You are on page 1of 48

Base plate design March 24, 2023

การออกแบบ
Base plate
และ Anchor
ยึดกับฐานราก
#WeLoveSteelConstruction

General
#WeLoveSteelConstruction

• แนวทางการออกแบบ หรือ Design guide โดย AISC นีเปน


edition ที 2 ทีพั ฒนาจาก 1st edition ป 2006 โดยทัวไป Base
plate ใช้เหล็ก standard grade ASTM A36 เทียบเท่า SS400
ยกเว้นจะสามารถหาเกรดอืนได้ง่ายในท้องตลาด ก็สามารถใช้ได้
ส่ วน anchor rod สามารถใช้เหล็กเกรดทัวไป โดยในประเทศไทย
ผู้ออกแบบสามารถเลือกได้หลากหลาย ทัง SS400 หรืออาจใช้
เหล็กเกรดเทียบเท่า SD40 (Fy = 4,000 ksc) เปนต้น

Ref: AISC Design Guide 1, “Base Plate and Anchor Rod Design,” 2nd edition

by We Love Steel Construction 1


Base plate design March 24, 2023

General
#WeLoveSteelConstruction

• ขนาด diameter ของ anchor rod ต้องสั มพั นธ์กบ


ั ขนาดของรูเจาะใน base plate โดยเพื อให้สามารถติดตังได้โดยง่าย ควรเตรียม
รูเจาะขนาดใหญ่กว่ามาตรฐาน หรือ oversized hole (ใหญ่กว่าขนาด diameter ของ anchor ประมาณ 5-6 mm) และควรเตรียม
แหวนรอง (washer) ให้มีขนาดและความหนาทีเหมาะสมกับขนาดของรูเจาะ และทําการขันแน่น (ขัน torque) ทีหน้างาน

Ref: AISC Design Guide 1, “Base Plate and Anchor Rod Design,” 2nd edition Ref: www.shutterstock.com

Concrete footing check


#WeLoveSteelConstruction

• ขันตอนแรกในการออกแบบ base plate คือ การ


สมมติ ขนาดกว้าง x ยาว ของ base plate และขนาด
กว้าง x ยาว ของหน้าตัด footing ซึงอาจเปนตอม่อ
(pier) ทีต่อขึนมาจากฐานราก footing

• หลักในการพิ จารณาคือ เสารับแรงอัด ถ่ายแรงอัดสู่


base plate จากนัน base plate กระจายแรงอัดลง
pier หรือ footing

• การกระจายแรงอัดจาก base plate ลง pier หรือ


footing จะสมมติให้กระจายลงเปนมุม 45 องศา แต่จะ
มี พื นทีประสิทธิผล ที pier หรือ footing รับแรงอัดที
แผ่กระจายลงมาจาก base plate ไม่เกินระยะ 2 เท่า
ของ ความกว้างและความยาว ของ base plate

• กําลังทีคอนกรีตรับได้ คือ 0.85 fc’ โดยสําหรับการ


เผือความเสียงด้วย factor of safety ตามวิธี ASD
ใช้ FS = 2.50 (ตาม AISC) ในขณะที resistance
factor ตามวิธี LRFD ใช้ค่า 0.65 (ตาม ACI 318-02)
ทังนี design guide ยอมรับว่ามีความขัดแย้งกันอยู่
Ref: AISC Design Guide 1, “Base Plate and Anchor Rod Design,” 2nd edition

by We Love Steel Construction 2


Base plate design March 24, 2023

Base plate yielding check


#WeLoveSteelConstruction

• เมือเกิดการกระจายแรงอัดจาก base plate ลง pier


หรือ footing จะเกิด แรงแผ่กระจาย (distributed
load) กระทําด้านใต้ base plate (กรณี no moment)

• แรงแผ่กระจายนี จะกระทํากับ base plate (ล่างขึนบน)


โดยเฉพาะกับส่ วนที base plate ยืนออกจากขอบเสา
ซึงมีลักษณะทีเหมือนกับ “คานยืน” cantilevered
beam ทีรับ distributed load โดยคานยืนมีความยาว
ประมาณเท่ากับระยะจากขอบเสาถึงปลาย base plate

• แต่ในทางการคํานวณ ระยะความยาวนี ต้องพิ จารณา


ทัง 2 ด้าน คือทางด้านกว้าง และด้านยาว ตลอดจนต้อง
พิ จารณา yield line (ทีมาได้จากการวิเคราะห์เชิงลึก
โดยใช้ energy method) เพื อตรวจสอบว่า ด้านใดมี
ระยะยืนทีมากทีสุ ด ด้านนันจะเกิดผล (เกิด bending อัน
สะท้อน normal stress กับ base plate) ทีมากทีสุด

• เมือได้ความยาวที control พฤติกรรม yielding ก็นาํ ไป


คํานวณหาความหนา (หรือตรวจสอบความหนา) base
plate ต่อไป [f (LRFD) = 0.9, W (ASD) = 1.67]
Ref: AISC Design Guide 1, “Base Plate and Anchor Rod Design,” 2nd edition

Design Example: Column Base Plate


#WeLoveSteelConstruction

จากรูป แสดงรายละเอียดทีฐานเสา ติดตังอยู่บนตอม่อคอนกรีต ทีมีกําลังรับแรงอัด 210 ksc และมีการติดตัง


non-shrink grout เข้าไปด้านใต้แผ่นรองฐานเสา (base plate) โดยมีกําลังรับแรงอัด 280 ksc จงตรวจสอบ
ว่า base plate เกรด SS400 จะสามารถรับแรงอัดได้หรือไม่

𝑃 = 60 𝑇𝑜𝑛𝑠
𝑃 = 165 𝑇𝑜𝑛𝑠
60 cm

by We Love Steel Construction 3


Base plate design March 24, 2023

Design Example: Column Base Plate


#WeLoveSteelConstruction

จากรูป แสดงรายละเอียดทีฐานเสา ติดตังอยู่บนตอม่อคอนกรีต ทีมีกําลังรับแรงอัด 210 ksc และมีการติดตัง


non-shrink grout เข้าไปด้านใต้แผ่นรองฐานเสา (base plate) โดยมีกําลังรับแรงอัด 280 ksc จงตรวจสอบ
ว่า base plate เกรด SS400 จะสามารถรับแรงอัดได้หรือไม่

𝑃 = 60 𝑇𝑜𝑛𝑠 การคํานวณหาความสามารถรับแรงอัดของ Base plate กรณีทีรับแรงกด


𝑃 = 165 𝑇𝑜𝑛𝑠 แรงกดเพี ยงอย่างเดียว
Case I: เมือ 𝐴 = 𝐴
3 cases Case II: เมือ 𝐴 ≥ 4𝐴
Case III: เมือ 𝐴 < 𝐴 < 4𝐴

จากโจทย์จะได้ พื นทีของตอม่อคอนกรีต 𝐴 = 60𝑥60 = 3600 𝑐𝑚


60 cm

พื นทีของ Base plate (𝐴 ) = 55𝑥55 = 3025 𝑐𝑚

Case III: เมือ 𝐴 < 𝐴 < 4𝐴

Design Example: Column Base Plate


#WeLoveSteelConstruction

จากรูป แสดงรายละเอียดทีฐานเสา ติดตังอยู่บนตอม่อคอนกรีต ทีมีกําลังรับแรงอัด 210 ksc และมีการติดตัง


non-shrink grout เข้าไปด้านใต้แผ่นรองฐานเสา (base plate) โดยมีกําลังรับแรงอัด 280 ksc จงตรวจสอบ
ว่า base plate เกรด SS400 จะสามารถรับแรงอัดได้หรือไม่
Step 1: คํานวณ Required axial compressive strength (Preq)
𝑃 = 60 𝑇𝑜𝑛𝑠
𝑃 = 165 𝑇𝑜𝑛𝑠 LRFD ASD

𝑃, = 1.2𝑃 + 1.6𝑃 𝑃, =𝑃 +𝑃
= 1.2 60 + 1.6 165 = 60 + 165
= 336 𝑇𝑜𝑛𝑠 = 225 𝑇𝑜𝑛𝑠
𝑃, = 336 × 10 𝐾𝑔. 𝑃, = 225 × 10 𝐾𝑔.
60 cm

by We Love Steel Construction 4


Base plate design March 24, 2023

Design Example: Column Base Plate


#WeLoveSteelConstruction

จากรูป แสดงรายละเอียดทีฐานเสา ติดตังอยู่บนตอม่อคอนกรีต ทีมีกําลังรับแรงอัด 210 ksc และมีการติดตัง


non-shrink grout เข้าไปด้านใต้แผ่นรองฐานเสา (base plate) โดยมีกําลังรับแรงอัด 280 ksc จงตรวจสอบ
ว่า base plate เกรด SS400 จะสามารถรับแรงอัดได้หรือไม่
Step 2: ตรวจสอบขนาดของพื นทีตอม่อ (A2 actual) ว่ามีค่ามากกว่า required-
𝑃 = 60 𝑇𝑜𝑛𝑠 concrete pedestal area (A2 required) หรือไม่
𝑃 = 165 𝑇𝑜𝑛𝑠
LRFD ASD
𝑃 Ω 𝑃
𝐴 ( ) = 𝐴 ( ) =
∅ 0.85𝑓 0.85𝑓
เมือ 𝑃 = 336 × 10 𝐾𝑔. เมือ 𝑃 = 225 × 10 𝐾𝑔.
𝑓 = 210 ksc 𝑓 = 210 ksc
60 cm

∅ = 0.65 Ω = 2.50

336 × 10 2.50 × 225 × 10


𝐴 ( ) = 𝐴 ( ) =
0.65 × 0.85 × 210 0.85 × 210
= 2896 𝑐𝑚 = 3151 𝑐𝑚
ใช้พืนทีตอม่อเท่ากับ
𝐴 = 𝐴 = 3600 𝑐𝑚
พื นทีเสาคอนกรีต
( )

*สมมติให้ 𝐴 =𝐴 (conservative) ∴𝐴 ( ) >𝐴 ( ) OK

Design Example: Column Base Plate


#WeLoveSteelConstruction

จากรูป แสดงรายละเอียดทีฐานเสา ติดตังอยู่บนตอม่อคอนกรีต ทีมีกําลังรับแรงอัด 210 ksc และมีการติดตัง


non-shrink grout เข้าไปด้านใต้แผ่นรองฐานเสา (base plate) โดยมีกําลังรับแรงอัด 280 ksc จงตรวจสอบ
ว่า base plate เกรด SS400 จะสามารถรับแรงอัดได้หรือไม่
Step 3: ตรวจสอบเส้นรอบรูปพื นที Base plate (A1) [N = 55, B = 55]
𝑃 = 60 𝑇𝑜𝑛𝑠
𝑃 = 165 𝑇𝑜𝑛𝑠 LRFD ASD

𝑁 ≥ 𝑑 + 2(7.2)

