You are on page 1of 43

การออกแบบโครงสรางเหล็ก

ดร. ประกิจ เปรมธรรมกร


มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีมหานคร
จุดประสงคและวิธีการ

เขาใจพื้นฐานการออกแบบองคอาคารในโครงสรางเหล็ก
เตรียมความพรอมสําหรับการสอบเลื่อนระดับชั้นใบอนุญาตฯ
ทําความคุนเคยกับมาตรฐานการออกแบบ
Tutorial
วิธีการออกแบบโครงสรางเหล็ก

วิธีหนวยแรงที่ยอมให
(Allowable stress design) ASD

วิธตี ัวคูณความตานทานและน้าํ หนักบรรทุก


(Load and Resistance Factor Design) LRFD
ขอบเขตเนื้อหา
หลักการพื้นฐานการออกแบบโดยวิธี Allowable Stress Design (ASD)
องคอาคารรับแรงดึง (Tension members)
องคอาคารรับแรงอัด (Compression members)
องคอาคารรับแรงดัด (Bending members)
องคอาคารรับแรงตามแนวแกนและแรงดัดรวม (Combined axial and
bending members)
องคอาคารวัสดุผสม (Composite members)
องคอาคารแผนเหล็กประกอบ (Built-up beams and Plate girders)
รอยตอ แผนรอง แผนเหล็กเสริมกําลัง (Connections, Base plates,
stiffeners)
Structural Design
Loading
+
Structural config

Structural Analysis
(Elastic or Plastic)

Internal forces
Optimal Design? (axial, bending, shear)

No

End Member Design


ASD

หนวยแรงที่เกิดขึ้น ≤ หนวยแรงทีย่ อมให

f ≤F
Actual Stress ≤ Allowable Stress
องคอาคารรับแรงดึง (Tension members)
T
ft =
A

T T

A = Cross section area


เนื้อที่หนาตัด
เนื้อที่หนาตัดรวม (Gross area) Ag
เนื้อที่หนาตัดสุทธิ (Net area) An

An = Ag − เนื้อที่หนาตัดรูเจาะ
วสท 2.3.1.1 เสนผาศูนยกลางรูเจาะ = 1.5 มม. + ขนาดระบุรูเจาะ
ตัวอยางที่ 2.1
จงคํานวณหาเนื้อที่หนาตัดสุทธิของเหล็กแผนขนาด 10 มม.×150 มม. ซึ่งยึด
ติดกันดวยสลักเกลียวขนาด 15 มม. จํานวน 2 แถวตามรูป

เนื้อที่หนาตัดสุทธิ A n = (10)(150) − (2)(10)(15 + 1.5) มม2


= 1170 มม2
รูเจาะเรียงกันเปนแนวทแยง

ความกวางสุทธิคํานวณไดจากความกวางขององคอาคารหักออกดวย
ขนาดเสนผาศูนยกลางของรูเจาะตามแนวตัดผานและบวกดวยคา S2/4g
ของทุกชวงทแยงตามแนวตัดนัน้

An = tbn = t (b − ∑ ∅ + ∑ s / 4 g ) 2
ตัวอยางที่ 2.2
จงหาเนื้อที่หนาตัดสุทธิของเหล็กแผนตามรูป ซึ่งรูเจาะใชสําหรับสลักเกลียวขนาด 12 mm.

การหาเนื้อที่หนาตัดสุทธิจะตองพิจารณาแนวการวิบัติทุกแนวที่เปนไปไดของหนาตัด หนา
ตัดวิกฤตคือแนวที่มีเนื้อที่หนาตัดสุทธิต่ําสุด เนื่องจากหนาตัดมีความหนาสม่ําเสมอตลอด
ความกวาง เนื้อที่หนาตัดสุทธิจึงเทากับผลคูณของความหนากับความกวางสุทธิของหนา
ตัดวิกฤต
แนว bn = b − ∑∅ + ∑ s 2 /4g

ACEG & BDFH 300-2(12+1.5) = 237 มม.


