You are on page 1of 9

Torsional Deformation of a Circular Shaft

CHAPTER 5
TORSION
• การเปลี่ยนแปลงรูปร่างเนื่องจากการบิดของเพลากลม (Torsional Torsion เป็ นการบิดเบี้ยวของชิ้นส่ วนของโครงสร้างหรื อเครื่ องกล เนื่องจากการบิดโดยการ
Deformation Of a Circular Shaft) บิดนั้นเป็ นโมเมนต์ที่จะกระทําบิดชิ้นส่ วนในแนวแกนของโครงสร้าง
• สมการการบิด (Torsion Equation)
• มุมบิด (Angle of Twist)
• เพลาส่งกําลัง (Power Transmittion)
• การวิเคราะห์ชิ้นส่วนโครงสร้าง Statistically Indeterminate ที่รับ
แรงบิด (Statistically Indeterminate Torque-Loaded Member)

Torsional Deformation of a Circular Shaft Torsional Deformation of a Circular Shaft


พิจารณา เพลากลมที่เป็นวัสดุเนื้อเดียวกันตลอด และสามารถเปลีย่ นรูปร่างได้ง่าย โดย จากการพิจารณาจะพบว่า ถ้ามุมบิดที่เกิดขึ้นมีค่าน้อยมากแล้ว ความยาวและรัศมี
แรงบิดที่กระทําต่อเพลากลมนี้จะพบว่า เส้นวงกลมยังคงมีรูปร่างเป็นเส้นวงกลม ของเพลาจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงภายใต้การบิด ดังนั้นถ้าเพลาถูกยึดติดแน่นที่
เหมือนเดิม แต่เส้นตรงแต่ละเส้นทีอ่ ยูใ่ นแนวแกนจะโดนแรงบิดนี้ทําให้เกิดการบิด และ ปลายด้านหนึ่ง และ ปลายอีกด้านหนึ่งถูกแรงบิดมากระทํา ซึ่งระนาบจะถูกบิด
จะตัดกับเส้นวงกลม เป็นมุมที่เท่ากันตลอดความยาว ของเพลา โดยบริเวณที่ปลายยังคง เอียง และ มุมที่เกิดการบิดเอียงจะขึ้นกับค่า x
มีหน้าตัดเป็นวงกลมเหมือนเดิม และ เส้นในแนวรัศมีท่ปี ลายของเพลาจะยังคงมีลักษณะ
เป็นเส้นตรงเหมือนเดิม

มุมของการบิด (x) จะ
เพิ่มขึ้นเป็น fn ของ
ระยะทาง x
Torsional Deformation of a Circular Shaft Torsional Deformation of a Circular Shaft
ในการหาความเครียดที่เกิดจากการบิดนี้ให้พจิ ารณา Differential Element ที่ เนื่องจากมุม d และ ระยะ dx ของทุกๆ differential element ที่อยู่ที่หน้าตัด ระยะ x มี
ตัดออกมาจากเพลาที่รัศมี  จากจุดศูนย์กลางของหน้าตัดเพลา ซึง่ จะทําให้เห็นว่า ค่าคงทีต่ ลอดหน้าตัด ดังนั้น d / dx มีหน้าตัดใดๆ และ ความเครียดเฉือน ของ differential
หน้าตัดที่ตัดออกมาที่ระยะ x เกิดการบิดเบี้ยวเป็นมุม (x) และ หน้าตัดที่ตัด element เหล่านี้จะแปรผันโดยตรง กับ รัศมี  ของเพลา โดยจะมีคา่ เท่ากับศูนย์ทแี่ กนของ
เพลา และ จะมีค่ามากทีส่ ุดที่ผวิ ด้านนอกของเพลา โดยถ้ากําหนดให้ความยาวรัศมีของเพลาที่
ออกมาที่ระยะ x+x จะเกิดการบิดเป็นมุม ผิวด้านนอกมีค่าเท่ากับ c แล้วการบิดของ differential element ที่รัศมี  และที่  = c
(x) +  ดังนั้นความแตกต่างของการบิดที่เกิจขึ้นจะทําให้ differential
element นี้ถูกกระทําโดยความเครียดเฉือน
เนื่องจาก d / dx =  /  = (max) / c จะได้ = ( / c)(max)
โดยสมการนี้สามารถใช้กับท่อกลมตันและท่อกลมกลวง

