You are on page 1of 79

การใหรายละเอียดชิ้นสวนโครงสรางเหล็ก

รูปพรรณใหมีความเหนียว มยผ. 1304

ศ. ดร.ปยะ โชติกไกร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
Outline:
• Seismic Force Resisting System (response modification factor (R)
and system overstrength factor (o))
• Examples of Steel Buildings Failure under EQ
• Seismic Resistance Design of Steel Buildings (มยผ. 1304-61)
• Moment Resisting Frame
• Braced Frame
• Prequalified Connections
 มาตรฐานเปนรายละเอียดประกอบกฎกระทรวงวาดวยการกําหนดการรับน้ําหนัก
ความตานทาน ความคงทนของอาคาร และพื้นดินที่รองรับอาคารในการตานทาน
แรงสั่นสะเทือนของแผนดินไหว

 มาตรฐานใหรายละเอียดการออกแบบโครงสรางอาคารเหล็กรูปพรรณใหมีความ
เหนียวตามที่กําหนดในมาตรฐาน มยผ.1302-52

 การรวมแรง (load combination) ในมาตรฐานเปนไปตามมาตรฐาน มยผ.1302-52

 มาตรฐานใหรายละเอียดการออกแบบรอยตอเสาและคานของอาคารเหล็กโครงสราง
รูปพรรณใหมีความเหนียวตามที่กําหนด หรือผูออกแบบสามารถใชรายละเอียด
รอยตอประเภทอื่นตามที่ระบุในมาตรฐาน AISC 358-10 ได หรือใชการทดสอบ
รอยตอตามขอกําหนดที่ระบุในมาตรฐานนี้
 มยผ. 1302-52 “มาตรฐานการออกแบบอาคารตานทานการสั่นสะเทือนของแผนดินไหว”
V= CsW
โดยที่ Cs คือ สัมประสิทธิ์ผลตอบสนองแรงแผนดินไหว
W คือ น้ําหนักโครงสรางประสิทธิผลของอาคาร
Sa คือ คาความเรงตอบสนองเชิงสเปกตรัมสําหรับการออกแบบ
ที่คาบการสั่นพื้นฐานอาคาร (T)
R คือ ตัวประกอบปรับผลตอบสนองสําหรับอาคาร
I คือ ตัวประกอบความสําคัญของอาคาร
 การออกแบบและใหรายละเอียดโครงสรางใหมีความเหนียวจะทําใหโครงสรางสามารถมีการเปลี่ยนแปลงรูปราง
แบบอินอิลาสติกไดมาก ภายใตแรงกระทําจากแผนดินไหว ซึ่งจะทําใหตองใชคาแรงในการออกแบบที่นอยลง หรือ
สามารถใชคาตัวประกอบปรับผลตอบสนอง (Response Modification Factor, R) ที่เพิ่มมากขึ้นได
ระบบตานแรงแผนดินไหว (seismic force resisting system):
- Moment resisting frames (Ordinary, Intermediate, Special)
- Concentrically braced frames - Eccentrically braced frames
- Buckling restrained braced frames (BRB) - Plate shear walls

Buckling-Restrained Brace

(AISC, 2007)
ตัวประกอบปรับผลตอบสนองสําหรับการออกแบบอาคารอาคารเหล็กโครงสรางรูปพรรณ (มยผ. 1302)
ตัวประกอบปรับผลตอบสนอง
ตัวประกอบปรับผลตอบสนอง ตัวประกอบกําลังสวนเกิน
ระบบโครงสรางโดยรวม ระบบตานทานแรงดานขาง (Response Modification (System Overstrength
Factor, R) Factor, o)
โครงตานแรงดัดเหล็กที่มีความเหนียว 8 3
(Ductile/Special Moment Resisting
Frame)
โครงถักตานแรงดัดที่มีการให 7 3
รายละเอียดความเหนียวเปนพิเศษ
(Special Truss Moment Frame)
ระบบโครงตานแรงดัด (Moment
โครงตานแรงดัดเหล็กที่มีความเหนียว 4.5 3
Resisting Frame)
ปานกลาง (Intermediate Steel
Moment Resisting Frame)

โครงตานแรงดัดเหล็กแบบธรรมดา 3.5 3
(Ordinary Steel Moment Resisting
Frame)
ระบบโครงสรางเหล็กที่ไมมีการให ระบบโครงสรางเหล็กที่ไมมีการให 3 3
รายละเอียดสําหรับแรงแผนดินไหว รายละเอียดสําหรับแรงแผนดินไหว
(Steel Systems Not Specifically
Details for Seismic Resistance)
ตัวประกอบปรับผลตอบสนองสําหรับการออกแบบอาคารอาคารเหล็กโครงสรางรูปพรรณ (มยผ. 1302)
ตัวประกอบปรับผลตอบสนอง
ตัวประกอบปรับผลตอบสนอง ตัวประกอบกําลังสวนเกิน
ระบบโครงสรางโดยรวม ระบบตานทานแรงดานขาง
(Response Modification (System Overstrength
Factor, R) Factor, o)
โครงแกงแนงเหล็กแบบเยื้องศูนยที่ใชจุด 8 2
ตอแบบรับแรงดัดได (Steel
Eccentrically Braced Frame with
Moment Resisting Connections)
โครงแกงแนงเหล็กแบบเยื้องศูนยที่ใชจุด 7 2
ตอแบบรับแรงเฉือน (Steel
Eccentrically Braced Frame with
ระบบโครงอาคาร
Non-Moment Resisting
(Building Frame System)
Connections)
โครงแกงแนงเหล็กแบบตรงศูนยแบบให 6 2
รายละเอียดพิเศษ (Special Steel
Concentric Braced Frame)
โครงแกงแนงเหล็กแบบตรงศูนยแบบ 3.5 2
ธรรมดา (Ordinary Steel Concentric
Braced Frame)
 การรวมผลของแรงวิธกี ําลัง (มยผ 1302-52):
 1.2D+1.0L+1.0E สําหรับ L  5000 N/m2, อาคารจอดรถยนต, อาคารชุมนุมคน
 1.2D+0.5L+1.0E สําหรับ L < 5000 N/m2
 0.9D+1.0E

 การรวมผลของแรงที่คํานึงถึงกําลังสวนเกินของโครงสรางวิธีกําลัง (มยผ 1302-52):


 1.2D+1.0L+0E สําหรับ L  5000 N/m2, อาคารจอดรถยนต, อาคารชุมนุมคน
 1.2D+0.5L+0E สําหรับ L < 5000 N/m2
 0.9D+ 0E Shear strength at beam-
column connection

Comp/Tension
of column
Column
 Story Drift Check (มยผ. 1302-52) splice

Moment frame
Column base
การออกบบวิธีกําลัง Load factor ของ LL ลดจาก 1.0 เปน 0.5 สําหรับ LL
นอยกวา 5000 N/m2 ยกวนอาคารจอดรถยนต หรือ อาคารสาธารณะ
Examples of Steel Buildings Failure under EQ

Rupture of Welded Beam End

Locally Buckling of Column


Rupture of Welded Part between
Column and Diaphragm
((EERI Website) https://learningfromearthquakes.org)
Steel Building Failures in 2011 Tohoku Japan Earthquake
(www.eqclearinghouse.org)
Local Buckling of the Bottom Flange
Steel X-brace

Inelastic Deformation of Column


Panel Zone

(www.eqclearinghouse.org)
Lateral Torsional Buckling of Net Section Fracture of
Double Angle Steel Braces Steel Brace

Fracture at Toe of Weld

(www.eqclearinghouse.org)
Lesson Learns from Northridge Earthquake (1994)

• Northridge Earthquake เปนแผนดินไหวที่กอใหเกิดความเสียหายอยางมาก


• จุดตอแบบ Welded-Flange-Bolted-Web (WUF-B)  รอยราวในรอยเชื่อมปก
คาน และมีรอยราวจากตําแหนงรอยเชื่อมเขาไปในคานและเสา