ACDEG 300-3(12+1.5)+2(502/4×60) = 280.3 มม.
ACDFH 300-3(12+1.5)+502/4×60 = 269.9 มม.
ACDEEFH 300-4(12+1.5)+3(502/4×60) = 277.3 มม.
เนื้อที่หนาตัดวิกฤต = 26.99×1.5
= 40.49 ซม.2
สําหรับเหล็กฉาก ใหคิดความกวางเหมือนกับเหล็กแผนที่มีความกวาง
เทากับ ผลบวกความกวางของขาเหล็กฉากทั้งสองหักออกดวยความ
หนา ( b = L1+ L2 – t ) (วสท. 2.3.1.3)

เนื้อที่หนาตัดตามแนวที่ตัดผานรอยเชื่อมแบบอุดรองหรืออุดรูจะไมคิคดิ
รวมเนื้อที่ของรอยเชื่อม (วสท. 2.3.1.5)
ตัวอยางที่ 2.3
เหล็กฉากขนาด L75×75×9 มีรูเจาะขนาด ∅ = 10.5 มม. ตามรูป จงหาเนื้อที่หนาตัด
สุทธิ
แนว bn (มม.)
ABCD 141-2(10.5) = 120
ABECD 141-3(10.5)+402/4×61+402/4×30 = 129.4

เนื้อที่หนาตัดสุทธิ An = 12×0.9 = 10.8 ซม2


เนื้อที่หนาตัดสุทธิประสิทธิผล Ae (Effective Net Area)

Shear Lag

องคอาคารยึดตอดวยสลักเกลียวหรือหมุดย้ํา Ae = UAn
องคอาคารมีจุดตอแบบเชื่อม Ae = UAg
ตัวคูณลดคา (Reduction Factor) U
องคอาคารยึดตอดวยสลักเกลียวหรือหมุดย้ํา
กรณี ชนิดขององคอาคาร คาตัวคูณลด
ก เหล็กหนาตัดรูป W, M, S และเหล็กรูป T ซึ่งตัดจากหนาตัดเหลานี้ U = 0.90
ที่มีความกวางแผนปกไมนอยกวา 2 ใน 3 ของความลึกของหนา
ตัด ยึดตอเฉพาะทีแ่ ผนปก นอกจากนี้รอยตอใชสลักเกลียวหรือ
หมุดย้ําไมนอยกวาแถวละ 3 ตัว ในทิศทางของแรง
ข เหล็กหนาตัดรูป W, M, S และเหล็กรูป T ซึ่งตัดจากหนาตัดเหลานี้ U = 0.85
ที่มีสัดสวนไมเขาขายเงื่อนไขตามขอ ก ขางตน เหล็กหนาตัด
อื่นๆทุกชนิดรวมทั้งหนาตัดประกอบ และรอยตอใชสลักเกลียว
หรือหมุดย้าํ ไมนอยกวาแถวละ 3 ตัว ในทิศทางของแรง
ค องคอาคารทุกชนิดที่มจี ุดตอแบบสลักเกลียวหรือหมุดย้าํ ที่มีเพียง U = 0.75
แถวละ 2 ตัว ในทิศทางของแรง
ตัวคูณลดคา (Reduction Factor) U
องคอาคารยึดตอดวยสลักเกลียวหรือหมุดย้ํา
ตัวคูณลดคา (Reduction Factor) U
องคอาคารยึดตอดวยสลักเกลียวหรือหมุดย้ํา

คาตัวคูณลดที่แสดงในตาราง ใชเฉพาะกรณีที่มีผลของ Shear Lag หากทุกชิ้นสวน


ของรูปตัดมีการยึดตอ เชนกรณีของแผนเหล็กรับแรงดึงถูกยึดดวยตัวยึด กรณีเชนนี้
จะไมเกิดผลของ Shear lag นั่นคือไมตองพิจาณาคาตัวคูณลด
ตัวคูณลดคา (Reduction Factor) U

องคอาคารยึดตอแบบเชื่อม

คา U เปนเชนเดียวกับของกรณีจุดตอแบบสลักเกลียวหรือหมุดย้ํา ตาม


ขอ ก และ ข โดยไมเกี่ยวกับจํานวนของสลักเกลียวที่กําหนดไว
ตัวคูณลดคา (Reduction Factor) U
องคอาคารยึดตอแบบเชื่อม

กรณีพิเศษ 1

ถาชิ้นสวนบางชิ้นสวนขององคอาคารรับแรงดึงมีรอยเชื่อมตามขวางกับทิศทาง
ของแรงดึง ใหใชพื้นที่หนาตัดสุทธิประสิทธิผลเทากับพื้นที่ของชิ้นสวนที่เชื่อมติด
ดวยรอยเชื่อมตามขวางนั้นเทานั้น
ตัวคูณลดคา (Reduction Factor) U
องคอาคารยึดตอแบบเชื่อม

