You are on page 1of 7

การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแหงชาติครั้งที่ ๑๒ โรงแรมอมรินทรลากูน จ.

พิษณุโลก 2-4 พฤษภาคม 2550

การทดสอบเพื่อศึกษาพฤติกรรมทางกลของรอยตอของคานคอนกรีตสําเร็จรูป
EXPERIMENTAL STUDY ON MECHANICAL BEHAVIORS OF
PRECAST CONCRETE BEAM JOINTS

จักษดา ธํารงวุฒิ (Jaksada Thumrongvut)1


กรรณ คําลือ (Kan Kumlue)2
สิทธิชัย แสงอาทิตย (Sittichai Seangatith)3
วินัย มณีรัตน (Vinai Maneerat)4

1
นักศึกษาปริญญาเอก สาขาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี : jaksada@yahoo.com
2
นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี : kankumlue@hotmail.com
3
รองศาสตราจารย สาขาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี : sitichai@sut.ac.th
4
วิศวกรโยธา บริษัท ยงสวัสดิ์คอนสตรัคชั่น โปรดักส จํากัด : m.vinai@yongsawad.co.th

บทคัดยอ : งานวิจัยนี้เปนสวนหนึ่งของโครงการพัฒนาคานคอนกรีตสําเร็จรูป โดยมีวัตถุประสงคหลักเพื่อศึกษาพฤติกรรมการรับแรง


และลักษณะการวิบัติของรอยตอของคานคอนกรีตอัดแรงบางสวนสําเร็จรูปและของคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูป และนํากําลังของ
รอยตอที่ทดสอบไดเปรียบเทียบกับคาที่คํานวณไดจากสมการออกแบบของ ว.ส.ท. ตัวอยางในงานวิจัยเปนคานขนาดหนาตัดกวาง 0.20
m ลึก 0.40 m และมีระยะหางระหวางจุดรองรับ 2.00 m จํานวน 6 ตัวอยาง ตัวอยางถูกทดสอบโดยแรงกระทําแบบ 3 จุด ซึ่งคานทั้งสอง
ชนิดและรอยตอไดถูกออกแบบตามมาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยใชน้ําหนักบรรทุกคงที่และน้ําหนักบรรทุกจรที่เทากัน จากการทดสอบ
พบวา ในชวงแรกตัวอยางมีพฤติกรรมรับแรงแบบเชิงเสนถึงคาประมาณ 75-80% ของกําลังรับแรงสูงสุด จากนั้นตัวอยางทดสอบจะมี
พฤติกรรมแบบไรเชิงเสน และการแอนตัวมีคาเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว จนกระทั่งเกิดการวิบัติ นอกจากนี้ยังพบวา สมการออกแบบของ ว.
ส.ท. ทํานายกําลังของรอยตอไดอยางถูกตองเพียงพอ

ABSTRACT : This research is a part of development project on precast concrete beams. The objectives of this research are to study
behaviors and modes of failure of the joints of precast partially-prestressed concrete beams and the joints of precast reinforced
concrete beams and to compare the obtained strength of the joints with those predicted by using the E.I.T. design equations. In this
study, the beam specimens had the cross-sectional dimensions of 0.20 × 0.40 meters with the span length of 2.00 meters. The total of
six specimens was tested under three-points loading. These two types of beams and the joints were designed according to E.I.T
standard with the same dead load and live load. From the tests, it was found that the specimens have linear behavior up to 75-80% of
their maximum load capacity. Then, the behavior of the specimens is nonlinear until failure of the specimens. In addition, the E.I.T’s
design equations accurately predict the strength of the joints of the beams.