Welded Beam-to-Column Moment


Connection (Pre-Northridge)
• รูปแบบของจุดตอมีคุณสมบัติของหนาตัดเชน พื้นที่หนาตัดและโมดูลัสหนาตัดที่นอยกวาคาน ทําให
หนวยแรงที่ตําแหนงนี้มีคายิ่งสูงมากขึ้น
• การเชื่อมปกคานลางเขากับหนาเสา ทําโดยการใหชางเชื่อมนั่งอยูบนปกคานบน แลวกมเชื่อมลงมา ใน
การเชื่อมอาจจะตองทําการเชื่อมหลายรอบ และแตละรอบจะมีการหยุดแนวเชื่อมที่ตําแหนงเอวคาน ทํา
ใหแนวรอยเชื่อมนี้มีความไมสมบูรณไดงา ย
• การตรวจสอบคุณภาพรอยเชื่อมสามารถทําไดยากสําหรับรูปแบบของรอยตอ โดยแนวทางปฏิบัติจะไมมี
การเอา Backing Bar ออกหลังการเชื่อม
• Weld Access Hole ซึ่งจะทําใหเกิดคาความเครียดที่สูงในปกคานที่ตําแหนงนี้ และทําใหเกิดการ
แตกราวในปกคานได
• หลังเหตุการณแผนดินไหว Northridge Earthquake ไดพัฒนาจุดตอหลายรูปแบบ
1) Welded-Flange-Welded-Web 2) Haunch Connection 3) Cover Plate
Connection 4) Reduced-Beam-Section Connection

Haunch Connection Cover Plate Connection

Welded-Flange-Welded-Web
Connection
Reduced-Beam-Section Connection
• จุดตอแบบ 1) Extended End Plate Connection 2) Bolted-Flange-Plate
Connection และ 3) Bolted T-Stub Connection

Extended-End-Plate Connection Bolted-Flange-Plate Connection

Bolted T-Stub Connection


Reduced Beam Section Connections
• จุดตอทีม่ ีประสิทธิภาพในการตานทานการสัน่ สะเทือนของแรงแผนดินไหว
• จุดตอ RBS มีขอดีกวาการเสริมกําลังจุดตอ เนือ่ งจากวิธีการนีจ้ ะไมตองการการเชื่อมหนา
งานและการใชวัสดุเพิ่มเติมเพื่อเพิ่มกําลังจุดตอ ในการออกแบบจุดตอแบบ RBS จะชวยลด
ความตองการหรือแรงใน Continuity Plate และ Panel Zone
• การวิบัติอาจเกิดจากการวิบัติของ Lateral Torsional Buckling (LTB) ของคาน การโกง
เดาะเฉพาะที่ของเอว หรือการบิดของเสาจากการเกิด LTB ของคาน ซึ่งมักพบในจุดตอที่
เสามีความลึก

การวิบัติของจุดตอ RBS
Pachoumis et al., 2010
RBSa

RBSb

ความสัมพันธระหวางโมเมนตและมุมหมุน
ของตัวอยาง
Sofias et al., 2014
Extended End-Plate Connection

• ในการออกแบบสามารถทําไดใน 2 รูปแบบ การวางสลักเกลียวในแนวนอนจะตองใช


หนาตัดคานที่มีปกกวาง สวนการวางสลักเกลียวในแนวดิ่งจะชวยลดความตองการ
แผนเหล็กเสริมกําลังที่จะตองตอกับเอวเสาในฝงของปกคานรับแรงดึง

จุดตอ Extended End-Plate Connection จุดตอ Extended End-Plate สําหรับคานขนาดใหญ


• จุดตอภายใตแรงกระทําแบบวัฏจักรอาจจะมีการลดสติฟเนสอยางฉับพลันใน Hysteretic
Loop จากการเลือ่ นของสลักเกลียวระหวางแผนเหล็ก End Plate และหนาเสา
• จุดตอมีพฤติกรรมแบบอิลาสติกจนถึงคาที่มากกวาหนวยแรงครากระบุเล็กนอย ภายใตแรง
กระทําที่มากขึ้นจุดตอแสดงพฤติกรรมแบบอินอิลาสติก โดยมุมหมุนที่เพิ่มขึ้นในคานได
จากการยืดและการครากของสลักเกลียว การวิบตั ขิ องจุดตอเกิดจากการขาดของสลัก
เกลียวตัวใน เนื่องจากสติฟเนสของแผนเหล็ก End Plate ที่ไมเทากัน ทําใหสลักเกลียวตัว
ในไดรับแรงกระทํามากกวา
• การเพิ่มแผนเหล็กเสริมกําลังจะชวยใหสติฟเนสในแผนเหล็ก End Plate และการกระจาย
แรงในสลักเกลียวมีความสม่าํ เสมอมากขึ้น

Tsai and Popov, 1990


การวิบัติของจุดตอแบบ “Strong Plate”
การเชื่อมคานเขากับ End Plate
Summer and Murray, 2002

การวิบัติของจุดตอที่มีแผนพื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก
Summer and Murray, 2002
Seismic Resistance Design of Steel Buildings มยผ. 1304-61
 ทั่วไป นิยาม (บทที่ 1, บทที่ 2)

 ขอกําหนดวัสดุ(บทที่ 3) กําลังคราก, กําลังที่คาดหวัง, โลหะเชื่อม, สลักเกลียว


 ขอกําหนดองคอาคารและรอยตอ (บทที่ 4) หนาตัด, การค้ํายัน, รอยตอเสา

 โครงตานทานแรงดัดธรรมดา (บทที่ 5) ขอกําหนดองคอาคาร,


ขอกําหนดรอยตอ,
 โครงตานแรงดัดที่มีความเหนียวปานกลาง (บทที่ 6)
ระบบโครงสราง
 โครงตานทานแรงดัดที่มีความเหนียวพิเศษ (บทที่ 7)

 โครงแกงแนงแบบตรงศูนยธรรมดา (บทที่ 8) ขอกําหนดองคอาคาร,


 โครงแกงแนงแบบตรงศูนยใหรายละเอียดพิเศษ (บทที่ 9) ขอกําหนดรอยตอ,
 โครงแกงแนงแบบเยื้องศูนย (บทที่ 10)
ระบบโครงสราง
Seismic Resistance Design of Steel Buildings มยผ. 1304-61
 การออกแบบรอยตอเสาและคานที่มีความเหนียว (บทที่ 11)
1. ขอกําหนดสําหรับการออกแบบรอยตอเสา และคานที่มีความเหนียว
2. Reduced Beam Section, RBS
Limitations,
3. Extended End-Plate Moment Connections Connection detailing,
4. Bolted Flange Plate Moment Connection, BFP ขั้นตอนการคํานวณ
5. Welded-Flange-Welded-Web Connection

 การทดสอบรอยตอภายใตแรงกระทําแบบวัฏจักร (บทที่ 12)


