสั ของยัง Y = =
 L / L0

F
▪ ควำมเค ้นเฉื อน  =
A

x
▪ ควำมเครียดเฉื อน  =
L0

 F/A
▪ โมดุลสั เฉื อน Y= =
 x / L0

จัดทำโดย ฐำปกรณ์ ธงหำร วิศวกรรมศำสตรบัณฑิต วิศวกรรมไฟฟ้ ำ ม.นเรศวร 2


ตัว อย่ า งที่ 1 ในกำรทดลองหำค่ ำ มอดู ล ัส โดยใช น
้ ้ ำหนั ก 450 กิ โ ลกร ม ้ ี่ ปลำยลวดเหล็ ก ยำว 2 เมตร
ั แขวนไว ท
้ หน้
พืนที ่ ำตัด 0.15 ตำรำงเซนติเมตร ปรำกฏว่ำลวดยืดออก 0.3 เซนติเมตร จงหำควำมเค ้นและควำมเครียดของลวดนี ้

ตัวอย่างที่ 2 วัตถุหนัก 100 นิ วตัน แขวนด ้วยลวดโลหะซึงมี ่ ควำมยำวเดิมเท่ำกับ 1 เมตร มีพทีื ้ หน้
่ ำตัดเท่ำกับ 100 ตำรำง
้ ค่ำมอดูลสั ของยังเท่ำกับ 20  10 นิ วตันต่อตำรำงเมตร ลวดนี จะยื
เซนติเมตร ถ ้ำลวดโลหะนี มี 3 ้ ดออกเท่ำใด

จัดทำโดย ฐำปกรณ์ ธงหำร วิศวกรรมศำสตรบัณฑิต วิศวกรรมไฟฟ้ ำ ม.นเรศวร 3


ตัวอย่างที่ 3 เหล็กกลำ้ ยำว 1 m และ ทองแดงยำว 2 m มีพนที
ื ้ หน้
่ ำตัด 5 ตำรำงเซนติเมตร ต่อกัน ดังรูป ถำ้ ต ้องกำรให ้
ยืดออก 1 cm จะตองออกแรงดึงเท่ำไร

ตัวอย่างที่ 4 เหล็กกล ้ำยำว 1 m มีพนที


ื ้ หน้
่ ำตัด 5 cm2 และทองแดงยำว 2 m มีพนที ื ้ หน้
่ ำตัด 10 cm2 ต่อกันดังรูป

โดยวัสดุเชือมระหว่ ำงเหล็กและทองแดง ไม่มกี ำรยืดตัว ถ ้ำต ้องกำรใหช ิ้
้ นงำนนี ้ ดออก 1 cm จะตองออกแรงดึงเท่ำไร
ยื

จัดทำโดย ฐำปกรณ์ ธงหำร วิศวกรรมศำสตรบัณฑิต วิศวกรรมไฟฟ้ ำ ม.นเรศวร 4


หัวข ้อที่ 2 คลืนกล


คลืนกล ่ อำศั
คือคลืนที ่ ยตัวกลำงในกำรเคลือนที่ ่ เช่น คลืนเสี
่ ยง ต ้อง อำศัยโมเลกุลของอำกำศเป็ นตัวกลำง คลืนน่ ้ำ
อำศัยโมเลกุลของน้ำเป็ นตัวกลำง คลืนเส ่ ้นเชือก อำศัยตัวเชือกเป็ นตัวกลำง ดังนั้น คลืนนที
่ ่
อำศั ่
ยตัวกลำง ในกำรเคลือนที ่
เกิดจำกกำรที่ คลืนไปรบกวนตั
่ วกลำง (Disturbance) เพือส่ ่ งถ่ำยพลังงำนต่อเนื่องไปเป็ นทอด ๆ

คลืนกลที ่ วกลำงมีกำรเคลือนที
ตั ่ ่
ขวำงกั
บทิศของคลืน ่ เรียกว่ำ คลืนตำมขวำง
่ (Transverse wave) เช่น คลืน ่ น้ำ

ซึงงโมเลกุ ลของน้ำำเคลือนที
่ ่ นลง
ขึ ้ ่ ้นเชือก อืนๆ
คลืนเส ่


คลืนกลที ่ วกลำงมีกำรเคลือนที
ตั ่ ่
ในแนวเดี ่ เรียกว่ำ คลืนตามยาว
ยวกันกับทิศของคลืน ่ (Longitudinal wave)
่ ่ ่ ่
เช่น คลืนเสียง ซึงโมเลกุลของ อำกำศ มี กำรสันกลับไปกลับมำ เป็ นคลืนนควำมดัน อัด-ขยำย