KEYWORDS : Precast Concrete Beam, Partially-Prestressed, Joint Connection


1. บทนํา
ปจจุบันการกอสรางอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กโดยทั่วไปจะใช บางส ว นสํ า เร็ จ รู ป สามารถรั บ แรงกระทํ า ได ม ากกว า คาน
วิธีหลอในที่ (cast-in-place) ซึ่งการกอสรางองคอาคารตางๆ คอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูป นอกจากนี้อัตราสวนหนวยราคา
ตองติดตั้งค้ํายัน แบบหลอ ผูกเหล็ก เทคอนกรีต และตองรอให ต อ ความสามารถในการรั บ แรงที่ ส ภาวะใช ง านของคาน
คอนกรีตมีอายุที่เพียงพอ เพื่อใหมีกําลังที่เหมาะสมจึงสามารถ คอนกรี ต อัด แรงบางส ว นสํ าเร็ จรู ปมีค า ต่ํา กวา คานคอนกรี ต
ทําการถอดแบบหลอได ทําใหตองใชเวลาในการกอสรางมาก เสริมเหล็กสําเร็จรูป ซึ่งคาอัตราสวนดังกลาวแสดงใหเห็นวา
ตลอดจนใช แ รงงานจํ า นวนมาก ส ง ผลให ค า ใช จ า ยในการ คานคอนกรีตอัดแรงบางสวนสําเร็จรูปมีประสิทธิภาพในการ
กอสรางอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กมีคาสูง จึงไมสอดคลองกับ นํามาใชงานมากกวาคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูป
สภาวะเศรษฐกิจในปจจุบัน ซึ่งมีการแขงขันกันในเรื่องราคา อยางไรก็ตาม ปญหาสําคัญที่นํามาสูความไมนิยมนําคาน
และระยะเวลาการก อ สร า งเป น อย า งมาก ดั ง นั้ น จึ ง มี ค วาม ดัง กล า วมาใช ง านก อ สร า งคื อ การขาดข อ มู ล ผลการทดสอบ
จําเปนตองหาแนวทางที่ทําใหการกอสรางอาคารคอนกรีตเสริม รอยต อ ของคานหรื อ บริ เ วณหั ว เสา ซึ่ ง ในป จ จุ บั น รอยต อ
เหล็ ก มี ร าคาลดลงและใช เ วลาการก อ สร า งที่ ร วดเร็ ว ยิ่ ง ขึ้ น ดังกลาว มีลักษณะดังแสดงในรูปที่ 2 โดยเจาของโครงการและ
ป จ จุ บั น ได มี ผู รั บ เหมาก อ สร า งหลายรายได นํ า ระบบการ ผู รั บ เหมาบางรายได ตั้ ง ของสั ง เกตว า รอยต อ ระหว า งคาน
กอสรางสําเร็จรูป (prefabrication) มาใชในการกอสรางอาคาร ประเภทดังกลาวอาจขาดความปลอดภัยในแงของการใชงาน
คอนกรีตเสริมเหล็กแลวในบางสวน เชน คานคอนกรีตอัดแรง เนื่องจากการเทคอนกรีตในสวนของรอยตอซึ่งเปนคนละสวน
บางสวนสําเร็จรูป ดังแสดงตัวอยางในรูปที่ 1 แผนพื้นสําเร็จรูป หรื อ ไม เ ป น เนื้ อ เดี ย วกั น กั บ ตั ว คาน ดั ง นั้ น งานวิ จั ย นี้ จึ ง มี
และผนังสําเร็จรูป เปนตน วัตถุประสงคเพื่อทําการทดสอบรอยตอของคานคอนกรีตอัด
แรงบางสวนสําเร็จรูปชนิดดึงเหล็กกอน (pretensioning) เพื่อ
ศึกษาพฤติกรรมทางกล และลักษณะการวิบัติ และนําขอมูลจาก
การทดสอบที่ ไ ด เ ป น พื้ น ฐานเบื้ อ งต น สํ า หรั บ การพิ จ ารณา
ออกแบบรอยตอ