ขอกําหนดวัสดุ
 กําลังครากระบุของวัสดุ
สวนของโครงสรางอาคารเหล็กโครงสรางรูปพรรณที่ออกแบบเพื่อตานทานการสั่นสะเทือนของ
แผนดินไหว ตองใชเหล็กที่มีกําลังครากระบุตามขอกําหนดดังตอไปนี้
(1) องคอาคารของโครงตานทานแรงดัดแบบธรรมดา (OMF) และโครงแกงแนงแบบตรงศูนย
ธรรมดา (OCBF) ใชเหล็กที่มีกําลังครากระบุไดไมเกิน 380 MPa
(2) เสาของโครงตานทานแรงดัดที่มีความเหนียว (SMF) ใชเหล็กที่มีกําลังครากระบุไดไมเกิ น
460 MPa
(3) องคอาคารของโครงสรางตานทานการสั่นสะเทือนของแผนดินไหวนอกเหนือจาก (1) และ
(2) ขางตน ใหใชเหล็กที่มีกําลังครากระบุไดไมเกิน 365 MPa
หากใชคาหนวยแรงครากระบุเกินกวาที่กําหนด ตองไดรับการตรวจสอบวาเหล็กมีความสามารถ
ในการเชื่อม มีพฤติกรรมการครากที่ชัดเจน มีการยืดออกภายใตแรงดึงไดอยางนอย 20% และ
ไดรับการทดสอบความเหนียวตามขอกําหนดในมาตรฐานฉบับนี้
ขอกําหนดวัสดุ
 การออกแบบค้ํายันตองพิจารณากําลังครากและกําลังประลัยจริงขององคอาคาร ซึ่ง
จะมีคามากกวาคากําลังครากและกําลังประลัยระบุ มาตรฐานใหคาอัตราสวนของ
กําลังจริงและกําลังระบุสําหรับที่จุดครากและที่จุดประลัยดวยพารามิเตอร Ry และ
Rt ตามลําดับ
 หนวยแรงครากที่คาดหวัง (Expected Yield Stress) ขององคอาคาร หรือองค
อาคารที่มาตอเชื่อม โดยคํานวณไดจาก RyFy เมื่อ Ry คือ อัตราสวนระหวางหนวย
แรงครากที่คาดหวังตอกําลังครากระบุต่ําสุดของวัสดุ และ Fy คือ กําลังครากระบุ
ต่ําสุด
 กําลังดึงที่คาดหวัง (Expected Tensile Strength) คํานวณไดจาก RtFu เมื่อ Rt
คือ อัตราสวนระหวางกําลังดึงคาดหมายตอกําลังดึงระบุต่ําสุด และ Fu คือ กําลังดึง
ระบุต่ําสุด
คา Ry และ Rt ของเหล็กโครงสรางรูปพรรณ
ประเภทของหนาตัดเหล็ก มอก. Ry Rt
เหล็กรูปพรรณขึ้นรูปรอน และเหล็กแทง (Hot-Rolled Structural Shapes and Bars)
ASTM A36/A36M SM 400, SS 400 1.5 1.2
ASTM A1043/1043M Gr.36 (250) - 1.3 1.1
ASTM A572/572M Gr.50 (345) or 55 (380)
ASTM A913/A913M Gr.50 (345), 60 (415), or 65 (450) SS 540, SM 570 1.1 1.1
ASTM A588/A588M, ASTM A992/A992M
ASTM A1043/A1043M Gr.50 (345) - 1.2 1.1
ASTM A529 Gr.50 (345) SM 520 1.2 1.2
ASTM A529 Gr.55 (380) - 1.1 1.2
เหล็กรูปพรรณหนาตัดกลวง (Hollow Structural Sections, HSS)
ASTM A500/A500M (Gr.B or C), ASTM A501 HS 41, HS 50 1.4 1.3
ทอกลม (Pipe):
ASTM A53/A53M HS 41, HS 50, HS 51 1.6 1.2
เหล็กแผน (Plates, Strips and Sheets)
ASTM A36/A36M SM 400, SS 400 1.3 1.2
ASTM A1043/1043M Gr.36 (250) - 1.3 1.1
A1011/A1011M HSLAS Gr.55 (380) - 1.1 1.1
ASTM A572/572M Gr.42 (290) SM 490 1.3 1.0
ASTM A572/A572M Gr.50 (345), Gr.55 (380), ASTM A588/A588M - 1.1 1.2
ASTM 1043/1043M Gr.50 (345) - 1.2 1.1
เหล็กเสน (Steel Reinforcement)
ASTM A615, ASTM A706 - 1.25 1.25
มยผ.1107-61
มยผ.1107-61 มอก.1499-2541
 สลั ก เกลี ย วที่ ใ ช ใ นระบบต า นทานแรงแผ น ดิ น ไหวต อ งเป น สลั ก เกลี ย วกํ า ลั ง สู ง
มาตรฐาน มอก. 171-2530 ตั้งแตชั้นสมบัติ 8.8 ขึ้นไป

 โลหะเชื่อม
 โลหะเชื่อมใชในองคอาคาร และรอยตอในระบบตานแรงแผนดินไหวจะต องมี
คุณสมบัติเปนไปตามขอกําหนด ดังนี้
คุณสมบัติ ชั้นคุณภาพ
480 MPa 550 MPa
กําลังคราก, MPa ≥ 400 ≥ 470
กําลังรับแรงดึง, MPa ≥ 480 ≥ 550
การยืด, รอยละ ≥ 22 ≥ 19
ความแกรงแบบ CVN, J ≥ 27 @ -18oC
 รอยเชื่อมวิกฤติ (Demand Critical Weld) ปกติเปนรอยเชื่อมแบบรองทะลุตลอดที่มีการ
คราก และความเคนสูงภายใตแรงแผนดินไหว การวิบัติของรอยเชื่อมนี้จะทําใหกําลัง และสติฟ
เนส ของระบบตานแรงแผนดินไหวลดลงอยางมาก เชน รอยเชื่อมแบบรองที่รอยตอทาบเสา รอย
เชื่อมที่ฐานเสา รอยเชื่อมแบบรองทะลุตลอดของแผนปกคานและแผนเอวคานกับเสา

 โลหะเชื่อมในรอยเชื่อมวิกฤติ (Demand Critical Weld) จะตองมีคุณสมบัติดังนี้

คุณสมบัติ ชั้นคุณภาพ
480 MPa 550 MPa
กําลังคราก, MPa ≥ 400 ≥ 470
กําลังรับแรงดึง, MPa ≥ 480 ≥ 550
การยืด, รอยละ ≥ 22 ≥ 19
ความแกรงแบบ CVN, J ≥ 54 @ 20 oC
ขอกําหนดองคอาคาร และรอยตอ
 องคอาคารในโครงสรางสําหรับตานทานแรงแผนดินไหวจะตองสามารถมีการ
เปลี่ยนแปลงรูปรางไดในชวงอินอิลาสติก โดยไมเสียเสถียรภาพของโครงสราง ซึ่งองค
อาคารจะสามารถเปนไปตามขอกําหนดนี้ได

 สวนปกของหนาตัดตองยึดติดกับสวนเอวอยางตอเนื่อง

 แตละชิ้นสวนของหนาตัดตองมีอัตราสวนความกวางตอความหนา (b/t) ตาม


ขอกําหนด เพื่อปองกันการโกงเดาะเฉพาะที่ สําหรับการออกแบบอาคารตานทาน
แรงแผนดินไหว
 องคอาคารความเหนียวปานกลาง หรือองคอาคารความเหนียวสูง
อัตราสวนความกวางตอความหนาสําหรับองคอาคารที่มีความเหนียวปานกลางและมีความเหนียวสูง
NOTE: AISC 360-10: การออกแบบอาคารเหล็กโครงสรางรูปพรรณ
ปกของหนาตัดรูปตัว H แผนเหล็กที่ยื่นออกมาจากหนาตัดรูปตัว H ขาที่ยื่นออกมาจากเหล็กฉากคู
แนบติดกันอยางตอเนื่อง ปกของรูปตัว C และ T
Limit for Slender
Element
ชิ้นสวนปลายยื่น

เอวของรูปตัว H สมมาตรสองแกน และรูปตัว C


ชิ้นสวนปลายยึด
อัตราสวนความกวางตอความหนาสําหรับองคอาคารที่มีความเหนียวปานกลางและมีความเหนียวสูง
ชิ้นสวนที่มีความ ชิ้นสวนที่มีความ
เหนียวสูง เหนียวปานกลาง

NOTE: Limit for Slender Element

AISC 360-10: การ


ออกแบบอาคารเหล็ก
โครงสรางรูปพรรณ
Summary of Member Requirements

System Highly Moderately No Duct.


Ductile Ductile Req.
OMF (Ordinary Moment Frame) X
IMF (Intermediate Moment Frame)
Beams X
Columns X
SMF (Special Moment Frame)
Beams X
Columns X
(OCBF) Ordinary Concentrically Braced
Frames
Diagonal braces X
(SCBF) Special Concentrically Braced Frames
Diagonal braces X
Beams X
Columns X
 การค้ํายันองคอาคาร
 การค้ํายันองคอาคารที่มีความเหนียวปานกลาง
(1) คานจะต อ งได รั บ การค้ํ า ยั น ทั้ ง ป ก บนและป ก ล า ง หรื อ ได รั บ การค้ํ า ยั น
ตานทานการบิด
(2) คานตองไดรับการค้ํายันใหเพียงพอกับกําลังโมเมนตดัดที่ตองการ
(Required Flexural Strength, Mr)
Mr = RyFyZ (สําหรับวิธี LRFD)
Mr = RyFyZ/1.5 (สําหรับวิธี ASD)
(3) ระยะหางของค้ํายันในคาน (Lb) ตองมีคาไมเกิน 0.17ryE/Fy
 การค้ํายันองคอาคารที่มีความเหนียวสูง
การค้ํายันตองเปนไปตามขอกําหนดของการค้ํายันองคอาคารที่มีความเหนียว
ปานกลาง ยกเวน ระยะหางของค้ํายันคาน (Lb) ตองมีคาไมเกิน 0.086ryE/Fy
 การค้ํายันพิเศษที่จุดหมุนพลาสติก
การค้ํายันที่บริเวณตําแหนงจุดหมุนพลาสติกมีขอกําหนด ดังตอไปนี้
(1) คานตองไดรับการค้ํายันทั้งปกบนและปกลาง หรือไดรับการค้ํายันตานทานการบิด
(2) กําลังที่ตองการของค้ํายันดานขางที่แตละแผนปกของหนาตัดคาน บริเวณตําแหนงจุด
หมุนพลาสติก คํานวณไดจาก
Pu = 0.06RyFyZ/ho (สําหรับวิธี LRFD)
Pa = (0.06/1.5)RyFyZ/ho (สําหรับวิธี ASD)
เมื่อ ho = ระยะหางระหวางจุดเซนทรอยดของแผนปกบนและแผนปกลางคาน