สมการการเคลือนที ่
แบบคลื ่


พิจำรณำกำรเคลือนที ่
ของคลื ่
นตำมรู ่
ป ทีเวลำต่ ่
ำงกัน ใหค้ ลืนเคลื ่
อนที ่
ไปตำมแกน ไปทำงขวำมือด ้วยควำมเร็ว v

สมกำรทั่วไป เขียนได ้ว่ำ y ( x, t ) = f ( x  vt )

จัดทำโดย ฐำปกรณ์ ธงหำร วิศวกรรมศำสตรบัณฑิต วิศวกรรมไฟฟ้ ำ ม.นเรศวร 5


ตัวอย่างที่ 5 จงเขียนกรำฟต่อไปนี ้

2
y ( x, t ) =
( x − 3.0t ) 2 + 1

2
y ( x, t ) =
( x + 3.0t ) 2 + 1

จัดทำโดย ฐำปกรณ์ ธงหำร วิศวกรรมศำสตรบัณฑิต วิศวกรรมไฟฟ้ ำ ม.นเรศวร 6


หัวข ้อที่ 3 สมกำรคลืนแบบสั
่ ญญำนไซน์


ถ ้ำแหล่งกำเนิ ดคลืนรบกวนแบบซิ ่ เกิ
มเปิ ลฮำร ์มอนิ ก ลักษณะของคลืนที ่ ดขึนเรี
้ ยกว่ำ

คลืนไซน์
เขียนเป็ นสมกำรได ้ว่ำ

y ( x, t ) = A sin(kx  t +  )

y
v ( x, t ) = = −  A cos(kx − t +  ) , vmax =  A
x

v
a ( x, t ) = = −  2 A sin(kx − t +  ) , amax =  2 A
x

1 2
f = , k=
T 
2
 = 2 f = , v= f
T

จัดทำโดย ฐำปกรณ์ ธงหำร วิศวกรรมศำสตรบัณฑิต วิศวกรรมไฟฟ้ ำ ม.นเรศวร 7


ตัวอย่างที่ 6 คลืนขบวนหนึ
่ ่ งเคลือนที
่ ดั่ งสมกำร y ( x, t ) = 0.25sin ( 0.30 x − 40t ) เมือ
่ x , t หน่ วยเป็ นเมตรและวินำที
ตำมลำดับ จงหำ
1. แอมปลิจด ่ น
ู , ควำมถีคลื ่ , ควำมยำวคลืน่ , คำบ , อัตรำเร็วเฟส
2. ควำมเร็วสูงสุดและควำมเร่งสูงสุด

3. ตำแหน่ ง ควำมเร็ว ควำมเร่ง ทีเวลำ t=0.5 s และ x=10 cm

จัดทำโดย ฐำปกรณ์ ธงหำร วิศวกรรมศำสตรบัณฑิต วิศวกรรมไฟฟ้ ำ ม.นเรศวร 8


ตัวอย่างที่ 7 คลืนขบวนหนึ
่ ่ งเคลือนที
่ ่ งสมกำร y ( x, t ) = 2sin   (2 x − t )  เมือ
ดั ่ x , t หน่ วยเป็ นเมตรและวินำที
 
8 
ตำมลำดับ จงหำ
1. แอมปลิจด ่ น
ู , ควำมถีคลื ่ , ควำมยำวคลืน่ , คำบ , อัตรำเร็วเฟส
2. ควำมเร็วสูงสุดและควำมเร่งสูงสุด

3. ตำแหน่ ง ควำมเร็ว ควำมเร่ง ทีเวลำ t=0.5 s และ x=10 cm

จัดทำโดย ฐำปกรณ์ ธงหำร วิศวกรรมศำสตรบัณฑิต วิศวกรรมไฟฟ้ ำ ม.นเรศวร 9


ตัวอย่างที่ 8 คลืนขบวนหนึ
่ ่ งเคลือนที
่ ่
ไปตำมแกน +x ด ้วยขนำดแอมปลิจด ู สูงสุด 15 cm ขนำดของควำมยำวคลืนเท่ ่ ำกับ
40 cm และควำมถีเท่ ่ ำกับ 8 Hz ถ ้ำกำหนดให้ตำแหน่ งเริมต
่ ้นทีเวลำ
่ ี่ ำแหน่ ง 15 cm จงหำ
t=0 , x=0 ตำแหน่ งของอยู่ทต
สมกำรตำแหน่ ง ควำมเร็วและควำมเร่งทีเวลำ ่ t ใดๆ

จัดทำโดย ฐำปกรณ์ ธงหำร วิศวกรรมศำสตรบัณฑิต วิศวกรรมไฟฟ้ ำ ม.นเรศวร 10

You might also like