You are on page 1of 40

2

โครงสรางรับแรงดึง
Tension Members

ดร.ศิริชัย ตันรัตนวงศ
☺โครงสรางทีร่ บั แรงดึงตรงปลายทั้ง2ขาง โดยกระทํา
ผานศูนยถวงของรูปตัด
☺ชิ้นสวนของโครงสะพาน หอสูง ค้ํายัน ระบบเคเบิล้
☺การออกแบบหนาตัดคอนขางงาย เนื่องจากไมตอง
ระวังเรื่องการโคงโกงงอ ที่จะทําใหชิ้นสวนไรความ
มีเสถียรภาพ
☺ตองพิจารณาเกี่ยวกับการทํารอยตอที่ปลายของสวน
โครงสราง
T T

T
A ft
หนวยแรงดึงที่เกิดขึ้น : ft = T/A
แรงดึงที่สวนโครงสรางรับได : T = FtA

A: เนื้อที่หนาตัดบนรูปตัด
P : แรงดึงทั้งหมดที่กระทําตั้งฉากบนรูปตัด
ft : หนวยแรงดึงที่เกิดขึ้นแผกระจายสม่ําเสมอตลอดเนื้อที่หนาตัดดังนั้น หรือใน
Ft :หนวยแรงดึงที่สวนโครงสรางจะสามารถรับได

การคํานวณออกแบบโครงสรางสวนรับแรงดึง
มักพิจารณารวมกันกับการออกแบบทํารอยตอที่ปลายชิ้นสวน
ซึ่งอาจตอโดยการเชื่อมหรือโดยใชตัวยึด
หากทราบเกี่ยวกับลักษณะของการตอปลาย
จะชวยใหการออกแบบและเลือกใชสวนโครงสรางที่รับแรงดึงงายขึ้น
รูปตัดของโครงสรางสวนรับแรงดึง
การเลือกใชรูปตัดของโครงสรางสวนที่รับแรงดึง ขึ้นอยูกับชนิด
หรือแบบของการตอปลายมากกวาอยางอื่น
ลักษณะการวิบัติของโครงสรางสวนรับแรงดึง
• การคราก (yielding): แรงดึงที่กระทําบนหนาตัดทั้งหมด(gross area : Ag)
ของชิ้นสวนมีคาสูงมากเกินกวากําลังที่จุดครากของเหล็ก (Fy)
ทําใหชิ้นสวนถูกดึงยืดออกจนทําใหโครงสรางโดยรวมเสียรูปรางไป

ปองกัน
• เปลี่ยนขนาดรูปตัดใหญขึ้น
• เปลี่ยนเหล็กที่มีกําลังจุดครากสูงขึ้น

ทั้งนี้เพื่อใหหนวยแรงดึงที่กระทํามีคาไมเกินกวาหนวยแรงที่กําหนด
• การฉีกขาด (fracture): แรงดึงที่กระทําตรงหนาตัดที่มีรูเจาะเพื่อทํารอยตอ
หรือที่เรียกวา หนาตัดสุทธิ (net area : An) ซึ่งมีหนาตัดนอยกวาหนาตัดทั้งหมด

หนวยแรงดึงที่กระทําตรงหนาตัดสุทธิมีคาสูงมากกวาปกติ
และเมื่อมีคาสูงเกินกวากําลังตานทานแรงดึง(minimum tensile strength : Fu)
ของเหล็ก ชิ้นสวนจะฉีกขาดออกจากกัน

ปองกันไดโดยการจัดระยะหางระหวางเจาะรูและระยะที่ปลายชิ้นสวน
ใหมีคามากขึ้น เพื่อใหไดเนื้อที่หนาตัดสุทธิมากขึ้น