Torsional Formula Torsional Formula


เมื่อเพลาถูกแรงกระทําโดยแรงบิดภายนอกแล้ว เพลาจะต้านทานแรงบิดดังกล่าวโดยพัฒนา แรงบิดที่เกิดจากแรงกระทํานี้จะมีคา่ เท่ากับ
แรงบิดลัพธ์ภายในตัวเพลาเพือ่ ทําให้อยู่ในสภาวะสมดุลย์
dT = (dA)
เมื่อเราพิจารณาตลอดทัง้ หน้าตัดของเพลาแล้ว แรงบิดภายในตัวเพลาจะมีค่าเท่ากับ
ถ้าภายใต้แรงบิดภายนอกนี้ วัสดุที่ใช้ทําเพลายังมีคุณสมบัติแบบเชิงเส้น Linear elastic ซึ่ง
จากกฏของ Hook s’ Law จะได้ว่า  = G ดังนั้นจากข้อสรุปที่ว่า ความเครียดเฉือนที่ T = A(dA) = A [( / c )(max) dA] ; ((max) / c ) เป็นค่า constant
เกิดขึ้นในเพลา จะแปรผันโดยตรงกับระยะในแนวรัศมีของเพลา เราะจะได้ว่า หน่วยแรงเฉือน จะได้
ก็จะแปรผันโดยตรงกับระยะในแนวรัศมีของเพลาและจะมีค่าเท่ากับศูนย์ทแี่ กนของเพลา และ
จะมีค่ามากที่สุดทีแ่ กนข้างนอกของเพลา T = ((max)) A 2dA / c
 = ( / C) (max)
เนื่องจากแรงบิดลัพธ์ภายในตัวเพลาเกิดการกระจายของหน่วยแรงเฉือนทีก่ ระจายอยู่ตลอด เทอม A 2dA จะถูกเรียกว่า Polar Moment of Inertia ของพื้นที่หน้าตัดเพลา แทนด้วย J
หน้าตัดของเพลา ดังนั้น differential element ใดๆที่มีพื้นที่ dA และมีระยะในแนวรัศมี  จึงสามารถเขียนเป็นสมการใหม่ได้ว่า
จากแกนของเพลาจะถูกกระทําโดยแรง (max) = T c / J
dF = dA เมื่อ
Torsional Formula Torsional Formula
เมื่อ
(max) = ค่าของหน่วยแรงเฉือนสูงที่สดุ ทีเ่ กิดขึ้นทีผ่ วิ ด้านนอกของเพลา
T = แรงลัพธ์ภายในทีเ่ กิดขึ้นทีห่ น้าตัดของเพลาทีเ่ กิดจากแรงบิด
J = Polar Moment Inertia ที่เกิดขึ้นที่หน้าตัดของเพลา
c = รัศมีของเพลา ในกรณีของเพลาหน้าตัดทรงกลมตัน ค่า Polar Moment of Inertia จะหามาได้โดยการ
พิจารณา differential element ที่มีความหนาเท่ากับ d และ มีเส้นรอบวงเท่ากับ 2
และมีพื้นทีเ่ ท่ากับ dA เท่ากับ 2 d
ค่าของหน่วยแรงเฉือนที่รัศมี  ใดๆ ของเพลาจะหาได้จากสมการ J = A 2(2d)
= T  / J 
J c4
สมการนี้สามารถใช้ได้กับเพลาที่มีหน้าตัดทรงกลมทีท่ าํ ด้วยวัสดุ Homogeneous และ มี 2
พฤติกรรมแบบ Linear Elastic เท่านั้น
จากสมการจะเห็นได้ว่า J จะมีค่าขึ้นกับรัศมีหรือเส้นผ่าศูนย์กลางเท่านั้น

Torsional Formula Torsional Formula


การกระจายหน่วยแรงเฉือนในแนวรัศมีบนหน้าตัดเพลาตัน ซึ่งมีลักษณะเป็นเส้นตรง
โดยมีค่าเป็นศูนย์ทแี่ กนของเพลาและมีค่าสูงสุดที่ผวิ นอกของเพลา