𝑁 ≥ 34.4 + 2(7.2)
เว้นระยะเผือ Bolt
55 ≥ 48.8 𝑐𝑚 OK ทังสองฝั ง
60 cm

𝐵 ≥ 𝑏 + 2(7.2)

𝐵 ≥ 34.8 + 2(7.2)
55 ≥ 49.2 𝑐𝑚 OK

10

by We Love Steel Construction 5


Base plate design March 24, 2023

Design Example: Column Base Plate


#WeLoveSteelConstruction

จากรูป แสดงรายละเอียดทีฐานเสา ติดตังอยู่บนตอม่อคอนกรีต ทีมีกําลังรับแรงอัด 210 ksc และมีการติดตัง


non-shrink grout เข้าไปด้านใต้แผ่นรองฐานเสา (base plate) โดยมีกําลังรับแรงอัด 280 ksc จงตรวจสอบ
ว่า base plate เกรด SS400 จะสามารถรับแรงอัดได้หรือไม่
Step 4: ตรวจสอบการรับแรงกดของพื นทีตอม่อ
𝑃 = 60 𝑇𝑜𝑛𝑠
𝑃 = 165 𝑇𝑜𝑛𝑠 LRFD ASD

𝐴 𝑃 0.85𝑓 𝐴 𝐴 1.7𝑓 𝐴
∅ 𝑃 = ∅ 0.85𝑓 𝐴 ≤ ∅ 1.7𝑓 𝐴 = ≤
𝐴 Ω Ω 𝐴 Ω
60 cm

11

Design Example: Column Base Plate


#WeLoveSteelConstruction

จากรูป แสดงรายละเอียดทีฐานเสา ติดตังอยู่บนตอม่อคอนกรีต ทีมีกําลังรับแรงอัด 210 ksc และมีการติดตัง


non-shrink grout เข้าไปด้านใต้แผ่นรองฐานเสา (base plate) โดยมีกําลังรับแรงอัด 280 ksc จงตรวจสอบ
ว่า base plate เกรด SS400 จะสามารถรับแรงอัดได้หรือไม่
Step 4: ตรวจสอบการรับแรงกดของพื นทีตอม่อ
𝑃 = 60 𝑇𝑜𝑛𝑠
𝑃 = 165 𝑇𝑜𝑛𝑠 LRFD ASD
55

𝐵𝑎𝑠𝑒 𝑝𝑙𝑎𝑡𝑒 55 × 55
< 𝟒 × 𝑩𝒂𝒔𝒆 𝒑𝒍𝒂𝒕𝒆
𝑷𝒊𝒆𝒓 ≥
𝒉 1 1
𝐻 1 1
60 cm

55 + 2𝐻
2ℎ

𝐴𝑟𝑒𝑎 𝑙𝑜𝑎𝑑 ∶ 𝑑𝑒𝑐𝑟𝑒𝑎𝑠𝑒𝑑

𝑃𝑟𝑒𝑠𝑠𝑢𝑟𝑒 ∶ 𝑖𝑛𝑐𝑟𝑒𝑎𝑠𝑒𝑑

12

by We Love Steel Construction 6


Base plate design March 24, 2023

Design Example: Column Base Plate


#WeLoveSteelConstruction

จากรูป แสดงรายละเอียดทีฐานเสา ติดตังอยู่บนตอม่อคอนกรีต ทีมีกําลังรับแรงอัด 210 ksc และมีการติดตัง


non-shrink grout เข้าไปด้านใต้แผ่นรองฐานเสา (base plate) โดยมีกําลังรับแรงอัด 280 ksc จงตรวจสอบ
ว่า base plate เกรด SS400 จะสามารถรับแรงอัดได้หรือไม่
Step 4: ตรวจสอบการรับแรงกดของพื นทีตอม่อ
𝑃 = 60 𝑇𝑜𝑛𝑠
𝑃 = 165 𝑇𝑜𝑛𝑠 LRFD ASD

𝐴 𝑃 0.85𝑓 𝐴 𝐴 1.7𝑓 𝐴
∅ 𝑃 = ∅ 0.85𝑓 𝐴 ≤ ∅ 1.7𝑓 𝐴 = ≤
𝐴 Ω Ω 𝐴 Ω

𝐴 *เปน Factor ทีคูณเพื อปรับค่า Load บนพื นทีตอม่อ


60 cm

𝐴 Ex. 𝐴 = 4𝐴  =2

13

Design Example: Column Base Plate


#WeLoveSteelConstruction

จากรูป แสดงรายละเอียดทีฐานเสา ติดตังอยู่บนตอม่อคอนกรีต ทีมีกําลังรับแรงอัด 210 ksc และมีการติดตัง


non-shrink grout เข้าไปด้านใต้แผ่นรองฐานเสา (base plate) โดยมีกําลังรับแรงอัด 280 ksc จงตรวจสอบ
ว่า base plate เกรด SS400 จะสามารถรับแรงอัดได้หรือไม่
Step 4: ตรวจสอบการรับแรงกดของพื นทีตอม่อ
𝑃 = 60 𝑇𝑜𝑛𝑠
𝑃 = 165 𝑇𝑜𝑛𝑠 LRFD

𝐴
∅ 𝑃 = ∅ 0.85𝑓 𝐴 ≤ ∅ 1.7𝑓 𝐴
𝐴

3600
∅ 𝑃 = 0.65 0.85 210 3025 ≤ 0.65 1.7 210 3025
3025
60 cm

∅ 𝑃 = 383 𝑇𝑜𝑛𝑠 ≤ 702 𝑇𝑜𝑛𝑠

𝑃 = 336 𝑇𝑜𝑛𝑠

∴ ∅ 𝑃 >𝑃 OK

14

by We Love Steel Construction 7


Base plate design March 24, 2023

Design Example: Column Base Plate


#WeLoveSteelConstruction

จากรูป แสดงรายละเอียดทีฐานเสา ติดตังอยู่บนตอม่อคอนกรีต ทีมีกําลังรับแรงอัด 210 ksc และมีการติดตัง


non-shrink grout เข้าไปด้านใต้แผ่นรองฐานเสา (base plate) โดยมีกําลังรับแรงอัด 280 ksc จงตรวจสอบ
ว่า base plate เกรด SS400 จะสามารถรับแรงอัดได้หรือไม่
Step 4: ตรวจสอบการรับแรงกดของพื นทีตอม่อ
𝑃 = 60 𝑇𝑜𝑛𝑠
𝑃 = 165 𝑇𝑜𝑛𝑠 ASD

𝑃 0.85𝑓 𝐴 𝐴 1.7𝑓 𝐴
= ≤
Ω Ω 𝐴 Ω

𝑃 0.85 210 3025 3600 1.7 210 3025


= ≤
Ω 2.50 3025 2.50
60 cm

𝑃
= 235 𝑇𝑜𝑛𝑠 ≤ 432 𝑇𝑜𝑛𝑠
Ω
𝑃 = 225 𝑇𝑜𝑛𝑠

𝑃
∴ >𝑃 OK
Ω

15

Design Example: Column Base Plate


#WeLoveSteelConstruction

จากรูป แสดงรายละเอียดทีฐานเสา ติดตังอยู่บนตอม่อคอนกรีต ทีมีกําลังรับแรงอัด 210 ksc และมีการติดตัง


non-shrink grout เข้าไปด้านใต้แผ่นรองฐานเสา (base plate) โดยมีกําลังรับแรงอัด 280 ksc จงตรวจสอบ
ว่า base plate เกรด SS400 จะสามารถรับแรงอัดได้หรือไม่
Step 5: หา Required base plate thickness (𝑡 )
𝑃 = 60 𝑇𝑜𝑛𝑠
𝑃 = 165 𝑇𝑜𝑛𝑠 LRFD ASD
𝑃 𝑃
2𝑓 𝑓 = 1.67(2𝑓 ) 𝑓 =
𝑡 =𝑙 𝑁𝐵 𝑡 =𝑙 𝑁𝐵
0.90𝐹 𝐹

Yield-line theory
𝑙 = max(𝑚, 𝑛, λ𝑛′)
60 cm

2 𝑋
λ= ≤1
1+ 1−𝑋

4𝑑𝑏 𝑃 4𝑑𝑏 Ω 𝑃
𝑋= 𝑋=
𝑑 +𝑏 ∅ 𝑃 𝑑 +𝑏 𝑃

16

by We Love Steel Construction 8


Base plate design March 24, 2023

Design Example: Column Base Plate


#WeLoveSteelConstruction

จากรูป แสดงรายละเอียดทีฐานเสา ติดตังอยู่บนตอม่อคอนกรีต ทีมีกําลังรับแรงอัด 210 ksc และมีการติดตัง


non-shrink grout เข้าไปด้านใต้แผ่นรองฐานเสา (base plate) โดยมีกําลังรับแรงอัด 280 ksc จงตรวจสอบ
ว่า base plate เกรด SS400 จะสามารถรับแรงอัดได้หรือไม่
Step 5: หา Required base plate thickness (𝑡 )
𝑃 = 60 𝑇𝑜𝑛𝑠
𝑃 = 165 𝑇𝑜𝑛𝑠 LRFD ASD

2𝑓 1.67(2𝑓 )
𝑡 =𝑙 𝑡 =𝑙
0.90𝐹 𝐹

𝑡
P Cantilevered Beam

Base Plate
60 cm

𝑡 {
Grout
P Pier
𝑀 =𝐹𝑍 𝑤𝑙 ∅𝑀 ≥ 𝑀 2𝑓2𝑓
𝑀 = 𝑡𝑚𝑖𝑛
≥= 𝑙 𝑙
=𝐹 2 𝐹𝑡 𝑓𝑙 0.90𝐹
0.90𝐹
0.9 ≥
= 4 2
=𝐹

17

Design Example: Column Base Plate


#WeLoveSteelConstruction

จากรูป แสดงรายละเอียดทีฐานเสา ติดตังอยู่บนตอม่อคอนกรีต ทีมีกําลังรับแรงอัด 210 ksc และมีการติดตัง


non-shrink grout เข้าไปด้านใต้แผ่นรองฐานเสา (base plate) โดยมีกําลังรับแรงอัด 280 ksc จงตรวจสอบ
ว่า base plate เกรด SS400 จะสามารถรับแรงอัดได้หรือไม่
Step 5: หา Required base plate thickness (𝑡 )
𝑃 = 60 𝑇𝑜𝑛𝑠
𝑃 = 165 𝑇𝑜𝑛𝑠 LRFD ASD
𝑃 1.67(2𝑓 ) 𝑃
2𝑓 𝑓 = 𝑓 =
𝑡 =𝑙 𝑁𝐵 𝑡 =𝑙 𝑁𝐵
0.90𝐹 𝐹