ซึ่งเปนการลดหนวยคาแรงดึงมิใหเกินกวาหนวยแรงดึงที่กําหนด
หรือเปลี่ยนใชเหล็กทีม่ ีกําลังตานทานแรงดึงสูงขึ้น
การวิบัติเนื่องจาการฉีกขาด อาจเกิดขึ้นกับชิ้นสวนตรงรอยตอ
จากการกระทํารวมกันระหวางแรงดึงและแรงเฉือน เรียกวา Block Shear
โดยหนาตัดของชิ้นสวนที่ตั้งฉากกับแนวแรงจะรับแรงดึง
สวนหนาตัดของชิ้นสวนที่ขนานกับแนวแรงจะรับแรงเฉือน
ทําใหชิ้นสวนอาจเกิดการวิบัติ
2 ลักษณะ

• ชิ้นสวนถูกดึงขาด
ในขณะที่เกิดการคราก
ที่ดานรับแรงเฉือน
• ชิ้นสวนถูกเฉือนขาด
ในขณะที่เกิดการคราก
ที่ดานรับแรงดึง
หนาตัดสุทธิ (Net Section)

เนือ้ ที่หนาตัดสุทธิ (Net cross-section area : An)


หมายถึง เนือ้ ที่หนาตัดของสวนโครงสราง
ที่อยูในแนวตั้งฉากกับน้าํ หนักหรือแรงดึงที่กระทํา
เมื่อหักเนือ้ ที่สวนที่เปนรูเจาะออกแลว

ขนาดรูเจาะมาตรฐานของตัวยึด
• ∅ ตัวยึด <กวา 24 มม. : 2 มม.
• ∅ ตัวยึด ≥ กวา 24 มม. : 3 มม.
ถาให Ag เปนเนื้อที่หนาตัดทั้งหมด = (Wg) (t)
(Gross cross-sectional area)
Ahole เปนเนื้อที่หนาตัดของรูเจาะ = (dh)(t)

เมื่อ Wg เปนความกวางทั้งหมดของเหล็กแผนที่ตั้งฉากกับแรงดึง
t เปนความหนาแนนของเหล็กแผน
dh เปนขนาดเสนผานศูนยกลางของรูเจาะ

ดังนั้น หนาตัดสุทธิ An = Ag - Ahole


= (Wg)(t)-(dh)(t)
เมื่อความหนาของแผนเหล็กมีคาคงที่
จะไดความกวางสุทธิ Wn = Wg - dh
เมื่อรอยตอหนึ่งๆ ตองใชตัวยึดมากกวาหนึ่งแถวในแนว
ที่ขนานกับแนวแรง จะตองพยายามจัดระยะหางระหวางตัวยึด
(ตามมาตรฐานกําหนด) เพื่อใหไดเนือ้ ที่หนาตัดสุทธิมากที่สุด หรือ
เพื่อใหสวนโครงสรางนัน้ สามารถรับแรงหรือน้ําหนักไดมากที่สุด

การจัดระยะ ตองจัดใหรูเจาะมีแนวเยื้องกัน (Zigzag)


และใหระยะหางระหวางรูเจาะ (s) มีคามากพอ
เพื่อลดปญหาการฉีกขาดหรือชํารุดของแผนเหล็กตามแนว ABCD
Pitch (s)

B
gage (g)

E D
•ระยะหางระหวางศูนยกลางของรูเจาะในแนวขนานกับแนวแรง: Pitch = s
•ระยะหางของรูเจาะในแนวตัง้ ฉากกับแนวแรง: Gage = g

ถาแผนเหล็กมีความหนาคงที่ ความกวางสุทธิ Wn ในแนวเยื้อง


ที่ผานรูเจาะ มีคาเทากับ ความกวางทั้งหมดของแผนเหล็ก
ลบดวยขนาดเสนผาศูนยกลางของรูเจาะทั้งหมด ในแนวเยื้องที่
พิจารณา แลวบวกดวยผลบวกของ s2/4g ทั้งหมดที่มีในแนวเยื้องนัน้

ความกวางสุทธิ Wn = Wg -∑dh + ∑(s2/4g)