กําลังที่ตองการของการค้ํายันตานทานการบิดที่ตําแหนงจุดหมุนพลาสติก คํานวณไดจาก
Mu = 0.06RyFyZ (สําหรับวิธี LRFD)
Ma = (0.06/1.5)RyFyZ (สําหรับวิธี ASD)
NOTE: AISC 360-10: การออกแบบอาคารเหล็กโครงสรางรูปพรรณ
การค้ํายันคาน
 เขตปกปอง (Protected Zone) หมายถึง บริเวณที่เกิดความเครียดแบบอินอิลาสติกสูง
เชน ตําแหนงจุดหมุนพลาสติกในโครงตานแรงดัด (ระยะจากหนาเสาถึง ½ เทาของความลึก
คานเลยจากตําแหนงจุดหมุนพลาสติก) แตไมรวมเขตแผงรอยตอเสาและคาน (Beam-
Column Panel Zone)

 เขตปกปองตองไมมีความไมตอ เนือ่ งจากการเชือ่ ม การเปลี่ยนแปลงหนาตัดอยางฉับพลัน


และความไมสมบูรณจากการกอสราง

เขตปกปองของโครงแกงแนงแบบตรงศูนยแบบใหรายละเอียดพิเศษ
 เนื่องจากระหวางการเกิดแผนดินไหว จุดตอจะไดรับแรงแบบ Fully Reversal และมี
การเปลี่ยนแปลงรูปรางแบบอิลาสติกในองคอาคาร ดังนั้น จุดตอที่เปนสลักเกลียว
ของระบบโครงสรางตานทานแรงกระทําจากแผนดินไหว จึงตองไดรับการออกแบบ
ใหเปนแบบ Slip Critical Connection

 การออกแบบจุดตอตองเปนแบบสลักเกลียวหรือรอยเชื่อมอยางใดอยางหนึ่ง หามใช
การตอยึดสองประเภทรวมกันรับแรง เนื่องจากรอยตอแบบสลักเกลียวมีแนวโนมที่จะ
เกิดการเลื่อนผาน (Slip) ภายใตแรงแผนดินไหวในขณะที่รอยเชื่อมไมมีการขยับ ทํา
ใหสุดทายจุดตออาจรับแรงดวยรอยเชื่อมเพียงอยางเดียว และทําใหเกิดการวิบัติได

 รอยตอยึดดวยการเชื่อมตองไดรับการผลิตและการติดตั้งตองเปนไปตามขอกําหนด
ของมาตรฐาน AWS D1.1/D1.1M และมาตรฐาน AWS D1.8/D1.8M
 กําลังที่ตองการของเสาในโครงตานแรงดัดและโครงแกงแนงในระบบตานแรง
แผนดินไหวพิจารณาไดดังนี้
(1) ผลของแรงทีไ่ ดจากการวิเคราะหตามขอกําหนดของโครงตานแรงดัด หรือโครง
แกงแนงในมาตรฐานนี้
(2) กําลังอัดและกําลังดึงที่คํานวณจากการรวมแรงโดยใชแรงแผนดินไหวขยาย
คา (Amplified seismic load) ซึ่งกําลังอัดและกําลังดึง ที่ตองการตองไมเกินกวาคา
ดังนี้
 แรงสูงสุดที่กระทําตอเสาในระบบโครงสราง ในกรณีที่รวมผลของกําลังสวนเกิน
ของวัสดุ (material overstrength) และพฤติกรรมความเครียดแข็งเพิ่มขึ้นใน
องคอาคารที่อาจกอใหเกิดการคราก
 แรงตามกําลังตานทานของการพลิกคว่ํา (overturning) ของฐานราก
NOTE: Amplified seismic load (ASCE/SEI 7) Em = EmhEv = oQeEv
Horizontal seismic Vertical seismic
 การตอทาบเสา (Column splices) ในอาคารทั้งที่เปนและไมไดเปนสวนของระบบ
ตานแรงแผนดินไหวตองมีตําแหนงตอทาบหางจากรอยตอเสาและคานอยางนอย 1.2 ม.

 การตอทาบเสาดวยรอยเชื่อมสําหรับเสาที่รับแรงดึงภายใตการรวมผลของแรง
ประเภทตาง ๆ โดยรวมแรงแผนดินไหวขยายคา (Amplified seismic load) ตอง
เปนไปตามขอกําหนด ดังตอไปนี้
(1) หากใชรอยเชื่อมแบบรองไมทะลุตลอด (Partial Penetration Groove Weld)
รอยเชื่อมตองมีกําลังอยางนอยรอยละ 200 ของกําลังที่ตองการของการตอทาบ
(2) กําลังของการตอทาบที่แตละแผนปกของหนาตัดตองมีคาอยางนอยเทากับ
0.5RyFybftf สําหรับวิธี LRFD หรือ (0.5/1.5)RyFybftf สําหรับวิธี ASD เมื่อ RyFy คือ
หนวยแรงครากคาดหมายของเสา และ bftf คือ พื้นที่หนาตัดของแผนปกเสาตนที่เล็ก
กวาที่รอยตอ
NOTE: Amplified seismic load (ASCE/SEI 7) Em = EmhEv = oQeEv
Horizontal seismic Vertical seismic
Ordinary Moment Frame (OMF)
 ขอกําหนดองคของอาคาร
 ไมมีขอกําหนดพิเศษของอัตราสวนความกวางตอความหนาของชิ้นสวนรับแรงอัด
 ไมมีขอกําหนดพิเศษของความตองการดานเสถียรภาพของค้ํายันในคานและรอยตอ
 ไมมีเขตปกปอง สําหรับองคอาคารในโครงตานแรงดัดแบบธรรมดา

 ขอกําหนดของรอยตอ ออกแบบไดเปนแบบยึดแนน (FR) หรือแบบกึ่งยึดแนน (PR)


 รอยตอแบบยึดแนน ซึ่งเปนสวนของระบบตานแรงแผนดินไหวตองเปนไปตามขอกําหนด
อยางนอย 1 ขอ ดังนี้ Strain hardening

 การออกแบบสําหรับกําลังรับโมเมนตดัดที่ตองการ 1.1R y M p สําหรับวิธี LRFD หรือ


1.1 / 1.5Ry M p สําหรับวิธี ASD กําลังรับแรงเฉือนที่ตองการของรอยตอใหคํานวณจาก
การรวมแรงโดยใชแรงแผนดินไหวขยายคา E  21.1R M / L Clear
mh y p cf
span
length of beam
 กําลังรับแรงเฉือนของ Column panel zone โดยพิจารณาผลของกําลังสวนเกินของ
วัสดุและพฤติกรรมความเครียดแข็งเพิ่มขึ้น (ใช 1.1RyFy แทน Fy ในหัวขอ J10.6)
 รอยตอแบบยึดแนนระหวางแผนปกคานและแผนปกเสาตองเปนไปตามขอกําหนด
รอยตอของโครงตานแรงดัดที่มีความเหนียวปานกลางหรือโครงตานแรงดัดที่มีความ
เหนียวพิเศษ
 รอยตอแบบกึ่งยึดแนน
 กําลังรับโมเมนตดัดระบุของรอยตอ ( M n,PR ) ตองมีคาไมนอยกวารอยละ 50 ของ
กําลังรับโมเมนตดัดพลาสติกระบุของคาน (Mp) ที่มาตอ
สําหรับกรณีอาคารชั้นเดียว กําลังรับโมเมนตดัดระบุของรอยตอ ( M n,PR) ตองมีคาไม
นอยกวารอยละ 50 ของกําลังรับโมเมนตดัดพลาสติกระบุของเสา
 กําลังรับแรงเฉือนคํานวณเชนเดียวกับรอยตอแบบยึดแนน โดยแทน M p ดวย M n,PR
 แผนตอเนื่อง (Continuity plates) ตรวจสอบตาม AISC 360-10 ใชโมเมนตดัดออกแบบรอยตอ
เสาและคาน