𝑙 = max(𝑚, 𝑛, λ𝑛′)
60 cm

2 𝑋
λ= ≤1
1+ 1−𝑋
4𝑑𝑏 𝑃 4𝑑𝑏 Ω 𝑃
𝑋= 𝑋=
𝑑 +𝑏 ∅ 𝑃 𝑑 +𝑏 𝑃

18

by We Love Steel Construction 9


Base plate design March 24, 2023

Design Example: Column Base Plate


#WeLoveSteelConstruction

จากรูป แสดงรายละเอียดทีฐานเสา ติดตังอยู่บนตอม่อคอนกรีต ทีมีกําลังรับแรงอัด 210 ksc และมีการติดตัง


non-shrink grout เข้าไปด้านใต้แผ่นรองฐานเสา (base plate) โดยมีกําลังรับแรงอัด 280 ksc จงตรวจสอบ
ว่า base plate เกรด SS400 จะสามารถรับแรงอัดได้หรือไม่
Step 5: หา Required base plate thickness (𝑡 )
𝑃 = 60 𝑇𝑜𝑛𝑠
𝑃 = 165 𝑇𝑜𝑛𝑠 LRFD ASD
𝑃 𝑃
𝑓 = 𝑓 =
𝑁𝐵 𝑁𝐵
336 × 10 225 × 10
= =
55 × 55 55 × 55
60 cm

= 111.1 𝑘𝑠𝑐 = 74.4 𝑘𝑠𝑐

19

Design Example: Column Base Plate


#WeLoveSteelConstruction

จากรูป แสดงรายละเอียดทีฐานเสา ติดตังอยู่บนตอม่อคอนกรีต ทีมีกําลังรับแรงอัด 210 ksc และมีการติดตัง


non-shrink grout เข้าไปด้านใต้แผ่นรองฐานเสา (base plate) โดยมีกําลังรับแรงอัด 280 ksc จงตรวจสอบ
ว่า base plate เกรด SS400 จะสามารถรับแรงอัดได้หรือไม่
Step 5: หา Required base plate thickness (𝑡 )
𝑃 = 60 𝑇𝑜𝑛𝑠
𝑃 = 165 𝑇𝑜𝑛𝑠 LRFD ASD
𝑙 = max(𝑚, 𝑛, λ𝑛′)
𝑁 − 0.95𝑑 95% ของ 𝑑
𝐵 − 0.8𝑏 𝑑𝑏
m= 𝑛= 𝑛 =
2 2 4
. . . . . .
=( ) =( ) =( )
= 11.16 𝑐𝑚 = 13.58 𝑐𝑚 = 8.65 𝑐𝑚
60 cm

4𝑑𝑏 𝑃 4𝑑𝑏 Ω 𝑃
𝑋= 𝑋=
𝑑 +𝑏 ∅ 𝑃 𝑑 +𝑏 𝑃
4 34.4 34.8 336 4 34.4 34.8 225
= =
34.4 + 34.8 383 34.4 + 34.8 235
= 0.877 = 0.957
2 𝑋
λ= ≤ 1  λ = 1.39 > 1
1+ 1−𝑋
λ𝑛 = 1 8.65 = 8.65

20

by We Love Steel Construction 10


Base plate design March 24, 2023

Design Example: Column Base Plate


#WeLoveSteelConstruction

จากรูป แสดงรายละเอียดทีฐานเสา ติดตังอยู่บนตอม่อคอนกรีต ทีมีกําลังรับแรงอัด 210 ksc และมีการติดตัง


non-shrink grout เข้าไปด้านใต้แผ่นรองฐานเสา (base plate) โดยมีกําลังรับแรงอัด 280 ksc จงตรวจสอบ
ว่า base plate เกรด SS400 จะสามารถรับแรงอัดได้หรือไม่
Step 5: หา Required base plate thickness (𝑡 )
𝑃 = 60 𝑇𝑜𝑛𝑠
𝑃 = 165 𝑇𝑜𝑛𝑠 LRFD ASD
𝑙 = max(𝑚, 𝑛, λ𝑛′)

𝑙 = max(11.16,13.58,8.65)

1.67(2𝑓 )
60 cm

2𝑓 111.1 𝑘𝑠𝑐 74.4 𝑘𝑠𝑐


𝑡 =𝑙 𝑡 =𝑙
0.90𝐹 𝐹

2 111.1 1.67 2 × 74.4


= 13.58 = 13.58
0.90 2400 2400

= 4.36 𝑐𝑚 = 4.37 𝑐𝑚

21

Concrete anchorage for tension - 1


#WeLoveSteelConstruction

• เมือเกิด moment ที base plate จนถึงระดับหนึง จะ


ส่ งผลทําให้ anchor rod ต้องรับแรงดึง ซึงต้อง
ตรวจสอบกําลังต้านทานการถอนของคอนกรีต
(Concrete Pullout Strength) ซึงพิ จารณา bearing
area ของ anchor rod head (อาจใช้แผ่นเหล็กมาช่วย
เพิ ม bearing area) “ยิง bearing area anchor ขนาด
ใหญ่มาก กําลังต้านทานการถอนของคอนกรีตยิงมาก”

• นอกจากนี ยังต้องพิ จารณากําลังต้านทานการแตกของ


คอนกรีต (Concrete Breakout Strength) ด้วย
รูปแบบการวิบต
ั ิแบบโคน ทีเรียกว่า Concrete Capacity
Design (CCD) ทังนี CCD กําหนดกรอบในการพิ จารณา
anchor rod ที เส้ นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 2” (50 mm) และ
ระยะฝงของ anchor rod ไม่เกิน 25” (63 cm)

• CCD เปนการพิ จารณารูปแบบการวิบัติที คอนกรีตถูกทํา


ให้แตกออกมาเปนโคน (cone failure) โดยเพื อให้การ
พิ จารณาไม่ซับซ้อน ลักษณะโคนจะเปนรูปสีเหลียมจัตุรส ั
ทํามุม 34 องศา (1:1.5) สะท้อนว่า “ยิงระยะฝง anchor ลึก
มาก กําลังต้านทานการแตกของคอนกรีตยิงมาก”
Ref: AISC Design Guide 1, “Base Plate and Anchor Rod Design,” 2nd edition

22

by We Love Steel Construction 11


Base plate design March 24, 2023

Concrete anchorage for tension - 2


#WeLoveSteelConstruction

• กําลังต้านทานการถอนของคอนกรีต (Concrete
Pullout Strength) มักจะไม่เปน limit state ที control
พฤติกรรมเท่าไหร่นัก โดย Abrg เปนพื นทีของ anchor
head หักออกจากพื นที anchor rod ซึงเปน bearing
area ทีต้านทานการถอนออก โดยการพิ จารณาจะจําแนก
ส่ วนทียึดกับ concrete ออกเปน การยึดเข้ากับส่ วนของ
คอนกรีตทีมีแนวโน้มจะแตกทีระดับ service level กับ
กรณีทคอนกรี
ี ตไม่มแ
ี นวโน้มจะแตก

• กําลังต้านทานการแตกของคอนกรีต (Concrete
Breakout Strength) ด้วยรูปแบบการวิบต ั แ
ิ บบโคน ที
เรียกว่า Concrete Capacity Design (CCD) เปนสมการ
empirical โดยการพิ จารณาด้วยสมการทีแสดงนีจะต้อง
สอดคล้องกับหน่วย psi สํ าหรับ fc’ และ inches สําหรับ
hef (ระยะฝง = depth of embedment)

• CCD ไม่ขึนกับ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของ anchor rod


แต่ขึนกับระยะฝง และการจัดวางตําแหน่งของ anchor
rod เปนสําคัญ

Ref: AISC Design Guide 1, “Base Plate and Anchor Rod Design,” 2nd edition

23

Base plate with small moment


#WeLoveSteelConstruction

• กรณีทไม่ี มีโมเมนต์ มีแต่เพี ยงแรงอัด Pr ถ่ายจากเสาลงสู่ base plate ทีมีความกว้าง N จะ


เกิด uniform pressure กระทําจาก concrete footing (หรือ pier) สู่ base plate มีคา่
เท่ากับ Pr/N (ต่อหนึงหน่วยของระยะ base plate ทิศทางตามความลึกกระดาษ)

• แต่เมือเกิด moment ที base plate ไปพร้อมกับแรงอัด Pr ทีกระทํา ณ ศูนย์กลาง base


plate (และ column) โดย moment ดังกล่าวนีมีค่าเท่ากับ แรงอัด Pr คูณกับระยะเยืองจาก
แนวศู นย์กลาง e (M = Pr.e) “ในทางการประมาณการ” จะพอสรุปได้ว่าจะมีแรงอัด ทีเกิดจาก
uniform pressure (q) เปนระยะ Y หรือ compression force ทีกระทํากับ base plate มีคา่
เท่ากับ qY ในขณะที anchor rod รับ tension T โดยกรณีไม่มโี มเมนต์ e = 0 จะพบว่า N = Y
แต่หาก moment เพิ ม e ยิงเพิ ม Y ยิงลดลง

• หากพิ จารณาสมดุลของแรง จะได้ว่า Pr + T = qY ในขณะทีสมดุลโมเมนต์ (โมเมนต์รอบจุด A)


qY.(Y/2) = Pr (N/2 – e) + T.(N/2 + f) สํ าหรับกรณี small moment ข้อพิ จารณาสําคัญคือ A
“ไม่เกิด tension ที anchor rod” หรือที T = 0 จะได้ว่า Pr (Y/2) = Pr (N/2 – e) จัดรูปจะได้
e = emax = N/2 – Ymin/2 โดยหาก concrete footing รับ bearing ได้สูงสุดทีระดับแรง Pu T=0
อันส่ งผลให้เกิด uniform pressure qmax (มากกว่านีจะทําให้ concrete วิบัต)ิ จะได้ว่า
Ymin = Pu/qmax หรือ emax = N/2 – Pu/2qmax โดย qmax = fp,max*B, fp,max = 0.85fc’√(A2/A1)

• ดังนัน ต้องตรวจสอบว่า moment ยังเปน small moment โดยการตรวจสอบ ecritical ก่อน


ว่า e = Mr/Pr ไม่เกินค่าสู งสุด (ecritical ทีวิกฤต) ทีทําให้ concrete crushing q = qmax Ref: AISC Design Guide 1, “Base Plate and
Anchor Rod Design,” 2nd edition

24

by We Love Steel Construction 12


Base plate design March 24, 2023

Base plate with small moment


#WeLoveSteelConstruction

• จาก e = N/2 – Y/2 ณ จุด e = ecritical จะได้


Y = N – 2e = N – 2*[N/2 – Pr/2qmax] จัด
รูป จะได้ Y = Pr/qmax โดย qmax = fp,max*B,
fp,max = 0.85fc’√(A2/A1) ซึงเปนค่า
pressure สู งสุดที concrete footing จะ
รับได้โดยไม่เกิดการวิบตั ิ (compression)
และ B เปนด้านลึกของ base plate