ในการคํานวณออกแบบ ตองพิจารณาหาความกวางสุทธิ
หลาย ๆ แนวแลวนําคานอยที่สุดมาใชคํานวณหากําลังแรงดึง
หนาตัดสุทธิประสิทธิผล (Effective Net Cross-sectional Area)

เมื่อทํารอยตอที่ปลายของสวนโครงสรางรับแรงดึงโดยการใชตัวยึดหรือโดยการ
เชื่อม หากทําการยึดตอหรือเชื่อมตอเพียงบางสวนของรูปตัดเชน ยึดตอเหล็กรูป
ตัดฉากเดี่ยวที่ขาขางใดขางหนึ่งเพียงขางเดียวการรับและถายแรงจะไมแผ
กระจายอยางสม่ําเสมอขาของดานที่ถกู ยึดติดจะรับแรงกระทํามากกวาขาของ
ดานที่ไมถูกยึดเปนผลใหรอยตอตองรับแรงเยื้องศูนยที่เรียกวา Shear Lag ทําให
กําลังหรือประสิทธิภาพของการรับแรงดึงลดลง
มาตรฐาน AISC กําหนดใหพิจารณาการรับและถายแรงดึง
บนหนาตัดสุทธิประสิทธิผล(Ae)
ซึ่งเปนเนื้อที่หนาตัดของสวนโครงสรางที่ถูกลดคาลง
จากผลของการตอปลาย โดยอาศัยตัวคูณลดคา (reduction factor : U)

1. เมื่อตอปลายโดยใชตัวยึด หนาตัดสุทธิประสิทธิผล : Ae = UAn


2. เมื่อตอปลายโดยใชการเชื่อม หนาตัดสุทธิประสิทธิผล : Ae = UAg

มาตรฐาน AISC : U = 1- ( x /L ) ≤ 0.9

เมื่อ x = ระยะจากระนาบรับแรงเฉือนถึงจุดศูนยถวงของรูปตัดที่นํามาตอ
L = ความยาวของรอยตอในทิศที่ขนานกับแรงกระทํา
มาตรฐาน AISC/ASD/LRFD

ก) สําหรับเหล็กรูปพรรณที่มีรูปตัดตัว W, M, S, T
• ถาสงถายแรงดึงผานรอยเชื่อมที่อยูตั้งฉากกับแนวแรงอยางเดียว:

Ae = พื้นที่ที่เชื่อมตอ

• ถาสงถายแรงดึงผานสลักเกลียวหรือตัวยึด :
\ ใชสลักเกลียวทํารอยตอที่ปกชิ้นสวนในแนวของแรงกระทํา≥ 3 ตัว/แถว
& ชิ้นสวนมีอัตราสวนความกวางของปก:ความลึก ≥ 2/3: U = 0.9
\ ใชสลักเกลียวในแนวของแรงกระทํา ≥ 3 ตัว/แถว แตไมตรงตามเงื่อนไข
ขางตน: U = 0.85
\ ใชสลักเกลียวในแนวของแรงกระทํา= 2 ตัว/แถว: U = 0.75
ข) สําหรับเหล็กแผนหรือทอนเหล็ก ที่ทํารอยเชื่อมขนานกับแนวแรง

\ ความยาวของรอยเชื่อมทั้งหมด> 2 เทาของระยะหางระหวางรอยเชื่อม:
U = 1.0
\ ความยาวของรอยเชื่อมทั้งหมดอยูระหวาง 2 - 1.5เทาของระยะหาง
ระหวางรอยเชื่อม: U = 0.87
\ความยาวของรอยเชื่อมทั้งหมดอยูระหวาง 1 - 1.5 เทาของระยะหาง
ระหวางรอยเชื่อม: U = 0.75
การออกแบบโครงสรางสวนรับแรงดึง – มาตรฐาน AISC