การกระจายของหน่วยแรงเฉือนที่มีทศิ ทางในแนวแกนของเพลาจะมีลกั ษณะเดียวกับหน่วย


แรงเฉือนในแนวขนานกับหน้าตัด หน่วยแรงเฉือนนี้จะเป็นสาเหตุทาํ ให้เพลาไม้ซึ่งถูกแรงบิด
กระทําเกิดการวิบัติโดยเกิดการแตกร้าวเนื่องจาก ไม้มีกําลังรับแรงเฉือนในแนวตามเสีย้ นต่าํ
กว่าในแนวขวางเสีย้ น
Torsional Formula Torsional Formula
การวิเคราะห์เพลากลวงซึ่งถูกกระทําโดยแรงบิดจะมีลกั ษณะคล้ายคลึงกับการวิเคราะห์เพลา เราจะเห็นได้ว่า เพลากลวงมีประสิทธิภาพในการใช้วสั ดุในการต้านทานแรงบิดมากกว่าเพลา
ตัน ซึ่งในกรณีเพลากลวงซึ่งมีรัศมีภายในเป็น Ci และ รัศมีภายนอกเป็น C0 เราจะหาค่า ตัน เนื่องจากพืน้ ส่วนใหญ่ของเพลากลวงที่ใช้ในการรับแรงบิดอยู่ห่างออกไปจากศูนย์กลางของ
Polar Moment of Inertia (J) ได้เท่ากับ เพลา ดังนั้น วัสดุทใี่ ช้ทําเพลากลวงโดยส่วนใหญ่จะรับหน่วยแรงเฉือนที่มีค่าค่อนข้างสูง
นอกจากนั้นแล้ว หน่วยแรงเฉือนยังมี Moment arm ในการต้านทานการบิดที่มากกว่าเพลา
J = ( /2) (C04 – Ci4) ตันด้วย

Absolute Maximum Torsional Stress


เมื่อพิจารณาที่หน้าตัดใดๆของเพลา ค่าสูงสุดของหน่วยแรงเฉือนจะเกิดขึ้นทีผ่ วิ ด้านนอกของ
เพลา ในกรณีทเี่ พลาถูกกระทํา โดยแรงบิดภายนอกหลายๆค่า หรือ รัศมีของเพลามีการ
เปลี่ยนแปลงเป็นช่วงๆ แล้วค่าสูงสุดของหน่วยแรงเฉือนจะมีความแตกต่างจากหน้าตัดหนึ่งไป
ยังอีกหน้าตัดหนึ่ง ในการออกแบบเพลาที่มีลกั ษณะดังกล่าว เราจําเป็นต้องหาค่าสูงสุด
สัมบูรณ์ของหน่วยแรงเฉือนและตําแหน่งทีเ่ กิดด้วย ซึ่งจะทําได้โดยการเขียน Torque
Diagram แล้วจะหาค่า Absolute Maximum ของหน่วยแรงเฉือนและตําแหน่งได้ง่าย

Example 1 Example 2
ท่อ pipe ตามที่แสดงในรูปด้านล่าง มีเส้นผ่าศูนย์กลางภายใน 80 mm และ มี
เพลาตันทําการเหล็ก มีรัศมีเท่ากับ c อยู่ภายในแรงบิดมีค่าเป็น T จงหาค่าแรง เส้นผ่าศูนย์กลางภายนอก 100 mm ถ้าที่ปลาย A ถูกยึดติดกับ support และที่ B
ต้านในวัสดุที่ปลายขอบของเพลาตัน เมื่อวัสดุมีรัศมีภายในเท่ากับ c/2 และ รัศมี มีประแจเหล็ก (Wrench) จงหาหน่วยแรงเฉือนที่เกิดขึ้นภายในและภายนอกของ
ภายนอกเท่ากับ c. ท่อเหล็ก เมื่อมีแรง 80 N กระทําที่ประแจเหล็ก
Example 3 Example 4
เพลงทรงตันมีเส้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับ 30 mm ถูกใช้ในการถ่ายแรง torque ทีเ่ กิดขึ้นไปที่ แท่งเหล็กมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 นิ้ว และ มีนา้ํ หนักเท่ากับ 15 lb/ft จงหาค่า maximum
เฟือง (Gear) จงหาค่า หน่วยแรงเฉือนที่มากทีส่ ดุ (Max shear stress) torsional stress ในแท่งเหล็กทีต่ ําแหน่ง B เนื่องจากน้ําหนักของตัวเอง