กรณีพิเศษ 2

ความยาวรอยเชื่อม U
l > 2w 1.0
2 w > l > 1.5w 0.87
1.5w > l > w 0.75
การเฉือนออก (Block Shear)
การเฉือนออก (Block Shear)
เปนการฉีกขาดตรงรอยตอขององคอาคารโดยเกิดตามแนวเสนรอบรูป
ของรูเจาะหรือแนวรอยเชื่อมกับขอบขององคอาคาร
อาจเกิดบนองคอาคารที่รับแรงดึงเองหรือเกิดบนแผนเหล็กประกับก็ได
ขึ้นอยูกับลักษณะการตอปลาย
สาเหตุของการวิบัติแบบนี้เกิดจากการเกิดหนวยแรงเฉือนกับหนวยแรง
ดึงพรอมๆกัน
ปกติ Block shear จะไมใชปจจัยสําคัญในการออกแบบองคอาคารรับ
แรงดึง แตอาจเปนปจจัยสําคัญสําหรับการออกแบบรอยตอ โดยเฉพาะ
การยึดตอขององคอาคารที่มีความหนานอยๆ
หนวยแรงดึงที่ยอมให (Allowable Tensile Stress, Ft)
กรณีที่พิจารณาหนาตัดรวม Ft = 0.6 Fy

กรณีที่พิจารณาหนาตัดสุทธิประสิทธิผล Ft = 0.5Fu

กรณีที่พิจารณาการเฉือนออก Tbs = 0.3Fu Av + 0.5Fu At

โดยที่ Av และ At คือ เนื้อที่ของระนาบรับแรงเฉือนและระนาบรับแรงดึงตามลําดับ

ผูออกแบบจะตองตรวจสอบไมใหองคอาคารรับแรงดึงสูง
กวาคาทั้งสามขางตน
ตัวอยางที่ 2.4
เหล็กฉากขนาด L50×50×5 มีลักษณะจุดตอตามรูป เหล็กมาตรฐาน
SM400 (Fy = 24.5 MPa, Fu = 400 MPa) จงหากําลังในการรับแรง
ดึง
สําหรับ L50×50×5 Ag = 4.8 cm2
An = ((5+5-0.5) - 1.35)×0.5 = 4.08 cm2

(a) U = 0.75 (b) U = 0.85


Ae = 0.75×4.08 = 3.06 cm2 Ae = 0.85×4.08 = 3.47 cm2
Pmax= คาที่นอยกวาระหวาง [0.6 FyAg, 0.5 FuAe] Pmax= คาที่นอยกวาระหวาง [0.6 FyAg, 0.5 FuAe]
0.6 FyAg = 0.6×245×106×4.8×10-4 0.6 FyAg = 0.6×245×106×4.8×10-4
= 70,560 N (7.2 T) = 70,560 N (7.2 T)
0.5 FuAe = 0.5×400×106×3.06×10-4 0.5 FuAe = 0.5×400×106×3.47×10-4
= 61,200 N (6.24 T) = 69,400 N (7.08 T)
Pmax = 6.24 ตัน Pmax= 7.08 ตัน
(c) U = 0.85
Ae = 0.85×4.8 = 4.08 cm2
Pmax= คาที่นอยกวาระหวาง [0.6 FyAg, 0.5 FuAe]
0.6 FyAg = 0.6×245×106×4.8×10-4
= 70,560 N (7.2 T)
0.5 FuAe = 0.5×400×106×4.08×10-4
= 81,600 N (8.33 T)
Pmax= 7.2 ตัน
อัตราสวนความชะลูด องคอาคารรับแรงดึง

เพื่อปองกันไมใหเกิดการไหวตัวไดงายภายใตแรงลมหรือการ
สั่นสะเทือนหรือเกิดลักษณะการตกทองชางภายใตนา้ํ หนัก
บรรทุกของตัวเอง