แผนเหล็กตอเนื่อง
NOTE: AISC 360-10: การออกแบบอาคารเหล็กโครงสรางรูปพรรณ
J10.
NOTE: AISC 360-10: การออกแบบอาคารเหล็กโครงสรางรูปพรรณ
J10.
NOTE: AISC 360-10: การออกแบบอาคารเหล็กโครงสรางรูปพรรณ
J10.
NOTE: AISC 360-10: การออกแบบอาคารเหล็กโครงสรางรูปพรรณ
J10.
Intermediate Moment Frame (IMF)

 การครากดัดของคานและเสา และการครากเฉือนของเขตแผงรอยตอเสาและคาน

 ขอกําหนดองคอาคาร
 คานและเสาตองเปนไปตามขอกําหนดหนาตัดองคอาคารที่มคี วามเหนียวปานกลาง
 คานตองมีค้ํายันตามขอกําหนดการค้ํายันองคอาคารที่มคี วามเหนียวปานกลาง การ
ติดตั้งค้ํายันและการใหรายละเอียดรอยตอตองเปนไปตามขอกําหนดในบทที่ 11 หรือ
มาตรฐาน AISC 358-10
 กําลังรับแรงของค้ํายันดานขางทีต่ ําแหนงจุดหมุนพลาสติกตองเปนไปตามขอกําหนด
การค้ํายันพิเศษทีจ่ ุดหมุนพลาสติก
 บริเวณปลายคานที่มกี ารเสียรูปแบบไมยืดหยุน  หรือปลายคานที่เกิดจุดหมุนพลาสติก
ตองไดรบั การออกแบบเปนเขตปกปอง
 ขอกําหนดของรอยตอ
 รอยเชื่อมวิกฤติ: รอยเชื่อมแบบรองในตําแหนงที่มีการตอทาบเสา, รอยเชื่อมที่
ฐานเสา, รอยเชื่อมแบบรองทะลุตลอดของแผนปกคานและแผนเอวคานกับเสา
 รอยตอระหวางเสาและคานที่ใชในระบบตานแรงแผนดินไหวตองสามารถรองรับ
มุมการเคลื่อนที่สัมพัทธระหวางชั้นไดไมนอยกวา 0.02 เรเดียน  ขอกําหนด
ในบทที่ 11, AISC 358-10, หรือทดสอบตามบทที่ 12
 กําลังรับแรงเฉือนที่ตองการของรอยตอใหคํานวณจากการรวมแรงโดยใชแรง
แผนดินไหวขยายคา E  21.1R M / L
mh y p h

 เขตแผงรอยตอเสาและคาน (Panel Zone) ตรวจสอบกําลังเฉือนที่ตองการ


จากโมเมนตดัดที่ปลายคานที่ไดจากการรวมแรงแบบไมพิจารณาแรงแผนดินไหว
ขยายคา
 การตอทาบเสา: รอยเชื่อมตองเปนแบบรองทะลุตลอด, รอยตอสลักเกลียวตองมี
กําลังตานทานโมเมนตดัดอยางนอยเทากับ R F Z สําหรับวิธี LRFD หรือ
y y x

R F Z / 1.5 สําหรับวิธี ASD


y y x
Special Moment Frame (SMF)
 การออกแบบชิ้นสวนเสาใหมีกําลังรับแรงสูงกวากําลังรับแรงของคานภายหลังการเกิดสภาวะคราก
และพฤติกรรมความเครียดแข็งเพิ่มขึ้น ชิ้นสวนเสาตองสามารถเกิดการครากเนื่องจากแรงดัดได
 ขอกําหนดองคอาคาร
 คานและเสาตองเปนไปตามขอกําหนดขององคอาคารที่มีความเหนียวสูง
 ภายในบริเวณจุดหมุนพลาสติก ไมอนุญาตใหมีการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปกคานอยางฉับพลัน
การเจาะรู รวมถึงการบากแผนปก
 บริเวณปลายคานที่มีการเสียรูปแบบไมยดื หยุนหรือปลายคานที่เกิดจุดหมุนพลาสติก ตอง
ไดรับการออกแบบเปนเขตปกปอง ใชแรงแผนดินไหวขยายคา
Strong column-weak beam
 ขอกําหนดระบบโครงสราง  M *pc  1.0  Puc 
 รอยตอของเสาและคาน  M *pb  pc  c  yc A 
M *
 Z  F 
 g 

M *
pc
ผลรวมของกําลังรับโมเมนตดัดระบุของเสาทีอ่ ยูดานบนและดานลางของรอยตอเสาและคานเทียบกับแนว
กึ่งกลางคาน
M *
pb ผลรวมของกําลังรับโมเมนตดัดที่คาดหวังของคาน โดยคิดผลของแรงจากจุดหมุนพลาสติกที่มีตอแนว
กึ่งกลางเสา  M pb   1.1Ry Fyb Z b  M uv  Moment due to shear at column center line
*
 คานตองมีการค้ํายันตามขอกําหนดการค้ํายันองคอาคารที่มคี วามเหนียวพิเศษ, ค้ํา
ยันคานในตําแหนงใกลกับแรงกระทําแบบจุด, ตําแหนงที่มีการเปลี่ยนแปลงหนาตัด
และตําแหนงที่อาจเกิดจุดหมุนพลาสติกในโครงตานแรงดัด
 การค้ํายันรอยตอของเสาและคาน
 กรณีเสาอยูในชวงยืดหยุนนอกเขตแผงรอยตอเสา (  M /  M > 2.0)
* *
pc pb

 แผนปกเสาที่รอยตอเสาและคานตองมีค้ํายันที่ระดับของแผนปกบนของ
คาน
 กรณีเสาไมอยูในชวงยืดหยุนนอกเขตแผงรอยตอเสา แผนปกเสาตองมีการค้ํา
ยันดานขางที่ระดับแผนปกบนและแผนปกลางคาน
 ค้ํายันที่แตละดานของแผนปกเสาตองออกแบบใหมีกําลังอยางนอยรอยละ 2
ของกําลังของแผนปกคานซึ่งคํานวณไดจาก F b t สําหรับวิธี LRFD หรือ
y f bf

F b t / 1.5 สําหรับวิธี ASD


y f bf
 ขอกําหนดของรอยตอ
 รอยเชื่อมวิกฤติ  รอยเชื่อมแบบรองในตําแหนงที่มีการตอทาบเสา, รอยเชื่อมที่ฐานเสา ,
รอยเชื่อมแบบรองทะลุตลอดของแผนปกคานและแผนเอวคานกับเสา
 รอยตอเสาและคานตองสามารถรองรับมุมการเคลื่อนที่สัมพัทธระหวางชั้นไดไมนอยกวา
0.04 เรเดียน โดยมีกําลังรับโมเมนตดัดของรอยตอไมนอยกวารอยละ 80 ของกําลังรับ
โมเมนตดัดพลาสติกระบุของคานที่มาตอยึด  ขอกําหนดในบทที่ 11, AISC 358-10,
หรือทดสอบตามบทที่ 12
 กําลังรับแรงเฉือนที่ตองการของเขตแผงรอยตอเสาและคาน คํานวณตาม AISC 360-10 โดย
ที่ v = 1.0 และ  = 1.50
v

 ในกรณีที่มีการใชแผนเสริมความหนา (doubler plate) ความหนาแตละชิ้นสวน


ของแผนเอวเสาและแผนเสริมความหนาตองเปนไปตามขอกําหนดดังนี้

ความกวางของเขตแผงรอยตอเสาและคาน
ระหวางปกเสา (มม.)
 กรณีที่มีการใชแผนเสริมความหนา (doubler plate) ความหนา (t) แตละชิ้นสวน
ของแผนเอวเสาและแผนเสริมความหนาตองเปนไปตามขอกําหนดดังนี้
ความหนาของแผนเอวเสา
หรือแผนเสริมความหนา
t ≥ (dz + wz)/90
(d-2tf) ของคานที่ลึกกวาที่รอยตอ (มม.) ความกวางของเขตแผงรอยตอเสาและคานระหวางปกเสา (มม.)