• สําหรับ stress ทิเกิดขึนด้านใต้ base


plate: fp = Pr/YB = Pr/[B*(N – 2e)] โดย
หาก m เปน “ระยะยืน” ตามแนวทางการ
พิ จารณาก่อนหน้า จะได้ว่า moment ทีเกิด
จาก fp มีค่าเท่ากับ Mpl = fp*m2/2 หากว่า
Y > m (ดังแสดงตามรูป) แต่หาก Y < m
แล้ว จะได้ว่า Mpl = fp*Y(m - Y/2) ค่า
ดังกล่าวนีนําพิ จารณาเทียบกับกําลังรับ
โมเมนต์ดัดที Mn = Fy.tp2/4 เพื อหาค่าความ
หนาของ base plate tp ทีเหมาะสม

Ref: AISC Design Guide 1, “Base Plate and Anchor Rod Design,” 2nd edition

25

Small-moment base plate Design Example


#WeLoveSteelConstruction

• ตัวอย่างนี ให้ออกแบบ base plate ทีรับ


แรงอัดจาก DL 100 kips และ LL 160 kips (1
kips ~ ครึงตัน) + โมเมนต์ MDL 250 k-in และ
MLL 400 k-in ของเสา W12x96 รอบ strong
axis โดย base plate ใช้ Fy 36 ksi (ประมาณ
SS400) และ fc’ concrete 4 ksi (280 ksc)

• Step 1: คํานวณหา แรงอัดและโมเมนต์ ตาม


หลักการ LRFD และ ASD ซึงแรงดังกล่าว
เรียกรวมๆ ว่า Required strength หรือ
กําลังทีต้องการให้ member สามารถรับได้

• Step 2: ประมาณขนาดของ base plate ตาม


หลักปฏิบัติทดี
ี ควรเผือระยะให้สามารถติดตัง
anchor rod โดยห่างออกจากขอบมุมของเสา
ประมาณ 3 เท่า anchor diameter (ประมาณ หาก e < ecrit สามารถสรุปได้ว่าเปน
1” หรือ เปนระยะ 3” ทัง 2 ด้าน) small moment

• Step 3: คํานวณหา ค่า e (จาก load) และ ecrit


(จาก load กําลังรับแรงอัดคอนกรีต fc’ และ Ref: AISC Design Guide 1, “Base Plate and Anchor Rod Design,” 2nd edition
dimension ของ base plate)

26

by We Love Steel Construction 13


Base plate design March 24, 2023

Small-moment base plate Design Example


#WeLoveSteelConstruction

• Step 4: คํานวณหา ระยะ Y ซึงเปน “ค่าประมาณ


uniform compression stress ทีเกิดระหว่าง
base plate กับ concrete footing” ซึงขึนกับ
load (P และ M อันส่ งผลถึง e = M/P)

• Step 5: ประมาณความหนาของ base plate


ซึงขึนกับ ระยะ Y (จาก Step 4) เทียบกับ “ระยะ
ยืน” ของ base plate ทียืนออกจากขอบเสา ซึง
ประมาณการจาก ค่า m ซึงพิ จารณาเทียบกับ
section depth หรือความลึกของหน้าตัดเสา
และค่า n ซึงพิ จารณาเทียบกับ flange width
หรือความกว้างของปกเสา (ค่ามาก control)

ทังนี สมการ 𝑡 = 1.5𝑚 𝑓 ⁄𝐹 มาจาก

Load: 𝑓 = 𝑃⁄𝑌 = 𝑃 ⁄𝑌
Y > m: 𝑤 = 𝑓 , 𝑀 = 𝑤𝑚 = 𝑓 𝑚
Resistance: 𝑀 = 𝑀 = 𝐹 𝑍 = 𝐹 . 𝑡
ดังนัน ∅𝑀 = 0.9 𝑡 = 𝑓𝑚 Ref: AISC Design Guide 1, “Base Plate and Anchor Rod Design,” 2nd edition

27

Small-moment base plate Design Example


#WeLoveSteelConstruction

• Step 6: คํานวณหา ขนาด anchor rod โดยจากทัง base plate ทีรับ axial only และ
axial + small moment จะพบว่า anchor rod ไม่มีผลต่อการรับแรงใดๆ (ไม่มีแรงเฉือน
และด้วยเปน small moment จึงไม่มีแรงดึง) ในทางปฏิบัติ มักกําหนดขนาด anchor
rod ทีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางไม่นอ
้ ยกว่า ¾” หรือราว 19 mm (M20)

• ดังนัน ขนาดของ anchor rod จะมีผลจาก (1) ขนาดของ base shear ทีถ่ายจากเสาลง
สู่ concrete foundation และ (2) ขนาดของ tension force กรณีอาคารเกิด uplift
และ (3) ขนาดของ tension force กรณีเสาถ่ายโมเมนต์ขนาดใหญ่ (large moment)

ยํา: เส้ นแบ่งระหว่าง large vs. small moment คือ จะเกิด tension กับ anchor หรือไม่

• กรณี Large moment เปนกรณีที eccentricity = e = Pr/Mr สูงมาก เกินกว่า ecrit


ส่ งผลทําให้ สมการคํานวณค่า Y ในกรณีของ Small moment ไม่ valid อีกต่อไป

• การหาค่า Y สําหรับ Large moment ซึงสะท้อน effective area ทีเกิด bearing


ระหว่าง base plate และ concrete foundation ยังหาด้วยหลัก Force และ Moment
equilibrium เช่นเดิม
Ref: AISC Design Guide 1, “Base Plate and
Anchor Rod Design,” 2nd edition

28

by We Love Steel Construction 14


Base plate design March 24, 2023

Small-moment base plate Design Example


#WeLoveSteelConstruction

• ตัวอย่าง ออกแบบ Base plate ทีรับแรงอัดจาก DL Step 1: พิ จารณา Gravity load combination
9 ตัน และ LL 12 ตัน โมเมนต์ MDL 2.0 ตัน-เมตร และ ASD: Total load = DL + LL
MLL 2.5 ตัน-เมตร ของเสา H 350x350x12x19 รอบ Total moment = MDL + MLL
strong axis โดย base plate ใช้ Fy 240 MPa LRFD: Total load = 1.2DL + 1.6LL
(SS400) และคอนกรีต fc’ concrete 280 ksc โดย
ตอม่อขนาดพอดีกบ ั Base plate Total moment = 1.2MDL + 1.6MLL

LRFD ASD
• Step 1: คํานวณหา แรงอัดและโมเมนต์ ตามหลักการ
LRFD และ ASD ซึงแรงดังกล่าว เรียกรวมๆ ว่า Pr (kg) 30,000 21,000
Required strength หรือ กําลังทีต้องการให้ Mr (kg-cm) 640,000 450,000
member สามารถรับได้

• Step 2: ประมาณขนาดของ base plate ตามหลัก


Step 2: กําหนดระยะศูนย์กลาง anchor bolt ให้ห่างจากขอบเสา และขอบ
ปฏิบต ั ิทดี
ี ควรเผือระยะให้สามารถติดตัง anchor
rod โดยห่างออกจากขอบมุมของเสา ประมาณ 3 Base plate 37.5 mm
เท่า anchor diameter (ประมาณ 1” หรือ เปนระยะ
3” ทัง 2 ด้าน) ดังนัน N = d + 2*(37.5*2) = 350 + 150 = 500 mm
B = bf + 2*(37.5*2) = 350 + 150 = 500 mm

ทดลองใช้ Base plate ขนาด 50 x 50 cm

29

Small-moment base plate Design Example


#WeLoveSteelConstruction

• ตัวอย่าง ออกแบบ Base plate ทีรับแรงอัดจาก DL Step 3: ค่าการเยืองศูนย์ e = eccentricity


9 ตัน และ LL 12 ตัน โมเมนต์ MDL 2.0 ตัน-เมตร และ e ทีเกิดขึน จาก axial load และ moment = M/P
MLL 2.5 ตัน-เมตร ของเสา H 350x350x12x19 รอบ ecritical = N/2 – P/2qmax (N = B = 50 cm)
strong axis โดย base plate ใช้ Fy 240 MPa fp (max) = uniform pressure ณ จุดทีคอนกรีตตอม่อวิบต ั ิ
(SS400) และคอนกรีต fc’ concrete 280 ksc โดย
ตอม่อขนาดพอดีกบ ั Base plate = φ 0.85fc’ * √(A2/A1) LRFD
= 0.85fc’/Ω * √(A2/A1) ASD
ตอม่อขนาดพอดีกบ ั Base plate จะได้ว่า √(A2/A1) = 1
• Step 3: คํานวณหา ค่า e (จาก load) และ ecrit (จาก
load กําลังรับแรงอัดคอนกรีต fc’ และ dimension LRFD ASD
ของ base plate) fp (max) 154.7 95.2
qmax 7735 4760 qmax = fp (max) * B
• Step 4: คํานวณหา ระยะ Y ซึงเปน “ค่าประมาณ e 21.33 21.43
uniform compression stress ทีเกิดระหว่าง base e ≤ ecritical
ecritical 23.06 22.79
plate กับ concrete footing” ซึงขึนกับ load (P Small moment
และ M อันส่งผลถึง e = M/P)
Step 4: Y = N – 2e, N = 50 cm และ T + Pr = qY ถ้า T = 0, q = Y/Pr
LRFD ASD
Y (cm) 7.33 7.14
q (kg/cm) 4091 2940 q ≤ qmax OK

30

by We Love Steel Construction 15


Base plate design March 24, 2023

Small-moment base plate Design Example


#WeLoveSteelConstruction

• ตัวอย่าง ออกแบบ Base plate ทีรับแรงอัดจาก DL Step 5: ระยะ cantilevered length


9 ตัน และ LL 12 ตัน โมเมนต์ MDL 2.0 ตัน-เมตร และ m = ½*(N – 0.95d) = ½*(50 – 0.95*35) = 8.375 cm
MLL 2.5 ตัน-เมตร ของเสา H 350x350x12x19 รอบ n = ½*(N – 0.8bf) = ½*(50 – 0.8*35) = 11 cm
strong axis โดย base plate ใช้ Fy 240 MPa
(SS400) และคอนกรีต fc’ concrete 280 ksc โดย
ตอม่อขนาดพอดีกบ ั Base plate Y ≥ m: LRFD ½*fp.m2 = φFy.Zx = φFy.¼*tp2
tp = √(2/φ)*m*√(fp /Fy) = 1.5m*√(fpu/Fy)
• Step 5: ประมาณความหนาของ base plate ซึง ASD tp = 1.83m*√(fp/Fy)
ขึนกับ ระยะ Y (จาก Step 4) เทียบกับ “ระยะยืน”
ของ base plate ทียืนออกจากขอบเสา ซึงประมาณ LRFD ASD
การจาก ค่า m ซึงพิ จารณาเทียบกับ section
fp 81.82 58.80 fp (max) = Pr/YB
depth หรือความลึกของหน้าตัดเสา และค่า n ซึง
พิ จารณาเทียบกับ flange width หรือความกว้าง tp (req ด้ าน m) 2.32 2.40
ของปกเสา (ค่ามาก control) ตรวจสอบด้าน
tp (req ด้ าน n) 3.05 3.15
n ด้วย (control)
• Step 6: คํานวณหา ขนาด anchor rod โดยจากทัง
base plate ทีรับ axial only และ axial + small
moment จะพบว่า anchor rod ไม่มีผลต่อการรับ
แรงใดๆ