Angle of Twist Angle of Twist


dx
มุมการบิด ANGLE OF TWIST d  

พิจารณาเพลาทีม่ ีหน้าตัดทรงกลม และ มีหน้าตัดทีเ่ ปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง ตลอดความยาว
เพลา กําหนดให้เพลาถูกยึดแน่นที่ปลายด้านหนึ่ง โดยอีกปลายด้านหนึ่งเป็นอิสระ วัสดุที่ใช้
ทําเพลาเป็นแบบ homogeneous และ มีพฤติกรรมเป็นแบบ Linear Elastic ภายใต้แรงบิด
และไม่พิจารณา Localize Deformation ทีเ่ กิดขึ้นที่จดุ แรงบิดกระทํา ที่จุดยึดแน่น และ ที่
จุดที่หน้าตัดของเพลามีการเปลีย่ นแปลงแบบทันทีทนั ใด
เนื่องจากแรงบิดภายนอกจะทําให้แรงบิดลัพธ์ภายในมีค่าเปลี่ยนแปลงตลอดความยาวของ
เพลาดังนั้น เราจะทําให้แรงบิดภายในทีเ่ กิดขึน้ เป็นฟังก์ชันกับ X หรือ T(x) เนื่องจากแรงบิดนี้
หน้าตัดด้านหนึ่ง จะมีการหมุนสัมพัทธ์กับอีกด้านเป็น d
dx
d  

Angle of Twist Angle of Twist
จาก Hook ‘s Law จาก  = G และ จาก Torsion formular () = T(x). / J(x) เมื่อ
 = T(x). / J(x). G คือ มุมบิดที่เกิดขึ้นที่ปลายด้านหนึ่งของเพลาเทียบกับอีกปลายด้านหนึ่ง
ดังนั้นเราจะได้ T(x) คือ แรงบิดภายในที่เกิดขึ้นทีร่ ะยะ x ใดๆ
J(x) คือ Polar Moment Inertia ของหน้าตัดเพลาที่ระยะ x ใดๆ
T ( x) G คือ Shear Modulus ของวัสดุที่ใช้ทําเพลา
d  dx
J ( x)G
โดยทั่วไป เพลาจะทําด้วยวัสดุ homogeneous และมีพนื้ ที่หน้าตัดคงที่ และถูกกระทําโดย
L T ( x)dx
 แรงบิดที่มีค่าคงที่ตลอดความยาวเพลา ดังนั้นสมการจะสามารถเขียนอยู่ในรูป
0 J ( x)G
TL

JG

Angle of Twist Angle of Twist


แรงบิดหรือมุมบิดจะมีทิศเป็นบวกเมื่อนิ้วหัวแม่โป้งมีทิศพุ่งออกจากหน้าตัด และ
มีทิศเป็นลบเมื่อนิ้วหัวแม่โป้งมีทิศพุ่งเข้าหาหน้าตัด

ในกรณีที่มีแรงบิดกระทําหลายๆแรงบิดตลอดความยาวเพลา หรือ พื้นที่หน้าตัด หรือ วัสดุที่ใช้


ทําเพลา มีการเปลี่ยนแปลงจากส่วนหนึ่งของเพลา ไปยังอีกส่วนหนึ่งแล้ว มุมบิดที่เกิดขึ้นจุดๆ
หนึ่งแล้วเทียบกับจุดอ้างอิงดังกล่าวจะได้
TL
 
JG
Example 5 Example 6
มีเพลาเหล็กตันสองชิ้น แบบรูปด้านล่าง ยึดติดด้วยกันเฟืองเกียร์ จงหามุมบิดที่ปลาย A ของ เสาเหล็กแข็งมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 2 in ถูกฝังในดิน 24 in ถ้าแรงบิดถูกกระทําที่ด้านบนด้วย
เพลา AB เมื่อมีแรงบิดเท่ากับ T = 45 N.m ทีก่ ระทํา กําหนดให้ G = 80 GPa เพลา AB เป็น ประแจเหล็ก จงหาค่าหน่วยแรงเฉือนมากทีส่ ดุ ในเสาและมุมบิดทีเ่ กิดขึ้นด้านบน สมมุติให้
อิสระทีจ่ ะหมุนด้วยแบริ่ง E และ F ในขณะเดียวกัน เพลา DC ถูกยึดแน่นที่ D เมือ่ เพลามี แรงบิดทีกระทําเกือบจะหมุนเสาและดินมีแรงต้านแรงบิดสม่ําเสมอเท่ากับ t lb/in ตลอด
เส้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับ 20 mm ความยาว 24 in ที่ฝังอยู่ในดิน กําหนดให้ G = 5.5x103 ksi

Statistically Indeterminate Torque Loaded Statistically Indeterminate Torque Loaded