รูปที่ 1 การกอสรางโดยชิ้นสวนคานคอนกรีตอัดแรงบางสวนสําเร็จรูป

คานคอนกรีตอัดแรงบางสวนสําเร็จรูป (precast partially


prestressed concrete beams) เปนคานคอนกรีตอัดแรงรูปแบบ
หนึ่งซึ่งสามารถลดปญหาที่กลาวไวขางตนได ดวยการใชการ รูปที่ 2 รอยตอของคานคอนกรีตอัดแรงบางสวนสําเร็จรูป
อัดแรงบางสวน (partial prestressing) เพื่อประหยัดเหล็กเสริม
และลดระยะเวลาในการก อ สร า งโดยการหล อ สํ า เร็ จ รู ป 2. ตัวอยางทดสอบและวิธีการทดสอบ
(precasting) [1] จากการศึกษางานวิจัยที่ผานมา [2,3] ไดมี 2.1 มาตรฐานการทดสอบคุณสมบัติของวัสดุที่ใชในงานวิจัย
การศึ ก ษาพฤติ ก รรมการรั บ แรงของคานคอนกรี ต อั ด แรง การทดสอบคุณสมบัติของวัสดุที่ใชในงานวิจัยไดทดสอบตาม
บางสวนสําเร็จรูป และนําผลการทดสอบที่ไดเปรียบเทียบกับ มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (มอก.) ไดแก การทดสอบ
คานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูป พบวา ที่สภาวะใชงาน (ที่ กําลังรับแรงกดอัดของคอนกรีตรูปทรงกระบอกตามมาตรฐาน
การแอ น ตั ว ของคานมี ค า L / 240 ) คานคอนกรี ต อั ด แรง มอก.409-2525 การทดสอบกําลังรับแรงดึงของลวดอัดแรง
และกําลังรับแรงดึงของเหล็กขอออย ตามมาตรฐาน มอก.95- ตัวอยางทั้งหมดถูกออกแบบตามมาตรฐานคานคอนกรีตอัด
2540 และมาตรฐาน มอก.24-2536 ตามลําดับ โดยวัสดุที่ใชใน แรง [4] และคานคอนกรีตเสริมเหล็ก [5] ของวิศวกรรมสถาน
งานวิจัยมีคุณสมบัติทางกล ดังที่แสดงในตารางที่ 1 แหงประเทศไทย (ว.ส.ท.) โดยที่คานคอนกรีตอัดแรงบางสวน
สําเร็จรูปถูกออกแบบตามทฤษฎีอีลาสติก (working stress
ตารางที่ 1 แสดงคุณสมบัติทางกลของวัสดุที่ใชในงานวิจัย design) สํ า หรั บ น้ํ า หนั ก บรรทุ ก ใช ง าน และตรวจสอบ
กําลังครากเฉลี่ย กําลังสูงสุดเฉลี่ย โมดูลัสยืดหยุน ความสามารถในการรับน้ําหนักของหนาตัดที่ออกแบบโดยวิธี
วัสดุ
(MPa) (MPa) เฉลี่ย (MPa)
กําลัง (ultimate strength design) สวนรอยตอคานตัวอยางไดถูก
คอนกรีต - 38.5 29.1 × 103
DB12 360.7 487.6 193.9 × 103 ออกแบบโดยวิธีกําลัง โดยสมการที่ 1 เปนสมการสําหรับ
DB16 381.2 521.4 195.5 × 103 ออกแบบรอยตอเพื่อตานทานโมเมนตดัด และสมการที่ 2 เปน
PC.wire 2.8 mm 501.5 747.1 202.1 × 103 สมการออกแบบรอยตอเพื่อตานทานแรงเฉือน ซึ่งเปนสมการที่
PC.wire 4 mm 1,212.0 1,501.2 201.5 × 103 ใชในการหากําลังรับแรงเฉือนของหูชาง (corbel) เนื่องจากการ
PC.wire 5 mm 1,281.0 1,539.6 204.0 × 103 แตกราวที่ที่เกิดขึ้นบริเวณรอยตอ มีระนาบการแตกราวเกิดใน
แนวขนานกับรอยตอ ดังแสดงในรูปที่ 3(c) ซึ่งคลายกับรอย
2.2 ตัวอยางทดสอบ
แตกร า วที่ เ กิ ด ขึ้ น ในหู ช า งและแตกต า งอย า งชั ด เจนเมื่ อ
ตั ว อย า งทดสอบที่ ใ ช ใ นการศึ ก ษาเป น คานคอนกรี ต อั ด แรง
เปรี ย บเที ย บกั บ รอยแตกร า วที่ เ กิ ด ขึ้ น ในคานคอนกรี ต เสริ ม
บางสวนสําเร็จรูปและคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูปที่มี
เหล็กที่มีแนวเอียงทแยงมุม
รอยต อ บริ เ วณกึ่ ง กลางความยาวคาน ( L / 2 ) โดยลั ก ษณะ
รอยตอของคานดังกลาวเปนลักษณะที่นิยมใชในงานกอสราง a
Mn = ( As f y − As′ f s′)( d s − ) + As′ f s′( d s − d s′ ) (1)
ในปจจุบัน ซึ่งแบงออกเปน 2 แบบ ไดแก แบบที่1 ซึ่งเปน 2
รอยตอที่ไดจากการนําเหล็กขอออยเชื่อมระหวางเหล็กเดือย
(dowel bars) ของคานทั้งสองดาน ดังแสดงในรูปที่ 3(a) และ Vn = Avf f y µ (2)
แบบที่2 ซึ่งเปนรอยตอที่มีเหล็กเสริมคานเชื่อมตอระหวางคาน
โดยที่ M เปนกําลังตานทานโมเมนตระบุ V เปนกําลังตานทาน
อยางตอเนื่อง โดยไดจากการผลิตตัวอยางทดสอบ ซึ่งทําการ n n