ตัวอยางการตอยึดแผน Doubler
Plate กับหนาตัดเสา
 ความหนาของแผนเหล็กตอเนื่องตองเปนไปตามขอกําหนดดังนี้
 สําหรับรอยตอเสาและคานที่มีคานมาเชื่อมตอดานเดียว

ความหนาแผนเหล็กตอเนื่อง ≥ 1/2 (ความหนาของแผนปกคาน)


 สําหรับรอยตอเสาและคานที่มีคานมาเชื่อมตอสองดาน
ความหนาแผนเหล็กตอเนื่อง ≥ ความหนาของแผนปกคานที่หนามากกวา
ที่มาตอกับแตละดานของเสา

 แผนเหล็กตอเนื่องตองตอเชื่อมกับแผนปกเสาดวยรอยเชื่อมแบบรองทะลุตลอด
สวนการเชื่อมแผนเหล็กตอเนื่องกับแผนเอวเสาสามารถใชรอยเชื่อมแบบรองหรือ
รอยเชื่อมแบบพอกได
แผนเหล็กตอเนื่อง
ขอกําหนดในการออกแบบระบบโครงตานแรงดัด
โครงตานแรงดัดแบบธรรมดา โครงตานแรงดัดที่มีความเหนียว โครงตานแรงดัดที่มีความเหนียว
ขอกําหนด
(OMF) ปานกลาง (IMF) พิเศษ (SMF)
อัตราสวนความ ใชขอกําหนดสําหรับความเหนียว ใชขอกําหนดสําหรับความเหนียว
กวางตอความหนา ไมมขี อกําหนด ปานกลาง (md) สําหรับเสาและ เปนสูง (hd) สําหรับเสาและคาน
ของชิ้นสวน (b/t) คาน
การค้ํายันเพื่อเพิ่ม ไมมขี อกําหนด กําลังของค้ํายันตองเพียงพอ กําลังของค้ํายันตองเพียงพอสําหรับ
เสถียรภาพของคาน สําหรับใหคานพัฒนากําลังไดถึง ใหคานพัฒนากําลังไดถึง Mr =
Mr = RyFyZ สําหรับวิธี LRFD และ RyFyZ สําหรับวิธี LRFD และ
ระยะหางของค้ํายันตองไมเกิน Lb ระยะหางของค้ํายันตองไมเกิน Lb
= 0.17ryE/Fy = 0.086ryE/Fy
การเปลี่ยนแปลง นอย โครงสรางสามารถเปลี่ยนแปลง โครงสรางสามารถเปลี่ยนแปลง
รูปรางภายใตแรง รูปรางที่ Story Drift Angleได รูปรางที่ Story Drift Angleได
แผนดินไหว อยางนอย 0.02 rad อยางนอย 0.04 rad
จุดตอระหวางเสา สําหรับจุดตอแบบ Fully จุดตอตองสามารถใหโครงสรางมี จุดตอตองสามารถใหโครงสรางมี
และคาน Restrained (FR) กําลังรับแรงดัด Story Drift Angle ไดอยางนอย Story Drift Angle ไดอยางนอย
ของจุดตอเทากับ 1.1 เทาของกําลัง 0.02 rad และกําลังรับแรงดัดของ 0.04 rad และกําลังรับแรงดัดของ
รับแรงดัดของ คานที่คํานวณกําลัง จุดตอตองมีคาอยางนอย 0.08Mp จุดตอตองมีคาอยางนอย 0.08Mp
รับแรงดัดจาก RyMp ของคานที่มุม 0.02 rad ของคานที่มุม 0.4 rad
เขตปกปอง ไมมี พิจารณาใหปลายคานเปน พิจารณาใหปลายคานเปน
(Protected Zone) Protected Zone Protected Zone
ขอกําหนดโครงแกงแนง
 ภายใตแรงแผนดินไหวแกงแนงอาจเกิดจุดหมุนพลาสติก และมีการถายแรงไปยังเสาและ
คานที่รอยตอของแกงแนง ดังนั้น ในการออกแบบโครงสรางแกงแนง เพื่อตานทานแรง
กระทําจากแผนดินไหว จึงตองพิจารณาใหเสา คาน และรอยตอมีกําลังและความสามารถ
ในการเปลี่ยนแปลงรูปรางที่สอดคลองกับขนาดของแรง และการหมุนที่จุดหมุนพลาสติก
ของแกงแนง

 ระบบแกงแนงที่ใชอาจเปนโครงแกงแนงเหล็กแบบตรงศูนยแบบธรรมดา (Ordinary
Steel Concentric Braced Frame, OCBF) โครงแกงแนงเหล็กแบบตรงศูนยแบบให
รายละเอียดพิเศษ (Special Steel Concentric Braced Frame, SCBF) หรือโครง
แกงแนงเหล็กแบบเยื้องศูนย (Eccentrically Braced Frame, EBF)

ระบบ V-Braced ระบบ Inverted V-Braced ระบบ X-Braced ระบบ Diagonal Braced
ขอกําหนดในการออกแบบระบบโครงแกงแนง
ขอกําหนด โครงแกงแนงเหล็กแบบตรงศูนย โครงแกงแนงเหล็กแบบตรงศูนยแบบใหรายละเอียดพิเศษ
แบบธรรมดา
การวิเคราะห วิเคราะหแบบอิลาสติก กําลังของเสา คาน และรอยตอวิเคราะหโดยใชแรงแผนดินไหวขยายคา โดย
พิจารณา 2 กรณีคือ 1) แกงแนงมีกําลังรับแรงดึงและแรงอัดตามกําลังที่คํานวณ
ตามมาตรฐานการออกแบบ 2) แกงแนงรับแรงดึงมีกําลังตามที่คํานวณตาม
มาตรฐานการออกแบบ สวนแกงแนงรับแรงอัดมีกําลังในชวงหลังการโกงเดาะ
(Post-Buckling Strength = 0.3xStrength in Comp.)
เสาและคาน ออกแบบคานตามแรงทีไ่ ดจากการ เสาออกแบบใหมีความเหนียวสูง คานออกแบบใหมีความเหนียวปานกลาง
วิเคราะห
แกงแนง ใชขอกําหนดอัตราสวนความกวาง ใชขอกําหนดอัตราสวนความกวางตอความหนา (b/t) สําหรับความเหนียวสูง
ตอความหนา (b/t) สําหรับความ (hd) มีความชะลูด KL/r ไมเกิน 200
เหนียวปานกลาง (md) และมี
ความชะลูด KL/r ไมเกิน 4 E/Fy
จุดตอของ ใชแรงในการออกแบบจากการ 1) ออกแบบใหจุดตอระหวางเสาและคานมีความสามารถในการหมุนอยางนอย
แกงแนงกับเสา วิเคราะหดวยแรงแผนดินไหวรวม 0.025 rad หรือมีกําลังในรับการรับโมเมนตไมนอยกวา 1.1 เทาของ RyMp ของ
และคาน Amplified Seismic Load และ เสาและคาน
กําลังของแกงแนงเทากับ RyFyAg 2) ออกแบบจุดตอที่ปลายของแกงแนงใหมีกําลังรับแรงดึงไดอยางนอย RyFyAg
ของแกงแนง มีกําลังรับแรงอัดไดอยางนอย 1.1 เทาของกําลังรับแรงอัดของ
แกงแนง และกําลังรับแรงดัดไดอยางนอย 1.1 เทาของกําลังรับแรงดัดของ
แกงแนง
ขอกําหนด (เพิ่มเติม) โครงแกงแนงแบบตรงศูนยธรรมดา

 โครงแกงแนงรูปตัววี และโครงแกงแนงรูปตัววีคว่ํา กําลังของคานพิจารณาจาก


การรวมผลของแรงกระทํา โดยผลจากแรงแผนดินไหวไดจาก
(1) แรงดึงในแกงแนง ใหใชคานอยที่สุดของคาดังนี้
 กําลังครากที่คาดหวังภายใตแรงดึงของแกงแนง = (RyFyAg)