Member Member
เนื่องจากเพลาเป็นโครงสร้างแบบ Statistically Indeterminate เมื่อเราไม่สามารถคํานวณ สมการความสอดคล้อง (Compatibility Equation) เนือ่ งจากทีจ่ ุดปลายของเพลามีการ
แรงบิดลัพธ์ภายในเพลาได้โดยใช้สมการสมดุลของโมเมนต์ ในแนวแกนของเพลาเพียงอย่าง ยึดแน่น ทั้งสองด้าน ดังนั้น ภายใต้การกระทําของแรงบิด มุมบิดที่ปลายด้านหนึ่งของเพลา
เดียว จากรูปเพลาถูกยึดแน่นทีจ่ ุด A และ จุด B ซึ่งเราจะเขียนแผนภาพ free-body-diagram เทียบกับมุมบิดที่ปลายอีกด้านจะมีค่าเท่ากับศูนย์ คือ
ของเพลาดังกล่าวได้ โดยแรงปฏิกิริยาทีเ่ ราไม่ทราบค่าที่จุด A และ จุด B ซึ่งเราสามารถใช้
สมการสมดุลย์ 1 สมการและสมการสอดคล้อง (Compatibility Equation) 1 สมการ คือ A/B = 0

Mx = 0 ; T – TA - TB = 0
TA LAC TB LBC
 0
JG JG
L  L 
TA  T  BC  and TB  T  AC 
 L   L 
Example 7
CHAPTER 5
เพลาเหล็กตันมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 20 mm ถ้าเพลาอยู่ภายใต้แรงบิด 2 แรง ตามรูปด้านล่าง จง
หาแรง reaction ที่ fixed support A และ B TORSION
• เพลาส่งกําลัง (Power Transmission)

Power Transmission Power Transmission


เพลากลมตันและเพลากลมกลวง มักถูกนําไปใช้ถ่ายแรงในเครือ่ งจักรกลต่างๆ ในกรณีนี้ค่า เมื่อทราบกําลังของเครื่องจักร P แล้วความเร็วเชิงมุมของเพลา  หรือความถี่ของการหมุน f
แรงบิดทีก่ ระทํากับเพลาจะขึ้นอยู่กับ กําลังของเครือ่ งจักร และ ความเร็วเชิงมุมของเพลา แล้วจะสามารถหาแรงบิดทีก่ ระทํากับเพลา T ได้ และ ถ้าทราบค่าหน่วยแรงเฉือนที่ยอมให้
กําลังของเครื่องจักร P จะเป็นงานทีเ่ ครื่องจักรทําให้เกิดขึน้ ต่อหนึ่งหน่วยเวลา ซึง่ จะมีค่า (Allowable Shear Stress) (allow) ของวัสดุที่ใช้ทําเพลาแล้ว เราจะหาขนาดของหน้าตัด
เท่ากับผลคูณของแรงบิดกับมุมบิดทีเ่ กิดขึ้น จากแรงบิดนั้น ถ้าในช่วงเวลา dt เครื่องจักรส่ง เพลาได้ จากสมการ
แรงบิดกระทํากับเพลา T และ ทําให้เพลาหมุนไปเป็นมุม d แล้วกําลังทีเ่ กิดขึ้นจะมีคา่
เท่ากับ (allow) = Tc / J
P = T (d / dt) ในกรณีทเี่ พลาเป็นเพลาตัน ขนาดของหน้าตัดเพลาจะหามาได้โดยสมการ (allow) = Tc / J
เนื่องจากความเร็วเชิงมุมของเพลาเท่ากับ  = d / dt แต่ถ้าเป็นเพลากลวง ซึ่ง J = (/2)(C04 – Ci4) แล้วขนาดของหน้าตัดเพลาจะมีได้หลายค่า ซึ่ง
โดยปกติแล้วเราจะกําหนดค่าใดค่าหนึ่งแล้วหาอีกค่าหนึ่ง
P = T
และความถี่ของการหมุนเพลา f =  / 2 ดังนั้น จะได้
P = 2f T
Example Example
เพลาเหล็กตัน AB ถูกใช้ในการส่งผ่าน 5 แรงม้า (hp) จากมอเตอร์ M ที่ถกู เชื่อมต่อ ถ้าเพลา เหล็กรูปตัว U ตามรูป จงหาเส้นผ่าศูนย์กลางทีเ่ ล็กทีส่ ุดของ bolt และ เหล็กส่วนเชื่อมต่อ ที่
หมุนที่ความเร็ว ω =175 rpm และ เหล็กมี allowable shear stress of τallow = 14.5 ksi, รับแรง P = 14 kips โดยไม่เกิน allow shearing stress 12 ksi และ bearing stress 20 ksi
จงหาเส้นผ่าศูนย์กลางของเพลาทีใ่ กล้เคียง 1/8 in

You might also like