31

Base plate with large moment


#WeLoveSteelConstruction

• เส้นแบ่ง ระหว่าง base plate ทีรับ small Bearing กดคอนกรีตตอม่อจนแตก


กับ large moment คือ การเกิดแรงถอน สมการ quadratic จะเปนจริง ก็ตอ
่ เมือ
ใน anchor rod (small ไม่เกิด large เกิด) ยิง moment เกิดมาก ยิงทําให้ระยะ Y ที
distribute pressure q ลดน้อยลง เกิด
• การพิ จารณา ทําได้โดยการตรวจสอบค่า bearing force, qY มากยิงขึน และส่งผล
การเยืองศูนย์ e = Mr/Pr ว่ามาก (large) ต่อ แรงดึง T ใน anchor rod มากขึน โดย
หรือ น้อยกว่า (small) ค่า e ทีจุดวิกฤต ต้องตรวจสอบ validity เมือออกแบบ
หรือ critical eccentricity, ec โดย
Sum (Force) = 0: T + Pr = qmaxY
ec = N/2 – Pr/2qmax
Sum (Moment) = 0:
• รูปแบบการวิบัติ หรือ Limit state ว่าจะมี qmaxY*[f + N/2 - Y/2] – Pr*(f + e) = 0
โอกาสเกิดการพั งวิบัติทบริ
ี เวณใดส่วนใด
ได้บ้าง ด้วยแรงมากน้อยเพี ยงใด รูปแบบที
ใช้แรงน้อยทีสุดทีทําให้เกิดการวิบต
ั ิ จะเปน จัดรูปสมการ quadratic หาระยะ Y
รูปแบบที control พฤติกรรมของ base
plate connection โดยรูปแบบต่าง ๆ เช่น
o Bearing กดคอนกรีตตอม่อแตก
o Anchor rod ถูกดึงขาด
o Base plate เกิดการดัดตัวจนคราก Ref: AISC Design Guide 1, “Base Plate and
Anchor Rod Design,” 2nd edition

32

by We Love Steel Construction 16


Base plate design March 24, 2023

Base plate with large moment


#WeLoveSteelConstruction

• เส้นแบ่ง ระหว่าง base plate ทีรับ small Bearing กดคอนกรีตตอม่อจนแตก


กับ large moment คือ การเกิดแรงถอน แทน e = N/2 – Pr/2qmax
ใน anchor rod (small ไม่เกิด large เกิด) ยิง moment เกิดมาก ยิงทําให้ระยะ Y ที และพิ จารณา negative
distribute pressure q ลดน้อยลง เกิด term จะได้
• การพิ จารณา ทําได้โดยการตรวจสอบค่า bearing force, qY มากยิงขึน และส่งผล
การเยืองศูนย์ e = Mr/Pr ว่ามาก (large) ต่อ แรงดึง T ใน anchor rod มากขึน โดย
หรือ น้อยกว่า (small) ค่า e ทีจุดวิกฤต Y = Pr/qmax
หรือ critical eccentricity, ec โดย
Sum (Force) = 0: T + Pr = qmaxY
ec = N/2 – Pr/2qmax Sum (Moment) = 0:
• รูปแบบการวิบัติ หรือ Limit state ว่าจะมี qmaxY*[f + N/2 - Y/2] – Pr*(f + e) = 0
โอกาสเกิดการพั งวิบัติทบริ
ี เวณใดส่วนใด
ได้บ้าง ด้วยแรงมากน้อยเพี ยงใด รูปแบบที
ใช้แรงน้อยทีสุดทีทําให้เกิดการวิบต
ั ิ จะเปน จัดรูป แก้สมการ หาระยะ Y ทีเกิด qmax จะได้
รูปแบบที control พฤติกรรมของ base
plate connection โดยรูปแบบต่าง ๆ เช่น
o Bearing กดคอนกรีตตอม่อแตก
o Anchor rod ถูกดึงขาด
o Base plate เกิดการดัดตัวจนคราก Ref: AISC Design Guide 1, “Base Plate and
Anchor Rod Design,” 2nd edition

33

Base plate with large moment


#WeLoveSteelConstruction

• Base plate เกิดการดัดตัวจนครากด้านทีกด


สมการ 3.3.14a - 3.3.15b ซึงเปนการพิ จารณา
base plate with small moment จะได้รูป Bearing กดคอนกรีต
สมการเดียวกัน แต่เปลียนจาก fp เปน fp (max) ตอม่อจนแตก
ซึงเปนกําลังรับแรงอัดสู งสุ ดทีคอนกรีตตอม่อ
สามารถรับได้ จะได้ความหนาทีต้องการดังนี Y = Pr/qmax

Ref: AISC Design Guide 1, “Base Plate and Anchor Rod Design,” 2nd edition

34

by We Love Steel Construction 17


Base plate design March 24, 2023

Base plate with large moment


#WeLoveSteelConstruction

• Base plate เกิดการดัดจนครากด้านทีถูกดึง


โดย anchor rod จะได้โมเมนต์ทเกิ ี ดที base
plate ทังนี x = f – d/2 – tf/2 (d = depth) Base plate เกิดการดัดจนครากด้านทีกด Bearing กดคอนกรีต
ตอม่อจนแตก

Y = Pr/qmax

แก้สมการ จะหาความหนา base plate โดยไม่


เกิดการ yield (โมเมนต์ดัด) ด้านทีถูกดึงดังนี
m

Ref: AISC Design Guide 1, “Base Plate and Anchor Rod Design,” 2nd edition

35

Base plate with large moment


#WeLoveSteelConstruction

• Design Process

1. หา Pr และ Mr Base plate เกิดการดัดจนครากด้านทีกด Bearing กดคอนกรีต


ตอม่อจนแตก
2. สมมติขนาด base plate N x B
3. หาค่าการเยือง e = Mr / Pr Y = Pr/qmax
4. หาระยะ Y และ T = qmaxY – Pr
5. หาความหนา base plate, tp (req)
6. หาขนาด anchor bolt
m
Base plate เกิดการดัดจนครากด้านทีถูกดึง

Ref: AISC Design Guide 1, “Base Plate and Anchor Rod Design,” 2nd edition

36

by We Love Steel Construction 18


Base plate design March 24, 2023

Large-moment base plate Design Example


#WeLoveSteelConstruction

• Design Process

1. หา Pr และ Mr
2. สมมติขนาด base plate N x B
3. หาค่าการเยือง e = Mr / Pr
4. หาระยะ Y และ T = qmaxY – Pr
5. หาความหนา base plate, tp (req)
6. หาขนาด anchor bolt

• ตัวอย่าง ออกแบบ base plate ทีรับแรงอัด


จาก DL 100 kips และ LL 160 kips (1 kips ~
ครึงตัน) + โมเมนต์ MDL 1,000 k-in และ MLL
1,500 k-in ของเสา W12x96 รอบ strong
axis โดย base plate ใช้ Fy 36 ksi (ประมาณ
SS400) และ fc’ concrete 4 ksi (280 ksc)

Ref: AISC Design Guide 1, “Base Plate


and Anchor Rod Design,” 2nd edition

37

Large-moment base plate Design Example


#WeLoveSteelConstruction

• Design Process

1. หา Pr และ Mr
2. สมมติขนาด base plate N x B
3. หาค่าการเยือง e = Mr / Pr
4. หาระยะ Y และ T = qmaxY – Pr
5. หาความหนา base plate, tp (req)
6. หาขนาด anchor bolt

• ตัวอย่าง ออกแบบ base plate ทีรับแรงอัด


จาก DL 100 kips และ LL 160 kips (1 kips ~
ครึงตัน) + โมเมนต์ MDL 1,000 k-in และ MLL
1,500 k-in ของเสา W12x96 รอบ strong
axis โดย base plate ใช้ Fy 36 ksi (ประมาณ
SS400) และ fc’ concrete 4 ksi (280 ksc)

Ref: AISC Design Guide 1, “Base Plate


and Anchor Rod Design,” 2nd edition

38

by We Love Steel Construction 19


Base plate design March 24, 2023

Large-moment base plate Design Example


#WeLoveSteelConstruction

• Design Process

1. หา Pr และ Mr
2. สมมติขนาด base plate N x B
3. หาค่าการเยือง e = Mr / Pr
4. หาระยะ Y และ T = qmaxY – Pr
5. หาความหนา base plate, tp (req)
6. หาขนาด anchor bolt

• ตัวอย่าง ออกแบบ base plate ทีรับแรงอัด


จาก DL 100 kips และ LL 160 kips (1 kips ~
ครึงตัน) + โมเมนต์ MDL 1,000 k-in และ MLL
1,500 k-in ของเสา W12x96 รอบ strong
axis โดย base plate ใช้ Fy 36 ksi (ประมาณ
SS400) และ fc’ concrete 4 ksi (280 ksc)

Ref: AISC Design Guide 1, “Base Plate


and Anchor Rod Design,” 2nd edition

39

Large-moment base plate Design Example


#WeLoveSteelConstruction

• Design Process

1. หา Pr และ Mr
2. สมมติขนาด base plate N x B
3. หาค่าการเยือง e = Mr / Pr
4. หาระยะ Y และ T = qmaxY – Pr
5. หาความหนา base plate, tp (req)
6. หาขนาด anchor bolt

• ตัวอย่าง ออกแบบ base plate ทีรับแรงอัด


จาก DL 100 kips และ LL 160 kips (1 kips ~
ครึงตัน) + โมเมนต์ MDL 1,000 k-in และ MLL
1,500 k-in ของเสา W12x96 รอบ strong
axis โดย base plate ใช้ Fy 36 ksi (ประมาณ
SS400) และ fc’ concrete 4 ksi (280 ksc)

Ref: AISC Design Guide 1, “Base Plate


and Anchor Rod Design,” 2nd edition

40

by We Love Steel Construction 20


Base plate design March 24, 2023

Large-moment base plate Design Example


#WeLoveSteelConstruction

• Design Process Step 1: พิ จารณา Gravity load combination


ASD: Total load = DL + LL
1. หา Pr และ Mr Total moment = MDL + MLL
2. สมมติขนาด base plate N x B LRFD: Total load = 1.2DL + 1.6LL
3. หาค่าการเยือง e = Mr / Pr Total moment = 1.2MDL + 1.6MLL
4. หาระยะ Y และ T = qmaxY – Pr
LRFD ASD
5. หาความหนา base plate, tp (req)
Pr (kg) 30,000 21,000
6. หาขนาด anchor bolt
Mr (kg-cm) 6,400,000 4,500,000