 ผลของแรงที่พิจารณาแรงแผนดินไหวขยายคา

 แรงสูงสุดที่สามารถเกิดขึ้นไดในระบบโครงสราง

(2) แรงอัดในแกงแนง สมมติใหมีคาเทากับรอยละ 30 ของกําลังรับแรงอัดระบุ


(0.3Pc)
 รอยตอแกงแนงแบบทแยง (diagonal brace connection) กําลังที่ตองการ
ของรอยตอแกงแนงตองมีคาไมเกินกวาคาดังนี้
 กําลังครากที่คาดหวังของแกงแนงภายใตแรงดึง มีคาเทากับ (RyFyAg) สําหรับ
วิธี LRFD หรือ 2(RyFyAg)/3 สําหรับวิธี ASD

 กําลังครากที่คาดหวังของแกงแนงภายใตแรงอัดคูณดวย 1.0 สําหรับวิธี LRFD


หรือ หารดวย 1.5 สําหรับวิธี ASD
กําลังครากคาดหวังของแกงแนงภายใตแรงอัดเปนคาที่นอยกวาระหวาง
(RyFyAg) กับ 1.14FcreAg โดยที่ Fcre คือ หนวยแรงวิกฤติ (Fcr) ที่ไดจากการ
ใชหนวยแรงครากที่คาดหวัง (RyFy) แทนคากําลังครากระบุ (Fy) ในการ
คํานวณหนวยแรงวิกฤติขององคอาคารภายใตแรงอัด
Load effect from amplified seismic
load but need not exceed
1. For tension, expected yield
strength of brace
2. For compression, expected
braced strength
Example (OCBF)
Beam: 1) a collector member (oE), 2) no
requirement on member ductility (use AISC
360)

Gusset plate: collector at beam-to-column


connection (oE) but need not to exceed
(LRFD) 1) Tu,exp = RyFyAg (Tension), 2) Pu,exp =
min(RyFyAg, 1.14FcreAg) where Fcre is computed
using RyFy) (Compression)

Bracing: Moderately ductile Column: 1) use amplified seismic load (oE)


member with limit on KL/r (มยผ.1304 (4.4)), 2) no requirement on member
ductility (use AISC 360)
การออกแบบรอยตอเสา และคานที่มีความเหนียว
1) รอยตอลดหนาตัดคาน
(Reduced Beam Section, RBS)

2) รอยตอแผนเหล็กเสริมปลายมีสลัก
เกลียวแบบที่ไมมี และแบบที่มีแผน
เหล็กเสริม

4) รอยตอยึดแผนเอว และแผนปกดวยการเชื่อมไมเสริม
3) รอยตอยึดแผนปกดวยสลักเกลียว (Bolted Flange กําลัง (Welded Unreinforced Flange-Welded
Plate Moment Connection) Web Moment Connection
รอยตอยึดแผนเอว และแผนปกดวยการเชื่อมไมเสริมกําลัง

 พฤติกรรมการหมุนแบบอินอิลาสติกจากการครากของคานในบริเวณใกลกับหนาเสา การขาด
ของรอยตอป องกั นด วยการให รายละเอี ยดพิเศษในการเชื่อมปกคานและเอวคานเขากับป กเสา
รวมถึงรูปรางและการทําชองเปดเพื่อใหเขาเชื่อมถึง (Weld Access Hole)
 รอยตอแบบ WUF-W สามารถใชโครงตานแรงดัดที่มีความเหนียว (SMF) และโครงตานแรงดัดที่มี
ความเหนียวปานกลาง (IMF)
Prequalification Limit

 ขอจํากัดองคอาคาร: คานและเสาเปนไปตามขอกําหนดของ IMF หรือ SMF


 รอยตอเสา และคาน
 ขอจํากัดการเชื่อมระหวางปกคาน และปกเสา
(1) ปกคานตองตอยึดกับปกเสาดวยรอยเชื่อมแบบรองทะลุตลอด รอยเชื่อมของปกคานตองเปนไปตาม
ขอกําหนดของรอยเชื่อมวิกฤติ
(2) รูปรางของชองเปดเพื่อใหเขาเชื่อมถึง (Weld Access Hole) ตองเปนไปตามขอกําหนดของ
มาตรฐาน AWS D1.8/D1.8M คุณภาพของชองเปดเพื่อใหเขาเชื่อมถึง (Weld Access Hole) ตอง
เปนไปตามขอกําหนดของ AWS D1.8
 แผนรอยตอรับแรงเฉือนตองเชื่อมกับแผนปกเสา โดยมีกําลังรับแรงเฉือนออกแบบของรอยเชื่อม
อยางนอยเทากับ hptp(0.6RyFyp) โดยที่ hp คือ ความยาวของแผนรอยตอรับแรงเฉือน และ tp
คือ ความหนาของแผนรอยตอรับแรงเฉือน
 รอยตอเอวคาน และปกเสาตอยึดดวย Single-Plate Shear Connection ตองเปนไปตามดังแสดง
ในรูป แผน Single-Plate Shear Connection ตองมีความหนาอยางนอยเทากับความหนาของ
แผนเอวคาน แผน Single Plate มีความยาวยื่นเลยเขาไปในชองเปดเพื่อใหเขาเชื่อมถึง (Weld
Access Hole) ดานบน และดานลางตั้งแต 6 มม. ถึง 12 มม.
ขั้นตอนการออกแบบ
ขั้นตอนที่ 1 คํานวณโมเมนตดัดสูงสุดนาจะเปน (Mpr) ที่จุดหมุนพลาสติก
Mpr = CprRyFyZx
โดยที่ Cpr = ตัวประกอบสําหรับกําลังสูงสุดของรอยตอ โดยพิจารณาพฤติกรรมความเครียด
แข็งเพิ่มขึ้น การยึดรั้งเฉพาะที่ การเสริมกําลัง และเงื่อนไขอื่น มีคาเทากับ 1.4 สําหรับ
รอยตอแบบ WUF-W
ขั้นตอนที่ 2 กําหนดใหจุดหมุนพลาสติกอยูที่หนาเสา
ขั้นตอนที่ 3 คํานวณแรงเฉือน (Vh) ที่ตําแหนงจุดหมุนพลาสติกของปลายคานแตละดาน
โดยใชผังวัตถุอิสระของคานสวนทีอ่ ยูระหวางจุดหมุนพลาสติก โดยสมมติใหโมเมนตดัดทีจ่ ุด
หมุนพลาสติกมีคาเทากับ Mpr และรวมน้ําหนักบรรทุกเนื่องจากแรงโนมถวงที่กระทําบน
คานโดยใชการรวมแรงจากคา 1.2D+f1L
ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบขอจํากัดความสัมพันธของเสา และคาน
ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบกําลังรับแรงเฉือนออกแบบของคาน
ขั้นตอนที่ 6 ตรวจสอบความตองการของแผนเหล็กตอเนื่องในเสา
รอยตอลดหนาตัดคาน (Reduced Beam Section)
Prequalification Limit
 อัตราสวนระยะชองวางตอความลึก (Clear Span-
to-Depth Ratio) ของคานตองเทากับหรือมากกวา
7 สําหรับโครงตานแรงดัดเหล็กที่มีความเหนียว
(SMF) และเทากับหรือมากกวา 5 สําหรับโครงตาน
แรงดัดที่มีความเหนียวปานกลาง (IMF)
 อัตราสวนความกวางตอความหนาของแผนปกและ
แผนเอวคานและเสาตองเปนไปตามขอกําหนดของ
ประเภทโครงตานแรงดัดที่พิจารณา
 การค้ํายันดานขางตองเปนไปตามขอกําหนดของการ
ค้ํายันพิเศษที่จุดหมุนพลาสติก
 เขตปกปองเปนสวนของคานระหวางหนาเสากับ
ขอบของการลดขนาดหนาตัดดานไกลจากหนาเสา
 อัตราสวนโมเมนตดัดในเสาและคานเปนไปตามขอกําหนดโครงตานแรงดัดที่
พิจารณา
 การตัดแผนปกคานในรอยตอลดหนาตัดคาน
 สวนของการลดหนาตัดทําโดยใชการตัดดวยความรอน เพื่อใหไดโคงที่
ราบเรียบ ความขรุขระสูงสุดของผิวตองไมเกิน 13 ไมครอน รอยตอระหวาง
สวนที่มีและไมมีการลดขนาดหนาตัดตองลบขอบคม เพื่อลดผลของรอยบาก
 ความคลาดเคลื่อนของการตัดดวยความรอนตองอยูในชวง  6 มม.
ความคลาดเคลื่อนของความกวางแผนปกคานประสิทธิผลที่ตําแหนงหนาตัด
ใด ๆ ตองอยูในชวง  10 มม.
ขั้นตอนการออกแบบ
ขั้นตอนที่ 1 เลือกขนาดหนาตัดคาน เสา และมิติของการลดขนาดหนาตัด (a, b, c) ตาม
ขอกําหนด ดังนี้
0.5bbf  a  0.75bbf
0.65d  b  0.85d
0.1bbf  c  0.25bbf
เมื่อ bbf = ความกวางของปกคาน
d = ความลึกของคาน
a = ระยะจากหนาปกเสาถึงจุดเริ่มตน
ของตําแหนงการลดหนาตัดคาน
b = ความยาวของการลดหนาตัดคาน
c = ความลึกของการลดหนาตัดที่ตําแหนงกึ่งกลางการลดหนาตัดคาน
ขั้นตอนที่ 2 คํานวณโมดูลัสหนาตัดพลาสติก (Plastic Section Modulus, ZRBS) ที่
กึ่งกลางสวนการลดหนาตัด
Z RBS  Z x  2ct bf (d  t bf )
เมื่อ Zx = โมดูลัสหนาตัดพลาสติกรอบแกน X ของหนาตัดเต็ม
tbf = ความหนาของปกคาน