แรงเฉือนระบุ A เปนหนาตัดของเหล็กเสริมที่ใชขวางรอยราว
หลอคานเปนลักษณะสองชวงตอกัน และทําการบล็อกชองวาง vf

และ µ = 0.7λ เป น ค า สั ม ประสิ ท ธิ์ ค วามเสี ย ดทานสํ า หรั บ


ไว เพื่อทําจุดเชื่อมหรือรอยตอเขากับเสา ดังแสดงในรูปที่ 3(b)
คอนกรีตที่ยึดกับเหล็กเสริม

Single Precast Partially Prestressed Beams Continuous Precast Partially Prestressed Beams

Dowel (deformed bars) Dowel (deformed bars)


Adjusted Plate Adjusted Plate Avf
Shear plane
(assumed crack)

Columns Columns

(a) Pattern 1 (b) Pattern 2 (c) shear plane


รูปที่ 3 รอยตอของคานคอนกรีตอัดแรงบางสวนสําเร็จรูป
differential transducers (LVDT) ที่ติดตั้งบริเวณกึ่งกลางความ
2.3 การกอสรางตัวอยางทดสอบ
ยาวคานจํานวน 1 ตัว และที่ระยะเทากับ L / 4 ถัดจาก LVDT
เพื่อใหรูปแบบการทดสอบเสมือนการรับน้ําหนักบรรทุกใน
ตัวแรกไปทางดานซายและขวา จํานวนดานละ 1 ตัว เมื่อติดตั้ง
การใชงานจริง การทดสอบแรงกระทําแบบ 3 จุด จึงถูก
ตัวอยางทดสอบเขาที่แลว กอนการทดสอบตัวอยางจะถูก pre-
ประยุกตใชในการทดสอบกําลังรับแรงของรอยตอ คาน เพื่อ
loading 20 kN และ unloading เพื่อเตรียมความพรอมของ
จํ า ลองสภาวะของแรงกระทํ า ต อ รอยต อ ที่ บ ริ เ วณหั ว เสา
ตัวอยางทดสอบ และตรวจการทํางานของเครื่องมือ จากนั้น ทํา
เนื่องจากสภาวะการทดสอบรอยตอกลับดานกับสภาวะของการ
การทดสอบโดยเพิ่ ม แรงกระทํ า อย า งช า ๆ โดยใช data
รับแรงกระทําของรอยตอ ดังนั้นจึงมีการดัดแปลงการจัดวาง
acquisition system (DAQ) เก็บขอมูลอยางตอเนื่อง จนตัวอยาง
เหล็กเสริมภายในคาน โดยสลับการวางตําแหนงระหวางเหล็ก
ทดสอบเกิดการวิบัติ
เสริมรับแรงดึง และเหล็กเสริมรับแรงอัด ดังแสดงในรูปที่ 4(a) dc
และใหแรงกระทําในทิศทางจากบนลงลาง
ในการศึกษา ตัวอยางทดสอบขนาดหนาตัดกวาง 0.20 m
ลึก 0.40 m และยาว 2.00 m จํานวน 6 ตัวอยาง โดยแบงออกได As′

เปน 3 กลุม ดังแสดงในตารางที่ 2 โดยที่กลุมที่ 1 (RC-01, RC- db

02) เปนคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูปที่มีรอยตอแบบที่ 2 As