• ตัวอย่าง ออกแบบ Base plate ทีรับแรงอัด


Step 2: กําหนดระยะศูนย์กลาง anchor bolt ให้ห่างจากขอบเสา และขอบ
จาก DL 9 ตัน และ LL 12 ตัน โมเมนต์ MDL 20
ตัน-เมตร และ MLL 25 ตัน-เมตร ของเสา H Base plate 37.5 mm
350x350x12x19 รอบ strong axis โดย base
plate ใช้ Fy 240 MPa (SS400) และคอนกรีต ดังนัน N = d + 2*(37.5*2) = 350 + 150 = 500 mm
fc’ concrete 280 ksc โดยตอม่อขนาดพอดี B = bf + 2*(37.5*2) = 350 + 150 = 500 mm
กับ Base plate
ทดลองใช้ Base plate ขนาด 50 x 50 cm

41

Large-moment base plate Design Example


#WeLoveSteelConstruction

• Design Process Step 3: ค่าการเยืองศูนย์ e = eccentricity


e ทีเกิดขึน จาก axial load และ moment = M/P
1. หา Pr และ Mr ecritical = N/2 – P/2qmax (N = B = 50 cm)
2. สมมติขนาด base plate N x B fp (max) = uniform pressure ณ จุดทีคอนกรีตตอม่อวิบต ั ิ
3. หาค่าการเยือง e = Mr / Pr = φ 0.85fc’ * √(A2/A1) LRFD
4. หาระยะ Y และ T = qmaxY – Pr = 0.85fc’/Ω * √(A2/A1) ASD
ตอม่อขนาดพอดีกบ ั Base plate จะได้ว่า √(A2/A1) = 1
5. หาความหนา base plate, tp (req)
6. หาขนาด anchor bolt LRFD ASD
fp (max) 154.7 95.2
qmax 7735 4760 qmax= fp (max) *B
• ตัวอย่าง ออกแบบ Base plate ทีรับแรงอด
จาก DL 90 ตัน และ LL 120 ตัน โมเมนต์ MDL e 213.33 214.29 e > ecritical
20 ตัน-เมตร และ MLL 25 ตัน-เมตร ของเสา H ecritical 23.06 22.79 Large moment
350x350x12x19 รอบ strong axis โดย base
plate ใช้ Fy 240 MPa (SS400) และคอนกรีต
LRFD ASD
fc’ concrete 280 ksc โดยตอม่อขนาดพอดี
กับ Base plate (f + N/2)2 2139 2139
ต้องตรวจสอบ validity เมือออกแบบ 2Pr*(e+f)/qmax 1820 2078

42

by We Love Steel Construction 21


Base plate design March 24, 2023

Large-moment base plate Design Example


#WeLoveSteelConstruction

• Design Process Step 4: Y = ระยะทีเกิด uniform pressure (q) กรณี small moment
(T = 0) Y = N – 2e แต่กรณี large moment หาได้จาก
1. หา Pr และ Mr การแก้สมการ quadratic equation (สมดุลของโมเมนต์)
2. สมมติขนาด base plate N x B
3. หาค่าการเยือง e = Mr / Pr
4. หาระยะ Y และ T = qmaxY – Pr
5. หาความหนา base plate, tp (req)
6. หาขนาด anchor bolt และจาก สมดุลของแรง T = Pr + qY จะได้

LRFD ASD
• ตัวอย่าง ออกแบบ Base plate ทีรับแรงอด
จาก DL 90 ตัน และ LL 120 ตัน โมเมนต์ MDL Ylarge moment 28.4 38 Y ≥ m = 8.375 cm
20 ตัน-เมตร และ MLL 25 ตัน-เมตร ของเสา H
T 189503 162032
350x350x12x19 รอบ strong axis โดย base
plate ใช้ Fy 240 MPa (SS400) และคอนกรีต
fc’ concrete 280 ksc โดยตอม่อขนาดพอดี
กับ Base plate m = ½*(N – 0.95d) = ½*(50 – 0.95*35) = 8.375 cm
n = ½*(N – 0.8bf) = ½*(50 – 0.8*35) = 11 cm

43

Large-moment base plate Design Example


#WeLoveSteelConstruction

• Design Process Step 5: ความหนา Base plate พิ จารณา plastic hinge ของ Base plate
ทีตําแหน่งขอบเสา โดยพิ จารณาทังด้าน m และ n ของบริเวณทีเกิด
1. หา Pr และ Mr แรงกด (bearing) และ บริเวณทีเกิดแรงดึงจาก anchor rod
2. สมมติขนาด base plate N x B
3. หาค่าการเยือง e = Mr / Pr บริเวณทีเกิดแรงกด (bearing interface)
4. หาระยะ Y และ T = qmaxY – Pr
Y ≥ m: LRFD ½*fp.m2 = φFy.Zx = φFy.¼*tp2
5. หาความหนา base plate, tp (req) tp = √(2/φ)*m*√(fp /Fy)
6. หาขนาด anchor bolt = 1.5m*√(fpu/Fy)
ASD tp = 1.83m*√(fp/Fy)

• ตัวอย่าง ออกแบบ Base plate ทีรับแรงอด


จาก DL 90 ตัน และ LL 120 ตัน โมเมนต์ MDL LRFD ASD
20 ตัน-เมตร และ MLL 25 ตัน-เมตร ของเสา H tp (req ด้ าน m) 3.19 3.05
350x350x12x19 รอบ strong axis โดย base
plate ใช้ Fy 240 MPa (SS400) และคอนกรีต tp (req ด้ าน n) 4.19 4.01
fc’ concrete 280 ksc โดยตอม่อขนาดพอดี
กับ Base plate

44

by We Love Steel Construction 22


Base plate design March 24, 2023

Large-moment base plate Design Example


#WeLoveSteelConstruction

• Design Process Step 5: ความหนา Base plate พิ จารณา plastic hinge ของ Base plate
ทีตําแหน่งขอบเสา โดยพิ จารณาทังด้าน m และ n ของบริเวณทีเกิด
1. หา Pr และ Mr แรงกด (bearing) และ บริเวณทีเกิดแรงดึงจาก anchor rod
2. สมมติขนาด base plate N x B
3. หาค่าการเยือง e = Mr / Pr บริเวณทีเกิดแรงดึง (tension interface), x = f – d/2 + tf/2
4. หาระยะ Y และ T = qmaxY – Pr
LRFD Tu.x = φFy.Zx = φFy.¼*B*tp2
5. หาความหนา base plate, tp (req) tp = √(4/φ)*√(Tu.x/BFy)
6. หาขนาด anchor bolt = 2.11*√(Tu.x/BFy)
ASD tp = 2.58*√(Ta.x/BFy)

• ตัวอย่าง ออกแบบ Base plate ทีรับแรงอด


จาก DL 90 ตัน และ LL 120 ตัน โมเมนต์ MDL LRFD ASD
20 ตัน-เมตร และ MLL 25 ตัน-เมตร ของเสา H tp (req at tension) 5.75 6.50
350x350x12x19 รอบ strong axis โดย base
plate ใช้ Fy 240 MPa (SS400) และคอนกรีต
fc’ concrete 280 ksc โดยตอม่อขนาดพอดี
กับ Base plate

45

การคํานวณขนาด
เสาท่อเหล็ก และ
base plate
สําหรับอาคาร
#WeLoveSteelConstruction

46

by We Love Steel Construction 23


Base plate design March 24, 2023

สมมติฐานการคํานวณ
#WeLoveSteelConstruction

• สมมติพิจารณา interior column


• ไม่พิจารณา lateral load กับ column
(lateral load เข้า lateral system)
• คํานวณเฉพาะ เสาชันล่าง สูง 4 เมตร ไม่มี
bracing ใดๆ (สมมติ K = 1)
• Span ระยะห่างระหว่างเสา 6 เมตร
• อาคาร 3 ชัน (รวมถึงชันหลังคา)
LL = 300 kg/m2, DL = 500 kg/m2
• ทังเสาเหล็กและ base plate ใช้ HY370
(Fy = 3,700 ksc)

47

คํานวณหาแรงอัดในเสา (รับพื นชัน 2)


#WeLoveSteelConstruction

• Span 6 m & LL 300, DL 500 kg/m2


• นําหนักต่อชัน
• DL = 500 kg/m2 * (6*6 m2) / 1000 = 18.0 T
• LL = 300 kg/m2 * (6*6 m2) / 1000 = 10.8 T

• Service load level (3 ชัน)


• DL = 18.0*3 = 54 T, LL = 10.8*3 = 32.4 T
• TL = 86.4 T

• Ultimate (Factored) load level (3 ชัน)


• 1.2DL = (1.2) 54 = 65 T, 1.6LL = (1.6) 32.4 = 52 T
• Pu = 1.2DL + 1.6LL = 117 T

48

by We Love Steel Construction 24


Base plate design March 24, 2023

คํานวณกําลังรับแรงอัดเสา (รับพื นชัน 2)


#WeLoveSteelConstruction

• สมมติเสา HSS (Hollow Steel Section ท่อ)


อ้างอิง มอก. 107 ตาม JIS G 3466
• Try: HSS 200x200x6, r = 7.88 cm, A = 45.63 cm2
• KL/r = (1) 400/7.88 = 50.76
4.71*√(E/Fy) = 109.5 > KL/r … inelastic buckling

• Fe = π2E/(KL/r)2 = 7,661 ksc


• Fcr = 0.658(Fy/Fe) *Fy = 3,023 ksc
• Pcr = Fcr.A = 137,929 ksc = 138 T
• ØPcr = 0.9(138) = 124 T > Pu = 117 T

49

คํานวณกําลังรับแรง base plate P


#WeLoveSteelConstruction

d = 20 cm
• สมมติตอม่อรับ base plate มีขนาดใหญ่ กําลังรับ
แรงมาก (ไม่ตรวจสอบ)
• Try: base plate 32 cm x 32 cm
• l = (32 – 0.95*20)/2 = 6.5 cm
N – 0.95d
• tp = l √[2Pu/(ØFyBN)]
l=
2

= (6.5) √[2(117)/(0.9*3.7*32*32)]
tp
= 1.7 cm … เลือกใช้ 1.8 cm
• base plate HY370 ขนาด 32x32x1.8 cm
N = 32 cm

50

by We Love Steel Construction 25


Base plate design March 24, 2023

#WeLoveSteelConstruction

51

5
2 Design Charts and Tools

เลือกประเภทของ เลือกประเภทของ ใส่ค่า เกรดเหล็กและ รอประมวลผล ได้กําลังของ **สําหรับท่านทีชําระ


member ทีต้องการ หน้าตัด ขนาดของหน้าตัด member เงินจะสามารถกด Full
คํานวณ Report เพื อดู/บันทึก
ค่าทีได้จากการคํานวณ

