You are on page 1of 16

การออกแบบองคอาคารรับแรงในแนวแกน

และแรงดัดรวมกัน
Design of Combined Axial and
Bending Members
องคอาคารรับแรงในแนวแกน และแรงดัดรวมกัน
กรณี แรงตามแนวแกน + แรงดัดรอบแกนหลัก
Axial+Uniaxial Bending
P My
f =± ±
A I
กรณี แรงตามแนวแกน + แรงดัดรอบสองแกน
Axial+Biaxial Bending
P Mxy Myx
f =± ± ±
A Ix Iy
เกณฑการออกแบบ

∑f ≤F หรือ ∑( f
)F ≤ 1.0
สมการปฏิสัมพันธ fa fb
+ ≤ 1.0
(Interaction Equation) Fa Fb
ขอกําหนดสําหรับการออกแบบ
● แรงดึง รวมกับ แรงดัด
● แรงอัด รวมกับ แรงดัด (คาน-เสา, Beam-column)
แรงดึง รวมกับ แรงดัด
สมการปฏิสัมพันธ

f a fbx fby
+ + ≤ 1.0
Ft Fbx Fby
ไมเกิดการโกงเดาะทางดานขางเนื่องจากแรงดึง
แรงอัด รวมกับ แรงดัด
คาน-เสา (Beam-Column)
การแอนตัวเนือ่ งจากแรงดัดและแรงอัดในแนวแกนจะทําให
เกิดโมเมนตดัดสวนเพิ่ม ( P-Δ effect)

p
P P
ขอกําหนดการออกแบบคาน-เสา
(Beam-Column)

fa
กรณีที่ ≤ 0.15 ผลของ ( P-Δ effect) คอนขางนอย
Fa

f a fbx fby
+ + ≤ 1.0
Fa Fbx Fby
ขอกําหนดการออกแบบคาน-เสา
(Beam-Column)
fa
กรณีที่ ≥ 0.15 ตองคํานึงถึงผลของ ( P-Δ effect)
Fa
fa Cmx f bx Cmy fby
+ + ≤ 1.0 (1)
Fa (1 − f a ) F (1 −
fa
) Fby
Fex′ Fey′
bx

fa fbx fby
และใหตรวจสอบเพิ่มอีกหนึ่งสมการคือ + + ≤ 1.0 (2)
0.6 Fy Fbx Fby

โดยที่ 12π 2 E
Fe′ =
23( KLb / rb ) 2
คาสัมประสิทธิ์ (Modification Factor) Cm
กรณีที่ 1 เสาเปนสวนหนึ่งของโครงขอแข็งและจุดตอมีการเคลื่อนที่
ดานขาง (Joint Translation or Sidesway)

Cm = 0.85
P P

B B

H H

A A
คาสัมประสิทธิ์ (Modification Factor) Cm
กรณีที่ 2 จุดตอขององคอาคารยึดแนนไมมีทั้งการหมุนและเคลื่อนที่ และไมมี
น้ําหนักขวางกระทําระหวางจุดตอในระนาบของการดัด
M1
Cm = 0.6 − 0.4
M2
โดยที่
* M1/M2 คือ อัตราสวนของโมเมนตดัดที่ปลาย 2 ดาน โดยที่ M1 < M2
* M1/M2 คือ เปนบวกเมื่อองคอาคารดัดเปนรูปโคงกลับ (โคงคู)
* M1/M2 คือ เปนลบเมื่อองคอาคารดัดเปนรูปโคงเดี่ยว
P

H
B

M M

P P
A
คาสัมประสิทธิ์ (Modification Factor) Cm
กรณีที่ 3 องคอาคารมีแรงกระทําทางขวางกระทําระหวางจุดตอ และจุดตอ
ไมมีการเคลื่อนที่
สําหรับองคอาคารที่มีปลายแบบยึดแนน Cm = 0.85
สําหรับองคอาคารที่มีปลายแบบไมยึดแนน Cm = 1.0
P
P
P M
P

B B

H H

A
A

Cm = 0.85 M Cm = 1.0
P
P
ปลายยึดการหมุน ปลายไมยึดการ
หรืออาจคํานวณจาก
fa
Cm = 1 + ψ
Fe′
(11.8)
π 2δ o EI
ψ = −1 (11.9)
M oL

โดยที่ δo = ระยะแอนตัวสูงสุดระหวางจุดรองรับ เนื่องจากน้ําหนักทางขวาง


Mo = โมเมนตสูงสุดระหวางจุดรองรับ เนื่องจากน้ําหนักทางขวาง
ψ สําหรับกรณีที่พบไดบอยๆ แสดงไวในตารางที่ 11.1
ตัวคูณประกอบความยาวประสิทธิผล K
คาสัมประสิทธิ์ความยาวประสิทธิผล K จาก alignment chart ซึ่งเสนอโดย
T.C. Kavanagh เพื่อใชในการหาคา K สัญลักษณ A และ B ใชเเทนตําเเหนง
ที่ปลายบนและปลายลางของเสาที่พิจารณา ในขณะที่

G=
(∑ EI
L) C

∑ ( EI )
L b
โดย

∑ ( EI L ) C
= ผลบวกของคา stiffness ของเสาทุกตนที่จุดตอ
∑ ( EI L )b
= ผลบวกของคา stiffness ของคานทุกตัวที่จุดตอ
GA K GB GA K GB
50.0 ∞ 1. 0 ∞ 50.0 ∞ ∞ 20.0 ∞
10.0 10.0 100.0 10.0 100.0
5.0 50.0 50.0
4.0 5. 0 30.0
0.9 5.0 30.0
3.0 3.0 20.0
4.0 20.0
2.0 2.0
0.8 10.0 10.0
8. 0 3.0 8.0
1.0 1.0 7.0 7.0
0. 8 0.8 6.0 6.0
0.7 0.7 5.0 5.0
0.6 0.7 0.6 4.0
2.0 4.0
0.5 0.5
3.0
0.4 0.4 3.0
2. 0
0.3 0.3 2.0
1.5
0.6
0.2 0.2
1.0 1.0
0.1 0.1

0 0.5 0 0 1.0 0

Sideesway prevented Sideesway not prevented


(Braced frame) (Unbraced frame)
ตัวคูณประกอบความยาวประสิทธิผล K
(ก) (ข) (ค) (ง) (จ) (ฉ)
ลักษณะการโคงงอของ
เสาแสดงโดยเสนประ

คา K ตามทฤษฎี 0.5 0.7 1.0 1.0 2.0 2.0


คา K ที่ใชในการ 0.65 0.8 1.2 1.0 2.1 2.0
ออกแบบ
การหมุนที่ปลายเสา การเคลือ่ นที่ของปลายเสา
ไมมี ไมมี
สัญลักษณของ มี ไมมี
การยึดปลาย ไมมี มี
มี มี
ตัวอยาง

You might also like