สวนกลุมที่ 2 (PC-01, PC-02) และกลุมที่ 3 (PC-03, PC-04) 1.00 m 1.00 m

เปนคอนกรีตอัดแรงบางสวนสําเร็จรูปที่มีรอยตอแบบที่ 1 และ P
2 ตามลําดับ นอกจากนี้บริเวณรอยตอของตัวอยางทุกตัวใช As

เหล็กเดือย (DB16) 3 เสนฝงเปนระยะ 0.60 m จากปลายคาน 400 mm As′


เพื่อใหรอยตอของคานทุกตัวมีปริมาณเหล็กเสริมเทากัน ดังใน 200 mm
Strain gauge
DAQ

(a) Testing Configuration


รูปที่ 4(b) ถึง 4(d) A B
0.60 m 0.25 m 0.60 m 3 DB 16
3 DB 16
concrete-filled into a joint
ตารางที่ 2 รายละเอียดตัวอยางทดสอบ dowel bars

A B
ตัวอยาง ปริมาณ ดัชนี รูปแบบ 2 DB 12 3 DB 16
กลุมที่ (section A-A) spiral 2.8 mm@150 mm spiral 2.8 mm@75 mm spiral 2.8 mm@150 mm
(section B-B)
ทดสอบ เหล็กเสริม เหล็กเสริม รอยตอ 2.00 m

RC-01 0.0032 - แบบที่ 2 (b) Group1 [RC-01, RC-02 Beam]


1
RC-02 0.0032 - แบบที่ 2 A
0.60 m 0.25 m
B
0.60 m
8 PC Wires 5mm 3 DB 16
PC-01 - 0.00035 แบบที่ 1
2 welding
concrete-filled into a joint
dowel bars
PC-02 - 0.00035 แบบที่ 1
2 PC Wires 4mm A B 3 DB 16
PC-03 - 0.00035 แบบที่ 2 (section A-A) (section B-B)
3 spiral 2.8 mm@150 mm spiral 2.8 mm@75 mm spiral 2.8 mm@150 mm
PC-04 - 0.00035 แบบที่ 2 2.00 m
(c) Group 2 [PC-01, PC-02 Beam]

A B
2.4 การทดสอบรอยตอของคานคอนกรีตสําเร็จรูป 8 PC Wires 5mm 0.60 m 0.25 m 0.60 m 3 DB 16

รูปที่ 5 แสดงแผนภาพและการติดตั้งตัวอยางทดสอบเขากับ concrete-filled into a joint


dowel bars

loading frame เพื่อทดสอบแรงกระทําแบบ 3 จุด (three-points 2 PC Wires 4mm A B 3 DB 16


(section B-B)
(section A-A)
spiral 2.8 mm@150 mm spiral 2.8 mm@75 mm spiral 2.8 mm@150 mm
load test) โดยใชแรงกดจาก hydraulic actuator ผาน load cell 2.00 m

กระทําที่กึ่งกลางความยาวตัวอยางทดสอบผาน steel bearing (d) Group 3 [PC-03, PC-04 Beam]


รูปที่ 4 รายละเอียดของตัวอยางทดสอบ
plate เพื่อจําลองแรงกระทําที่เกิดขึ้นบริเวณรอยตอของตัวอยาง
ระยะการแอนตัวของตัวอยางทดสอบถูกวัดโดย linear variable
2.5 การทดสอบรอยตอของคานคอนกรีตสําเร็จรูป
รูปที่ 5 แสดงแผนภาพและการติดตั้งตัวอยางทดสอบเขากับ มีคาประมาณ 75-80% ของกําลังสูงสุด โดยรอยราวที่เกิดขึ้นมี
loading frame เพื่อทดสอบแรงกระทําแบบ 3 จุด (three-points ขนาดเล็กและกระจายสม่ําเสมอ จากนั้นตัวอยางมีพฤติกรรมสู
load test) โดยใชแรงกดจาก hydraulic actuator ผาน load cell ช ว งที่ ส อง พฤติ ก รรมจะค อ ยๆเปลี่ ย นแปลงแบบไร เ ชิ ง เส น
กระทําที่กึ่งกลางความยาวตัวอยางทดสอบผาน steel bearing (nonlinear) ความชันของเสนกราฟลดลงอยางรวดเร็ว จนถึงจุด
plate เพื่อจําลองแรงกระทําที่เกิดขึ้นบริเวณรอยตอของตัวอยาง วิบัติของคาน ซึ่งพบวาในชวงนี้รอยราวของรอยตอมีการ
ระยะการแอนตัวของตัวอยางทดสอบถูกวัดโดย linear variable ขยายตัวอยางรวดเร็ว โดยที่แรงกระทํามีคาเพิ่มขึ้นไมมากนัก
differential transducers (LVDT) ที่ติดตั้งบริเวณกึ่งกลางความ ลักษณะการวิบัติเปนแบบ flexural failure ดังตัวอยางที่แสดง
ยาวคานจํานวน 1 ตัว และที่ระยะเทากับ L / 4 ถัดจาก LVDT ในรูปที่ 8
ตัวแรกไปทางดานซายและขวา จํานวนดานละ 1 ตัว เมื่อติดตั้ง
ตัวอยางทดสอบเขาที่แลว กอนการทดสอบตัวอยางจะถูก pre-
300