การออกแบบโดยวิธี ASD

1. โครงสรางรับแรงดึงทั่วไป (ยกเวนทอนเหล็ก&เหล็กแผนเจาะรูทําขอตอ)
ใชคานอยของหนวยแรงดึงที่ยอมให ตอไปนี้
• หนวยแรงดึงที่ยอมใหบนหนาตัดทั้งหมด: Ft = 0.6Fy
• หนวยแรงดึงที่ยอมใหบนหนาตัดสุทธิประสิทธิผล: Ft = 0.5Fu
2. สําหรับทอนเหล็กหรือเคเบิ้ลรับแรงดึง
• หนวยแรงดึงที่ยอมให: F1 = 0.33Fu
3. ขอตอแบบหมุนไดในเหล็กแผน (pin-connected plate) /รูหมุดตาไก (pin hole)
ใชคานอยของหนวยแรงดึงที่ยอมใหตอไปนี้

• หนวยแรงดึงที่ยอมใหบนหนาตัดทั้งหมด: Ft = 0.6Fy
• หนวยแรงดึงที่ยอมใหบนหนาตัดสุทธิที่ผานรูเจาะ: Ft = 0.45Fy
• หนวยแรงกดตรงรูเจาะที่ยอมให: Fp = 0.9Fy
4. โครงสรางที่รับแรงดึงรวมกับแรงเฉือน
(block shear)

แรงดึงที่ยอมให = 0.5FuAnt + 0.3FuAnv

Fy :กําลังจุดครากของเหล็ก (yield strength of steel)


Fu :กําลังรับแรงดึงประลัยของเหล็ก (minimum tensile strength of steel)
Ant :หนาตัดสุทธิที่รับแรงดึง
Anv :หนาตัดสุทธิที่รับแรงเฉือน
การออกแบบโดยวิธี LRFD

1. โครงสรางรับแรงดึงทั่วไป (ยกเวนทอนเหล็กและเหล็กแผนเจาะรูทําขอตอ) ใช


คานอยของกําลังรับแรงดึงประลัย (φtPn) ตามสภาวะของการวิบัติตอไปนี้
• หนาตัดทั้งหมดเกิดการคราก :
กําลังรับแรงดึงประลัย = 0.9FyAg (φt=0.9)
• หนาตัดสุทธิประสิทธิผลเกิดการฉีกขาด :
กําลังรับแรงดึงประลัย = 0.75FuAe (φt=0.75)

2. ทอนเหล็กหรือเคเบิ้ลรับแรงดึง
• กําลังรับแรงดึงประลัย = 0.75 (0.75FuAb) (φt=0.75)
3. ขอตอแบบหมุนไดในเหล็กแผน (pin-conneced plate)/รูหมุดตาไก (pin hole)
ใชคานอยของกําลังรับแรงประลัย (φPn) ตามสภาวะของการวิบัติ

• เมื่อหนาตัดทั้งหมดเกิดการคราก :
กําลังรับแรงดึงประลัย = 0.9FyAg (φt=0.9)
• เมื่อหนาตัดสุทธิประสิทธิผลเกิดการฉีกขาด :
กําลังรับแรงดึงประลัย = 0.75FuAe (φt=0.75)
• เมื่อรับแรงกดประลัยตรงรูเจาะ :
กําลังรับแรงกดประลัย = 0.75(1.8FyApb) (φt=0.75)
• เมื่อรับแรงเฉือนขาด :
กําลังรับแรงเฉือนประลัย = 0.75(0.6FuAsf) (φsf=0.75)
4. โครงสรางที่รับแรงดึงรวมกับแรงเฉือน (block shear)
หากําลังรับแรงดึงประลัยจากขอกําหนด ตอไปนี้

• เมื่อ FuAnt≥0.6FuAnv (ชิ้นสวนถูกดึงขาดและครากจากการเฉือน):