ขั้นตอนที่ 3 คํานวณโมเมนตดัดสูงสุดนาจะเปน (Mpr) ที่กึ่งกลางสวนการลดหนาตัด


Max moment at center Fy  Fu
of RBS including effect Mpr  Cpr R y Fy Z RBS Cpr   1.2
of strain hardening 2Fy

ขั้นตอนที่ 4 คํานวณแรงเฉือนที่กึ่งกลางสวนการลดหนาตัดแตละดานของปลายคาน
VRBS = 2Mpr/L/  wL//2
ขั้นตอนที่ 5 คํานวณโมเมนตดัดสูงสุดนาจะเปนที่หนาเสา
M f  Mpr  VRBS Sh

เมื่อ Mf = โมเมนตดัดสูงสุดนาจะเปนที่หนาเสา
Sh = ระยะระหวางหนาเสาถึงจุดหมุนพลาสติก = a+b/2
VRBS = คาแรงเฉือนที่มากกวาที่กึ่งกลางการลดขนาดหนาตัดของปลายคานทั้งสองดาน
ขั้นตอนที่ 6 คํานวณโมเมนตดัดพลาสติก (Mpe) ของคานจากหนวยแรงครากคาดหมาย
Mpe  R y Fy Z x

ขั้นตอนที่ 7 ตรวจสอบกําลังโมเมนตดัดของคานที่หนาเสา
M f   d M pe
(d = 1.0)
ขั้นตอนที่ 8 คํานวณกําลังเฉือนที่ตองการ (Vu) ของคาน และจุดตอระหวางเอวคานและเสา
2Mpr
Vu   Vgravity
Lh
เมื่อ Lh = ระยะระหวางจุดหมุนพลาสติก
Vgravity = แรงเฉือนในคาน คํานวนไดจาก 1.2D+f1L เมื่อ f1 คือ ตัวคูณน้ําหนัก
บรรทุก สําหรับน้ําหนักบรรทุกจรตามขอบังคับอาคารที่ใช แตตองมีคาไมนอยกวา 0.5
ตรวจสอบกําลังแรงเฉือนของคาน
Example (RBS)
 Analysis using applicable building code to obtain Mu and Vu
at face of column and RBS location
 Select a, b, c (dimension of reduced section) (บทที่ 11)
 Check prequalification limit: (บทที่ 11) Protected Zone

 clear span-to-depth ratio of beam  7 for SMF,  5 for IMF


 Check b/t ratio of flange and web (highly or moderately ductile)  (b of
beam flange not less than ends of the center two-thirds of reduced section)
 Bracing according to seismic provision (highly ductile for SMF, moderately
ductile for IMF) (บทที่ 4)
 Bracing at plastic hinge (locate not greater than d/2 beyond the end of reduced
beam section) but not in protected zone
 Bracing of column for SMF:  M /  M  2.0  แผนปกเสาตองมีการค้ํายัน
* *
pc pb

ดานขางที่ระดับแผนปกบนและแผนปกลางคาน (บทที่ 7)
 Check flexural capacity at reduced section, face of column, and interior location:
 Mn = b Mn@RBS = 0.9FyZRBS  Mn = b Mn = 0.9FyZX

 Compute Mpr at face of column  Mp (Mpr = CprRyFyZRBS)


 Compute shear at center of RBS
VRBS = 2Mpr /L/ + wL//2
V /RBS = 2Mpr /L/ - wL//2 V/RBS VRBS
 Compute moment at face of column (Mf)
Mf = Mpr+VRBS(Sh)

 Check Mf  dMpe (Mpe = RyFyZx , d = 1.0)


 Compute required shear strength (Vu) at face of column
Vu = VRBS+wu(Sh)

Applicable building code (1.2D+0.5L)

 Check shear capacity of beam web with consideration of weld access hole
 Design beam web-to-column connection (บทที่ 11)
 THK of plate  10 mm
 SMF and IMF: CJP groove weld between beam web
and column flange
 IMF: use bolted single plate shear connection:
 CJP or fillet weld (with weld size  75% of plate THK) between plate and
column flange
 Use slip critical bolt connection (with standard hole) between plate and
beam web
 Design continuity plate (แผนเหล็กตอเนื่อง) (บทที่ 7)
 For beam flange welded to flange of WF column,
continuity plate is not required when
R yb Fyb bbf
tcf  0.4 1.8bbf tbf and tcf  .
R yc Fyc 6

 Check required THK of continuity plate  0.5tfb for one-sided connection or


thicker tfb for two-sided connection
 Use CJP between continuity plate and column flange
 Fillet weld strength between continuity plate and column web is the smallest of
 Tensile strength of continuity plate contact area with column flange
tTn = tFy(Acontact) (t = 0.9)
 Shear strength of continuity plate contact area with web
vVn = v(0.6Fy)(Acontact) (V = 1.0)
 Shear strength of column panel zone (AISC 360)
 Expected yield strength of beam flanges (Tn = 2RyFybftf)
For SMF, check  M
*
M pc
  1.0
 *
pb
Muv = [VRBS(a+b/2+dc/2)]
M*pb = (Mpr)+(Muv)
Mpr = 2Mpr
 Check required panel zone shear strength (SMF)
hb/2

Ru =Mf/(db-tf)-Vc
M /f Mf Vc = (Mf)/(hb/2+hf/2)
hf /2

Rn (AISC 360)

Solve for (tw+tp)


= Inflection point
 Design doubler plate (แผนเสริมความหนา) (บทที่ 7)
 Check min THK requirement t ≥ (dz + wz)/90

(db-2tfb) ของคานที่ลึกกวาที่รอยตอ (dc-2tfc)


 Extend doubler plate 150 mm above and below the beam
Reference:
• มยผ. 1304-61, มาตรฐานการออกแบบอาคารเหล็กโครงสรางรูปพรรณเพื่อตานทานการสั่นสะเทือนของแผนดินไหว, กรมโยธาธิ
การและผังเมือง.
• AISC. Design of Seismic-Resistant Steel Building Structures, Seismic Design Modules in Power Point. American
Institute of Steel Construction, 2007.
• Kachooee, A., Kafi, M.A. A Suggested Method for Improving Post Buckling Behavior of Concentric Braces Based
on Experimental and Numerical Studies, Structures, 14(2018) 333-347.
• Pachoumis, D.T., Galoussis, E.G., Kalfas, C.N., and Efthimiou, I.Z. Cyclic Performance of Steel Moment-Resisting
Connections with Reduced Beam Sections-Experimental Analysis and Finite Element Model Simulation,
Engineering Structures 32(2010) 2683-2692.
• Sofias, C.E., Kalfas, C.N., and Pachoumis, D.T. Experimental and FEM Analysis of Reduced Beam Section
Moment Endplate Connections under Cyclic Loading, Engineering Structures 59(2014) 320-329.
• Tsai, K. and Popov, E.P. Cyclic Behavior of End-Plate Moment Connections, Journal of Structural Engineering
116(1990) 2917-2930.
• Sumner, E.A. and Murray, T. Behavior of Extended End-Plate Moment Connections Subject to Cyclic Loading,
Journal of Structural Engineering 128(2002) 501-508.

You might also like