loading 20 kN และ unloading เพื่อเตรียมความพรอมของ 250

ตัวอยางทดสอบ และตรวจการทํางานของเครื่องมือ จากนั้น ทํา 200

Load, (kN)
การทดสอบโดยเพิ่ ม แรงกระทํ า อย า งช า ๆ โดยใช data 150

acquisition system (DAQ) เก็บขอมูลอยางตอเนื่อง จนตัวอยาง 100

ทดสอบเกิดการวิบัติ 50
RC-01

RC-02

0
P 0 2 4 6 8 10 12 14 16 18 20 22 24 26

Midspan Deflection, (mm)

รูปที่ 6 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางน้ําหนักบรรทุก
และระยะการแอนตัวที่กึ่งกลางคานของตัวอยางกลุม ที่ 1
LVDT LVDT LVDT
0.50 m 0.50 m
2.00 m
รูปที่ 7 แสดงพฤติกรรมการรับแรงกระทําของตัวอยางกลุม
ที่ 2 (PC-01, PC-02) และ 3 (PC-03, PC-04) พบวา พฤติกรรม
การรับแรงถูกแบงออกเปนสามชวง โดยในชวงแรกตัวอยางมี
พฤติกรรมแบบเชิงเสนจนถึงจุดที่แรงกระทํามีคาประมาณ 35-
40% ของกําลังสูงสุด ที่จุดนี้พบวา ตัวอยางเกิดรอยราวขนาด
เล็ก จากนั้นตัวอยางจะมีพฤติกรรมเขาสูชวงที่สอง ซึ่งความชัน
ของเสนกราฟจะลดลงเล็กนอย โดยมีจํานวนรอยราวเกิดมาก
รูปที่ 5 การติดตั้งคานตัวอยางทดสอบ ขึ้นและขยายตัวสูงขึ้น จนกระทั่งแรงกระทํามีคาประมาณ 75-
3 ผลการทดสอบ 80% ของกําลังสูงสุด พฤติกรรมชวงสุดทายของคาน เสนกราฟ
ในการศึกษานี้ กําหนดให P เปนกําลังรับแรงกระทํา ณ จุดที่ มีลักษณะเปนแบบเสนโคง ซึ่งแรงกระทํามีคาเพิ่มขึ้นเล็กนอย
Y

เหล็กเสริมที่รอยตอของตัวอยางทดสอบเกิดการ yielding และ ขณะที่ ร ะยะการแอ น ตั ว มี ค า เพิ่ ม ขึ้ น อย า งรวดเร็ ว รอยร า วที่
กํ า ลั ง สู ง สุ ด ของตั ว อย า ง P เป น แรงกระทํ า ที่ ร อยต อ ของ ปรากฏเพิ่มจํานวนมากขึ้น และขยายตัวสูงขึ้น จนถึงจุดวิบัติ
max

ตัวอยางทดสอบรับไดสูงสุดกอนที่ตัวอยางเกิดการวิบัติ รูปที่ 6 ของคาน ซึ่งการวิบัติเกิดขึ้นจากแรงดึงดานลางของคาน ซึ่ง