กําลังรับแรงดึงประลัย = 0.75 (0.6FyAgv+FuAnt) (φt=0.75)
• เมื่อ 0.6FuAnv>FuAnt (ชิ้นสวนถูกเฉือนขาดและครากจากแรงดึง):
กําลังรับแรงดึงประลัย = 0.75 (0.6FuAnv+FyAgt) (φt=0.75)

Ab = เนื้อที่หนาตัดของทอนเหล็กหรือเคเบิ้ล
Apb = เนื้อที่ที่รับแรงกด
Asf = เนื้อที่ที่รับแรงเฉือน
Agt = หนาตัดทั้งหมดที่รับแรงดึง
Agv = หนาตัดทั้งหมดที่รับแรงเฉือน
อัตราสวนความชะลูด
แมวาจะไมตองระวังเรื่องการโกงงอในโครงสรางสวนที่รับแรงดึง
แตเมื่อโครงสรางสวนนั้นมีรูปรางเรียวหรือชะลูด นั่นคือมี stiffness นอย
ก็อาจหยอนตกทองชาง เนื่องจากน้ําหนักของสวนโครงสรางเองหรือเกิด
การแกวงหรือโกงทางดานขาง (Lateral deflection) หรือสั่นไหวตัว
(vibration) เนื่องจากแรงลม
AISC/ASD/LRFD:
KL ≤ 300 (ยกเวนทอนเหล็กกลม rod)
r
K = ตัวประกอบความยาวประสิทธิผล (=1.00)
L = ชวงความยาวของสวนโครงสรางรับแรงดึง ซม.
r = รัศมีไจเรชั่นทีน่ อยทีส่ ุด (= √I/A) ของสวนโครงสรางรับแรงดึง ซม.
I = โมเมนตอินเนอรเชียของหนาตัดของสวนโครงสรางรับแรงดึง ซม.4
A = เนื้อที่หนาตัดของสวนโครงสรางรับแรงดึง ซม.2

สําหรับทอนเหล็กกลม ใหใชขนาดเสนผาศูนยกลางอยางนอยเทากับ 15 มิลลิเมตร


วิธีออกแบบโครงสรางสวนแรงดึง
วิธี ASD:
1. ตามกําหนดขอแรก : ตองการ Ag =T/0.6 Fy
2. ตามขอกําหนดขอที่สอง : ตองการ Ae = T/0.5Fu
แต Ae = UAn ดังนั้นตองการ An = T/0.5FuU
ฉะนั้นตองการ Ag = T/0.5FuF + เนื้อที่รูเจาะ (ประมาณ)

3. เลือกขนาดรูปตัดจากคามากของ Ag ที่ไดในขอ1หรือขอ2
ใหเหมาะสมกับงานโดยคํานึงถึงแบบการตอปลายโครงสราง
(โดยการเชื่อมหรือใชตัวยึด)
4. หาหนวยแรงดึงที่เกิดขึ้นจริง ตามมาตรฐานกําหนดถาหนวยแรง
ดึงเกิดขึ้นจริงมากกวาที่กําหนดใหเลือกรูปตัดทีใ่ หญกวาถัดไป
5. ตรวจสอบอัตราสวนความชะลูด ซึ่งตองไมเกินกวา 300
วิธี LRFD
ถา Pu เปนแรงดึงที่ไดจากน้ําหนักบรรทุกใชงานที่เพิ่มคาแลว

1. ตามขอกําหนดขอแรก : ตองการ Ag = Pu /0.9 Fy


2. ตามขอกําหนดขอที่สอง : ตองการ Ae = Pu /0.75Fu
แต Ae = UAn ดังนั้นตองการ An = Pu/0.75FuU
ฉะนั้น ตองการ Ag = Pu /0.75 FuU + เนื้อที่รูเจาะ(ประมาณ)