1 2 3 4
ทังหมด

Adobe Acrobat Adobe Acrobat


Document Document

Full Report Manual

52

by We Love Steel Construction 26


Base plate design March 24, 2023

5
2 Design Charts and Tools

หมายเหตุ SSI Steel Design Mobile Application จะคํานวณอยู่บนพื นฐานทีเสาเหล็ก เปนหน้าตัดทีเชือมประกอบจากเหล็กแผ่นทีตัดเปนแถบ


เข้าด้วยกัน หรือ built-up section โดยจะแตกต่างจาก มอก. 107 โดยเหล็กรูปพรรณกลวงตาม มอก. 107 จะผลิตจากเหล็กรีดร้อนชนิดม้วนทีตัด
เปนแถบ (slitted hot-rolled coil) มารีดเข้าม้วนแล้วเชือมด้วยการอาร์คไฟฟา ทําให้ขอบมุมของเหล็กรูปพรรณกลวงตาม มอก. 107 มีความโค้ง
มน ซึงทําให้ พื นทีหน้าตัด Ag และค่าโมเมนต์ความเฉือย I แตกต่างจาก โดยส่งผลต่อเนืองไปยังค่า axial strength, Pn ของเสา

SSI Steel Design application: Built-up section

tw พืนทีหน้าตัด, Ag โมเมนต์ความเฉือย, I Axial Strength, Pn

21.69 มม2 525.64 มม4 45.1 ตัน

125mmx125mm 4.5mm

มอก.: Rolled section

tw พืนทีหน้าตัด, Ag โมเมนต์ความเฉือย, I Axial Strength, Pn


r = 2tw
21.17 มม2 505.83 มม4 41.9 ตัน
r

125mmx125mm 4.5mm

53

2 Design of Base Plate under Axial Compression

Actual
Stress Field

54

by We Love Steel Construction 27


Base plate design March 24, 2023

2 Design of Base Plate under Axial Compression

P
Check concrete bearing strength (0.85fc’)

𝑨𝟐
∅ 𝑃 = ∅ (𝟎. 𝟖𝟓𝒇𝒄 )𝐴 ≤ ∅ 𝟏. 𝟕𝒇𝒄 𝐴
𝑨𝟏

𝑨𝟐
มากสุ ด 2 … หรือ
𝑨𝟏
A1

𝑨𝟐
มากสุ ด 4 … หรือ
𝑨𝟏
2N 1
1
N พืนที concrete รับแรง ไปแต่ละ A2

ด้านมากสุ ด 2N และ 2B
A1
2B

A2

55

2 Design of Base Plate under Axial Compression

P
Calculate base plate thickness
d

Uniform load ใต้ base plate = Pu/BN

Moment จาก Uniform load = ½ * (Pu/BN) * l2

Moment capacity ของ base plate = f Fy.Zx


N – 0.95d
l=
โดยที f = 0.9 และ Zx= ¼ tp2 2

N
tp

2𝑃
จะได้ 𝐭 𝐩 = 𝑙
A1 ∅𝐹 𝐵𝑁
B

56

by We Love Steel Construction 28


Base plate design March 24, 2023

Inverted Thinking of Simple Innovation

57

3 Inverted Thinking of Simple Innovation

1
1

1
1

58

by We Love Steel Construction 29


Base plate design March 24, 2023

3 Inverted Thinking of Simple Innovation

Downsides …
• Field installation & adjustment?
• Concrete crushing under upper columns?
• Aesthetic & space on the floor?

1 1
1 1

59

3 Inverted Thinking of Simple Innovation

แรงทีถ่ายลง column จาก upper floor


ถ่ายเข้าสู่ lower column โดยตรง

Column
spacing

Tributary Area ของ


แรงจาก floor plate
1
1
ทีถ่ายลง lower
column

Check
Punching Shear

PART FLOOR PLAN

60

by We Love Steel Construction 30


Base plate design March 24, 2023

3 Inverted Thinking of Simple Innovationk

แรงทีถ่ายลง column จาก upper floor


ถ่ายเข้าสู่ lower column โดยตรง Ideal Load Path
1. Column load จาก Upper column ถ่ายเข้า Cap plate
(bearing) ไปยัง Lower column
2. Floor plate ถ่ายแรงเข้าสู่ Column โดย

2.1 Cap plate (bending)


1 2.2 Bolt รับแรงดึงจาก Cap plate
1
2.3 Horizonal plate ของ Triangular bracket รับแรง
จาก Bolt
2.4 Horizonal plate ถ่ายแรงสู่ Triangular bracket
2.5 Triangular bracket ถ่ายแรงในแนวดิงสู่ Upper
Check column ผ่าน weld
Punching Shear
2.6 Triangular bracket ถ่ายแรงในแนวนอนสู่ Upper
column เข้า diaphragm plate ทีอยู่ด้านใน upper
column

61

3 Inverted Thinking of Simple Innovation

แรงทีถ่ายลง column จาก upper floor


ถ่ายเข้าสู่ lower column โดยตรง Ideal Load Path
1. Column load จาก Upper column ถ่ายเข้า Cap plate
(bearing) ไปยัง Lower column
2. Floor plate ถ่ายแรงเข้าสู่ Column โดย
2.1 Cap plate (bending)
1 2.2 Bolt รับแรงดึงจาก Cap plate
1
2.3 Horizonal plate ของ Triangular bracket รับแรง
จาก Bolt
2.4 Horizonal plate ถ่ายแรงสู่ Triangular bracket
2.5 Triangular bracket ถ่ายแรงในแนวดิงสู่ Upper
Check column ผ่าน weld
Punching Shear
2.6 Triangular bracket ถ่ายแรงในแนวนอนสู่ Upper
column เข้า diaphragm plate

62

by We Love Steel Construction 31


Base plate design March 24, 2023

3 Inverted Thinking of Simple Innovation

Column
spacing

Let’s run simple parametric study to find


cap plate thickness (tp) Tributary Area ของ
แรงจาก floor plate
Fy = 370 MPa (3,700 ksc)
DL = 400 kg/m2 LL = 300 kg/m2
Column & cap plate are square.
Cap plate width is 60 cm x 60 cm. ทีถ่ายลง lower
column

Min Cap Plate Thickness (tp), cm


Column 250 x 250 275 x 275 300 x 300
7 m spacing 1.61 1.50 1.40
8 m spacing 1.84 1.71 1.59
9 m spacing 2.06 1.93 1.79 PART FLOOR PLAN
10 m spacing 2.29 2.14 1.99

63

3 Inverted Thinking of Simple Innovation

แรงทีถ่ายลง column จาก upper floor Let’s run simple parametric study to find punching shear capacity
ถ่ายเข้าสู่ lower column โดยตรง (without shear reinforcement)

fc’ = 300 ksc


DL = 400 kg/m2 LL = 300 kg/m2
Column & cap plate are square.
Cap plate width is 60 cm x 60 cm, hence b0 = 4(cap plate width + d).

Allowable Punching Shear Capacity, Tons


Depth, d fc’ 300 ksc fc’ 360 ksc fc’ 420 ksc
1 20 cm
d

72.1 79.0 85.3


1 22 cm 82.7 90.6 97.8
24 cm 93.7 102.6 110.9
26 cm 105.1 115.2 124.4

Check Min Cap Plate Thickness (tp), cm


Punching Shear Column 250 x 250 275 x 275 300 x 300

𝐕𝐜 = 𝟏. 𝟎𝟔 𝐟𝐜′(𝐤𝐬𝐜)𝐛𝟎 𝐝 Column out of plumb & out 7 m spacing 1.61 1.50 1.40
of straightness are taken
∅𝐯 = 𝟎. 𝟕𝟓 care by bolts and angle 8 m spacing 1.84 1.71 1.59
𝛀 = 𝟐. 𝟎 stiffeners.
9 m spacing 2.06 1.93 1.79
10 m spacing 2.29 2.14 1.99

64

by We Love Steel Construction 32


Base plate design March 24, 2023

3 Inverted Thinking of Simple Innovation

Reference

https://www.facebook.com/wel
ovesteelconstruction/posts/146
6183840434506

https://www.facebook.com/wel
ovesteelconstruction/posts/146
6239463762277

65

66

by We Love Steel Construction 33


Base plate design March 24, 2023

WHAT IS
?
PostConnex คือเสาท่อเหล็กทีรับแรงในแนวดิง
ซึงมาพร้อมระบบจุดต่อระหว่างเสาทีช่วยรองรับ
ระบบพื นคอนกรีตอัดแรงหรือ พื นคอนกรีตเสริม
เหล็กไร้คาน
เสาท่อเหล็กผลิตจาก ท่อเหล็กกล้าคาร์บอน
มอก.107

67

ชัน 2
จุดต่อตัวผู้

จุดต่อตัวเมีย
X2 =
ชัน 1

เสาเหล็กระบบจุดต่อ PostConnex จะประกอบด้วยจุด


ต่อทีบริเวณส่วนหัวและส่ วนโคนของเสา เพื อให้สามารถ
ประกอบติดตังได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว

68

by We Love Steel Construction 34


Base plate design March 24, 2023

ส่วนประกอปที 1
อุปกรณ์ยึดโคนเสา - ใช้สําหรับเพิ มความมันคง และ
ความสามารถในการปรับระดับในขันตอนของการ
ก่อสร้าง

ส่วนประกอปที 2
รูเจาะร้อยเหล็กเสริม- สําหรับการร้อยเหล็กเสริมผ่าน
ตัวเสาเพื อให้เกิดความต่อเนืองของแผ่นพื นบริเวณ
จุดต่อ

ส่วนประกอปที 3
แผ่นเหล็กปดหัวเสา - เพิ มความสามารถในการรับ
แรงเฉือนทะลุให้กับระบบจุดต่อ

ส่วนประกอปที 4
สลักรับแรงเฉือนและนอตปรับระดับ - ใช้สําหรับการ
ปรับระดับของเสาต้นบนและสําหรับการยึดเสาต้นเข้า
กับเสาต้นล่าง

ส่วนประกอปที 5
ชุดอุปกรณ์นําร่อง - ใช้สําหรับนําร่องในขันตอนการ
วางเสาเหล็กเพื อประกอบติดตัง

69

ขันตอนที 1
ขันตอนที 3
ประกอบเสาเหล็กระบบจุดต่อ PostConnexต้นบนและล่าง
เข้าด้วยกัน โดยวางช่องเปดของเสาต้นบนคลอบชุด เสริมความแข็งแรงให้กับแผ่นพื นบริเวณจุดต่อร้อยเหล็ก
อุปกรณ์นําร่องของเสาต้นล่างโดยให้รเู จาะของชุดอุปกรณ์ แท่งผ่านรูเจาะแบบร่องยาวของ PostConnex เพื อทําให้
ยึดโคนเสาสวมเข้ากับสลักรับแรงเฉือนและวางอยู่บนนอต เกิดความต่อเนืองของแผ่นพื นคอนกรีตบริเวณจุดต่อเพื อ
ปรับระดับ เสริมกําลังและเพื อปองกันการแตกร้าวของแผ่นพื น
บริเวณจุดต่อ