แสดงกราฟแสดงความสัมพันธระหวางแรงกระทํา (load) และ คลายกับการวิบัติของตัวอยางกลุมที่ 1
ระยะการแอนตัวที่กึ่งกลางความยาวคาน (midspan deflection)
ของตัวอยางกลุมที่ 1 (RC-01, RC-02) จากรูปพบวา พฤติกรรม
การรับแรงกระทําถูกแบงออกเปนสองชวง ชวงแรกตัวอยาง
ทดสอบมีพฤติกรรมแบบเชิงเสน (linear) จนถึงจุดที่แรงกระทํา
300
เกิดขึ้นบริเวณรอยตอของคานคอนกรีตสําเร็จรูป นอกจากนี้
250
เหล็ ก เดื อ ยดั ง กล า วยั ง สามารถเพิ่ ม ความสามารถในการ
200 ตานทานโมเมนตดัดบริเวณรอยตอ ใหมีคาเพิ่มสูงขึ้นเทากับคา
โมเมนตดัดที่เหล็กเดือยสามารถรับได
Load, (kN)

150
PC-01

100 PC-02

PC-03 ตารางที่ 3 ผลการทดสอบและผลการคํานวณกําลังจากหนาตัด


50
PC-04
ตัวอยาง P P
กลุมที่ Y , test Y ,pred
P /P
ทดสอบ (kN) (kN)
0 Y , test Y ,pred
0 2 4 6 8 10 12 14 16 18 20 22 24 26

Midspan Deflection, (mm)


RC-01 147.70 138.84 1.06
รูปที่ 7 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางน้ําหนักบรรทุก 1
RC-02 145.37 138.84 1.05
และระยะการแอนตัวที่กึ่งกลางคานของตัวอยางกลุม ที่ 2 และ 3
PC-01 157.93 138.84 1.14
2
PC-02 154.61 138.84 1.11
PC-03 151.77 138.84 1.09
3
PC-04 154.12 138.84 1.11