3. เลือกขนาดรูปตัดจากคามากของ Ag ที่ไดในขอ 1 หรือ 2 ให


เหมาะสมกับงาน โดยคํานึงถึงแบบการตอปลายโครงสราง(โดยการ
เชื่อมตัวหรือใชตัวยึด)
4. หากําลังรับแรงดึงประลัยจริงของรูปตัด ตามมาตรฐานกําหนด ถา
กําลังแรงดึงประลัยจริง นอยกวาที่ตองการ ใหเลือกรูปตัดที่ใหญกวา
5. ตรวจสอบอัตราสวนความชะลูด ซึ่งตองไมเกินกวา300
ตัวอยางที่ 2.1 จงหาเนื้อที่หนาตัดสุทธิประสิทธิผล (effective net area; Ae)
เมื่อทํารอยตอระหวางเหล็กฉากชิ้นเดียว กับแผนประกับดวยสลักเกลียว
ดังรูป สมมุติใชเหล็กชนิด A36 (Fy = 2500 กก./ ตร.ซม. Fu = 4050 กก/ตร.ซม.)

วิธีทํา 1. เนื้อที่หนาตัดสุทธิ An = 34.77-2(1.2)(1.6+0.2) = 30.45 ตร.ซม.


2. เนื่องจากทํารอยตอเพียงขาเดียว ดังนั้น คา U = 0.85
นั่นคือ เนื้อที่หนาตัดสุทธิประสิทธิผล Ae = UAn = 0.85 An
= 0.85 (30.45) = 25.88 ตร.ซม.
ตัวอยางที่ 2.2 หากตอเหล็กฉากคูแบบขาไมเทากันโดยการเชื่อมขา
ดานยาวติดกับแผนเหล็กประกับ (gusset plate) ดังรูป ใหหาคา
reduction factor U

วิธีทํา จากการทํารอยตอดังที่แสดง จะตองหาคา reduction factor U จากสมการ


U = 1 ( x/L) ≤ 0.9
ในที่นี้ ระยะ x = 2.22 ซม. ระยะ L = 18.5 ซม.
แทนคา จะได reduction factor U = 0.88
ตัวอยาง 2.3 เหล็กฉากเดียวขนาด 75x75x9 มม. (Ag = 12.69 ตร.ซม.)
ทํารอยตอกับแผนเหล็กประกับดวยสลักเกลียวขนาดเสนผาศูนยกลาง
16 มม. ทั้งสองขา สมมุติใชเหล็กชนิด A36 (Fy =2500 กก./ตร.ซม.)
จงหากําลังรับแรงดึงของเหล็กฉากนี้ (สมมุติวา ไมเกิดการวิบัติที่ตัวสลัก
เกลียว หรือการวิบัติแบบ block shear)
วิธีทํา 1. หาเนื้อที่หนาตัดสุทธิประสิทธิผล
ถาชํารุดตามแนว ABC :
Wn = 14.1 – 1 (1.6 + 0.2) = 12.3 ซม.
ถาชํารุดตามแนว ABDE :
Wn = Wg - ∑d + ∑ (s2/4g)
Wn = 14.1 – 2(1.6 + 0.2) + 42 = 11.0 ซม.
4[2x(4.5-0.9)]
ดังนั้น เนื้อที่หนาตัดสุทธิประสิทธิผล Ae = An = 0.9(11.0) = 9.9 ตร.ซม.
2. กําลังรับแรงดึง

ตามวิธี ASD
0.6FyAg = 0.6(2500) (12.69) = 19035 กก.
0.5FuAe = 0.5(4050) (9.9) = 20047.5 กก.
ตามวิธี LRFD
0.9FyAg = 0.9(2500) (12.69) = 28552 กก.
0.75FuAe = 0.75(4050) (9.9) = 30071 กก.

กําลังรับแรงดึงประลัย = 28552 กก.