KL
≤ 300
r
การออกแบบองคอาคารรับแรงอัด
(Design of Compression Members)
พื้นฐาน
•กําลังขององคอาคารรับแรงอัด ขึ้นอยูกับสัดสวนขององคอาคารหรือเสานัน้ เสา
ซึ่งมีหนาตัดขนาดใหญหรือความยาวนอย ความสามารถในการรับน้ําหนักจะ
ขึ้นอยูกับกําลังของวัสดุโดยตรง นั่นคือหนวยแรงอัดที่เกิดขึ้นจะสูงขึ้นไดจนถึง
จุดคลาก (Yield point) โดยทีก่ ารเปลีย่ นรูปจะเกิดขึ้นนอยมากจนถึงจุดนี้ เสา
ชนิดนี้เรียกวา “เสาสั้น”
•เสาซึ่งมีหนาตัดเล็กหรือความยาวมากเมื่อรับน้ําหนักถึงจุดๆหนึง่ จะเกิดการ
เปลีย่ นรูปเนื่องจากการโกงเดาะ (Bucking) หนวยแรงที่เกิดขึ้นที่จุดนี้ ถึงแมจะต่ํา
กวาจุดคลากแตก็ถือวาองคอาคารนีว้ ิบัติ (failure) แลว เนือ่ งจากโครงสราง
เปลีย่ นรูปไปมากเกินกวาจะใชงานไดอีก เสาชนิดนี้จําแนกเปน “เสายาว”
•สัดสวนของขนาดหนาตัดและความยาว ซึ่งมีผลตอกําลังของเสาอยางมากนี้
เรียกวา อัตราสวนความชลูด (Slenderness Ratio)
Euler’s Buckling Load

π 2 EI
Pcr =
L2
เนื่องจากรัศมีไจเรชัน r= I/A หรือ I = r2 A

“หนวยแรงวิกฤติ” Pcr π 2E
=
A ( L / r )2
สมการการออกแบบเสาเหล็ก
( KL / r ) 2
[1 − 2
]Fy
2Cc
Fa =
5 3( KL / r ) ( KL / r )3
+ −
3 8Cc 8Cc3

12π 2 E
Fa =
23( KL / r ) 2
ตัวคูณความยาวประสิทธิผล
(Effective Length Factor)
ตัวคูณความยาวประสิทธิผล
(Effective Length Factor)
Effect Length
(∑ 4 EI / L)column ∑ (I / Lc )
G= = c

(∑ 4 EI / L) girder ∑ (I
g / Lg )
Alignment Chart
วิธีการใช Alignment chart เพื่ อ ใช หาค า K
1. เลื อ กแผนภาพที่ เ หมาะสม โดยพิ จ ารณาวา เสา
อยู ในโครงสรา งที่ มีการเคลื่ อ นตั วด า นข า ง
หรือ ไม
2. คํ า นวณค า G ที่ แ ต ล ะปลายของเสา ใหเ ปน GA
และ GB ตามลํ า ดั บ
3. ลากเสนตรงเชื่ อ มระหวา งค า GA และ GB ใน
แผนภาพ และอ า นค า K จากจุ ด ตั ด แกน
SSRC ได ตั้ ง ข อ สัง เกตเกี่ ย วกั บการใช Alignment charts
ดั ง นี้
1. สําหรับเสาที่ ยึ ด รัง้ แบบข อ หมุนกับฐานราก ค า G
ในทางทฤษฎีจ ะมีค า เปนอนันต แต ในสภาพจริง นัน้ ข อ
หมุนจะมีค วามฝ ด ดั ง นัน้ ใหใช ค า G = 10.0 ในการ
คํ า นวณ
2. สําหรับเสาที่ ยึ ด รัง้ แบบสมบูรณ (Rigid connection) กับ
ฐานราก ค า G ในทางทฤษฎีจ ะมีค า เท า กับ 0 แต ใน
สภาพจริง ไมสามารถที่ จ ะมีการยึ ด รัง้ สมบูรณ ได ดั ง นัน้
ในทางปฏิบตั ิ ใหใช ค า G = 1
3. สําหรับกรณี ที่ ท ราบเงื่ อ นไขการยึ ด ปลายคานอี กด า น
หนึง่ แนนอน ใหคู ณ ค า (I/L) ของคานด วยค า ในตารางที่
9.2
ไมมีการเคลื่อนตัวทาง มีการเคลื่อนตัวทาง
สภาวะที่ปลายคานอีก ดานขาง ดานขาง
ดาน (Sidesway prevented) (Sidesway Uninhibited)
แบบบานพับหรือสลัก 1.5 0.5

ยึดแนน 2.0 0.67


อัตราสวนความชะลูด องคอาคารรับแรงอัด

เพื่อปองกันไมใหเกิดการไมเสถียรระหวางการรับแรง

KL
≤ 200
r

You might also like