5 สรุปผลการทดสอบ
จากการศึกษาพฤติกรรมทางกลของรอยตอของคานคอนกรีต
รูปที่ 8 ลักษณะการวิบัติของตัวอยางทดสอบ สําเร็จรูป ภายใตแรงกระทํา พบวา
1.) ในภาพรวม พฤติกรรมการรับแรงกระทําของรอยตอคาน
4 วิจารณผลการทดสอบ คอนกรีตสําเร็จรูปที่ใชในการศึกษามีพฤติกรรมรับแรงเชิงเสน
ตารางที่ 3 แสดงผลการทดสอบและผลการคํานวณกําลังของ จนถึงจุดที่แรงกระทํามีคาประมาณ 75-80% ของกําลังสูงสุด
รอยต อของคานตั ว อยา งโดยใชส มการที่ 1 จากตารางพบว า จากนั้ น พฤติ ก รรมการรั บแรงมี ลั ก ษณะไร เชิ ง เส น โดยแรง
กํ า ลั ง รั บ แรงกระทํ า ณ จุ ด ที่ เ หล็ ก เสริ ม ของตั ว อย า งเกิ ด การ กระทํ า มี ค า เพิ่ ม ขึ้ น เล็ ก น อ ยในขณะที่ ร ะยะการแอ น ตั ว มี ค า
yielding ที่ไดจากการทดสอบ ( PY ,test ) ของตัวอยางกลุมที่1 เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วจนถึงจุดวิบัติของคาน ซึ่งลักษณะการวิบัติ
(คานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูป) และตัวอยางกลุมที่ 2 และ 3 เปนแบบ flexural failure เกิดขึ้นจากแรงดึงดานลางของคาน
(คานคอนกรีตอัดแรงบางสวนสําเร็จรูป) มีคาใกลเคียงกัน ซึ่ง 2.) รูปแบบรอยตอคานสําเร็จรูปแบบที่1 (เหล็กขอออยเชื่อม
สามารถบอกไดวา รูปแบบของรอยตอคานแบบที่ 1 และ 2 มี ระหวางเหล็กเดือย) และแบบที่2 (เหล็กเดือยเชื่อมตอระหวาง
ความสามารถในการแรงรับแรงกระทําที่ใกลเคียงกัน และเมื่อ คานอยางตอเนื่อง) มีความสามารถรับแรงกระทําที่ใกลเคียงกัน
พิ จ ารณาอั ต ราส ว นแรงกระทํ า ณ จุ ด ที่ เ หล็ ก เสริ ม เกิ ด การ 3.) สมการออกแบบคานคอนกรีตเสริมเหล็กของ ว.ส.ท.
yielding ที่ไดจากการทดสอบตอ คาที่ไดจากการคํานวณ สามารถออกแบบ และทํานายกําลังของรอยตอคานไดอ ยาง
( PY ,test / PY ,pred ) พบว า ตัวอย างมีคา PY ,test / PY ,pred อยูในชว ง ถู ก ต อ ง เ พี ย ง พ อ โ ด ย ตั ว อ ย า ง ท ด ส อ บ ทั้ ง ห ม ด มี ค า
ระหว า ง 1.05-1.14 ดั ง นั้ น จากการทดสอบพบว า สมการ อัตราสวน PY ,test / PY ,pred อยูในชวงระหวาง 1.05-1.14
ออกแบบคานคอนกรี ต เสริ ม เหล็ ก ของ ว.ส.ท. สามารถใช
ออกแบบและทํานายกําลังของรอยตอคานคอนกรีตเสริมเหล็ก เอกสารอางอิง
สําเร็จรูป และคานคอนกรีตอัดแรงบางสวนสําเร็จรูปไดอยาง [1] S.K. Padmarajaiah, A. Ramaswamy, 2004. Flexural strength
ถูกตองเพียงพอ predictions of steel fiber reinforced high-strength concrete in
เมื่อพิจารณาระยะฝงของเหล็กเดือย (0.60 m) บริเวณปลาย fully/partially prestressed beam specimens. Cement & Concrete
Composites, 26:275-290.
คาน พบวาระยะดังกลาวเพียงพอตอการตานทานแรงเฉือนที่
[2] กรรณ คําลือ และสิทธิชัย แสงอาทิตย, 2548. พฤติกรรมของคาน
คอนกรี ต เสริ ม เหล็ ก สํ า เร็ จ รู ป แบบอั ด แรงบางส ว นภายใต แ รง
กระทําตามขวาง. การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแหงชาติ ครั้ง
ที่ 10, ชลบุรี. STR58-63.
[3] กรรณ คําลือ, 2549. การพัฒนาคานสําเร็จรูปแบบคอนกรีตอัดแรง
บางสวนสําหรับอาคารขนาดเล็ก.วิทยานิพนธระดับปริญญาโท,
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.
[4] วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ, 2537.
มาตรฐานสําหรับอาคารคอนกรีตอัดแรง, กรุงเทพฯ
[5] วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ, 2538.
มาตรฐานสํ า หรั บ อาคารคอนกรี ต เสริ ม เหล็ ก โดยวิ ธี กํ า ลั ง ,
กรุงเทพฯ

เกี่ยวกับผูเขียน
นาย จักษดา ธํารงวุฒิ ไดรบั ปริญญา B.Eng. และ
M.Eng. จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ปจจุบนั เปนนักศึกษาระดับปริญญาเอก และผูช วย
วิจัย งานวิจัยโดยสวนใหญเกี่ยวของกับ
Experimental on Reinforced and Prestressed
Concrete Structures

นาย กรรณ คําลือ ไดรับปริญญา B.Eng. จาก


มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยา
เขตเทเวศร และ M.Eng. จากมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีสุรนารี ปจจุบนั เปนวิศวกรและที่
ปรึกษาทางดานวิศวกรรมโครงสราง งานวิจัยโดย
สวนใหญเกี่ยวของกับ Experimental on
Prestressed Concrete Structures

รศ.ดร. สิทธิชัย แสงอาทิตย ไดรับปริญญา วศบ.


จากมหาวิทยาลัยขอนแกน M.Eng. และ Ph.D.
จาก University of Texas at Arlington, USA
งานวิจัยโดยสวนใหญเกี่ยวของกับ Experimental
and Applied Mechanics on Civil Engineering
FRP Composite, Reinforced Concrete และ
Masonry

นาย วินัย มณีรัตน ไดรบั ปริญญา B.Eng. จาก


มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา วิทยา
เขตภาคพายัพ ปจจุบันเปนวิศวกรโยธา
บริษัท ยงสวัสดิ์คอนสตรัคชั่น โปรดักส จํากัด

You might also like