ตัวอยางที่ 2.4 จงหากําลังรับแรงดึงของหนาตัดรูปตัว S ทีท่ ําดวยเหล็ก
ชนิด A36 (Fy-2500 กก./ตร.ซม.Fu = 4050 กก./ตร.ซม.) เมื่อทํารอยตอ
ดวยสลักเกลียวดังรูป (สมมุติวา ไมเกิดการวิบัติที่ตัวสลักเกลียว หรือ
การวิบัติแบบ block shear)
วิธีทํา 1. หาเนื้อที่หนาตัดสุทธิประสิทธิผล
ถาชํารุดตามแนว ad : An = 91.73 – 4(1.6 + 0.2) (1.8) = 78.77 ตร.ซม.
ถาชํารุดตามแนว abcd :
ระยะ g = g1/2 + g2 – tw/2 = 8/2 +7-1/2 = 10.5 ซม.
An = 91.73-4(1.6+0.2) (1.8) -2(1.6+0.2) (1.0)+ 2(1.0)(52)
= 76.36 ตร.ซม. 4(10.5)

ดังนั้น เนื้อที่หนาตัดสุทธิประสิทธิผล Ae = An = 76.36 ตร.ซม.


2. กําลังรับแรงดึง
ตามวิธี ASD
0.6FyAg = 0.6(2500) (91.73) = 137595 กก.
0.5FuAe = 0.5(4050) (76.36) = 154629 กก.
กําลังรับแรงดึงใชงาน = 137595 กก.
ตามวิธี LRFD

0.9FyAg = 0.9(2500) (91.73) = 206392 กก.


0.75FuAe = 0.75(4050) (76.36) = 231943 กก.
กําลังรับแรงดึงประลัย = 206392 กก.
ตัวอยางที่ 2.5 จงหากําลังรับแรงดึงของเหล็กฉากที่แสดงเมื่อการ
ชํารุดของรอยตอเปนแบบ block shear ใชเหล็กชนิด A36
(Fy = 2500 กก./ตร.ซม. Fu = 4050 กก./ตร.ซม.)
วิธีทํา กําลังรับแรงดึง เมื่อรอยตอชํารุดแบบ block shear ตามแนว acc ดังแสดง

ตามวิธี ASD
Anv = 12.5(1) – 2.5(1.0)(1.6 + 0.2) = 8 ตร.ซม. (2.5 รูเจาะ)
Ant = 4(1) – 0.5(1.0)(1.6 + 0.2) = 31 ตร.ซม. (0.5 รูเจาะ)
กําลังรับแรงดึงใชงาน Tbs = (0.3FuAnv + 0.5FuAnt)
= 0.3(4050)(8) + 0.5(4050)(3.1) = 15997.5 กก.
ตามวิธี LRFD

Agv = 12.5(1) = 12.5 ตร.ซม. Agt = 4(1) = 4 ตร.ซม.


Anv = 12.5(1) – 2.5(1.0)(1.6 + 0.2) = 8 ตร.ซม. (2.5 รูเจาะ)
Ant = 4(1) – 0.5(1.0)(1.6 + 0.2) = 3.1 ตร.ซม. (0.5 รูเจาะ)
เนื่องจาก กําลังรับแรงดึงประลัย Pbs = φ(0.6FuAnv + FyAgt)
= 0.75(0.6x4054x8 + 2500x4) = 22080 กก.

อนึ่ง ถาไมเกิดการวิบัติแบบ block shear จะหากําลังรับแรงดึงของเหล็กฉากไดดงั นี้


ตามวิธี ASD
Ae = UAn = 0.85 (17.0-(1.0)(1.6 + 0.2)) = 12.92 ตร.ซม.
0.6FyAg = 0.6 (2500)(17.0) = 25500 กก. = กําลังรับแรงดึงใชงาน
0.5FuAe = 0.5 (4050)(12.92) = 26163 กก.
ตามวิธี LRFD
Ae = UAn = 0.85 (17.0-(1.0)(1.6 + 0.2)) = 12.92 ตร.ซม.
0.9FyAg = 0.9 (2500)(17.0) = 38250 กก. = กําลังรับแรงดึงประลัย
0.75FuAe = 0.75 (4050)(12.92) = 39244 กก.

You might also like