ขันตอนที 2

ปรับระดับและความตําแหน่งของเสาต้นบนและทําการ
ยึดแน่นขันนอตสําหรับปรับระดับเพื อปรับระดับและ
ความดิงของเสาต้นบน จากนันทําการยึดแน่นเสาต้น
บนเข้ากับเสาต้นล่างด้วยการขันนอตเข้ากับปลาย
ด้านบนของสลักรับแรงเฉือนเหนืออุปกรณ์ยึดโคนเสา

70

by We Love Steel Construction 35


Base plate design March 24, 2023

LABORATORY TEST

71

PUNSHING SHEAR
LIMIT STATES
1. Flexural strength of RC/PT slabs
2. Punching shear strength
3. Bearing strength of concrete
4. Flexural strength of cap plates
5. Tensile strength of bolts
6. Stiffeners (Brackets)
7. Steel column

72

by We Love Steel Construction 36


Base plate design March 24, 2023

CRITICAL SECTIONS

73

PUNCHING SHEAR
STRENGTH
With Shear Reinforcement
Without Reinforcement Failure Inside Reinforcement Area
Failure Outside Reinforcement Area
(When enough reinforcement is applied)

𝑣 =𝑣 𝑣 =𝑣 +𝑣 𝑣 = 0.167𝑏𝑑 𝑓𝑐′
Perimeter of the critical section d/2 from the
Total Shear Capacity outermost perimeter of shear reinforcement
Total Shear Capacity
Shear capacity provided by concrete
Provided by
𝑣 = 0.25𝑏 𝑑 𝑓′
𝑣 = 0.33𝑏 𝑑 𝑓′ (MPa) concrete
Provided by shear reinforcement
𝛼 𝑑
𝑣 = 0.083 + 2 𝑏 𝑑 𝑓′
𝑏 𝐴 𝑓 𝑑
𝐴 𝑓 𝑑 𝑣 =β
2 𝑣 = 𝑠
𝑣 = 0.167 1 + 𝑏 𝑑 𝑓′ 𝑠 Binici (2003)
𝛽
For Steel For FRP

74

by We Love Steel Construction 37


Base plate design March 24, 2023

Yield-Line Theory

The punching shear strength


and the flexural strength of
slab-column connections
cannot be viewed separately,
since the flexural resistance
has a significant influence on
the punching strength of the
connection.

75

SPECIMEN DETAILS

76

by We Love Steel Construction 38


Base plate design March 24, 2023

EXPERIMENTAL SETUP
• Circular boundary condition

8
𝑃 =𝑚 + 2𝜋
𝐿
𝑐 –1
𝑓
𝑚 = 𝜌𝑑 𝑓 1 − 0.59𝜌
𝑓′

High strength bars


 𝑃 = Flexural capacity
PostConnex
 L = Length of supported slab
 c = Loading plate side length
 𝜌 = Flexural reinforcement ratio

77

EXPERIMENTAL SETUP

78

by We Love Steel Construction 39


Base plate design March 24, 2023

TEST CASE

1. Cap Plate 320 x


320 mm
Cap Plate Grade
HY370
Without shear
headed studs

2. Cap Plate 320 x


320 mm
Cap Plate Grade
SS400
Without shear
headed studs

3. Cap Plate 320 x


320 mm
Cap Plate Grade
HY370
With shear headed
studs

79

80

by We Love Steel Construction 40


Base plate design March 24, 2023

TEST RESULT
1200

1000

800
With shear studs
Applied Load (kN)

600

ACI318
400

200

Failure criterion
0
0 0.01 0.02 0.03 0.04 0.05 0.06 0.07 0.08
Rotation ()

No2_1
1.1 No3_1
3.1 No7_1
2.1 No2_2
1.2 No7_2
2.2 3.2
No3_2

81

1. Cap Plate 320 x


320 mm
Cap Plate Grade
HY370
Without shear
headed studs

82

by We Love Steel Construction 41


Base plate design March 24, 2023

2. Cap Plate 320 x


320 mm
Cap Plate Grade
SS400
Without shear
headed studs

83

3. Cap Plate 320 x


320 mm
Cap Plate Grade
HY370
Without shear
headed studs

84

by We Love Steel Construction 42


Base plate design March 24, 2023

3. Cap Plate 320 x


320 mm
Cap Plate Grade
HY370
Without shear
headed studs

85

ข้อสรุปที 1.
A use of PostConnex connections in buildings
is structurally possible.

ข้อสรุปที 2.
The connections for PostConnex exhibited
comparable punching shear strengths and
failure modes with the same critical section
perimeters as compared to the conventional
RC slab-column connections .

ข้อสรุปที 3.
According to the failure criterion available in
the literatures, the punching strength of the
PostConnex connections is in line with the
critical shear crack in the slab.

ข้อสรุปที 4.
Installing shear headed studs in the concrete
slab is an effective mean to improve
punching shear strength around the column
perimeters.

86

by We Love Steel Construction 43


Base plate design March 24, 2023

ผนังเรียบไร้รอยเสา

• ให้พืนทีทีมากขึน
• จัดวางเฟอร์นิเจอร์ง่าย
• ให้ความรู้สึกปลอดโปร่ง

87

อัตราส่วนต้นทุนราคางานก่อสร้าง
งานก่อสร้าง
งานโครงสร้าง 33%
งาน
งานระบบ โครงสร้างเหนือฐานราก 26.4%
สถาปตยกรรม ฐานราก
33% เสา
33% 6.6% คาน/พื น 18.48%
7.92%

88

by We Love Steel Construction 44


Base plate design March 24, 2023

เปรียบเทียบราคาสุทธิจากการใช้เสาเหล็กในการก่อสร้าง

เสาคอนกรีต เสาเหล็ก ราคา พื นที ที อัตราราคา


กําไรสุ ทธิ
ขนาด ราคาต่อต้น พื นที ขนาด ความหนา ราคาต่อต้น พื นที ทีเพิ มขึน ประหยัดได้ ต่อพื นที
(บาท/ต้น)
(ซม. x ซม.) (บาท/ต้น) (ตรม.) (มม. x มม.) (ซม.) (บาท/ต้น) (ตรม.) (บาท/ต้น) (ตรม./ต้น) (บาท/ตรม.)

30 x 30 1,800 0.09 125 x 125 0.9 4,500 0.02 2,700 0.07 100,000 4,300
40 x 40 3,200 0.16 200 X 200 0.9 7,600 0.04 4,200 0.10 100,000 6,700
50 x 50 4,900 0.25 250 X 250 0.9 9,500 0.06 4,600 0.19 100,000 14,400
55 x 55 6,000 0.30 300 x 300 0.9 11,500 0.09 5,500 0.21 100,000 15,500

หมายเหตุ: ราคาต่อหน่วยปริมาตรของคอนกรีต 6000 บาท/ลูกบาศก์เมตร


ราคาต่อหน่วยนําหนักของเหล็ก 50 บาท/กิโลกรัม
กําไรสุทธิ คือ กําไรทีได้เพิ มมาจากการใช้เสาเหล็ก

89

เปรียบเทียบราคาสุทธิจากการใช้เสาเหล็กในการก่อสร้าง

เสาคอนกรีต เสาเหล็ก ราคา พื นที ที อัตราราคา


กําไรสุทธิ
ขนาด ราคาต่อต้น พื นที ขนาด ความหนา ราคาต่อต้น พื นที ทีเพิ มขึน ประหยัดได้ ต่อพื นที
(บาท/ต้น)
(ซม. x ซม.) (บาท/ต้น) (ตร.ม.)
(ตรม.) (มม.
(ซม. x มม.)
ซม.) (ซม.) (บาท/ต้น) (ตร.ม.)
(ตรม.) (บาท/ต้น) (ตร.ม./ต้
(ตรม./ต้นน)) (บาท/ตร.ม.)
(บาท/ตรม.)

30 x 30 1,800 0.09 125 x 125 0.9 4,500 0.02 2,700 0.07 70,000
100,000 2,200
4,300
40 x 40 3,200 0.16 200 X 200 0.9 7,600 0.04 4,200 0.10 70,000
100,000 2,600
6,700
50 x 50 4,900 0.25 250 X 250 0.9 9,500 0.06 4,600 0.19 70,000
100,000 14,400
8,700
55 x 55 6,000 0.30 300 x 300 0.9 11,500 0.09 5,500 0.21 70,000
100,000 15,500
9,200

หมายเหตุ: ราคาต่อหน่วยปริมาตรของคอนกรีต 6000 บาท/ลูกบาศก์เมตร


ราคาต่อหน่วยนําหนักของเหล็ก 50 บาท/กิโลกรัม
กําไรสุทธิ คือ กําไรทีได้เพิ มมาจากการใช้เสาเหล็ก

90

by We Love Steel Construction 45


Base plate design March 24, 2023

91

Hollow Steel Sections for Gravity Columns that Support


Concrete Post-Tensioned or Concrete Flat Slab, facilitating
more rentable spaces and faster & higher quality construction

PCT Approval
Ensuring world-class
(1) Novelty
(2) Inventive Step
(3) Industrial Applicability

92

by We Love Steel Construction 46


Base plate design March 24, 2023

Hollow Steel Sections for Gravity Columns that Support


Concrete Post-Tensioned or Concrete Flat Slab, facilitating
more rentable spaces and faster & higher quality construction

โครงการนําร่อง
Pilot project

Proposal 1
Free Design ออกแบบให้ฟรี
พร้อมรายการคํานวณและลงนามกํากับ

93

Hollow Steel Sections for Gravity Columns that Support


Concrete Post-Tensioned or Concrete Flat Slab, facilitating
more rentable spaces and faster & higher quality construction

โครงการนําร่อง
Pilot project

Proposal 2
Subsidization program*
ค่าก่อสร้างไม่เกินเสาคอนกรีต*

94

by We Love Steel Construction 47


Base plate design March 24, 2023

Hollow Steel Sections for Gravity Columns that Support


Concrete Post-Tensioned or Concrete Flat Slab, facilitating
more rentable spaces and faster & higher quality construction

โครงการนําร่อง
Pilot project

Proposal 3
Free Publicity
ประชาสัมพั นธ์ผ่านสือของ WLSC ให้ฟรี

95

Be friend with us via …


LINE ID WeLoveSteelConstruction: @060tlizi

https://www.facebook.com/WeLoveSteelConstruction

https://www.youtube.com/c/WeLoveSteelConstruction

https://construction-forum.ssi-steel.com/

iOS: https://apps.apple.com/th/app/ssi-steel-design/id1474838160
Android:
https://play.google.com/store/apps/details?id=com.ssibdt.ssisteeldesign&hl=en&gl=US

96

by We Love Steel Construction 48

You might also like